The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by plancdd, 2022-06-22 02:24:15

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒน

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒน

ขอบใจมาก ที่ต้องเหน็ดเหน่ือยทางานในหมู่บ้านชนบท และต้องประสบ
ปัญหาต่าง ๆ มากมาย ขอให้ช่วยกันพัฒนาคนให้มีความ ฉลาด สามารถช่วยตัวเองได้
ให้รู้จักใช้และเห็นคุณค่าความเจริญในด้านวัตถุ เช่น รู้จักนาพลังงานไฟฟ้าจากเข่ือนนา
พุงนีใช้ในบ้านเรือนและการอุตสาหกรรมขนาดย่อม ในการปฏิบัติงาน ชาวบ้านมักมี
ความหวาดระแวง และเกรงกลัวเจ้าหน้าที่ข้าราชการ ถือว่าเป็นบุคคลภายนอกหมู่บ้าน
ไม่ใช่พวกเดียวกันการเชื่อถือหรือยอมทาตามคาแนะนาส่งเสริมจึงมีน้อย ดังนัน จะต้อง
ทาให้ชาวบา้ นรู้สึกรักและเช่ือถือว่าเราเป็นพวกเดียวกับเขามีความปรารถนาจะช่วยเขา
อย่างแทจ้ ริง เช่น ให้ความรัก ช่วยเหลือเมื่อเดือดร้อน ทางานให้จริงจัง ซ่ึงต้องใช้ความ
พยายาม ความอดทน เป็นอย่างมาก ในการแนะนาส่งเสริมอาชีพหรือให้คาแนะนาเรื่อง
ต่าง ๆ ต้องทาให้บ่อย ๆ ไม่ใช่พูดหรือทาหนเดียว เพราะชาวบ้านมีประเพณีความเคย
ชินมานาน และเมื่อแนะนาให้ทาอะไรได้แล้ว ต้องช่วยให้เขาขายได้ด้วย มิฉะนันเขาจะ
เส่ือมศรัทธา ไม่เช่ือถือทาต่อไปขอให้ช่วยกันแนะนาชาวบ้านราษฎรให้ขยันขันแข็ง มี
ความฉลาด สร้างความม่ันคงให้แก่ครอบครัว ทางานหารายได้ และเก็บออมไว้เม่ือถึง
คราวจาเป็น ซึ่งเปน็ สว่ นหนึง่ ของการประกันสังคม การสรา้ งความมั่นคง เป็นปึกแผ่นแก่
ครอบครัวชนบทเป็นการป้องกัน ประเทศชาติ ด้านหนึ่ง อย่าเข้าใจว่าการป้องกัน
ประเทศชาติเป็นหน้าท่ีของทหารเช่นสมัยก่อน ความมั่นคงของประชาชนชนบท เป็น
ส่วนที่จะสร้างชาติและป้องกันประเทศอย่างดี ขอบใจ ขอให้สบายดี โชคดีทุกคน และมี
ความสาเรจ็ ในการงาน”

พระบรมราโชวาทพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร
พระราชทานแกพ่ ัฒนากรในวโรกาสเสดจ็ ไปทรงกระทาพธิ เี ปิดเขือ่ นและการพลงั งานไฟฟา้ แม่นาพุง

จงั หวัดสกลนคร
เมื่อวันที่ 14 พฤศจกิ ายน 2508

คำนำ

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. ๒๕๖4) ของกรมการพัฒนาชุมชน จัดทาข้ึนเพ่ือให้กรมการพัฒนา
ชมุ ชนมีทิศทาง การดาเนินงานที่ชัดเจน สอดคล้องเช่ือมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนด้านความมั่นคงแห่งชาติ
นโยบายของคณะรัฐมนตรี ที่แถลงต่อรัฐสภา และบริบทท่ีเกี่ยวข้อง รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการขับเคล่ือน
การดาเนินงานและการติดตาม ประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุผลสัมฤทธ์ิ ซ่ึงเป็นไปตามพระราช
กฤษฎกี าว่าดว้ ยหลักเกณฑแ์ ละวธิ กี าร บริหารกิจการบา้ นเมอื งท่ดี ี (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒

ในการจัดทาแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. ๒๕๖4) ของกรมการพัฒนาชุมชน ได้มีการสรุปข้อมูล
พื้นฐานของ กรมการพัฒนาชุมชน การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม (SWOT Analysis) ทั้งสภาพแวดล้อมภายนอก
และสภาพแวดล้อมภายใน นาไปสู่การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็นการพัฒนา กลยุทธ์ และตัวช้ีวัด
ท้ังนี้ ไดม้ ีการกาหนดแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ซง่ึ แสดงใหเ้ ห็นถึงหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบ แผนการดาเนินงาน
งบประมาณ ระยะเวลา และหนว่ ยงานดาเนนิ การ

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒนาชุมชน ฉบับน้ีจะเป็นเคร่ืองมือสาคัญ
ในการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงานตามนโยบายของรัฐบาล (Agenda) งานตามภารกิจของกรมการ
พัฒนาชุมชน ( Function) และงานในระดับพ้ืนที่ (Area) เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและ
ชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ ภายในปี 2565” อยา่ งเป็นรปู ธรรมและยัง่ ยืนต่อไป

กรมการพัฒนาชมุ ชน
เมษายน 2563

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

สารบัญ

หน้า

คานา

ส่วนท่ี 1 สาระสาคัญ

1. ความสาคัญ 2

2. ภารกิจ อานาจหน้าที่กรมการพัฒนาชุมชน 2

(ตามกฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการกรมการพัฒนาชุมชน

กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552)

3. ลักษณะสาคัญขององคก์ าร กรมการพฒั นาชมุ ชน ประจาปี พ.ศ. 2563 3

4. จดุ ยนื ของกรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี พ.ศ. 2564 5

5. ค่านยิ มองค์การ 5

6. โครงสร้างและบุคลากรของกรมการพัฒนาชมุ ชน 6

7. การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มกรมการพฒั นาชุมชน พ.ศ. 2564 8

ส่วนท่ี 2 แผนปฏิบัติราชการรายปี

1. ความเป็นมาของการจัดทาแผนปฏบิ ตั ริ าชการรายปี 14

2. ทศิ ทางแผนปฏิบัตริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 – 2565) 14

3. ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรฐั มนตรี 16

เมอื่ วนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560

4. สาระสาคญั ของแผนปฏบิ ัตริ าชการรายปี (พ.ศ. 2564) 20

ส่วนที่ 3 แผนงาน/โครงการตามแผนระดบั ตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวข้องกับกรมการพัฒนาชุมชน

1. แผนงาน/โครงการตามแผนระดับตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกับกรมการพัฒนาชมุ ชน 29

2. การดาเนินงานท่ีสาคัญในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 31

3. ตัวชวี้ ดั และค่าเปา้ หมาย 32

รายละเอียดกจิ กรรม/โครงการตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการรายปี (พ.ศ. 2564)

 ประเด็นการพัฒนา เรอื่ งที่ 1 สร้างสรรค์ชมุ ชนใหพ้ ่งึ ตนเองได้ 35

 ประเด็นการพฒั นา เรื่องที่ 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตวั 44

อย่างสมดุล

 ประเดน็ การพฒั นา เรอื่ งท่ี 3 เสริมสร้างทุนชุมชนให้มปี ระสิทธิภาพ 55

และมธี รรมาภบิ าล

 ประเด็นการพฒั นา เร่อื งที่ 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรใหม้ ีขีดสมรรถนะสงู 63

เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ส่วนที่ 1

สรุปสาระสาคัญ

1. ความสาคญั

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒนาชุมชน จัดทาข้ึนเพ่ือมุ่งหวังให้เกิด
ประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนการดาเนินงานพัฒนาชุมชนให้บรรลุผลตามเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรม
ตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 12 นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง มีสาระสาคัญประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ
ประเด็นการพัฒนา ตัวช้ีวัด กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลา และหน่วยงาน
ดาเนนิ การ โดยมีประเด็นการพฒั นา 4 เรอื่ ง ดงั นี้

1.1 เรอ่ื งที่ 1 สรา้ งสรรค์ชมุ ชนใหพ้ ่งึ ตนเองได้
1.2 เร่ืองที่ 2 ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตัวอยา่ งสมดลุ
1.3 เรือ่ งท่ี 3 เสรมิ สร้างทนุ ชมุ ชนใหม้ ปี ระสิทธภิ าพและมีธรรมาภิบาล
1.4 เร่อื งที่ 4 เสริมสรา้ งองคก์ รให้มีขดี สมรรถนะสงู
แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒนาชุมชนฉบับนี้ จะเป็นเครื่องมือสาคัญ
ในการเตรียมความพร้อมในการปฏิบัติงาน การบริหารงบประมาณ และการบูรณาการการติดตามประเมินผล
สาเร็จ เพื่อขบั เคล่อื นให้บรรลวุ ิสัยทศั น์ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖5”

2. ภารกิจและอานาจหน้าท่ีกรมการพัฒนาชุมชน (ตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมการ
พฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. ๒๕๕๒)

กรมการพัฒนาชุมชนมีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของ
ประชาชน ส่งเสริมและพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนฐานรากให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ โดยสนับสนุนให้มีการ
จัดทาและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย จัดทายุทธศาสตร์ชุมชน ตลอดจนการ
ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เก่ียวข้องในการพัฒนาชุมชน เพื่อให้เป็นชุมชนเข้มแข็งอย่างยั่งยืน โดยให้มี
อานาจหนา้ ทดี่ ังนี้

๑) กาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติ เพ่ือให้
หน่วยงานของรัฐ เอกชน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการพัฒนาชุมชนได้ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงาน
เพอื่ เสรมิ สรา้ งความสามารถและความเขม้ แข็งของชุมชน

๒) จัดทาและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพ่ือใช้เป็นเคร่ืองมือสาหรับประเมิน
ความกา้ วหน้าและมาตรฐานการพฒั นาของชุมชน

๓) พัฒนาระบบและกลไกในการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การจัดการความรู้ การอาชีพ การออม
และการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชน ชุมชน ผู้นาชุมชน
องค์การชมุ ชน และเครอื ขา่ ยองค์การชุมชน

๔) สนับสนุนและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์และการให้บริการ
ข้อมูลสารสนเทศชมุ ชน เพอื่ ใชใ้ นการวางแผนบริหารการพฒั นาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

๕) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา และสร้างองค์ความรู้เพื่อใช้ในงานพัฒนาชุมชน และการจัดทา
ยุทธศาสตรช์ ุมชน

๖) ฝึกอบรมและพัฒนาข้าราชการ เจ้าหน้าท่ีท่ีเก่ียวข้อง ผู้นาชุมชน องค์การชุมชน และเครือข่าย
องคก์ ารชมุ ชนให้มีความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติ และสมรรถนะในการทางาน รวมทั้งใหค้ วามรว่ มมือทางวิชาการด้าน
การพัฒนาชุมชนแก่หนว่ ยงานทงั้ ในประเทศและต่างประเทศ

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

๗) ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าที่ของกรม หรือตามท่ีกระทรวงหรือ
คณะรฐั มนตรีมอบหมาย

3. ลกั ษณะสาคัญขององคก์ าร กรมการพัฒนาชมุ ชน ประจาปี พ.ศ. 2563

ลักษณะสาคัญขององค์การ คือ ภาพรวมของส่วนราชการ ส่ิงสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อวิธีการดาเนินงาน
และความทา้ ทายสาคัญท่ีสว่ นราชการเผชิญอยู่ แบง่ เป็น

1) ลกั ษณะองค์การ ไดแ้ ก่ สภาพแวดลอ้ มของส่วนราชการ และความสมั พนั ธ์ระดบั องคก์ ร
2) สภาวการณ์ขององค์การ ได้แก่ สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน บริบทเชิงยุทธศาสตร์ ระบบการ
ปรับปรุงผลการดาเนนิ การ

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 23 ธันวาคม 2562

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

4. จดุ ยืนของกรมการพัฒนาชุมชน ประจาปี พ.ศ. 2564

5. ค่านยิ มองคก์ าร

A: Appreciation ชน่ื ชม
B: Bravery กล้าหาญ
C: Creativity สรา้ งสรรค์
D: Discovery ใฝ่รู้
E: Empathy เขา้ ใจ
F: Facilitation เอ้อื อานวย
S: Simplify ทาให้ง่าย
P: Practical ปฏบิ ัตไิ ดจ้ รงิ

“ยืนเคียงขา้ งประชาชน ช่วยเขาเพือ่ ให้เขา ช่วยเหลอื ตนเองได้
Help them to help themselves”

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

6. โครงสร้างและบุคลากรของกรมการพฒั นาชมุ ชน

6.1 โครงสรา้ งราชการบรหิ ารสว่ นกลาง ประกอบดว้ ย
(1) สานักงานเลขานกุ ารกรม
(๒) กองการเจา้ หน้าที่
(๓) กองคลัง
(๔) กองแผนงาน
(๕) ศนู ยส์ ารสนเทศเพื่อการพัฒนาชมุ ชน
(๖) สถาบันการพัฒนาชุมชน
(๗) สานกั พฒั นาทนุ และองค์กรการเงินชุมชน
(๘) สานกั สง่ เสริมภมู ปิ ัญญาท้องถิ่นและวสิ าหกจิ ชมุ ชน
(๙) สานกั เสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
(๑๐) กลมุ่ พฒั นาระบบบริหาร
(๑๑) กลมุ่ ตรวจสอบภายใน
(๑๒) สานกั ตรวจราชการ
(๑๓) กองนิตกิ าร
(๑4) กลุ่มงานคุ้มครองจริยธรรมข้าราชการ
(15) สานักงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

6.2 โครงสร้างราชการบริหารสว่ นภมู ิภาค ประกอบด้วย
(๑) สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจังหวัด จานวน ๗๖ แหง่
(๒) สานกั งานพัฒนาชมุ ชนอาเภอ จานวน ๘๗๘ แห่ง

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

โครงสรา้ งการแบง่ งานภายในและอตั รากาลังของกรมการพัฒนาชุมชน

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ ขอ้ มลู ณ วันท่ี 13 มกราคม 2563
ภายในปี ๒๕๖๕
Change for Good

7. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมกรมการพัฒนาชมุ ชน พ.ศ. ๒๕64

สถานการณ์ปัจจุบันของกรมการพัฒนาชุมชนได้วิเคราะห์โดยใช้ SWOT Analysis เป็นเครื่องมือในการ
วิเคราะห์ พบว่า สถานการณ์ปัจจุบันของกรมการพัฒนาชุมชน มีจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค
ทสี่ าคญั ดงั นี้

7.๑ จุดแข็ง
(1) มีกลไกในการขับเคลื่อนภารกิจสาคัญและตอบสนองนโยบายรัฐบาลไปสู่การปฏิบัติ

ในระดบั พืน้ ท่ี เชน่ สานกั งานพัฒนาชมุ ชนจงั หวดั และสานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ
(2) มีโครงสร้างบุคลากรในพ้ืนที่ทุกระดับ ท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค (จังหวัด/อาเภอ)

โดยมีพัฒนาการจังหวัด/พัฒนาการอาเภอ รับผิดชอบการบริหารราชการส่วนภูมิภาค มีพัฒนากรปฏิบัติงาน
ในตาบล/หมู่บ้าน ซงึ่ มปี ระสบการณแ์ ละความสาเร็จในการเสริมสรา้ งกระบวนการชุมชนต้นแบบและภูมิปัญญา
ชมุ ชน

(3) บุคลากรเช่ียวชาญในงานพัฒนาชุมชน มีทักษะหลากหลาย/สหวิทยาการ (Multi-skill)
เช่น ทางานเป็นทีม/ประสานงาน (ผู้เอ้ือ/อานวยการ)/ทางานกับชุมชน มีระบบการถ่ายทอดแลกเปล่ียนเรียนรู้
กับคนในชุมชน มีความมุ่งมั่น/ทุ่มเท/เป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงานตามภารกิจภายใต้การสั่งสมประสบการณ์
มายาวนาน มีอุปนิสัยเข้าใจคนอื่น/เกื้อกูล/สร้างบรรยากาศการทางานเป็นทีม ใช้หลักการทางานแบบมีส่วนร่วม
มีรูปแบบการทางานเชิงกระบวนการอย่างมีส่วนร่วม จึงเหมาะสมเป็นหน่วยงานบูรณาการงานพัฒนาชุมชน
ในทกุ ระดับ

(4) บุคลากรมีขวัญและกาลังใจ มีจิตสาธารณะ ได้รับการยอมรับและไว้วางใจจาก
ผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง (เป็นศรัทธาท่เี ดินได)้

(5) บุคลากรรุ่นใหม่สว่ นใหญ่ มีความรดู้ ้านการใชเ้ ทคโนโลยี สามารถประยุกตใ์ ช้ในการเรียนรู้
และสนบั สนุนการทางานไดร้ วดเรว็ และทั่วถึง

(6) มีศักยภาพในการสร้างและใช้เครือข่ายมวลชนขับเคล่ือนงาน/ทางานร่วมกัน
ให้เกิดประสิทธิภาพ และสนับสนุนการดาเนินงานครอบคลุมทุกพ้ืนที่ เช่น อาสาพัฒนาชุมชน (อช.), ผู้นา อช.,
อาสาสมัครผู้ประสานงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี, คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับประเทศ/ภาค/จังหวัด/
อาเภอ/ตาบล/หมู่บ้าน, คณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) ระดับประเทศ/จังหวัด/อาเภอ,
คณะทางานศนู ย์จัดการกองทุนชมุ ชน, คณะกรรมการเครือข่าย OTOP

(7) ผ้บู รหิ ารระดบั องคก์ ารมวี สิ ยั ทศั น์เป็นผู้นาการเปลยี่ นแปลง
(8) ภารกิจกรมฯ มีความสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล นโยบายการทางานของกรมฯ
มคี วามอ่อนตัวสามารถปรบั /ตอบสนองนโยบายของรฐั บาล นาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ไิ ดร้ วดเร็ว
(9) มีส่วนงานท่ีรับผิดชอบงานสารสนเทศท้ังส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค มีความสามารถในการ
บริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานในระดับครัวเรือน หมู่บ้าน สู่การจัดทาแผนชุมชนเชิงคุณภาพ สามารถนามา
เป็นเครื่องมือการพัฒนาหมู่บ้านได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีฐานข้อมูลที่สาคัญสาหรับพัฒนาประเทศ
เช่น ฐานข้อมูล จปฐ. กชช. 2ค กองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ การลงทะเบียนผผู้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP โดยข้อมลู จปฐ.
เป็นข้อมูลพื้นฐานถึงระดับครัวเรือนท่ีทั้งภาครัฐ เอกชนนามาใช้ประโยชน์ได้อย่างหลากหลายในการพัฒนา
ชุมชน มีฐานข้อมูลท่ีครอบคลุม สมบูรณ์ สามารถให้การสนับสนุนการทางานของบุคลากรและผู้บริหารได้อย่างมี
ประสทิ ธผิ ล
(10) มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การส่ือสารขององค์กรที่มีความพร้อมครอบคลุม
ทัว่ ประเทศ ส่ือสารได้อย่างรวดเร็ว เชน่ ระบบ Video Conference ระบบสานักงานอตั โนมัติ (OA)

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

(11) มีสถาบันการพัฒนาชุมชนเป็นหน่วยงานพัฒนาบุคลากร และมีศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนครอบคลมุ ทุกพ้ืนท่ี

(12) มีแหล่งเรียนรู้การพัฒนาชุมชน มีชุมชนเป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ที่สามารถ
ใชเ้ ป็นประโยชนใ์ นการพฒั นาการพฒั นาชุมชนในพ้นื ที่

(13) น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการทางาน ยึดหมู่บ้าน/ชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ในการพฒั นา

(14) เป็นองค์กรหลัก/แกนหลักในการประสานงานประชารัฐ ส่งเสริมอาชีพ สัมมาชีพ
และ OTOP ในระดบั พ้ืนที่ เพอื่ สร้างความเข้มแขง็ ในระบบเศรษฐกจิ ฐานราก

7.2 จุดอ่อน
(1) ระบบฐานข้อมูลของกรมฯ ยังขาดการจัดระบบข้อมูล บูรณาการการสร้างความเชอ่ื มโยง

การพัฒนารูปแบบและมาตรฐานการพัฒนาคุณภาพ และการใช้ประโยชน์จากข้อมูล ร่วมกับหน่วยงานภายใน
และภายนอกองค์กรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ

(2) ขาดการบรู ณาการระบบรายงานในระดบั กรมฯ ทาให้พนื้ ที่ต้องทางานซับซอ้ น
(3) ขาดการถ่ายทอดสอนงานตามหลักปรัชญาการพัฒนาชุมชนสู่นักพัฒนารุ่นใหม่บุคลากร
น้อยลงมากและมีอายุเฉลี่ยสงู ข้ึน ส่งผลต่อสมรรถนะองค์กรโดยรวม บุคลากรอ่อนล้าจากปริมาณงานท่ีมากข้ึน
หลากหลาย ซับซอ้ น
(4) บุคลากรกรมฯ ไม่ค่อยให้ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะ และความเช่ียวชาญในงาน
เพอื่ รองรบั การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ต่าง ๆ
(5) การพัฒนาบุคลากรขาดความต่อเนื่อง หลักสูตรน้อย และขาดการอบรมให้ความรู้ใหม่ ๆ
ให้ความสาคัญกับการพัฒนาและเรียนร้ดู ้วยตนเอง (Trial and Error)
(6) มีความต้องการการบริหารจัดการตามภารกิจท่ีหลากหลาย เพื่อให้สอดคล้องกับบริบท
การพัฒนาทรัพยากรหรือความต้องการของพ้ืนท่ี จึงต้องการคนที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญเฉพาะด้าน
หลากหลายตามภารกจิ ทาใหย้ ากแก่การที่บุคคลจะบรรลุความต้องการสูงสดุ ในการเป็นขา้ ราชการ (Self Esteem)
(7) แนวโน้มการลดลงของขวัญกาลังใจ แรงจูงใจในการทางาน บุคลากรบางส่วนขาดจิตวิญญาณ
ในการสร้างความผูกพันต่อประชาชนอย่างเข้าใจและเข้าถึงขาดการสืบทอดวิถี/วัฒนธรรม การสร้างความ
ผกู พันจากรุ่นสู่รุน่ วธิ กี ารถา่ ยทอดจิตวิญญาณการพัฒนาชุมชนไม่เป็นองค์รวม
(8) การบริหารอัตรากาลังของกรมฯ ยังไม่สมดุลกับการวางแผนยุทธศาสตร์ เช่น
ขาดบุคลากรทม่ี คี วามเชย่ี วชาญด้านการบริหารโครงการขนาดใหญ่
(9) แผนการโยกย้าย/แต่งต้ังบุคลากรไม่แน่นอน บางคร้ังมีการแต่งต้ังล่าช้าทาให้ขาดแคลน
อัตรากาลงั ทางาน ไม่สอดคลอ้ งกับแผนการปฏบิ ตั งิ านประจาปี ทาให้ประสทิ ธิภาพการปฏิบัติงานลดลง
(10) ขาดการ Design ระบบ เพือ่ ก้าวเขา้ ส่กู ารเป็นองคก์ รดจิ ทิ ลั
(11) มีการนางานวิจัยและผลการประเมินการดาเนินงานไปใช้ประโยชน์ไม่เต็มท่ีเท่าท่ีควร
ในการพฒั นาประสิทธิภาพกรมฯ
(12) มีนโยบายเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณที่ไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ปฏิบัติงานจริง
ทาใหเ้ กดิ ผลงานมีความไม่สมบรู ณ์และเสีย่ งต่อการกระทาผิด
(13) ภารกิจของกรมฯ คลุมเครือ ไม่ชัดเจน ทาให้กรมฯ ต้องรับงานท่ีไม่ใช่ภารกิจมาทา เช่น
กองทนุ หม่บู ้านและชมุ ชนเมอื ง

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

(14) ข้อจากัดจากระเบียบ/กฎหมายทลี่ ้าสมยั ยงั ไมไ่ ดป้ รับปรุงให้เขา้ กับสถานการณ์ปัจจุบัน
การทางานอาจลา่ ช้าจากการตคี วามกฎหมาย และบางครงั้ เกดิ ขอ้ จากัดไม่สามารถดาเนนิ การได้

7.3 โอกาส
(1) พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ

พ.ศ. 2558 กาหนดให้หน่วยงานราชการต้องมีการปรับปรุงการให้บริการแก่ประชาชนให้มีประสิทธิภาพและ
ความรวดเร็วมากขน้ึ

(2) พฤติกรรมผู้บริโภคในการการเลือกซอื้ และชาระค่าสินค้าและบรกิ ารผ่านช่องทางออนไลน์
เพิ่มมากข้ึนอย่างมีนัยสาคัญ หน่วยงานพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนต้องให้ความสาคัญในเร่ืองของช่องทางการ
จดั จาหน่ายด้วย

(3) การสร้างความร่วมมือทางเศรษฐกิจในระดับนานาชาติ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ช่วยสร้างโอกาสการพัฒนาและการเช่ือมโยงในระดับพ้ืนท่ี รวมท้ังชว่ ยเพมิ่ บทบาทขององค์กรไปสู่ระดับภูมิภาค
มากขึน้

(4) การเปดิ ประชาคมอาเซยี นและเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษเออื้ ตอ่ การสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ สร้างรายได้
ของประชาชน

(5) รัฐบาลให้ความสาคัญกับการขับเคล่ือนเศรษฐกิจภายในประเทศ (Local Economy)
และเศรษฐกจิ ฐานราก/ท้องถนิ่ โดยมีการออกมาตรการสง่ เสริม และกระจายความมัง่ คัง่ ไปจงั หวดั ตา่ ง ๆ มากขึ้น

(6) นโยบายของรัฐด้านเศรษฐกิจ ประชารัฐ Logistics เขตเศรษฐกิจพิเศษ Thailand 4.0
ที่กาหนดการทางานแบบสานพลังประชารัฐ สร้างผลงานและความโดดเด่นให้กรมการพัฒนาชุมชนได้รับ
การยอมรบั จากภาคี เออื้ ประโยชน์ให้กรมฯ ปฏบิ ตั ิงานในพ้นื ท่ไี ดด้ ี

(7) มีแนวโน้มของการพัฒนาวิสาหกิจต้ังใหม่ (Startup) วิสาหกิจชุมชน และผู้ประกอบการ
ธุรกจิ ขนึ้ มามากขึ้น สง่ ผลต่อแนวทางการพัฒนาผลิตภณั ฑ์ทอ้ งถิ่นและชุมชนมากข้นึ

(8) การเติบโตของภาคการท่องเที่ยวอย่างรวดเรว็ สง่ ผลให้เกิดการขยายตวั ของเศรษฐกิจและ
การจ้างงานในจังหวัดต่าง ๆ ของประเทศมากข้ึน ส่งผลต่อการเติบโตของการท่องเที่ยวชุมชน ซึ่งเป็นโอกาส
ในการเสริมสร้างเศรษฐกจิ ชมุ ชน

(9) การพัฒนาของเศรษฐกิจฐานความรู้ นวัตกรรม และดิจิทัลภายใต้อุตสาหกรรม 4.0
ของประเทศไทย และอุตสาหกรรม New S-Curve ส่งผลให้ประเทศไทยกาลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่กิจกรรมทาง
เศรษฐกจิ ท่ีสรา้ งมลู ค่าสงู ไดม้ ากขน้ึ

(10) แนวโน้มความสนใจด้านสุขภาพ อาหาร การออกกาลังกาย ธรรมชาติบาบัด สมุนไพร
มมี ากข้ึน สง่ ผลใหช้ มุ ชนตอ่ ยอดอาชีพ เครือข่ายการผลติ ได้

(11) พระราชบัญญัติเงินทุนหมุนเวียนรองรับการทางานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ในการสง่ เสรมิ เศรษฐกิจฐานราก

(12) การปรบั ค่าแรงข้นั ตา่ ส่งผลให้ประชาชนในพืน้ ทีม่ คี วามเปน็ อย่ทู ่ดี ีขึ้น
(13) สถานการณ์โลกเข้าสู่ยุคดิจิทัลและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ท่ีทันสมัย นวัตกรรมใหม่ ๆ สามารถช่วยให้ระบบการติดต่อส่ือสารประสานงาน การเข้าถึงและเผยแพร่ข้อมูล
สู่ประชาชนสะดวกรวดเร็วมากย่ิงขึ้น ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการติดต่อระหว่างหน่วยงานรัฐ ช่วยให้
ประชาชนสามารถเข้าถึงหน่วยงานรัฐได้ง่ายมากข้ึน ซ่ึงมีส่วนสาคัญในการช่วยพัฒนาชุมชนในพ้ืนที่ต่าง ๆ
สร้างอาชีพ พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถ่ิน/สินค้า OTOP ได้ เป็นการเพิ่มรายได้ใช้แก่ชุมชนอย่างยั่งยืน และ
สอดคลอ้ งกับยคุ โลกาภิวัตน์

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

(14) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือเทคโนโลยีสมัยใหม่สามารถเข้ามาเป็นเคร่ืองมือ
ในการชว่ ยพฒั นาเชงิ พน้ื ที่ไดอ้ ยา่ งมีความแมน่ ยา โดยสามารถใช้ข้อมลู เชิงพ้ืนที่จัดทารายละเอียดโครงการได้

(15) ส่ือผ่านช่องทาง Social Media เช่น Facebook Page มีอิทธิพลในการรายงานข่าว และ
สง่ ผลกระทบตอ่ ความเชื่อมน่ั ของประชาชนเพมิ่ มากข้ึนอยา่ งมีนยั สาคัญ

(16) ชมุ ชนมคี วามสะดวกในการติดต่อส่ือสาร คนมกี ารศึกษาสูงขึ้น มีความพร้อมรองรับการ
พัฒนาชมุ ชน

(17) รัฐบาลจัดทายุทธศาสตร์ชาติ เพ่ือกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศที่ชัดเจน สามารถ
ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกันขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างต่อเน่ืองเป็นรูปธรรม มีนโยบายรัฐบาล
แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 นโยบาย
และแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ แผนปฏิบัติราชการกระทรวงมหาดไทย ที่เอ้ือต่อการขับเคล่ือน
ภารกิจของกรมฯ ให้ประสบความสาเรจ็

(18) รัฐบาลผลักดันให้ภาคส่วนราชการปรับตัวเข้าสู่รัฐบาล 4.0 (Government 4.0)
โดยมุง่ เนน้ การทางานรว่ มกัน มองประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง และพัฒนาสมรรถนะการทางาน

(19) รฐั บาลให้ความสาคัญกับการพฒั นาแบบย่ังยนื ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
(20) โครงการจิตอาสาทาความดีด้วยหัวใจ ทาให้งานอาสาสมัครในชุมชนท่ีกรมการพัฒนา
ชุมชนรบั ผิดชอบมีความชัดเจนมากข้ึน
(21) รัฐบาลมุ่งเน้นการแก้ไขปัญหาความยากจนในเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้า
อย่างจรงิ จัง
(22) ภาครัฐจัดสรรงบประมาณให้ชุมชนบริหารจัดการเองโดยตรง ทาให้เอื้อต่องานพัฒนา
ชมุ ชนในพน้ื ท่ี
(23) มีการทางานในรูปแบบประชารัฐ ทาให้การดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐมีความ
โปร่งใสและมปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงข้นึ
(24) หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ภาคประชาชน ให้ความสาคัญในการนาฐานข้อมูลไปใช้
ประโยชน์ในการพัฒนาคณุ ภาพชีวิตประชาชน
(25) กระแสในเร่ืองความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมที่มีมากขึ้น ทาให้ต้องมีการนา
ประเดน็ ดงั กล่าวมาสอดแทรกในกิจกรรมหรอื โครงการท่ีพฒั นาขน้ึ มาดว้ ย
(26) รฐั ธรรมนญู ให้ความสาคัญในการพัฒนาพืน้ ทแ่ี ละปกครองในรปู แบบการกระจายอานาจ
มากขึ้น เพ่ือสง่ เสรมิ การบริหารราชการในพนื้ ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพเพ่ิมข้ึน
7.๔ อปุ สรรค
(1) ภัยคุกคามภายนอกต่อชุมชนมีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น ความผันแปรของระบบ
เศรษฐกจิ โลก ความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ การอพยพวัยแรงงานเข้าเมือง มแี รงงานข้ามชาติเข้ามามากขึ้น
การเข้าสสู่ งั คมผสู้ ูงอายุ
(2) การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลต้องให้ความสาคัญต่อการเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ผู้สูงอายใุ นระดบั พนื้ ท่ีมากข้ึน กระบวนการพฒั นาชุมชนและผู้นาชุมชนที่มีประสทิ ธิภาพมีนอ้ ยลง
(3) การทางานระหว่างบุคลากรและผู้นาชุมชนที่มีอายุแตกต่างกันมาก ทาให้มีช่องว่าง
ระหว่างวยั (Generation Gap) และทาให้เกดิ ความไมเ่ ขา้ ใจในมมุ มองความคิดของคนในแตล่ ะวัย
(4) คนรุ่นใหม่บางส่วนไม่ให้ความสนใจเข้าร่วมบริหารการจัดการชุมชน จึงทาให้ชุมชน
มีความเส่ยี งในการพัฒนาชุมชนให้เข้มแขง็ ในอนาคต

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

(5) เทคโนโลยีท่ีเปลี่ยนแปลงเร็วเกินไป มีช่องทางการเข้าถึงมากขึ้น ทาให้คนในชุมชน
รไู้ มเ่ ทา่ ทนั ภยั รูปแบบไซเบอร์ (Cyber-Security) มีความหลากหลายและจานวนมากข้นึ

(6) สังคมไทยยังประสบปัญหาความเหล่ือมล้าในพ้ืนที่ต่าง ๆ จานวนมาก โดยสะท้อนผ่าน
ประเด็นดา้ นการศกึ ษา สาธารณสขุ การสร้างอาชีพและรายได้ โครงสรา้ งพืน้ ฐาน

(7) สถานการณ์ทางการเมืองยังมีความขัดแย้ง ส่งผลให้ชุมชน มีการแบ่งพรรคแบ่งพวก
ทาใหค้ วามสามัคคแี ละสมานฉันท์ในชุมชนลดลง

(8) การขยายตัวของความเป็นเมืองท่ีเพิ่มขึ้น ซ่ึงอาจเป็นตัวเร่งให้เกิดการท้ิงถิ่นฐาน
ในชนบทเพิม่ ข้ึน ทาใหก้ รมฯ ตอ้ งปรบั บทบาทและแนวทางดาเนนิ งานอยา่ งเหมาะสม

(9) นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลท่ีมีเงื่อนไขการปฏิบัติและระยะเวลาจากัด ส่งผลต่อ
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลตอ่ การทางาน

(10) การดาเนินชีวิตของคนชุมชนในช่วงวัยทางานต้องเคล่ือนย้ายเข้ามาใช้แรงงานในเมือง
ทาให้ความสมั พันธ์ในระดบั ครัวเรือน/ชมุ ชนลดลง เปน็ ปัญหาสังคมตอ่ มา

(11) ชุมชนมีความเข้มแข็งไม่เท่ากัน ทาให้การแก้ไขปัญหาสังคม เช่น ปัญหาของ
ยาเสพติด โรคระบาด หรือปัญหาทางสังคมอื่น มีผลท่ีแตกต่างกัน ทาให้ภาครัฐต้องใช้งบประมาณในการแก้ไข
ปญั หาเพิม่ มากขึ้น

(12) การผูกขาดทางธุรกจิ ของนายทุนใหญ่โดยเฉพาะผลผลิตทางการเกษตร ทาใหป้ ระชาชน
ต้องผลิตตามทีน่ ายทนุ ต้องการ จงึ ไมค่ ดิ พฒั นาตนเองเพอ่ื ให้พง่ึ ตนเองได้

(13) การเปล่ียนแปลงทางส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติท่ีเส่ือมโทรม ทาให้เกิดมลพิษ
ภยั ธรรมชาติที่รุนแรง เช่น หมอกควนั นา้ ทว่ ม ฝนแล้ง

(14) การบูรณาการภารกจิ ในพ้นื ท่รี ะหว่างหน่วยงาน ยังไม่เกดิ ประสิทธภิ าพ
(15) กฎระเบียบ แนวทาง ข้อบังคับ มีกระบวนงานและเง่ือนไขมาก ทาให้งานล่าช้า
ไม่ทันการณ์ ไม่ตอบสนองประชาชนได้จริง เช่น พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ
พ.ศ. 2560

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ส่วนท่ี 2

แผนปฏิบตั ริ าชการรายปี

๑. ความเปน็ มาของการจัดทาแผนปฏิบตั ริ าชการรายปี

การบรหิ ารราชการของประเทศไทย ไดจ้ ัดทาแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตัง้ แตฉ่ บับท่ี ๑
(พ.ศ. ๒๕๐๔ – ๒๕๐๙) ถงึ ฉบบั ที่ ๑2 เมอื่ พ.ศ. ๒๕๔๖ รัฐบาลได้ปฏิรปู ระบบราชการเพื่อมงุ่ เนน้ ประสิทธิภาพ
การบริหารราชการแผ่นดิน และเพ่ิมศักยภาพการปฏิบัติราชการ อันเป็นการสร้างประโยชน์สุขและความพึง
พอใจแก่ประชาชนให้มากขึ้น โดยพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2562 มีสาระสาคัญ คือ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 16 แห่งพระราชกฤษฎีกา
ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ความว่า “ให้ส่วนราชการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนั้น โดยจัดทาเป็นแผนสี่ปี ซ่ึงจะต้องสอดคล้องกับแผนการบริหารราชการ
แผ่นดิน” และให้ใช้ความต่อไปนี้แทน “ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการของส่วนราชการนั้นโดยจัดทา
เป็นแผนห้าปี ซ่ึงต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ นโยบายของคณะรัฐมนตรีท่ีแถลงต่อรัฐสภา และแผนอื่นท่ีเก่ียวข้อง” โดยการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการประจาปี มีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ส่วนราชการใช้เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานและ
นากิจกรรมตามแผนปฏิบัติราชการประจาปีไปจัดทาคาของบประมาณ เพ่ือแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
อย่างเป็นรูปธรรม สามารถแกไ้ ขปญั หาของประชาชน ชมุ ชน สงั คม และประเทศใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า

2. ทิศทางแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. ๒๕๖3 - ๒๕๖5) ของกรมการพัฒนา
ชมุ ชน

2.1 วสิ ัยทัศน์

“เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖5”

เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

2.2 เป้าหมาย

(1) หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน มีอาชีพ มีรายได้ และมีความสุข เพ่ิมข้ึน
จานวน 44,835 หมบู่ ้าน

(2) รายไดจ้ ากการจาหน่ายผลติ ภัณฑช์ ุมชน เพ่มิ ขน้ึ รอ้ ยละ 10 ตอ่ ปี
(3) กองทุนชุมชนมธี รรมาภบิ าล เพ่มิ ขึน้ จานวน 27,000 กลุม่

2.3 พนั ธกิจ

(๑) พัฒนาระบบกลไกการมสี ่วนรว่ มและการเรียนรู้การพง่ึ ตนเอง
(2) พัฒนาการบริหารจดั การชมุ ชนให้พง่ึ ตนเองไดต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
(3) สง่ เสรมิ และพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้ขยายตวั
(4) สง่ เสริมและพฒั นาการบริหารจัดการกองทุนชมุ ชนใหม้ ีธรรมาภบิ าล
(5) พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีอุดมการณ์ในงานพัฒนาชุมชน และเช่ียวชาญ
การทางานเชิงบรู ณาการ

2.4 ประเด็นการพัฒนาและแนวทางการพฒั นา

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

3. ความสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี
๔ ธันวาคม ๒๕๖๐

3.๑ ยทุ ธศาสตรช์ าติ (แผนระดับที่ ๑)

3.1.1 ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (หลกั )
1) เปา้ หมาย สร้างความเปน็ ธรรม และลดความเหลื่อมลา้ ในทกุ มิติ
2) ประเด็นยุทธศาสตร์ ปรับโครงสร้างเศรษฐกจิ ฐานราก
3) การบรรลุเปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการที่พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก

ด้วยการส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชนท้องถิ่นให้สามารถมีความเข้มแข็ง และบูรณาการร่วมกับภาคี
ท่ีเก่ียวข้องกับเกษตรกรและผู้มีรายได้น้อย ให้สามารถเข้าถึงโอกาสการพัฒนาด้านอาชีพเพ่ือให้ทุกคนได้รับ
ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างท่วั ถึงและเปน็ ธรรม

3.1.2 ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง (รอง)
1) เป้าหมาย ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุขดีข้ึน
2) ประเด็นยุทธศาสตร์ การรักษาความสงบภายในประเทศ (การพัฒนาและเสริมสร้างคน

ในทกุ ภาคสว่ นใหม้ คี วามเข้มแขง็ มคี วามพร้อมตระหนกั ในเร่ืองความม่ันคง และมสี ว่ นรว่ มในการแกไ้ ขปัญหา)
3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตรช์ าติ
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการสร้างอาชีพและรายได้ตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นโครงการ Flagship ของยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ซ่ึงสามารถ
บรรลุเปา้ หมาย และตัวช้ีวัดดัชนีความสุขมวลรวมของชมุ ชน

3.1.3 ยทุ ธศาสตรช์ าติ ด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครฐั (รอง)
1) เป้าหมาย ภาครฐั มคี วามโปร่งใสปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ
2) ประเด็นยุทธศาสตร์ ภาครัฐมคี วามโปร่งใสปลอดการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ
3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการกาหนดให้ทุกหนว่ ยงาน

มีแผนงาน/โครงการ สร้างความโปร่งใสปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ซ่ึงแผนปฏิบัติราชการกรมการ
พัฒนาชุมชน ได้กาหนดใหม้ โี ครงการพฒั นาชมุ ชนใสสะอาด เพอื่ สรา้ งจิตสานกึ และคา่ นิยมให้บุคลากรในสังกดั

3.๒ แผนระดับที่ ๒ (เฉพาะทเ่ี กีย่ วข้อง)

3.2.1 แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ
1) ประเดน็ เศรษฐกจิ ฐานราก (หลกั )
1.๑) เป้าหมายระดบั ประเด็นของแผนแมบ่ ทฯ
(1) เป้าหมาย รายได้ของประชากรกลุ่มรายได้น้อยเพ่ิมขึ้นอย่างกระจายและ

อยา่ งตอ่ เน่ือง

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

(2) การบรรลุเป้าหมายตามแผนแมบ่ ทฯ
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ

และส่งเสริมการรวมกลุ่มในรูปแบบท่ีมีโครงสร้างกระจายรายได้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการตลาด
ส่งเสรมิ การเขา้ ถึงแหลง่ ทุน เพ่ือใหผ้ ู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานรากมรี ายได้เพิ่มขน้ึ

1.2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การสร้างสภาพแวดล้อมและกลไกที่ส่งเสริมการพัฒนา
เศรษฐกจิ ฐานราก (หลกั )

(1) แนวทางการพัฒนา
(1.1) ส่งเสริมและพัฒนากลไกและโครงสร้างดูดซับมูลค่าทางเศรษฐกิจและ

การกระจายรายได้กลับสูช่ ุมชน
(1.2) ส่งเสริมให้มีนวัตกรรมทางการเงินเพื่อสนับสนุนแหล่งทุนให้กับเศรษฐกิจ

ชุมชน
(2) เป้าหมายของแผนย่อย ผู้ประกอบการเศรษฐกิจฐานรากมีรายได้เพิ่มขึ้นอย่าง

ต่อเนอ่ื ง
(3) การบรรลุเป้าหมายตามแผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการท่ีสร้างการเติบโตและ

การหมุนเวียนของเศรษฐกจิ ฐานราก รวมทงั้ การพฒั นาชอ่ งทางและศนู ย์กลางตลาดสนิ ค้าชุมชน โดยครอบคลุม
ถึงช่องทางตลาดออนไลน์ และช่องทางตลาดอ่ืน ๆ เพื่อการขยายตัวในการจาหน่ายผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP
และส่งเสริมการเขา้ ถงึ แหล่งทนุ ทาใหส้ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายตวั ช้ีวดั ทีก่ าหนด

(ตัวชว้ี ดั : อตั ราการเตบิ โตของมูลคา่ เศรษฐกจิ ฐานรากของมูลค่า OTOP)
1.3) แผนยอ่ ยของแผนแม่บทฯ การยกระดับศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการธุรกจิ (รอง)

(1) แนวทางการพัฒนา
(1.1) เสรมิ สรา้ งองค์ความรู้และพัฒนาทักษะให้กับกลุ่มผ้มู ีรายไดน้ ้อย เพือ่ ยกระดับ

สู่การเป็นผ้ปู ระกอบการธรุ กจิ
(1.2) บริหารจัดการหน้ีสินอย่างยงั่ ยนื

(2) เปา้ หมายของแผนย่อย ศักยภาพและขีดความสามารถของเศรษฐกจิ ฐานรากเพม่ิ ขึ้น
(3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ

แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการพัฒนาผู้ประกอบการ และ
โครงการขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ฐานรากด้วยกองทุนชมุ ชน

(ตัวชี้วัด : อัตราการเติบโตของรายได้ของกลุ่มประชากรรอ้ ยละ 40 ที่มรี ายได้ต่าสุด)
2) ประเด็น ความมนั่ คง (รอง)

2.๑) เปา้ หมายระดับประเด็นของแผนแมบ่ ทฯ
(1) เปา้ หมาย ประชาชนอยดู่ ี กินดี และมีความสขุ
(2) การบรรลุเปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการสร้างอาชีพและรายได้ตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งเป็นโครงการ Flagship ของยุทธศาสตรช์ าติด้านความมั่นคง ซ่ึงสามารถ
บรรลุเป้าหมาย และตวั ช้ีวัดดชั นคี วามสุขมวลรวมของชมุ ชน

(ตัวชีว้ ัด : ดัชนชี ว้ี ัดความสุขของประชากรไทย)

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

2.2) แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทฯ การรักษาความสงบภายในประเทศ (หลกั )
(1) แนวทางการพฒั นา
เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินและความมั่นคงของมนุษย์ (มีงาน

มอี าชีพและรายได้ ลดรายจา่ ยในครอบครวั )
(2) เปา้ หมายของแผนย่อย
ประชาชนมีความมั่นคง ปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ย์สนิ เพิ่มข้ึน
(3) การบรรลุเปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ
แผนปฏิบัติราชการกรมการพัฒนาชุมชน มีโครงการที่ส่งผลต่อการสร้างความ

ม่ันคงปลอดภัยของประชาชน ประกอบดว้ ย (1) โครงการสรา้ งอาชีพและรายได้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง (2) โครงการพฒั นาหมูบ่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง (3) เสรมิ สรา้ งและพฒั นาผนู้ าการเปลย่ี นแปลง

(ตัวช้ีวัด : ระดับความมั่นคงปลอดภัยภายในประเทศและศักยภาพตารวจระดับสากล
(WISPI) ดีขึ้น)

3) ประเด็น การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ (รอง)
3.๑) เปา้ หมายระดับประเด็นของแผนแมบ่ ทฯ
(1) เป้าหมาย ประเทศไทยปลอดจากการทุจริตและประพฤตมิ ิชอบ
(2) การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ กาหนดให้

ทกุ หน่วยงานมแี ผนงาน/โครงการ สร้างความโปรง่ ใสปลอดการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ ซึง่ แผนปฏบิ ตั ิราชการ
กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดให้มีโครงการพัฒนาชุมชนใสสะอาด เพื่อสร้างจิตสานึกและค่านิยมให้บุคลากร
ในสังกดั

3.2) แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ การป้องกันการทุจริตและประพฤติมชิ อบ (หลกั )
(1) แนวทางการพัฒนา
เนน้ การปรบั พฤติกรรมคนและพัฒนาระบบในการต่อต้านการทุจริตในภาครัฐ
(2) เปา้ หมายของแผนย่อย
หนว่ ยงานผา่ นการประเมิน ITA
(3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ
โครงการพัฒนาชมุ ชนใสสะอาด เปน็ นวตั กรรมในการตอ่ ต้านการทจุ รติ แบบมีสว่ นร่วม

ด้วยการสร้างจติ สานกึ และคา่ นยิ มให้บุคลากรในสังกัด ตลอดจนภาคเี ครือขา่ ย
(ตัวชว้ี ัดที่ : รอ้ ยละของหน่วยงานทผ่ี า่ นเกณฑ์การประเมนิ ITA)

3.2.๒ แผนการปฏริ ปู ประเทศ
1) ด้านเศรษฐกิจ
1.๑) เรอ่ื ง/ประเด็นการปฏริ ปู การปฏิรปู ดา้ นความเท่าเทียมและการเตบิ โตอย่างมีสว่ นรว่ ม
1.๒) ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน
(1) ยกระดบั รายไดแ้ ละคุณภาพชีวติ ในระดับบุคคล
(2) เสริมสรา้ งพลงั อานาจชมุ ชน เพื่อสรา้ งความเทา่ เทยี มและการเตบิ โตอย่างมสี ่วนร่วม

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

1.๓) กิจกรรม
(1) โครงการชมุ ชนท่องเทยี่ ว OTOP นวตั วถิ ี
(2) โครงการพฒั นาฐานขอ้ มูลโครงการหนงึ่ ตาบล หนึ่งผลิตภณั ฑ์ (Big Data)
(3) โครงการพัฒนาศักยภาพศูนย์ส่งเสริมบริการเศรษฐกิจฐานรากให้เข้าสู่ยุค

ไทยแลนด์ 4.0
(4) โครงการพัฒนากลมุ่ ออมทรัพย์เพือ่ การผลิตสธู่ รุ กจิ ชมุ ชน
(5) โครงการสง่ เสรมิ สัมมาชพี ชมุ ชนสู่การพัฒนาธรุ กจิ ชุมชน
(6) โครงการการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากและประชารฐั เพอื่ สงั คม

1.๔) เป้าหมายกิจกรรม
มีเครือข่ายและธุรกิจชุมชนเพมิ่ ขนึ้

2) ดา้ นสังคม
2.๑) เรื่อง/ประเดน็ การปฏิรูป ระบบการเสรมิ สรา้ งชมุ ชนเขม้ แข็ง
2.๒) ขนั้ ตอนการดาเนินงาน
(1) พัฒนาชุมชนเขม้ แข็งเชิงพ้ืนท่ี
(2) เพ่ิมขีดความสามารถชุมชนในการจดั การเชิงประเดน็ และเชิงระบบ
2.๓) กิจกรรม
(1) โครงการพัฒนาหมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
(2) โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนเชิงยุทธศาสตร์
(3) โครงการกองทุนชมุ ชนหนนุ เสริมอาชีพผูม้ ีรายได้น้อยเพือ่ ลดความเหล่ือมลา้
2.๔) เป้าหมายกจิ กรรม
มีกลไกบรู ณาการเชิงพนื้ ทีก่ ารแก้ปญั หาและพัฒนาชุมชนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

3.2.3 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒
๑) วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อสรา้ งความเข้มแขง็ ให้ชุมชน
๒) เปา้ หมายรวม ความเหลือ่ มลา้ ทางด้านรายได้และความยากจนลดลง
๓) ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหล่อื มล้าในสังคม (หลัก)
3.1) เป้าหมายระดับยุทธศาสตร์ เพิ่มศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความ

เขม้ แขง็ เพ่ือให้ชมุ ชนพ่ึงพาตนเองและไดร้ ับส่วนแบ่งผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจมากขึน้
3.2) แนวทางการพัฒนา
(1) สรา้ งผูน้ าการเปล่ยี นแปลง
(2) สง่ เสรมิ ชุมชนแห่งการเรียนรู้
(3) พัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชน
(4) สนบั สนนุ การให้ความรู้ในการบรหิ ารจดั การการเงนิ แกช่ มุ ชนและครัวเรอื น
(5) สนับสนุนใหช้ มุ ชนบริหารจดั การตนเองได้

3.2.4 นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าดว้ ยความม่ันคงแห่งชาติ
๑) นโยบายความมน่ั คงแห่งชาตทิ ่ี 8 เสริมสร้างความเขม้ แขง็ และภูมิคุ้มกนั ความมนั่ คงภายใน
๒) แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ ประเด็นการเสริมสร้างความม่ันคงของมนุษย์

รองรับนโยบายท่ี 8

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

๓) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ประชาชนมีความสามัคคี มีความปลอดภัยในการดารงชีวิตมีส่วนร่วม
และมีความพรอ้ มเผชิญปญั หาและรับมือกบั ภยั คุกคามและปญั หาด้านความมน่ั คง

๔) ตัวช้ีวัด ระดับการมาส่วนร่วมของหน่วยงานรัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรภาคประชาสังคม และประชาชนทั่วไป ในกิจกรรมสนบั สนุนงานด้านความมนั่ คง

๕) กลยุทธ์
สง่ เสรมิ ให้คนไทยมีความสามัคคี สงั คมมคี วามสงบสุข และประเทศมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผนึกกาลังทุกภาคส่วนตั้งแต่ระดับชุมชน ตาบล หมู่บ้าน จังหวัด ภาค
และประเทศชาติ ให้เป็นเครือข่ายสนับสนุนงานด้านความมั่นคงและให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อ
ผลประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติ

3.๓ แผนระดบั ที่ ๓ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง (ไมม่ )ี

4. สาระสาคัญแผนปฏบิ ตั ิราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพฒั นาชมุ ชน

4.๑ ภาพรวม
๑) วสิ ัยทศั นข์ องกรมการพัฒนาชมุ ชน

“เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชุมชนพงึ่ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖5”

๒) พันธกิจของกรมการพัฒนาชุมชน

2.๑) พัฒนาระบบกลไกการมีส่วนรว่ มและการเรยี นรู้การพึ่งตนเอง
2.๒) พฒั นาการบริหารจัดการชุมชนให้พึ่งตนเองได้
2.๓) สรา้ งระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ฐานรากให้ม่ันคงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
2.๔) พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง และบุคลากรมีอุดมการณ์ในงานพัฒนาชุมชนและ
เชี่ยวชาญการทางานเชงิ บูรณาการ

4.๒ แผนปฏบิ ัติราชการ

๑) แผนปฏิบัติราชการ เรอื่ งท่ี 1 สรา้ งสรรคช์ มุ ชนใหพ้ ึ่งตนเองได้
๑.1) เป้าหมาย ชุมชนมีศักยภาพในการจัดการและพัฒนาตนเองสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน

และมีความสุข
1.๒) ตัวชี้วัดและคา่ เปา้ หมาย

ตวั ชว้ี ดั หน่วยนบั คา่ เปา้ หมาย
ตาบล 1,756
1. จานวนสะสมของตาบลสารสนเทศต้นแบบเพ่ือการพัฒนาชมุ ชน ร้อยละ 85
2. รอ้ ยละของผนู้ าการพฒั นาทส่ี ามารถขับเคลอื่ นการบรหิ ารจดั การ
ร้อยละ 60
ชุมชน ร้อยละ 86
3. ร้อยละของชุมชนท่ีบรหิ ารจัดการชมุ ชนด้วยกลไกและเครอื ข่าย
4. ดัชนคี วามสขุ มวลรวมของหมู่บ้าน/ชมุ ชน (Gross Village

Happiness :GVH) เพม่ิ ขนึ้

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพึง่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ตัวช้วี ดั หนว่ ยนับ คา่ เปา้ หมาย
รอ้ ยละ 85
5. รอ้ ยละของครัวเรอื นเป้าหมายในหมบู่ า้ น/ชุมชน มีอาชพี และ
รายไดส้ ูงขึน้ ร้อยละ 100

6. ร้อยละของหม่บู า้ นกองทนุ แม่ของแผน่ ดนิ มีกลไกการแกไ้ ขปัญหา
ยาเสพตดิ

1.๓) แนวทางการพัฒนา
(๑) บริหารจดั การข้อมลู สารสนเทศและเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อการพฒั นา
(๒) สร้างผนู้ าเป็นพลังในการพฒั นาชมุ ชน
(๓) สง่ เสรมิ การบริหารจัดการชุมชนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1.๔) แผนงาน/โครงการ สาคัญ

แผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ หน่วยงานที่
พฤศจิกายน 63 – กรกฎาคม 64 รับผดิ ชอบ
1. โครงการเชือ่ มโยงและประสานแผนพัฒนา
ตาบล ตลุ าคม 63 – มถิ นุ ายน 64 สสช.

2. โครงการสรา้ งความมน่ั คงดา้ นอาชพี และ เมษายน 64 – มถิ ุนายน 64 สสช.
รายได้
ตลุ าคม 63 – กรกฎาคม 64 สพช.
3. โครงการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาผูน้ าการ พฤศจิกายน 63 – สิงหาคม 64
เปล่ยี นแปลง สสช.
พฤศจิกายน 63 – กรกฎาคม 64 สสช.
4. โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
5. โครงการพฒั นาศักยภาพองค์กรพัฒนาสตรี ตุลาคม 63 – กันยายน 64 ศสท.

เปน็ พลังขบั เคลอ่ื นตาบลม่นั คง ม่งั คั่ง ยง่ั ยนื สสช.
6. โครงการบรหิ ารการจัดเก็บและใชป้ ระโยชน์

ขอ้ มูลเพอื่ การพัฒนาชมุ ชน
7. พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากด้วยภาคีเครอื ขา่ ย

๒) แผนปฏบิ ัตริ าชการ เรื่องท่ี 2 สง่ เสริมเศรษฐกิจฐานรากใหข้ ยายตัว
2.๑) เป้าหมาย เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็งอย่างสมดุลและย่ังยืนด้วยนวัตกรรม

ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ เช่ือมโยงการทอ่ งเทีย่ วชุมชน
2.๒) ตวั ชี้วดั และคา่ เป้าหมาย

ตวั ชีว้ ัด หน่วยนบั ค่าเปา้ หมาย
ร้อยละ 80
1. ร้อยละของผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP เปน็ นกั การค้าที่
เข้มแข็ง ผลติ ภัณฑ์ 12,500

2. จานวนผลิตภัณฑ์ OTOP ได้รบั การพฒั นาและยกระดบั
มาตรฐานผลิตภัณฑ์

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชมุ ชนพ่ึงตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ตวั ชีว้ ัด หน่วยนบั ค่าเปา้ หมาย
รอ้ ยละ 10
3. รอ้ ยละที่เพ่ิมขน้ึ ของรายได้จากการจาหน่ายสินค้าและ
กิจกรรมบริการด้านการทอ่ งเที่ยว รอ้ ยละ 10

4. รอ้ ยละทเ่ี พ่ิมขนึ้ ของรายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน

2.๓) แนวทางการพฒั นา
(๑) พัฒนาผู้ผลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP สสู่ ากล
(๒) พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรแู้ ละนวัตกรรม
(๓) พัฒนาการบรหิ ารจัดการและกจิ กรรมชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวถิ ี
(4) ส่งเสริมช่องทางการตลาด

2.๔) แผนงาน/โครงการ สาคญั

แผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ หนว่ ยงานที่
รับผดิ ชอบ
1. โครงการบรหิ ารจดั การชุมชนทอ่ งเท่ียวเชงิ สร้างสรรค์ ตุลาคม 63 – กันยายน 64
2. โครงการพฒั นาศักยภาพชุมชนดา้ นการท่องเท่ยี ว ตลุ าคม 63 – กันยายน 64 สภว.
3. โครงการพฒั นาผลติ ภัณฑ์สนิ คา้ ชมุ ชน ตุลาคม 63 – กันยายน 64 สภว.
4. โครงการสง่ เสริมการพฒั นาผูป้ ระกอบการ/วสิ าหกิจ มกราคม 64 – กนั ยายน 64 สภว.
สภว.
ชมุ ชนในการผลิตสินค้าเกษตรและผลติ ภัณฑ์ OTOP ตลุ าคม 63 – กนั ยายน 64
5. สง่ เสริมและพัฒนาช่องทางการตลาด สภว.

3) แผนปฏิบัติราชการ เร่ืองที่ 3 เสรมิ สรา้ งทุนชมุ ชนให้มีประสทิ ธภิ าพและมีธรรมาภบิ าล
3.๑) เปา้ หมาย ชุมชนสามารถจัดการทุนชมุ ชนเพอ่ื เป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคม
3.๒) ตัวช้ีวัดและคา่ เป้าหมาย

ตวั ชว้ี ัด หนว่ ยนับ คา่ เปา้ หมาย
กล่มุ 9,000
1. จานวนกองทนุ ชุมชนทม่ี กี ารบริหารจดั การตามหลักธรรมา
ภิบาล ครวั เรือน 10,000
แห่ง 850
2. จานวนครัวเรือนทีส่ ามารถลดหน/้ี ปลดหน้ี 8,400
3. จานวนกองทุนชมุ ชนท่สี ามารถจัดสวสั ดิการชุมชนได้ โครงการ
4. จานวนโครงการทกี่ องทุนพัฒนาบทบาทสตรอี นมุ ัตใิ นการ 300,000
คน 51,825
ส่งเสริมอาชพี คน
5. จานวนสมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีเพิ่มข้นึ
6. จานวนประชาชนในหมูบ่ ้านเป้าหมายมีอาชีพและรายได้

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

3.๓) แนวทางการพัฒนา
(1) พัฒนาระบบการบริหารและการเข้าถงึ แหล่งทนุ
(2) พฒั นาทนุ ชมุ ชนเพื่อการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ

3.๔) แผนงาน/โครงการ สาคัญ

แผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดาเนนิ โครงการ หน่วยงานท่ี
ตลุ าคม 63 – ธนั วาคม 63 รับผดิ ชอบ
1. โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาหมูบ่ ้านกองทุนแม่ ตลุ าคม 63 – มถิ นุ ายน 64
ของแผ่นดนิ สทอ.
ตุลาคม 63 – กนั ยายน 64
2. โครงการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารกองทนุ สทอ.
เพอ่ื เกษตรกรและแหลง่ สินเช่อื ภาครัฐเพ่ือการ
เข้าถึงแหลง่ ทุน สกส.

3. โครงการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

4) แผนปฏบิ ัติราชการ เร่อื งท่ี 4 เสรมิ สรา้ งองค์กรให้มขี ีดสมรรถนะสูง
4.๑) เป้าหมาย องคก์ รมสี มรรถนะสูงในการบรหิ ารการพฒั นาชุมชน
4.๒) ตัวชี้วดั และคา่ เปา้ หมาย

ตัวช้วี ัด หนว่ ยนบั ค่าเปา้ หมาย
รางวัล 1
1. ได้รบั รางวัลจากหนว่ ยงานหรือผา่ นเกณฑม์ าตรฐานด้านการบริหาร ร้อยละ 93
จดั การองคก์ ร รอ้ ยละ 87
ระดบั 4
2. ร้อยละของบุคลากรท่ีมคี ุณภาพตามเกณฑ์
รอ้ ยละ 5
3. รอ้ ยละความผกู พนั ของบุคลากรตอ่ งองค์กร ครง้ั /หนว่ ยงาน 30

4. ระดับความสาเร็จการดาเนินงานของกรมฯ ท่ีได้รับการยอมรับใน
ประเทศ/ตา่ งประเทศ

คานิยามระดับความสาเรจ็ :
ระดับ 3: ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก เพิ่มขึ้นจากปี 2562 อย่างน้อย

1 รางวัล
ระดับ 2: ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก เพิ่มข้ึนจากปี 2563 อย่างน้อย

1 รางวลั
ระดับ 1: ได้รับรางวัลจากหน่วยงานภายนอก เพ่ิมข้ึนจากปี 2564 อย่างน้อย

1 รางวัล

5. ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของการสื่อสาร สร้างการรับรู้ แก่บุคลากรภายใน
และภายนอกองค์กร

6. จานวนการเสริมสร้างภาพลักษณ์ผ่านความร่วมมือจากหน่วยงาน
ภายในและภายนอกประเทศ

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

4.๓) แนวทางการพฒั นา
(๑) เสริมสรา้ งศักยภาพองคก์ รเพ่ือยกระดบั งานพัฒนาชมุ ชน
(๒) พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีคุณภาพ
(๓) ยกระดับภาพลักษณ์องค์กร

๔.4) แผนงาน/โครงการ สาคญั

แผนงาน/โครงการ ระยะเวลาดาเนินโครงการ หนว่ ยงานท่ี
โครงการพฒั นาชมุ ชนใสสะอาด ตุลาคม 63 – กนั ยายน 64 รับผิดชอบ

กจ.

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

4.๓ ประมาณการวงเงนิ งบประมาณ พ.ศ. 2564

๑) ประมาณการรายไดข้ องส่วนราชการ (กรณสี ่วนราชการมีรายได)้
๒) ประมาณการวงเงนิ งบประมาณทั้งหมด* 18,487,914,500 ล้านบาท

ลา้ นบาท

แผนปฏบิ ัตริ าชการ วงเงินรวม งบประมาณแผ่นดิน รายได้ เงินกู้ อน่ื ๆ
หน่วยงาน ในประเทศ ต่างประเทศ
รวม 7 โครงการ
1. เร่ือง 15,443,155,400 15,443,155,400 - - --
สรา้ งสรรค์ชมุ ชน 1. โครงการเช่อื มโยงและประสานแผนพฒั นา
ใหพ้ ึง่ ตนเองได้ ตาบล

2. โครงการสรา้ งความม่ันคงด้านอาชพี และ 791,625,300 791,625,300 - - --
รายได้ - - --
773,669,900 773,669,900 - - --
3. โครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้นาการ - - --
เปลย่ี นแปลง 417,933,600 417,933,600 - - --
- - --
4. โครงการพัฒนาหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง 12,856,602,900 12,856,602,900 - - --
5. โครงการพัฒนาศักยภาพองคก์ รพฒั นาสตรี 111,163,200 111,163,200

เปน็ พลงั ขบั เคล่อื นตาบลมั่นคง ม่ังค่ัง ย่งั ยืน 435,891,500 435,891,500
6. บริหารการจดั เก็บและใชป้ ระโยชน์ข้อมลู
56,269,000 56,269,000
เพื่อการพัฒนาชุมชน
7. พัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากด้วยภาคีเครอื ข่าย

ลา้ นบาท

แผนปฏิบตั ริ าชการ วงเงนิ รวม งบประมาณแผ่นดิน รายได้ เงนิ กู้ อ่ืน ๆ
รวม 5 โครงการ 1,983,835,400 1,983,835,400 หนว่ ยงาน ในประเทศ ตา่ งประเทศ

๒. เรอ่ื ง ส่งเสริม - - --
เศรษฐกิจฐานราก
ใหข้ ยายตัว 1. โครงการบริหารจดั การชุมชนท่องเทย่ี วเชงิ 161,557,100 161,557,100 - - --
สรา้ งสรรค์
3. เรอ่ื ง เสริมสรา้ ง 390,826,500 390,826,500 - - --
ทนุ ชุมชนให้มี 2. โครงการพฒั นาศักยภาพชุมชนด้านการ
ประสิทธภิ าพและ ท่องเท่ียว 775,879,300 775,879,300 - - --
มีธรรมาภบิ าล 48,887,300 48,887,300 - - --
3. โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑ์สินคา้ ชมุ ชน
606,685,200 606,685,200 - - --
4. โครงการส่งเสริมการพัฒนาผูป้ ระกอบการ/ 1,036,808,500 1,036,808,500 - - --
วสิ าหกจิ ชมุ ชนในการผลิตสนิ ค้าเกษตรและ
ผลติ ภัณฑ์ OTOP

5. ส่งเสริมและพฒั นาช่องทางการตลาด

รวม 3 โครงการ

1. โครงการส่งเสรมิ และพัฒนาหมูบ่ า้ นกองทนุ 50,424,500 50,424,500 - - --
แมข่ องแผน่ ดนิ 663,385,500 663,385,500 - - --

2. โครงการ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ าร 322,998,500 322,998,500 - - --
กองทนุ เพื่อเกษตรกรและแหลง่ สนิ เชอ่ื ภาครฐั
เพ่อื การเข้าถึงแหล่งทนุ

3. โครงการกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี

ลา้ นบาท

แผนปฏิบัตริ าชการ วงเงนิ รวม งบประมาณแผ่นดนิ รายได้ เงินกู้ อื่น ๆ
รวม 1 โครงการ 24,115,200 24,115,200 หนว่ ยงาน ในประเทศ ต่างประเทศ

4. เรื่อง เสรมิ สร้าง โครงการพฒั นาชมุ ชนใสสะอาด - - --
องคก์ รให้มี
ขดี สมรรถนะสูง

24,115,200 24,115,200 - - --

รวมท้ังสนิ้ จานวน 16 โครงการ 18,487,914,500 18,487,914,500 - - - -

สว่ นที่ 3

แผนงาน/โครงการตามแผนระดบั ต่าง ๆ
ท่ีเก่ยี วข้องกับกรมการพัฒนาชุมชน

1. แผนงาน/โครงการตามแผนระดับต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับกรมการพฒั นาชมุ ชน

1.1 แผนงาน/โครงการตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๓ ฉบับ ที่เก่ียวข้องกับ
กรมการพฒั นาชุมชน

ท่ี ประเดน็ แผนแม่บท แผนงาน/โครงการ
1. ประเดน็ ความมนั่ คง
1 โครงการสร้างความมน่ั คงด้านอาชีพและรายได้ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนตาบล

มน่ั คง ม่ังค่ัง ยัง่ ยืน
2 โครงการสรา้ งระบบนิเวศสนับสนนุ การป้องกนั ปัญหายาเสพติด
3. ประเดน็ การเกษตร
1 โครงการเพ่ิมศักยภาพการผลติ สินคา้ เกษตรอัตลักษณ์พ้ืนถ่ินไทยสู่ตลาดยุคใหม่ (สินคา้ ข้าว พชื ผัก

ผลไม้ หม่อนไหม ประมง ปศุสัตว์ และพชื อน่ื ๆ)
2 โครงการสง่ เสรมิ และขยายตลาดสนิ คา้ เกษตรอตั ลักษณ์พื้นถน่ิ เพอ่ื เพิ่มมูลค่าการคา้ โดยใชน้ วตั กรรม
3 โครงการสนบั สนนุ การพฒั นาความเชือ่ มโยงการเกษตรอตั ลักษณ์พื้นถ่นิ กบั ภาคอุตสาหกรรม ภาค

ทอ่ งเทย่ี วและบริการ
4 โครงการส่งเสรมิ การผลิตและการตลาดสนิ คา้ เกษตรอินทรีย์
5 โครงการส่งเสรมิ การผลติ และแปรรปู สินค้าเกษตรสรา้ งมูลค่า
5. ประเด็นการท่องเท่ียว

โครงการพัฒนาต้นแบบแหลง่ ทอ่ งเที่ยวโดยชมุ ชนและเมอื งแห่งศิลปะเชิงสร้างสรรค์
8. ประเดน็ ผู้ประกอบการและวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มยุคใหม่

โครงการสร้างผ้ปู ระกอบการอัจฉรยิ ะเพื่อขับเคลือ่ นผปู้ ระกอบการหน่ึงตาบล
หนง่ึ ผลติ ภณั ฑส์ ู่สากล
10. ประเดน็ การปรบั เปล่ียนค่านยิ มและวัฒนธรรม
โครงการคนไทยต้นแบบจิตอาสา สรา้ งผู้นาการเปลย่ี นแปลง อาสาพัฒนาชุมชน
11. ประเดน็ ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
1 โครงการหม่บู ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยพฒั นาผ้นู า ครอบครวั กลุ่ม องคก์ ร เครอื ข่ายและชมุ ชนตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2 โครงการสรา้ งเครือข่ายความร่วมมือแบบมีสว่ นรว่ มในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
3 โครงการส่งเสริมความเข้มแข็งของชุมชน/องค์การสาธารณประโยชน์ เพอื่ การพฒั นากล่มุ เปา้ หมายใน
การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์
4 โครงการพฒั นาระบบฐานข้อมูลเพือ่ การพฒั นาคุณภาพชวี ติ ของประชาชน
5 โครงการส่งเสริมการใช้คลังภูมปิ ญั ญาชมุ ชน
12. ประเดน็ การพฒั นาการเรียนรู้
โครงการชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ (พัฒนากล่มุ เปา้ หมายเยาวชน สตรี ผู้นาชมุ ชน
ศูนย์เรียนรู้ชุมชน/สอื่ ออนไลน์)
15. ประเด็นพลังทางสังคม
1 โครงการส่งเสริมการจดั ทาบัญชคี รวั เรือน (ทาบัญชีได้ ใช้บัญชีเปน็ และใชข้ อ้ มูลทางบัญชีอยา่ งยงั่ ยนื )
2 การจดั ทาหลกั สตู รการวางแผนชวี ติ ระบบฟารม์ ทั้งในและนอกระบบโรงเรียน

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ที่ ประเด็นแผนแม่บท แผนงาน/โครงการ
3 การสง่ เสริมการปรับพฤติกรรมระดบั ครัวเรือนใหม้ ีขดี ความสามารถในการจดั การวางแผนชวี ิตสขุ ภาพ

ครอบครวั การเงินและอาชีพ

4 กองทุนชมุ ชนสง่ เสรมิ การบริหารจัดการหนี้สนิ ครวั เรอื น
5 สง่ เสรมิ การเรียนรูท้ างการเงนิ (การออม/การลงทนุ /จัดการหน)้ี
6 โครงการพฒั นาหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง

7 โครงการสง่ เสรมิ ความมน่ั คงด้านอาชพี และรายได้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
8 โครงการชุมชนคณุ ธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งพัฒนาเศรษฐกิจเข้มแข็ง
9 แผนงานเพมิ่ ศกั ยภาพและภาวะผู้นาของสตรี เพิม่ บทบาทของสตรใี นเชงิ เศรษฐกิจและการเมอื งการ

ปกครอง ด้วยการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ เพ่ือใหค้ วามรู้และพัฒนาทกั ษะด้านการทางานและการบรหิ าร
จัดการ โดยผา่ นเครอื ข่ายสตรีและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
10 เสรมิ สรา้ งความรู้ ทักษะ และเพิม่ ขีดความสามารถของการมภี าวะผ้นู า
11 โครงการสง่ เสริมและตอ่ ยอดภมู ิปัญญาท้องถน่ิ
12 ส่งเสรมิ อุตสาหกรรม วัฒนธรรมเชงิ สรา้ งสรรค์ เพื่อสร้างมูลคา่ เพมิ่ ทางเศรษฐกจิ

13 ส่งเสรมิ การพัฒนาสนิ ค้า ผลิตภณั ฑแ์ ละบริการทางวฒั นธรรมพฒั นาศักยภาพแหลง่ ทอ่ งเท่ยี ว และ
สง่ เสริมการท่องเทีย่ วทางวฒั นธรรม

14 แผนงานพฒั นาระบบการดูแลผสู้ ูงอายุในชมุ ชน ครอบครวั และชุมชนเป็นโครงสรา้ งทางสงั คมทสี่ าคัญ
ที่จะดแู ลผู้สงู อายไุ ด้อย่างมคี ุณภาพ จึงจาเปน็ ต้องเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
โดยการพัฒนาผนู้ าการเปลี่ยนแปลงสามวัยในท้องถ่นิ

15 การจดั ทาแผนพฒั นาเศรษฐกิจสังคมและสิง่ แวดลอ้ มระดับตาบล/เมือง
16 การพัฒนาประสทิ ธภิ าพการจัดทาและประสานแผนในระดับพนื้ ท่หี มู่บ้าน ชมุ ชน ตาบล อาเภอ ใน

ลักษณะ one plan
17 โครงการสรา้ งผูน้ าชุมชน/กลุ่มเครอื ข่าย/อาสมัครดิจิทลั เพ่อื นาดจิ ิทัลมาพัฒนาชุมชน

18 โครงการนกั จัดการความรู้ในชมุ ชนและเครือข่ายนักจัดการความรู้
19 พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การข้อมูลเพอื่ การพัฒนาระดับจังหวดั (Big Data)
20 โครงการสง่ เสริมและพัฒนา Big Data ระดับชมุ ชน/หมู่บา้ น

16. ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก
1 โครงการสง่ เสริมกจิ การเพ่ือสังคม (SE)
2 สรา้ งเครือข่ายพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐ

3 โครงการพฒั นาผปู้ ระกอบการและยกระดบั สนิ ค้าหนง่ึ ตาบลหนง่ึ ผลิตภณั ฑ์ (OTOP)
4 โครงการส่งเสรมิ ช่องทางการตลาดผลิตภณั ฑ์ชุมชน
5 สง่ เสริมกองทุนชุมชนส่กู ารเป็นธรุ กิจชุมชน
6 ส่งเสรมิ ความเขม้ แข็งของกองทุนชมุ ชน

7 สง่ เสริมการบริหารจดั การทนุ ชุมชนตามหลักธรรมาภิบาล
21. ประเดน็ การตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมิชอบ

แผนงานการสร้างนวัตกรรมการต่อต้านการทจุ รติ แบบมีส่วนร่วม

เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชนพง่ึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

1.2 โครงการตามแผนการปฏิรูปประเทศท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั กรมการพัฒนาชมุ ชน

ที่ โครงการ

แผนปฏริ ปู ดา้ นเศรษฐกิจ
1 โครงการชุมชนทอ่ งเทย่ี ว OTOP นวตั วถิ ี
๒ โครงการพัฒนาฐานขอ้ มลู โครงการหน่ึงตาบล หนึ่งผลิตภณั ฑ์ (Big Data)
๓ โครงการพัฒนาศักยภาพศนู ย์ส่งเสริมบริการเศรษฐกจิ ฐานรากใหเ้ ข้าสูย่ ุคไทยแลนด์ 4.0
๔ โครงการพฒั นากลุ่มออมทรพั ย์เพอื่ การผลิตสธู่ รุ กจิ ชมุ ชน
๕ โครงการสง่ เสรมิ สัมมาชีพชุมชนสู่การพฒั นาธรุ กจิ ชุมชน
๖ โครงการการพฒั นาเศรษฐกิจฐานรากและประชารฐั เพอ่ื สงั คม
แผนปฏริ ูปดา้ นสังคม
๑ โครงการพัฒนาหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
๒ โครงการแก้ไขปัญหาความยากจนเชงิ ยทุ ธศาสตร์
๓ โครงการกองทุนชมุ ชนหนนุ เสรมิ อาชีพผ้มู รี ายได้น้อยเพื่อลดความเหลอ่ื มล้า

2. การดาเนนิ งานที่สาคญั ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดแผนการดาเนินงานในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ
(พ.ศ. 2561 – 2580) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๓ ฉบับ ร่างแผนปฏิบัติราชการระยะ 3 ปี
(พ.ศ. ๒๕๖3 – ๒๕๖๕) ของกระทรวงมหาดไทย แผนการปฏิรูปประเทศ ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของ
หน่วยงานที่จะต้องพัฒนาระบบกลไกการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้การพึ่งตนเอง พัฒนาการบริหารจัดการ
ชุมชนให้พึ่งตนเองได้ สร้างระบบกลไกและกิจกรรมทางเศรษฐกิจฐานรากให้มั่นคงตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง พัฒนาองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง และบุคลากรมีอุดมการณ์ในงานพัฒนาชุมชน และ
เชี่ยวชาญการทางานเชิงบูรณาการ โดยมีอานาจหน้าที่ให้พัฒนากรนาไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดผลผลิตและ
ผลสาเร็จที่สามารถบรรลุวิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชนพ่ึงตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖5”
และได้ผลประโยชน์ทั้งประชาชน ชุมชน และประเทศชาติ ซึ่งกรมการพัฒนาชุมชนมีการดาเนินงานที่สาคัญ
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 25643 แยกตามประเดน็ การพัฒนากรมการพัฒนาชมุ ชน ดังน้ี

2.1 แผนปฏบิ ัตริ าชการ เรอื่ งที่ 1 สรา้ งสรรคช์ มุ ชนใหพ้ งึ่ ตนเองได้

1) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท่ี 1 ด้านความม่ันคง และประเด็นท่ี 3 ด้านการพัฒนา
และเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ มีโครงการสาคัญดังน้ี

1.1) โครงการเช่อื มโยงและประสานแผนพฒั นาตาบล
1.2) โครงการสรา้ งความมั่นคงด้านอาชีพและรายได้
1.3) โครงการเสรมิ สร้างและพัฒนาผนู้ าการเปลย่ี นแปลง
1.4) โครงการพัฒนาหม่บู ้านเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.5) โครงการพัฒนาศกั ยภาพองคก์ รพัฒนาสตรีเปน็ พลังขบั เคลอ่ื นตาบลม่นั คง มงั่ ค่ัง ยง่ั ยนื

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

2) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มโี ครงการสาคัญ คือ พฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากด้วยภาคีเครือข่าย

3) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ มีโครงการสาคัญ คือ บรหิ ารการจัดเกบ็ และใชป้ ระโยชนข์ ้อมูลเพื่อการพฒั นาชุมชน

2.2 แผนปฏิบัตริ าชการ เรอ่ื งท่ี 2 สง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั

1) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มโี ครงการ
สาคัญดงั นี้

1.1) โครงการบรหิ ารจัดการชมุ ชนทอ่ งเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
1.2) โครงการพฒั นาศกั ยภาพชมุ ชนดา้ นการทอ่ งเท่ียว
2) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มีโครงการสาคญั ดงั นี้
2.1) โครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์สนิ คา้ ชมุ ชน
2.2) โครงการส่งเสริมการพัฒนาผู้ประกอบการ/วิสาหกิจชุมชนในการผลิตสินค้าเกษตรและ
ผลิตภัณฑ์ OTOP
2.3) สง่ เสรมิ และพัฒนาช่องทางการตลาด

2.3 แผนปฏิบตั ริ าชการ เรื่องที่ 3 เสริมสรา้ งทนุ ชุมชนให้มปี ระสทิ ธภิ าพและมีธรรมาภิบาล

1) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 1 ด้านความมั่นคง มีโครงการสาคัญ คือ โครงการ
สง่ เสรมิ และพฒั นาหมบู่ ้านกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ

2) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท่ี 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มโี ครงการสาคญั ดังน้ี

2.1) โครงการ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารกองทนุ เพ่ือเกษตรกรและแหล่งสินเชอ่ื ภาครฐั เพื่อการ
เข้าถึงแหล่งทนุ

2.2) โครงการกองทนุ พัฒนาบทบาทสตรี

2.4 แผนปฏบิ ตั ิราชการ เรื่องท่ี 4 เสรมิ สร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสงู

สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครฐั มโี ครงการสาคัญ คอื โครงการพฒั นาชุมชนใสสะอาด

3. ตวั ชว้ี ัดและคา่ เป้าหมาย

กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. ๒๕64)
ของกรมการพัฒนาชุมชน จานวน 30 ตัวช้ีวัด เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชน
พ่งึ ตนเองได้ ภายในปี ๒๕๖5” ดงั ต่อไปนี้

3.1 ตวั ชวี้ ัดเป้าหมายแผน จานวน 3 ตวั ชวี้ ัด
3.2 ตัวชวี้ ัดเป้าประสงค์ จานวน 30 ตัวชว้ี ัด

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพ่งึ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ตวั ชว้ี ดั เป้าหมายแผน หนว่ ยนบั คา่ เป้าหมาย

1. รอ้ ยละ ๘๐ ของครวั เรอื นในหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง มีรายไดเ้ ฉลีย่ หมบู่ ้าน 44,835
สูงกว่าเกณฑ์ความจาเป็นขัน้ พืน้ ฐาน (จปฐ.) รอ้ ยละ 10
กลมุ่
2. รายไดจ้ ากการจาหน่ายผลิตภณั ฑช์ มุ ชนเพ่มิ ข้ึน หน่วยนับ 27,000
3. กองทุนชมุ ชนมธี รรมาภบิ าลเพมิ่ ขนึ้ หมบู่ า้ น ค่าเปา้ หมาย
11,414
ตวั ชว้ี ดั เปา้ ประสงค์ รอ้ ยละ
90
1. จานวนหมบู่ า้ นที่ได้รับการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ คน
พอเพียง 348,760
กลุ่ม
2. รอ้ ยละของหม่บู า้ นที่ได้รับการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ กลมุ่ 1,744
พอเพยี ง มีความสุขมวลรวมเพ่มิ ขน้ึ 2,680
ร้อยละ
3. จานวนประชาชนในหมูบ่ า้ นเปา้ หมายไดร้ ับการสง่ เสริมอาชีพตาม 85
แนวทางการสร้างสัมมาชีพชุมชน คน
7,189
4. จานวนกลมุ่ อาชีพที่ไดร้ ับการจัดต้ังและพฒั นา รอ้ ยละ
5. จานวนกลมุ่ อาชีพท่ีได้รบั การจดั ตง้ั และพัฒนาตามแนวทางการสรา้ ง 85
คน
สมั มาชีพชมุ ชน ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 – 2563 ได้รับ ร้อยละ 125,100
การพฒั นาศักยภาพ 75
6. รอ้ ยละของตาบลมกี ารบรู ณาการแผนพัฒนาตาบลสามารถนาไปใช้ ครัวเรือน
ประโยชน์ในการบริหารจดั การชุมชน ราย/กลมุ่ 12,900,000
7. คณะกรรมการพฒั นาสตรตี าบล เป็นตน้ แบบการสร้างครอบครัว 3,800
เข้มแข็ง ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รอ้ ยละ
8. ร้อยละของตาบลเปา้ หมายมกี ารขบั เคล่ือนครอบครวั เข้มแข็งและ 50
มีครอบครัวเข้มแขง็ ตน้ แบบเพือ่ ขยายผล รอ้ ยละ
9. จานวนผ้นู าได้รับการพัฒนาศักยภาพ ร้อยละ 10
10. ร้อยละของผูน้ าท่รี ว่ มโครงการสามารถขบั เคลื่อนงานตาบล/ ร้อยละ 10
หมูบ่ า้ นตามภารกจิ 50
11. จานวนครัวเรอื นท่ีมีขอ้ มูล จปฐ. ราย/กล่มุ
12. จานวนผผู้ ลิต ผู้ประกอบการ OTOP มที ักษะความสามารถการ 3,800
ผลติ สินคา้ และและนาสินค้าจาหนา่ ยในตลาดออนไลน์
13. รอ้ ยละของผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP สามารถนาผลิตภัณฑเ์ ข้า
สตู่ ลาดออนไลน์
14. ร้อยละของรายได้จากการจาหน่ายสนิ ค้าชุมชนเพ่ิมขึน้
15. รอ้ ยละทเี่ พมิ่ ข้ึนจากสินค้าและบริการด้านการท่องเทย่ี ว
16. ร้อยละของผู้ผลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP สามารถนาผลิตภณั ฑ์
เขา้ สูต่ ลาดออนไลน์
17. จานวนผผู้ ลติ ผ้ปู ระกอบการ OTOP มีทักษะความสามารถการ
ผลติ สนิ คา้ และนาสนิ คา้ จาหน่ายในตลาดออนไลน์

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชมุ ชนพึ่งตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

ตัวช้วี ดั เปา้ ประสงค์ หน่วยนบั คา่ เปา้ หมาย
หมู่บา้ น 22,887
18. จานวนหมู่บา้ นกองทนุ แมข่ องแผ่นดินปลอดภัยจากยาเสพติด รอ้ ยละ
100
19. ร้อยละของหมู่บ้านกองทุนแม่ของแผ่นดนิ มีกลไกการแกไ้ ขปัญหา คน 180,000
ยาเสพตดิ ร้อยละ
ร้อยละ 80
20. จานวนประชาชนในหมู่บา้ นเป้าหมายเข้าถึงแหล่งทนุ รอ้ ยละ 80
80
21. ร้อยละของกลุ่มเปา้ หมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในกระบวนการ ร้อยละ
ทบทวนยุทธศาสตร์กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 80
ร้อยละ
22. รอ้ ยละของกลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในกระบวนการ ร้อยละ 80
จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารกองทุนพัฒนาบทบาทสตรปี ระจาปี 80
จงั หวดั
23. รอ้ ยละของแผนยทุ ธศาสตร์การบรหิ ารทรัพยากรบุคคลและ รอ้ ยละ 77
แผนปฏบิ ัติการบริหารทรพั ยากรบุคคลท่ีได้รับการทบทวนให้ ร้อยละ 80
สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์ และกจิ กรรมตามแผนปฏบิ ัติการตาม 80
ยทุ ธศาสตร์การบริหารทรัพยากรบคุ คล ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. รอ้ ยละ
2564 และแผนได้นาไปสู่การปฏบิ ัติ ร้อยละ 60
86
24. ร้อยละของบุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการ
ปฏิบัติงานกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี สามารถปฏิบตั ิงานให้เป็นไป
ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หลกั เกณฑ์ แนวทางท่เี กย่ี วข้อง
ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง

25. รอ้ ยละของกล่มุ เปา้ หมายมีความรู้ ความเขา้ ใจปัญหาสตรใี นพ้ืนท่ี

26. ร้อยละของกลมุ่ เป้าหมายทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ มีความรู้ ความ
เข้าใจในการบรหิ ารจัดการกิจการของกลุม่ อาชีพ

27. จานวนจงั หวัดท่มี ีเครือข่ายกลมุ่ อาชีพสมาชิกกองทนุ พัฒนา
บทบาทสตรี

28. ร้อยละของกลุม่ เป้าหมายมีความรู้ ความเขา้ ใจในการปฏิบัติงาน
กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี

29. รอ้ ยละของกลมุ่ เปา้ หมายสามารถสง่ เสรมิ สนบั สนนุ สมาชิกกองทนุ
พฒั นาบทบาทสตรแี ละสตรที ่ีขาดโอกาสในสังคมได้ตาม
วตั ถปุ ระสงค์ของกองทุนฯ ที่กาหนดไว้

30. ร้อยละของหน่วยงานทผี่ ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาชุมชนใส
สะอาด

31. รอ้ ยละของคะแนนการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนนิ งาน (ITA) ของกรมการพัฒนาชมุ ชน

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชนพงึ่ ตนเองได้ Change for Good
ภายในปี ๒๕๖๕

แผนปฏบิ ตั ริ าชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒนาชมุ ชน

ประเด็นการพฒั นา เรอื่ งท่ี 1 สรา้ งสรรคช์ ุมชนพงึ่ ตนเองได้ งบประมาณ 4,850.8080 ลา้ นบาท

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคัญ เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปีงบประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนับ จานวน (ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

แนวทางการพฒั นา: 1.1 บรหิ ารจัดการข้อมูลสารสนเทศและ ครวั เรอื น/ 12,900,000/ 434.1097 ศสท.
เทคโนโลยดี ิจิทัลเพ่ือการพฒั นา หมู่บ้าน 70,402 415.8167
58.1334 ส่วนกลาง/
แผนงานท่ี 1 พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การข้อมูล ครัวเรือน 12,900,000 296.7000 จงั หวัด/อาเภอ
53.9945
1. พัฒนาระบบบรหิ ารการจดั เกบ็ ข้อมูลชุมชน ส่วนกลาง/
6.9888 จงั หวัด/อาเภอ
1.1 การบรหิ ารการจดั เกบ็ และใช้ประโยชน์ขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน (จปฐ.)
18.2930 อาเภอ
1) การเตรียมความพร้อมการจดั เกบ็ ขอ้ มูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) หมู่บ้าน 70,440
จงั หวัด/อาเภอ
2) การจดั เกบ็ ข้อมลู ความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.)
3) การตรวจสอบและรับรองคุณภาพการจดั เกบ็ ข้อมูลความจาเป็นพ้ืนฐาน สว่ นกลาง/
(จปฐ.) จงั หวัด
4) การเผยแพร่และสง่ เสรมิ การใช้ประโยชน์จากขอ้ มูลความจาเป็นพ้ืนฐาน
(จปฐ.) ส่วนกลาง/
1.2 การบรหิ ารการจดั เกบ็ และใช้ประโยชนข์ ้อมลู พื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2 จงั หวัด/อาเภอ
ค)

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนินการในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนับ จานวน (ลา้ นบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

0.8682 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
1.7610
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

1) จดั พิมพ์แบบสอบถามข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) เลม่ 72,350 ส่วนกลาง
เลม่ 70,440
2) ค่าบันทึกและประมวลผลข้อมูล กชช. 2ค คณะ 6,779 จงั หวัด/อาเภอ
3) ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการจดั เกบ็ ขอ้ มูลระดับหมู่บ้าน (กชช. 2 เลม่ 3,000
ค) จงั หวดั 14.9138 จงั หวัด/อาเภอ
4) จดั ทารายงานจากขอ้ มูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช. 2ค) ปี 2564 76
รปู แบบ 0.7500 สว่ นกลาง
2. พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของกลไกการจดั เกบ็ ข้อมลู 1
ด้วยเคร่อื งมืออิเล็กทรอนิกส์ 54.4125 ศสท.
76
- การบริหารจดั เกบ็ ข้อมูล จปฐ.ด้วยเครื่องมอื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ 1 54.4125 จงั หวัด/อาเภอ
3. ยกระดบั มาตรฐานข้อมลู สู่สากล 0.5000
1 0.5000 ศสท.
3.1 จดั ทามาตรการควบคุมมาตรฐานขอ้ มูลสู่สากล สว่ นกลาง
1.0000
4. พัฒนาการวเิ คราะห์ข้อมลู ด้วยสถิตขิ ้ันสูงและกราฟฟิกท่ีทันสมัย ศสท. ส่วนกลาง

แผนงานที่ 2 พัฒนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารจดั การชุมชน

1. **(Flagship) บรหิ ารจดั การข้อมลู กลางเพอื่ การพฒั นาชุมชน จงั หวดั 1.0000 ศสท.
(Data Development) ระบบ 1.0000 สว่ นกลาง
22.5643
1.1 พัฒนาศูนย์ข้อมลู กลางเพื่อการพัฒนาชมุ ชน ระบบ 22.5643 ศสท.
สว่ นกลาง
2. พัฒนาโครงสรา้ งพน้ื ฐานเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ให้มปี ระสิทธภิ าพ 5.6000
ศสท.
2.1 พัฒนาระบบโปรแกรมบันทึกและประมวลผลข้อมลู จปฐ. และข้อมูล กชช.
2ค
3. สรา้ งและพัฒนารปู แบบการใช้ประโยชน์จากข้อมลู ดว้ ยระบบเทคโนโลยี
ดิจทิ ลั เพอ่ื การพฒั นา

เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
(ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ
แนวทางการพัฒนา/แผนงาน/โครงการสาคัญ หน่วยนบั จานวน
5.6000 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
3.1 โปรแกรมระบบวเิ คราะหแ์ ละจดั การข้อมลู เพ่ือการพัฒนาชมุ ชน 823.0657
4. สนับสนุนข้อมลู ในการจดั ทาแผนทุกระดับ (One Plan) 4.0000 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
791.6253
4.1 บูรณาการช้ีเป้าลดความเหล่ือมล้าด้วยเทคโนโลยี ระบบ 1 ส่วนกลาง
4.2 พัฒนาการจดั ทาและประสานแผนพัฒนาตาบล จงั หวัด 76 ศสท.

1) ประชุมเชิงปฏิบัติการเตรียมความพรอ้ มกลไกการจดั ทาและประสาน จงั หวัด/อาเภอ
แผนพัฒนาตาบล
สสช. จงั หวัด/อาเภอ
2) ประชมุ เชิงปฏบิ ัติการสรา้ งระบบฐานขอ้ มูลการจดั ทาและประสาน
แผนพัฒนาตาบล รุ่น/คน/วนั 760/147,295/2 207.8271 จงั หวดั

3) ประชุมเชิงปฏิบัติการจดั ทาแผนพัฒนาตาบล รุ่น/คน/วนั 74,655/1,493,100/1 522.5850 อาเภอ
4.3 สรปุ บทเรยี นการพัฒนาตาบลและประเมินผลการพัฒนาตามแผนพัฒนา รุ่น/คน/วนั 7,036/211,080/1 61.2132 อาเภอ
ตาบล รุ่น/คน/วนั 7,036/76,360/1 27.4404 สสช. อาเภอ
แผนงานที่ 3 ส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์จากข้อมลู เพอ่ื การพฒั นา
1. สง่ เสรมิ และสนับสนุนการใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้วยเทคโนโลยดี ิจทิ ลั จงั หวดั 76 7.3992 ศสท.
1.1 สนบั สนุนการดาเนินงานหมู่บ้านสารสนเทศเพ่ือการพัฒนาคุณภาพชีวติ จงั หวัด 76 1.4000
1.2 สนับสนนุ การดาเนินงานสง่ เสรมิ สารสนเทศตาบลต้นแบบ 1.5000 จงั หวัด/อาเภอ
เพื่อการพัฒนาชมุ ชน จงั หวัด/อาเภอ
1.3 สง่ เสรมิ การใชป้ ระโยชน์ข้อมูลเพ่ือการพัฒนาชุมชนแกภ่ าคีการพัฒนา 4.4992
ระดับจงั หวดั จงั หวดั
2. ส่งเสรมิ การสรา้ งนวตั กรรมด้านการพฒั นาและใช้ประโยชน์จากข้อมูล 3.3800 ศสท.
ดว้ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคัญ เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนับ จานวน (ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

- สนับสนุนการจดั ทานวตั กรรมจากเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพื่อการใชป้ ระโยชน์ จงั หวดั
จากขอ้ มูล ระดับจงั หวดั

แนวทางการพัฒนา: 1.2 สร้างผู้นาเปน็ พลังในการพฒั นาชุมชน

แผนงานที่ 1 สรา้ งผู้นาการพัฒนา

1. **(Flagship) พฒั นาหลักสตู รผู้นาการเปล่ียนแปลงเพอ่ื การบรหิ าร รุ่น/คน/วนั 1/60/3 0.2760 สพช.
จดั การชุมชน รุ่น/คน/วนั 1/60/3 0.2760
417.6576 สพช.
- จดั ทาหลักสตู รและเตรยี มความพร้อมบุคลากร รุ่น/คน/วนั 1,251/125,100/3 412.3296 ศพช.
2. เสรมิ สรา้ งและพฒั นาผู้นาการเปลี่ยนแปลง ศพช.
5.3280
2.1 กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน หลกั สูตร "ผู้นาการพัฒนา (Startup 116.1632 สสช.
Leader)" 116.1632 สสช. จังหวัด/อาเภอ

2.2 กจิ กรรมพัฒนาศักยภาพผู้นาชุมชน หลกั สตู ร "ผู้นาการเปล่ียนแปลง (Smart รุ่น/คน/วนั 5/500/10 2.0640 จังหวัด/อาเภอ
Leader)" ตาบล 7,036
องค์กร 84,920 65.2524 จังหวัด/อาเภอ
3. สง่ เสรมิ การเป็นผู้นาจติ สานึกพลเมือง 48.8468 จังหวัด/อาเภอ
0.7600
3.1 โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรพัฒนาสตรเี ป็นพลังขับเคลื่อนตาบลมั่นคง สสช. จังหวัด/อาเภอ
ม่ังค่ัง ย่ังยืน

1) ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการเตรยี มความพรอ้ มองค์กรพัฒนาสตรีในการเป็น รุ่น/คน/วนั 1/270/3
แกนหลักขับเคลื่อนครอบครัวเข้มแขง็ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2) สรา้ งผู้นาสตรีขับเคล่ือนกจิ กรรมครอบครวั เข้มแขง็ ตามหลกั ปรัชญาของ รุ่น/คน/วนั 1/10,200/5
เศรษฐกจิ พอเพียง รุ่น/คน 4/8,639

3) สนับสนนุ ผู้นาสตรีขับเคล่ือนครอบครวั เขม้ แข็ง

4. สง่ เสรมิ ผู้นาการบรหิ ารจดั การชุมชนเข้าสู่ระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.) หมู่บา้ น 8,780

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนินการในปีงบประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หน่วยนบั จานวน (ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

45.0475 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
37.0000
8.0475 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
60.0000
แผนงานที่ 2 พัฒนากลไกขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การชุมชน ตาบล 7,036 55.6210 สสช./กผ. จังหวัด/อาเภอ
1. สง่ เสรมิ ผู้นาเปน็ กลไกในการบรหิ ารจดั การชุมชน 9.0764
อาเภอ/จังหวดั / 44/5/1 จังหวัด/อาเภอ
1.1 ส่งเสรมิ ผู้นาเป็นกลไกในการบริหารจดั การชุมชน กลุ่มจังหวดั 1.6316
1.2 กฬี าสรา้ งความสมั พันธช์ ายแดนใต้ กผ. จงั หวัด/อาเภอ/ศพช.
หมู่บา้ น 8,780 (หมู่บ้านละ 3 คน) 7.3872 สสช.
2. สรา้ งและพฒั นาทมี ขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การชุมชนในทุกระดับ 0.0576 สสช.
46.5446
3. สนับสนุนกลไกประชารฐั ในการบรหิ ารจดั การชุมชน จังหวัด/อาเภอ

3.1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคล่ือนการพัฒนาชุมชน สว่ นกลาง

1) ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนากลไกขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก รุ่น/คน/วนั 1/320/3 จงั หวดั
ระดับประเทศ อาเภอ

2) ประชุมกลไกขบั เคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก ระดับจงั หวดั จงั หวดั 76 จังหวัด/อาเภอ

3) ประชมุ ขับเคล่ือนการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก คร้ัง/คน/วนั 12/40/1

3.2 ส่งเสริมการสรา้ งรายได้การพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานรากด้วยกจิ การอาหาร
ปลอดภัย

1) ประชมุ เชิงปฏิบัติการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก ระดับจงั หวดั รุ่น/คน/วนั 76/2,660/2 15.2000 จงั หวดั

2) ประชุมเชิงปฏบิ ัติการแกนนาเพ่ือสร้างรายได้ด้วยกจิ การอาหารปลอดภัย รุ่น/คน/วนั 439/8,780/1 31.3446 อาเภอ
ระดับอาเภอ รุ่น/คน/วนั 4/180/2 0.6480 สว่ นกลาง

3) ประชุมเชิงปฏบิ ัติการสรา้ งเครือข่ายเช่ือมโยงเพ่ือสรา้ งรายได้ด้วยกจิ การ
อาหารปลอดภัยระดับภาค

แผนงานที่ 3 ส่งเสรมิ การขับเคล่ือนการบรหิ ารจดั การชุมชน

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคัญ เป้าหมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หน่วยนบั จานวน (ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

67.6600 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
171.5686
171.5686 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
853.4160
1. บูรณาการแผนชุมชนเพอื่ สนับสนุนการบรหิ ารจดั การชุมชน ตาบล 6,766 สสช. จังหวัด/อาเภอ
2. ส่งเสรมิ ผู้นาขับเคล่ือนเศรษฐกจิ และสังคม รุน่ /คน/วนั 263/26,298/5 853.4160 สสช. จังหวัด/อาเภอ
รุ่น/คน/วนั 263/26,298/5
- กจิ กรรมสรา้ งแกนนาขบั เคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง 1.5200 จังหวัด/อาเภอ
3. ส่งเสรมิ การใช้ประโยชน์ศูนยเ์ รยี นรู้เพอื่ การบรหิ ารจดั การชุมชน แหง่ 11,414 1.5200
สสช. จังหวัด/อาเภอ
- การพัฒนาศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่รปู แบบ "โคก หนอง นา โมเดล" (พัฒนาศูนย์ แหง่ 11,414 12.0000
เรียนรู้และขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง) 13.5320 จังหวัด/อาเภอ
จงั หวดั 76 67.0000
4. สง่ เสรมิ ระบบมาตรฐานงานชุมชน (มชช.) จงั หวัด 76 สสช. จังหวัด/อาเภอ
5. ส่งเสรมิ ความสขุ มวลรวมชุมชน ตาบล 7,036 94.3200 สสช. จังหวัด/อาเภอ
แผนงานที่ 4 ส่งเสรมิ เครอื ข่ายการบรหิ ารจดั การชุมชน อาเภอ 878 18.1375
1. สรา้ งเครอื ข่ายบา้ นพบ่ี า้ นน้องในการบรหิ ารจดั การชุมชน ตาบล 6,766 99.3018 สสช. จังหวัด/อาเภอ
2. สรา้ งความรว่ มมอื เครอื ข่ายประชารฐั ตาบลมั่นคง ม่ังค่ัง ยง่ั ยนื จงั หวดั 76 สสช. จังหวัด/อาเภอ
3. บรู ณาการภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคส่วนในการบรหิ ารจดั การชุมชน 1.2000 สสช. จังหวัด/อาเภอ
แผนงานท่ี 5 สรา้ งคณุ คา่ ผู้นาการพฒั นา ตาบล 7,036
1. ยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติผู้นาการพฒั นา ตาบล 7,036 สสช. จังหวัด/อาเภอ
2. จดั การความร้แู ละขยายผลสู่การปฏบิ ตั ิ สสช. จังหวัด/อาเภอ
รุ่น/คน/วนั 11,414/342,420/1
2.1 กจิ กรรมประชมุ เชิงปฏิบัติการถอดบทเรยี นและประเมินผลการพัฒนา จังหวัด/อาเภอ
หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง
จังหวัด/อาเภอ
2.2 สรปุ บทเรียนเผยแพรแ่ ละขยายผลการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง

แนวทางการพัฒนา: 1.3 สง่ เสริมการบรหิ ารจัดการชุมชนตามหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปีงบประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หน่วยนบั จานวน (ลา้ นบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ
แผนงานที่ 1 สง่ เสรมิ วถิ ีชีวิตเศรษฐกจิ พอเพียงระดับครวั เรอื น
1. **(Flagship) สรา้ งความมั่นคงดา้ นอาชีพและรายได้ ตามหลักปรชั ญาของ หมู่บ้าน 33,438 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
เศรษฐกจิ พอเพียง รุ่น/คน/วนั 17,438/348,760/2
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.1 สร้างและพัฒนาสัมมาชพี ชุมชนในระดับหมู่บ้าน กลุ่ม 1,744
1.2 จดั ต้ังและพัฒนากลุ่มอาชีพ กลุ่ม 2,680 717.9259 สสช.
2. **(Flagship) แกไ้ ขปญั หาความยากจนเชิงบรู ณาการ กลุ่ม 2,680 687.9291
- การพัฒนาศักยภาพกลุ่มอาชพี สู่ผู้ประกอบการชุมชน หมู่บ้าน 8,780 29.9968 อาเภอ
3. ส่งเสรมิ การน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ 55.7440 อาเภอ
จนเปน็ วถิ ีชีวิต หมู่บา้ น 8,780 55.7440 สสช.
3.1 ปรับ Mind Set รุ่น/คน/วนั 11,414/342,420/1 745.3860 อาเภอ
3.2 ค้นหาตัวตนสู่วถิ ีพอเพียง รุ่น/คน/วนั 11,414/342,420/2 สสช.
3.3 บริหารจดั การชวี ติ ด้วยวถิ ีพอเพียง (ปฏบิ ัติตามแผนชวี ติ ) 3,122.32
3.4 ประเมินหมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติ 1,058.1296 จังหวัด/อาเภอ
แผนงานที่ 2 พฒั นาหมู่บ้านด้วยหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 312.7436 จังหวัด/อาเภอ
1. **(Flagship) พัฒนาหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง มั่นคง ม่ังคั่ง ยง่ั ยนื จังหวัด/อาเภอ
1.1 เสรมิ สร้างกระบวนการบรหิ ารจดั การชุมชน 99.3018
99.3018 อาเภอ
1) สมั มนาการเรียนรู้วถิ ชี ีวติ เศรษฐกจิ พอเพียง (สรา้ งเสริมประสบการณ์
การพัฒนาวถิ ชี ีวติ เศรษฐกจิ พอเพียงจากแหลง่ เรียนรู้ต้นแบบ) สสช.
อาเภอ
2) การจดั ทาแผนพัฒนาวถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง อาเภอ

อาเภอ

แนวทางการพัฒนา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนินการในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หน่วยนับ จานวน (ลา้ นบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

114.1400 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

745.3860 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

3) การขบั เคลื่อนกจิ กรรมพัฒนาวถิ ชี วี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง รุ่น/คน/วนั 11,414/342,420/3 50.4245 อาเภอ
37.0789
1.2 การขบั เคลื่อนการพัฒนาหมู่บ้านและชมุ ชนท้องถ่ินตามปรชั ญาของ หมู่บ้าน 8,780 13.3456 อาเภอ
เศรษฐกจิ พอเพียงครวั เรือน 11,400,000
2.0640
2. เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งชุมชนดว้ ยกองทุนแมข่ องแผ่นดนิ สทอ.
2.0640 อาเภอ
2.1 สง่ เสริมและพัฒนาหมู่บ้านกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน อาเภอ
65.2524 อาเภอ
1) เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ หมู่บ้านกองทุนแมข่ องแผน่ ดิน คน 64,989 65.2524
43.8468
2) พัฒนาหมู่บ้านต้นกลา้ กองทุนแมข่ องแผ่นดิน หมู่บ้าน 878 43.8468
10.0501
แผนงานที่ 3 สรา้ งคณุ ค่าและพฒั นาเครอื ข่ายตาบลมั่นคง มั่งค่ัง ยงั่ ยนื จงั หวดั 76

1. บูรณาการความรว่ มมือภาคีการพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง รุ่น/คน/วนั 1/270/3 สสช.

- ประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการเตรียมความพร้อมองค์กรพัฒนาสตรีในการเป็นแกนหลัก รุ่น/คน/วนั 1/270/3 สว่ นกลาง
ขับเคลื่อนครอบครัวเขม้ แขง็ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
สสช.
2. เช่ือมโยงเครอื ข่ายวถิ ีชีวิตเศรษฐกจิ พอเพยี ง รนุ่ /คน/วนั 1/10,200/5 จงั หวดั

- สร้างผู้นาสตรขี บั เคล่ือนกจิ กรรมครอบครัวเขม้ แขง็ ตามหลกั ปรัชญาของ รุ่น/คน/วนั 1/10,200/5 สสช.
เศรษฐกจิ พอเพียง รุน่ /คน 4/8,639
จังหวดั /สว่ นกลาง
3. สรา้ งคุณค่าและเชิดชูเกยี รติ
สสช.
- สนบั สนนุ ผู้นาสตรขี ับเคลื่อนครอบครวั เข้มแขง็ รุ่น/คน 4/8,639

4. จดั การความรแู้ ละเผยแพรส่ รา้ งการรบั รู้

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ. 2564) ของกรมการพัฒนาชุมชน

ประเด็นการพัฒนา เรือ่ งที่ 2 สง่ เสรมิ เศรษฐกจิ ฐานรากใหข้ ยายตวั อยา่ งสมดุล งบประมาณ 3,177.9046 ลา้ นบาท

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนบั จานวน (ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รับผิดชอบ ดาเนินการ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

แนวทางการพัฒนา: 2.1 พัฒนาผผู้ ลติ ผปู้ ระกอบการ OTOP สู่ แห่ง 77 20.0000 สภว.
สากล แหง่ 77 20.0000 สภว. สภว./สพจ./สพอ.
ภูมปิ ญั ญา 1,900 20.0000 สภว.
แผนงานที่ 1 พฒั นาระบบฐานข้อมูล OTOP ใหเ้ กิดคุณค่าและมลู ค่าเพ่ิม ภูมิปัญญา 1,900 20.0000 สภว. สภว./สพจ.
1. **(Flagship) บริหารจัดการข้อมูล OTOP (OTOP Big Data) ผลติ ภัณฑ์ 4,560 30.0000 สภว.
ผลติ ภัณฑ์ 4,560 30.0000
- ลงทะเบียนผูผ้ ลิต ผปู้ ระกอบการ OTOP 31.0000 ส่วนกลาง
2. อนุรักษ์ สบื สาน สร้างมลู ค่าเพิ่ม และต่อยอดภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน จงั หวัด/ภูมปิ ญั ญา 76/380 21.0000 สภว.

- สง่ เสริมภูมปิ ัญญา OTOP สร้างมูลค่าเพิ่มสูส่ ากล ภูมิปัญญา 100 10.0000 สว่ นกลาง/สพจ.
3. ส่งเสริมและต่อยอดงานวิจัยสกู่ ารพัฒนาสรา้ งมลู ค่าเพิ่ม
ส่วนกลาง
- ต่อยอดงานวจิ ยั ส่กู ารพฒั นาและเพิ่มมูลค่า
4. เผยแพร่ ประชาสมั พนั ธภ์ ูมปิ ญั ญาท้องถิ่นสู่เวทีโลก

4.1 มหกรรมสุดยอดผลิตภัณฑ์ภูมปิ ัญญา OTOP สู่สากล
4.2 เผยแพร่ภูมิปัญญาโลก (ผลงานศิลปิน OTOP/Young
OTOP/KBO/OTOP นวตั วถิ )ี

แนวทางการพัฒนา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนบั จานวน (ลา้ นบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

5. ประเมินผลโครงการสาคัญในประเด็นส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากให้ โครงการ 5 1.0000 สภว. ส่วนกลาง
ขยายตัว
แผนงานท่ี 2 พัฒนากลไกในการขับเคลือ่ นเศรษฐกิจฐานราก จังหวดั 76 56.2690 สสช.
1. **(Flagship) พฒั นาเศรษฐกิจฐานรากและประชารัฐเพ่ือสังคม 9.0764 สสช.
คน 320 1.6316
1.1 สร้างและพฒั นากลไกขับเคล่อื นการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก คน 2,280 7.3872 ส่วนกลาง
1) ประชมุ เชงิ ปฏิบัติการพฒั นากลไกขบั เคลือ่ นการพฒั นาเศรษฐกจิ คน 40 0.0576 สพจ.
47.1926
ฐานราก ระดับประเทศ คน/วนั 1,254 ส่วนกลาง
คน/วัน 15.2000
2) ประชมุ กลไกขับเคลื่อนการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก ระดับจงั หวดั คน/วัน 8,780/1 สพจ.
เรอื่ ง 31.3446
3) ประชุมขับเคลอ่ื นการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก แห่ง 180/2 สพอ.
1.2 สง่ เสริมการสร้างรายได้การพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานรากด้วยกจิ การ 3 0.6480
อาหารปลอดภัย 878 5.0000 สว่ นกลาง
13.5810 สภว. ส่วนกลาง
1) ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการเชอื่ มโยงการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก ระดับ สพอ.
จงั หวัด

2) ประชุมเชงิ ปฏิบัติการแกนนาเพื่อสร้างรายได้กจิ การอาหาร
ปลอดภัย ระดับอาเภอ

3) ประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือขา่ ยเชือ่ มโยงเพ่ือสร้างรายได้ด้วย
กจิ การอาหารปลอดภัย ระดับภาค

2. วิจัยและพัฒนาการขับเคล่ือนโครงการหน่ึงตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์
3. สง่ เสริมและสนับสนุนศูนยส์ ่งเสริมบริการเศรษฐกิจฐานราก

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนบั จานวน (ลา้ นบาท) พ.ศ. 2564 รับผิดชอบ ดาเนินการ

13.5810 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
16.7400
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1.5200
- ส่งเสริมและสนบั สนุนศูนย์สง่ เสริมบริการเศรษฐกจิ ฐานราก แหง่ 878 สภว. สภว./สพจ./สพอ.
451.9354
4. เพิ่มประสิทธิภาพคณะอนุกรรมการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) จังหวดั / 76/878 450.0000 สภว.
1.9354
ระดับจังหวัด/อาเภอ อาเภอ 35.3063
34.8440
4.1 สนบั สนุนคณะอนกุ รรมการหนง่ึ ตาบล หนึง่ ผลิตภัณฑ์ ระดับจงั หวัด สภว. สพจ./สพอ.
0.4623 สภว. สพจ./สพอ.
4.2 สนับสนุนคณะอนุกรรมการหนง่ึ ตาบล หนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ ระดับอาเภอ 70.7502 สภว. สพจ.
21.1251
5. เพิ่มประสิทธิภาพเครือข่าย OTOP ทุกระดับ จังหวดั 76 10.0000
แผนงานที่ 3 ยกระดับผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP สู่สากล 20.0000

1. **(Flagship) สร้างผู้ประกอบการอัจฉรยิ ะเพื่อขับเคลื่อน OTOP สู่ สภว.
สภว. สภว./สพจ./สพอ.
1.1 สร้างผูป้ ระกอบการอจั ฉริยะเพ่ือขับเคล่อื น OTOP ส่สู ากล ราย 3,800
ส่วนกลาง
1.2 พฒั นาศักยภาพด้านกฎหมายการคุ้มครองสนิ ค้าภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ไทย รุ่น/คน/วัน 1/60/5 สภว.

2. เพิ่มประสทิ ธภิ าพผู้ผลติ ผู้ประกอบการ OTOP คน/จังหวัด 7,600/76 ส่วนกลาง

2.1 สง่ เสริมการพฒั นาผู้ประกอบการ/วสิ าหกจิ ชมุ ชนในการผลติ สินค้า รนุ่ /คน/วัน 20/3,800/4
เกษตรและผลติ ภัณฑ์ OTOP

2.2 เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจดั การและพฒั นามาตรฐานสถาบัน แหง่ 7 ส่วนกลาง
ส่งเสริมความรู้ภูมิปัญญา
สภว.
3. พฒั นาผู้ประกอบการรนุ่ ใหม่ (Young OTOP, OTOP Startup) ส่วนกลาง
ส่วนกลาง
5.1 พฒั นาและยกระดับภูมปิ ัญญา เพ่ิมผลิตภัณฑ์ Young OTOP สว่ นกลาง

5.2 Young OTOP Camp ราย 760

5.3 OTOP Junior Camp ราย 380

แนวทางการพฒั นา/แผนงาน/โครงการสาคญั เปา้ หมาย งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การในปงี บประมาณ หน่วยงาน หน่วยงาน
หนว่ ยนบั จานวน (ล้านบาท) พ.ศ. 2564 รบั ผิดชอบ ดาเนินการ

19.6251 ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
7.2003
5.4 พฒั นาต่อยอดภูมปิ ญั ญาผลิตภัณฑ์ Young OTOP สูส่ ากล ผลิตภัณฑ์ 150 7.2003 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ส่วนกลาง
4. พฒั นาศักยภาพศิลปนิ OTOP (สูส่ ากล) 1/50/5 31.4712 สว่ นกลาง
ครงั้ /คน/วนั 1/50/5 31.4712 สภว.
- จดั แสดงและจาหน่ายผลงานศิลปนิ OTOP "หตั ถศิลป์ แผน่ ดินไทย" คร้ัง/คน/วนั 2/85/3 สภว.
5. พัฒนาศักยภาพนักการตลาด OTOP Trader (สู่มอื อาชีพ) รนุ่ /คน/วนั 2/85/3
รนุ่ /คน/วัน 151.8784 สพจ.
- พฒั นาศักยภาพนักการตลาด OTOP Trader 3,800
ผลติ ภัณฑ์ 151.8784 สภว. สพจ.
แนวทางการพัฒนา: 2.2 พฒั นาผลิตภัณฑช์ ุมชนด้วยองค์ 3,800 76.4138 สภว. ส่วนกลาง/สพจ.
ความรแู้ ละนวตั กรรม ผลติ ภัณฑ์ 1,520 5.0000 สภว.
ผลติ ภัณฑ์ 76 5.0000
แผนงานที่ 1 พฒั นาคุณภาพและเพิ่มมาตรฐานผลติ ภัณฑ์ชุมชน จังหวดั 76 สพจ.
1. **(Flagship) พฒั นาคุณภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้ จงั หวัด 83.1800
และนวตั กรรม 1 สภว. สว่ นกลาง/สพจ.
ฐานข้อมูล
- พฒั นาผลิตภัณฑ์ OTOP กลมุ่ ปรับตัวสูก่ ารพฒั นา (กลมุ่ Quadrant D)
ใหม้ ีคุณภาพมาตรฐาน

2. สง่ เสริมกระบวนการเครอื ข่ายองค์ความรแู้ ละนวตั กรรม (KBO)
3. ต่อยอดภูมิปญั ญาพฒั นาผลิตภัณฑ์ชุมชนให้ได้มาตรฐาน (R&D PSO)

2.1 ต่อยอดภูมิปัญญาพฒั นาผลติ ภัณฑ์ชมุ ชนให้ได้มาตรฐาน

- สดุ ยอดผลิตภัณฑ์ OTOP เด่น (Provincial Star OTOP : PSO)
4. คัดสรรสุดยอดหนึ่งตาบล หน่ึงผลิตภัณฑ์ไทย
แผนงานท่ี 2 ยกระดับผลติ ภัณฑ์ชุมชนส่มู าตรฐานสากลและการส่งออก


Click to View FlipBook Version