The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การบริหารความเสี่ยง-SBM-ล่าสุด (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by waraporn taorach, 2020-09-19 22:56:01

การบริหารความเสี่ยง-SBM-ล่าสุด (1)

การบริหารความเสี่ยง-SBM-ล่าสุด (1)

39

1. หลักการกระจายอำนาจ (decentralization) เป็นรูปแบบของการมอบอำนาจหรอื กระจาย อำนาจ
การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบการบริหาร และการจัดการศึกษาไปใหส้ ถานศกึ ษาซ่ึงเป็นหนว่ ยปฏบิ ัติ

2. หลักการบริหารตนเอง(self-management) สถานศึกษามีความเป็นอิสระคล่องตัวมีอำนาจ
ตดั สนิ ใจดว้ ยตัวเองมากขึ้น ภายใต้การบรหิ ารในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษา(schoolboards)

3. หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม (participative management) ของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
(stakeholders) ในการกำหนดนโยบาย การตัดสินใจ และร่วมคิดร่วมทำ โดยเชื่อวาการบริหารแบบมี ่ ส่วน
ร่วมจะทำใหค้ ณุ ภาพของผลผลติ เพิม่ ขึน้ และผปู้ ฏบิ ตั มิ ีความพงึ พอใจ

4. หลกั การมีภาวะผ้นู ำแบบเกอ้ื หนุน (supporting leader) โดยผ้บู รหิ ารเปน็ ผูท้ ี่คอยให้ ความ
ชว่ ยเหลือ สนับสนุน และอำนวยความสะดวกต่าง ๆ แก่ผูป้ ฏบิ ตั งิ าน

5. หลกั การพัฒนาทั้งระบบ (whole-school approach) เป็นการยดึ รปู แบบของการพัฒนาใน ทกุ ๆ
ด้าน ทั้งด้านการบรหิ ารการจัดการสอนของครแู ละวิธีการเรยี นรูข้ องผู้เรียน เพ่ือให้สถานศกึ ษา เปน็ ศนู ย์กลาง
แหง่ การเปล่ียนแปลง

6. หลกั ความรบั ผดิ ชอบทต่ี รวจสอบได(้ accountability) เพ่ือความโปรง่ ใส และให้การบริหาร จดั การ
เป็นไปตามมาตรฐานท่ีกำหนด

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเป็นการจัดการทเี่ ป็นไปตามความต้องการของโรงเรยี น โดยการ
บริหารแบบมสี ่วนร่วมในรูปของคณะกรรมการสถานศึกษาในการใช้อำนาจหน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบในการ
ตดั สินใจใชท้ รพั ยากรท่มี ีอยดู่ ำเนินการแกปญั หาและจดั กิจกรรมการศึกษาของ โรงเรยี น ให้มีประสทิ ธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ลเพอ่ื คุณภาพในการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนทุกคน

ดวงใจ ช่วยตระกูล (2553,208) สรุปได้ว่าหลกั การดำเนินงานเพ่ือใหเ้ กิดการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี น
เป็นฐานอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ่ ประกอบด้วย

1. การกระจายอำนาจการบริหารจดั การส่โู รงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาโดยตรง
2. การบรหิ ารโดยหลกั การมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายท่ีมสี ่วนเกี่ยวข้องหรอื มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย
(stakeholders) ซึ่งเป็นการคืนอำนาจการจดั การศึกษาให้ประชาชนและชุมชน
3. การบริหารตนเอง(self-managing)
4. การบริหารจัดการที่ตอบสนองตรงกบความต้องการ ั หรือสอดคลอ้ งกบความต้องการของ ผู้เรียน
และชุมชนมากทีส่ ุด
รุ่งชชั ดาพร เวหะชาติ (2556, 183) สรุปไดว้ ่าหลักการสำคัญในการบริหารแบบการบริหาร โดยใช้
โรงเรยี นเป็นฐาน โดยทั่วไป ได้แก่
1. หลักการกระจายอำนาจ(decentralization)
2. หลกั การมีส่วนรว่ ม (participation or collaboration or involvement)
3. หลกั การคนื อำนาจจัดการศึกษาให้ประชาชน (return power to people)
4. หลกั การบริหารตนเอง (self-managing)
5. หลกั การตรวจสอบและถ่วงดุล(check and balance)

40

สมั มา รธนิธย(์ 2556, 149-150) สรุปได้ว่าหลักการสำคญั ของการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี น เป็นฐานไว้5
ประการได้แก่

1. หลักการกระจายอำนาจ
2. หลักการมีสว่ นร่วม
3. หลกั การคนื อำนาจจดั การศกึ ษาใหป้ ระชาชน
4. หลักการบรหิ ารตนเอง
5. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล
จรุณี เกา้ เอี้ยน (2557, 214) กลา่ วไวว้ า หลกั การสำคัญของการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน ่ คือ
การกระจายอำนาจการบริหารให้สถานศึกษาอย่างแท้ ่ จริง บุคลากรในสถานศึกษา ผปู้ กครอง นกั เรียน และผู้
ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและมีความรู้สึกเป็นเจ้าของสถานศึกษา เป็นการบริ หารด้วยตนเองของ สถานศึกษา
นอกจากนี้ยังเป็นการให้ชุมชนมีส่วนร่วมจัดการศึกษา เป็นการคืนอำนาจการจัดการศึกษาให้ ประชาชน และ
ได้สรปุ หลกั การสำคัญของการบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐานไวอ้ ยู่ 5 ประการ คือ
1. หลกั การกระจายอำนาจ (Decentralization) ซึ่งเป็นการกระจายอำนาจการจดั การศกึ ษาจาก
กระทรวงและส่วนกลางใหล้ งไปยงั สถานศึกษาให้มากทสี่ ุด โดยมคี วามเชือ่ ว่าสถานศึกษาเป็นหนว่ ย สำคัญใน
การเปล่ยี นแปลงและพฒั นาการเรียนรู้ของนักเรียน
2. หลักการมีส่วนร่วม (Participation or Collaboration or Involvement) เป็นการเปิดโอกาสให้
ผู้เก่ยี วข้องและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย ได้เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการการตัดสนิ ใจ และร่วมจัด การศึกษา
ผู้มีส่วนไดส้ ว่ นเสียมที ั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนศิษย์เก่า และตัวแทนนักเรียน การที่บุคคลเหล่านี้
ไดม้ สี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษาจะเกดิ ความรสู้ ึกเป็นเจา้ ของ และจะรับผดิ ชอบใน การจดั การศึกษามากขึ้น
3. หลักการคืนอำนาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน (Return Power to People)ในอดีตการจัด
การศกึ ษาจะทำการหลากหลาย โดยครอบครัวและชุมชน บางแหง่ กใ็ หว้ ัดหรื องคก์ รในชมุ ชนเป็น ผู้ดำเนินการ
ต่อมามีการรวมการจดั การศึกษาไปให้กระทรวงศกึ ษาธิการรับผดิ ชอบเพื่อให้เกิดเอกภาพ และมีมาตรฐานทาง
การศกึ ษา ซง่ึ เมอื่ ประชากรเพิ่มมากขนึ้ และเทคโนโลยีไดเ้ จริญก้าวหน้าไป อย่างรวดเรว็ การจัดการศึกษาโดย
ส่วนกลางเริ่มมีข้อจากด เกิดความล่าชา้ และไมส่ ามารถตอบสนอง ความต้องการของผเู้ รียนและชุมชนได้อย่าง
แท้จริง จึงต้องคืนอำนาจให้ท้องถิ่นและประชาชนได้จัด การศึกษาอีกครั้ง โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ครอบครัว องคก์ รชุมชน สถานประกอบการ มสี ิทธิ์ ในการจดั การศึกษาได
4. หลกั การบริหารตนเอง (Self-Managing) ในระบบการศึกษาท่วั ไปมกั จะกำหนดให้ โรงเรียน
เป็นหน่วยปฏิบัติตามนโยบายของส่วนกลาง โรงเรียนไม่ได้มีอำนาจอย่างแท้จริง สำหรับ การบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐานน้ันไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการทำงานให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายของ สว่ นร่วม แตม่ ีความเชื่อวา
วิธีการท างานให้บรรลุเป้าหมายนั้นทำได้หลายวิธี การทีส่วนกลางทำหน้าที่ เพียงการกำหนดนโยบายและ
เป้าหมายแล้วใหส้ ถานศึกษาได้มีระบบการบรหิ ารด้วยตนเอง มีอำนาจ หนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบในการ
ดำเนนิ งาน ซึง่ อาจดำเนินการได้หลายแนวทางด้วยวธิ ที แี่ ตกตา่ งกน ซ่งึ จะต้องอยู่กับศักยภาพ ความพร้อม และ
สถานการณ์ของแต่ละสถานศึกษา ผลท่ไี ด้น่าจะมีประสิทธิภาพ สูงกวาเดมิ ท่ีทุกอย่างถูกกำหนดมาจากส่วน

41

กลางไม่วาจะโดยทางตรงหรอื อ้อม ่
5. หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล (Check and Balance) ส่วนกลางมีหน้าที่ใน การกำหนดนโยบาย

และควบคุมมาตรฐาน มีองค์กรอิสระทำหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา ของ
สถานศึกษา เพอื่ ใหส้ ถานศึกษาได้บรหิ ารและจัดการเรียนรใู้ ห้มีคุณภาพและมีมาตรฐานเป็นไปตาม ข้อกำหนด
หรือนโยบายของประเทศชาติ โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาทำหน้าที่ในการตรวจสอบและ ถ่วงดุลซึ่งกัน
และกนั

สรุปได้ว่า หลกั การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานมดี ังน้ี
1. หลกั การกระจายอำนาจ(decentralization) กระจายการทำงานใหเ้ กดิ ความคลอ่ งตัว
2. หลักการมีส่วนร่วม (participation or collaboration) เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและ มี
สว่ นได้สว่ นเสียมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจและร่วมจดั การศกึ ษา
3. หลักการคืนอำนาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน (return power to people) ประชาชนมี ส่วน
ร่วมในการจัดการศกึ ษา
4. หลักการบริหารตนเอง (self-managing) มีเป้าหมายให้โรงเรียนจัดระบบบริหารตนเอง มีอำนาจ
หน้าที่และความรับผิดชอบในการดำเนินงานของแต่ละโรงเรียน โดยเชื่อว่าผลที่เกิดน่าจะมี ประสิทธิภาพสูง
กวาเดิม ่ ซ่งึ ถกู กำหนดจากส่วนกลาง
5. หลกั การตรวจสอบและการถว่ งดลุ (check and balance) โดยมีองค์กรอสิ ระทำหน้าท่ี ตรวจสอบ
ควบคมุ การบรหิ ารและการจดั การศึกษาเพื่อใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลอย่างแท้จริง

3. รปู แบบการบริหาร โดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเป็นการบริหารโดยคณะกรรมการสถานศึกษา (School council
หรือ School board) โดยเน้นการมีส่วนร่วมและการตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน ผู้ปกครองและ
ชุมชนให้มากที่สุด โดยการกระจายอำนาจการบริหารและจัดการศึกษาจากส่วนกลางไป ยังสถานศึกษาด้าน
วชิ าการงบประมาณบุคลากรและการบรหิ ารท่ัวไป

จันทรานี สงวนนาม (2553, 180-181) กล่าววา่ รปู แบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะเฉพาะและความจำเป็นของแต่ละโรงเรียนว่าใครเป็นหลัก ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ คือ

1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (administration control SBM) ผู้บริหารเป็น ประธาน
คณะกรรมการ ส่วนกรรมการอื่น ๆ ได้จากการเลือกตั้งหรือคัดเลือกจากกลุ่มผู้ปกครอง ครูและ ชุมชน
คณะกรรมการมบี ทบาทให้คำปรึกษาแต่อำนาจการตัดสนิ ใจยงั คงอยู่ท่ผี บู้ ริหารโรงเรยี น ่

2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (professional control SBM) เกิดจากแนวคิดที่ว่าครูเป็นผู้ใกล้ชิด
นกั เรยี นมากทส่ี ุด ยอมร้ปู ัญหาไดด้ ีกว่าและสามารถแก ่ ปัญหาได้ตรงจุดตวั แทนคณะครูจะมีสัดส่วนมาก ที่สุด
ในคณะกรรมการโรงเรียน ผู้บริหารยังเป็นประธานคณะกรรมการโรงเรียน บทบาทของ คณะกรรมการ
โรงเรียนเป็นคณะกรรมการบริหาร

42

3. รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทเป็นหลัก (community control SBM) แนวคิดสำคัญคือการจัด
การศึกษาควรตอบสนองความต้องการและค่านิยมของผู้ปกครองและชุมชนมากที่สุด ตัวแทนของ ผู้ปกครอง
และชุมชนจึงมีสัดส่วนในคณะกรรมการโรงเรียนมากที่สุด ตัวแทนผู้ปกครองและชุมชนเป็น ประธาน
คณะกรรมการ โดยมผี บู้ รหิ ารโรงเรยี นเป็นกรรมการและเลขานุการ บทบาทหนา้ ทขี่ อง คณะกรรมการโรงเรียน
เป็นคณะกรรมการบรหิ าร

4. รูปแบบท่ีครแู ละชมุ ชนมีบทบาทหลัก (professional community control SBM) แนวคิด เร่ืองน้ี
เชื่อว่าทั้งครูและผู้ปกครองต่างมีความสำคัญในการจดั การศึกษาให้เด็ก เนื่องจากคนทั้ง 2 กลุ่ม ต่างอยู่ใกล้ชิด
นักเรียนมากที่สุด ่ รับรู้ปัญหาและความต้องการได้ดีที่สุด สัดส่วนของครูและผู้ปกครอง (ชุมชน) ใน
คณะกรรมการโรงเรียนจะมีเท่า ๆ กันแต่มากกวาตัวแทนกลุ่มอื่น ๆ ผู้บริหารโรงเรียนเป็น ประธาน บทบาท
หน้าที่ของคณะกรรมการโรงเรยี นเป็นคณะกรรมการบริหาร

อุทัย บุญประเสริฐ 2544 จาการศึกษาพบว่า มีรูปแบบที่สำคัญอย่างน้อย 4 รูปแบบ ได้แก่
1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (Administration Control SBM) ผู้บริหารเป็นประธาน
คณะกรรมการ ส่วนกรรมการอื่น ๆ ได้จากการเลือกตั้งหรือคัดเลือกจากกลุ่มผู้ปกครอง ครู และชุมชน
คณะกรรมการมีบทบาทให้คำปรึกษา แต่อำนาจการตัดสินใจยังคงอยู่ที่ผู้บริหารโรงเรียน
2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (Professional Control SBM) เกิดจากแนวคิดที่ว่า ครูเป็นผู้ใกล้ชิด
นักเรียนมากที่สุด ย่อมรู้ปัญหาได้ดีกว่าและสามารถแก้ปัญหาไดต้ รงจดุ ตัวแทนคณะครูจะมีสัดส่วนมาก ที่สุด
ในคณะกรรมการโรงเรยี น ผบู้ ริหารยังเปน็ ประธานคณะกรรมการโรงเรียนบทบาทของคณะกรรมการโรงเรียน
เป็นคณะกรรมการบริหาร
3. รูปแบบที่ชมุ ชนมีบทบาทหลกั (Community Control SBM) แนวคิดสำคัญ คือ การจัดการศึกษา
ควรตอบสนองความต้องการและค่านิยมของผู้ปกครองและชุมชนมากที่สุด ตัวแทนของผู้ปกครอง และชุมชน
จึงมีสดั สว่ นในคณะกรรมการโรงเรียนมากท่ีสดุ ตวั แทนผ้ปู กครองและชุมชนเป็นประธานคณะกรรมการ โดยมี
ผู้บริหารโรงเรียนเป็นกรรมการและเลขานุการ บทบาท หน้าที่ของคณะกรรมการ โรงเรียนเป็นคณะ
กรรมการบรหิ าร
4. รปู แบบท่คี รูและชมุ ชนมีบทบาทหลัก (Professional Community Control SBM) แนวคิดเรื่องนี้

เชื่อว่า ทั้งครูและผู้ปกครองต่างมีความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก เนื่องจากทั้ง 2 กลุ่มต่างอยู่ใกล้ชดิ

นักเรียนมากที่สุด รับรู้ปัญหาและความต้องการได้ดีที่สุดสัดส่วนของครูและผู้ปกครอง (ชุมชน) ใน

คณะกรรมการโรงเรียนจะมีเท่า ๆ กันแต่มากกว่าตัวแทนกลุ่มอื่น ๆ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน บทบาท

หนา้ ทข่ี องคณะกรรมการโรงเรยี นเป็นคณะกรรมการบรหิ าร

ดวงใจ ช่วยตระกูล (2553, 210-212) สรุปได้ว่ารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีดังนี้
1. รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่ชุมชนมีบทบาทหลัก(community control SBM) เป็นแบบที่ เพิ่ม
ความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้แก่ชุมชนและผู้ปกครองโดยมุ่งเน้นเพื่อให้ผู้รับบริการศึกษามี ความพึง

43

พอใจในการศึกษาที่จัดให้มากที่สุด คณะกรรมการโรงเรียนจึงมีสัดส่วนจำนวนตัวแทน ผู้ปกครองและชุมชน
มากทสี่ ดุ บทบาทของคณะกรรมการโรงเรียนกค็ ือ การทำหนา้ ที่คณะกรรมการ บริหารโรงเรียน

2. รูปแบบทผี่ ู้บริหารโรงเรยี นเป็นหลัก (administrative control SBM) นนั้ คณะกรรมการ โรงเรียน
ที่ตั้งขึ้นจะมีบทบาทเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาของผู้บริหารโรงเรียน เป็นประธานคณะกรรมการ โดย
ตำแหนง่ คณะกรรมการจะประกอบด้วยตวั แทนครูตัวแทนผู้ปกครอง ตวั แทนชมุ ชน ตัวแทนนักเรียน (ชน้ั
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย) คณะกรรมการมบี ทบาทในการให้ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะในการบริหาร แต่อำนาจ
การตัดสนิ ใจในขนั้ สุดท้ายจะยังคงอยู่ที่ผบู้ ริหารโรงเรยี น ่

3. ส่วนรูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (professional control SBM) นั้น เชื่อว่าครูเป็นผู้ใกล้ชิด นักเรียน
มากที่สุดและเป็นผู้ปฏิบัติการเรียนการสอนโดยตรง จึงยอมรับรู้ปัญหาต่างๆ ได้ดีกว่าตัวแทน คณะครูจึงมี
สัดส่วนมากที่สุดในคณะกรรมการโรงเรียน ซ่ึงประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน ผู้แทนครูจาก
สหภาพครู 1 คน ผู้แทนครูเลือกโดยกลุ่มผู้บริหารในโรงเรียน 2 คน ผู้แทนครูซึ่งกลุ่มครู เลือกกันเอง 2 คน
ตัวแทนผู้ปกครอง 1-2 คน และสมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน บทบาทของคณะกรรมการนี้ จะเป็นทั้งกรรมการที่
ปรกึ ษาและกรรมการบรหิ ารไปด้วยในตวั

4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (professional/community control SBM) ถือว่าทั้ง ครู
และผู้ปกครองต่างมีบทบาทและความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
โรงเรียนสัดส่วนของผู้แทนครูและผู้แทนผู้ปกครอง/ชุมชน จะมีเท่า ๆ กันในคณะกรรมการ โรงเรียน ส่วน
รูปแบบโรงเรียนในระบบของรัฐ จะมีลักษณะเป็นโรงเรียนที่ได้รับเงินอุดหนุนจากรัฐ และมีฐานะเป็นหรือ
เสมอื นเปน็ องค์กรนิติบุคคล โรงเรียนดำเนนิ การของตนเองได้แบบอิสระ (deregulation) จากกฎระเบียบที่ใช้
บังคับกับโรงเรียนทั่วไป ่ โรงเรียนสามารถออกกฎระเบียบของตนเอง ได้โดยเฉพาะ มีความเป็นอิสระในเรื่อง
การจัดการด้านวิชาการ การเงิน และบุคคลแต่โรงเรียนจะต้อง รับผิดชอบต่อผล การดำเนินงานตามพันธะ
สัญญา (charter) หรือตามข้อตกลงที่ไดท้ ำไว้กับหน่วยงาน ที่มีอำนาจอนุมัติให้เป็นโรงเรียนในของรฐั ไม่เป็น
ส่วนราชการหรือเป็นรัฐวิสาหกิจ แต่จะได้รับ การสนับสนุนด้านงบประมาณจากรัฐคณะกรรมการโรงเรียน
มอี ำนาจหน้าทใ่ี นการกำหนดนโยบายจดั ทำ แผนปฏิบตั จิ ัดสรรงบประมาณ ควบคุมและกำกับบการบริหารงาน
การจ้างและเลกิ จ้างผบู้ ริหารโรงเรยี น

ดวงใจ ช่วยตระกูล (2553, 210-212) สรุปได้ว่ารูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน มีดังน้ี
1. รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (community control SBM) เป็นแบบที่เพ่ิม
ความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้แก่ชุมชนและผู้ปกครองโดยมุ่งเน้นเพื่อให้ผู้รับบริการศึกษามี ความพึง
พอใจในการศึกษาที่จัดให้มากที่สุด คณะกรรมการโรงเรียนจึงมีสัดส่วนจำนวนตัวแทน ผู้ปกครองและชุมชน
มากท่สี ุด บทบาทของคณะกรรมการโรงเรียนก็คือ การทำหน้าที่คณะกรรมการ บรหิ ารโรงเรียน
2. รปู แบบทผี่ บู้ ริหารโรงเรียนเป็นหลกั (administrative control SBM) นน้ั คณะกรรมการ โรงเรียน
ท่ีตั้งข้ึนจะมีบทบาทเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาของผู้บริหารโรงเรยี น เป็นประธานคณะกรรมการโดยตำแหน่ง
คณะกรรมการจะประกอบด้วยตัวแทนครูตัวแทนผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนนักเรียน (ชั้นมัธยมศึกษา

44

ตอนปลาย) คณะกรรมการมบี ทบาทในการให้ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะในการบรหิ าร แตอ่ ำนาจการตดั สินใจ
ในข้นั สุดทา้ ยจะยังคงอยู่ที่ผ้บู รหิ ารโรงเรียน ่

3. ส่วนรูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (professional control SBM) นั้น เชื่อว่าครูเป็นผู้ใกล้ชิด นักเรียน
มากที่สุดและเป็นผู้ปฏิบัติการเรียนการสอนโดยตรง จึงยอมรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ได้ดีกว่าตัวแทน คณะครูจึงมี
สัดส่วนมากที่สุดในคณะกรรมการโรงเรียน ซ่ึงประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน ผู้แทนครูจาก
สหภาพครู 1 คน ผู้แทนครูเลือกโดยกลุ่มผู้บริหารในโรงเรียน 2 คน ผู้แทนครูซึ่งกลุ่มครู เลือกกันเอง 2 คน
ตัวแทนผู้ปกครอง1-2 คน และสมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน บทบาทของคณะกรรมการนี้ จะเป็นทั้งกรรมการที่
ปรกึ ษาและกรรมการบรหิ ารไปด้วยในตัว

4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (professional/community control SBM) ถือว่า ทั้ง ครู
และผู้ปกครองต่างมีบทบาทและความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ ที่ เก่ียวข้องกับ
โรงเรียนสัดส่วนของผู้แทนครูและผู้แทนผู้ปกครอง/ชุมชน จะมีเท่า ๆ กันในคณะกรรมการ โรงเรียน ส่วน
รปู แบบโรงเรยี น จะมลี กั ษณะเป็นโรงเรยี นท่ีไดร้ ับเงนิ อุดหนนุ จากรฐั และมฐี านะเป็นหรอื เสมอื นเป็นองค์กรนิติ
บุคคล โรงเรียนดำเนินการของตนเองได้แบบอิสระ (deregulation) จากกฎระเบียบที่ใช้บังคับกบโรงเรียน
ทั่วไป ่ โรงเรียนสามารถออกกฎระเบียบของตนเอง ได้โดยเฉพาะ มีความเป็นอิสระในเรื่องการจัดการด้าน
วิชาการ การเงิน และบุคคลแต่โรงเรียนจะต้อง รับผิดชอบต่อผล การดำเนินงานตามพันธะสัญญา (charter)
หรือตามข้อตกลงที่ได้ทำไว้กบหน่วยงาน ที่มีอำนาจอนุมัติให้เป็นโรงเรียนในของรัฐ ไม่เป็นส่วนราชการหรือ
เป็นรัฐวิสาหกิจ แต่จะได้รบั การสนับสนุนด้านงบประมาณจากรัฐคณะกรรมการโรงเรียนมีอำนาจหน้าท่ีในการ
กำหนดนโยบายจัดทำ แผนปฏิบัติจัดสรรงบประมาณ ควบคุมและกากบริการบริหารงานการจ้างและเลิกจ้าง
ผู้บริหารโรงเรียนครู1 คน ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษาและตัวแทนนักเรียน 1 คน (เฉพาะมัธยมศึกษาตอน
ปลาย) ประธาน คณะกรรมการมาจากกลุ่มผู้แทนชุมชนหรือผู้ปกครอง บทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา
คือการท า หนา้ ท่ีคณะกรรมการบรหิ ารสถานศกึ ษา

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ(2556, 184) สรุปได้ว่า รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ สำคัญมี
อย่างน้อย ่ 4 รปู แบบ ได้แก่

1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (administration control SBM) ผู้บริหารเป็นประธาน
คณะกรรมการ ส่วนกรรมการอื่น ๆ ได้จากการเลือกตั้งหรือคัดเลือกจากกลุ่มผู้ปกครอง ครูและ
ชมุ ชน คณะกรรมการมบี ทบาทให้คำปรึกษาแต่อำนาจการตดั สนิ ใจยังคงอยู่ทผี่ ูบ้ ริหาร ่

2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (professional control SBM) เกิดจากแนวคิดที่ว่าครูใกล้ชิดนักเรียน ่
มากทส่ี ดุ ย่อมรปู้ ัญหาได้ดีกวา่ และสามารถแกปัญหาไดต้ รงจุด ตัวแทนคณะครูมีสัดส่วนมากท่ีสุด
ใน คณะกรรมการโรงเรยี น

3. รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (community control SBM) แนวคิดสำคัญ คือการจัดการศึกษา

ควรตอบสนองความต้องการและค่านยิ มของผ้ปู กครองและชุมชนมากที่สุด

45

4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (professional community control SBM) แนวคิดนี้ เช่ือ
วา่ ทัง้ ครแู ละผปู้ กครองตา่ งมคี วามสำคัญในการจัดการศึกษาให้แกเ่ ดก็ ในคณะกรรมการโรงเรียนจะมี เท่าๆ กัน
แต่มากกว่าตัวแทนกลุ่มอื่นๆ ผู้บริหารโรงเรียนเป็นประธาน บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ โรงเรียนเป็น
คณะกรรมการบริหาร

สัมมา รธนิธย์ (2556, 150-151) สรุปได้ว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเป็น การบริหารงาน
โดยคณะกรรมการโรงเรียน ( school board) หรือสภาโรงเรียน (school council) ซึ่ง คณะกรรมการ
โรงเรียนโดยทั่วไปจะประกอบด้วยตัวแทนผู้ปกครอง ่ ตัวแทนครูตัวแทนองค์กรปกครอง 34 ส่วนท้องถิ่น
ตัวแทนองค์กรชุมชน ตัวแทนศิษยเ์ ก่า ผู้ทรงคุณวุฒแิ ละผู้บรหิ ารโรงเรียน แบบของ คณะกรรมการโรงเรียนใน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานมี 4 แบบ ดงั ต่อไปนี้

1. แบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (administrative control school council) เกิดจากแนวคิด
การกระจายอำนาจหน้าที่ในการบริหารการเงิน บุคลากร และวิชาการ ให้แก่ผู้บริหารโรงเรียน เพื่อให้ การ
บรหิ ารโรงเรียนน้ันมปี ระสทิ ธภิ าพมากทสี่ ุดคณะกรรมการจะมบี ทบาทในการร่วมเสนอความคิดเห็น แตอ่ ำนาจ
ในการตดั สินใจขนั้ สุดทา้ ยยงั คงอยู่ทผี่ บู้ รหิ ารโรงเรยี น ่

2. แบบที่มีครูเป็นหลัก (professional control school council) ตัวแทนครูจะมีสัดส่วนมากที่สุด
การจัดคณะกรรมการแบบนี้เกิดจากแนวคิดที่ว่า ครูเป็นผู้ใกล้ชิดนักเรียนมากที่สุด ย่อมรับรู้ปัญหาได้ ดีกวา
และถ้ามีโอกาสตัดสินใจกจ็ ะสามารถแกปัญหาได้ตรงจุดมากทส่ี ุด

3. แบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (community control school council) จุดประสงค์ คือ การเพ่ิม
ความรับผิดชอบในการจัดการศึกษาให้แก่ชุมชนและผู้ปกครองมากขึ้น แนวคิดสำคัญ คือ หลักสูตรและ การ
จัดการศึกษาของโรงเรียน ควรตอบสนองความต้องการและค่านิยมของผู้ปกครองและชุมชนท้องถ่ิน มากที่สุด
4. แบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก (professional/community control school council) แนวคิดนี้เชื่อ
วาครูและผู้ปกครองต่างมีความสำคัญในการจัดการศึกษาให้แก่เด็ก สัดส่วนของผู้แทนครู และผู้แทนจาก
ผปู้ กครอง/ชมุ ชนจะมเี ทา่ ๆ กัน

จามจุรี จาเมืองและคณะ (2558, 9) กล่าวว่า จากการศึกษาพบวามีรูปแบบที่สำคัญอย่างน้อย 4
รปู แบบ ไดแ้ ก่

1. รูปแบบที่มีผู้บริหารโรงเรียนเป็นหลัก (administration control SBM) ผู้บริหารเป็นกลไก สำคัญ
ในการบรหิ าร

2. รูปแบบที่มีครูเป็นหลัก (professional control SBM) เกิดจากแนวคิดที่ว่าครูเป็นผู้ใกล้ชิด
นักเรียนมากท่สี ุด ยอมรู้ปญั หาได้ดีกว่าและสามารถแก่ปัญหาไดต้ รงจุดตวั แทนคณะครูจะมสี ดั สว่ นมาก ทสี่ ุดใน
คณะกรรมการโรงเรยี น ผ้บู ริหารยังคงเป็นประธานคณะกรรมการของโรงเรียนสว่ นบทบาทของ คณะกรรมการ
โรงเรียนจะเปน็ คณะกรรมการบรหิ าร

3. รูปแบบที่ชุมชนมีบทบาทหลัก (community control SBM) แนวคิดสำคัญ คือการจัด การศึกษา
ควรตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชน จึงต้องคำนงึ ถึงชมุ ชนเป็นหลัก

46

4. รูปแบบที่ครูและชุมชนมีบทบาทหลัก ทั้งครู และชุมชนเป็นผู้มีบทบาทสำคัญใน การบริหาร
โรงเรยี น

สรุปไดว้ า่ การบรหิ ารโดยใช้ โรงเรยี นเป็นฐาน จำแนกได้ 4 รูปแบบ ดังน้ี
1. การบรหิ ารแบบเบด็ เสร็จในโรงเรยี น โดยคณะครูอาจารยผ์ บู้ รหิ ารในการมีส่วนรว่ มใน การตดั สนิ ใจ
โดยผานกระบวนการของคณะกรรมการสถานศึกษาเตม็ รูปแบบ ่
2. ยึดผบู้ ริหารเป็นหลัก (principal-directed) โดยมีการแต่งตง้ั คณะกรรมการท่ีปรึกษาจากฝ่ายต่าง
ๆ หรอื ผู้ปกครองนกั เรียน เป็นตน้
3. มีคณะกรรมการหรือกล่มุ ผ้ปู กครองทไ่ี ด้รับการแตง่ ต้ัง ( parent committee) เพ่ือร่วมใน การ
บรหิ ารจดั การโรงเรยี น
4. โดยคณะกรรมการบริหารแบบ (School-based Management) ในระดับพ้ืนทจี่ ากหลายๆ
โรงเรียนท่ีรวมกันเปน็ กลุ่มโรงเรยี น

4. ข้อกำหนดทางกฎหมายเกย่ี วกบั SBM ของไทย
มาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และทแี่ ก้ไข เพ่ิมเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.

2545 ซึ่งเปน็ บทบัญญตั ิหลักของการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียน เป็นฐาน บญั ญตั ิว่า
ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การ

บริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ
สถานศกึ ษาในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาโดยตรง

หลักเกณฑ์และวธิ กี ารกระจายอำนาจดงั กลา่ ว ให้เป็นไปตามทก่ี ำหนดใน กฎกระทรวง
ณ ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการได้ตรากฎกระทรวง ว่าด้วยการบริหารจัดการ และขอบเขตการ
ปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคลในสังกัด เขตพื้นที่การศึกษาแล้ว ประกอบกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และทแ่ี ก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กไ็ ด้กำหนดกรอบ
กวา้ ง ๆ ในการกระจาย อำนาจแต่ละด้านไปยงั คณะกรรมการเขต สำนักงานเขต และสถานศกึ ษาเอาไว้แล้ว
เชน่ ในด้านวชิ าการ บทบัญญตั ิในหมวด 4 ไดก้ ำหนดแนวทางในการกระจายอำนาจ ทางวิชาไว้หลายมาตรา
เชน่
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการ ของผู้เรียน ความ
ประพฤติการสังเกตพฤติกรรมการเรยี น การร่วมกจิ กรรมและ การทดสอบควบคไู่ ปในกระบวนการเรียนการ
สอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดบั และรูปแบบการศกึ ษา
ให้สถานศึกษาใช้วิธีการที่หลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเข้าศึกษาต่อ และให้นำผลการ
ประเมินผู้เรียนตามวรรคหนึ่งมาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย มาตรา 27 ให้คณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน กำหนดหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อความเป็นไทย ความเป็นพลเมืองที่ดีของชาติ
การดำรงชวี ติ และการประกอบอาชพี ตลอดจนเพื่อการศกึ ษาต่อ

47

ให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานมหี น้าทีจ่ ดั ทำสาระของหลกั สูตรตามวัตถุประสงค์ใน วรรคหนึ่ง ในส่วนที่
เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็นสมาชิกที่ดี
ของครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

ในด้านงบประมาณ บทบัญญัติในมาตรา 60 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.
2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 กำหนดกรอบการ กระจายอำนาจงบประมาณไปยัง
สำนักงานเขตพน้ื ท่ีและสถานศึกษาดังน้ี

มาตรา 60 ให้รัฐจัดสรรงบประมาณแผ่นดินให้กับการศึกษาในฐานะที่มีความ สำคัญสูงสุดต่อการ
พฒั นาท่ียงั่ ยืนของประเทศ โดยจัดสรรเป็นเงนิ งบประมาณเพื่อ การศึกษาดังนี้

(1) จัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปเป็นค่าใช้จ่ายรายบคุ คลที่เหมาะสมแก่ผู้เรียน การศึกษาภาคบังคับและ
การศกึ ษาข้ันพื้นฐานที่จดั โดยรัฐและเอกชนให้เทา่ เทียมกนั

(2) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกู้ยืมให้แก่ผู้เรียนที่มาจากครอบครัว ที่มีรายได้น้อย ตาม
ความเหมาะสมและความจำเป็น

(3) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรศึกษาอื่นเป็นพิเศษใหเ้ หมาะสมและ สอดคล้องกับความจำเป็น
ในการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนทีม่ ีความต้องการ เป็นพิเศษแต่ละกลุ่มตามมาตรา 10 วรรคสอง วรรคสาม
และวรรคสี่ โดยคำนึงถึง ความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาและความเป็นธรรม ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม
หลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่กี ำหนดในกฎกระทรวง

(4) จัดสรรงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายดำเนินการและงบลงทุนให้สถานศึกษา ของรัฐตามนโยบาย
แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาตแิ ละภารกจิ ของสถานศึกษา ท้งั นี้ให้คำนงึ ถึงคุณภาพและความเสมอภาคในการ
โอกาสทางการศึกษา

(5) จัดสรรงบประมาณในลักษณะเงินอุดหนุนทั่วไปให้สถานศึกษาระดับ อุดมศึกษาของรัฐที่เป็นนิติ
บคุ คล และเป็นสถานศึกษาในกำกบั ของรัฐหรอื องคก์ าร มหาชน

(6) จัดสรรกองทุนกู้ยืมดอกเบี้ยต่ำให้สถานศึกษาเอกชนเพื่อให้พึ่งตนเองได้ (7) จัดตั้งกองทุนเพ่ือ
พัฒนาการศึกษาของรฐั และเอกชน
ในด้านการบริหารงานบุคคล มาตรา 54 แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ี
แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 กำหนดเปน็ หลักการให้มกี าร กระจายอำนาจการบริหารงานบุคคลดังน้ี
มาตรา 54 ให้มอี งคก์ รกลางบรหิ ารงานบุคคลของข้าราชการครโู ดยใหค้ รแู ละ บุคลากรทางการศึกษา
ทั้งของหน่วยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐและ ระดับเขตพื้นที่การศึกษาเป็นข้าราชการใน
สังกัดองค์กรกลางบริหารงานบุคคลของ ข้าราชการครูโดยยดึ หลักการกระจายอำนาจการบริหารบุคคลสู่เขต
พ้นื ทก่ี ารศึกษา และสถานศกึ ษา ทงั้ นใ้ี หเ้ ปน็ ไปตามทกี่ ฎหมายกำหนด
แม้วา่ รา่ งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ซ่ึงเป็น กฎหมายเกี่ยวกับ
การบริหารงานบุคคลจะอยู่ในระหว่างการพิจารณาของรัฐสภา มีความเป็นไปได้สูงว่าอำนาจหน้าที่ในการ
บริหารงานบุคคลของอนุกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา (อ.ก.ค.ศ.) อำนาจหน้าที่ของ

48

ผู้อำนวยการเขตพื้นที่ การศึกษาอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาและอำนาจหน้าที่ของผู้บริหาร
สถานศกึ ษาในสว่ นที่เกยี่ วกบั การบรหิ ารงานบุคคลจะเป็นดังน้ี

มาตรา 23 ให้ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามีอำนาจหน้าทด่ี ังนี้
(1) พิจารณากำหนดนโยบายการบริหารงานบุคคลสำหรบั ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ในเขตพื้นที่การศึกษารวมทั้งการกำหนดจำนวนและอัตรา ตำแหน่งและเกลี่ยอัตรากำลังให้สอดคล้องกับ
นโยบายการบรหิ ารงานบุคคล ระเบยี บ หลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารที่ก.ค.ศ. กำหนด
(2) พิจารณาให้ความเห็นชอบการบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาในเขต
พนื้ ท่กี ารศึกษา
(3) ให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับการพิจารณาความดีความชอบของผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้บริหาร
การศึกษา ในหน่วยงานทางการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา (4) พิจารณาเกี่ยวกับเรื่องการดำเนินการทาง
วนิ ัย การออกจากราชการ การอทุ ธรณ์และการร้องทุกขต์ ามท่กี ำหนดไวใ้ นพระราชบญั ญตั ิน้ี
(5) ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา การเสริมสร้างขวัญกำลังใจ การปกป้องคุ้มครอง ระบบคุณธรรม
การจัดสวัสดิการและการยกย่องเชิดชเู กียรติขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาในหนว่ ยงานการศึกษา
ของเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา
(6) กำกับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากร
ทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาในเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา (7) จัดทำและพฒั นาฐานข้อมลู ข้าราชการครูและ
บคุ ลากรทางการศกึ ษา ในหนว่ ยงานการศกึ ษาในเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา
(8) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษาในหน่วยงานการศึกษาเพอื่ เสนอ ก.ค.ศ. (9) พิจารณาให้ความเหน็ ชอบเร่ืองการบรหิ ารงานบุคคลในเขต
พื้นที่การศึกษา ที่ไม่อยู่ในอำนาจและหน้าที่ของผู้บริหารในหน่วยงานทางการศึกษา (10)ปฏิบัติหน้าที่อื่น
ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือตามที่ก.ค.ศ. มอบหมาย มาตรา 24 ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขต
พื้นทกี่ ารศึกษาเป็นผบู้ ริหารราชการ ในสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาและเป็นผบู้ ังคับบัญชาของข้าราชการครู
และบคุ ลากร ทางการศกึ ษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาและมอี ำนาจหน้าที่ดงั ต่อไปนี้
(1) รับผิดชอบในการปฏิบัติงานราชการที่เป็นอำนาจหน้าที่ของอ.ก.ค.ศ. เขต พื้นที่การศึกษาและ
ตามทอ่ี .ก.ค.ศ. เขตพนื้ ท่กี ารศึกษามอบหมาย (2) เสนอแนะการบรรจุและแต่งตั้งและการบรหิ ารงานบุคคลใน
เร่อื งอน่ื ท่ีอยู่ ในอำนาจหน้าท่ขี องอ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ท่กี ารศึกษา
(3) พจิ ารณาความดีความชอบของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผ้บู ริหารการศึกษาใน หน่วยงานการศกึ ษาของ
เขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา และข้าราชการครูและบคุ ลากรทาง การศึกษาในสำนกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา
(4) จัดทำแผนและสง่ เสริมการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ในหนว่ ยงานการศึกษา
ในเขตพน้ื ที่การศึกษา
(5) จัดทำทะเบยี นประวัตขิ า้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในเขต พนื้ ท่ีการศกึ ษา

49

(6) จัดทำมาตรฐานคุณภาพงาน กำหนดภาระงานขั้นต่ำและเกณฑ์การประเมินผลงานสำหรับ
ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาของสำนักงานเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษา

(7) ประเมินคุณภาพการบริหารงานบุคคลและจัดทำรายงานการบรหิ ารงาน บคุ คลเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขต
พนื้ ท่ีการศึกษาเพ่ือเสนอ ก.ค.ศ.ตอ่ ไป (8) ปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ื่นตามทก่ี ำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ ตามกฎหมาย
อนื่ หรอื ตามท่กี .ค.ศ.มอบหมาย

มาตรา25 ในกรณีที่มีหน่วยงานการศึกษาใดมิได้อยู่ในสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน ให้ก.ค.ศ.ตั้ง อ.ก.ค.ศ. เพื่อทำหน้าที่บริหารงาน บุคคลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาในหน่วยงานการศึกษาดงั กล่าว ท้ังน้ีการต้ัง การพ้นจากตำแหนง่ และขอบเขตการปฏบิ ัติหน้าทใ่ี ห้เป็นไป
ตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด

บรรดาบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้หรือในกฎหมายอื่นที่อ้างถึง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา ให้
หมายถงึ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ต้ังตามวรรคหนึง่ ดว้ ยเว้นแลว้ แต่ ก.ค.ศ. จะกำหนดเปน็ อยา่ งอื่น

ให้นำบทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองมาใช้บังคับกับหน่วยงานการศึกษา อื่นใดที่จำเป็นต้องมี
อ.ก.ค.ศ.ของหน่วยงานการศึกษานั้นโดยเฉพาะด้วย มาตรา 26 ให้คณะกรรมการสถานศึกษามีอำนาจหน้าท่ี
เกี่ยวกับการบริหาร งานบุคคลสำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศกึ ษา ดังต่อไปนี้ (1)
กำกับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หลักเกณฑ์
และวิธีการตามท่ี ก.ค.ศ.และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ที่ การศกึ ษากำหนด

(2) เสนอความต้องการจำนวนและอัตราตำแหน่งของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศกึ ษาเพอ่ื เสนออ.ก.ค.ศ.เขตพนื้ ที่การศึกษาพจิ ารณา (3) ใหข้ ้อคดิ เหน็ เก่ยี วกบั การบรหิ ารงานบุคคลของ
ขา้ ราชการครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาในสถานศกึ ษาต่อผบู้ ริหารสถานศึกษา

(4) ปฏิบตั หิ น้าทตี่ ามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญตั นิ ี้หรือกฎหมายอืน่ ที่ เกี่ยวข้องหรือตามที่อ.ก.ค.ศ.
เขตพื้นที่การศึกษามอบหมายให้นำความในมาตรา 16 มาใช้บังคับแก่คณะกรรมการสถานศึกษาโดยอนุโลม
มาตรา 27 ให้ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้บังคับบัญชาของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศกึ ษาและมีอำนาจหนา้ ท่ดี งั ตอ่ ไปนี้

(1) ควบคมุ ดูแลให้การบรหิ ารงานบคุ คลในสถานศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย กฎ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ
หลกั เกณฑ์และวิธกี ารตามที่ ก.ค.ศ. และ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้นื ที่ การศกึ ษากำหนด

(2) พจิ ารณาความดีความชอบของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ในสถานศกึ ษา
(3) ส่งเสริม สนับสนุนข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ให้มีการพัฒนาอย่าง
ต่อเน่ือง
(4) จัดทำมาตรฐาน ภาระงานสำหรบั ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ในสถานศึกษา
(5) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อเสนอ
อ.ก.ค.ศ.เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา

50

(6) ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น ที่เกี่ยวข้องหรือตามที่ อ.ก.ค.
ศ. เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาหรอื คณะกรรมการสถานศึกษา มอบหมาย

ในส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารทั่วไป พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 36 – 39 กำหนดอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษา คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา
ผ้อู ำนวยการเขตพื้นทก่ี ารศึกษา คณะกรรมการสถานศกึ ษา และผู้อำนวยการสถานศกึ ษาไว้ดังน้ี

มาตรา 36 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา มี
อำนาจหน้าทใ่ี นการกำกบั ดูแล จัดตัง้ ยบุ รวม หรอื เลิก สถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา ประสาน
ส่งเสริม และสนับสนุน สถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่การศึกษา ประสานและส่งเสริมองค์กรปกครอง ส่วน
ท้องถิ่น ให้สามารถจดั การศึกษาสอดคลอ้ งกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัด
การศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษาและปฏิบัติ
หน้าที่ อื่นทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับอำนาจหนา้ ท่ที ีร่ ะบขุ า้ งต้น ทง้ั นี้ตามท่กี ำหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการเขตพื้นท่ี
การศึกษาประกอบด้วย ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรเอกชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทน
สมาคมผู้ประกอบ วิชาชีพครูผู้แทนสมาคมผู้ประกอบวิชาชีพบริหารการศึกษา ผู้แทนสมาคมผู้ปกครอง และ
ครูและผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม จำนวนกรรมการ คุณสมบัติหลักเกณฑ์
วิธีการสรรหา การเลือกประธาน กรรมการและกรรมการ วาระการดำรงตำแหน่งและการพ้นจากตำแหนง่ ให้
เปน็ ไปตาม ทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

ให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของ คณะกรรมการเขต
พ้ืนที่การศึกษา

มาตรา 37 ให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทำหน้าที่ในการดำเนินการ ให้เป็นไปตามอำนาจ
หน้าท่ขี องคณะกรรมการตามทีก่ ำหนดไว้มาตร 36 และใหม้ ีอำนาจ หนา้ ที่เกยี่ วกับการศึกษา ตามท่ีกำหนดไว้
ในกฎหมายนหี้ รือกฎหมายอนื่ และมี อำนาจหนา้ ที่ ดังนี้

(1) อำนาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษา และพัฒนาสาระของ หลักสูตรการศึกษาให้
สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐานของ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

(2) อำนาจหนา้ ที่ในการพฒั นางานด้านวิชาการและจัดให้มีระบบประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา
ร่วมกับสถานศึกษา

(3) รับผิดชอบในการพจิ ารณาแบง่ สว่ นราชการภายในสถานศึกษาของสถานศกึ ษา และสำนกั งานเขต
พนื้ ท่ีการศึกษา

(4) ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อน่ื ตามทก่ี ฎหมายกำหนด
สำนักงานตามวรรคหนึ่ง มีผู้อำนวยการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบ ในการปฏิบัติ
ราชการของสำนกั งานใหเ้ ป็นไปตามนโยบาย แนวทาง และแผนการ ปฏิบัติราชการของกระทรวง ในกรณีที่มี
กฎหมายอื่นกำหนดอำนาจหน้าที่ของ ผู้อำนวยการไว้เป็นการเฉพาะการใช้อำนาจและการปฏิบัติหน้าที่ตาม

51

กฎหมาย ดังกล่าวให้คำนึงถึงนโยบายที่คณะรัฐมนตรกี ำหนด หรืออนุมัติแนวทางและแผนการปฏบิ ัติราชการ
ของกระทรวงดว้ ย

ในสำนักงานตามวรรคหนึ่งจะให้มีรองผู้อำนวยการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ รองจาก
ผูอ้ ำนวยการเพอ่ื ช่วยปฏิบัตริ าชการก็ได้

รองผู้อำนวยการหรือผู้ดำรงตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นในสำนักงานมีอำนาจหน้าที่ ตามที่
ผอู้ ำนวยการกำหนดหรือมอบหมาย

มาตรา 38 ให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาระดับ อุดมศึกษา ระดับต่ำกว่า
ปริญญา และสถานศึกษาอาชีวศึกษาของแต่ละสถานศึกษา เพื่อทำหน้าที่กำกับและส่งเสริมสนับสนุนกิจการ
ของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรชุมชน ผู้แทนองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่าของสถานศึกษา ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์และหรือผู้แทนองค์กร ศาสนาอื่นในพื้นที่และ
ผู้ทรงคุณวุฒิ

จำนวนกรรมการ คุณสมบัติหลักเกณฑ์วิธีการสรรหา การเลือกประธาน กรรมการและกรรมการ
วาระการดำรงตำแหนง่ และการพน้ จากตำแหนง่ ให้เปน็ ไป ตามทก่ี ำหนดในกฎกระทรวง

องค์ประกอบ อำนาจหน้าที่ หลักเกณฑ์วิธีการสรรหาและจำนวนกรรมการใน คณะกรรมการ
สถานศึกษาสำหรับสถานศึกษาบางประเภทท่มี ีสภาพและลักษณะ การปฏบิ ตั ิงานแตกต่างไปจากสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานโดยทั่วไป อาจกำหนดให้ แตกต่างไปตามสภาพและลักษณะการปฏิบัติงาน ตลอดทั้งความจำเป็น
เฉพาะของ สถานศึกษาประเภทนน้ั ได้ ท้งั น้ตี ามทกี่ ำหนดในกฎกระทรวง

ให้ผ้บู ริหารสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา ความในมาตรานี้
ไม่ใช้บังคับแก่สถานพัฒนาเด็กปฐมวัยและศูนย์การเรียน มาตรา 39 สถานศึกษาและส่วนราชการ
ตามมาตรา 34(2) มีอำนาจหน้าที่
ตามที่กำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้น ๆ โดยให้มีผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือหัวหน้าส่วน
ราชการที่เรียกช่อื อย่างอ่นื เปน็ ผ้บู งั คบั บญั ชาข้าราชการและมีอำนาจ หนา้ ที่ ดังนี้
(1) บริหารกิจการของสถานศึกษาหรือสว่ นราชการให้เปน็ ไปตามกฎหมายกฎระเบียบ ข้อบังคับของ
ทางราชการและของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ รวมท้ังนโยบาย และวตั ถปุ ระสงค์ของสถานศึกษาหรือส่วน
ราชการ
(2) ประสานการระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทัง้ ควบคมุ ดูแลบคุ ลากร การเงิน การพสั ดสุ ถานท่ี
และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้ เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับของทาง
ราชการ
(3) เป็นผู้แทนของสถานศึกษาหรือสว่ นราชการในกิจการทั่วไป รวมทั้งการ จัดทำนิติกรรมสัญญาใน
ราชการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการตามวงเงิน งบประมาณที่สถานศึกษาหรือส่วนราชการได้รับตามท่ี
ไดร้ บั มอบอำนาจ

52

(4) จัดทำรายงานประจำปีเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ เพื่อเสนอต่อ
คณะกรรมการเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา

(5) อำนาจหน้าที่ในการอนุมัติประกาศนียบัตรและวุฒบิ ัตรของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามระเบียบท่ี
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด (6) ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายจากรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวง ศึกษาธิการ ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการ การศึกษาขั้น
พื้นฐาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธกิ าร คณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผู้อำนวยการ
สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา รวมทงั้ งานอน่ื ท่ีกระทรวงมอบหมาย

สถานศกึ ษาและสว่ นราชการตามมาตร 34 (2) จะใหม้ ีรองผู้อำนวยการหรือ รองหัวหน้าส่วนราชการ
รองจากผูอ้ ำนวยการหรือหัวหน้าส่วนราชการเพื่อช่วยปฏบิ ัติ ราชการกไ็ ด้

สถานศึกษาและส่วนราชการตามมาตรา 34 (2) ใดที่ยังไม่สามารถปฏิบัติงาน บางประการตามที่
กำหนดในกฎหมายหรือที่ได้รับมอบหมายได้ อาจขอให้สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาที่สถานศึกษาหรือส่วน
ราชการน้ันสังกัดเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบ ปฏบิ ัติงานเฉพาะอยา่ งใหแ้ ทนเปน็ การชว่ั คราวได้ท้ังน้ตี ามหลกั เกณฑ์วิธีการ
และลักษณะของงานทจี่ ะใหป้ ฏบิ ตั แิ ทนไดท้ ่ีกำหนดในกฎกระทรวง

5. การนำรูปแบบการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานมาใชใ้ นประเทศไทย
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของไทย (Thai-Style School-Based Management = Thai

SBM) เป็นรูปแบบการบริหารโรงเรียนตามแนวทางที่บัญญัติใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542
เป็นรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียน แนวใหม่ที่มีการกระจายอำนาจบริหารจัดการทั้งด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหาร งานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังสถานศึกษามากขึ้น ก่อนการประกาศใ ช้
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 โรงเรียน บางแห่งได้พยายามนำแนวคิดการบริหารจัดการแบบ
SBM ไปใช้อยู่แล้ว แต่ไม่ สามารถกระทำได้โดยสมบูรณ์เพราะโรงเรียนมีข้อจำกัดด้านการบริหารงานบุคคล
และงบประมาณ โครงการโรงเรยี นปฏิรปู การเรียนรู้เพื่อพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นซึ่งเปน็ โครงการ วิจัยเพื่อพัฒนา
ต้นแบบการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาตไิ ด้พยายาม
จำลองสถานการณ์การกระจายอำนาจ การบริหารจัดการทางการศึกษาทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปให้โรงเรียนในโครงการ หลังจากดำเนินงานไปได้ครบ
1 ปีการศึกษา โรงเรยี นในโครงการมีการ กระจายอำนาจการบรหิ ารงานในโรงเรยี นมากขึน้ กว่าเดิม บุคคลและ
หน่วยงาน ภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษามากขึ้น มีการสร้างเครือข่ายกับโรงเรียน เอกชน
องค์กรเอกชน ส่วนราชการอื่นได้มากขึ้น ให้ความสำคัญและความจำเป็น ของระบบฐานข้อมูล โรงเรียนส่วน
ใหญ่นำคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการ มีการสร้างความสัมพันธ์ทีด่ ีกับชุมชน มีแผนและกลยุทธ์ใน
การพัฒนา มีแผนปฏิบัติการ มีธรรมนูญโรงเรียน มีการนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติและติดตามผลการปฏิบัติ
ตามที่ ระบุไว้ในธรรมนูญโรงเรียน มีการสร้างสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ดีมีการพัฒนา ครูและผู้บริหาร
โรงเรยี นอยา่ งต่อเนื่อง ทกุ โรงเรยี นจดั การเรียนการสอนตามหลักสูตร จัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็น
สำคัญ ทุกโรงเรียนสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการของตนให้สูงขึ้น มีการเรียนรู้และแก้ปัญหาที่

53

เกิดจากการพัฒนา โรงเรียนอย่างต่อเนื่อง แต่ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานแต่ละด้านของแต่ละ
โรงเรียนแตกต่างกัน ขนึ้ อย่กู ับบริบทของแตล่ ะโรงเรียน ความสำเรจ็ แตล่ ะด้าน สรุปไดด้ ังนี้

5.1 ด้านการบริหารทั่วไป การบริหารทั่วไปเป็นงานด้านหนึ่งที่ถือว่าประสบความสำเร็จสูงสุด
โรงเรียนในโครงการได้รับการกระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารทั่วไป ค่อนข้างสูงเพราะไม่ต้อง
ยึดโยงกับกฎหมายเฉพาะ เช่น กรณีการบริหารงานบคุ คล และการบริหารงบประมาณ โรงเรยี นในโครงการได้
กระจายอำนาจการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน ครูบุคลากรทาง
การศึกษา และนักเรียน มีการสร้างเครือข่ายการดำเนินงานวิชาการและบริหารทั่วไปกับโรงเรียน ทั้งที่อยู่ใน
ระดับเดียวกัน ระดับเหนือกว่าและด้อยกว่า มีการสร้างเครือข่ายกับวัด ส่วนราชการอื่น ๆ เอกชน และสถาน
ประกอบการเพื่อนำไปสู่การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ทางการบริหารและประสบการณ์ทางวิชาการ มีการ
บันทึกขอ้ มลู ใน โปรแกรมฐานข้อมลู ในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ มีการนำข้อมูลด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน มาวเิ คราะห์
และนำผลของการวิเคราะหไ์ ปใชใ้ นการกำหนดเป้าหมายของโรงเรียน มีการวางแผนพัฒนาโรงเรียนอย่างเปน็
ระบบมากขึ้น ให้ความใส่ใจต่อการนำแผน ไปปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงานและ
ปรับปรุงงาน และปรับปรุงผลการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นเป็นระยะ โรงเรียนในโครงการส่วนใหญ่มีการ พัฒนา
ธรรมนูญโรงเรียนและปฏิบัติให้เป็นตามธรรมนูญโรงเรียน โรงเรียนในโครงการทุกโรงมีการพัฒนาอาคาร
สถานที่ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ มากกว่าเมื่อเริ่มต้นโครงการ มีการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้
ในการ จัดการศกึ ษา โดยเฉพาะจากวัด ชุมชน และผ้ปู กครอง หลายโรงเรยี นได้พัฒนา กจิ การและกิจกรรมเพ่ือ
พัฒนานักเรียนอยา่ งเด่นชัด เช่น กิจกรรมพัฒนาคุณธรรม พัฒนาสุขภาพและร่างกาย และการละเล่น เป็นต้น
โรงเรียนในโครงการมีการพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง แต่ที่เป็นขอ้ จำกัด คอื การท่ีต้องปฏบิ ัติตามกฎหมาย และ
ระเบยี บเกย่ี วกับการเงนิ และการบริหารงาน บุคคลอย่างเคร่งครัด จงึ ทำใหโ้ รงเรยี นที่บริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็
ฐานภายใต้ โครงการปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไม่อาจปฏิบัติตามกรอบทฤษฎี ว่าด้วยการ
บริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานได้อย่างเต็มที่หากกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา และกฎหมายเกี่ยวกบั สภาวิชาชีพครูและ
บุคลากรทาง การศึกษามีผลบังคับใช้ โรงเรียนต่าง ๆ คงจะสามารถบริหารจัดการได้ใกล้เคียงกับ แนวคิดเชิง
ทฤษฎขี องการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐานทถี่ ือปฏิบตั ใิ นต่างประเทศได้

5.2 ด้านวิชาการ โรงเรียนในโครงการทุกโรงเรียนกล้าคิด กล้าวางแผน กล้ากำหนดเป้าหมาย ทาง
วิชาการและกำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ก้าวไปถึงเป้าหมายด้วยตนเอง ที่พบความสำเร็จค่อนข้าง
เดน่ ชัดในแทบทกุ โรงเรยี นได้แก่

5.2.1 การพัฒนาสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ โรงเรียนในโครงการทุกโรง มีการพัฒนา
สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพดีขน้ึ กว่าเม่ือเริม่ ตน้ โครงการ อาคารสถานท่ี หอ้ งสมุด หอ้ งปฏิบัตกิ าร แหล่งเรียนรู้
สำหรบั วิชาตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นปรับเปล่ียนไปใน ทางท่ีดีขึน้ อย่างชัดเจน หลายโรงเรียนได้ประสานกับหน่วยงาน
ทั้งภาครัฐและเอกชน ในการขอใช้ห้องปฏิบัติการ โรงงาน แปลงสาธิต สถานที่ราชการ สถานประกอบการ
ฯลฯ เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน การที่นักเรียนได้แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองทำให้นักเรียนกล้าซักถาม

54

กลา้ อภิปราย บรรยากาศในห้องเรียนจึงเปดิ เผย สภาพแวดล้อมทางการเรียนรทู้ ั้งดา้ นอารมณ์ สังคมและจิตใจ
จึงได้รบั การพัฒนาไปดว้ ย

5.2.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ โรงเรียนในโครงการได้รับการฝึกอบรม ตั้งแต่ระยะ
เริ่มแรกของโครงการให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียน การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
(Child-centred) และให้นำแนวทางการจัดการเรียน การสอนแบบนี้ไปปฏบิ ัติในโรงเรียน แม้ว่าครูทุกคนอาจ
ไมส่ ามารถจัดการเรียน การสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญไดส้ มบูรณ์แบบ แต่ครูของโรงเรยี นในโครงการทุกคน ก็
ได้แสดงความกระตือรือร้นที่จะปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนของตนอย่างต่อเนื่อง มีการเรียนรู้จากการ
ปฏบิ ัติเรียนจากเพอื่ นร่วมงาน และเรียนจากเอกสาร สอื่ และแหล่งเรยี นรอู้ น่ื ตลอดเวลา การปรบั ปรุงพฒั นาวิธี
สอนของครูสง่ ผลให้นกั เรยี นพัฒนา กระบวนการเรียนรขู้ องตนอยา่ งต่อเนือ่ งเช่นเดียวกัน

5.2.3 ครแู ละผู้บรหิ ารโรงเรยี นในโครงการให้ความสำคัญของการพัฒนางาน วชิ าการมากข้ึน
โดยเฉพาะผบู้ รหิ ารโรงเรียนสนใจกจิ กรรมพัฒนาสื่อ เทคโนโลยี เพื่อการเรยี นการสอน การพฒั นาแหล่งเรียนรู้
ตลอดจนกิจกรรมวัดผลและประเมินผล ผู้เรียน โรงเรียนในโครงการหลายโรงเรียนให้ความสำคัญด้า นการ
พัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในและเตรียมตัวที่จะขอรับการประเมินภายนอกจากสำนักงาน รับรอง
มาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา มีกิจกรรมทางวิชาการเพียงบางอย่างที่โรงเรียนในโครงการส่วนใหญ่
ไม่ได้ ดำเนินการเป็นต้นว่าการสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการให้แก่ชุมชน และการพัฒนา หลักสูตร
สถานศึกษา ทั้งนี้ด้วยข้อจำกัดด้านระเบียบปฏิบัตทิ ี่มีผลบังคับใช้ในขณะนั้น อย่างไรก็ตามถ้ากฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยสภาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา และ
กฎหมายว่าด้วย ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีผลบังคับใช้ โรงเรียนต่าง ๆ น่าจะปฏิบัติ
ภารกจิ ดา้ นวิชาการไดส้ มบรู ณ์ขน้ึ กวา่ ชว่ งการดำเนนิ งานภายใตโ้ ครงการ

5.3 ด้านบริหารงานบุคคล โรงเรียนในโครงการทุกโรงต้องบริหารงานบุคคลโดยยึดบทบัญญัติของ
พระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูพ.ศ. 2523 ซึ่งมีการรวมอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหาร งาน
บุคคลไว้ท่ี อ.ก.ค. จังหวัด อ.ก.ค.กรม และก.ค. แทบทั้งหมด ที่โรงเรียนได้รับอำนาจ ดำเนินการเกี่ยวกับ
บุคลากรจะเป็นเร่ืองการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ส่วนอำนาจการพิจารณาความดีความชอบ การ
ลาศกึ ษาตอ่ การประเมินบคุ ลากร การยกย่องเชดิ ชูเกียรติครู การกำหนดมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน การกำหนด
ตำแหน่ง และการดำเนินการทางวินัยเป็นอำนาจการตัดสินใจของหน่วยงานระดับเหนือขึ้นไป โรงเรียนใน
โครงการอาจเสนอข้อมูลให้ผู้บังคับบัญชาหรือส่วนราชการระดับเหนือ ขึ้นไปพิจารณาได้ แต่ไม่มีอำนาจ
ตดั สนิ ใจเกี่ยวกับเร่ืองดงั กล่าวด้วยตนเองตามแนวทาง ของการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรยี นเปน็ ฐาน

5.4 ด้านงบประมาณ โรงเรียนในโครงการทุกโรงยังคงปฏิบัติตามกฎหมายงบประมาณและระเบียบ
ปฏิบัติของกระทรวงการคลัง และของสำนักนายกรัฐมนตรีอย่างเคร่งครัด โรงเรียน ทุกโรงได้รับงบประมาณ
ตามแผนงานและโครงการ มีการระบุรายการงบประมาณ ไว้ชัดเจนจึงยากที่จะปรับเปลี่ยนได้ การไม่ปฏิบัติ
ตามระเบียบการเงินการคลังถือเป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ซึ่งต้องได้รับโทษทางวินัยไล่ออก จึงไม่มี
โรงเรียน กล้าปฏิบัติแตกต่างไปจากระเบียบ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับงบประมาณของโรงเรียน ในโครงการจึงไม่
แตกต่างจากโรงเรียนทั่วไป ยกเว้นบางโรงเรียนอาจมีการระดม ทรัพยากรจากภายนอกเพื่อนำมาใช้ในการจัด

55

การศึกษาได้มากขึ้น โรงเรียนใน โครงการจึงไม่สามารถตั้งงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ บริหารการเงิน
พัสดุ สินทรพั ย์และบญั ชีไดด้ ว้ ยตนเองตามแนวทางของ SBM ผู้บรหิ ารโรงเรียนในโครงการทกุ คนเห็นตรงกันว่า
การเข้าร่วมโครงการ ทำให้โรงเรียนซึ่งหมายรวมถึงคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ครู บุคลากร
ทางการศึกษา นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง เกี่ยวกับการบริหารจัดการโดยใช้
โรงเรยี นเป็นฐาน และเชญิ ชวนใหผ้ ูบ้ รหิ ารโรงเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษานำแนวคดิ การบรหิ ารจัดการ
โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ไปปฏิบตั เิ พราะการปฏิบตั ิจะทำให้เกิดการเรียนรอู้ ยา่ งแทจ้ ริง

กรอบภารกิจ ข้างต้นไม่ได้ระบุชัดเจนว่าอำนาจตัดสินใจส่วนใดเป็นของเขตพื้นที่การศึกษา และ
อำนาจตัดสนิ ใจสว่ นใดเปน็ ของสถานศึกษา

ชัยอนันต์ สมุทวณิช และคณะ (2544) เสนอแนะว่าองค์คณะบุคคลในเขตพื้นที่ การศึกษาและ
สถานศึกษาควรมอี ำนาจหนา้ ที่ตา่ งกนั ดงั นี้

หน้าที่ของคณะกรรมการเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
1. ด้านวิชาการ
1.1 กำหนดกรอบ หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษาของ

นักเรียนในสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา ทั้งนี้หลักเกณฑ์ ที่กำหนดต้องสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ของชาตแิ ละสะท้อนถึงความหลากหลาย ในสภาพภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ

1.2 ดูแลให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตความรับผิดชอบดำเนินการ จัดการศึกษาให้สอดคล้อง
และไดร้ ะดับมาตรการศึกษาที่สำนักงานรบั รองมาตรฐาน และประเมนิ คณุ ภาพการศึกษากำหนด

1.3 ให้ความเหน็ ชอบทางเลือกเก่ียวกับการพฒั นาหลกั สตู รทเ่ี หมาะสม กับทอ้ งถ่ิน
1.4 กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ของระเบียบปฏิบัติของสถานศึกษา ที่เกี่ยวกับกิจกรรมตาม
หลักสูตร

2. ด้านงบประมาณ
2.1 ให้ความเห็นชอบด้านนโยบาย แผน งบประมาณการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาข้ัน

พ้นื ฐานในเขตพ้นื ที่การศึกษา
2.2 สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้สถานศกึ ษาในสังกัดระดมเงินและทรัพยากร ทางการศกึ ษาอน่ื ๆ มา

ช่วยเสรมิ งบประมาณแผ่นดิน
2.3 ประสานงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดให้มีสูตร การจัดสรรเงินเพ่ือ

บำรุงรักษาและใช้ประโยชน์อาคารสถานที่ในสถานศึกษาต่าง ๆ ในสังกัด ทั้งนี้โดยอาศัยตัวชี้วัดความจำเป็น
ของสถานศึกษาเปน็ เครอื่ งชว่ ยในการ หาค่าการจดั สรรเงนิ ตอ่ หัวนกั เรยี นเพือ่ การนี้

2.4 ประสานกับคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในการจัดให้มีเงินอุดหนุน ที่มีผลโดยตรงต่อ
ชั้นเรียน เพื่อให้ชั้นเรียนทุกชั้นในสถานศึกษาแต่ละแห่งในสังกัดมี เงินเพียงพอในการจัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์
หนงั สือสอ่ื ผสม และอุปกรณก์ ารศึกษาอน่ื ๆ

56

3. ดา้ นการบริหารงานบคุ คล
3.1 อนุมัติการแต่งตั้ง โยกย้าย ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดเขตพื้นที่ การศึกษาให้เป็นไปตาม

หลักเกณฑแ์ ละระเบียบท่คี ณะกรรมการครูและบุคลากรทาง การศึกษา (ก.ค.ศ.) กำหนด
3.2 ให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งครูประจำหรือครูพิเศษและบุคลากร ทางการศึกษาอื่น ๆ

ตามทีส่ ถานศกึ ษาในเขตพนื้ ที่การศึกษาในสงั กัดเสนอ

4. ดา้ นการบริหารทว่ั ไป
4.1 เอื้ออำนวยและสร้างเสริมให้เกิดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในชุมชน ที่เป็นหลักประกัน

ให้มีบรกิ ารทางการศึกษาสำหรบั นกั เรียนทุกคนอย่างทั่วถึง
4.2 เป็นผ้นู ำในการสง่ เสริมสนบั สนุนให้สถานศกึ ษาในเขตพืน้ ท่ีมีระบบ การบรหิ ารและจดั การที่มี

ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล
4.3 เป็นผู้ทำหน้าที่ให้ความรู้ ความเข้าใจ และเผยแพร่หลักการสำคัญของ การปฏิรูปการศึกษา

โดยเน้นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพของนักเรียนและ ประโยชน์สูงสุดของนักเรียนว่ามีลำดับ
ความสำคัญลำดับแรกในการดำเนินงานด้าน การศกึ ษา

4.4 เป็นผู้ใหหลักประกัน เกี่ยวกับกาเลือกสรรครู บุคลากร ทางการศึกษา และผู้บริหาร
สถานศึกษาที่มีสมรรถภาพสูง เอื้ออาทรต่อนักเรียนในการทำงานเพื่อบรรลุ เป้าหมายของการให้นักเรียน
ทง้ั หลาย ได้รบั ประสบการณท์ างการศกึ ษาทเี่ หมาะสม

4.5 เป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่องในการให้โอกาสครู และ บุคลากรทางการ
ศึกษาในการพัฒนาความรู้และประสบการณ์ทางวิชาชีพ 4.6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดมี
เทคโนโลยีทางการศกึ ษาท่ี ทนั สมยั และเพียงพอ

4.7 พิจารณาแก้ไขปัญหาตามข้อเสนอของคณะกรรมการสถานศึกษาและ ปัญหาที่เกิดจากการ
บรหิ ารงานของสถานศกึ ษาที่ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษามิอาจแก้ไขได้

4.8 ให้ความเหน็ ชอบการจดั ต้งั ยุบ หรอื รวมสถานศึกษาภายในเขตพน้ื ที่ การศกึ ษา
4.9 ให้ความเหน็ ชอบในการกำหนดนโยบายรับนกั เรยี นของสถานศึกษา ในสังกดั
4.10 ประสานและส่งเสริมใหส้ ถานศึกษาเอกชนและองค์กรปกครอง สว่ นท้องถน่ิ ได้จัดการศึกษา
ใหส้ อดคล้องกบั นโยบายและมาตรฐานการศกึ ษา

4.11 ประสานและส่งเสริมให้สถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชนในเขตพื้นที่ การศึกษาร่วมมือ
กันในการใช้ทรัพยากรทางการศึกษาและให้มีระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ที่จะช่วยให้สถานศึกษาหลาย ๆ แห่ง
สามารถลดต้นทุนการใชจ้ า่ ยได้

4.12 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความร่วมมอื ระหว่างสถานศึกษาใน สังกัดเขตพื้นท่ีการศึกษา
ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา และสถานประกอบการท่ีจัดการศึกษา
ในรูปแบบที่หลากหลาย ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และร่วมมือในกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อทุก ๆ ฝ่าย

57

4.13 กำกับ ดูแล นิเทศ และติดตามผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ในสังกัดให้เป็นไปตาม
มาตรฐาน แผน และเป้าหมายทก่ี ำหนด

สรปุ ได้วา่ การจัดการสถานศึกษาให้ใช้รปู แบบการทำงาน4 ฝา่ ยคอื ฝา่ ยวิชาการ ฝ่ายงบประมาณ
ฝ่ายบุคลากร และฝ่ายบริหารทั่วไป โดยการทำงานต้องมีการวางแผนการทำงานอย่างเป็นระบบและชัดเจน
จงึ จะทำใหง้ านออกมาประสบความสำเรจ็ มากย่งิ ขึ้น

6.หน้าท่ีความรับผิดชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา
1. ด้านวิชาการ
1.1 กำหนดตารางเวลาภาคการศึกษา และตารางสอนตามแนวทางที่กระทรวง ศึกษาธิการและ

คณะกรรมการเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษาให้ไว้
1.2 อนุมัติทางเลือกเกี่ยวกับหลักสูตรในระดับโรงเรียนภายใต้กรอบของหลักสูตร การศึกษา

ระดับชาติและท้องถิ่น
1.3 อนมุ ัตนิ โยบายและกิจกรรมนอกหลกั สตู ร
1.4 อนุมัติระเบียบปฏิบัติของครูพนักงานและผู้เรียนตามแนวทางที่คณะ กรรมการเขตพื้นที่

การศกึ ษาให้ไว้
1.5 กำหนดแนวปฏิบัติในการตรวจสอบคุณภาพการศึกษาเพื่อประเมินผล การพัฒนาคุณภาพ

สถานศกึ ษาในภาพรวม
1.6 กำหนดแผนการเตรียมสถานศึกษาเพ่อื รองรบั การประเมินภายนอก

2. ดา้ นงบประมาณ
2.1 ระดมเงนิ และทรัพยากรทางการศกึ ษา
2.2 กำกับ ดแู ล ควบคุมการใชเ้ งิน และการบรหิ ารจัดการกองทนุ ตา่ ง ๆ
2.3 กำกบั ดูแลการจัดซื้อหนังสอื วสั ดุ อปุ กรณต์ ่าง ๆ
2.4 กำกับ ดูแลการใชจ้ ่ายด้านสาธารณูปโภค

3. ด้านการบริหารงานบุคคล
3.1 ให้คำแนะนำการตกลงตอ่ รองการแตง่ ตั้งครูประจำหรอื ครพู เิ ศษ โดยปรกึ ษารว่ มกบั อ.ก.ค.ศ.
3.2 ใหค้ ำแนะนำในการแต่งตั้งบุคลากรทางการศกึ ษาอืน่ ๆ โดยปรกึ ษา รว่ มกบั อ.ก.ค.ศ.

4. ด้านการบรหิ ารทว่ั ไป
4.1 กำหนดพันธกจิ เป้าหมาย และวตั ถุประสงค์ของโรงเรยี น
4.2 กำหนดนโยบายการพัฒนา การดำเนินการตามแผนการพัฒนา การประเมินผลงานของ

โรงเรียน
4.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กจิ การต่าง ๆ ของโรงเรียน

58

4.4 ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตามการดำเนินงานของสถานศึกษา ในด้านการพัฒนาคุณภาพ
การเรียนการสอน การพัฒนาสุขภาพอนามัยของนักเรียนการระดมทรัพยากร การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การ
สืบสานศลิ ปะจารตี ประเพณแี ละ วัฒนธรรมอันดงี ามของท้องถิน่

4.5 ส่งเสริม สนับสนุน กำกับ ติดตามการดำเนินงานของสถานศึกษาใน การประกันคุณภาพใน
สถานศกึ ษา

4.6 กำหนดนโยบายในการรับนักเรยี นโดยปรกึ ษาร่วมกบั คณะกรรมการ เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา
4.7 บำรุงรักษาอาคารสถานที่ ตลอดจนทรัพย์สินอื่น ๆ ของโรงเรียน 4.8 รายงานผลการ
ปฏบิ ัติงานของโรงเรียนให้ผปู้ กครองทราบ
4.9 กำหนดแนวทางตดิ ตอ่ สื่อสารระหว่างโรงเรยี นกบั ชุมชน
4.10 ให้บริการแก่เด็กและเยาวชนในชุมชนในกิจกรรมที่โรงเรียนจัดขึ้น 4.11 จัดให้มีกิจกรรม
ดา้ นสังคม สันทนาการ สขุ อนามัย และโภชนาการ รว่ มกบั ชมุ ชน

5. ปจั จัยส่คู วามสำเร็จในการบริหารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-based Management) เป็นยุทธศาสตร์หนึ่งของ การ

พฒั นาการศกึ ษา ซง่ึ มีกลยทุ ธใ์ นการบรหิ ารทีห่ ลากหลาย ท่ีผ้บู ริหารสามารถนำไปใช้เปน็ แนวทาง ในการบริหาร
โรงเรยี นใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และมีประสทิ ธิผลตรงตามเปา้ หมายท่กี ำหนด จากการศึกษา เอกสารและงานวิจยั ท่ี
เกี่ยวขอ้ งได้มีผู้นำเสนอกลยุทธ์การบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐานไวด้ ังน้ี

จรัส อตวิ ทิ ยาภรณ์ (2553, 479) สรปุ ไดว้ า่ การบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐานใหป้ ระสบ ความสำเร็จ
มดี งั นี้

1. ประชาสมั พันธใ์ หท้ ั่วถึง
2. กำหนดบทบาทหน้าท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาให้ชัดเจน
3. การสรรหาคัดเลือกคณะกรรมการสถานศึกษาต้องให้ได้คนที่มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง
4. ตอ้ งจดั การฝึกอบรมเพื่อสรา้ งความรูค้ วามเขา้ ใจเรือ่ งการบริหารตามแนวการบริหาร โดยใชโ้ รงเรียน
เป็นฐาน
5. สนับสนุนให้ครอู าจารย์ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่รี ่วมกบคณะกรรมการสถานศกึ ษา ั
6. จัดให้มีเครือข่ายคณะกรรมการสถานศึกษา
7. ให้การสนบั สนนุ โรงเรียนให้สามารถดำเนินการตามแนวการบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานได้อย่าง
มปี ระสิทธภิ าพ
จันทรานี สงวนนาม (2553, 186) กล่าวถงึ เงอื่ นไขความสำเรจ็ ของการบรหิ ารโดยใช้ โรงเรยี นเป็น
ฐาน ไวด้ ังน้ี
1. ผ้บู ริหารตอ้ งมีคณุ ลักษณะของผู้นำทางวิชาการอย่างแท้จริง สามารถเป็นท่ีพ่ึงทาง วิชาการแก่ครูได้
นิเทศได้โดยเป็นแบบอยางที่ดี ่ สามารถจูงใจคนให้อยากทำงานและมุ่งไปสู่ความสำเร็จ ของงาน
2. ผ้บู รหิ าร ครู และคณะกรรมการสถานศกึ ษามีความเข้าใจในบทบาทของตน จึงตอ้ ง เข้าใจเรือ่ งการ

59

บรหิ ารจดั การ โดยคำนงึ ถึงประโยชน์ของผ้เู รียนเปน็ สำคัญ
3. ต้องมีการกระจายอำนาจอย่างแท้จริง ่ ให้ทุกคนมีส่วนร่วมมากที่สุดในทุกกิจกรรมและ เน้นการ

ทำงานเป็นทีม
4. เนน้ การพัฒนาวิชาชีพแกค่ รูและบคุ ลากรใหค้ วามสำคญั กับการส่ือสารและประชาสมั พนั ธ์

เพอ่ื การรบั รู้และการยอมรับ
5. ให้รางวลั แก่ผู้มผี ลงานจรงิ โปรง่ ใส มรี ะบบคุณธรรม และมแี รงจงู ใจให้ทุกคนทำงาน อยางมีความสุข

่ 6. เน้นผลสัมฤทธข์ิ องผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ เพราะการเรยี นรู้คือหวั ใจทสี่ ำคัญของการบริหาร จดั การศกึ ษา
การดำเนนิ การจึงต้องสอดคล้องกบความต้องการของผ้เู รียน ั มกี ารประเมินตามสภาพจริง มแี ผนการเรยี นรู้
และมกี ารวจิ ัยในช้นั เรยี น

7. มียุทธศาสตรก์ ารสร้างเครือข่าย เชน่ ผปู้ กครอง ชมุ ชน ศษิ ย์เก่า เพื่อพัฒนาการศกึ ษารว่ มกัน
ดวงใจ ช่วยตระกูล (2553, 214) กลา่ ววา่ การนำรปู แบบการบริหารฐานโรงเรยี นไปใช้ให้ ประสบ
ผลสำเรจ็ ควรเน้นใหม้ กี ารดำเนนิ ดงั นี้
1. การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ให้ท่ัวถึง ่
2. กำหนดบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาและให้มีการกำหนดมาตรฐาน
3. การสรรหา การคัดเลือกคณะกรรมการสถานศึกษาต้องให้ได้คนที่มคี วามรู้ความสามารถ เสียสละ
และเปน็ ตัวแทนของกลุ่มตา่ ง ๆ อย่างแทจ้ ริง ่
4. ตอ้ งจดั การฝึกอบรม/สมั มนาให้คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจเรื่อง การบรหิ าร
และจัดการศึกษาตามแนวแบบการบริหารฐานโรงเรยี นใหช้ ดั เจน
5. สนับสนุนใหค้ รอู าจารย์ปฏิบัตหิ น้าทีร่ ว่ มกบคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด ่
6. จดั ใหม้ เี ครอื ข่ายคณะกรรมการสถานศึกษา
7. ให้มกี ารสนบั สนุนใหโ้ รงเรียนสามารถดำเนนิ งานตามแนวการบริหารฐานโรงเรยี น และสามารถ
รับผิดชอบการบรหิ ารจดั การโรงเรียนของตนเองแบบเบด็ เสร็จไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
วรี ะยทุ ธ ชาตะกาญจน์ (2555, 79) กล่าววา่ กลยุทธส์ ำหรับการนำรปู แบบการบริหารโดย ใช้
โรงเรยี นเป็นฐานไปใช้ให้ประสบความสำเร็จในประเทศไทยควรมกี ารดำเนนิ การในเร่ืองต่อไปนี้
1. การเผยแพร่ประชาสมั พนั ธแ์ นวทางการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานให้ทั่วถึง ่
2. กำหนดบทบาทหน้าทข่ี องคณะกรรมการสถานศกึ ษาใหช้ ัดเจน
3. การสรรหาการคัดเลอื กคณะกรรมการสถานศึกษาควรได้คนที่มคี วามรู้ความสามารถ เสยี สละและ
เป็นตวั แทนของกลมุ่ ต่าง ๆ อย่างแทจ้ ริง ่
4. จัดการฝกึ อบรม/สมั มนาให้คณะกรรมการสถานศกึ ษามคี วามรู้ความเขา้ ใจเรื่องการบรหิ าร และ
การจัดการศึกษา
5. สนบั สนุนใหค้ รูอาจารยป์ ฏิบตั หิ นา้ ทร่ี ว่ มกบคณะกรรมการสถานศึกษาอย่างใกล้ชิด ่
6. จดั ให้มเี ครือข่ายคณะกรรมการสถานศึกษา
7. จดั ให้มีการกำหนดมาตรฐานงานของคณะกรรมการสถานศกึ ษา การกำกบั ตดิ ตามตรวจสอบ การ

60

ดำเนินงานของคณะกรรมการสถานศกึ ษาอย่างใกลช้ ิด ่
8. พจิ ารณาใหส้ วัสดกิ าร บรกิ ารและสิทธิพเิ ศษแก่คณะกรรมการสถานศึกษาตามสมควร
จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556, 54-55) กลา่ วว่า กลยุทธ์สำคัญท่ีทำให้การบรหิ ารโดยใช้โรงเรียน เป็น

ฐานประสบความสำเรจ็ ไดแ้ ก่
1. การกระจายอำนาจ การบริหารโดยใช้สถานศึกษาเป็นฐานที่มีประสิทธิผลต้องเป็น การกระจาย

อำนาจไปให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งได้แก่คณะกรรมการสถานศึกษา และคณะอนุกรรมการที่ คณะกรรมการ
มอบหมายได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจมากที่สุด เมื่อเริ่มนำการบริหารโดยใช้สถานศึกษา เป็นฐานไปปฏิบตั ิแต่
ละสถานศกึ ษาจะต้องมีการต้งั คณะกรรมการสถานศึกษา(school council หรอื school board) ขน้ึ จดุ สำคัญก็
คือ สถานศึกษาต้องมอบหมายอำนาจตัดสินใจบางอยางให้คณะกรรมการและ จะต้อง เป็นเรื่องที่ส่งผลต่อการ
เรียนการสอน เช่น การซื้ออุปกรณ์การศึกษา การขยายเวลาเรียน เพื่อให้มีเวลา สำหรับครูได้ประชุมวางแผน
สัปดาหล์ ะ 1 ครัง้ หรือการลดวันเรยี นลงใน 1 ภาคเรยี น เพ่ือให้มีวันเวลา สำหรบั การประชมุ ผูป้ กครอง เป็นต้น

2. การเน้นท่ีการพฒั นาวิชาชีพครูการพัฒนาวชิ าชีพครูในสถานศกึ ษาที่ประสบความสำเรจ็ น้ันจะเป็น
การพัฒนาในภาพรวมทั้งสถานศึกษาและเป็นการพัฒนาระหว่างปฏบิ ัตงิ านโดยมีแผนการพฒั นา อย่างต่อเน่ือง
เป็นแผนระยะยาวและมีการติดตามผลที่แน่นอนการพัฒนานั้นอาจเป็นการส่งครูกลุ่มหนึ่งไป รับการอบรม

3. การเผยแพรข่ ้อมูลสารสนเทศ การเผยแพร่สารสนเทศควรเป็นการดำเนินการเพ่อื ให้ผมู้ ี ส่วนได้เสยี
รบั รเู้ รอ่ื งท่เี กีย่ วกบสถานศกึ ษาใหม้ ากท่ีสดุ

4. การเลือกผู้บริหารสถานศึกษาที่เหมาะสมสถานศึกษาที่จะประสบผลสำเร็จมักจะมีผู้บริหาร ที่มี
ความสามารถในการเป็นผ้นู ำรจู้ ักการมอบหมายงานผ้บู ริหารเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำคญั มากในการกระจาย อำนาจ
ในการสนับสนุนให้บุคลากรในสถานศึกษามีความรู้และทักษะเพิ่มขึ้น และชักจูงให้ครูทุกคนมี ส่วนร่วมในงาน
ของสถานศกึ ษาและให้รางวัลอย่างเหมาะสมแก่ครูและเจ้าหน้าที่

5. การมีวิสัยทัศน์ สถานศึกษาส่วนใหญ่ที่ใช้รูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ได้ผลดีจะมี
วิสัยทัศน์ที่ชัดเจนเกี่ยวกับพันธกจิ (mission) ค่านิยม (values) และเป้าหมาย(goals) ที่เกี่ยวกับผลท่ีจะเกดิ ข้ึน
กบตัวผู้เรียนเป็นวสิ ยั ทัศน์ที่สัมพันธ์กบแนวทางการจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนรวมทั้งการตัดสินใจเร่อื ง
ตา่ ง ๆ วิสัยทศั น์นัน้ เกดิ มาจากกระบวนการสร้างฉันทามติ (consensus-building process) หรอื เปน็ ความเห็น
พ้องของครู ของบุคลากรและผู้มีส่วนได้เสียเป็นวิสัยทัศน์ที่มีการยอมรับ ร่วมกนในการจัดการเรียนการสอน
การกำหนดหลักสูตรของสถานศึกษาจะสอดคล้องกับแนวทางการจัด หลักสูตรระดับบน ระดับรัฐ และ
ระดับชาติแต่ครูจะมอี ิสระในการเลือกกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมการวัดผลประเมินผล โดยจะต้องให้
นักเรยี นมีความร้แู ละพฤตกิ รรมท่เี ปน็ ไปตามทห่ี ลกั สตู ร กำหนดในท่สี ุด

6. การให้รางวัลการให้รางวัลแก่บุคคลและกลุ่มต่าง ๆ ในสถานศึกษาอย่างเหมาะสม อาจจัดได้
หลากหลายเช่นการให้รางวัลเป็นตัวเงินค่าตอบแทนการยกย่อง การพัฒนาบุคลากรบางสถานศึกษาให้
ค่าตอบแทนแก่คณะกรรมการสถานศึกษาด้วยรางวัลที่ไม่เป็นตัวเงินที่อาจจัดได้ เช่น การบันทึกแสดง ความ
ขอบคุณจากผบู้ ริหารโรงเรยี น การเล้ียงอาหารเป็นกรณีพเิ ศษและการใหโ้ ล่รางวัล

61

สรุปได้ว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ จึงจะทำให้

โรงเรียนประสบผลสำเรจ็ ไดแ้ ก่ การเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์แก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง การกำหนดบทบาทหนา้ ท่ี การสรร

หาและคัดเลือกจดั การฝึกอบรม/สัมมนา สนับสนุนการมีส่วนรว่ มกำหนดมาตรฐานงานพฒั นาวชิ าผู้บริหารและ

ครกู ำหนดวิสัยทศั นม์ ีการบริหารจดั การทเ่ี ปน็ ระบบใหร้ างวัลกบผูท้ มี่ ผี ลงานดีเดน่ และเนน้ ผลสัมฤทธ์ขิ องผเู้ รยี น

6. ทำอยา่ งไรจงึ จะทำใหก้ ารบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานประสบความสำเรจ็
การบริหารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐานเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายฝ่าย ที่เกี่ยวข้อง โดยตรงคือฝ่ายให้อำนาจ

การตัดสินใจซึ่งได้แก่คณะกรรมการเขตพื้นที่ (School Board) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา (School
District) ผู้อำนวยการเขต (Superintendent) และบุคลากรในสำนักงานเขต และอีกฝ่ายหนึ่งคือฝ่ายรับ
อำนาจตัดสินใจจากฝ่ายแรก ซึ่งได้แก่ครูใหญ่ (Principal) คณะกรรมการสถานศึกษา (School Council) ครู
บุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน (เฉพาะกรณีโรงเรียนมัธยมศึกษา) ทั้งสองฝ่ายต้องมี
ความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐานว่าคืออะไร มอี ำนาจตัดสนิ ใจอะไรบา้ งที่กระจาย
มาให้โรงเรียน ในโรงเรียนตอ้ งมีการแบ่งปัน อำนาจการตัดสินใจในเรือ่ งตา่ ง ๆ อย่างไรจึงจะส่งผลต่อการเพิม่
คุณภาพของผู้เรียน ที่สำคัญทุกฝ่ายต้องเข้าใจเหตุผลและความจำเป็นที่ต้องมีการกระจายอำนาจแต่ละด้าน
และระดับความสำคญั ของการกระจายอำนาจการตัดสนิ ใจไปยังผูเ้ ก่ยี วข้องแต่ละฝา่ ย ที่ได้รับอำนาจนัน้

Oswald (1995) พบว่า การทำงานเป็นทีมในโรงเรียนเป็นกุญแจสำคัญ อย่างหนึ่งที่จะทำให้การ
บริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานประสบความสำเรจ็ ครใู หญ่ต้อง ไมร่ วบอำนาจท่ีไดร้ บั มาจากคณะกรรมการเขต
สำนักงานเขต หรอื ผูอ้ ำนวยการเขต ไว้แต่เพยี งผู้เดียว ต้องแบง่ ปันอำนาจไปยงั ผชู้ ว่ ยครูใหญ่ หัวหน้าสายวิชา
ครู บุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน และนักเรียน ตามความเหมาะส ม
เมอื่ มีการกระจายอำนาจไปแลว้ คณะกรรมการเขต สำนกั งานเขต หรอื ผู้อำนวยการเขตกต็ ้องเชื่อม่ันในตัวผู้รับ
มอบอำนาจ คณะกรรมการเขต สำนักงานเขต หรือผู้อำนวยการเขตต้องเปลี่ยนบทบาทของตนเองจากผู้สั่ง
การเป็น ผู้ส่งเสริมสนับสนุน ให้คำแนะนำช่วยเหลือเมื่อโรงเรียนประสบปัญหาและเข้าไป ติดตาม ตรวจสอบ
ว่าโรงเรียนสามารถสร้างคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาได้ตามท่ี ตกลงไว้

Oswald (1995) ยำ้ ว่าเปน็ หน้าที่ของคณะกรรมการเขต สำนกั งานและ ผูอ้ ำนวยการเขตที่จะต้องทำ
ให้ผู้มีผลประโยชน์ได้เสียในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เข้าใจว่า SBM คืออะไร ทำไมจึงต้องใช้ SBM ใน
โรงเรียน

Myers and Stonehill (1993) สรุปว่าถ้าจะให้การบริหารโดยใช้โรงเรียน เป็นฐานประสบ
ความสำเรจ็ ผู้เกี่ยวขอ้ งกบั การนำ SBM ไปใชค้ วรจะดำเนนิ การดังน้ี 1. บุคลากรและครูในโรงเรียนต้องเชื่อมั่น
วา่ SBM จะช่วยพัฒนาคณุ ภาพ ผ้เู รียนได้

2. ฝ่ายบริหารควรนำ SBM ไปใช้ในโรงเรียนแบบค่อยเป็นค่อยไปโดยอาจ นำเข้าไปใช้ทีละด้านเช่น
เริ่มจากด้านวิชาการ งบประมาณ แล้วค่อยขยายไปด้านอื่น และในแต่ละด้านก็อาจขยายระดับและปริมาณ
งานให้ลึกและกว้างไปเป็นลำดับ โรงเรียนในสหรฐั อเมริกาใช้เวลาประมาณ 5 ปีกว่าจะครอบคลุมทกุ ด้าน คือ
ครอบคลมุ ทัง้ ด้านวิชาการ งบประมาณ บริหารงานบคุ คล และบริหารทัว่ ไป

62

3. ตอ้ งอบรมบคุ ลากรในโรงเรียน ในสำนักงานเขต และครูในโรงเรยี น เป็นอยา่ งดี โดยเฉพาะเก่ียวกับ
อำนาจหน้าทแี่ ละบทบาทของบคุ ลากรแตล่ ะฝ่าย จนทกุ ฝ่ายเข้าใจและสามารถปฏบิ ตั ติ ามบทบาทใหม่ได้

4. รัฐต้องจัดงบประมาณเพ่ือการฝึกอบรม สัมมนาบุคลากรและครูอย่างทั่วถงึ 5. คณะกรรมการเขต
สำนักงานเขต ผู้อำนวยการเขตต้องกระจายอำนาจ การตัดสินใจไปให้คณะกรรมการสถานศึกษาและครใู หญ่
และครูใหญ่ต้องแบ่งปัน อำนาจท่ีได้รับการกระจายมาไปยังผู้มผี ลประโยชน์ได้เสีย และคนอื่น ๆ ของโรงเรียน
อยา่ งเหมาะสม

หลังจากศึกษางานวิจัยเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับ SBM ในมลรัฐต่าง ๆ ในสหรัฐ อเมริกา Cotton
(2001) เสนอว่า ถ้าจะให้การนำ SBM ไปใช้และประสบความสำเร็จ ผู้เกี่ยวข้องกับการนำ SBM ไปใช้ควร
ตระหนักว่า

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนขึ้นอยู่กับกิจกรรมการเรียนการสอนโดยตรง SBM เป็นเพียง
เครือ่ งมอื หรือกลยุทธ์การบรหิ ารโรงเรยี นรูปแบบหน่ึง

2. ผู้นำ SBM ไปใช้ต้องเน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนเป็นเป้าหมาย หลักของการนำ SBM
มาใช้

3. แมว้ ่าไม่มนี ยิ ามมาตรฐานของ SBM แต่ผู้วางแผนนำ SBM ไปใช้ในโรงเรยี น ตอ้ งใหค้ วามสำคัญต่อ
คุณภาพการศกึ ษาว่าเปน็ ส่วนหนง่ึ และเป็นสว่ นสำคญั ทีส่ ดุ ของ การนำ SBM ไปใช้

4. ตอ้ งทำให้ SBM นำไปสกู่ ารกระจายอำนาจการตดั สินใจในโรงเรยี น อย่างแท้จรงิ เป็นการกระจาย
อำนาจทม่ี กี ารประสานสัมพนั ธ์กัน ไมใ่ ชก่ ารแบ่งปนั อำนาจกนั แบบเบ็ดเสรจ็ แล้วไมป่ ระสานสัมพนั ธ์กนั จึงจะ
ทำใหก้ ารนำ SBM ไปใช้ ประสบความสำเรจ็

เพื่อให้การนำ SBM ไปใช้ประสบความสำเร็จ Cotton (2001) เสนอว่าเขตพื้นที่ การศึกษาควรจะ
ดำเนนิ การดังน้ี

1. ทำความเข้าใจกบั ครู ผปู้ กครอง ชุมชนวา่ SBM คอื อะไร ทำไมตอ้ งนำ SBM มาใช้
2. ทำความเข้าใจกับผู้มีผลประโยชน์ได้เสียกับโรงเรียนว่า SBM ต้องใช้เวลา ในการปรับเปลี่ยนกว่า
ผลลพั ธ์จะเกิดต้องใชเ้ วลานาน เช่น อาจนานถงึ 5-15 ปี 3. ตอ้ งประเมินบรรยากาศการบรหิ ารภายในโรงเรียน
ก่อนนำ SBM ไปใช้ ถ้าบรรยากาศบริหารภายในโรงเรียนยังไม่เอื้ออำนวย ผู้บริหาร กรรมการเขตพื้นท่ี
การศึกษาอาจชะลอการนำ SBM ไปใชใ้ นโรงเรยี นน้นั
4. คณะกรรมการเขต ผู้อำนวยการเขต และบุคลากรของเขตต้องทำงาน ร่วมกับโรงเรียนในการ
เปลี่ยนความคิด ทัศนคติของผู้มีผลประโยชน์ได้เสียกับโรงเรียน และให้ความช่วยเหลือโรงเรียนในการสร้าง
ความเปล่ยี นแปลงใหเ้ กิดขน้ึ
5. ส่งเสริมให้โรงเรียนนำกิจกรรมของ SBM มาใช้แบบค่อยเป็นค่อยไปไม่ควร ให้โรงเรียน
เปล่ยี นแปลงทกุ ด้านและทกุ เรื่องพรอ้ มกัน
6. เขตพื้นที่การศึกษาควรเลือกกระจายอำนาจการตัดสินใจให้โรงเรียนตาม ความพร้อมของโรงเรียน
และต้องทำให้การกระจายอำนาจเป็นไปเพื่อพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนอย่างแท้จริง การกระจาย อำนาจควร

63

กระจายให้คณะกรรมการโรงเรียนซึ่ง ประกอบด้วยครูใหญ่ และตัวแทนของฝ่ายต่าง ๆ เช่น ตัวแทนครู
ผปู้ กครอง ชุมชน บุคลากรทางการศึกษา และตวั แทนนกั เรยี น

7. เขตพื้นที่การศึกษา ควรมอบหมายให้เจ้าหน้าที่คนใดคนหนึ่ง คอยติดตาม การนำ SBM ไปใช้
ใน โรงเรียนใดโรงเรียนหนึ่งเป็นการเฉพาะ เพื่อจะได้ทราบว่าแต่ละฝ่ายในโรงเรียน ปฏิบัติตามบทบาทของ
ตวั เองไดเ้ หมาะสมเพยี งใด

8. เขตพื้นที่การศึกษาควรจัดหาข้อมูลทางการศึกษา และจัดฝึกอบรม คณะกรรมการสถานศึกษ า
เกยี่ วกับ

8.1 บทบาทหน้าทคี่ ณะกรรมการภายใตก้ ารบริหารแบบ SBM
8.2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน นโยบายโรงเรียน โปรแกรมการเรียน งบประมาณ
อาคารสถานที่ บุคลากร กฎหมาย กฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลที่ คณะกรรมการต้องใช้ประกอบการ
ตัดสินใจแต่ละเร่ือง
8.3 จัดฝึกอบรมเกี่ยวกับกระบวนการกลุ่ม การตัดสินใจเป็นกลุ่ม การแก้ ปัญหา การขจัดความ
ขัดแย้ง ฯลฯ
9. เขตพื้นที่การศึกษาต้องจัดหาทรัพยากรที่จำเป็นในการทำงานให้แก่ โรงเรียน แบ่งเวลาเข้าร่วม
กจิ กรรมการวางแผนของโรงเรียน และให้ความรว่ มมอื ในการนำแผนไปสกู่ ารปฏิบัติ
10. เขตพื้นที่การศึกษาต้องสร้างบรรยากาศที่เป็นมิตรแก่โรงเรียน 11. เขตพื้นที่การศึกษาต้องให้
ความร่วมมอื ช่วยเหลือโรงเรียนในกรณีทโ่ี รงเรียน ขอให้มกี ารยกเลิกกฎ ระเบียบทไี่ ม่จำเป็นหรือเป็นอุปสรรค
ต่อการบริหารแบบ SBM 12. เขตพื้นที่การศึกษาควรรบั ฟังความคิดเห็นตัวแทนสมาคมผูป้ ระกอบ วิชาชีพครู
ตงั้ แต่เร่มิ แรกทเ่ี ตรยี มการนำ SBM ไปใช้ในโรงเรียน
13. เขตพื้นที่การศึกษาควรร่วมมือกับโรงเรียนในการดัดแปลงรูปแบบของ SBM ให้สอดคล้องกับ
บริบทของโรงเรียนแตล่ ะแห่ง
นอกจากน้ีเพอ่ื ให้การนำ SBM ไปใช้ในโรงเรียนประสบความสำเรจ็ Cotton (2001) เสนอว่า ครูใหญ่
และคณะครูของโรงเรยี นทป่ี ระสงค์จะนำ SBM ไปใช้ควรคำนงึ ถงึ สงิ่ ตอ่ ไปนี้
1. สร้างความเข้าใจแก่ครูทุกคน และผู้ปกครอง ชุมชนว่า SBM คืออะไร ทำไมต้องนำ SBM มาใช้
แทนรูปแบบการบริหารทม่ี อี ยเู่ ดิม
2. ศึกษาจุดเด่น จุดด้อยของ SBM ที่มีการทดลองใช้ที่อื่นแล้วนำมาปรับปรุง ให้เหมาะสมกับบริบท
ของโรงเรียน
3. ในโรงเรียนที่ใช้ SBM ประสบความสำเร็จ ทั้งครูใหญ่และครตู ้องทำงานหนักเป็น 2 เท่าของที่เคย
ทำมา โดยเฉพาะต้องชักชวน เชิญชวนให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามา มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่าง
แท้จรงิ

64

4. ผู้บริหารโรงเรียน และครตู อ้ งสื่อสารกบั ผปู้ กครองและชุมชน โดยเฉพาะ ผ้มู ีผลประโยชน์ไดเ้ สียกบั
การจัดการศึกษาของโรงเรียนให้เข้าใจว่าจะมีการแบ่งอำนาจหรือร่วมกันใช้อำนาจในการตัดสินใจในเรื่องใด
และอย่างไร

5. ครูใหญ่ต้องสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทใหม่ของครูบุคลากรในโรงเรียน ชุมชน และทำให้
บคุ คลกลุ่มดังกล่าวปฏบิ ัติตามบทบาทใหม่อยา่ งมคี วามสุข

6. ครูใหญ่ต้องกระจายอำนาจการตัดสินใจให้คณะกรรมการสถานศึกษา อย่างแท้จริง กรรมการ
สถานศึกษาไม่ควรทำหนา้ ท่เี พียงคอยให้คำปรึกษา

7. ครูใหญ่ตอ้ งทำให้ทุกฝ่ายตระหนกั ว่าผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี น ไม่ใช่สิ่งที่สามารถทำให้
สงู ขน้ึ ได้เพยี งช่ัวข้ามวัน ความสำเร็จของ SBM จะเกดิ ขน้ึ ได้ ตอ้ งอาศัยเวลา อาจนานถึง 5 ปีหรอื มากกวา่ การ
นำ SBM ไปใช้ในโรงเรียน จึงต้องดำเนินการแบบค่อยเป็นค่อยไป SBM ไม่ใช่การปฏิวัติแต่ SBM เป็นการ
ปฏิรปู

8. ในกจิ กรรมท่ีเปน็ หัวใจของการดำเนนิ งานของโรงเรยี น เชน่ กิจกรรม การเรียนการสอน การพัฒนา
หลกั สูตร ต้องจัดให้ครเู ป็นผูม้ บี ทบาทสำคญั ในการ ตัดสนิ ใจเกี่ยวกับเรอื่ งดงั กล่าว

9. ให้ครูมีบทบาทสำคัญในการตัดสินใจในกิจกรรมท่ีเกี่ยวกับห้องเรียน เช่น การจัดนักเรียนเข้าช้ัน
เรยี น การจัดครูเขา้ สอน การดูแลความประพฤติการประเมนิ ผล การเล่อื นช้ันนักเรยี น ฯลฯ

10. ครูใหญ่ต้องสร้างบรรยากาศการทำงานที่ดีในโรงเรียน ตอ้ งแบ่งเวลาให้กับ กิจกรรมการวางแผน
และการเรยี นการสอนของโรงเรียน

7. ปญั หาและอุปสรรคของการบรหิ ารโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน
ปญั หาสำคญั ของการบริหารโดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน คอื
1. ตอ้ งใช้เวลาในการเปล่ยี นแปลงนาน
2. คณะกรรมการไม่มีความสามารถ และไมเ่ ขา้ ใจบทบาทหน้าที่
3. โรงเรยี นไม่ได้รบั การกระจายอำนาจอย่างเตม็ ที่และมกั ไม่ใหค้ วามสำคญั เรื่องการเรียนการ

สอนและผลการเรยี นเท่าท่ีควร
8. บทสรุปสำหรบั ผู้บริหาร

การบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานของไทย (Thai-Style School-Based Management = Thai
SBM) เปน็ รปู แบบการบรหิ ารโรงเรียนตามแนวทางที่บัญญัตใิ น พระราชบญั ญตั กิ ารศกึ ษาแหง่ ชาตพิ .ศ.2542
เป็นรูปแบบการบริหารจดั การโรงเรยี น แนวใหมท่ ่ีมกี ารกระจายอำนาจบริหารจดั การทง้ั ด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหาร งานบุคคล และการบรหิ ารทว่ั ไปไปยงั สถานศกึ ษามากข้นึ

ก่อนการประกาศใชพ้ ระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติพ.ศ.2542 โรงเรียน บางแหง่ ได้พยายามนำ
แนวคิดการบริหารจัดการแบบ SBM ไปใช้อย่แู ลว้ แต่ไม่ สามารถกระทำไดโ้ ดยสมบรู ณเ์ พราะโรงเรยี นมี
ข้อจำกดั ด้านการบริหารงานบุคคล และงบประมาณ

65

โครงการโรงเรยี นปฏริ ูปการเรียนรู้เพอื่ พฒั นาคุณภาพผู้เรยี นซ่ึงเปน็ โครงการ วิจัยเพ่ือพัฒนาตน้ แบบ
การบริหารจัดการโดยใชโ้ รงเรียนเปน็ ฐานของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติได้พยายามจำลอง
สถานการณ์การกระจายอำนาจ การบริหารจัดการทางการศึกษาท้ัง 4 ดา้ น คือ ด้านวชิ าการ งบประมาณ การ
บริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปใหโ้ รงเรียนในโครงการ

หลงั จากดำเนนิ งานไปได้ครบ 1 ปีการศึกษา โรงเรยี นในโครงการมีการ กระจายอำนาจการบรหิ ารงาน
ในโรงเรียนมากขนึ้ กวา่ เดมิ บุคคลและหนว่ ยงาน ภายนอกเข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจดั การศกึ ษามากขึ้น มกี าร
สรา้ งเครอื ข่ายกบั โรงเรียน เอกชน องค์กรเอกชน ส่วนราชการอน่ื ได้มากข้นึ ให้ความสำคญั และความจำเปน็
ของระบบฐานข้อมูล โรงเรียนส่วนใหญน่ ำคอมพิวเตอรเ์ ข้ามาใช้ในการบรหิ ารจดั การ มกี ารสรา้ งความสัมพนั ธท์ ี่
ดกี บั ชมุ ชน มีแผนและกลยุทธ์ในการพัฒนา มีแผนปฏิบตั ิการ มธี รรมนญู โรงเรยี น มกี ารนำแผนปฏบิ ัตกิ ารไป
ปฏิบัตแิ ละติดตามผลการปฏิบัตติ ามที่ ระบุไว้ในธรรมนูญโรงเรยี น มกี ารสรา้ งสภาพแวดล้อมทางการเรยี นรู้ทดี่ ี
มีการพัฒนา ครแู ละผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นอย่างต่อเนื่อง ทกุ โรงเรยี นจัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร จดั การเรยี น
การสอนโดยเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ทุกโรงเรียนสามารถเพิ่มประสทิ ธิภาพ การบรหิ ารจดั การของตนให้สงู ขนึ้ มี
การเรยี นรแู้ ละแก้ปัญหาทีเ่ กิดจากการพฒั นา โรงเรยี นอย่างตอ่ เนอ่ื ง แตร่ ะดับความสำเร็จของการดำเนนิ งาน
แต่ละดา้ นของแต่ละ โรงเรียนแตกต่างกัน ขน้ึ อยูก่ บั บรบิ ทของแต่ละโรงเรยี น ความสำเรจ็ แต่ละด้าน สรุปได้
ดังนี้
1. ด้านการบรหิ ารทั่วไป

การบริหารทั่วไปเป็นงานด้านหนึ่งที่ถือว่าประสบความสำเร็จสูงสุด โรงเรียนในโครงการได้รับการ
กระจายอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหารทั่วไป ค่อนข้างสูงเพราะไม่ต้องยึดโยงกับกฎหมายเฉพาะ เช่น
กรณกี ารบริหารงานบุคคล และการบริหารงบประมาณ โรงเรยี นในโครงการไดก้ ระจายอำนาจการบริหารท่ัวไป
ไปยังคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน มีการ
สร้างเครือข่ายการดำเนินงานวิชาการและบริหารทั่วไปกับโรงเรียน ทั้งที่อยู่ในระดับเดียวกัน ระดับเหนือกว่า
และด้อยกว่า มีการสร้างเครือข่ายกับวัด ส่วนราชการอื่น ๆ เอกชน และสถานประกอบการเพื่อนำไปสู่การ
แลกเปลี่ยน ประสบการณ์ทางการบริหารและประสบการณ์ทางวิชาการ มีการบันทึกข้อมูลใน โปรแกรม
ฐานข้อมูลในเครื่องคอมพิวเตอร์ มีการนำข้อมูลด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน มาวิเคราะห์และนำผลของการ
วิเคราะห์ไปใช้ในการกำหนดเป้าหมายของโรงเรียน มีการวางแผนพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบมากขึ้น ให้
ความใส่ใจต่อการนำแผน ไปปฏิบัติ มีการติดตามประเมินผล รายงานผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงงาน และ
ปรับปรุงผลการปฏิบัติงานให้ดีขึ้นเป็นระยะ โรงเรียนในโครงการส่วนใหญ่มีการ พัฒนาธรรมนูญโรงเรียนและ
ปฏิบตั ใิ ห้เป็นตามธรรมนูญโรงเรยี น

โรงเรยี นในโครงการทุกโรงมีการพัฒนาอาคารสถานท่ีใหเ้ อ้อื ต่อการเรียนรู้ มากกว่าเมื่อเริ่มต้นโครงการ
มีการระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้ในการ จัดการศึกษา โดยเฉพาะจากวัด ชุมชน และ
ผู้ปกครอง หลายโรงเรียนได้พัฒนา กิจการและกิจกรรมเพื่อพัฒนานักเรียนอย่างเด่นชัด เช่น กิจกรรมพัฒนา
คุณธรรม พฒั นาสุขภาพและร่างกาย และการละเลน่ เปน็ ต้น

66

โรงเรียนในโครงการมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง แต่ที่เป็นข้อจำกัด คือการที่ต้องปฏิบัติตาม
กฎหมาย และระเบียบเกี่ยวกับการเงินและการบริหารงาน บคุ คลอย่างเครง่ ครดั จึงทำใหโ้ รงเรียนที่บริหารโดย
ใช้โรงเรียนเป็นฐานภายใต้ โครงการปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนไม่อาจปฏิบัติตามกรอบทฤษฎี
ว่าด้วยการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานได้อย่างเต็มที่หากกฎหมายเกี่ยวกับการบริหารราชการ
กระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายเกี่ยวกับระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา และกฎหมาย
เกี่ยวกับสภาวิชาชพี ครูและบุคลากรทาง การศึกษามีผลบงั คบั ใช้ โรงเรยี นตา่ ง ๆ คงจะสามารถบรหิ ารจัดการได้
ใกลเ้ คยี งกับ แนวคิดเชงิ ทฤษฎขี องการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐานที่ถอื ปฏบิ ตั ใิ นตา่ งประเทศได้
2. ด้านวชิ าการ

โรงเรียนในโครงการทุกโรงเรียนกล้าคิด กล้าวางแผน กล้ากำหนดเป้าหมาย ทางวิชาการและกำหนด
แนวทางการดำเนินงานเพื่อให้ก้าวไปถึงเป้าหมายด้วยตนเอง ที่พบความสำเร็จค่อนข้างเด่นชัดในแทบทุก
โรงเรยี นไดแ้ ก่

2.1 การพัฒนาสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ โรงเรียนในโครงการทุกโรง มีการพัฒนา
สภาพแวดล้อมทางกายภาพดีขึ้นกว่าเม่ือเริม่ ต้นโครงการ อาคารสถานที่ หอ้ งสมุด ห้องปฏิบัตกิ าร แหล่งเรียนรู้
สำหรบั วิชาตา่ ง ๆ ในโรงเรยี นปรบั เปลี่ยนไปใน ทางที่ดขี ้นึ อย่างชัดเจน หลายโรงเรียนไดป้ ระสานกับหน่วยงาน
ทง้ั ภาครฐั และเอกชน ในการขอใช้หอ้ งปฏิบตั กิ าร โรงงาน แปลงสาธิต สถานท่ีราชการ สถานประกอบการ ฯลฯ
เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับผู้เรียน การที่นักเรียนได้แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองทำให้นักเรียนกล้าซักถาม กล้า
อภิปราย บรรยากาศในห้องเรียนจึงเปิดเผย สภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ทั้งด้านอารมณ์ สังคมและจิตใจจึง
ได้รับการพฒั นาไปดว้ ย

2.2 การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ โรงเรียนในโครงการได้รับการฝึกอบรม ตั้งแต่ระยะ
เรมิ่ แรกของโครงการให้เกิดความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั การจัดการเรียน การสอนท่ีเนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ (Child-
centred) และให้นำแนวทางการจัดการเรียน การสอนแบบนี้ไปปฏิบัติในโรงเรียน แม้ว่าครูทุกคนอาจไม่
สามารถจดั การเรียน การสอนที่เน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญไดส้ มบรู ณ์แบบ แต่ครูของโรงเรียนในโครงการทุกคน ก็ได้
แสดงความกระตอื รอื ร้นท่ีจะปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนของตนอย่างต่อเน่ือง มกี ารเรียนรู้จากการปฏิบัติ
เรียนจากเพื่อนร่วมงาน และเรียนจากเอกสาร สื่อ และแหล่งเรียนรู้อื่นตลอดเวลา การปรับปรุงพัฒนาวิธีสอน
ของครูส่งผลให้นกั เรยี นพัฒนา กระบวนการเรียนร้ขู องตนอยา่ งต่อเนื่องเช่นเดียวกนั

2.3 ครูและผู้บริหารโรงเรียนในโครงการให้ความสำคัญของการพัฒนางาน วิชาการมากข้ึน
โดยเฉพาะผู้บริหารโรงเรียนสนใจกิจกรรมพัฒนาสื่อ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
ตลอดจนกิจกรรมวัดผลและประเมินผล ผู้เรียน โรงเรียนในโครงการหลายโรงเรียนให้ความสำคัญด้าน การ
พัฒนาระบบ ประกันคุณภาพภายในและเตรียมตัวที่จะขอรับการประเมินภายนอกจากสำนักงาน รับรอง
มาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา มีกิจกรรมทางวิชาการเพียงบางอย่างที่โรงเรียนในโครงการส่วนใหญ่
ไมไ่ ด้ ดำเนนิ การเป็นตน้ วา่ การสรา้ งความเขม้ แข็งทางวิชาการใหแ้ กช่ มุ ชน และการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา
ทัง้ นีด้ ้วยข้อจำกัดดา้ นระเบยี บปฏบิ ัตทิ ม่ี ีผลบังคบั ใช้ในขณะน้ัน อย่างไรก็ตามถา้ กฎหมายวา่ ดว้ ยระเบียบบริหาร
ราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยสภาวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา และกฎหมายว่าด้วย

67

ระเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามผี ลบงั คบั ใช้ โรงเรยี นตา่ ง ๆ น่าจะปฏิบตั ภิ ารกิจด้านวิชาการ
ไดส้ มบูรณ์ขึ้นกวา่ ช่วงการดำเนนิ งานภายใต้โครงการ

3. ด้านบริหารงานบุคคล
โรงเรียนในโครงการทุกโรงต้องบริหารงานบุคคลโดยยึดบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ ระเบียบ

ขา้ ราชการครูพ.ศ. 2523 ซง่ึ มกี ารรวมอำนาจการตัดสินใจเกี่ยวกับการบรหิ าร งานบุคคลไวท้ ี่ อ.ก.ค. จังหวัด อ.
ก.ค.กรม และก.ค. แทบทั้งหมด ที่โรงเรียนได้รับอำนาจ ดำเนินการเกี่ยวกับบุคลากรจะเป็นเรื่องการพัฒนาครู
และบุคลากรทางการศึกษา ส่วนอำนาจการพิจารณาความดีความชอบ การลาศึกษาต่อ การประเมินบุคลากร
การยกย่องเชิดชูเกียรติครู การกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงาน การกำหนดตำแหน่ง และการดำเนินการทาง
วินัยเป็นอำนาจการตัดสินใจของหน่วยงานระดับเหนือขึ้นไป โรงเรียนในโครงการอาจเสนอข้อมูลให้
ผบู้ ังคบั บญั ชาหรือสว่ นราชการระดบั เหนือ ข้นึ ไปพิจารณาได้ แต่ไม่มอี ำนาจตัดสินใจเก่ียวกับเร่ืองดังกล่าวด้วย
ตนเองตามแนวทาง ของการบรหิ ารจดั การโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

4. ด้านงบประมาณ
โรงเรียนในโครงการทุกโรงยังคงปฏิบัติตามกฎหมายงบประมาณและระเบียบ ปฏิบัติของ

กระทรวงการคลัง และของสำนักนายกรัฐมนตรีอย่างเคร่งครดั โรงเรียน ทุกโรงได้รับงบประมาณตามแผนงาน
และโครงการ มีการระบุรายการงบประมาณ ไว้ชัดเจนจึงยากที่จะปรับเปลี่ยนได้ การไม่ปฏิบัติตามระเบียบ
การเงินการคลังถือเป็น การทุจริตต่อหน้าที่ราชการ ซึ่งต้องได้รับโทษทางวินัยไล่ออก จึงไม่มีโรงเรียน กล้า
ปฏิบัติแตกต่างไปจากระเบียบ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับงบประมาณของโรงเรียน ในโครงการจึงไม่แตกต่างจาก
โรงเรียนทั่วไป ยกเว้นบางโรงเรียนอาจมีการระดม ทรัพยากรจากภายนอกเพื่อนำมาใช้ในการจัดการศึกษา
ได้มากขน้ึ โรงเรยี นใน โครงการจงึ ไมส่ ามารถตั้งงบประมาณ จัดสรรงบประมาณ บริหารการเงิน พัสดุ สินทรพั ย์
และบัญชีได้ด้วยตนเองตามแนวทางของ SBM ผู้บริหารโรงเรียนในโครงการทุกคนเห็นตรงกันว่าการเข้าร่วม
โครงการ ทำให้โรงเรยี นซึง่ หมายรวมถงึ คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผ้บู รหิ ารโรงเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา
นักเรียนและผู้ปกครองเกิดความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริง เกี่ยวกับการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
และเชิญชวนให้ผู้บริหารโรงเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษานำแนวคิดการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียน
เปน็ ฐาน ไปปฏบิ ัติเพราะการปฏบิ ัติจะทำให้เกดิ การเรยี นรอู้ ย่างแท้จริง

68

เอกสารอา้ งองิ

สบื คน้ ออนไลน์ จาก https://nsw2.go.th/web/attachments/article/293.pdf
(วันท่ี 14 กันยายน 2563)

สบื คน้ ออนไลน์ จาก https://paksane.weebly.com/uploads/3/1/5/0/31506121/320.pdf
(วันที่ 14 กันยายน 2563)

สบื คน้ ออนไลน์ จาก https://ns.nsru.ac.th/bitstream/nsru/323/1/Sirirat%20Nilnak.pdf
(วนั ที่ 13 กันยายน 2563 )

สืบคน้ ออนไลน์ จาก http://digital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/57920450.pdf
(วนั ท่ี 13 กันยายน 2563 )


Click to View FlipBook Version