The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ร่วมกันมองให้ไกลออกไป

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ebook.mrl, 2022-04-20 23:21:21

ร่วมกันมองให้ไกลออกไป

ร่วมกันมองให้ไกลออกไป

ข้อพันธสญั ญา

ขอ้ พนั ธสญั ญาเพ่อื เปลี่ยนแปลงการศกึ ษา มี 7 ประการ คือ

1. ให้คณุ คา่ และศกั ด์ิศรคี วามเปน็ มนษุ ยเ์ ปน็ ศนู ย์กลางการศกึ ษาทกุ รูปแบบ
2. รบั ฟังเสียงของเด็กและเยาวชน เพ่อื ร่วมกนั สร้างอนาคตที่ยุติธรรม

สนั ติสุขและทกุ คนมีศกั ด์ิศรี
3. ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนหญงิ เข้าถึงการศกึ ษาได้
4. ใหค้ รอบครัวเปน็ สถานท่ีแรกและสาคัญท่ีสดุ ของการศกึ ษา
5. เปิดใจให้กับผเู้ ปราะบางที่สุดและคนชายขอบ
6. มงุ่ ค้นหาวิธกี ารใหม่ ๆ ในการศกึ ษา อยา่ งมบี ูรณาการและเปน็ องค์รวม

โดยเฉพาะที่เกย่ี วกับระบบนเิ วศ
7. พทิ ักษ์คมุ้ ครองและเสรมิ สร้างโลกให้เปน็ บา้ นท่ีนา่ อยู่รว่ มกัน

ด้วยความเช่ือมน่ั ว่า การศกึ ษาจะต้องเป็นเมล็ดพนั ธแุ์ หง่ ความหวัง คอื
ความหวังแหง่ สันติสุขและความยุติธรรม ความหวังแหง่ ความงดงามและ
ความดีงาม ความหวังแหง่ ความสมัครสมานกลมเกลียวกนั ในสงั คม

51

~How?~

52

READ

53

มาตรฐานการศกึ ษา 3 มาตรฐาน

1. คุณภาพของผูเ้ รียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รียน
1.2 คุณลักษณะพึงประสงค์ของผู้เรียน

2. กระบวนการบริหารและการจัดการ
3. กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้น

ผู้เรียนเป็นสาคัญ

54

1.1 ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผเู้ รยี น
GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• สามารถอ่าน เขยี น ส่ือสาร คานวณ คิด • เขา้ ใจความต้องการการเรยี นรูข้ องตนเอง
วิเคราะห์ มวี ิจารณญาณ ใชเ้ หตผุ ล ตัดสินใจ รับฟัง แลกเปลี่ยน และเสนอความเหน็ ต่อครู
และแกป้ ัญหาได้ และเพ่อื นด้วยความเคารพและเสมอภาค

• ไตร่ตรองแยกแยะ ถอดบทเรยี นด้วยความเข้าใจ
ที่ลึกซ้ึง เหน็ ภาพใหญอ่ ย่างเป็นองค์รวม

• ใช้เทคโนโลยีเพ่อื พฒั นาตนเองและสงั คมอย่าง • ใชเ้ ทคโนโลยีและมสี มรรถภาพตรรกะความคิด
สร้างสรรค์และมคี ณุ ธรรม การปฏิบตั ิ “How” และตั้งคาถาม “Why” เพ่อื
ค้นคว้าหาคาตอบด้วยตนเองและรว่ มกบั ผอู้ ่ืน

55

1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผเู้ รยี น
GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติท่ีดีพรอ้ มสาหรบั • มคี วามรู้ด้านวิชาการอย่างมีบูรณาการและเปน็
การศกึ ษาต่อข้นั สงู ข้นึ และการทางานอาชพี องค์รวมที่จาเป็นต่อความสัมพนั ธ์ของ
สง่ิ แวดล้อมโลกและเพ่ือรว่ มสร้างโลกที่ดี
กว่าเดิม

• เข้าใจและเคารพภูมหิ ลังและรากเหง้าของ
ตนเองและสงั คม เพ่อื มชี ีวิตร่วมกับผ้อู ่ืนได้อยา่ ง
สงบสุข

56

1.2 คณุ ลกั ษณะพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• ภูมใิ จในท้องถ่ิน ความเป็นไทย อนรุ กั ษ์ • มวี ิถีชีวิตที่ปฏิเสธวัฒนธรรมทิ้งขว้าง รว่ มกับ
วัฒนธรรมประเพณี ผู้อ่ืนในการปกปอ้ งโลกและสิง่ แวดล้อมอันเปน็
บา้ นท่ีอยู่ร่วมกนั ให้อบอุ่นมากข้นึ

57

1.2 คุณลกั ษณะพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น
GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• สามารถอยูร่ ่วมกนั บนความแตกต่างและ • ให้คณุ ค่าและเคารพศกั ดิ์ศรีความเป็นมนษุ ย์
หลากหลาย ของตนเองและผ้อู ่ืน โดยไมแ่ บง่ แยกด้วยความ
ต่างใด ๆ

• เปดิ รบั ความต่างที่หลากหลาย ใช้ชีวิตอยา่ งมี
อิสรภาพแต่ด้วยความเสมอภาคกับผอู้ ่ืนจนเปน็
หน่งึ เดียวกนั

• มงุ่ ประโยชนส์ ว่ นรวมเปน็ สาคัญ ไมว่ างเฉยต่อ
เสียงเรยี กรอ้ งเพ่อื โอกาสการรบั ใช้สังคม

58

เราเชอื่

59

GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มองใหไ้ กลออกไปดว้ ย GCE

เปลี่ยน

การสร้างเดก็ เพื่อรับใชร้ ะบบทนุ นยิ ม

ให้เปน็

การหลอ่ หลอมให้เดก็ รบั ใชส้ ังคม
และสร้างสรรคโ์ ลก

60

จดุ ประกาย

ฉันอยากจะเห็นนกั เรยี น
ของฉันเปน็ อย่างไร

61

2. กระบวนการบรหิ ารและจดั การ GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• มวี ิสัยทัศนแ์ ละพนั ธกิจที่ชดั เจน สอดคล้องกบั • รบั ฟงั เด็กและเยาวชน เพ่อื ให้เขาเปน็ ศนู ยก์ ลาง
สถานศกึ ษาความต้องการของชุมชน ของการศกึ ษาและพร้อมปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับ
นโยบายรัฐ แผนการศกึ ษาชาติ ผเู้ รียน ไมใ่ ช่ผู้เรียนปรบั ตัวเข้ากบั โรงเรียน
ทันต่อการเปล่ียนแปลง
• เปดิ โอกาสใหแ้ กท่ กุ คนอย่างเสมอภาคและเท่า
เทียมโดยเฉพาะเด็กและเยาวชนหญงิ
ผ้เู ปราะบางและคนชายขอบ

62

2. กระบวนการบรหิ ารและจดั การ GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• พัฒนาวิชาการที่เนน้ คณุ ภาพผู้เรยี นรอบด้าน • สร้างเครือขา่ ยกบั องค์กรต่าง ๆ ในสงั คมเพ่อื ให้
และทกุ กลุ่มเป้าหมาย เช่อื มโยงชีวิตจริงและ ทกุ คนมสี ่วนรว่ ม จนเกิด “หมบู่ า้ นการศกึ ษา”
เปน็ แบบอย่างได้ ในชุมชน

• จัดสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการเรียนรูอ้ ย่างมี • ปรับสภาพแวดล้อมการศกึ ษาแบบมีสว่ น
คณุ ภาพและปลอดภัย รว่ มกับทกุ ฝ่ายในชุมชนท้องถิ่น รวมถึง
ผู้ปกครอง

• จัดระบบเทคโนโลยเี พ่ือสนบั สนนุ การบริหาร • สนบั สนนุ การใช้พลังงาน และทรพั ยากร
จัดการและการจัดการเรยี นรู้ หมนุ เวียน รวมถึงจัดกิจกรรมท่ีเปน็ มติ รกับ
ส่ิงแวดล้อม และให้มพี ้ืนทส่ี เี ขยี ว

63

2. การพฒั นาครู GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ คี วามเชี่ยวชาญทาง • พฒั นาครูอยู่เสมอ เพ่อื ให้เปน็ แบบอยา่ งในการ
วิชาชีพตามความต้องการ เรียนรู้และดาเนนิ ชวี ิตท่ีกระตือรอื ร้น มงุ่ มน่ั ท่ีจะ
สรา้ งโลกให้ดีกว่าเดิม

• จัดใหม้ ชี ุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี เพ่ือพัฒนา • รู้จักรับฟัง และยอมรับความแตกต่างที่
ตน หลากหลาย ใหผ้ ู้เรียนต้ังคาถาม เสนอความเหน็
เรยี นรูพ้ ร้อม ๆ กับผเู้ รยี น

64

สมหมายขโมยยา

หญิงคนหน่งึ กาลังจะเสียชีวิตด้วยมะเรง็ ชนิดพิเศษชนิดหน่งึ ซ่งึ ไมพ่ บบ่อยนักในคนไข้ แพทย์
ผรู้ ักษาเธอมองไมเ่ หน็ ทางอ่ืนที่จะชว่ ยเธอได้นอกจากจะใชย้ าชนดิ หน่งึ ที่ผลิตข้ึนมาใหม่ ยานีอ้ าจ
ช่วยรกั ษาชวี ิตของเธอได้ ผู้คิดผลิตยาใหมท่ ี่เปน็ เภสัชกรคนหน่ึง และได้จดทะเบยี นสิทธิบตั รไว้ จึง
ได้รับความค้มุ ครองตามกฎหมาย ยามสี ่วนประกอบหลักท่ีทาจากแรเ่ รเดียม ค่าใชจ้ ่ายในการผลิต
ยาสูงมาก และเภสัชกรผูค้ ิดค้นต้องการขายยาน้ี ในราคา 10 เท่าของต้นทุนในการผลิต เภสัชกรได้
จ่ายเงิน 20,000 บาท สาหรบั ต้นทุนการผลิต และต้องขายยาชุดเล็ก 1 ชุด ในราคา 200,000 บาท
สมหมายเปน็ สามีของหญงิ คนน้นั ได้พยายามรวบรวมเงิน รวมท้ังกู้ยมื รวมเบด็ เสร็จได้มาเพียง
100,000 บาท เท่ากับคร่งึ หน่ึงของราคายาเท่าน้ัน

สมหมายขอเภสัชกรว่า ภรรยาของเขากาลังจะตายและอ้อนวอนให้เภสัชกรขายยาให้เขาใน
ราคาถกู กว่าท่ีกาหนด หรือมิฉะน้นั ก็ขอให้ยาแก่เขาก่อนแล้วเขาจะนาเงินมาจ่ายใหค้ รบถ้วน
ภายหลัง แต่เภสัชกรยืนยนั ว่า “ไมไ่ ด้ ผมคิดค้นตัวยานี้มาด้วยความยากลาบากและต้องการทา
กาไรจากมนั ” สมหมายโกรธ จึงคิดท่ีจะบุกรุกเข้าไปในรา้ นของเภสัชกรและขโมยยามาให้แก่
ภรรยาของเขา

ถ้าคณุ เปน็ สมหมาย คณุ จะขโมยยานหี้ รอื ไม่? เพราะเหตใุ ด? 65

หมอประจกั ษ์

หมอประกฤต
(โฆษณา True)

66

จติ ลกั ษณะทส่ี าคญั และตอ้ ง
ไดร้ ับการปลกู ฝังใหเ้ พยี งพอ
ได้แก่

1. เหตุผลเชิงจรยิ ธรรม ให้เหน็ แกส่ ว่ นรวม

มากกว่าสว่ นตัว

2. ความเช่อื อานาจในตน เช่อื ว่าตนทาดี

จะดี ทาช่ัว จะช่ัว ตนสามารถจะทานาย

ผลที่จะเกิดข้ึนกับตนได้ และสามารถ

ควบคมุ ผลน้นั ๆ ได้

3. แรงจูงใจใฝส่ ัมฤทธิ์ ความมงุ่ มน่ั จะทาดี

เพ่ือใหเ้ กิดผลดี

4. ลักษณะมุง่ อนาคต - ควบคมุ ตน มี

ความหวัง และสามารถควบคมุ ตน

วางเปา้ หมายและดาเนนิ การอยา่ งอดทน

จนบรรลตุ ามความหวัง

67

3. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• จัดการเรียนผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงตาม • จัดการเรียนรู้ท่ีความสัมพนั ธ์ “บุคคล” เปน็ ศูนยก์ ลาง
มาตรฐานและตัวชีว้ ัด ด้วยคุณภาพของการเรียนรู้ค่กู ับความสมั พนั ธแ์ ละ
การเสวนาระหว่างครู นกั เรียน และผู้อ่ืน

• ใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ รวมท้ัง • จัดการเรียนรู้อย่างมีบูรณาการและเปน็ องค์รวม
ภมู ิปญั ญาท้องถ่ินท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้โดยสร้างโอกาส โดยเฉพาะนเิ วศวิทยาและมานุษยวิทยา เพ่อื ให้เปน็
ให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ความสมั พนั ธข์ องสิง่ แวดล้อมโลกและมนุษย์

• จัดการเรียนรู้ท้ังการสร้างทักษะ “How” และรู้จักต้ัง
คาถามและหาคาตอบ “Why” เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจ
ที่ลึกซ้งึ ไม่ผิวเผิน ไม่ใชท่ างลัด

• จัดการเรียนรู้ใหร้ ัก เคารพ พิทักษ์ค้มุ ครองโลก
ธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม

68

ธรรมชาตกิ ็รกั เธอ

69

สกู่ ารพัฒนาผู้เรียนเชงิ บวก
เข้าใจเนอ้ื หาทีซ่ ับซอ้ น
อย่างกระตอื รอื รน้

และสามารถถ่ายโอนส่ิงทเ่ี รยี น
ไปใชแ้ ก้ปัญหาใหม่

และใชใ้ นสภาพแวดล้อมใหม่

70

ข้อคน้ พบสาคญั

1. นักเรยี นมาเรยี นโดยมคี วามคิด 2. จัดระเบยี บความรูใ้ หส้ ามารถจาและ 3. การสอนตามแนวทาง “การติดตามการ
ความเช่อื ทมี่ อี ยู่เดิม สามารถเข้าใจ นาไปประยุกต์ใช้ได้ เพ่อื พฒั นาศักยภาพ เรยี นรูค้ ิด” (Metacognitive) ชว่ ยใหน้ กั เรยี น
ต่อเม่อื โยงกลบั ไปยงั ความเขา้ ใจที่มอี ยู่ ของนักเรยี นในการเสาะหาความรู้ ควบคุมการเรยี นรูข้ องตนเอง โดยกาหนด
เดิมนน้ั เปา้ หมายของการเรยี นรู้ และติดตาม
ความก้าวหน้าในการบรรลเุ ป้าหมายของตนเอง

นัยต่อการสอน 1. ครูต้องค้นหาและทางานกับความ 2. ครูต้องสอนเน้ือหาบางเร่อื งอยา่ งลงลึก 3. การสอนด้านทักษะ การคิด ความรูค้ ิด ควร
ยกตัวอยา่ งท่ีเก่ียวขอ้ งกับมโนทัศน์หลาย ๆ ผนวกเปน็ สว่ นหนึ่งของวิชาต่าง ๆ ในหลักสูตร
เข้าใจทผี่ ้เู รยี นมอี ยู่ก่อน ตัวอย่าง คนสอนก็เชน่ เดียวกับงานชา่ งไม้ ชนิดของ
→ ประเมินความก้าวหน้า (Formative) → เปล่ียน “การสอนควบคมุ ทกุ หวั ขอ้ วชิ า เคร่อื งมือข้ึนอยูก่ ับคนที่ทาและวัสดทุ ่ีใช้
อย่างผวิ เผนิ ”
→ เป็น “การสอนท่ีลงลึกในบางหวั ขอ้ ”

การออกแบบ 1. โรงเรยี นและห้องเรยี นต้อง 2. ครูต้องใสใ่ จว่าจะสอน 3. การประเมนิ ความก้าวหน้า 3. แนวการสอนทเ่ี น้นชุมชน
ให้ผู้เรยี นเปน็ ศนู ย์กลาง เน้ือหาวิชาไปทาไม และการมี ชว่ ยดูให้จับความคิดเดิมของ เปน็ ศูนย์กลาง (Community -
สภาพแวดล้อม ยกระดับความยากในระดับที่ ความสามารถหรอื ความ นักเรยี น สคู่ วามคิดของ oriented) เปลย่ี นมาตรฐาน
ในหอ้ งเรียน นักเรียนจัดการได้ สยู่ ากพอที่จะ เชย่ี วชาญในวิชาน้ัน ๆ มลี ักษณะ ศาสตรท์ เ่ี รยี น แล้วออกแบบ - เปล่ียนจาก “อย่าใหจ้ ับได้วา่ ไม่
ทาใหน้ กั เรยี นลองค้นหาวธิ ที าให้ อยา่ งไร การสอนใหส้ อดคล้อง รู้” เป็น กลา้ เสย่ี งทางวิชาการ ให้
สาเรจ็ แต่ไม่ยากจนทาใหถ้ อดใจ เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนมีโอกาส นักเรียนมีโอกาสทาผดิ ได้ ให้
ถ่ายทอดและพฒั นาความคิด ความเหน็ ย้อนหลัง (Feedback)
ของเขา → Reflection และแก้ไขใหมไ่ ด้

ที่มา: มนษุ ยเ์ รียนรูอ้ ยา่ งไร, สลา สามภิ ักดิ์ (ผแู้ ปล), 2563 71

3. กระบวนการจดั การเรยี นรู้

มาตรฐานการศกึ ษา มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE

• ประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ ใชเ้ คร่อื งมอื ที่ • ประเมนิ ผลการเรยี นรู้เพ่อื พฒั นานกั เรยี นเปน็
เหมาะสม ใชข้ ้อมลู ย้อนหลังและนาผลมา รายบุคคล ไมใ่ ช่ด้วยมาตรฐานหรือวิธกี ารเดียว
พฒั นาผเู้ รยี น
• เปดิ โอกาสและรับฟังนกั เรยี นในการออกแบบ
การเรียนรู้และกจิ กรรมของตนเองร่วมกับครู

72

ฟังเด็กใหเ้ ปน็

73

ในทกุ บทของหนงั สือ “ฟงั เสียงเด็กเปน็ ” ผู้เขยี นได้
พยายามเรียบเรียงทกุ ความคิดท่ีเด็กนาเสนออย่าง
ต้ังใจให้ความสาคัญทกุ เร่อื งท่ีเด็กนาเสนอ จดคาที่
สะท้อนความเปน็ ตัวตนของเด็กไว้ มใิ ยที่จะซา้ ซ้อน
คล้ายคลึงกัน ประเด็นไมแ่ ตกต่างกันมากนกั
แต่เม่อื ทกุ ความคิด การพูดของเด็กเต็มไปด้วย
ความปรารถนาดี กล้าที่จะแสดงความคิดเห็นอยา่ ง
ตรงไปตรงมา บรสิ ุทธใิ์ จเม่อื ผใู้ หญอ่ ย่างผู้เขยี นฟงั
เปน็ ฟงั อย่างต้ังใจ ไมอ่ คติ ไมค่ ิดแทนเด็ก ไมใ่ ชเ้ ด็ก
เปน็ เคร่อื งมอื แต่สง่ เสรมิ การมสี ่วนรว่ มจากภายใน
ของกล่มุ เด็กแต่ละองค์กรในหลักการประชาธปิ ไตย
เป็นที่ต้ัง

สิงหาคม 2560

74

ความ ความ ประวัติ ภูมิ
สนใจ ต้องการ ศาสตร์ ปัญญา
ท้องถ่ิน
+
เด็กเปน็ ชุมชน
ศนู ยก์ ลาง เรียนรู้

ศูนย์ สมั มาชพี
เรยี นรู้

ปัญหา

หลักสตู รบรู ณาการ

โรงเรยี นวิจัยทอ้ งถิ่น ชุมชนขดั เกลา

การต้ังโจทย์ เรียนรู้รว่ มกนั Dialogue
วิทยากรกระบวน ตัวอยา่ ง
วิจัยท้องถ่ิน การลงมอื ปฏิบตั ิ
ทักษะชีวิต ถ่ายทอด

ท่ีมา : ฟงั เสยี งเด็กเปน็ , ศ.ดร. สมพงษ์ จิตระดับ, 2560 75

3. กระบวนการจดั การเรยี นรู้

มองใหไ้ กลออกไปด้วย GCE
ต้องจัดให้มีมาตรการปกป้องคุ้มครอง
นักเรียนท่ีมผี ลอยา่ งแท้จริง ต้องไมใ่ ช้
ความรุนแรงในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะใน
การสอนและการลงโทษ

76

GLOBAL COMPACT
ON EDUCATION

มองใหไ้ กลออกไปดว้ ย GCE

เปลี่ยน

การสร้างเดก็ เพื่อรับใชร้ ะบบทนุ นยิ ม

ให้เปน็

การหลอ่ หลอมให้เดก็ รบั ใชส้ ังคม
และสร้างสรรคโ์ ลก

77

5 มุมมองอตั ลกั ษณ์
การศกึ ษาคาทอลกิ

1. ความจาเป็นที่ตอ้ งเปลยี่ นแปลง
2. วิสัยทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ทางการศึกษา
3. เปา้ หมายดา้ นผู้เรยี น
4. การจัดการเรยี นรู้ที่มี “ความสมั พนั ธ”์

เปน็ ศนู ย์กลาง
5. กระบวนการบรหิ ารและจดั การและ

ชมุ ชนการศึกษา

78

1. ความจาเป็นทตี่ อ้ งเปลยี่ นแปลง

วิ ก ฤ ต ท า ง สั ง ค ม แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ท่ี พึ ง ต ร ะ ห นั ก แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ใ น ก า ร
เปลี่ยนแปลงระบบการศึกษา มดี ังต่อไปนี้

1) ความเหล่ือมล้าในโอกาสทางการศึกษาและเข้าถึงเทคโนโลยีขยายกว้างข้ึน
และรุนแรงข้ึนเน่อื งจากวิกฤตการณ์โควิด

2) ความจาเป็นต้องสร้างรูปแบบวัฒนธรรมใหม่ ที่แก้พิษร้ายของวัฒนธรรม
ปจั เจกนิยม ซ่งึ ทาใหเ้ กิดค่านิยมเห็นแก่ตัวเองและการวางเฉย

3) ความจาเป็นในการฟังเสียงของเยาวชนที่จะสะท้อนถึงความโดดเดี่ยวและ
ความไมม่ ่ันใจในอนาคต เพ่อื ใหเ้ ขากลับมามีความหวัง

4) การสลัดทิ้งซ่ึงระบบการศึกษาท่ีผิวเผินและใช้ทางลัดซ่ึงมีอยู่มากมาย และท่ี
ข้นึ อยูก่ ับผลการสอบมาตรฐานเพยี งอย่างเดียว

79

2. วสิ ัยทศั น์และพนั ธกจิ ทางการศกึ ษา

วิสัยทัศนท์ างการศึกษา

การจัดการศึกษาใหม่ที่จะเกิดข้นึ ควรอยูบ่ นหลักการดังต่อไปนี้

1) ทาให้เกิดวัฒนธรรมใหม่ท่ีสามารถสร้างความเป็นหน่ึงเดียวกันในท่ามกลาง
ความต่างที่หลากหลาย ให้มีอิสรภาพที่เสมอภาคกับผู้อ่ืน ให้มีความเป็น
ตัวเองที่ยอมรับความเปน็ อ่ืน

2) มีความสัมพันธ์ของบุคคล ระหว่างครู นักเรียน และผู้อ่ืนเป็นศูนย์กลางการ
เรียนรู้ “บนพ้ืนฐานของการเคารพในศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ของกัน
และกัน”

3) สามารถเปลี่ยนโลกให้ดีกว่าเดิมได้ เป็นโลกที่มีสันติภาพ ความยุติธรรม
ภราดรภาพและความมงุ่ ม่นั ท่ีจะขจัดผลร้ายท่ีเกิดจากวัฒนธรรมทิ้งขว้างและ
การเฉยเมย

80

2. วสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกจิ ทางการศกึ ษา

พันธกิจทางการศกึ ษา

ต้องมีความกล้าท่ีจะทาพันธกิจใน 3 ด้าน คือ

1) กล้าที่จะยกบุคคลเป็นศูนย์กลาง การศึกษาเชิงบูรณาการความสัมพันธ์
ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล ด้ ว ย กั น แ ล ะ ร ะ ห ว่ า ง บุ ค ค ล กั บ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง โ ล ก
สรา้ งเครือข่ายความสมั พนั ธก์ ับสถาบนั ต่าง ๆ

2) กล้าท่ีจะท่มุ เทอยา่ งสร้างสรรค์และรบั ผดิ ชอบ ท่ีจะใหส้ วนกระแสของบริโภค
นิยมและปัจเจกนิยม ด้วยการหล่อหลอมให้บุคคลใช้ชีวิตมีวิจารณญาณและ
มุง่ ประโยชน์ส่วนรวม

3) กล้าท่ีจะสรา้ งบุคคลเพ่อื รบั ใช้ชุมชน เต็มใจอุทิศตนรบั ใชช้ ุมชน

กระบวนการศึกษาต้องพัฒนาจาก “การศึกษาเพ่ือการรับใช้” ให้เป็น
“การศึกษาเป็นการรับใช้”

81

3. เป้าหมายด้านผเู้ รยี น

1. ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผเู้ รยี น

1) ผู้เรียนมีความสามารถในการเข้าใจถึงความต้องการศึกษาของตนเองและ
สามารถกาหนดหัวข้อหรอื ประเด็นท่ีสนใจที่จะศกึ ษาได้ด้วยตนเอง

2) ผู้เรียนมีความสามารถไตร่ตรอง แยกแยะ พร้อมที่จะเรียนรู้ เข้าใจ ค่อย ๆ
ถ อ ด บ ทเ รี ย น จ น เ ข้ า ใ จ คว าม รู้ อ ย่ า ง ลึ ก ซ้ึ ง แ ล ะเ ห็ น ภ า พ ใ ห ญ่ อ ย่ า ง
เป็นองค์รวม

3) ผู้เรียนมีความรู้ทางวิชาการท่ีมีบูรณาการและเป็นองค์รวมโดยเฉพาะในด้าน
นิเวศวิทยากับมานุษยวิทยาท่ีจาเป็นต่อความสัมพันธ์ของส่ิงแวดล้อม โลก
และมนษุ ย์

4) ผู้เรียนเข้าใจและเคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ภูมิหลัง และรากเหง้าของ
ตนเอง เพ่อื มชี ีวิตร่วมกับผู้อ่ืนแม้ในต่างรุ่นต่างวัยกันได้อยา่ งสงบสขุ

82

3. เป้าหมายด้านผเู้ รยี น

2. คุณลักษณะพึงประสงค์ของผเู้ รยี น

1) ผู้เรียนมีวิถีชีวิตร่วมกับผู้อ่ืน โดยให้คุณค่าและเคารพต่อศักด์ิศรีความเป็น
มนษุ ย์ของตนเองและผู้อ่ืน

2) ผูเ้ รียนมคี วามภูมใิ จในตัวเอง แต่ขณะเดียวกัน เปิดรบั ความต่างที่หลากหลาย
ใช้ชีวิตอย่างมีอิสรภาพ แต่ด้วยความเสมอภาคกับผอู้ ่ืน

3) ผู้เรียนมีวิถีชีวิตที่ปฏิเสธวัฒนธรรมทิ้งขว้างและสามารถร่วมกับผู้อ่ืนในการ
ปกปอ้ งโลกและส่ิงแวดล้อม อันเปน็ บ้านท่ีอยู่รวมกันให้อบอุ่นมากข้ึน

4) ผู้เรียนมีวิจารณญาณ มุ่งประโยชน์ส่วนรวมเป็นสาคัญ ไม่วางเฉยต่อเสียง
เรยี กรอ้ งหรือโอกาสในการรบั ใชผ้ ู้อ่ืน ชุมชม และสงั คม

83

4. การจดั การเรยี นรทู้ มี่ ี “ความสมั พนั ธ์” เปน็ ศนู ย์กลาง

โรงเรยี นคาทอลิกต้องร่วมกับ “บุคคล” ต่าง ๆ ในการจัดการเรยี นรู้

1) จัดการเรียนการสอนที่มีความสัมพันธ์ “บุคคล” เป็นศูนย์กลาง ด้วยตระหนักว่า คุณภาพของ
การเรียนรู้ข้ึนอยู่กับความสัมพันธ์ระหว่างครู นักเรียน (และผู้อ่ืน) และการเสวนาแลกเปล่ียน
เรียนรู้กัน

2) จัดการเรียนรู้อย่างมีบูรณาการเป็นสหวิชาการและเป็นองค์รวม โดยเฉพาะนิเวศวิทยากับ
มานุษยวิทยา ใหเ้ ห็นถึงความสัมพันธแ์ ละความเก่ียวข้องกันของมนุษยก์ ับทุกส่ิงสร้าง

3) จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีสมรรถภาพและตรรกะการคิดท้ัง “How” และรู้จักต้ังคาถามและหา
คาตอบของคาถาม “Why” เพ่อื ใหเ้ กิดทักษะความคิดไตร่ตรองอยา่ งลึกซ้ึงและมีวิจารณญาณ ไม่
เปน็ การศกึ ษาที่ผิวเผินและใชท้ างลัด

4) จัดการเรียนรู้กิจกรรมเพ่ือให้ผู้เรียนรัก เคารพ พิทักษ์ คุ้มครองและสร้างโลก ธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมให้เป็นบ้านท่ีน่าอยู่ร่วมกัน มีจิตสานึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรหมุนเวียน
และเศรษฐกิจ ด้วยเริ่มต้นจากท้องถิ่นท่ีอยู่

5) ตรวจสอบและประเมินผลการเรียนรู้เพ่ือมุ่งการพัฒนาของผู้เรียนเป็นรายบุคคลเป็นสาคัญ ไม่
ด้วยมาตรฐานและวิธเี ดียวกันแต่ด้วยมาตรฐานและวิธกี ารท่ีหลากหลายท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน

6) ต้องจัดให้มีมาตรการท่ีมีผลอย่างแท้จริงในการปกป้องและคุ้มครองนักเรียน ต้องไม่มีการใช้
ความรุนแรงในทุกรูปแบบ โดยเฉพาะในการเรียนการสอนและการลงโทษ

84

5. กระบวนการบรหิ ารและจดั การและชุมชนการศกึ ษา

เพ่อื นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงระบบการศกึ ษาของโรงเรียน

1) โรงเรียนรับฟังเด็กและเยาวชน เพ่ือให้เขาเป็นศูนย์กลางของการศึกษา และ
พร้อมปรบั ตัวให้เข้ากับผเู้ รียน ไมใ่ ช่ผู้เรียนปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับโรงเรยี น

2) ครูได้รับการพัฒนาอยู่เสมอเพ่ือให้เป็นแบบอย่างในการเรียนรู้และดาเนินชีวิตท่ี
กระตือรือร้น มุ่งม่ันที่จะสร้างโลกท่ีดีกว่าเดิม รู้จักรับฟังและยอมรับความต่างท่ี
หลากหลาย ให้ผู้เรียนต้ังคาถาม และเปิดรับความเห็นข้อเสนอใหม่ ๆ ของผู้เรียน
และเรียนรู้ไปพร้อม ๆ กับผู้เรยี น

3) โรงเรยี นสรา้ งความสัมพันธ์และเครือข่ายความสัมพันธ์กับองค์กรต่าง ๆ ในสังคม
เพ่ือสานสัมพันธ์และสร้างเครือข่ายแห่งการเรียนรู้ รวมถึงศาสนสัมพันธ์ เพ่ือให้
ทุกคนในชุมชนเข้ามีส่วนในการบริการด้านการศึกษาที่มีคุณภาพ จนเกิดเป็น
“หมูบ่ ้านการศกึ ษา” ในชุมชน

4) โรงเรียนสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือแนะนาแก่พ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถ
เป็นผู้ให้การศึกษาแก่ลูก มีหลักสูตรการฝึกอบรมผู้ปกครองและการเรียนรู้ด้วย
ตนเอง เพ่ือใหค้ รอบครวั เป็นสถานท่ีสาคัญที่สุดในการให้การศกึ ษาของลูก

85

จดุ ประกาย

ฉนั จะต้องเปลยี่ นแปลงตนเอง
อยา่ งไร เพอ่ื เป็นส่วนหน่งึ ของพลงั

ท่เี ข้มแขง็ ในการตอบสนอง
ขอ้ พนั ธสญั ญาต่อ Pope Francis ?

86

1 เปอรเ์ ซ็นต์ทด่ี ขี นึ้ ทุก ๆ วัน

365

1 เปอร์เซน็ ต์ ท่ีแยล่ งทุก ๆ วัน เปน็ เวลา 1 ปี 0.99 = 00.03

365

1 เปอร์เซ็นต์ ท่ีดีข้นึ ทุก ๆ วัน เป็นเวลา 1 ปี 1.01 = 37.78

ผลลัพธ์

1 % ดีข้นึ ทกุ ๆ วัน
1 % แยล่ งทกุ ๆ วัน

เวลา

ภาพที่ 1 : ผลของการปรับนิสัยเล็ก ๆ อยา่ งค่อยเป็นค่อยไป เช่น
ถ้าคณุ ปรับพฤติกรรมใด ๆ ให้ดีข้ึนวันละ 1 เปอร์เซน็ ต์ในเวลา 1 ปี
พฤติกรรมของคณุ จะดีข้นึ กว่าเดิม 37 เท่า

87

พระสนั ตะปาปาทรงขอใหเ้ รามุง่ ม่นั ทุ่มเทกับพันธสญั ญาระดับโลกในเร่ือง 88
การศึกษา พระองค์ไมไ่ ด้ทรงเสนอให้ดาเนินการด้านการศึกษาเพียงงานหน่ึง
งานใดเท่าน้ัน แต่ทรงมงุ่ เน้นท่ีพันธสญั ญาด้านการศึกษา การผกู พันตาม
พันธสญั ญาจาเป็นต้องมีบุคคลสองคนข้ึนไปตกลงรว่ มทุ่มเทด้วยจุดหมาย
เดียวกัน พันธสัญญา หมายถึง การรวมพลังทางานรับใชใ้ นแผนงานเดียวกัน

“พอ่ ขอให้ลกู สวดภาวนาใหพ้ อ่ ดว้ ย”

Pope Francis

89


Click to View FlipBook Version