The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ร่วมกันมองให้ไกลออกไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebook.mrl, 2022-04-20 23:21:21

ร่วมกันมองให้ไกลออกไป

ร่วมกันมองให้ไกลออกไป

GLOBAL COMPACT สัมมนา เรอ่ื ง
ON EDUCATION
รว่ มกนั มองใหไ้ กลออกไป
สภาการศึกษาคาทอลิก
แห่งประเทศไทย ใน Global Compact on Education
เพ่ือนาสกู่ ารพฒั นา การปฏบิ ัติ และ
การเปล่ยี นแปลง

ทกุ คนต้องกา้ วไปขา้ งหนา้ เราทกุ คนไปดว้ ยกัน แต่ละคนกา้ วไป
อยา่ งทเี่ ราเปน็ แต่มองไปขา้ งหนา้ เสมอ เพ่อื สรา้ งอารยธรรมแหง่
การปรองดองและความเปน็ หนง่ึ เดยี วกนั ซ่งึ จะไมม่ ที ว่ี า่ งสาหรบั

การระบาดใหญข่ องวฒั นธรรมทง้ิ ขว้าง พอ่ ขอขอบใจทกุ คน

2

พนั ธสญั ญาในเร่อื งการศกึ ษา

พนั ธสัญญามรี ากฐานจากแนวคิดสาคัญ 2 ประการ คือ

1. เปิดรบั ทกุ คน ทกุ ภาคส่วนให้เข้าผูกพนั ท่มุ เททางานด้วยจุดหมายเดียวกัน เพ่ือ
ชว่ ยใหช้ นรุ่นต่อไปสร้างอนาคตที่มคี วามหวังและสนั ติสุขได้

2. จัดการศึกษาบนรากฐานของภราดรภาพของมนุษย์ โดยการพบปะกัน เสวนา
แลกเปล่ียนความคิดเห็น พ่ึงพากัน ด้วยความเป็นหน่ึงเดียว เมตตา และเอ้ือ
อาทร

การเปลี่ยนแปลงนี้มุ่งสร้าง “หมู่บ้านการศึกษาระดับโลก” ท่ีจะเป็นเครือข่าย
ความสัมพันธ์ท่ีเปิดรับทุกคนให้มีความสัมพันธ์กัน เพ่ือหล่อหลอมบุคคลให้มีชีวิต
รว่ มกับผ้อู ่ืน และรบั ใชผ้ ้อู ่ืน

3

4

ทาไมจงึ เลือก
พระนามวา่

“ฟรังซิส”

นกั บญุ ฟรงั ซสิ อัสซซี ี “ทกุ วันนี้ เราไมไ่ ด้มคี วามสมั พนั ธอ์ ันดี
งามกบั สง่ิ สรา้ งของพระเจ้า ไมใ่ ชห่ รอื ?

นกั บญุ ฟรงั ซสิ อัสซซี ี คือ บุรุษทม่ี อบ
จิตวิญญาณแหง่ สนั ตแิ ละความยากจน
ใหก้ บั เรา พอ่ จึงอยากใหพ้ ระศาสนจกั ร
ดาเนนิ ชวี ติ ตา่ ตอ้ ยและเพ่อื คนยากจน”

Pope Francis

5

แบบอยา่ งของชวี ติ ต่าตอ้ ย

หลังจากได้รบั เลือกในปี 2013 พระสนั ตะปาปาฟรังซสิ แต่ทรงเลือกพานกั ในเกสท์เฮา้ ส์ Domus Santa
ไม่ทรงเข้าพานกั ใน Apostolic Palace ตามธรรมเนยี มปฏิบตั ิ Martae ซ่งึ ต้ังอยู่ติดกับมหาวิหารเซนต์ปีเตอรต์ ่อไป

ลักษณะของห้องพกั ใน Domus Sanctae Marthae 

6

แบบอยา่ งของชีวติ ต่าตอ้ ย

13 กันยายน 2013 - พระสันตะปาปาฟรงั ซสิ พระสันตะปาปาฟรงั ซสิ ใช้
ได้รับถวายรถยนต์ย่ีหอ้ Renault 4 รุน่ ปี 1984 นาฬิกาควอตซ์ Casio MQ-24-
สขี าว ที่ใชง้ านมาแล้วกว่า 300,000 กม. จาก 7BLL ซ่ึงหาซ้อื ได้ทางอินเทอรเ์ น็ท
บาทหลวงเรนโซ ซอกกา เพ่อื ใช้ในการเดินทาง ในราคาต่ากว่า $15 (ประมาณ
ส่วนพระองค์ในกรุงวาติกัน พระสนั ตะปาปามี 500 บาท) ราคายอ่ มเยาที่สดุ
พระดารัสกับบาทหลวงซอกกาว่า พระองค์ทรง ของ Casio มรี ูปลักษณเ์ รยี บง่าย
ค้นุ เคยกับรถยนต์ Renault 4 เปน็ อย่างดี ตัวเรอื นสามารถกนั น้าได้ มกี าร
เพราะในอารเ์ จนตินาพระองค์ก็ทรงใชร้ ถยนต์ ประดับประดาเพียงเล็กน้อย
รุน่ นี้เช่นกัน

7

ผูน้ าสนั ติ

 เสด็จเข้าเฝา้ สมเด็จพระสงั ฆราชฯ ณ วัดราชบพธิ ฯ ในโอกาส  เสด็จเข้าเฝา้ อายะตุลลอหฺ ซซิ ตานีย์ ผนู้ าทางจิตวิญญาณของ
เสด็จเยือนประเทศไทย มุสลิมนิกายชีอะในอิรัก ในโอกาสเสด็จเยือนประเทศอิรัก

 เสด็จเยือน Dome of the Rock กรุงเยรูซาเล็ม และทรงวอนขอ  ทรงอวยพรบุตรของผ้อู พยพลี้ภัย ท้ังที่เป็นมุสลิม คริสต์
บรรดาศาสนิกชนให้ “ร่วมมือทางานเพ่ือสนั ติภาพ” และฮินดู ในพธิ ีล้างเท้าวันพฤหสั ฯ ศักด์ิสทิ ธิ์ ท่ี
Castelnuovo di Porto
8

Pope kissed feet of South Sudan's leaders

9

Pope kissed feet of South Sudan's leaders

VATICAN CITY: Pope Francis knelt and kissed the feet of South Sudan's
rival leaders Thursday, in an unprecedented act of humbleness to
encourage them to strengthen the African country's faltering peace
process.

At the close of a two-day retreat in the Vatican for the African leaders, the
pope asked South Sudan's president and opposition leader to proceed
with the peace agreement despite growing difficulties. Then he got down
on his knees and kissed the leaders' feet one by one.

The pope usually holds a ritual washing of the feet with prisoners on Holy Pope Francis kneels to kiss the feet of South Sudan's
Thursday, but has never performed such a show of deference to political President Salva Kiir Mayardit, at the Vatican.

leaders. ท่ีมา : bangkokpost.com - 12 April 2019 - https://www.bangkokpost.com/world/1660856/pope-kisses-feet-of-south-sudans-leaders 10

South Korea’s Moon presses Pope Francis
again to visit North

11

ท่ีมา : bangkokpost.com – 31 October 2021

“Who am I
to judge?”

 Pope Francis

12

พระองค์มักตรัสถึงพระองค์เองอยู่
เสมอ ๆ ว่า เป็น “คนบาป” และไมเ่ คย
เรยี กร้องความสมบูรณแ์ บบจากผู้ใด

พระองค์ไมท่ รงกลัวการเปล่ียนแปลง
แต่ทรงปรารถนาความเปล่ียนแปลง

พระองค์ไม่ทรงกลัวท่ีจะส่ันคลอน
สถานภาพเดิม ๆ ท่ีเป็นอยู่

พระองค์ไม่ทรงกลัวนวัตกรรมใหม่ ๆ
ท่ีจะนามาซ่งึ การเปล่ียนแปลงอยา่ ง
รุนแรงและรวดเร็ว

ส่ิงเหล่าน้ีเป็นจุดเด่นของผู้นาท่ีมี
ประสิทธิภาพ

13

จดุ ประกาย

ท่านพรอ้ มสาหรับ
การติดตามการนาทาง

ของผนู้ าแบบ
Pope Francis ไหม?

14

ผู้นาสนั ติ

15

Please be an active listener!

จดบนั ทกึ ส่อื สารภาษากาย
สง่ Chat

จุดประกาย

16

Continue จุดประกายด้วย GCE Stop

Start

17

4 ความท้าทาย (1) ความเหล่ือมล้าในโอกาสทางการศกึ ษาและการเข้า ถึงเทคโนโลยที ่ีขยายกว้างข้นึ
3 ความหวงั (2) ความจาเป็นท่ีต้องสร้างรูปแบบวัฒนธรรมข้นึ ใหม่
(3) ความจาเป็นในการรบั ฟงั เสยี งของเยาวฉชน
(4) การสลัดทิ้งซ่ึงระบบการศึกษาที่ผวิ เผนิ และใชท้ างลัด

(1) ความหวังแห่งความสันติสุขและยุติธรรม
(2) ความหวังแห่งความงดงามและความดีงาม
(3) ความหวังแห่งความสมัครสมานกลมเกลียวในสังคม

7 ขอ้ พนั ธสญั ญา (1) ให้คณุ ค่าและศกั ด์ิศรีความเป็นมนษุ ย์เป็นศูนย์กลาง การศึกษาทุกรูปแบบ
(2) รบั ฟังเสียงของเด็กและเยาวชน เพ่อื ร่วมกันสรา้ งอนาคตท่ียุติธรรม สันติสขุ และทุกคนมีศักด์ิศรี
(3) ส่งเสริมใหเ้ ด็กและเยาวชนหญงิ เขา้ ถึงการศึกษาได้
(4) ใหค้ รอบครวั เป็นสถานที่แรกและสาคัญที่สุดของการศกึ ษา
(5) เปิดใจให้กับผเู้ ปราะบางที่สดุ และคนชายขอบ
(6) มุ่งค้นหาวิธีการใหม่ ๆ ในการศึกษาอย่างมีบูรณาการและเป็นองค์รวม โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับระบบนเิ วศ
(7) พิทักษ์คุ้มครองและเสรมิ สร้างโลกใหเ้ ป็นบ้านท่ีนา่ อยู่รว่ มกัน

3 ความกล้า (1) กล้าที่จะยกบุคคลเป็นศนู ยก์ ลาง
(2) กล้าที่จะทุ่มเทอยา่ งสร้างสรรค์และรบั ผดิ ชอบ
(3) กล้าที่จะสรา้ งบุคคลเพ่อื รับใช้ชุมชน

5 มมุ มองของ (1) ความจาเป็นที่ต้องเปล่ียนแปลง 18
อตั ลกั ษณก์ ารศกึ ษาคาทอลกิ (2) วิสยั ทัศนแ์ ละพันธกิจทางการศกึ ษา
(3) เป้าหมายด้านผู้เรยี น
(4) การจัดการเรยี นรูท้ ี่มี “ความสมั พันธ์” เป็นศูนยก์ ลาง
(5) กระบวนการบริหารและจัดการและชุมชนการศกึ ษา

THEME
~ Why? ~
~ What? ~
~ How? ~

19

~Why?~

20

ส ถ า นก าร ณ์ข อ งโลก ปั จจุบัน
RETHINK

 เศรษฐกจิ เตี้ย งาน No Human Touch
 อัตราดอกเบยี้ ทักษะไมส่ งู
DEBT DIVIDED ทาซา้ ๆ
หนท้ี ว่ ม ความเหล่อื มลา้
AUTOMATION
 เงินแขง็ สูง

 สดั สว่ นหนี้ GDP

DEGRADATION OF “คล่นื 6D” DEGLOBALIZATION
ENVIRONMENT การเส่อื มของแบบเดมิ
ทมี่ าก่อนกาหนด
กังวลเร่อื งสง่ิ แวดลอ้ ม เขยา่ อนาคตโลกหลังโควิด กระแสการค้าโลก vs

ESG กระแสชาตินยิ ม

ENV. + SOC + GOV

DIGITALISATION

เขา้ สโู่ ลกดจิ ิทลั DIVERGENCE

 ไทย 25% ต่อปใี น 5 ปี ข้วั อานาจเศรษฐกจิ
WEST → ASIA

1.6 ล.ล.บาท

21

Why Change?

ทาไมจาเป็นต้องเปลีย่ นแปลงระบบการศึกษา
เพอ่ื เปล่ยี นสังคม เพ่อื สรา้ งวฒั นธรรมใหม่?

22

1. ความเล่ือมลา้ ใน 2. พษิ รา้ ยของวัฒนธรรม
โอกาสทางการศกึ ษา บรโิ ภคนิยมและปัจเจกนยิ มสู่
และเข้าถึงเทคโนโลยี วัฒนธรรมท้ิงขว้างและเฉยเมย

ความจาเปน็
ในการเปลยี่ นแปลง

4. ระบบการศกึ ษาท่ีผิวเผิน 3. ความรูส้ ึกโดดเดี่ยวและความ
และใชท้ างลัด ไมม่ ่นั คงในอนาคตของเด็กและ
และใช้มาตรฐานเดียว เยาวชน และต้องการการรบั ฟงั

23

1. ความเลอ่ื มล้าทางการศกึ ษา

โลก ไทย
วิกฤตการณโ์ ควิด 19 – ทาใหม้ อี ีก 10 มคี วามสมุ่ เสี่ยงอย่างยงิ่ ที่ “เด็กยากจน
ล้านคนหลดุ ออกจากระบบการศกึ ษา พเิ ศษ 1.3 ล้านคน” จะหลดุ ออกไปจาก
จากเดิมที่มอี ยูแ่ ล้วมากกว่า 250 ล้านคน ระบบการศกึ ษาระยะยาว

(ดร. ไกรยส ภัทราวาท รองผจู้ ัดกองทุน
เพ่อื ความเสมอภาคทางการศึกษา, 3 กันยายน 2564)

24

2. ทกุ วนั น้ีเรา

“ทง้ิ ขว้าง”

กนั มากแค่ไหน?
และ “ทิง้ ขว้าง” อะไรบา้ ง

25

26

27

28

29

30

อันตราย! ใสโ่ ฟมรองด้วยพลาสติก

31

32

วฒั นธรรมทง้ิ ขวา้ ง
Throwaway culture

ปฏิวัติอุตสาหกรรม ผลิตมาก ต้นทนุ ราคาถกู ลง

วิชา “การตลาด” ขายมาก ซ้อื เกนิ ความจาเปน็

ด้านวัตถุ บรโิ ภคนิยม ทิ้งขวา้ งส่วนเกิน เทคโนโลยที าให้
“ซ้อื ” สร้างเศรษฐกิจ วัฒนธรรม เรว็ และแรงขึ้น
ทนุ นิยม ทง้ิ ขว้าง
มมี าก - ดีมาก สูญนิยม
ตายไปแล้ว “ศนู ย์”
ปัจเจกนิยม
I am ok, you are not ok

ด้านจิตใจ ท้งิ ขวา้ ง คนชรา - รากเหง้าตนเอง
เด็ก ๆ - ความหวงั
ตัวเองเปน็ ศูนย์กลาง แปลกแยก ไมม่ ่นั คง
เปาะบางต่อความสัมพันธก์ ับคนอ่ืน

33

3. ทกุ วันน้ี เรา (ผูใ้ หญ)่
รับฟังเดก็ มากเพียงใด?
รบั ฟังเด็กเป็นหรือไม่?

34

คุณเหน็ อะไรในภาพนี้

35

คุณคดิ วา่ นกั เรยี นเหน็ อะไรในภาพนี้

36

คมู่ ือสอ่ื สารขา้ มรนุ่

37

จดุ ประกาย

ฉันฟงั ...... หรือ ด้วยมุมมองของเขา

 ด้วยมุมมองของฉัน หรือ ฟังด้วยความเห็นอกเห็นใจ
 แล้วด่วนสรุป ด่วนตัดสิน
 ส่ิงท่ีคิดเหมือนกัน มีอคติ หรือ สิ่งท่ีคิดต่าง ท่ีคิดหลากหลาย เปิดกว้าง
 เพ่ือให้ฉันพูดต่อ
 เพ่ือให้เขาเปล่ียนมาหาฉัน หรือ เพ่ือเสวนา ปรึกษาหารือกันต่อ

หรือ เพ่ือให้ฉันเปล่ียนไปหาเขา 38

4. ระบบการศึกษาท่ี
และใชม้ าตรฐานเดียว

39

ปัญหาสาคญั รนุ แรงท่ีเกดิ ขน้ึ ของการศกึ ษาไทย

ผลการศึกษาคณุ ลักษณะของผู้เรียน
โดยภาพรวมแล้วพบว่าผู้เรยี นมีคณุ ลักษณะ ดังน้ี

เก่งแบบเป็ด หัวโต ตัวลบี

ไม่เชี่ยวชาญสักอยา่ ง ไม่รูจ้ ักตนเอง เน้นความรู้ ขาดปฏิบัติ

ความรูท้ ่วมหัวเอาตัวไม่รอด

นกแก้ว นกขุนทอง รู้เน้อื หามาก แต่ประยุกต์ไมเ่ ป็น

จดจา ผิวเผิน ไม่รูล้ ึก - จริง

รูธ้ รรมะ แต่ไมม่ ธี รรมะ เรยี นเพ่ือสอบ

รู้ แต่ขาดประสบการณ์ที่ซาบซ้ึง ให้สอบผ่าน ๆ ไป ไม่เกิดประโยชน์

เรยี นแบบตัวใครตัวมัน

ต่างคนต่างเรียน ไม่สนคนอ่ืน - สังคม ไม่สนใจเรยี นในระบบ

ไม่เห็นคณุ ค่าของการเรยี น ไมม่ คี วามหมายต่อชวี ิต

ที่มา: แนวทางพฒั นาสมรรถนะของผู้เรียน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2562 40
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

รฐั บาลจนี สจี ิ้นผงิ ส่งั กวาดล้าง

ธุรกิจกวดวิชา เพ่ือใหเ้ ด็ก ๆ ไม่เรยี น
มากไปกว่าจาเปน็ จากการที่คนมเี งิน
มีโอกาสทางการศึกษา ล้าหนา้ คนจน
ได้ระดับอ่ืนเกินไป

ทางการจีนจัดเด็ก ๆ ใหอ้ ยูใ่ นแถว
ด้วยการเล่นเกมเป็นเวลา และมี
โอกาสเข้าเล่นเกมยากข้ึน

41

สาเหตสุ าคญั ของปัญหา

หลักสตู ร การสอนและการจัด
ประเมนิ ผล
ส่งผล
กระทบต่อ

ส่งผลกระทบต่อ

ความด้อยคณุ ภาพมผี ลจาก กระบวนการเรยี นรู้
ความสัมพนั ธเ์ ช่อื มโยง ของผเู้ รยี น

บริบทต่าง ๆ ท่ีอยูแ่ วดล้อม ส่งผลกระทบต่อ
ไมไ่ ด้อยู่ที่ตัวครูเพยี งคนเดียว
คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ความรู้ ทักษะ เจตคติ

สมรรถนะ และ
คณุ ลักษณะ

ท่ีมา: แนวทางพัฒนาสมรรถนะของผ้เู รียน ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน, 2562 42
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

สาเหตสุ าคญั ของปัญหา

Backward Design

หลักสตู ร การสอนและการจดั การวดั ประเมนิ ผล หลักสตู ร
ประเมนิ ผล
ส่งผล กระบวนการจัดการ
กระทบต่อ เรยี นรู้
รับฟงั ผเู้ รียน
ส่งผลกระทบต่อ
คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ความด้อยคณุ ภาพมผี ลจาก กระบวนการเรยี นรู้ รบั ฟงั ผ้เู รยี น
ความสัมพนั ธเ์ ช่อื มโยง ของผเู้ รยี น

บริบทต่าง ๆ ท่ีอยูแ่ วดล้อม ส่งผลกระทบต่อ
ไม่ได้อยู่ที่ตัวครูเพยี งคนเดียว
คณุ ภาพของผเู้ รยี น
ความรู้ ทักษะ เจตคติ

สมรรถนะ และ
คณุ ลักษณะ

ท่ีมา: แนวทางพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน, 2562 43
สานักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

~What?~

44

การศกึ ษาต้องเป็นเมล็ดพันธุ์แหง่ ความหวงั

กล้าท่ีจะยกบุคคลเปน็ ศนู ยก์ ลาง GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION
1 มีความสมั พันธเ์ ป็นศูนย์กลางการเรยี นรู้
บนพ้นื ฐานของการเคารพในศกั ด์ิศรีความเป็นมนษุ ย์
ความงดงามและดีงาม

2 ความสนั ตสิ ขุ 3 ความหวงั
และยตุ ธิ รรม 3 ความสมัครสมาน
กลมเกลยี วกัน
เปลี่ยนโลกใหด้ ีกว่าเดิม วัฒนธรรมใหม่ในท่ามกลางความต่าง

ขจัดวัฒนธรรมท้ิงขว้างและเฉยเมย ท่ีหลากหลาย มีอิสรภาพท่ีเสมอภาค

กลา้ ท่ีจะทุม่ เทอยา่ ง กลา้ ทจ่ี ะสร้างคน 45
สร้างสรรคแ์ ละรบั ผดิ ชอบ เพอ่ื รบั ใชช้ ุมชน

1. กล้าทจี่ ะยกมนษุ ยเ์ ป็น ความหวัง
ศูนยก์ ลางการเรียนรู้ แห่ง
GLOBAL COMPACT
บูรณาการความสมั พนั ธ์ ระหว่างบุคคล ON EDUCATION
ด้วยกัน และระหว่างบุคคลกับโลก
ความงดงาม
และดีงาม

วัฒนธรรมทิ้งขว้างทาใหค้ นปฏิเสธอดีต
และรากเหง้าของตนเอง และขาด
ความหวังต่ออนาคต

การศกึ ษาต้องใหเ้ ยาวชนสามารถ
เช่อื มโยงประวัติศาสตร์กับความหวังต่อ
อนาคต เพ่อื สร้างตัวตนของเขาข้นึ มา
ใหม่ (Rebuilding Our Identity)

46

บ้านเกดิ เมอื งนอน

47

2. กล้าท่จี ะทุม่ เทอยา่ งสร้างสรรค์ GLOBAL COMPACT
และรับผดิ ชอบ ON EDUCATION

ทวนกระแสบรโิ ภคนิยมและทนุ นยิ มเพ่อื ให้บุคคลใช้ชวี ิต
อย่างมีวิจารณญาณและมุ่งประโยชนส์ ว่ นรวม เทคโนโลยมี ีจังหวะ

ท่ีรวดเรว็ และต่อเน่อื ง สามารถใช้ทักษะด้าน “How” เท่าน้นั

ความหวัง แหง่ ความสนั ตสิ ขุ และยุตธิ รรม

การศึกษาต้องปลกู ฝังใหร้ ู้จักไตร่ตรองแยกแยะ เห็นภาพ
ในมุมกว้าง ภาพใหม่ รู้จักต้ังคาถาม “Why” และค้นคว้าหาคาตอบ

จนรู้จักตนเอง ผอู้ ่ืน และพระเจ้า (Educating the Questing)

48

Learning by Refraction

“Refraction” หมายถึง การรวมกันของ
การไตรต่ รอง (Reflection) กับการลงมอื
ปฏิบัติ (Action)

ผเู้ รยี นจาเปน็ ต้องไตร่ตรองเน้อื หาวิชาการ
โดยครุ่นคิด หมกมุ่น แยกแยะเน้อื หา
ออกเป็นชิน้ ๆ แล้วตัดแต่งเน้อื หา
เปล่ียนแปลงมนั บูรณาการเขา้ ด้วยกัน
จนตกผลึกเปน็ แนวคิดใหมใ่ ห้เขา้ กับบรบิ ท
ของตนเอง แล้วลงมือทาโดยนาสิ่งที่ได้
เรยี นรู้นาไปประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง

49

3. กล้าทจี่ ะสร้างบคุ คล GLOBAL COMPACT
เพ่อื รบั ใช้ชมุ ชน ON EDUCATION

กิจกรรมเพ่ือสังคมเป็นพ้นื ฐานของ ความหวงั
การถ่ายทอดและแสวงหาความรูท้ ้ังปวง

แหง่
ความสมคั รสมาน
กลมเกลียวกนั
การศกึ ษาต้องเรง่ สรา้ งความเปน็ หน่งึ เดียวกัน

ของคนต่างรุน่ ต่างสมยั (Intergeneration

Solidarity) และเช่อื มโยงมนุษยเ์ ขา้ กับจักรวาล

และโลกเพ่อื พิทักษ์ และปกปอ้ งโลกด้วยการศกึ ษา

ที่เป็นองค์รวม โดยเฉพาะนเิ วศวิทยากับมานษุ ยวิทยา

50


Click to View FlipBook Version