The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by noo.nuk.nik55, 2022-03-19 11:36:08

201903261054677 3

201903261054677 3

คูม่ ือเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

8. แนวทางเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยโรคภูมแิ พท้ างเดินหายใจส่วนตน้
(1) คาจากดั ความโรค

โรคภมู ิแพท้ างเดินหวั ใจส่วนต้น
การแพทยแ์ ผนปัจจุบัน
ทางการแพทย์แผนปัจจุบัน คือ โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ หมายถึงโรคท่ีมีความผิดปกติของระบบ
ภูมิคุ้มกันของร่างกายชนิดที่มีอาการแสดงทางจมูก เกิดหลังจากได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป แล้วเกิดการอักเสบ
ของเยื่อจมูกทาใหเ้ กดิ อาการคนั นา้ มูกไหล จาม และคดั จมกู ตงั้ แตน่ ้อยจนไปถงึ มาก
การแพทยแ์ ผนไทย
ทางการแพทย์แผนไทยไม่ได้กล่าวถึงโรคภูมิแพ้โดยตรง แต่มีกลุ่มอาการที่เก่ียวกับระบบศอเสมหะ ซึ่ง
มักมีอาการคันจมูก จาม คัดจมูก ไม่มีไข้ และมีความสัมพันธ์กับการเปล่ียนแปลงของอากาศ กระทบร้อน
กระทบเยน็ กล่นิ ควนั บหุ ร่ีและน้าหมอ สมั ผัสเกสรดอกไม้ ขนสตั ว์ ฝุ่น ไรฝุ่น เป็นต้น ทาให้มอี าการศอเสมหะ
กาเริบ และสิงฆาบนกิ าพกิ าร โดยเฉพาะในตอนเชา้ สว่ นใหญม่ ักเรียกอาการเหลา่ นี้ว่า หวดั แพอ้ ากาศ
(2) เกณฑ์คดั กรองเขา้ รบั การรกั ษา
1. ผปู้ ว่ ยมอี าการทางจมูก ไดแ้ ก่ คนั จมกู จาม คดั จมกู และมีน้ามกู สีใส
2. มอี าการน้อยกว่า 4 วันต่อสปั ดาหห์ รือมอี าการติดตอ่ กันนอ้ ยกว่า 4 สปั ดาห์
3. ไม่มไี ข้ หายใจปกติ
(3) เกณฑก์ ารส่งตอ่ แพทยแ์ ผนปัจจุบัน
1.เหนือ่ ยหอบ หายใจลาบาก หรอื มภี าวะพรอ่ งออกซิเจน
2.อณุ หภมู ิ ≥ 38 องศาเซลเซียส
3.เลือดกาเดาไหล
4.หายใจทางจมูกไม่ได้ น้ามกู สเี หลอื ง/เขียวข้น หอู ้ือ ปวดหู หูน้าหนวก ปวดบริเวณหนา้ ผากและ
โหนกแก้ม
5.พบภาวะแทรกซ้อน เช่น ปวดศีรษะอยา่ งรุนแรง หรอื อาการอ่ืนๆ ตามดุลยพินิจของแพทยผ์ ทู้ าการ
รักษา

47

คมู่ ือเวชปฏิบตั ิการดแู ลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

8. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผปู้ ว่ ยโรคภูมิแพท้ างเดินหายใจสว่ นตน้

(4) การตรวจวนิ จิ ฉัย

การแพทยแ์ ผนไทย

1.การซกั ประวตั ิ

การซักประวัติและวิเคราะห์โรคทางการแพทย์แผนไทยในโรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น ต้องถาม

อาการและอาการแสดงที่สอดคล้องกับโรคดงั กล่าว ดังนั้นตอ้ งคานึงถึงช่วงเวลา ฤดูกาล ปัจจัยหรือสิ่งกระตุ้นท่ี

ทาให้มีอาการกาเริบมากขึ้น เพื่อให้นาไปสู่การหาสมุฏฐานของโรคและสามารถนาไปสู่การรักษาได้อย่างถูกต้อง

ทง้ั นี้ต้องวิเคราะหส์ มฏุ ฐานท่มี คี วามสมั พนั ธ์ของโรคดงั กล่าวตามตารางตอ่ ไปนี้

ขอ้ มูล เหตุผล

ธาตุเจา้ เรอื น เพ่ือใชใ้ นการวเิ คราะห์ว่าธาตเุ จ้าเรือนของผู้ปว่ ย

- โรคภูมิแพท้ างเดินหวั ใจส่วนต้น มกั เกิดในกลุ่มของผู้ท่ีมีอาโปธาต(ุ ธาตนุ ้า) เปน็

เจา้ เรอื น จะกระทาโทษทีร่ ุนแรงกว่าผูท้ มี่ ีธาตุเจา้ เรือนอนื่ ๆ

ธาตุสมุฏฐาน เพ่ือให้ทราบสมฐุ านการเกิดโรค อาการภมู ิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้น มักมีนา้ มกู

จามบ่อยๆ คัดจมูก และคันจมูก อาจสัมพันธ์กับอาโปธาตุ (ธาตุน้า) ได้แก่สิงฆา

นิกาพิการ มีอาการน้ามูกไหลทาให้หายใจมาสะดวก อาการแสดงทางศอเสมหะ

ทาให้มีเสมหะในลาคอถึงจมูก (ศอเสลด)

อุตสุ มฏุ ฐาน เพ่ือใช้ร่วมในการประเมินอาการของผปู้ ่วยวา่ ฤดกู าลใดท่ีเร่ิมมีอาการเจบ็ ป่วย มี

อาการกาเรบิ ของโรคสมั พนั ธก์ บั การเปลีย่ นแปลงของสภาพอากาศหรอื ไม่

-เนื่องจากฤดูหนาว (เหมันตฤดู) พิกัดเสมหะ เป็นสมุฏฐานของอาโปธาตุ (ธาตุ

นา้ ) ที่จะกระทาให้อาการของโรคภมู แิ พท้ างเดินหายใจสว่ นต้นมีความรนุ แรงขึ้น

อายุสมุฏฐาน เพือ่ ดอู ายุของผ้ปู ว่ ย ซึง่ อาจเป็นปจั จัยสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ โรค
กาลสมุฏฐาน -ช่วงอายุแรกเกิด – 16 ปี พิกัดเสมหะ เป็นช่วงอายุท่ีเสมหะเป็นเจ้าสมุฏฐาน
สง่ ผลใหอ้ าการรนุ แรงข้นึ

เพื่อใช้ร่วมในการประเมินอาการของผู้ป่วยว่าช่วงเวลาใดมีอาการเจ็บป่วย หรือ
การกาเรบิ ของโรค มีความสัมพันธ์กับเวลาหรอื ไม่
-ช่วงเวลา 06.00 – 10.00 น. และ 18.00 – 22.00 น. เป็นช่วงที่อาธาตุ
(ธาตุน้า) พิกัดเสมหะ กระทาโทษ ส่งผลให้โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจส่วนต้นมี
อาการกาเรบิ

ประเทศสมฏุ ฐาน เพ่อื ใชร้ ่วมประเมินอาการของผปู้ ่วยวา่ ถน่ิ ทีอ่ ยู่อาศัยหลัก มีความสมั พันธ์กบั
อาการเจ็บปว่ ยหรือไม่
มลู เหตกุ ารณเ์ กดิ โรค 8 -ผู้ทอ่ี าศัยอยู่ในลักษณะภูมปิ ระเทศแบบท่ีเปน็ น้าเคม็ มีโคลนตมขน้ึ แฉะ เชน่
ประการ ชายทะเล (ประเทศหนาว) อาโปธาตุ (ธาตุนา้ ) พิกดั เสมหะกระทาโทษ ทาใหโ้ รค
ภมู แิ พท้ างเดินหายใจส่วนตน้ กาเริบมากขึน้

เพอ่ื ใหท้ ราบสาเหตคุ วามสาพันธข์ องโรคซ่ึงอาจจะทาให้โรคกาเริบมากขึ้น เช่น
กระทบร้อน-เย็น การอดนอน ทางานเกินกาลงั พักผ่อนไม่เพยี งพอ เปน็ ตน้

48

คู่มือเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

8. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคภมู แิ พท้ างเดนิ หายใจสว่ นตน้

2.ตรวจรา่ งกาย

1) การประเมนิ ลกั ษณะทวั่ ไป

- ดสู หี นา้ ผปู้ ว่ ยไมส่ ดช่ืน

- อาจพบผิวหนงั ใตข้ อบตามสี ิคล้า

2) การตรวจ : ดู คลา เคาะ ฟงั

- ดู พบน้ามกู สใี ส อาจมเี ยื่อจมูกบวมแดงเล็กนอ้ ย

- คลา /สมั ผัส บรเิ วณหนา้ ผาก ไมพ่ บความรอ้ น

- เคาะ บริเวณหนา้ ผาก หัวควิ้ และโหนกแกม้ ท้ังสองขา้ ง ไม่เจบ็

- ฟัง ปอด ไม่พบความผิดปกติ

(5) การรกั ษาและฟื้นฟู

การแพทยแ์ ผนไทย

1.การรักษาดว้ ยยาสมนุ ไพร

อาการจมกู อกั เสบจากภมู แิ พ้ มักมีนา้ มูก จามบ่อยๆ คดั จมูก และคันจมกู เปน็ อาการทางอาโปธาตุ (ธาตุนา้ )

ตารับยาทใี่ ช้มักเปน็ กลุม่ ยารสร้อนเปน็ หลกั

1.1ยาสมนุ ไพรในบญั ชยี าหลกั แหง่ ชาติ พ.ศ. 2558 ทใี่ ช้ในการรกั ษาโรคดงั ตารางต่อไปน้ี

ตารบั ยา อาการ/สรรพคณุ ขนาด วธิ ีใช้ ข้อหา้ ม ข้อควรระวัง

ยาแกห้ วดั ปราบชมพู รสร้อน บรรเทาอาการ รับประทานครั้งละ 750 ข้อห้าม

ทวปี (ยาแก้แพ้อากาศ หวัดในระยะแรก และ มิลลิกรัม – 1.5 กรมั วันละ - ห้ า ม ใ ช้ เ มื่ อ พ บ

ภมู แิ พ้) อาการเนื่องจากอาการ 4 ครั้ง ภ า ว ะ แ ท ร ก ซ้ อ น จ า ก

แพอ้ ากาศ ภาวการณ์แพ้อากาศ เช่น

ไซนัสอกั เสบ หรือติดเชอื้ จาก

แบคทรีเรียซึ่งอาจจะมีอาการ

เจ็บบริเวณไซนัส ไข้สูง น้ามูก

และเสมหะเขยี ว

-ห้ามในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ท่ีมีไข้

เดก็

ยาลดไข้ประสะเปราะ รสรอ้ นสุขมุ ชนิดผงและชนิดเมด็ ข้อควรระวงั

ใหญ่ (ยาลดไข้) ถอนพิษไขต้ าลซาง เดก็ อายุ 1 – 5 ขวบ -ควรระวังในการรับประทาน

สาหรบั เด็ก รบั ประทานครง้ั ละ 500 ร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือด

-หมายเหตุตัวยาหลักใน มลิ ลกิ รัม -1 กรัม ละลาย เป็นล่ิม (anticoagulant)และ

ตารับนี้คือเปราะหอม น้ากระสายยา ทกุ 3 – 4 ยาต้านการจับตัวของเกล็ด

ซ่ึงมีรสร้อน หอม เผ็ด ชว่ั โมง น้ากระสายยาท่ีใช้ เลอื ด (antiplatelets)

เล็กน้อย มีสรรพคุณ คอื น้าดอกไมเ้ ทศ หรือน้า -ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่

ขับลมในลาไส้ให้ผาย สุก แพ้ละออกเกสรดอกไม้

เรอ ช่วยกระจายเลือด ชนดิ เม็ดและชนดิ แคปซูล -ไม่แนะนาให้ใช้ผู้ที่สงสัยว่า

ล ม ใ ห้ เ ดิ น ส ะ ด ว ก เดก็ อายุ 6 – 12 ปี เปน็ ไขเ้ ลอื ดออกเนือ่ งจากอาจ

บรรเทา บดบัง

49

คู่มอื เวชปฏบิ ัติการดแู ลผ้ปู ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

8. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคภมู ิแพท้ างเดินหายใจสว่ นตน้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคณุ ขนาด วธิ ใี ช้ ขอ้ หา้ ม ขอ้ ควรระวงั

ยาลดไข้ประสะ อาการหวดั รบั ประทานครง้ั ละ 1 กรัม อาการไขเ้ ลือดออก

เปราะใหญ่ (ยาลดไข้) ทกุ 3-4 ชั่วโมง -หากใช้ยาเปน็ เวลานานเกิน 3

วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้นควร

ปรกึ ษาแพทย์

ยาแก้ไข้ยาประสะ แกไ้ ข้ตวั ร้อน (ไขพ้ ษิ ) ชนิดผงผใู้ หญ่ ครง้ั ๑ กรมั -ควรระวงั การใช้ยาในผ้ปู ว่ ยท่ี

จันทน์แดง (ยาลดไข้) แก้รอ้ นในกระหายน้า เดก็ อายุ ๖ – ๑๒ ปี แพล้ ะออกเกสรดอกไม้

รับประทานคร้งั ละ ๕๐๐ - ไมแ่ นะนาใหใ้ ชใ้ นผู้ป่วยท่ี

มิลลิกรมั ละลายน้า สงสัยวา่ เปน็ ไข้เลือดออก

กระสายทุก 3-4 ชวั่ โมง เนอื่ งจากยาลดไข้บังอาการ

ไขเ้ ลือดออก

ยาบรรเทาอาการไข้ รสขม สุขุมหอม ร้อน ชนดิ ผง ขอ้ ควรระวัง

จนั ทนล์ ลี า (ยาลดไข้) บรรเทาอาการไข้ตวั รอ้ น ผ้ใู หญ่ รับประทานครง้ั ละ 1 - ไม่แนะนาให้ใช้ผู้ท่ีสงสัยว่า

ไขเ้ ปลยี่ นฤดู -2 กรัม ละลายน้าสุกทุก 3 เป็นไข้เลือดออกเนื่องจากอาจ

– 4 ช่ัวโมง เม่ือมีอาการ บดบงั อาการ ไขเ้ ลอื ดออก

เ ด็ ก อ า ยุ 6 -12 ปี - หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน

รับประทานครั้งละ 500 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควร

มลิ ลกิ รัม – 1 กรมั ปรึกษาแพทย์

ยาแก้ไข้ แกร้ อ้ นใน แก้ไข้ แกร้ อ้ นใน เจริญ ชนิดชง -ไม่แนะนาให้ใช้ผู้ที่สงสยั ว่า
มะระขี้นก (ยาแก้รอ้ น อาหาร
ใน) รับประทานครั้งละ ๑ – ๒ เป็นไขเ้ ลือดออกเนอ่ื งจากอาจ

กรัม ชงน้ารอ้ นประมาณ บดบงั อาการไขเ้ ลือดออก

๑๒๐ – ๒๐๐ มิลลิลติ ร วนั -หากใช้ยาเปน็ เวลานานเกิน 3

ละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร วนั แลว้ อาการไม่ดีข้ึน ควร

ชนดิ แคปซลู ปรึกษาแพทย์

รบั ประทานครงั้ ละ ๒ - ควรระวังการใชย้ า ร่วมกับ

แคปซลู วันละ 3 คร้ัง ยาลดน้าตาลในเลือดชนิด

กอ่ น ก่อนอาหาร รับประทาน

หมายเหตุ

ห้ามใช้ในเด็กหรอื ในหญิงให้

นมบตุ รเนอ่ื งจากมีรายงานวา่

ทาให้ระดับนา้ ตาลในเลอื ด

ลดลงอย่างมากจนเกดิ อาการ

ชกั ในเด็กได้

50

ค่มู ือเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผู้ปว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

8. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยโรคภมู ิแพท้ างเดินหายใจส่วนตน้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคุณ ขนาด วิธใี ช้ ขอ้ หา้ ม ข้อควรระวงั

ยาบรรเทาอาการไข้ 1.บรรเทาอาการไข้ ชนิดผง ควรระวังการใช้ยาในผ้ปู ่วยที่

เขยี วหอม (ยาแกร้ อ้ น รอ้ ยใน กระหายนา้ ผใู้ หญ่ รับประทานครง้ั ละ แพล้ ะอองเกสรดอกไม้

ใน) 2. แก้พษิ หดั พิษ 1 กรมั -ไม่แนะนาใหใ้ ชใ้ นผู้ทส่ี งสยั วา่

อีสุกอีใส (บรรเทาอาการ เดก็ อายุ 6 – 12 ปี เป็นไขเ้ ลอื ดออก เพราะอาจ

ไขจ้ ากหดั และอีสุกอใี ส) รบั ประทานครง้ั ละ 500 บดบงั อาการของไข้เลอื ดออก

มิลลิกรัม ละลายนา้ -หากใช้ยาเป็นเวลาเกิน 3 วัน

กระสายยาทุก 4 -6 แลว้ อาการไมด่ ขี ้ึนควรไป

ชั่วโมง เมอ่ื มีอาการ ปรกึ ษาแพทย์

หมายเหตุ

น้าช้ากระสายยาที่ใช้

-กรณบี รรเทาอาการไข้ รอ้ นใน

กระหายนา้ ใช้น้าสุก หรือนา้

ดอกมะลิเป็นนา้

กระสายยา

-กรณีแกพ้ ษิ หดั พิษอสี ุกอีใส

ละลายนา้ รากผักชีตม้ เป็นน้า

กระสายยา ทั้งรบั ประทานและ

ชโลม

ยาบรรเทาอาการไข้ บรรเทาอาการไข้ ชนดิ ผง -ไม่แนะนาใหใ้ ชใ้ นผูท้ ่สี งสยั วา่

หา้ ราก (ยาลดไข้) ผู้ใหญ่ รับประทานครงั้ ละ เปน็ ไข้เลอื ดออกเนอื่ งจากอาจ

1 – 1.5 กรัม บดบงั อาการของไข้เลอื ดออก

เด็ก อายุ 6-12 ปี -หากใชย้ าเปน็ เวลาเกนิ 3 วัน

รบั ประทานครัง้ ละ 500 แลว้ อาการไมด่ ีขึน้ ควรปรกึ ษา

มิลลิกรัม – 1 กรมั ละลาย แพทย์

น้าสกุ วนั ละ 3 ครั้ง ก่อน - ไมแ่ นะนาใหใ้ ช้ในหญงิ ท่มี ไี ข้

อาหาร เม่อื มีอาการ ทบั ระดูหรอื ไขร้ ะหวา่ งมี

ชนดิ เม็ดและชนิดแคปซลู ประจาเดือน

ผ้ใู หญ่ รับประทานอาหาร

คร้ังละ 1 – 1.5 กรัม วนั

ละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร

เม่อื มอี าการ

เดก็ อายุ 6 – 12 ปี

รับประทานคร้งั ละ 500

มลิ ลกิ รมั – 1 กรมั วนั ละ

3 ครง้ั ก่อนอาหารเมื่อมี

อาการ

51

คมู่ ือเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผูป้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

8. แนวทางเวชปฏบิ ัติการดแู ลผปู้ ว่ ยโรคภมู แิ พท้ างเดนิ หายใจส่วนตน้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคณุ ขนาด วธิ ีใช้ ขอ้ หา้ ม ขอ้ ควรระวงั

ยาบรรเทาอาการไอ รสเปร้ยี ว ฝาด หวาน ชนดิ ชง ขอ้ ควรระวัง

ขับเสมหะตรีผลา บรรเทาอาการไอ ขบั รับประทานครัง้ ละ 1 – 2 -ควรระวงั การใชใ้ นผู้ป่วยท่ี

(ยาขับเสมหะ) เสมหะ กรมั ชงน้ารอ้ นประมาณ ทอ้ งเสียงา่ ย

120 – 200 มลิ ลิลิตร ทงิ้ อาการไมพ่ ึงประสงค์

ไว้ 3 – 5 นาที ดื่ม -ทอ้ งเสยี

ในขณะยังอนุ่ เมอ่ื มี

อาการไอ ทกุ 4 ช่วั โมง

ชนดิ เม็ด ชนดิ ลูกกลอน

และชนดิ แคปซลู

รับประทานครงั้ ละ 300 –

600 มิลลิกรมั เมอื่ มี

อาการไอ วนั ละ 3 -4

ครั้ง

ยาอมละลายเสมหะ แก้ไอ ละลายเสมหะ ผใู้ หญ่ รับประทานครัง้ ละ -ไม่ควรใช้ตดิ ตอ่ กันนานเกนิ
มะแว้ง (ยาแกไ้ อ
ละลายเสมหะ) 1 – 1.4 กรัม เมอ่ื มี 15 วันหากอาการไมด่ ีข้ึน ควร

ยาแกไ้ อมะขามป้อม บรรเทาอาการไอ ขับ อาการ ปรึกษาแพทย์
(ยาแกไ้ อ ขับเสมหะ) เสมหะ
เด็ก อายุ 6-12 ปี -ในผู้ปว่ ยที่ต้องการใช้เกลือไม่
ยาแกไ้ อ ขบั เสมหะ บรรเทาอาการไอ ขบั
ยาอามฤควาที เสมหะ รบั ประทานครั้งละ 200 ควรใช้น้ามะนาวแทรกเกลือ
(ยาแกไ้ อ ขับเสมหะ)
– 400 มิลลิกรัม เมื่อมี

อาการละลายน้ามะนาว

แทรกเกลอื รบั ประทาน

หรือใชอ้ ม

จิบเม่อื มอี าการไอ ทุก 4 -ควรระวังการใชใ้ นผูป้ ่วยที่

ชว่ั โมง ทอ้ งเสยี งา่ ยเน่ืองจาก

มะขามป้อมมีฤทธ์ิเป็นยา

ระบาย

-ผปู้ ว่ ยเบาหวานท่ีไมส่ ามารถ

ควบคมุ ระดับนา้ ตาลในเลือดได้

ผู้ใหญ่ ในผปู้ ว่ ยท่ีต้องจากดั การใช้

รับประทานคร้งั ละ 2 ชอ้ น เกลอื ไมค่ อยใชน้ า้ มะนาว

ชา ละลายน้ากระสายยา แทรกเกลือ

เมอื่ มีอาการ (ละลายนา้

มะนาวแทรกเกลอื ใช้จบิ

หรือกวาดคอ)

52

คู่มือเวชปฏิบตั กิ ารดแู ลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

8. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผปู้ ่วยโรคภมู แิ พท้ างเดนิ หายใจสว่ นตน้

ตารบั ยา อาการ/สรรพคณุ ขนาด วิธีใช้ ขอ้ หา้ ม ข้อควรระวงั

ยาบรรเทาอาการ -บรรเทาอาการเจ็บคอ ผ้ใู หญ่ -หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน

หวดั เจ็บคอฟ้าทลาย -บรรเทาอาการของโรค รับประทานครงั้ ละ 2 อาจทาให้แขนขามีอาการอ่อน

โจร (Common Cold) เชน่ แคปซลู วันละ 4 คร้งั หลัง แรง

(ยาแกห้ วัด เจ็บคอ) เจ็บคอ ปวดเม่ือยตาม อาหารและกอ่ นนอน -หากใช้ฟ้าทลายโจรติดต่อกัน

กล้ามเนือ้ เด็ก อายุ 6-12 ปี 3 วัน แลว้ ไมห่ าย หรอื มีอาการ

รับประทานคร้งั ละ 1 รุนแรงขึ้นระหว่างใช้ยาควร

แคปซลู วนั ละ 4 คร้ัง หลงั หยดุ ใช้และพบแพทย์

อาหารและ กอ่ นนอน -ควรระวังการใช้ร่วมใช้ร่วมกับ

ยาท่ีกระบวนการเมทาบอลิซึม

ผ่านเอนไชม์ Cytochrome

P450 ( CYP) เ น่ื อ ง จ า ก ฟ้ า

ทลายโจรมีฤทธ์ิยับย้ังเอนไซม์

CYP1A2 , CYP2C9 แ ล ะ

CYP3A4

- อาจทาให้เกิดอาการผิดปกติ

ของทางเดินอาหาร เช่น ปวด

ท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบ่ือ

อาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น

และอาจเกิดลมพิษได้

1.2 ยาปรุงเฉพาะราย

เปน็ การใชย้ าตามภมู ปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์พ้นื บา้ น ท่ีมีอยใู่ นตาราหรือในทอ้ งถิน่ ทม่ี ี

การใช้ต่อกันมา โดยพิจารณาตามอาการและการวนิ ิจฉยั โรคของผ้ปู ว่ ยแต่ละราย ดังนี้

ตารบั /สมุนไพร วิธใี ช้ เหตุผล

ใบกระเพราแดง (แกค้ ัดจมกู ตาคั้นเอาน้าผสมกบั นา้ ผ้งึ เกลือ ทาใหท้ างเดนิ หายใจสะดวกเพ่มิ

นามกู ไหล) (เหล้าโรง 3-5 หยด ) รับประทานวนั ความอบอุ่นใหก้ บั รา่ งกาย

ละครง้ั ติดตอ่ กัน 1-2 สปั ดาห์

ขิง + กระเทียม +หอมแดง นาสมุนไพรสดทง้ั 3 ชนดิ โขลกรวมกัน ทาใหท้ างเดินหายใจสะดวก

(แก้คัดจมกู นามูกไหล ขบั เสมหะ) คั้นเอาน้าผสมน้าผึ้งแระน้ามะนาว บรรเทาอาการคัดจมกู ขับเสมหะ

เล็กน้อย ด่ืมวันละ 2 ครั้ง เช้า – ก่อน

นอน ติดต่อกนั 1- 2 สัปดาห์

ว่านหอมแดง หรือหัวหอมแดง ว่านหอมแดงหรือหัวหอมแดงสด 1-2 ทาให้ทางเดนิ หายใจสะดวก

หัว ทุบพอแหลก ห่อด้วยผ้าขาวบาง บรรเทาอาการน้ามูกไหล

ว า ง ไ ว้ บ น ต า แ ห น่ ง ก ร ะ ห ม่ อ ม ห รื อ

หนา้ ผาก

53

คู่มือเวชปฏิบตั ิการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

8. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ่วยโรคภูมแิ พท้ างเดินหายใจสว่ นตน้

ตารบั /สมนุ ไพร วิธใี ช้ เหตุผล

วา่ นหอมแดง + เปราะหอม ว่านหอมแดงและเปราะหอมสด 1-2 ทาให้ทางเดินหายใจสะดวก

หวั ทบุ พอแหลก ห่อดว้ ยผา้ ขาวบาง บรรเทาอาการนา้ มูกไหล

วางไวบ้ นตาแหน่งกระหมอ่ มหรอื

หนา้ ผาก

*หมายเหตุ การใช้ยาปรงุ เฉพาะราย สดั สว่ น ปริมาณ ขนึ้ กับดุลยพินจิ ของแพทย์

2.การอบสมุนไพร

เพ่ือบรรเทาอาการคัดจมูก ช่วยให้หายใจโล่ง โดยใช้สูตรการอบสมุนไพรแบบทั่วไป สามารถเพ่ิมหรือลด

สัดส่วนสมุนไพรในกลุ่มที่มีสารสาคัญออกฤทธ์ิเป็นน้ามันหอมระเหย ช่วยให้หายใจสะดวก ไดแ้ ก่ ว่านหอมแดง

เปราะหอม หอม ผิวมะกรดู และ กลุ่มทม่ี สี าระสาคญั ในการต้านฮสี ตามนี ไดแ้ ก่ ไพล ท้ังนใ้ี หเ้ หมาะกับอาการ

ของผปู้ ว่ ยแตล่ ะรายและขน้ึ อยู่กับดลุ ยพินิจของแพทย์

สูตรยาสมุ สมุนไพรในครวั เรอื น ไพล ขม้ิน ใบมะกรดู ตะไคร้บ้าน หอมแดง เปลือกมะนาว ใบโหระพา

ฯลฯ

(6) คาแนะนาในการปฏิบตั ติ ัวเพื่อการสง่ เสรมิ ป้องกนั และฟน้ื ฟูสภาพ
1.งดอาหารแสดง หลีกเล่ียงน้าเย็น ผัก ผลไม้ และอาหารรสเย็น หานจัด มันจัด ขมจัด เพราะจะกระตุ้นให้
เสมหะกาเรบิ มากข้ึน
2.หลีกเลี่ยงพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดโรค เช่น การกระทบร้อน-กระทบเย็น การทางานเกินกาลัง พักผ่อนไม่
เพยี งพอ เป็นตน้
3.หลกี เล่ียงปัจจัยหรอื ส่งิ กระตนุ้ เช่นขนสัตว์ ฝุ่นละออง ควนั เกสรดอกไม้ ไรฝนุ่ เป็นตน้
4.รกั ษาร่างกายให้อบอุน่ เสมอ เชน่ สวมใสเ่ สื้อผา้ ทีป่ ิดคอทห่ี นา้ อกใหอ้ บอุ่น
5.ควรดื่มนา้ อุ่นเพอื่ เพม่ิ ความอบอนุ่ ของร่างกาย หรือสมุนไพรทมี่ รี สร้อนสขุ ุม เชน่ นา้ ขิง กระเพรา เพื่อลด
เสมหะและทาให้ระบบทางเดนิ หายใจสะดวก
6.รับประทานอาหารท่ีบารุงช่ี ได้แก่เห็ดตากแห้ง พทุ รา เนื้อแกะ วอลนัท ฮ่วยซัว(Chinese yam ) และ
ช่วงที่อาการควรรับประทานอาหารท่ีมีรสร้อน ทาให้เหง่ือออก ช่วยในการกระจายของชี่ปอด เช่น ขิง ผักชี
ต้นหอม และด่ืมน้าพุทราจีนใส่น้าตาลทรายแดงเล็กน้อยเป็นประจาก็เป็นอีกวิธีหน่ีงในการช่วยป้องกันและ
บรรเทาอาการของโรคนไี้ ด้
7.ไมค่ วรอาบน้าหรอื สระผมดว้ ยน้าเยน็ เกนิ ไปหรืออาบนา้ ตอนดึกโดยเฉพาะเวลาท่อี ากาศเย็น
8.บริหารร่างกายด้วยท่าฤๅษีดัดตน เช่นท่าเทพพนม นอนหงายผายปอด ดารงกายอายุยืนเพ่ือเป็นการฝึก
ลมหายใจ เปน็ ต้น

(7) การประเมนิ และตดิ ตามผลการรักษา
ติดตามผลการรักษาโดยนัดเพ่ือประเมินอาการและอาการแสดงตามเกณฑ์การรักษา เพ่ือดูว่าอาการดีขึ้น

หรือไม่ โดยการซกั ประวัตทิ ส่ี ัมพันธ์กบั อาการของโรค เชน่ น้ามกู คดั จมูก จาม รวมถึงความถ่ีลดลงหรอื ไม่ เมือ่
รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยภายใน 2 สัปดาห์แล้วอาการไม่ดีขึ้น ให้แพทย์ประเมินเพ่ือทาการส่งต่อผู้ปว่ ยอย่าง
ถกู ตอ้ ง

54

คู่มือเวชปฏิบตั ิการดแู ลผูป้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

9. แนวทางเวชปฏบิ ัติการจา่ ยยาสมนุ ไพรเทียบเคยี งยาแผนปัจจบุ นั

ผู้ปว่ ยมารับบริการแพทยแ์ ผนไทย(ยาสมุนไพร)

ผา่ นการคัดกรองตามแนวเวชปฏิบตั จิ ่ายยาสมนุ ไพรโดย
- แพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ มใี บประกอบโรคศลิ ปะแพทย์แผนไทยประยุกต์
- แพทยแ์ ผนไทย มใี บประกอบโรคศิลปะเวชกรรมไทย

จา่ ยยาสมุนไพร

ยาแผนไทย ยาแผนไทยประเภทที่ 2 ยาแผนไทยประเภทท่ี 3 ยาแผนไทย
ประเภทท่ี 1 รายการทเี่ ป็นยาสามัญประจาบ้าน รายการยาที่อยูใ่ นเภสชั ตารบั ประเภทท่ี 4
รายการยาทอ่ี ย่ใู น แผนโบราณตามประกาศกระทรวง รายการยาที่
บญั ชยี าหลกั โรงพยาบาล สถานพยาบาลปรงุ
สาธารณสขุ สาหรบั ผปู้ ่วย
แห่งชาติ เฉพาะราย

ประเมินผลการรักษา ไมด่ ขี นึ้ รกั ษาตอ่ เน่อื ง/ส่ง
ปรกึ ษาแพทยแ์ ผน
ดขี น้ึ ปจั จบุ ัน

นัดติดตามอาการ

ดขี น้ึ

สิ้นสุดการรกั ษา

55

คู่มือเวชปฏบิ ัติการดแู ลผูป้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารจา่ ยย

ท่ี ยาสมุนไพร สรรพคุณ วธิ ีใช้/ข้อค
(Herbs) (properties)

1 ย า ข ม้ิ น ชั น ED อาหารไม่ย่อย กรดไหล 2 cap. วนั ละ 3-4 คร้งั หลงั อาหาร

(ท้องอืด จกุ แนน่ ) ยอ้ น ท้องอดื จกุ แนน่ ข้อควรระวงั :

- ควรระวังการใชก้ ับผู้ปว่ ยโรคนิว่ ในถุงนา

- ควรระวงั การใช้กับหญงิ ตงั ครรภ์

- ควรระวงั การใชก้ ับเดก็ เนือ่ งจากยังไมม่

- ควรระวังการใช้ยานีร่วมกับสารกันเลือ

เลอื ด (antiplatelets)

- ควรระวังการใช้ยานีร่วมกับยาที่กระบว

450) เน่ืองจากสาร curcumin ยับยัง C

- ควรระวังการใช้ร่วมกับยารักษาโ

cyclophosphamide และ camptothe

2 ยาธาตุอบเชย ED ทอ้ งอืด จกุ แนน่ 1-2 ชอ้ นโตะ๊ 3 เวลา หลงั อาหาร

(ท้องอืด ขบั ลม) ขอ้ ควรระวัง:
ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉพ

เกดิ การสะสมของการบรู และเกิดพิษได้

3 ยาเบญจกลู ED ทอ้ งอืด อาหารไมย่ อ่ ย ชนดิ แคปซูล ชนดิ เม็ด และชนิดลกู ก

(ขบั ลม บารุงธาตุ) บารงุ ธาตุ รับประทานคร้งั ละ 800 มิลลกิ รมั

หา้ มใชใ้ นหญิงตงั ครรภ์ ผทู้ ่มี ีไข้ และเด็กเล

- ไมค่ วรใช้ยานใี นฤดูรอ้ น จะส่งผลให้ไฟธ

- ไมค่ วรรบั ประทานตดิ ตอ่ กันนานเกิน 7

4 ยาขงิ ED ขบั ลม ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ - บรรเทาอาการท้องอดื ขบั ลม แน่น
- ป้องกนั และบรรเทาอาการคลนื่ ไส
(ทอ้ งอดื ท้องเฟอ้ )

– 2 กรัม กอ่ นเดนิ ทาง 30 นาที –

- ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน ห

ผา่ ตดั 1 ช่วั โมง

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

ยาสมนุ ไพรเทยี บเคียงยาแผนปจั จบุ นั เทยี งเคยี งยาแผนปจั จุบัน
ควรระวงั ในการใช/้ ขอ้ หา้ ม (compare)

(Usage) 1. Diagest® (อาหารไม่ยอ่ ย)
2. Simethicone 80 mg.(ขับลม จุก ทอ้ งอดื )
ร 3. Mixt carminative (ขบั ลม จกุ แน่น)
4. Ranitidine150 mg.(ลดกรด แตไ่ มร่ ักษาไหลย้อน)
าดี 5. Omeprazole20 mg (ลดกรดรกั ษากรดไหลยอ้ น)
6. Antacid gel (เคลือบกระเพาะ แสบรอ้ นอก)
มขี อ้ มลู ด้านประสทิ ธิผลและความปลอดภัย
อดเป็นล่ิม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ด 1. Mixt carminative (ขบั ลม จุก แน่น)

วนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP
CYP 3A4, CYP 1A2 แตก่ ระตนุ้ เอนไซม์ CYP 2A6
โรคมะเร็งบางชนิด เช่น doxorubicin, chlormethine,
ecin เนื่องจาก curcumin อาจมีผลต้านฤทธ์ยิ าดงั กล่าว

พาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจากอาจ

กลอน 1. Simethicone 80mg. (ขบั ลม จกุ ทอ้ งอดื )
2. Sodamint tab® 300 mg.(ลดกรด ขับลม)
– 1 กรัม วันละ 3 คร้ัง หลังอาหาร

ล็ก 3. Mixt carminative (ขับลม จกุ แน่น)
ธาตกุ าเรบิ 4. Diagest® (อาหารไม่ยอ่ ย)
วนั

นจกุ เสียด รบั ประทานวนั ละ 2 – 4 กรัม 1. Simethicone 5 mg.(ขบั ลม จุก แนน่ )
ส้ อาเจยี นจากการเมารถ เมาเรือ รบั ประทานวนั ละ 1 2. Sodamint tab® 300 mg.(ลดกรด ขับลม)

1 ช่ัวโมง หรอื เม่อื มีอาการ 3. Mixt carminative (ขับลม จกุ แนน่ )

หลังการผ่าตัด รับประทานคร้ังละ 1 กรัม ก่อนการ

56

คู่มอื เวชปฏบิ ตั ิการดูแลผูป้ ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารจา่ ยย

ที่ ยาสมุนไพร สรรพคณุ วธิ ีใช้/ขอ้ ค
(Herbs) (properties)

5 ยาธาตบุ รรจบ ED ท้องอืด ทอ้ งเฟ้อ อาหาร ชนดิ ลกู กลอนและชนดิ แคปซูล

(ท้องอดื ทอ้ งเสยี ไม่ติด ไม่ยอ่ ย ถา่ ยอุจจาระยาก ผ้ใู หญ่ : รับประทานคร้งั ละ 1 กรัม

เขือ) เปน็ ก้อนเลก็ ๆกลิ่นเหม็น เดก็ อายุ 6 - 12 ปี : รบั ประทานค

ท้องเสียไม่ตดิ เชื้อ มอี าการ

ขอ้ หา้ มใช้: ห้ามใช้ในหญงิ ตังครรภ์ และผทู้

ข้อควรระวัง:

- ควรระวังการรับประทานร่วมกับยาในก

ตวั ของเกล็ดเลอื ด (antiplatelets)

- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉ

อาจเกดิ การสะสมของการบรู และเกดิ พิษไ

อาการไม่พึงประสงค์: ในสูตรตารับได้ตัด

และมีการจาหน่ายในทอ้ งตลาด เปน็ พชื ใน

พบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษต่อไต (nep

ประกาศให้พชื สกลุ Aristolochia เปน็ สา

6 ยาฟา้ ทะลายโจร ED แกป้ วด ลดไข้ แก้หวดั รบั ประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม
(เจ็บคอ ไอ ท้องเสียไม่ ลดนา้ มูก ข้อหา้ มใช้: หา้ มใช้ในผู้ท่ีมีอาการแพ้ฟ้าทะ
ติดเชือ) ทารกวิรปู ได้
ข้อควรระวงั :

- หากใช้ยานตี ดิ ตอ่ กนั เป็นเวลานาน อาจท

- หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แ

และพบแพทย์

- ควรระวังการใช้ยานีร่วมกับสารกันเลือด

(antiplatelets)

- ควรระวังการใชย้ านรี ่วมกบั ยาลดความด

- ควรระวังการใช้ยานีร่วมกับยาท่ีกระบว

450) เนื่องจากฟ้าทะลายโจรมีฤทธ์ยิ ับยัง

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

ยาสมนุ ไพรเทียบเคียงยาแผนปัจจบุ ัน

ควรระวังในการใช/้ ขอ้ ห้าม เทยี งเคียงยาแผนปัจจุบัน

(Usage) (compare)

1. Simethicone80 mg. (ขบั ลม จุก ท้องอดื )

วันละ 3 ครงั้ กอ่ นอาหาร เม่ือมอี าการ 2. Mixt carminative (ขบั ลม จกุ แนน่ )

ครง้ั ละ 500 มลิ ลิกรัม วนั ละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร เมือ่ 3. Loperamide 2 mg. (ยาระงับการถา่ ย)

ท่ีมไี ข้

กลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับ

ฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจาก 1. Paracetamol (แก้ปวดลดไข)้
ได้ 2. Actifed Syrup® (คดั จมกู )
ดไคร้เครือออก เนื่องจากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชีว่าไคร้เครือท่ีใช้
นสกลุ Aristolochia ซ่งึ พชื ในสกุล Aristolochia มรี ายงาน
phrotoxicity) และเมื่อปี ค.ศ. 2002 องค์การอนามัยโลกได้
ารกอ่ มะเร็งในมนุษย์

– 2 กรัม วนั ละ 4 ครัง้ หลงั อาหารและกอ่ นนอน

ะลายโจร หญิงตังครรภ์และให้นมบตุ ร เนื่องจากอาจทาให้เกดิ

ทาให้แขนขามอี าการชาหรอื อ่อนแรง
แล้วไม่หาย หรือ มีอาการรุนแรงขึนระหว่างใช้ยาควรหยุดใช้

ดเป็นลิ่ม (anticoagulants),ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด

ดันเลือดเพราะอาจเสริมฤทธิ์กนั ได้
วนการเมแทบอลิซึม ผ่านเอนไซม์ Cytochrome P450 (CYP
งเอนไซม์ CYP 1A2, CYP 2C9 และ CYP 3A4

57

คู่มอื เวชปฏบิ ัติการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ัติการจา่ ยย

ท่ี ยาสมนุ ไพร สรรพคุณ วธิ ใี ช้/ข้อค
(Herbs) (properties)

7 ยาปราบชมพทู วีป ED ใชใ้ น Case allergic รับประทานคร้งั ละ 750 มิลลิกรมั
( ห วั ด คั ด จ มุ ก แ พ้ Rhinitis,Case Asthma ข้อหา้ มใช:้
,Allergic bronchitis - ห้ามใช้เม่ือพบภาวะแทรกซ้อนจากการ
อากาศ) เจบ็ บริเวณไซนสั ไข้สูง นามูกและเสมหะเ

- หา้ มใช้ในหญิงตงั ครรภ์ ผ้ทู ่ีมไี ข้ เด็ก

ข้อควรระวงั :

- ควรระวังการใช้กับผู้ป่วยโรคความดันเล

เนื่องจากเปน็ ตารบั ยารสร้อน

- ควรระวังการใช้ยาเกินขนาดในผู้ป่วยท่ีม

เกิดพิษจากการบูร

- ควรระวังการใช้ยานี ร่วมกับยา p

เนือ่ งจากตารบั นมี พี รกิ ไทยในปริมาณสงู

อาการไม่พึงประสงค์: แสบร้อนยอดอก

8 ยาจนั ทน์ลีลา ED แกไ้ ข้ ตวั รอ้ น ปวดศรี ษะ ชนดิ แคปซูลและชนดิ เมด็
(ปวดศีรษะ ลดไข้)
ผ้ใู หญ:่ รับประทานครัง้ ละ 1 - 2 กร

เด็ก อายุ 6 - 12 ปี : รับประทาน

เมื่อมีอาการ

9 ยาประสะมะแวง้ ED ไอ ระคาย คอ ชนดิ เมด็ และชนิดลูกกลอน ละลาย

(ระคายเสมหะ ช่มุ คอ) ผใู้ หญ่ : รบั ประทานครง้ั ละ 1 – 1.

เด็ก อายุ 6 - 12 ปี : รับประทานค

ข้อควรระวัง:

- ไมค่ วรใช้ตดิ ตอ่ กันนานเกิน 15 วนั หาก

- ในผปู้ ว่ ยทีต่ อ้ งจากัดการใชเ้ กลอื ไมค่ วร

นไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

ยาสมุนไพรเทียบเคยี งยาแผนปจั จุบนั

ควรระวังในการใช้/ข้อหา้ ม เทียงเคียงยาแผนปัจจุบนั

(Usage) (compare)

– 1.5 กรมั วันละ 4 คร้งั กอ่ นอาหารและกอ่ นนอน 1.ยากลุ่ม Antihistamine (แกแ้ พ)้

1.1 Chlorpheniramine(CPM)(แกแ้ พ้ ลดนามกู )
รแพ้อากาศ เช่น ไซนัสอักเสบ การติดเชือแบคทีเรียที่มีอาการ 1.2 Loratadine(แก้แพ้ ลดนา้ มูก งว่ งน้อยกวา่ CPM)

เขยี ว เปน็ ตน้

ลือดสูง โรคหัวใจ โรคแผลเปื่อยเพปติก และโรคกรดไหลย้อน
มีความผิดปกติของตับ ไตหรือทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากอาจ
phenytoin, propranolol, theophylline และ rifampicin

1. Paracetamol (แก้ปวดลดไข)้

รัม ทุก 3 - 4 ช่ัวโมง เมอ่ื มอี าการ
นคร้ังละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง

ยน้ามะนาวแทรกเกลือรบั ประทาน หรอื ใชอ้ ม 1.Strepil® (ยาอมแกเ้ จ็บคอ)
.4 กรัม เมอื่ มีอาการ 2. Bromhexine, Acetylcysteine
ครง้ั ละ 200 - 400 มิลลกิ รมั เม่ือมีอาการ
(ละลายเสมหะ)
กอาการไม่ดีขึน ควรปรึกษาแพทย์
รใชน้ ามะนาวแทรกเกลือ 3. Dextromethorphan (กดการไอ)

58

คู่มือเวชปฏิบตั ิการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ัติการจ่ายย

ท่ี ยาสมุนไพร สรรพคุณ วธิ ีใช้/ข้อค
(Herbs)
(properties)

10 ยาแก้ไอผสม 1. ไอ มีเสมหะ จิบเมอ่ื มีอาการไอ ทกุ 4 ชัว่ โมง

มะขามป้อม ED 2. ขับเสมหะ ขอ้ หา้ มใช:้
ผู้ปว่ ยเบาหวานทไี่ มส่ ามารถควบคุมระดับ
(ขับเสมหะ ไอ)
ขอ้ ควรระวัง:

ควรระวังการใช้ในผู้ปว่ ยท่ีท้องเสียงา่ ย เน

11 ยาอามฤควาที ED บรรเทาอาการไอ ขับ ชนดิ ลกู กลอน

(แก้เจบ็ คอ ไอ) เสมหะ ผใู้ หญ่ : รับประทานครังละ 1 กรัม เม่ือม
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี : รับประทานครังละ

ขอ้ ควรระวัง:

ไมค่ วรใชน้ ามะนาวแทรกเกลอื กับผู้ป่วยท

ขอ้ มูลเพมิ่ เติมอื่นๆ:

ในสูตรตารับได้ตัดไคร้เครือออก เนื่องจา

ท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia

เป็นพิษต่อไต (nephrotoxicity) และเม

Aristolochia เปน็ สารก่อมะเรง็ ในมนุษย

12 ตรีผลา ED แกไ้ ข ชุ่มคอ ขับเสมหะ ชนดิ ชง

(ละลายเสมหะ) รบั ประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ชงน

นาที ด่มื ในขณะยงั อนุ่ เม่ือมอี าการไ

ชนดิ แคปซูล ชนดิ เม็ด และชนิดลูก

รบั ประทานครัง้ ละ 300 - 600 มลิ

ขอ้ ควรระวงั : ควรระวังการใช้ในผู้ป
อาการไมพ่ ึงประสงค์: ทอ้ งเสีย

นไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

ยาสมุนไพรเทียบเคียงยาแผนปัจจุบนั เทยี งเคยี งยาแผนปจั จบุ ัน
ควรระวงั ในการใช/้ ขอ้ หา้ ม
(compare)
(Usage)
1. Brown mixture® (กดการไอ มีสว่ นผสม
บนาตาลในเลอื ดได้
codeine)

2. Dextromethorphan (กดการไอ)

นือ่ งจากมะขามปอ้ มมีฤทธิเ์ ป็นยาระบาย 1. Guiafenesin (ขับเสมหะ)

มีอาการ
ะ 500 มลิ ลกิ รมั เม่อื มอี าการ

ท่ตี ้องจากัดการใชเ้ กลือ

ากมีข้อมูลงานวิจัยบ่งชีว่าไคร้เครือท่ีใช้และมีการจาหน่ายใน 1.M.tussis®/Brown mixture® (กดการไอ มี
a ซ่ึงพืชในสกุล Aristolochia มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความ
มื่อปี ค.ศ. 2002 องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้พืชสกุล ส่วนผสม codeine)
ย์

น้าร้อนประมาณ 120 – 200 มิลลลิ ติ ร ทิ้งไว้ 3 - 5
ไอ ทกุ 4 ชัว่ โมง
กกลอน
ลลกิ รัม เมอ่ื มีอาการไอ วนั ละ 3 - 4 ครั้ง

ป่วยท่ีท้องเสียงา่ ย

59

คมู่ ือเวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผน

ที่ ยาสมุนไพร สรรพคณุ 9. แนวทางเวชปฏบิ ตั ิการจ่ายย
(Herbs) (properties) วธิ ีใช้/ขอ้ ค

13 ยาหอมเนาวโกศ ED 1. วิงเวยี นศีรษะ ชนดิ ผง
2. คล่ืนเหยี นอาเจียน รับประทานครงั้ ละ 1 - 2 กรมั ละล
(ขบั ลม แกล้ มปลาย ควรเกนิ วันละ 3 คร้งั
น้ากระสายยาท่ีใช้
ไข้) • กรณี แก้ลมวิงเวียน คล่ืนเหียน อ
(15 กรมั ) หรอื เทียนดา (15 กรมั )
• กรณีแก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไ
ท้องอืด อ่อนเพลีย) ใช้ก้านสะเดา
15 กรมั ) และเถาบอระเพ็ด (7 องค
• ถา้ หาน้ากระสายยาไม่ได้ ใหใ้ ช้นา้ ส
ชนดิ เม็ด
รบั ประทานครง้ั ละ 1 - 2 กรัม ทกุ

ข้อห้ามใช้:
ห้ามใชใ้ นหญงิ ตงั ครรภ์ และผทู้ ม่ี ีไข้
ข้อควรระวงั :
- ควรระวังการรบั ประทานร่วมกบั ยาในก
ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
- ควรระวงั การใช้ยาในผู้ป่วยท่ีแพล้ ะอองเ
ข้อมูลเพิม่ เติมอน่ื ๆ:
ในสตู รตารบั ได้ตดั ไคร้เครือออก เนือ่ งจาก
ทอ้ งตลาด เปน็ พืชในสกลุ Aristolochia
เป็นพษิ ตอ่ ไต (nephrotoxicity) และเมอ่ื
Aristolochia เป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

ยาสมุนไพรเทยี บเคยี งยาแผนปัจจบุ ัน เทยี งเคยี งยาแผนปจั จุบนั
ควรระวังในการใช้/ขอ้ ห้าม (compare)

(Usage) 1. Dimenhydrinate (แกว้ ิงเวยี น)
2. Cinnarizine (แก้วงิ เวยี น การไหลเวียนโลหติ )
ลายน้ากระสาย เม่อื มีอาการ ทุก 3 - 4 ชวั่ โมง ไม่

อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ ใช้น้าลูกผักชี
ต้มเปน็ น้ากระสายยา
ไข้แล้วยังมีอาการเช่น คล่ืนเหยี น วงิ เวียน เบื่ออาหาร
(33 ก้าน หรือ 15 กรัม) ลูกกระดอม (7 ลูก หรือ
คลุ ี หรอื 15 กรัม) ตม้ เปน็ น้ากระสายยา
สุกแทน

3 - 4 ช่ัวโมง เมื่อมีอาการ ไม่ควรเกนิ วนั ละ 3 คร้ัง

กลุ่มสารกนั เลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจบั

เกสรดอกไม้

กมขี ้อมูลงานวจิ ยั บง่ ชวี ่าไครเ้ ครอื ที่ใชแ้ ละมกี ารจาหน่ายใน
ซ่งึ พืชในสกุล Aristolochia มรี ายงานพบว่ากอ่ ใหเ้ กิดความ
อปี ค.ศ. 2002 องค์การอนามยั โลกไดป้ ระกาศให้พืชสกุล
ย์

60

คมู่ ือเวชปฏิบัติการดูแลผ้ปู ว่ ยด้วยศาสตร์การแพทย์แผน

9. แนวทางเวชปฏิบตั กิ ารจา่ ยย

ที่ ยาสมนุ ไพร สรรพคุณ วธิ ใี ช้/ขอ้ ค
(Herbs) (properties)

14 ยาหอมเทพจติ ร ED 1. วิงเวยี นศรี ษะ บารุง ขนาดและวธิ ใี ช้:
(วงิ เวียน นอนไม่หลบั ) หวั ใจ ชนิดผง: รับประทานคร้ังละ 1 - 1.

(แก้ลมกองละเอียด ได้แก่ ไม่ควรเกินวนั ละ 3 ครง้ั
อ า ก า ร ห น้ า มื ด ต า ล า ย ชนดิ เม็ด : รบั ประทานคร้งั ละ 1 -
สวิงสวาย (อาการท่ีรู้สึกใจ วันละ 3 คร้ัง
หวิววิงเวียน คลื่นไส้ ตาพร่า
จะเป็นลม) ใจส่ัน และบารุง ขอ้ ควรระวงั :
- ควรระวังการรับประทานรว่ มกับยาในก
ดวงจิตให้ชุ่มชื่น) ตวั ของเกลด็ เลอื ด (antiplatelets)

- ควรระวังการใช้ยาอย่างตอ่ เน่อื งโดยเฉพ

เกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพษิ ได้

- ควรระวังการใชย้ าในผ้ปู ่วยที่แพ้ละอองเ

15 ยาหอมอนิ ทรจักร ED 1. แกล้ มบาดทะจิต ชนดิ ผง
(คลืน่ ไส้ อาเจยี น 2. แกค้ ลนื่ เหยี นอาเจียน รบั ประทานคร้ังละ 1 - 2 กรัม ละล

วงิ เวียน จกุ แน่นทอ้ ง) 3. แก้ลมจุกเสียด ละ 3 คร้ัง

นา้ กระสายยาทใ่ี ช้

• กรณีแก้ลมบาดทะจิต ใช้นา้ ดอกม

• กรณีแกค้ ลื่นเหยี นอาเจียน ใชน้ ้าล

• กรณแี กล้ มจุกเสยี ด ใช้นา้ ขิงตม้

ชนดิ เม็ด : รับประทานครง้ั ละ 1 -

ขอ้ ห้ามใช:้ หา้ มใช้ในหญิงตังครรภ์

ข้อควรระวัง:

- ควรระวงั การรบั ประทานรว่ มกับยาในก

ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)

- ควรระวงั การใชก้ ับผปู้ ว่ ยท่ีมีประวตั ิแพเ้

นไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

ยาสมนุ ไพรเทียบเคยี งยาแผนปัจจุบนั เทยี งเคียงยาแผนปจั จุบนั
ควรระวังในการใช้/ขอ้ หา้ ม (compare)

(Usage) 1.Dimenhydrinate (แกว้ งิ เวยี น)

.4 กรัม ละลายนา้ สุก เม่ือมอี าการ ทุก 3 - 4 ชัว่ โมง

1.4 กรัม เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชว่ั โมง ไมค่ วรเกิน

กลุ่มสารกันเลือดเป็นล่มิ (anticoagulant) และยาต้านการจับ

พาะอยา่ งย่งิ ในผู้ป่วยทม่ี ีความผิดปกติของตับ ไต เนอ่ื งจากอาจ

เกสรดอกไม้ 1. Dimenhydrinate (แกว้ ิงเวยี น)
2. Simethicone80mg (ขบั ลม จกุ ท้องอืด)
ลายน้ากระสายยา ทุก 3 - 4 ช่วั โมง ไมค่ วรเกิน วนั

มะลิ ขอ้ มลู เพิม่ เตมิ อ่ืนๆ:
ลูกผกั ชี เทยี นดาตม้ ถ้าไมม่ ีใชน้ า้ สกุ ในสูตรตารับได้ตัดไคร้เครือออก เน่ืองจากมีข้อมูล
2 กรมั ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไมค่ วรเกินวันละ 3 ครั้ง งานวิจัยบ่งชีว่าไคร้เครือท่ีใช้และมีการจาหน่ายใน
ท้องตลาด เป็นพืชในสกุล Aristolochia ซึ่งพชื ในสกุล
กลุ่มสารกนั เลือดเป็นล่ิม (anticoagulant) และยาตา้ นการจับ Aristolochia มีรายงานพบว่าก่อให้เกิดความเป็นพิษ
เกสรดอกไม้ ต่อไต (nephrotoxicity) และเม่ือปี ค.ศ. 2002
อ ง ค์ ก า ร อ น า มั ย โ ล ก ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ใ ห้ พื ช ส กุ ล
Aristolochia เปน็ สารก่อมะเรง็ ในมนุษย์

61

คู่มอื เวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผู้ปว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารจา่ ยย

ท่ี ยาสมุนไพร สรรพคณุ วธิ ใี ช้/ข้อค
(Herbs)
(properties)

16 เถาวลั ยเ์ ปรียง ED บ ร ร เ ท า อ า ก า ร ป ว ด รับประทานคร้งั ละ 500 มลิ ลิกรมั

(แก้ปวดกล้ามเนือ) กล้ามเนื้อ ลดการอักเสบ ขอ้ หา้ มใช:้ หา้ มใชใ้ นหญงิ ตั้งครรภ์

ของกลา้ มเน้อื ข้อควรระวงั :
- ควรระวงั การใช้ในผ้ปู ว่ ยโรคแผลเปอ่ื ยเพ

ยาตา้ นการอักเสบทีไ่ มใ่ ชส่ เตยี รอยด์ (Non

- อาจทาให้เกดิ การระคายเคอื งระบบทาง

อาการไม่พึงประสงค์: ปวดท้อง ทอ้ งผูก ป

17 สหัสธารา ED 1. ขับลมในเส้น แก้โรค รับประทานคร้งั ละ 1 – 1.5 กรมั วนั ละ
ลมกองหยาบ ขอ้ ห้ามใช้: ห้ามใชก้ ับหญิงต้งั ครรภ์ และผ
(คลายเส้น ชาปลาย 2. ชา ปลายมือ ปลาย ขอ้ ควรระวงั :
มือปลายเทา้ ) เท้า - ควรระวงั การบริโภคในผู้ปว่ ยโรคความด
ยอ้ น เนอื่ งจากเปน็ ตารับยารสร้อน

- ควรระวังการใชย้ าอย่างต่อเนือ่ ง โดยเฉพ

อาจเกิดการสะสมของการบรู และเกดิ พิษไ

- ควรระวงั การใช้ ร่วมกับยา phenytoin

ตารับนมี้ ีพริกไทยในปริมาณสงู

อาการไม่พงึ ประสงค์: ร้อนทอ้ ง แสบท้อง

18 เจลพริก ED แกป้ วดข้อ ทาบริเวณทีป่ วด 3 - 4 ครัง้ ต่อวัน

(แก้ปวดขอ้ ) ข้อห้ามใช้: ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่แพ้ c

เวณผิวท่ีบอบบางหรือบรเิ วณผวิ หน

ข้อควรระวัง: การใชร้ ่วมกับยารกั ษ

inhibitor (ACE inhibitor) อาจทาใ

หอบหืด คือ theophylline ชนิดอ

ลุ่มต่อไปนี้

• Angiotensin converting enz

• Anticoagulants

• Antiplatelet agents, • Bar

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

ยาสมนุ ไพรเทยี บเคยี งยาแผนปจั จบุ ัน เทยี งเคยี งยาแผนปจั จุบัน
ควรระวงั ในการใช้/ข้อห้าม (compare)

(Usage) 1.Tolperisone (คลายกลา้ มเนอื )
2. Paracetamol+Orphenadrine
– 1 กรัม วันละ 3 คร้งั หลงั อาหารทนั ที
(Norgesic®แกป้ วด และคลายกลา้ มเนอื )
พปติก เน่ืองจากเถาวัลย์เปรยี งออกฤทธิค์ ล้ายยาแกป้ วดกลุม่
nsteroidal Anti-Inflammatory Drugs: NSAIDs) 2. NSIADs (Diclofenac (แก้ปวด))
งเดินอาหาร
ปสั สาวะบอ่ ย คอแห้ง ใจส่นั 1. Diclofenac (แกป้ วด)
3 คร้ัง กอ่ นอาหาร 2. Vitamin B complex (บารุงร่างกาย)
ผทู้ ่มี ไี ข้ 3. Vitamin B 1,6,12 (บารุงร่างกาย แก้ชาปลาย

ดันเลอื ดสงู โรคหัวใจ ผปู้ ่วยโรคแผลเป่ือยเพปตกิ และกรดไหล มอื ปลายเทา้ )

พาะอย่างย่ิงในผู้ป่วยทีม่ ีความผดิ ปกติของตบั ไต เนอ่ื งจาก
ได้
n, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก

คลืน่ ไส้ คอแห้ง ผน่ื คัน

1.Diclofenac gel (แกป้ วด)
capsaicin, ห้ามสัมผัสบริเวณตา,ระวังอย่าทาเจลบริ
นังทแ่ี ตก เน่อื งจากทาใหเ้ กดิ อาการระคายเคือง
ษาโรคหวั ใจ กลุม่ angiotensin-converting enzyme
ให้เกิดอาการไอเพิ่มขึ้น,อาจเพิ่มการดูดซมึ ของยาโรค
ออกฤทธิ์เน่ินนาน,ควรระวังเม่ือใช้เจลพริกร่วมกับยาก

zyme inhibitors

rbiturates

62

คมู่ ือเวชปฏิบตั ิการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผน

9. แนวทางเวชปฏิบัติการจ่ายย

ท่ี ยาสมนุ ไพร สรรพคณุ วธิ ใี ช้/ข้อค
(Herbs)
(properties)

• Low molecular weight hep

• Theophylline

• Thrombolytic agents

อาการไม่พึงประสงค์: ผวิ หนงั แดง

ข้อมลู เพิม่ เติมอนื่ ๆ: สาร capsaici

19 ยาข้ผี ้งึ ไพล ED คลายกล้ามเน้ือ เคล็ด ทาและถเู บา ๆ บริเวณทีม่ อี าการวนั
20 ยาน้ามนั ไพล ED
ขดั ยอก ขอ้ หา้ มใช:้
21 ยาประคบสมุนไพร - หา้ มทาบริเวณขอบตาและเนอื เยอื่ อ่อน

ED - ห้ามทาบริเวณผวิ หนงั ที่มีบาดแผลหรือม

ประคบเพื่อลดอาการ นายาประคบไปน่งึ แล้วใชป้ ระคบ ข

ปวด ชว่ ยคลาย สามารถใช้ได้ 3 - 4 คร้ังโดยหลังจา

กลา้ มเนื้อ เอน็ และข้อ ขอ้ หา้ มใช:้

- ห้ามประคบบรเิ วณที่มบี าดแผล

- หา้ มประคบเม่อื เกิดการอกั เสบเฉยี บพล

ในช่วง 24 ชว่ั โมงแรก เน่ืองจากจะทาให

ได้ โดยควรประคบหลงั เกิดอาการ 24 ชวั่

ข้อควรระวงั :

- ไมค่ วรใช้ลกู ประคบทร่ี ้อนเกนิ ไป โดยเฉ

กระดูกยื่น และตอ้ งระวังเป็นพิเศษในผูป้ ่ว

ความรสู้ กึ ในการรับรู้และตอบสนองช้า อา

- หลังจากประคบสมุนไพรเสรจ็ ใหม่ ๆ ไม

ร่างกายยงั ไม่สามารถปรบั ตวั ไดท้ นั (จากร

- ควรระวงั การใช้ในผทู้ ่ีแพส้ ว่ นประกอบใน

ขอ้ มูลเพมิ่ เตมิ อ่ืนๆ:

1) ยาประคบสมนุ ไพรสด ผลติ จากสมุนไพ

400 กรัม

2) ยาประคบสมุนไพรแห้ง ผลติ จากสมนุ ไ

200 กรัม

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10 เทียงเคยี งยาแผนปัจจบุ นั
(compare)
ยาสมุนไพรเทยี บเคียงยาแผนปัจจุบนั
ควรระวงั ในการใช/้ ขอ้ ห้าม

(Usage)

parins

ปวด และแสบรอ้ น 1.Analgesic balm
in เป็นสารทไ่ี ดจ้ ากการสกดั ผลพรกิ แหง้

นละ 2 - 3 คร้ัง

มแี ผลเปดิ 1.Analgesic balm

ขณะยังอุน่ วันละ 1 - 2 คร้ัง ลกู ประคบ 1 ลูก
ากใช้แล้วผ่งึ ให้แหง้ กอ่ นนาไปแช่ตเู้ ยน็

ลนั เช่น ข้อเท้าแพลง หรอื มีอาการอักเสบ บวม แดง ร้อน
ห้มีอาการอักเสบบวมมากขนึ และอาจมีเลอื ดออกมากตามมา
วโมง

ฉพาะบริเวณผิวหนังท่เี คยเป็นแผลมาก่อนหรือบรเิ วณท่มี ี
วยโรคเบาหวาน อมั พาต เด็ก และผู้สงู อายุ เพราะมักมี
าจทาให้ผิวหนังไหม้พองได้ง่าย
ม่ควรอาบนาทนั ที เพราะเป็นการลา้ งตัวยาจากผวิ หนงั และ
ร้อนเปน็ เยน็ ทนั ทีทันใด) อาจทาใหเ้ กิดเป็นไขไ้ ด้
นยาประคบ

พรสด (เกบ็ ได้ประมาณ 3 วัน) นาหนักไมน่ ้อยกวา่ ลูกละ

ไพรแห้ง (เก็บได้ประมาณ 2 ป)ี นาหนกั ไมน่ อ้ ยกว่า ลูกละ

63

ค่มู อื เวชปฏบิ ตั ิการดแู ลผปู้ ่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏิบตั ิการจ่ายย

ท่ี ยาสมุนไพร สรรพคณุ วธิ ใี ช้/ขอ้ ค
(Herbs)
(properties)

22 ยาชุมเหด็ เทศ ED บรรเทาอาการทอ้ งผกู ชนดิ ชง: รับประทานครัง้ ละ 3 – 6

(ระบาย ท้องผกู ) นาน 10 นาที วันละ 1 ครั้ง ก่อนน

ชนิดแคปซลู : รับประทานครั้งละ 3

ข้อหา้ มใช้: ผปู้ ่วยท่ีมีภาวะทางเดนิ อาหาร

ทราบสาเหตุ

ขอ้ ควรระวัง:

- ควรระวงั การใช้ในเดก็ อายตุ ่ากว่า 12 ป

- การรบั ประทานยาในขนาดสูงอาจทาให

- ไมค่ วรใชต้ ิดต่อกนั เป็นระยะเวลานาน เพ

มากเกนิ ไปโดยเฉพาะโพแทสเซียม และท

- ควรระวังการใช้ในหญิงตงั ครรภ์และหญ

อาการไม่พึงประสงค์:อาจทาใหเ้ กดิ อาการ

23 ยาผสมเพชรสังฆาต บรรเทาอาการริดสดี วง รับประทานครง้ั ละ 500 มลิ ลิกรัม

ED (แกป้ วดริดสีดวง) ทวารหนัก ข้อควรระวงั : ควรระวงั การใช้ยาในหญิงต
อาการไม่พึงประสงค์: ท้องเสีย ทอ้ งเสยี ม
24 ยาริดสดี วงมหากาฬ
บรรเทาอาการริดสีดวง รบั ประทานคร้ังละ 800 มิลลิกรัม
ED (ระบาย แก้
ริดสดี วงทวารหนัก) ทวารหนัก ขอ้ ควรระวงั :
- ควรระวังการรับประทานร่วมกบั ยาในก
25 ธรณสี ณั ฑฆาต ED
ตวั ของเกลด็ เลือด (antiplatelets)
(แกเ้ ส้น ระบาย)
- ควรระวังการใช้ยาในหญิงตงั ครรภแ์ ละใ

แก้กษยั เสน้ ชนดิ ผง รบั ประทานครง้ั ละ 500 ม

เป็นลกู กลอนวนั ละ 1 คร้งั กอ่ นอาห

ชนดิ แคปซูล ชนดิ เม็ด และชนิดลูก

รับประทานครง้ั ละ 500 มิลลกิ รัม

ขอ้ ห้ามใช้:หา้ มใช้กับหญงิ ตงั ครรภ์ ผู้ท่ีมีไข

ข้อควรระวัง:

- ควรระวังการรบั ประทานรว่ มกบั ยาในก

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

ยาสมุนไพรเทียบเคยี งยาแผนปจั จุบัน

ควรระวังในการใช/้ ขอ้ หา้ ม เทียงเคยี งยาแผนปัจจุบัน

(Usage) (compare)

6 กรมั ชงนา้ รอ้ นประมาณ 120 - 200 มลิ ลลิ ิตร 1. Bisacodyl (ยาระบายชนิด Stimulants laxative)

นอน

3 – 6 กรัม วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน

รอุดตนั (gastrointestinal obstruction) หรอื ปวดทอ้ งโดยไม่

ปี หรอื ในผู้ป่วย inflammatory bowel disease 1.Draflon®,Sidual®, Proctosedyl®
หเ้ กดิ ไตอักเสบ (nephritis)
พราะจะทาให้ท้องเสีย ซึง่ สง่ ผลให้มกี ารสูญเสยี นาและเกลือแร่
ทาให้ลาไส้ใหญช่ ินตอ่ ยา ถา้ ไม่ใชย้ าจะไมถ่ า่ ย
ญงิ ให้นมบตุ ร
รปวดมวนท้อง เนื่องจากการบีบตัวของลาไสใ้ หญ่

– 1 กรมั วันละ 3 คร้งั หลงั อาหารทนั ที

ตังครรภ์และหญงิ ใหน้ มบุตร
มวนทอ้ ง

- 1 กรมั วนั ละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร

กลุ่มสารกันเลือดเปน็ ล่ิม (anticoagulant) และยาต้านการจบั

ให้นมบตุ ร 1.Bisacodyl (ยาระบายชนดิ Stimulants laxative)
2. Milk of Magnesia(ระบายอ่อนๆSaline
มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายนา้ สุกหรือผสมนา้ ผ้ึงปัน้
หารเช้าหรอื ก่อนนอน laxative)
กกลอน
- 1 กรัม วันละ 1 ครงั้ ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน

ข้ และเด็ก

กลมุ่ สารกันเลือดเปน็ ลิ่ม (anticoagulant) และ ยาต้านการจับ

64

คู่มอื เวชปฏบิ ัติการดแู ลผ้ปู ่วยด้วยศาสตร์การแพทย์แผน

ที่ ยาสมุนไพร สรรพคณุ 9. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารจ่ายย
(Herbs) (properties) วิธใี ช้/ข้อค

26 ธรณสี ัณฑฆาต ED แก้กษัยเสน้ ตวั ของเกล็ดเลอื ด (antiplatelets)
- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉ
27 ยาชงกระเจย๊ี บแดง ขับปสั สาวะ แกข้ ัดเบา อาจเกิดการสะสมของการบูรและเกดิ พษิ ไ
- ควรระวังการใช้ ร่วมกับยา phenytoin
ED (ขัดเบา ลดความ ขับปัสสาวะ แก้ขัดเบา ตารับนีมพี รกิ ไทยในปริมาณสูง
ดนั ฯ) ขบั นวิ่ ขนาดเล็ก - ควรระวงั การใชใ้ นผู้สูงอายุ

28 ยาชงหญา้ หนวดแมว รบั ประทาน ครงั้ ละ 2 – 3 กรัม ชง
อาหาร
ED (ขับปัสสาวะ ขับ
นิ่ม) ขอ้ ควรระวงั :กระเจี๊ยบแดงอาจทาให้เกดิ อ
อาการไม่พงึ ประสงค์: อาจมอี าการปวดมว
ขอ้ มลู เพิ่มเตมิ อ่นื ๆ:
- ควรหลีกเลี่ยงการกินกระเจี๊ยบแดงติด
พบวา่ ทาใหเ้ กดิ พษิ ต่อเซลลข์ องอณั ฑะแล
- ควรหลีกเลย่ี งการกนิ กระเจย๊ี บแดงตดิ ต
ผลการศึกษาในหนู (rat) พบวา่ อาจทาให
- ส่วนท่ีใชข้ องกระเจยี๊ บแดง ไดจ้ ากสว่ นก

รบั ประทานครงั้ ละ 2 - 3 กรมั ชงน
- 3 ครง้ั

ข้อห้ามใช้:
ห้ามใช้ในผูป้ ว่ ยทมี่ กี ารทางานของหวั ใจแล
ขอ้ ควรระวัง:
- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยที่ต้องจากัดป
หนวดแมวมปี รมิ าณโพแทสเซยี มสูง
- ควรระวังการใช้ร่วมกับยาลดนาตาลใน
ร่วมกับการฉดี อนิ สลุ นิ เพราะอาจทาใหเ้ ก

นไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

ยาสมนุ ไพรเทียบเคยี งยาแผนปัจจุบัน เทียงเคียงยาแผนปจั จุบนั
ควรระวังในการใช้/ข้อห้าม (compare)

(Usage)

ฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยท่ีมีความผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจาก
ได้
n, propranolol, theophylline และ rifampicin เนื่องจาก

งนา้ รอ้ น 120 – 200 มิลลลิ ิตร วันละ 3 คร้งั หลงั 1. HCTZ 5 mg.(ลดความดนั โลหติ )
2. Gemfibrozil 300 mg.(ลดระดับไขมันใน
อาการท้องเสยี ได้ เนอ่ื งจากมฤี ทธิ์เป็นยาระบาย
วนท้องได้ เลอื ด)

3. Simvastatin 10 mg.(ลดระดับไขมันในเลอื ด)

ดต่อกันเป็นเวลานาน เน่ืองจากผลการศึกษา ในสัตว์ทดลอง 1.Amiloride (ขบั ปสั สาวะ ลดความดนั โลหิต)
ละตัวอสจุ ไิ ด้ 2. Furosemide (ขบั ปสั สาวะ ลดบวมในโรคไต)
ต่อกันเปน็ เวลานานในสตรมี ีครรภ์และสตรใี ห้นมบุตร เน่ืองจาก
ห้ลูกหนเู ข้าส่วู ัยเจริญพันธุ์ชา้ ลง
กลีบเลยี ง

น้าร้อนประมาณ 120 - 200 มลิ ลิลติ ร ดืม่ วนั ละ 2

ละ/หรือไตบกพรอ่ ง

ปริมาณโพแทสเซียม เช่น ผู้ท่ีเป็นโรคหัวใจ เนื่องจากยาหญ้า

นเลือดชนิดรับประทาน (Oral hypoglycemic agents) หรือ
กิดการเสรมิ ฤทธิ์กนั ได้

65

คูม่ ือเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผปู้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทย์แผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ัติการจา่ ยย

ท่ี ยาสมุนไพร สรรพคุณ วิธใี ช้/ข้อค
(Herbs)
(properties)

29 รางจดื ED ลดระดบั สารเคมีตกค้าง แก้ไข้ ร้อนใน : ชนิดผง : รับประ

(รอ้ นใน ขับสารพษิ ในเลือด ถอนพิษไข้ แก้ มิลลิลติ ร วันละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร

ถอนพษิ ) รอ้ นใน ชนิดแคปซูล: รับประทานคร้งั ละ 5

กรณีถอนพิษเบ่ือเมา : รับประท

200 มลิ ลิลิตร วนั ละ 3 คร้ัง กอ่ นอ

คาเตอื น

- ไมแ่ นะนาใหใ้ ชใ้ นผู้ท่ีสงสัยวา่ เปน็ ไขเ้ ลือ

- หากใชย้ าเปน็ เวลานานเกิน 3 วันแล้ว อ

- ควรระวังการใช้ในผู้ปว่ ยเบาหวาน เพรา

- ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยท่ีต้องใช้ยาอื่น

จากรา่ งกาย ทาให้ประสทิ ธิผลของยาลดล

30 ยาชงดอกคาฝอย ลดระดบั ไขมันในเลอื ด ชนิดผง : รับประทานคร้ังละ 2 -

NED (Dyslipidemia) ครั้ง ก่อนอาหาร หรอื เม่อื มีอาการ

31 ยาเขยี วหอม ED 1. บรรเทาอาการไข้ ชนิดผง

(แกร้ ้อนใน ตวั ร้อน) รอ้ นในกระหายน้า ผูใ้ หญ:่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม ล

2. แก้พิษหดั อีสุกอีใส เด็ก อายุ 6 – 12 ปี : รบั ประทานค

(บรรเทาอาการไขจ้ ากหัด 6 ชั่วโมง เมอื่ มอี าการ
และอีสุกอีใส)
นา้ กระสายยาทใ่ี ช้

• กรณบี รรเทาอาการไข้ ร้อนในกระหายน

• กรณีแกพ้ ิษหดั พิษอสี กุ อีใส ละลายนาร

หมายเหตุ การชโลมใช้ยาผงละลายนา 1

แตก

นไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

ยาสมนุ ไพรเทียบเคยี งยาแผนปัจจุบนั เทียงเคียงยาแผนปจั จบุ นั
(compare)
ควรระวงั ในการใช/้ ขอ้ ห้าม
(Usage)

ะทานคร้ังละ 2 - 3 กรัม ชงน้าร้อน 120 - 200 -
ร หรอื เมอ่ื มอี าการ
500 มิลลิกรัม - 1 กรมั วนั ละ 3 ครัง้ ก่อนอาหาร
านครั้งละ 2 – 3 กรัม ชงน้าร้อนประมาณ 120 -
อาหาร หรอื เมอ่ื มีอาการ

อดออก เนอื่ งจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลอื ดออก
อาการไม่ดขี นึ ควรปรกึ ษาแพทย์
าะอาจเกดิ ภาวะนาตาลในเลือดตา่
นอย่างต่อเนื่องเพราะยารางจืด อาจเร่งการขับยาเหล่านันออก
ลง

3 กรัม ชงน้าร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 1.Gemfibrozil 300 mg.
2.Simvastatin 10 mg.

1.Paracetamol 500 mg.
ละลายนา้ กระสายยา ทกุ 4 – 6 ช่วั โมง เมือ่ มอี าการ
ครั้งละ 500 มลิ ลกิ รัม ละลายนา้ กระสายยา ทุก 4 –

นา ใชน้ าสกุ หรอื นาดอกมะลิ เปน็ นากระสายยา
รากผักชีต้ม เป็นนากระสายยาทงั รบั ประทาน และชโลม
1 ต่อ 3 แล้วชโลม (ประพรม) ทั่วตามตัวบริเวณท่ีตุ่มใสยังไม่

66

ค่มู อื เวชปฏบิ ตั ิการดูแลผปู้ ่วยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏิบตั ิการจ่ายย

ท่ี ยาสมนุ ไพร สรรพคณุ วิธใี ช้/ข้อค
(Herbs)
(properties)

32 ยาเขยี วหอม ED แ ก้ ไ ข้ แ ก้ ร้ อ น ใ น ชนิดเมด็
ผู้ใหญ:่ รบั ประทานครงั ละ 1 กรัม ทุก 4
อีสกุ อีใส
เดก็ อายุ 6 - 12 ปี : รับประทานครังละ

คาเตอื น

- ควรระวงั การใชย้ าในผู้ปว่ ยท่แี พ้ละอองเ

- ไม่แนะนาใหใ้ ช้ในผทู้ ี่สงสยั วา่ เป็นไขเ้ ลือ

- หากใช้ยาเปน็ เวลานานเกนิ 3 วนั แล้วอ

33 ยาจนั ทนล์ ลี า ED บรรเทาอาการไข้ตัวรอ้ น ชนิดผง

(ปวดศรี ษะ ลดไข)้ ) ไข้เปล่ยี นฤดู ผ้ใู หญ่ : รับประทานคร้ังละ 1 - 2 ก

เดก็ อายุ 6 - 12 ปี : รบั ประทานคร

4 ชั่วโมง เม่อื มอี าการ

ชนดิ แคปซลู และชนดิ เมด็

ผูใ้ หญ่ : รับประทานครง้ั ละ 1 - 2 ก

เด็ก อายุ 6 - 12 ปี : รับประทาน

เมื่อมอี าการ

คาเตอื น

- ไม่แนะนาให้ใชใ้ นผู้ที่สงสยั วา่ เป็นไขเ้ ลือ

- หากใชย้ าเป็นเวลานานเกนิ 3 วัน แล้วอ

34 ยาหา้ ราก (แก้ไข้) ED บรรเทาอาการไข้ ชนดิ ผง

(กระทุ้งพษิ ไข้) ผู้ใหญ่ : รับประทานคร้ังละ 1 – 1.

มอี าการ

เด็ก อายุ 6 - 12 ปี : รับประทานค

3 ครัง้ กอ่ นอาหาร เม่อื มีอาการ

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

ยาสมนุ ไพรเทยี บเคียงยาแผนปัจจบุ ัน เทยี งเคียงยาแผนปัจจบุ ัน
ควรระวงั ในการใช/้ ข้อห้าม (compare)

(Usage) 1.Paracetamol 500 mg.

– 6 ช่วั โมง เมื่อมอี าการ
ะ 500 มิลลกิ รมั ทกุ 4 – 6 ชว่ั โมง เมอ่ื มีอาการ

เกสรดอกไม้
อดออก เนอื่ งจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลอื ดออก
อาการไม่ดีขึน ควรปรกึ ษาแพทย์

1.Paracetamol 500 mg.
กรัม ละลายน้าสกุ ทกุ 3 - 4 ชั่วโมง เมอื่ มอี าการ
รงั้ ละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายนา้ สกุ ทุก 3 -

กรมั ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมอื่ มอี าการ
นคร้ังละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ทุก 3 - 4 ช่ัวโมง

อดออก เนื่องจากอาจบดบงั อาการของไขเ้ ลือดออก 1.Paracetamol 500 mg.
อาการไม่ดขี นึ ควรปรกึ ษาแพทย์ 2. Calamine lotion

.5 กรัม ละลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เม่ือ

คร้ังละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม ละลายน้าสุก วันละ

67

คู่มอื เวชปฏิบัติการดแู ลผู้ปว่ ยด้วยศาสตร์การแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารจา่ ยย

ที่ ยาสมุนไพร สรรพคณุ วิธีใช้/ขอ้ ค
(Herbs)
(properties)

35 ยาหา้ ราก (แกไ้ ข้) ED บรรเทาอาการไข้ แกค้ นั ชนดิ แคปซลู และชนดิ เม็ด

ผ้ใู หญ:่ รับประทานครง้ั ละ 1 – 1.5

เด็ก อายุ 6 - 12 ปี : รบั ประทานค

อาหาร เมือ่ มีอาการ

** ใช้ผงยาหา้ รากทาแกผ้ นื่ คันได้

คาเตอื น

- ไม่แนะนาให้ใชใ้ นผ้ทู ส่ี งสัยวา่ เปน็ ไขเ้ ลอื

- หากใชย้ าเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอ

- ไมแ่ นะนาใหใ้ ช้ในหญิงทม่ี ไี ขท้ ับระดหู รือ

36 ยาพญายอ ED 1. ยาครีม บรรเทาอาการ ทาบรเิ วณท่ีมีอาการ วันละ 5 คร้งั

ของ เริมและงูสวัด

2. สารละลาย (สาหรับป้าย

ปาก) รักษาแผลในปาก

(aphthous ulcer) แผลจาก

การฉายรงั สีและเคมบี าบดั

3. ยาโลชัน บรรเทาอาการ

ผดผ่ืนคนั ลมพิษ ต่มุ คัน

4. ยาข้ีผ้ึง บรรเทาอาการ

อักเสบ ปวด บวมจากแมลง

กดั ตอ่ ย

5. ย า ทิ ง เ จ อ ร์ บ ร ร เ ท า

อาการของเรมิ และงูสวัด

37 ยาเลอื ดงาม ED บ ร ร เ ท า อ า ก า ร ป ว ด ชนิดผง : รับประทานครงั้ ละ 1 – 2

ประจาเดือน ช่วยให้ ชนดิ แคปซูล : รับประทานคร้ังละ 1

ประจาเดือนมาเป็นปกติ ข้อหา้ มใช้ : หา้ มใช้ในหญิงตกเลือดหลังคล
คาเตือน : ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน
แกม้ ุตกิด
เนอ่ื งจากอาจเกิดการสะสมของการบูรแล

นไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพที่ 10

ยาสมนุ ไพรเทียบเคียงยาแผนปัจจบุ ัน เทียงเคยี งยาแผนปัจจบุ นั
ควรระวังในการใช้/ขอ้ ห้าม (compare)

(Usage) 1.Paracetamol 500 mg.
2. Calamine lotion
5 กรมั วนั ละ 3 ครงั้ กอ่ นอาหาร เมื่อมอี าการ
ครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 1 กรัม วนั ละ 3 ครง้ั ก่อน

อดออก เนอ่ื งจากอาจบดบังอาการของไขเ้ ลือดออก
อาการไม่ดขี นึ้ ควรปรึกษาแพทย์
อไข้ระหวา่ งมีประจาเดือน

1. Acyclovir cream (ยาทาแก้เริ่ม)
2.
3. Calamine lotion (แก้ผ่ืน คนั )
4. Analgesic balm (คลายกลา้ มเนอื )
5. Acyclovir cream (ยาทาแกเ้ ร่ิม)

2 กรมั ละลายน้าสุก วันละ 3 ครง้ั กอ่ นอาหาร
1 – 2 กรัม วันละ 3 ครงั้ กอ่ นอาหาร

ลอด หญงิ ตังครรภ์ และผทู้ ่ีมไี ข้
น่ือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต
ละเกิดพิษได้

68

คมู่ อื เวชปฏบิ ตั กิ ารดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผน

9. แนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารจา่ ยย

ที่ ยาสมนุ ไพร สรรพคณุ วธิ ีใช้/ขอ้ ค
(Herbs)
(properties)

38 ประสะไพล ED 1.ปวดทอ้ งประจาเดอื น ในกรณีทมี่ ีอาการปวดประจาเดือนเปน็ ปร

วนั แรกและวันทีส่ องทีม่ ีประจาเดือน

ชนิดผง: รบั ประทานครง้ั ละ 1 กรมั ละลา

ชนิดแคปซลู ชนิดเมด็ และชนิดลูกกลอน

2. ประจาเดือนไมส่ ม่าเสมอ ชนิดผง: รับประทานคร้ังละ 1 กรัม ละล

ระดมู า ใหห้ ยดุ รับประทาน

ชนิดแคปซูล ชนิดเม็ด ชนิดลูกกลอน: รับ

3 - 5 วัน เม่อื ระดมู า ให้หยดุ รบั ประทาน

3. ขับนา้ คาวปลา ชนิดผง: รับประทานคร้ังละ 1 กรัม ละล

น้าคาวปลาจะหมด แต่ไมเ่ กนิ 15 วัน

ชนิดลูกกลอน ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล

รบั ประทานจนกวา่ น้าคาวปลาจะหมด แต

ขอ้ หา้ มใช้

- หา้ มใชใ้ นหญงิ ตกเลอื ดหลงั คลอด หญิงต

- ห้ามรบั ประทานในหญิงท่ีมีระดมู ากกว่า

คาเตอื น

- ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเน่ือง โดยเฉ

อาจเกดิ การสะสมของการบูรและเกิดพิษไ

- กรณรี ะดูมาไมส่ ม่าเสมอหรือมาน้อยกวา่

- กรณขี บั นาคาวปลาในหญงิ หลังคลอดบตุ

39 ยากลว้ ย ED รักษาแผลในกระเพาะ รับประทานคร้ังละ 10 กรัม ชงน
อาหาร บรรเทาอาการ อาหาร
ท้องเสียชนิดทไ่ี มเ่ กิดจาก
การตดิ เชอ้ื เชน่ อุจจาระไม่ คาเตือน
เป็นมูก หรือมเี ลือดปน - ไมค่ วรใชใ้ นคนทีท่ ้องผกู
- การรับประทานตดิ ต่อกนั นาน ๆ อาจทา

อาการไมพ่ งึ ประสงค์ : ทอ้ งอดื

นไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

ยาสมุนไพรเทยี บเคียงยาแผนปัจจุบัน

ควรระวงั ในการใช้/ขอ้ ห้าม เทียงเคียงยาแผนปจั จบุ นั

(Usage) (compare)

ระจา ให้รบั ประทานยา กอ่ นมีประจาเดือน 2 - 3 วนั ไปจนถึง 1.Mefenamic acid500 mg.(แกป้ วด

ายนา้ สกุ วนั ละ 3 คร้งั ก่อนอาหาร ประจาเดอื น)
: รบั ประทานครง้ั ละ 1 กรัมวันละ 3 คร้งั กอ่ นอาหาร
2. Paracetamol 500 mg. (แกป้ วด)

ลายน้าสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เป็นเวลา 3 - 5 วัน เมื่อ -

บประทานคร้ังละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เป็นเวลา


ลายน้าสุก วันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร ให้รับประทานจนกว่า -

ล: รับประทานคร้ังละ 1 กรัม วันละ 3 คร้ัง ก่อนอาหาร ให้
ต่ไม่เกนิ 15 วนั

ตังครรภ์ และผู้ท่มี ีไข้
าปกติ เพราะจะทาใหม้ กี ารขบั ระดูออกมามากขึน

ฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของตับ ไต เน่ืองจาก 1. ORS
ได้ 2. lomperamide (ระงับการถา่ ย)
าปกติ ไม่ควรใช้ตดิ ตอ่ กนั นานเกิน 1 เดือน
ตร ไมค่ วรใช้ติดตอ่ กันนานเกิน 15 วัน

น้าร้อน 120 - 200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อน

าให้ทอ้ งอืดได้

69

คมู่ อื เวชปฏบิ ัตกิ ารดูแลผู้ป่วยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพท่ี 10

10. รหสั แนวทางการวนิ ิจฉยั โรค ICD 10

ลาดับ โรค/อาการ รหสั เทียบ ICD 10 แผนปจั จุบัน รหสั เทียบ ICD 10 แผนไทย

1 โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน A00.0, A00.1, A00.9,A02.0, u69.80

ไมต่ ิดเช้อื A03.0,A03.1,A03.2,A03.3,A03.8,A03.

9

A04.0,A04.1,A04.2,A04.3,A04.4,A04.

5,A04.6,A04.7,A04.8,A04.9

A05.0,A05.3,A05.4,A05.9,

A08.0,A08.1,A08.2,A08.3,A08.4,A08.

5

A09,A09.0,A09.9, K52.1,K52.8,K52.9

2 โรค อัมพฤกษ์ อัมพาต G81.0,G81.1,G8.19 U61.1(0,1,2,3,4,5,8,9)

G82.0,G82.1,G82.2,G82.3,G82.4,G82

.5

3 โรค ขอ้ เขา่ เสอื่ ม M17.0,M17.1,M17.2,M17.3,M17.4,M U57.53,U71.4(1,2),U57.50,U58.4

17.5,M17.9 4

4 โรค ไมเกรน G43.0,G43.1,G43.2,G43.3,G43.8,G43 U61.2

.9,G44.2

5 โรคภูมิแพ้ทางเดินหายใจ J00 J01.0 J01.1 J01.2 U56.10,U56.0

ส่วนต้น/ไข้หวัด common J01.3 J01.4 J01.8 U65.30

cold J01.9 J02.0 J02.9

J03.0 J03.8 J03.9

J04.0 J04.1 J04.2

J05.0 J05.1

J06.0 J06.8 J06.9 J10.1

J11.1

J20.0 J20.1 J20.2 J20.3

J20.4 J20.5 J20.6

J20.7 J20.8

J20.9 J21.0 J21.8 J21.9

H65.0 H65.1 H65.9

H66.0 H66.4 H66.9 H67.0

H67.1 H67.8 H72.0

H72.1 H72.2

H72.8 H72.9

6 โรค ทอ้ งอดื ท้องเฟอ้ K30 u66.80

7 โรคริดสดี วงทวารหนัก I84.0 I84.1 I84.2 I84.3 U68.0

I84.4 I84.5 I84.6

I84.7 I84.8 I84.9

8 ลมปลายปัตคาต ส.1 หลัง M54.96 U 57.31

๙ ลมปลายปัตคาต ส.3 หลัง M54.96 U 57.32

70

คูม่ ือเวชปฏิบัตกิ ารดูแลผ้ปู ว่ ยดว้ ยศาสตร์การแพทย์แผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

10. รหสั แนวทางการวินจิ ฉยั โรค ICD 10

ลาดบั โรค/อาการ รหัสเทียบ ICD 10 แผนปัจจบุ นั รหสั เทียบ ICD 10 แผนไทย
10 ลมปลายปัตคาต ส.4 หลงั
11 ลมปลายปัตคาต ส.5 หลงั M 7911 U 5733
12 ลมปลายปตั คาตบ่า
13 คอตกหมอน M 7911 U 5734
14 ลมปลายปัตคาตข้อมือ
15 ลมปลายปัตคาตขอ้ ศอก M62.60, M62.61 U 5720
16 ลมปลายปตั คาตขา
17 ลมปลายปัตคาตแขน M 62.68 U 71.80
18 ลมปลายปตั คาตส้นเทา้
19 นิว้ ไกปนื G 56.0 U 57.24

20 จับโปงนา้ M 77.11 U 57.23
21 ยอกเดี่ยว
22 ยอกคู่ M 62.66 U 57.26
23 หวั ไหล่ติด
24 ตะคริว M 79.12 U 57.22
25 ท้องผกู
26 ดานเลอื ด M 72.2 U 57.27
27 ฟน้ื ฟูหลงั คลอด
28 เวยี นศีรษะ M 65.3 U 71.28
29 ปวดประจาเดือน
30 ปัสสาวะขดั M 13.1, M 13.99 U 57.50

เริม M 62.69 U 75.10
แมลงกดั ต่อย
M 62.60 U 75.11
แผลถูกความร้อน
ตดิ บุหรี่ M 75.0 U 71.00
ถอนพิษ
แผลในปาก R 25.2 U 71.74

K 59.0 U 69.84

N 94.4 U 51.6

Z 39.2 U 50.3

R 42 U61.32

N 94.0 U51.6

R 30.0 U67.0

B00 U70.7

S 80.82, S90.82, S70.82,s50.82, U70.60

S40.82, S60.82

T30.0 U70.61

F17.2 -

X49.0 -

K 12.0 U65.7

71

ค่มู อื เวชปฏบิ ตั ิการดูแลผูป้ ว่ ยด้วยศาสตรก์ ารแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสุขภาพที่ 10

เอกสารอ้างองิ

สุรเกยี รติ อาชานานภุ าพ. (2551). ตาราการตรวจรักษาโรคท่วั ไป เลม่ 1 แนวทางการตรวจรักษาโรคและ
การใชย้ า. โฮลสิ ตกิ พับลชิ ชง่ิ . (พมิ พค์ ร้ังท่ี 5). กรงุ เทพฯ.

สรุ เกยี รติ อาชานานุภาพ. (2551). ตาราการตรวจรักษาโรคทวั่ ไป เลม่ 2 350 โรคกับการดแู ลรักษาและ
การปอ้ งกัน. หมอชาวบ้าน. (พิมพ์ครง้ั ท่ี 4 (ฉบับปรับปรงุ )). กรุงเทพฯ.

กลมุ่ งานสง่ เสรมิ ภูมปิ ญั ญาการแพทยแ์ ผนไทยและสมุนไพร สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมพัฒนาการแพทย์
แผนไทยและแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข คู่มือแนวทางการคัดกรองการให้บริการแพทย์แผน
ไทยคู่ขนานแผนกผ้ปู ่วยนอกในโรงพยาบาลรัฐ [หนงั สือ]. - นนทบรุ ี : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์,
2558. - เล่มท่ี 1.

สมศกั ดิ์ นวลแกว้ และคณะแนวทางการตรวจวินจิ ฉัยโรคดว้ ยวธิ กี ารทางแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ แนวทางการ
ตรวจและวินิจฉัยโรคด้วยวิธีการทางแพทย์แผนไทยประยุกต์ [หนังสือ] / บ.ก. สมศักด์ิ นวลแก้ว. -
กรงุ เทพฯ : , 2557.

ไชยยา สนทิ . (2553). ท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ จกุ เสยี ดแน่นท้อง. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก
http://snit-blogtoknow.blogspot.com/2010/10/blog-post.html

ศศิประภา บญุ ญพสิ ฎิ ฐ์. (2553). ท้องอดื .... อาหารไมย่ ่อย (ตอนที่ 1). [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก
http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=690

อาการแนน่ ทอ้ ง อาหารไมย่ ่อย. (2556). [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก
http://thaiyinyang.blogspot.com/2012/12/dyspepsia-dyspepsia-indigestion.html

Siamhealth.net บทความสขุ ภาพ [ออนไลน]์ . - 22 ธนั วาคม 2559. –
http://siamhealth.net/publichtml/Disease/GI/hemorroid.html#.WGEP-9KLS01.

สานกั ยากลุ่มนโยบายแห่งชาตดิ า้ นยา กระทรวงสาธารณสขุ จ.นนทบุรี บญั ชยี าหลักแหง่ ชาติ [ออนไลน]์ . –
22 ธนั วาคม 2559. - http://drug.fda.moph.go.th:81/nlem.in.th.

Kuptniratsaikul V, Rattanachaiyanont M. Validation of a Modified Thai version of the Western
Ontario and McMaster (WOMAC) Osteoarthritis Index for Knee. Osteoarthritis
ClinRheumatol 2007; 26: 1641-5.

Nicholus Bellamy. WOMAC Osteoarthritis Index.User guide VIII 2007: 71-3.

72

คู่มือเวชปฏบิ ัติการดแู ลผปู้ ว่ ยดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทยฯ Service plan เขตสขุ ภาพท่ี 10

คณะกรรมการพัฒนาแนวทางเวชปฏบิ ัติ
การดูแลรกั ษาผูป้ ว่ ยดว้ ยศาสตรก์ ารแพทย์แผนไทยและแพทยท์ างเลือก Service plan สาขา

แพทยแ์ ผนไทยฯ เขตสุขภาพท่ี 10

คณะผู้จัดทา : 1. นายแพทยช์ านาญ สมรมติ ร ผู้อานวยการโรงพยาบาลยางชมุ นอ้ ย

2. นายวิเชยี ร ชนะชัย เภสัชกรชานาญการ

3. นส.ดวงใจ ปวงสขุ แพทยแ์ ผนไทยปฏิบัติการ

4. นางอัมรา ศิริศรี แพทยแ์ ผนไทยปฏบิ ัติการ

5. นางนยิ ม สาระไทย พยาบาลวชิ าชีพชานาญการ

6. นส.เพ็ญพร จันทะเสน สสจ.ศรษี ะเกษ

7. นส.กันต์ฤทยั มาลยั แพทย์แผนไทย

8. นส.ภาวนา โสภาลี เภสชั กรชานาญการ

9. นส.ณัชชา ถิรเตชสิทธิ์ แพทย์แผนไทย

10. นายธานี สขุ ไชย แพทย์แผนไทยปฏบิ ัติการ

จดั ทาโดย : คณะกรรมการพฒั นาแนวทางเวชปฏบิ ตั กิ ารดแู ลรักษาผู้ปว่ ยดว้ ยศาสตร์การแพทยแ์ ผน

ไทยและแพทยท์ างเลอื ก Service plan สาขาแพทยแ์ ผนไทยฯ เขตสุขภาพที่ 10

73


Click to View FlipBook Version