The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thidarat.kan, 2021-10-22 04:32:19

แฟมสะสมผลงานฝกประสบการณการสอน

1





ี่
แผนจัดการเรียนรู้ท 38-39 (Online)
กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

ี่
ี่
ชั้นประถมศึกษาปีท 6 ภาคเรียนท 1 ปีการศึกษา 2564

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสม วันที่ 7 ตุลาคม 2564
เวลาเรียน 2 คาบ ( 100 นาท )


เรื่อง ประโยชนของการแยกสารผสมและแบบฝึกหัดท้ายบทเรื่องการแยกสารเนื้อผสม
ผู้สอน นางสาวธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์


1. สาระการเรียนรู้

สาระที่2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

2. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัต ิ


ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาตของการเปลี่ยนแปลงสถานะ
ของสสาร การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคม ี

3. ตัวชี้วัด


ว 2.1 ป.6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้


แม่เหล็กดึงดูดการรินออก การกรองและการตกตะกอนโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์รวมทั้งระบุวิธ


แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับการแยกสาร


4. จุดประสงค์การเรียนรู้


1. นักเรียนบอกวิธีการแยกสารเนื้อผสมที่นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได (K)


2. นักเรียนสามารถตีความหมายข้อมูลจากการอ่านบทความได้ (P)


3. นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม (A)


5. คุณลักษณะอันพึงประสงค ์


1. มุ่งมั่นในการทำงาน

2




6. สมรรถนะที่สำคัญ



1. ความสามารถในการคดอย่างมีวิจารณญาณ

7.สาระการเรียนรู้แกนกลาง


สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกันเช่น น้ำมันผสมน้ำ ข้าวสารปนกรวดทราย วิธีการที่

เหมาะสมในการแยกสารผสมขึ้นอยู่กับลักษณะและสมบัติของสารที่ผสมกัน ถ้าองค์ประกอบของสารผสมเป็น

ของแข็งกับของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน อาจใช้วิธีการหยิบออกหรือการร่อนผ่านวัสดุที่มีรูถ้ามีสารใด

สารหนึ่งเป็นสารแม่เหล็ก อาจใช้วิธีการใช้แม่เหล็กดึงดูด ถ้าองค์ประกอบเป็นของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลว อาจ

ใช้วิธีการรินออก การกรอง หรือการตกตะกอน ซึ่งวิธีการแยกสารสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวันได ้


8.สาระสำคัญ



การแยกสารเนื้อผสมที่ผสมกันระหว่างสารที่เป็นของแข็งกับของแข็ง ใช้วิธีการหยิบออก การฝัด

และการร่อน การแยกสารเนื้อผสมที่ผสมกันระหว่างสารที่เป็นของแข็งกับของเหลวใช้วิธีการกรอง

การตกตะกอน และการรินออก การแยกสารเนื้อผสมที่ผสมกันระหว่างสารที่เป็นของแข็งกับของแข็งที่เป็น

สารแม่เหล็ก ใช้วิธีการใช้แม่เหล็กดูด วิธีการแยกสารทุกชนิดสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได





9.กระบวนการจัดการเรียนรู้ ( 50 นาที )


9.1 ขั้นนำ ( 15 นาท )


9.1.1 ใช้กิจกรรมเข้าจังหวะเพลงยุง เพื่อให้นักเรียนได้มีการเคลื่อนไหวร่างกายเตรียม

ความพร้อมในการทำกิจกรรม โดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการบอกวิธีไล่ยุงและให้เพื่อนๆทำตาม

เช่น สะบัดแขน สะบัดขา


** เมื่อยุงกัด หัว เมื่อยุงกัด หัว


เมื่อยุงกัด หัว เราอย่าไปต ี


เมื่อยุงมันกัด และมาราวี ต้องใช้วิธี(โยก) หัว ไล่ยุง (ซ้ำ) **


( ขา , เอว , ก้น )

3




9.1.2 ทบทวนความรู้เดิมเรื่องการแยกสารผสมโดยใช้คำถามดังนี้


• จากการทำกิจกรรมที่ผ่านมาในเรื่องการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งสามารถใช้วิธี

ใดไดบ้าง ( แนวคำตอบ การหยิบออก , การร่อน , การฝัด )



• การแยกสารด้วยวิธีการหยิบออกมข้อดีและข้อจำกัดอย่างไรบ้าง
( แนวคำตอบ ข้อดีคือไม่ต้องใช้อุปกรณ์อื่นนอกจากมือ ส่วนข้อจำกัดคือ ในการ

หยิบออก หยิบได้ทีละเม็ด จึงทำให้ใช้เวลานาน )

• จากการทำกิจกรรมที่ผ่านมาในเรื่องการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งออกจาก

ของเหลว สามารถใช้วิธีใดในการแยกได้บ้าง ( แนวคำตอบ การตกตะกอน ,

การรินออก , การกรองด้วยผ้าขาวบางและการกรองด้วยกระดาษกรอง )



• หากนักเรียนต้องการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งออกจากของเหลวโดยใช้อปกรณ ์
น้อยชิ้น นักเรียนจะใช้วิธใด (แนวคำตอบ ใช้การตกตะกอนและการรินออก

เพราะใช้อุปกรณแค่ 1 – 2 ชิ้น )

• ถ้าหากนักเรียนต้องการแยกสารผสมที่เป็นของแข็งออกจากของเหลวโดย

ต้องการแยกของเหลวให้มีสีใส นักเรียนจะเลือกใช้วิธีใดเพราะเหตุใด

( แนวคำตอบ การกรองด้วยกระดาษกรองเพราะการใช้กระดาษกรองจะทำให้ได ้

ของเหลวทมีสีใส )
ี่

• ถ้าหากนักเรียนต้องการแยกผงเหล็กที่ผสมอยู่กับข้าวเปลือกนักเรียนสามารถใช้


วิธีการแยกแบบใดได้บ้าง ( แนวคำตอบ การใช้แม่เหล็กดดผงเหล็กออก หรือ
การร่อนโดยใช้ตะแกรง )

• ในชีวิตประจำวันเราใช้วิธีการแยกสารเนื้อผสมวิธีใดบ้าง จากนั้นครูเชื่อมโยง

ความรู้เดิมของนักเรียนสู่กิจกรรมที่ 1.4 โดยใช้คำถามว่าเรา ใช้ประโยชน์จากการ

แยกสารเนื้อผสมอย่างง่ายได้อย่างไร

4




9.2 ขั้นกิจกรรม ( 30นาที )


9.2.1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าในภาพนี้คือภาพอะไร ( แนวคำตอบ น้ำตาลปึก น้ำตาลมะพร้าว )

















ภาพที่ 1 น้ำตาลปึก ที่มา น้ำตาลปึก - วิกิพีเดีย (wikipedia.org)


9.2.2 เรานำน้ำตาลปึกมาใช้ประโยชน์อย่างไรบ้าง ( แนวคำตอบ นำมาปรุงอาหาร )


9.2.3 นักเรียนทราบหรือไม่ว่าน้ำตาลปึกที่นำมาปรุงอาหารทำมาจากอะไร ( แนวคำตอบ จั่นมะพร้าว )



9.2.4 ครูนำนักเรียนเข้าสู่การจำลองทำน้ำตาลปึกโดยกระตุ้นนักเรียนด้วยการถามว่านักเรียนทราบ

หรือไม่ว่าวิธีการทำน้ำตาลปึกทำได้อย่างไร จากนั้นให้นักเรียนเริ่มอ่านบทความเรื่องการทำน้ำตาลปึก


9.2.5 ครูใช้คำถามถามเกี่ยวกับบทความที่นักเรียนได้อ่าน ดังนี้


• จากบทความ น้ำตาลมะพร้าวที่รวบรวมจากกระบอกน้ำตาลเป็นสารเนื้อเดียวหรือ


สารเนื้อผสม เพราะเหตุใด ( แนวคำตอบ สารเนื้อผสมเพราะมเศษฝุ่นหรือแมลงปน
อยู่ในน้ำตาลมะพร้าว )



• การทำน้ำตาลปึกมีขั้นตอนใดบ้างที่ต้องใช้วิธีการแยกสารและเรียก วิธีนั้นว่าอะไร

( แนวคำตอบ 1. เก็บมดและแมลงออกจากจั่นมะพร้าวเป็นวิธการ หยิบออก

2. ใช้ผ้าขาวบางกรองเศษฝุ่นและแมลงออกจากน้ำตาล มะพร้าว


เป็นวิธีการกรอง


3. ตักเอาฟองออกจากน้ำตาลมะพร้าวเป็นวิธีการตกออก )

5

• ถ้าไม่มีการแยกเอาเศษฝุ่นหรือแมลงออก นักเรียนคิดว่าน้ำตาลปึก ที่ได้จะม ี

ลักษณะอย่างไร ( แนวคำตอบ น้ำตาลปึกจะไม่สะอาดมีเศษฝุ่นและ แมลงปนอยู่ใน

น้ำตาลปึกทำให้ไม่น่ารับประทาน )


• ในการทำน้ำตาลปึก การแยกสารมีประโยชน์อย่างไร ( แนวคำตอบ ช่วยแยกสารที่

ไม่ต้องการออกจากน้ำตาลมะพร้าวทำให้ได้น้ำตาลปึกที่น่ารับประทานและ

ปลอดภัยต่อการบริโภค )


9.2.6 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเตมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์


จากการแยกสาร จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าวิธีการแยกสารเนื้อผสมม


ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน


9.2.7 นักเรียนตอบคำถามในกิจกรรม ฉันรู้อะไร ดังนี้



• การทำน้ำตาลปึก ใช้การแยกสารวิธีใดบ้าง เพราะเหตใด ( แนวคำตอบ การหยิบออก
เพราะต้องการแยกแมลงต่าง ๆ ออกจากจั่นมะพร้าว การกรอง เพราะต้องการแยก

เอาน้ำตาลมะพร้าวซึ่งเป็นของเหลวออกจาก เศษฝุ่นและแมลงซึ่งเป็นของแข็ง การ


ตักออก เพราะต้องการแยกเอาฟองซึ่งมีคราบสกปรกของน้ำตาลซึ่งเป็น ของแข็งติด

มากับฟองออกจากน้ำตาลมะพร้าวซึ่งเป็นของเหลว )

• การทำน้ำตาลปึกถ้าไมมีการแยกสารที่ปนอยู่ในน้ำตาลมะพร้าวด้วยวิธีตางๆน้ำตาล


ปึกที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร ( แนวคำตอบ น้ำตาลปึกจะมีเศษฝุ่นและแมลงต่าง ๆ

ปนอยู่ในก้อนน้ำตาลด้วย )

• จากสิ่งที่ค้นพบสรุปได้ว่าอย่างไร ( แนวคำตอบ วิธีการแยกสารเนื้อผสมสามารถ

นำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได )


6

9.3 ขั้นสรุป ( 10 นาที )



9.3.1 นักเรียนทำแบบฝึกท้ายบทเรื่องการแยกสารผสม โดยมรูปแบบดังนี้

7




















































9.3.2 นักเรียนสรุปและอภิปรายผลการทำกิจกรรมท้ายบทพร้อมยกตัวอย่างประโยชน์ในการ

นำความรู้เรื่องวิธการแยกสารผสมไปใช้ประโยชน์



10. วัสดุอุปกรณ -

11. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้


- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้

และ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


-สไลด์ประกอบการสอน

8

12. การวัดและประเมินผล




เกณฑ์การประเมิน
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน

ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)

1.ด้านความรู้ การอธิบายข้อมูล บอกข้อมูลที่วิเคราะห์ บอกข้อมูลที่วิเคราะห์ ไมสามารถบอกข้อมูลที่

( K ) วิธีการแยกสารใน ได้มาอธิบายเกี่ยวกับ ได้มาอธิบายเกี่ยวกับ วิเคราะห์ได้มาอธิบาย


-นักเรียนบอกวิธีการ บทความเรื่องการ วิธีการแยกสารได ้ วิธีการแยกสารได้ถูกตอง เกี่ยวกับวิธีการแยกสาร

แยกสารเนื้อผสมที่ ทำน้ำตาลปึก ถูกต้องดวย ตนเอง โดย ได้รับการชี้แนะจากครู ได้ถูกต้องด้วย ตนเอง

สามารถระบุไดครบทั้ง 3 หรือผู้อื่น โดยสามารถ ถึงแม้ว่าจะได้รับการ
นำไปใช้ประโยชน์ใน
อย่างคือ การเก็บมด ระบุไดครบทั้ง 3 อย่าง ชี้แนะจากครูหรือผู้อื่น

ชีวิตประจำวันได้ (K)
และแมลงออกจากจั่น คือ การเก็บมดและแมลง โดยไมสามารถระบุได ้

มะพร้าว , ใช้ผ้าขาวบาง ออกจากจั่นมะพร้าว , ใช้ ครบทั้ง 3 อย่างคือ การ

กรองเศษฝุ่นและแมลง ผ้าขาวบางกรองเศษฝุ่น เก็บมดและแมลงออก

ออกจากน้ำตาลมะพร้าว และแมลงออกจาก จากจั่นมะพร้าว , ใช้ผ้า
, ขณะเคี่ยวน้ำตาลจะ น้ำตาลมะพร้าว , ขณะ ขาวบางกรองเศษฝุ่นและ

เกิดฟองที่ผิวหน้าของ เคี่ยวน้ำตาลจะเกิดฟองที่ แมลงออกจากน้ำตาล

น้ำตาลให้ตักฟองออก ผิวหน้าของน้ำตาลให้ตัก มะพร้าว , ขณะเคี่ยว
ฟองออก น้ำตาลจะเกิดฟองที่

ผิวหน้าของน้ำตาลให้ตัก

ฟองออก
2.ด้านทักษะ / การตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย

สมรรถนะที่สำคัญ ข้อมูลจากการ ข้อมูลจากการอ่าน ข้อมูลจากการอ่าน ข้อมูลจากการอ่าน

ของผู้เรียน ( P ) อ่านบทความและ บทความและลงข้อสรุป บทความและลงข้อสรุป บทความและลงข้อสรุป
-นักเรียนสามารถ ลงข้อสรุปได้ว่า ได้ถูกต้องด้วยตนเองว่า ได้ถูกต้องจากการชี้แนะ ได้ถูกต้องแต่ไม่ครบถ้วน


ตีความหมายข้อมูลจาก วิธีการแยกสาร วิธีการแยกสารเนื้อผสม ของครูและ ผู้อื่นว่า แม้ว่าจะได้รับการชี้แนะ
เนื้อผสมสามารถ สามารถนำไปใช้ วิธีการแยกสารเนื้อผสม จากครูหรือผู้อื่นว่า
การอ่านบทความได (P)

นำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ใน สามารถนำไปใช้ วิธีการแยกสารเนื้อผสม
ในชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวันได ้ ประโยชน์ใน สามารถนำไปใช้

ได ้ ชีวิตประจำวันได ้ ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวันได ้

9


เกณฑ์การประเมิน

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน

ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)



3.ด้านคุณลักษณะอัน -สังเกตพฤติกรรม ตั้งใจเรียนและให้ความ ตั้งใจเรียนและให้ความ ไมตั้งใจเรียนและไมให้
พึงประสงค ์ ในคาบเรียน ร่วมมือในการทำ ร่วมมือในการทำ ความร่วมมือในการทำ
( A ) -สร้างแบบ กิจกรรมต่างๆ ตั้งใจ กิจกรรมต่าง ๆแต่ไม ่ กิจกรรมต่างๆ ไมตั้งใจ

-นักเรียนให้ความ ประเมิน ทำงานที่ได้รับมอบหมาย ตั้งใจทำงานที่ได้รับ ทำงานที่ได้รับมอบหมาย

ร่วมมือในการทำ คุณลักษณะอันพึง มอบหมาย

กิจกรรม (A) ประสงค ์

10

สมรรถนะ เกณฑ์การประเมิน
สำคัญของ วิธีการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)
ผู้เรียน

1.ความสามารถ การวิเคราะห์ข้อมูล สามารถวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์ สามารถวิเคราะห์

ในการคิดอย่าง จากบทความและ ข้อมูลจากบทความ ข้อมูลจาก ข้อมูลจากบทความ

มีวิจารณญาณ บอกประโยชน์ของ และบอกประโยชน์ บทความและบอก และบอกประโยชน์

วิธีการแยกสารเพื่อ ของวิธีการแยกสาร ประโยชน์ของ ของวิธีการแยกสาร

นำไปใช้ใน เพื่อนำไปใช้ใน วิธีการแยกสาร เพื่อนำไปใช้ใน

ชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวันได ้ เพื่อนำไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได ้

ด้วยตนเอง ชีวิตประจำวันได ้ บ้างแม้ว่าจะได ้


ถูกต้องโดยอาศัย รับคำชี้แนะจากครู
การชี้แนะจากครู หรือผู้อื่น


หรือผู้อื่น




คุณลักษณะอัน เกณฑ์การประเมิน
พึงประสงค ์ วิธีการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)


1.มุ่งมั่นในการ ตอบคำถามจาก สามารถตอบ สามารถตอบคำถาม ไมสามารถตอบ
ทำงาน แบบฝึกกิจกรรม คำถามจากแบบฝึก จากแบบฝึก คำถามจากแบบฝึก

ท้ายบท กิจกรรมท้ายบทได ้ กิจกรรมท้ายบทได ้ กิจกรรมท้ายบทได ้

ถูกต้องครบถ้วนทุก ถูกต้องครบถ้วนทุก ถูกต้องครบถ้วนทุก

ข้อด้วยตนเอง ข้อแต่ต้องได้รับการ ข้อถึงแม้จะได้รับ

ชี้แนะจากครูหรือ การชี้แนะจากครู
ผู้อื่น หรือผู้อื่น

11

แบบสังเกตพฤติกรรมและบันทึกคะแนนในชั้นเรียน


จุดประสงค์การ สมรรถนะสำคัญของ คุณลักษณะอันพึง

เรียนรู้ ผู้เรียน ประสงค ์

รายชื่อนักเรียน K P A ความสามารถในการใช้ ใฝ่รู้ใฝ่เรียน(3)

(4) (4) (4) ทักษะชีวิต (3)

12

แบบบันทึกหลังการสอน


ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ปัญหา

ป.6/1 ในการอ่านบทความและตอบคำถาม -สไลด์ประกอบการสอน -ปรับสไลด์ให้เหมาะสม เพราะ

ป.6/4 เรื่องการทำน้ำตาลปึก นักเรียน ใช้ขนาดตัวอักษรเล็ก นักเรียนบางคนอาจจะใช้อุปกรณ ์

สามารถตอบคำถามได้จากการอ่าน ในการเรียนไม่เหมือนกัน ต้อง
-นักเรียนไม่รู้จักจั่นมะพร้าว
นักเรียนบอกประโยชน์ของวิธีการ คำนึงถึงข้อจำกัดในส่วนนี้เสมอ

แยกสารได้อย่างเหมาะสมผ่าน -คาบการสอน 50 นาที -อาจนำคลิปการทำสั้นๆให้

Padlet เป็นไปตามแผน แต่เนื่องจาก นักเรียนได้เห็นกระบวนการใน
การออนไลน์ควรให้นักเรียน การทำน้ำตาลปึก
ในการควบคุมชั้นเรียนในคาบนี้ ได้มีเวลาพัก 5 นาที ก่อน

สามารถควบคุมนักเรียนได้ดีขึ้น -ปรับแผนและกิจกรรมเผื่อเวลา
เข้าเรียนในวิชาถัดไป ให้นักเรียนได้พักประมาณ 5 –
การเรียนการสอนเป็นไปตามเวลาที่

กำหนด 10 นาที




























ผู้สอน นางสาวธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์


(นางสาวธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์)























































แบบประเมินโครงการกิจกรรมเสริมหลกสูตร ฝศ. ๐๖

ศูนย์ปฏิบัติการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศกษาศาสตร์

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์

ร ตน ว ส ทธ
ชื่อนสิต (นาย/นางสาว)…………………….....................………………นามสกุล………………....………………………………
นางต ว ธ ดา
ค งคะ


รายการที่ประเมิน ประเมินครั้งที่ ๑ ประเมินครั้งที่ ๒ ประเมินครั้งที่ ๓ ประเมินครั้งที่ ๔
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑

๑. ความรับผิดชอบในหน้าที่ 1 / ป ✓

๒. ความคิดสร้างสรรค์ในการ
ทํางาน ✓ / ✓ ✓



๓. ความตั้งใจในการทํางาน r / ✓ ✓


๔. ความสามารถในการทํางาน /
ร่วมกับผู้อื่น r ✓ ✓
๕. ความคิดเชิงเหตุผลเพื่อการ
แก้ปัญหา r r v v


๖. พื้นฐานความรู้เกยวกบงานที่ทํา r / ✓ r

ี่


๗. ความเป็นระบบในการทํางาน r / ✓ ✓


ผลการประเมินโครงการกิจกรรม
เสริมหลักสูตร (เฉลี่ย)
วัน/เดือน/ปี ที่ประเมิน ......./......../........ ......./......../........ ......./......../........ ......./......../........

ความคิดเห็นเพิ่มเติม………………………......................………………………………………………..………………………………
-
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ธ ต ต
สาว

ลงชื่อ……………………………………………….ผู้ประเมิน
ว ส ทธ
(………………………….…………….…..)
นาง สาว ธ ต ตน ด ง คะ
นสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ



หมายเหต: ๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = ปานกลาง ๑= ต้องปรับปรุง




แบบประเมินแฟมสะสมงาน (Portfolio) ฝศ. ๐๗

ศูนยปฏิบัตการฝกประสบการณวิชาชีพศึกษาศาสตร 

คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 


คังคะวิสทธ�
ธดารตน์




ชื่อนสิต (นาย/นางสาว)…………………….....................………………นามสกุล………………....………………………………
ความเกี่ยวของกับผูรับการประเมิน  อาจารยนิเทศก  อาจารยพี่เลี้ยง  เพื่อนนิสิต  นิสิต
ระดับการประเมิน
รายการที่ประเมิน
๒ ๑ ๐
๑. องคประกอบของแฟมสะสมงาน
๒. การเขียนสะทอนความคิด
๓. ความคิดสรางสรรค
๔. ความตั้งใจ / ความเปนระเบียบเรียบรอย

๕. คุณภาพของผลงานโดยรวม

ความคิดเห็นเพิ่มเติม………………………......................………………………………………………..………………………………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................


ลงนามผูประเมิน…………………………………………..…….

นางสาวสพิตา ไข่แก้ว
(…………………………………………….…..)
/20 ต.ค. 64
................./..................../..................
เกณฑการประเมิน
หัวขอ ๑/ ๒ หมายถึง มีองคประกอบของแฟมสะสมงานครบถวน
๑ หมายถึง ขาดองคประกอบของแฟมสะสมงาน ๑ – ๓ รายการ
๐ หมายถึง ขาดองคประกอบของแฟมสะสมงานมากกวา ๓ รายการ
หัวขอ ๒/ ๒ หมายถึง เขียนสะทอนความคิดที่แสดงถงการวิเคราะหและสังเคราะหงานไดอยางชัดเจน

๑ หมายถึง ขาดความชัดเจนบางอยางในการเขียนสะทอนความคิด
๐ หมายถึง ไมไดแสดงถึงการวิเคราะห สงเคราะห และสรุปใจความในการเขียนสะทอนความคิด

หัวขอ ๓/ ๒ หมายถึง แสดงใหเห็นถึงความคิดสรางสรรคในการสรางแฟมสะสมงานอยางโดดเดนเปน
เอกลักษณเฉพาะบุคคล
๑ หมายถึง มีความสรางสรรคในการสรางแฟมสะสมงานในระดับปานกลาง ขาดความโดดเดน
หรือเปนเอกลักษณเฉพาะบุคคล
๐ หมายถึง มีความสรางสรรคในการสรางแฟมสะสมงานนอยมาก หรือไมมี

หัวขอ ๔/ ๒ หมายถึง มีความตั้งใจในการทํางาน ชิ้นงานมีความประณีต เปนระเบียบเรียบรอย
๑ หมายถึง มีความตั้งใจในการทํางาน แตชิ้นงานบางอยางยังมีความผิดพลาด ไมเรียบรอย
๐ หมายถึง ไมมีความตั้งใจในการทํางาน ไมมีความเปนระเบียบเรียบรอย ชิ้นงานมีความผิดพลาดมาก

หัวขอ ๕/ ๒ หมายถึง โดยภาพรวมแฟมสะสมงานมีคุณภาพในระดับดีถึงดีมาก
๑ หมายถึง โดยภาพรวมแฟมสะสมงานมีคุณภาพในระดับปานกลาง
๐ หมายถึง โดยภาพรวมแฟมสะสมงานมีคุณภาพในระดับนอยถึงนอยมาก

แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ฝศ. ๐๗
ศูนย์ปฏิบัตการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศึกษาศาสตร ์

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ธ คร ตน คง ส ท
คอ
ชื่อนสิต (นาย/นางสาว)…………………….....................………………นามสกุล………………....………………………………

ee
ความเกี่ยวข้องกับผู้รับการประเมิน … อาจารย์นิเทศก์ … อาจารย์พี่เลี้ยง … เพื่อนนิสิต … นิสิต

ระดับการประเมิน
รายการที่ประเมิน
๒ ๑ ๐
๑. องค์ประกอบของแฟ้มสะสมงาน ะ
๒. การเขียนสะท้อนความคิด
๓. ความคิดสร้างสรรค์
๔. ความตั้งใจ / ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ะ
๕. คุณภาพของผลงานโดยรวม ✓


ความคิดเห็นเพิ่มเติม………………………......................………………………………………………..………………………………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
สาง

การ ตน
คน
ค ง
ลงนามผู้ประเมิน…………………………………………..…….
ส mร
สาว บ ดาร ตน ค ดซ
(…………………………………………….…..)
64
10
................./..................../..................
22
เกณฑ์การประเมิน
หัวข้อ ๑/ ๒ หมายถึง มีองค์ประกอบของแฟ้มสะสมงานครบถ้วน
๑ หมายถึง ขาดองค์ประกอบของแฟ้มสะสมงาน ๑ – ๓ รายการ
๐ หมายถึง ขาดองค์ประกอบของแฟ้มสะสมงานมากกว่า ๓ รายการ
หัวข้อ ๒/ ๒ หมายถึง เขียนสะท้อนความคดที่แสดงถงการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานได้อย่างชัดเจน


๑ หมายถึง ขาดความชัดเจนบางอย่างในการเขียนสะท้อนความคิด
๐ หมายถึง ไม่ได้แสดงถึงการวิเคราะห์ สงเคราะห์ และสรุปใจความในการเขียนสะท้อนความคิด

หัวข้อ ๓/ ๒ หมายถึง แสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างแฟ้มสะสมงานอย่างโดดเด่นเป็น
เอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
๑ หมายถึง มีความสร้างสรรค์ในการสร้างแฟ้มสะสมงานในระดับปานกลาง ขาดความโดดเด่น
หรือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
๐ หมายถึง มีความสร้างสรรค์ในการสร้างแฟ้มสะสมงานน้อยมาก หรือไม่มี
หัวข้อ ๔/ ๒ หมายถึง มีความตั้งใจในการทํางาน ชิ้นงานมีความประณีต เป็นระเบียบเรียบร้อย
๑ หมายถึง มีความตั้งใจในการทํางาน แต่ชิ้นงานบางอย่างยังมีความผิดพลาด ไม่เรียบร้อย
๐ หมายถึง ไม่มีความตั้งใจในการทํางาน ไม่มีความเปนระเบียบเรียบร้อย ชิ้นงานมีความผิดพลาดมาก

หัวข้อ ๕/ ๒ หมายถึง โดยภาพรวมแฟ้มสะสมงานมีคุณภาพในระดับดีถึงดีมาก
๑ หมายถึง โดยภาพรวมแฟ้มสะสมงานมีคุณภาพในระดับปานกลาง
๐ หมายถึง โดยภาพรวมแฟ้มสะสมงานมีคุณภาพในระดับน้อยถึงน้อยมาก

แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน (Portfolio) ฝศ. ๐๗
ศูนย์ปฏิบัตการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศึกษาศาสตร ์

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ชื่อนสิต (นาย/นางสาว)…………………….....................………………นามสกุล………………....………………………………


ความเกี่ยวข้องกับผู้รับการประเมิน … อาจารย์นิเทศก์ … อาจารย์พี่เลี้ยง … เพื่อนนิสิต … นิสิต

ระดับการประเมิน
รายการที่ประเมิน ๒ ๑ ๐


๑. องค์ประกอบของแฟ้มสะสมงาน ะ
๒. การเขียนสะท้อนความคิด
๓. ความคิดสร้างสรรค์
๔. ความตั้งใจ / ความเป็นระเบียบเรียบร้อย ร
๕. คุณภาพของผลงานโดยรวม


ความคิดเห็นเพิ่มเติม………………………......................………………………………………………..………………………………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ว ทย เช อ
ลงนามผู้ประเมิน…………………………………………..…….
พ ช
จน
เช อ
(…………………………………………….…..)
นายรน ทย
น ช
................./..................../..................
64
22
M
. ค .
เกณฑ์การประเมิน
หัวข้อ ๑/ ๒ หมายถึง มีองค์ประกอบของแฟ้มสะสมงานครบถ้วน
๑ หมายถึง ขาดองค์ประกอบของแฟ้มสะสมงาน ๑ – ๓ รายการ
๐ หมายถึง ขาดองค์ประกอบของแฟ้มสะสมงานมากกว่า ๓ รายการ
หัวข้อ ๒/ ๒ หมายถึง เขียนสะท้อนความคดที่แสดงถงการวิเคราะห์และสังเคราะห์งานได้อย่างชัดเจน


๑ หมายถึง ขาดความชัดเจนบางอย่างในการเขียนสะท้อนความคิด
๐ หมายถึง ไม่ได้แสดงถึงการวิเคราะห์ สงเคราะห์ และสรุปใจความในการเขียนสะท้อนความคิด

หัวข้อ ๓/ ๒ หมายถึง แสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างแฟ้มสะสมงานอย่างโดดเด่นเป็น
เอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
๑ หมายถึง มีความสร้างสรรค์ในการสร้างแฟ้มสะสมงานในระดับปานกลาง ขาดความโดดเด่น
หรือเป็นเอกลักษณ์เฉพาะบุคคล
๐ หมายถึง มีความสร้างสรรค์ในการสร้างแฟ้มสะสมงานน้อยมาก หรือไม่มี
หัวข้อ ๔/ ๒ หมายถึง มีความตั้งใจในการทํางาน ชิ้นงานมีความประณีต เป็นระเบียบเรียบร้อย
๑ หมายถึง มีความตั้งใจในการทํางาน แต่ชิ้นงานบางอย่างยังมีความผิดพลาด ไม่เรียบร้อย
๐ หมายถึง ไม่มีความตั้งใจในการทํางาน ไม่มีความเปนระเบียบเรียบร้อย ชิ้นงานมีความผิดพลาดมาก

หัวข้อ ๕/ ๒ หมายถึง โดยภาพรวมแฟ้มสะสมงานมีคุณภาพในระดับดีถึงดีมาก
๑ หมายถึง โดยภาพรวมแฟ้มสะสมงานมีคุณภาพในระดับปานกลาง
๐ หมายถึง โดยภาพรวมแฟ้มสะสมงานมีคุณภาพในระดับน้อยถึงน้อยมาก



แบบประเมินงานประจําชั้น/งานที่ปรึกษากิจกรรม ฝศ. ๐๘
ศูนย์ปฏิบัติการฝึกประสบการณ์วิชาชีพศกษาศาสตร์

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์

ร ตน ว ส ทธ
นาง ต ว ธ ดา
ค ง คะ
ชื่อนสิต (นาย/นางสาว)…………………….....................………………นามสกุล………………....………………………………


รายการที่ประเมิน ประเมินครั้งที่ ๑ ประเมินครั้งที่ ๒ ประเมินครั้งที่ ๓ ประเมินครั้งที่ ๔
๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑ ๔ ๓ ๒ ๑



๑. การดูแลเอาใจใส่นักเรยน r r r ✓


๒. การให้คําปรึกษาและแนะนํา /

นักเรยน / / ✓

๓. การจัดกิจกรรมให้นักเรียน เช่น
การสนทนายามเช้า การโฮมรูม / / / ✓
๔. การสร้างความสัมพันธ์กับ
นักเรยน / / / r




๕. การแก้ปัญหาในการปฏิบัติงาน / / ✓ ✓
๖. การเข้าร่วมกิจกรรมของ /

ห้องเรยน/ระดับชั้นโรงเรยน / ✓ ✓


๗. บุคลิกภาพเหมาะสมกับความ
เป็นครู (การแต่งกาย การตรงต่อ
เวลา การใช้คําพูด การวางตน r / ✓
ฯลฯ) r
ผลการประเมินงานประจําชั้น/
งานที่ปรึกษากิจกรรม (เฉลี่ย) ✓
วัน/เดือน/ปี ที่ประเมิน ......./......../........ ......./......../........ ......./......../........ ......./......../........
ราย 64
ต . ค
18
15
4.
6
21
4
ก ก
ส.ค 64
6
6
.

ความคิดเห็นเพิ่มเติม………………………......................………………………………………………..………………………………
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ว ส ทธ
ธ ดาร ตน
ค งคะ
ลงชื่อ……………………………………………….ผู้ประเมิน
ว ส ทธ
นางสาวธ ดาร ตน ภ งคะ
(………………………….…………….…..)
นสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพฯ


หมายเหต: ๔ = ดีมาก ๓ = ดี ๒ = ปานกลาง ๑= ต้องปรับปรุง






ยนดตอนรบ























































ป.6/1


































Click to View FlipBook Version