The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thidarat.kan, 2021-10-22 04:32:19

แฟมสะสมผลงานฝกประสบการณการสอน

1





แผนจัดการเรียนรู้ที่ 12-13 (Online)
กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

ี่
ชั้นประถมศึกษาปีท 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หินและซากดึกดำบรรพ์ วันที่ 13 กรกฎาคม 2564

เวลาเรียน 2 คาบ ( 100 นาที) เรื่อง หิน วัฏจักรหินและซากดึกดำบรรพ์

ผู้สอน นางสาวธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์

1. สาระการเรียนรู้

สาระที่ 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

2. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการ

เปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและ

ภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม


3. ตัวชวัด
ี้

ว3.2 ป.6 / 1 เปรียบเทียบกระบวนการเกิดหินอัคนี หินตะกอน และหินแปร และ

อธิบายวัฏจักรหินจากแบบจําลอง


4. จุดประสงค์การเรียนรู้


1. นักเรียนสามารถอธิบายองค์ประกอบของหินแต่ละประเภทได้ (K)


2. นักเรียนจำแนกองค์ประกอบของหินแต่ละประเภทได้ (P)


3. นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม (A)


5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์


1. มุ่งมั่นในการทำงาน


6. สมรรถนะที่สำคัญ


1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

2

7.สาระการเรียนรู้แกนกลาง


หินเป็นวัสดุแข็ง เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติประกอบด้วยแร่ตั้งแต่หนึ่งชนิดขึ้นไป สามารถจําแนกหิน

ตาม กระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภทไดแก่ หินอัคนีหินตะกอน และหินแปร หินอัคนีเกิดจากการเย็นตัวของ

แมกมา เนื้อหินมีลักษณะเป็นผลึกทั้งผลึก ขนาดใหญ่และขนาดเล็ก บางชนิดอาจเป็นเนื้อแก้วหรือมีรูพรุน หิน

ตะกอน เกิดจากการทับถมของตะกอน เมื่อถูกแรงกดทับและมีสารเชื่อมประสานจึงเกิดเป็นหิน เนื้อหิน กลุ่มนี้

ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นเม็ดตะกอน มีทั้งเนื้อหยาบและเนื้อละเอียด บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่ยึดเกาะกัน เกิด


จากการตกผลึกหรือตกตะกอนจากน้ำโดยเฉพาะน้ำทะเล บางชนิดมีลักษณะเป็นชั้น ๆ จึงเรียกอกชื่อว่า หินชั้น
หินแปร เกิดจากการแปรสภาพของหินเดิมซึ่งอาจเป็นหินอัคนีหินตะกอน หรือหินแปร โดยการกระทําของ

ความร้อน ความดัน และปฏิกิริยาเคมีเนื้อหินของหินแปรบางชนิดผลึกของแร่เรียงตัวขนานกันเป็นแถบ บาง

ชนิด แซะออกเป็นแผ่นได้บางชนิดเป็นเนื้อผลึกที่มีความแข็งมาก


8.สาระสำคัญ


หินส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ที่รวมตัวกันสามารถจำแนกหินตามกระบวนการเกิดได้เป็น 3 ประเภท


ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอนและหินแปร หินแต่ละประเภทมีการเปลี่ยนแปลงไปมาโดยมีกระบวนการ

เปลี่ยนแปลงเป็นแบบรูปและต่อเนื่องเป็นวัฏจักรหินและแร่แต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติที่แตกต่างกันจึง

นำมาใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกันในหินตะกอนอาจพบซากดึกดำบรรพที่ใช้เป็นหลักฐานในการศึกษา

สภาพแวดล้อมในอดีตของพื้นที่หนึ่ง ๆ ได้

3



9.กระบวนการจัดการเรียนรู้


9.1 ขั้นนำ ( 15 นาที )


9.1.1 ครูสร้างความสนใจโดยเปิดคลิป 3 คลิป ให้นักเรียนชมและใช้คำถาม ถามนักเรียนดังนี้


คลิปที่ 1 (93) ความร้เรื่อง หิน - วิทยาศาสตร์รอบตัว - SciMath Family - YouTube























คำถามที่1 นักเรียนรู้หรือไม่ว่าหินคืออะไรและจำแนกประเภทหินได้อย่างไร


(แนวคำตอบ หินเป็นของแข็งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยทั่วไปมีแร่เป็นองค์ประกอบ


นักวิทยาศาสตร์จำแนกหินตามลักษณะการเกิดได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ หินอัคนี หินตะกอน



และหินแปร)


คลิปที่ 2 (93) วิทยาศาสตร์ ป.6 : กระบวนการเกิดหินและวัฏจักรหิน - YouTube

4



คำถามที่2 วัฏจักรหินเป็นอย่างไร


(แนวคำตอบ วัฏจักรหินเป็นการเปลี่ยนแปลงของหินทั้งสามประเภท ได้แก่ หินอัคนี หิน


ตะกอนและหินแปร โดยมีการเปลี่ยนแปลงจากหินประเภทหนึ่งไปเป็นหินประเภทหนึ่งและ


เปลี่ยนแปลงกลับไปเป็นหินประเภทเดิม โดยผ่านกระบวนการทางธรณีวิทยาต่างๆ ซึ่งมี


กระบวนการเปลี่ยนแปลงคงที่เป็นแบบรูปและต่อเนื่องเป็นวัฏจักรหิน)


คลิปที่ 3 (93) ประโยชน์ของหิน - วิทยาศาสตร์ ป.6 - YouTube



























คำถามที่3 หินและแร่นำไปใช้ประโยชน์ในด้านใดบ้าง

(แนวคำตอบ ในอดีตมนุษย์ใช้หินทำขวานหินสำหรับใช้ล่าสัตว์และป้องกันตัว ปัจจุบันมนุษย์


ใช้เทคโนโลยีในการแปรรูปหินและแร่มาเป็นวัตถุหรือเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆเช่น นำมาทำเป็น


ส่วนผสมของเครื่องสำอาง นำมาทำเลนส์ กระจก ซีเมนต์)

9.1.2 ครูนำนักเรียนเข้าสู่กิจกรรม Rocks & Minerals ( องค์ประกอบของหินมีอะไรบ้าง )


9.2 ขั้นกิจกรรม ( 75 นาที )


9.2.1 ครูอธิบายคู่มือการเล่นเกม Roks & Minerals



- 1 -

คูมือการเลนเกม















1. ผูเลนเกม

ผูเลนเกมนี้ประกอบดวย
- ผูควบคุมเกม 1 คน

- ผูเลน อาจเลนเปนรายกลุมหรือรายคน

2. สวนประกอบของเกม

2.1 สำหรับผูเลนเกม
2.1.1 การด Rocks & Minerals ผูเลนรายกลุมหรือรายคนจะไดการดนี้ กลุมละหรือคนละ 1 ใบ

























































การด Rocks & Minerals

- 2 -





2.1.2 ภาพองคประกอบของหิน จำนวน 15 ภาพ ไดแก ภาพองคประกอบของหินแกรนิต หินไดออไรต หินบะซอลต
หินพัมมิซ หินออบซิเดียน หินกรวดมน หินทราย หินดินดาน หินทรายแปง หินปูน หินไนส หินชนวน หินฟลไลต
หินออน และหินควอรตไซต ผูเลนรายกลุมหรือรายคนจะไดภาพองคประกอบของหิน กลุมละหรือคนละ

จำนวน 15 ภาพ ดังภาพดานลาง





















































ภาพองคประกอบของหิน จำนวน 15 ภาพ

- 3 -
- 3 -




2.1.3 วัตถุแทนเบี้ย เชน เหรียญ กระดุม เม็ดกรวดหรือเศษหินขนาดเล็ก ผูเลนรายกลุมหรือรายคนจะไดวัตถุแทนเบี้ย
กลุมละหรือคนละ จำนวน 16 อัน



2.2 สำหรับผูควบคุมเกม
2.2.1 ภาพแร แกวภูเขาไฟ และเศษหิน สำหรับใชในการสุม ผูควบคุมเกมจะไดภาพนี้ จำนวน 16 ภาพ ดังนี้

1. แรสีเขมบางชนิด จำนวน 1 ภาพ
2. แกวภูเขาไฟ จำนวน 1 ภาพ
3. แรแคลไซต จำนวน 1 ภาพ

4. เศษหิน จำนวน 1 ภาพ
5. แรไมกา จำนวน 2 ภาพ

6. แรเฟลดสปาร จำนวน 3 ภาพ
7. แรดิน จำนวน 3 ภาพ
8. แรควอตซ จำนวน 4 ภาพ

รวม จำนวน 16 ภาพ


















































ภาพแร แกวภูเขาไฟ และเศษหิน จำนวน 16 ภาพ

- 4 -




3. การจัดเตรียมสวนประกอบของเกม

3.1 ตัดการด Rocks & Minerals ที่อยูในหนา 8 โดยจัดเตรียม 1 ใบตอกลุมหรือตอคน
3.2 ตัดภาพองคประกอบของหิน ที่อยูในหนา 9-10 ตามรอยประ โดยจัดเตรียม 1 ชุด (15 ภาพ) ตอกลุมหรือตอคน

และจัดแตละชุดใสซองแยกไว
3.3 ตัดภาพแร แกวภูเขาไฟ และเศษหิน ที่อยูในหนา 11 ตามรอยประ โดยจัดเตรียม 1 ชุด (16 ภาพ) และใสลงใน
ภาชนะที่มีฝาปดสำหรับใหผูควบคุมเกมใชสุมหยิบ


4. การเลนเกม

4.1 กอนการเลนเกม
4.1.1 สังเกตการด Rocks & Minerals ที่ประกอบไปดวยตาราง 16 ชอง


4.1.2 สงเกตภาพองคประกอบของหิน จำนวน 15 ภาพ ซึ่งแตละภาพประกอบดวยชื่อหิน ชื่อและรูปของ
องคประกอบของหินนั้น
4.2 ขั้นตอนการเลนเกม และกติกาการเลนเกม

รวมกันศึกษาขั้นตอนและกติกาการเลนเกมดังนี้
4.2.1 ผูเลนนำการด Rocks & Minerals วางไวบนโตะ

4.2.2 ผูเลนเลือกภาพองคประกอบของหิน จากภาพที่มีอยู จำนวน 15 ภาพ มาวางลงในการด Rocks & Minerals
ใหครบ 16 ชอง ดังตัวอยางภาพดานลาง (การวางภาพองคประกอบของหินในการด Rocks & Minerals

สามารถวางตะแคงขางหรือวางกลับหัวได ) และภาพองคประกอบของหินที่เหลือใหแยกไว โดยวางไวขาง ๆ
การด Rocks & Minerals หรือแยกใสซองไว ซึ่งภาพองคประกอบของหินทั้งหมด 15 ภาพ จะถูกนำมาใช 
ในการบันทึกผลการทำกิจกรรมหลังจากจบการเลนเกมแลว









































ตัวอยางการวางภาพองคประกอบของหินลงในการด Rocks & Minerals

- 5 -




4.2.3 ผูควบคุมเกมสุมหยิบภาพแร แกวภูเขาไฟ และเศษหิน ขึ้นมาครั้งละจำนวน 1 ภาพ แลวอานชื่อ

องคประกอบของหินที่สุมขึ้นมาดัง ๆ และนำภาพที่สุมและประกาศแลวแยกใสภาชนะไวอีกใบ (เพื่อไมให
ปะปนกับภาพที่ยังไมไดสุม)

4.2.4 ผูเลนฟงชื่อองคประกอบของหินที่ผูควบคุมเกมประกาศ และพิจารณาดูวามีชื่อที่ประกาศอยูในการด
Rocks & Minerals ของกลุมหรือของตนเองหรือไม ถามีใหนำวัตถุแทนเบี้ย จำนวน 1 อัน วางไวบนภาพ
ชื่อองคประกอบของหินนั้นดังภาพดานลาง โดยไมสามารถเปลี่ยนตำแหนงการวางวัตถุแทนเบี้ยไดจนจบเกม

(ถาในการด Rocks & Minerals มีองคประกอบของหินซ้ำกัน เชน มีแรควอตซอยู 2 ตำแหนง ใหผูเลน
วางวัตถุแทนเบี้ยลงในตำแหนงแรควอตซไดเพียง 1 ตำแหนง ตอการประกาศ 1 ครั้งเทานั้น ดังตัวอยางภาพ

ดานลาง)





















































คือ ตำแหนงที่วางวัตถุแทนเบี้ย

- 6 -




4.2.5 ผูควบคุมเกมและผูเลนเกม เลนเกมตามขอ 4.2.3 และ 4.2.4 ตอไปจนกระทั่งมีผูเลนกลุมใดกลุมหนึ่ง

หรือคนใดคนหนึ่ง วางวัตถุแทนเบี้ยในการด Rocks & Minerals ไดครบจำนวน 3 หิน (ซึ่งแตละหินตองวาง
วัตถุแทนเบี้ยลงบนองคประกอบของหินไดครบถวน) ดังตัวอยางภาพดานลาง ซึ่งผูเลนเกมดังกลาวจะเปนผูชนะ

(ถามีผูเลนที่ชนะพรอมกันมากกวา 1 กลุมหรือมากกวา 1 คน ใหตัดสินผูชนะจากการนับจำนวนวัตถุแทนเบี้ย
ที่วางอยูบนองคประกอบของหินทั้ง 3 ชนิด ถาจำนวนวัตถุแทนเบี้ยของผูเลนใดมีจำนวนมากที่สุดถือเปน
ผูชนะ หรือถามีผูเลนที่ชนะพรอมกันมากกวา 1 กลุมหรือมากกวา 1 คน ถือเปนการชนะรวมกัน)










2




1


1


2




3 3







ตัวอยางการวางวัตถุแทนเบี้ยไดครบ จำนวน 3 หิน




4.2.6 หลังจากมีผูเลนเกมชนะแลว ผูเลนที่เหลือสามารถเลนเกมตอเพื่อหาผูชนะในลำดับถัดไป หรือเลนจน
ภาพแร แกวภูเขาไฟ และเศษหิน จำนวน 16 ภาพ ถูกประกาศจนหมด

4.2.7 เมื่อจบเกม ใหผูเลนเกมพิจารณาขอมูลองคประกอบของหินของหินทุกชนิด (รวม 15 ชนิด) ที่วางอยูบนการด
Rocks & Minerals และที่วางไวขาง ๆ การด Rocks & Minerals หรือที่แยกใสซองไวในชวงแรก และ

นำขอมูลองคประกอบของหินของหินทุกชนิด ไปบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรมใหถูกตอง

- 7 -





































หนาที่ 8 - 11


สวนสำหรับพิมพเพื่อใชเลนเกม

- 8 -





การด Rocks & Minerals (จัดเตรียม 1 ใบ ตอกลุมหรือตอคน)

- 9 -




ภาพองคประกอบของหิน จำนวน 15 ภาพ (จัดเตรียม 1 ชุด ซึ่งมี 15 ภาพ ตอกลุมหรือตอคน

และจัดแตละชุดใสซองแยกไว)

- 10 -





ภาพองคประกอบของหิน จำนวน 15 ภาพ (ตอ)

- 11 -





ภาพแร แกวภูเขาไฟ และเศษหิน จำนวน 16 ภาพ (จัดเตรียม 1 ชุด ซึ่งมี 16 ภาพ และใสลง

ในภาชนะที่มีฝาปด สำหรับใหผูควบคุมเกมใชสุมหยิบ)

5



9.3 ขั้นสรุป (10 นาที)


9.3.1 ครูอภิปรายผลการทำกิจกรรม Rocks & Minerals โดยใช้คำถามดังต่อไปนี้


1) ลักษณะเนื้อหินทั้งสามประเภท ได้แก่ หินอัคนีหินตะกอนและหินแปรมีลักษณะคล้ายคลึง


หรือ แตกต่างกันอย่างไร


(แนวคำตอบ เนื้อหินทั้งสามประเภทมีลักษณะทั้งที่คล้ายคลึงกันและแตกต่างกันดังนี้เนื้อหินที่มี


ลักษณะคล้ายคลึงกันเช่นมีเนื้อละเอียดหรือมีเนื้อหยาบคล้ายคลึงกันเนื้อหินที่มีลักษณะ


แตกต่างกันเช่นบางก้อนมีเนื้อแก้วบางก้อนมีรูพรุนบางกอนมีลักษณะเป็นชั้น ๆ บางก้อนมีผลึก


แร่เรียงตัว ขนานกันเป็นแถบบางก้อนเนื้อหินเป็นเม็ตตะกอนบางก้อนประกอบด้วยวัสดุแข็งที่มีสี



จำนวน 1 สีหรือบางกอนประกอบด้วยวัสดุแข็งที่มีสีจำนวนมากกว่า 1 สี)

2) องค์ประกอบของหินจากที่สังเกตได้แตกต่างจากที่ได้จากการเล่มเกมหรือไม่อย่างไร


ี่
(แนวคำตอบองค์ประกอบของหินจากที่สังเกตได้อาจแตกต่างจากทได้จากการเล่นเกมเพราะ


ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตหินอาจไม่ละเอยดหรือไม่ซัตเซนเท่ากับที่ได้จากการเล่มเกมข้อมูลจาก

การเล่นเกม จะทำให้ทราบองค์ประกอบของหินแต่ละกอนอย่างละเอยดว่าหินบางก้อน



ประกอบด้วยแร่บางก้อนประกอบด้วยแก้วภูเขาไฟและบางกอนอาจมีเศษหินปะปนอยู่ในหินและ


หินบางก้อนที่ประกอบด้วย


แร่ก็จะทำให้ทราบชื่อแร่ที่เป็นองค์ประกอบของหิน)

6



9.3.2 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนชักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับองค์ประกอบของหินจากนั้น


ร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าหินส่วนใหญ่ประกอบด้วยแร่ตั้งแต่ 1 ชนิตขึ้นไปหินบางชนิดมี


องค์ประกอบเป็นแก้วภูเขาไฟและบางชนิดมีเศษหินเป็นองค์ประกอบ


9.3.3 นักเรียนตอบคำถามในฉันรู้อะไรและร่วมกันอภิปรายเพอให้ใต้แนวคำตอบที่ถูกต้อง
ื่

10. วัสดุอุปกรณ์


-การด Rocks & Minerals


11. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้


- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และ

ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

- สไลด์ประกอบการสอน


- การ์ดเกม rocks & minerals

7



12. การวัดและประเมินผล


จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล

1.ด้านความรู้ ( K ) -การตอบคำถาม -คำถามในบฝ. 3 คือ นักเรียนอธิบายองค์ประกอบ

-นักเรียนสามารถอธิบาย และร่วมกิจกรรม ฉันรู้อะไร ของหินได้อย่างถูกต้องทุกประเภท

องค์ประกอบของหินแต่ Rocks & -แบบบันทึก 2 คือ นักเรียนอธิบายองค์ประกอบ

ละประเภทได้ (K) Minerals กิจกรรมที่1.1 ของหินได้อย่างถูกต้อง 2 ประเภท

องค์ประกอบ 1 คือ นักเรียนอธิบายองค์ประกอบ

ของหินมี ของหินได้อย่างถูกต้อง 1 ประเภท

อะไรบ้าง 0 คือ นักเรียนไม่สามารถอธิบาย

องค์ประกอบของหินได้อย่างถูกต้อง


2.ด้านทักษะ / -การตอบคำถาม -แบบบันทึก 3 คือ คือ นักเรียนจำแนกองค์ประกอบ

สมรรถนะที่สำคัญของ และร่วมกิจกรรม กิจกรรมที่1.1 ของหินได้อย่างถูกต้องทุกประเภท

ผู้เรียน ( P ) Rocks & องค์ประกอบ 2 คือ นักเรียนจำแนกองค์ประกอบ

-นักเรียนจำแนก Minerals ของหินมี ของหินได้อย่างถูกต้อง 2 ประเภท

องค์ประกอบของหินแต่ละ -กิจกรรมที่1.1 อะไรบ้าง 1 คือ นักเรียนจำแนกองค์ประกอบ

ประเภทได (P) องค์ประกอบของ ของหินได้อย่างถูกต้อง 1 ประเภท

หินมีอะไรบ้าง 0 คือ นักเรียนไม่สามารถจำแนก

องค์ประกอบของหินได้อย่างถูกต้อง

3.ด้านคุณลักษณะอัน -สังเกตพฤติกรรม -แบบประเมิน 4 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรมอย่าง

พึงประสงค์ ( A ) ในคาบเรียน คุณลักษณะอัน สม่ำเสมอ

-นักเรียนให้ความ -สร้างแบบประเมิน พึงประสงค์ 3 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง

ร่วมมือในการทำ คุณลักษณะอันพึง 1.ตั้งใจเรียนและ 2 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรม2-3ครั้ง

กิจกรรม (A) ประสงค์ ตั้งใจทำงานที่ 1 คือ นักเรียนแสดงพฤติกรรมอย่างน้อย

ได้รับมอบหมาย 1ครั้ง

2. ให้ความ 0 คือ นักเรียนไม่แสดงพฤติกรรม


ร่วมมือในการทำ

กิจกรรมต่าง ๆ

8



สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน



สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์ในการประเมิน


1.ความสามารถในการใช้ -การทำกิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม -ได้คะแนนผ่านเกณฑ ์

เทคโนโลยี “Rocks & และบันทึกคะแนนในชั้น ร้อยละ70
Minerals” เรียน








คุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ วิธีการประเมิน เครื่องมือการประเมิน เกณฑ์ในการประเมิน


1.มุ่งมุ่นในการทำงาน -การทำกิจกรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม -ได้คะแนนผ่านเกณฑ ์


“Rocks & Minerals”
และบันทึกคะแนนใน ร้อยละ70
-กิจกรรมที่1.1
ชั้นเรียน

องค์ประกอบของหินมี


อะไรบ้าง

9



12.ภาคผนวก

เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญผู้เรียน


1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลย ี


ดี (3 คะแนน) มีทักษะการใช้เทคโนโลยีทำให้สามารถทำกิจกรรม “Rocks & Minerals”

สำเร็จลุล่วงได้


ปานกลาง (2 คะแนน) มีทักษะการใช้เทคโนโลยีทำให้สามารถทำกิจกรรม “Rocks & Minerals”


สำเร็จลุล่วงได้แต่ต้องมีผู้สอนช่วยชี้แนะ

ควรปรับปรุง (1คะแนน) ขาดทักษะการใช้เทคโนโลยีทำให้เป็นอุปสรรคในการทำกิจกรรม


“Rocks & Minerals”




เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์


1. มงมั่นในการทำงาน
ุ่

ดี (3 คะแนน) แสดงความตั้งใจในการทำกิจกรรม และให้ความร่วมมือในการทำ

กิจกรรมเป็นอย่างดี


ปานกลาง (2 คะแนน) แสดงความตั้งใจในการทำกิจกรรมไม่ดีเท่าที่ควร และไม่ให้ความร่วมมอ


ในการทำกิจกรรม

ควรปรับปรุง (1 คะแนน) ขาดความตั้งใจในการทำกิจกรรม และไม่ให้ความร่วมมือในการทำ


กิจกรรมเท่าที่ควร

10



แบบสังเกตพฤติกรรมและบนทึกคะแนนในชั้นเรียน


จุดประสงค์การ สมรรถนะสำคัญของ คุณลักษณะอันพึง
เรียนรู้ ผู้เรียน ประสงค์

รายชอนักเรียน K P A ความสามารถในการใช้ มุ่งมั่นในการ
ื่
(4) (4) (4) เทคโนโลย(3) ทำงาน (3)


11



แบบบันทึกหลังการสอน



ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข


ปัญหา


ป.6/1 นักเรียนทำกิจกรรม Rocks & -นักเรียนบางคนไม่ตั้งใจฟัง -ฝึกควบคุมชั้นเรียนเพอให้
ื่
Minarals โดยจุดประสงค์นี้เพื่อให้ เมื่อเริ่มทำกิจกรรมกเลยตาม กิจกรรมดำเนินต่อได้ตาม

นักเรียนสามารถอธิบาย ไม่ทัน ระยะเวลา

องค์ประกอบของหินแต่ละชนิดได้ -การควบคุมนักเรียน -ใช้ประสบการณ์สอบถามครูพ- ี่

โดยสื่อการสอนเป็นการ์ดเกม เนื่องจาก มีนักเรียนบางคน เลี้ยง อ.นิเทศก์หรือเพื่อนๆ เพื่อ
Rocks & Minarals ใช้เวลาเพื่อ ที่มักจะถามรายละเอียดของ หาวิธีที่น่าสนใจในการควบคุมชั้น

เตรียมสื่อให้กับนักเรียนแต่ละคน กิจกรรมก่อนที่ครูจะอธิบาย เรียน และให้เด็กสามารถปฏิบัติ

เพื่อที่จะให้นักเรียนสามารถทำ ทำให้การควบคุมห้องต้องใช้ ตามระเบียบและมีวินัยใน
กิจกรรมได้และบรรลุตาม พลังมากขึ้น ห้องเรียน

จุดประสงค์ โดยใช้เวลาประมาณ1 -นักเรียนบางคนไม่สามารถ -ศึกษาวิธีและหาข้อจำกัดในแต่

ื่

คาบสำหรับการเตรียมความพร้อม เปิดไฟล์ เกม Rocks & ละสื่อการสอน เพอนำมาแกไข
ให้กับนักเรียน และใช้เวลาในการ Mianrals โดยสาเหตุอาจจะ และพฒนาต่อไป

สาธิตให้นักเรียนดูประมาณ10 นาที เป็นเพราะรุ่นของ
นักเรียนลองเล่นการ์ดเกมนี้ได้ microsoft ppt เป็นรุ่นเก่า

ประมาณ 1 รอบ ทำให้นักเรียน หรือว่าบางคนใช้ไอแพด

เข้าใจในวิธีการเล่นเกม และเกมนี้จะ สมาร์ทโฟน ก็จะต้องยอม
เป็นเกมททำให้นักเรียนได้ศึกษา เสียเวลาเพื่อช่วยนักเรียน
ี่
เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของหิน ดาวน์โหลดและสามารถทำ

แต่ละชนิดได้ กิจกรรมนี้ได้















แบบบันทึกหลังการสอน

12



ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข


ปัญหา


ื่
ป.6/4 นักเรียนทำกิจกรรม Rocks & -การควบคุมนักเรียน -ฝึกควบคุมชั้นเรียนเพอให้
Minarals โดยจุดประสงค์นี้เพื่อให้ เนื่องจาก มีนักเรียนบางคน กิจกรรมดำเนินต่อได้ตาม

นักเรียนสามารถอธิบาย ที่มักจะถามรายละเอียดของ ระยะเวลา

องค์ประกอบของหินแต่ละชนิดได้ กิจกรรมก่อนที่ครูจะอธิบาย -ใช้ประสบการณ์สอบถามครูพ- ี่
โดยสื่อการสอนเป็นการ์ดเกม ทำให้การควบคุมห้องต้องใช้ เลี้ยง อ.นิเทศก์หรือเพื่อนๆ เพื่อ

Rocks & Minarals ใช้เวลาเพื่อ พลังมากขึ้น หาวิธีที่น่าสนใจในการควบคุมชั้น

เตรียมสื่อให้กับนักเรียนแต่ละคน -นักเรียนบางคนไม่สามารถ เรียน และให้เด็กสามารถปฏิบัติ
เพื่อที่จะให้นักเรียนสามารถทำ เปิดไฟล์ เกม Rocks & ตามระเบียบและมีวินัยใน

กิจกรรมได้และบรรลุตาม Mianrals โดยสาเหตุอาจจะ ห้องเรียน

จุดประสงค์ โดยใช้เวลาประมาณ1 เป็นเพราะรุ่นของ -ศึกษาวิธีและหาข้อจำกัดในแต่

คาบสำหรับการเตรียมความพร้อม microsoft ppt เป็นรุ่นเก่า ละสื่อการสอน เพอนำมาแกไข
ื่

ให้กับนักเรียน และใช้เวลาในการ หรือว่าบางคนใช้ไอแพด และพฒนาต่อไป
สาธิตให้นักเรียนดูประมาณ10 นาที สมาร์ทโฟน ก็จะต้องยอม
นักเรียนลองเล่นการ์ดเกมนี้ได้ เสียเวลาเพื่อช่วยนักเรียน

ประมาณ 2 รอบ ทำให้นักเรียน ดาวน์โหลดและสามารถทำ

เข้าใจในวิธีการเล่นเกม และเกมนี้จะ กิจกรรมนี้ได้
ี่
เป็นเกมททำให้นักเรียนได้ศึกษา
เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของหิน

แต่ละชนิดได้







ลงชื่อ ธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์ ผู้สอน

( นางสาวธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์ )



1

I8



แผนจัดการเรียนรู้ที่ 33 (Online)
กลุ่มสาระการเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน

ี่
ชั้นประถมศึกษาปีท 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การแยกสารเนื้อผสม วันที่ 20 กันยายน 2564

เวลาเรียน 1 คาบ ( 50 นาที ) เรื่อง การแยกของแข็งในสารเนื้อผสม

ผู้สอน นางสาว ธิดารัตน์ คังคะวิสุทธิ์

1. สาระการเรียนรู้

ี่
สาระท 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
2. มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ

ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคหลักและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะ

ของสสาร การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคม ี


3. ตัวชวัด
ี้
ว 2.1 ป.6/1 อธิบายและเปรียบเทียบการแยกสารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การใช้

แม่เหล็กดึงดูดการรินออก การกรอง และการตกตะกอนโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์รวมทั้งระบุวิธี

แก้ปัญหาในชีวิตประจําวันเกี่ยวกับการแยกสาร


4. จุดประสงค์การเรียนรู้


1. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีแยกของแข็งในสารเนื้อผสมออกจากกันได้ (K)


2. นักเรียนสามารถลงความเห็นข้อมูลจากการสังเกตลักษณะของสารเนื้อผสมได้ (P)


3. นักเรียนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม (A)


5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์


1. มุ่งมั่นในการทำงาน


6. สมรรถนะที่สำคัญ


1. ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

2

7. สาระการเรียนรู้แกนกลาง


สารผสมประกอบด้วยสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปผสมกันเช่น น้ำมันผสมน้ำ ข้าวสารปนกรวดทราย วิธีการที่

เหมาะสมในการแยกสารผสมขึ้นอยู่กับลักษณะและสมบัติของสารที่ผสมกัน ถ้าองค์ประกอบของสารผสมเป็น

ของแข็งกับของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกันอย่างชัดเจน อาจใช้วิธีการหยิบออกหรือการร่อนผ่านวัสดุที่มีรูถ้ามีสารใด

สารหนึ่งเป็นสารแม่เหล็ก อาจใช้วิธีการใช้แม่เหล็กดึงดูด ถ้าองค์ประกอบเป็นของแข็งที่ไม่ละลายในของเหลว อาจ

ใช้วิธีการรินออกการกรองหรือการตกตะกอน ซึ่งวิธีการแยกสารสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจําวันได้


8. สาระสำคัญ


การแยกสารเนื้อผสมซึ่งประกอบด้วยสารอย่างน้อย 2 ชนิดผสมกันโดยเนื้อสารไม่กลมกลืนเป็นอย่าง

เดียวกัน อาจทำได้โดยวิธีการหยิบออก การร่อน การตกตะกอน การเลือกวิธีที่เหมาะสมในการแยกสาร

พิจารณาจากลักษณะและสมบัติของสารที่ผสมกัน การแยกสารสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการแก้ปัญหา


ในชีวิตประจำวันได้


9. กระบวนการจัดการเรียนรู้


9.1 ขั้นนำ ( 10 นาที )


9.1.1 ครูใช้กิจกรรม warm up นักเรียนโดยกิจกรรมมีชื่อว่า “มาหาของกันเถอะ” โดยให้เวลา 20

วินาที เพื่อกระตุ้นนักเรียนให้พร้อมที่จะเข้าสู่บทเรียน สิ่งของที่หามีดังนี้


▪ หาสิ่งของที่เป็นแรงบันดาลใจในการเรียน

▪ หาสิ่งของที่จะต้องใช้เรียนในวันนี้


จากนั้นเราก็จะมาดูสิ่งของที่นักเรียนแต่ละคนหยิบมาเพื่อสร้างความสนใจและดึงดูดเพื่อนนักเรียน

คนอื่นเพื่อทำกิจกรรมร่วมกัน


9.1.2 ครูสุ่มถามนักเรียน 3 – 4 คน โดยให้นักเรียนยกตัวอย่างสิ่งที่เป็นสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม


9.1.3 ครูใช้คำถามกระตุ้นความคิดของนักเรียน ดังนี้ นักเรียนคิดว่าสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม

ต่างกันอย่างไร จากนั้นครูนำภาพ ราเมน เพื่อใช้ในการทำกิจกรรม

3






















9.1.4 ครูตรวจสอบความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสมโดยใช้คำถามดังนี้


▪ นักเรียนคิดว่าตัวเองสามารถแยกเส้นราเมนและหมูออกจากกันได้หรือไม่เพราะเหตุใด


(ตอบตามความเข้าใจของนักเรียน)

▪ นอกจากเส้นราเมนและหมูนักเรียนสามารถแยกอะไรออกจากกันได้อก (แนวคำตอบ ผัก

ไข่ต้ม)

▪ นักเรียนทราบหรือไม่ว่าน้ำซุปมีการปรุงรสด้วยอะไรบ้าง (แนวคำตอบ ผงซุปสำเร็จรูป

เกลือ น้ำตาล ซอส เป็นต้น )

▪ นักเรียนมองเห็นผงปรุงรสเช่น เกลือ น้ำตาล ในน้ำซุปหรือไม่เพราะเหตุใด (แนวคำตอบ

ไม่ได้ เพราะ เกลือและน้ำตาลเกิดการละลายรวมกันในน้ำซุปจนเห็นเป็นเนื้อเดียวกัน)



9.1.5 ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรมที่ 1.1 โดยใช้คำถามว่า จะแยกของแขงในสาร
เนื้อผสมออกจากกันทำได้อย่างไร


9.2 ขั้นกิจกรรม ( 30 นาที )


9.2.1 ครูใช้คำถามกระตุ้นความสงสัยของผู้เรียนดังนี้


▪ นักเรียนคิดว่าเราสามารถใช้ตะแกรงแยกน้ำตาลทรายและเกลือออกจากกันได้หรือไม่

เพราะอะไร (แนวคำตอบ ไม่ได้ค่ะเพราะน้ำตาลทรายและเกลือมีขนาดค่อนข้างใกล้เคียงกัน)


▪ ในการที่เราจะแยกสารใดๆออกจากกันเราพิจารณาจากอะไรบ้าง (แนวคำตอบ ชนิดของสาร

ขนาดของสารที่ต้องการแยกออกจากกัน เป็นต้น)

4




9.2.2 ครูอธิบายลำดับและรายละเอียดการทำกิจกรรมและให้นักเรียนทำไปพร้อมๆกัน ดังนี้


▪ ให้นักเรียนนำข้าวเปลือกที่เตรียมไว้มาตำเบาๆ ให้เปลือกกะเทาะออกจากเมล็ดข้าวสาร

จากนั้นบันทึกผลการสังเกตเนื้อผสมที่ได้ในแบบบันทึกผลการสังเกตลักษณะของสารเนื้อผสม

ที่ได้หลังจากตำข้าวเปลือก (แนวการบันทึก มีสารหลายอย่างปนกัน ได้แก่ เมล็ดข้าวสาร

ี่
เปลือกขาวหรือแกลบ เมล็ดข้าวเปลือกทเหลืออยู่ และเศษชิ้นเล็กๆ)

9.2.3 ถ้าหากต้องการแยกสารผสมดังกล่าวที่ได้จากการตำ นักเรียนคิดว่าสามารถใช้วิธีการแยกอย่างไรได้บ้าง


(แนวคำตอบขึ้นอยู่กับผลการอภิปรายของนักเรียน เช่น การหยิบออก การร่อน การฝัด เป็นต้น)


9.2.4 ให้นักเรียนเลือกวิธีการแยกสารผสมออกจากกันด้วยอุปกรณ์อย่างง่ายที่นักเรียนสามารถหาได้จาก



ภายในบ้านตนเองและบันทึกผลการทำกิจกรรมในแบบฝึกหัดหน้า 39 – 40


9.3 ขั้นสรุป ( 10 นาที )


หลังจากทำกิจกรรมและบันทึกผลการทำกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนนำเสนอและร่วมกันอภิปรายผล

การทำกิจกรรม ตามแนว คำถามดังนี้



▪ หลังจากตำขาวเปลือกให้เปลือกขาวกะเทาะออกจากเมล็ดข้าวสาร สารผสมที่ได้มีลักษณะ

อย่างไร (แนวคำตอบ มีสารหลายอย่างปนกัน ได้แก่

- เปลือกข้าวหรือแกลบและรำ มีลักษณะเป็น ของแข็ง สีเหลือง มีหลายขนาด

- เมล็ดข้าวเปลือก มีลักษณะเป็น ของแข็ง สีเหลือง รูปร่างยาวรี

- เมล็ดข้าวสาร มีลักษณะเป็น ของแข็ง สีน้ำตาลออน รูปร่างยาวรีอเศษชิ้นเล็กๆ)

▪ สารทั้งหมดในสารเนื้อผสมมีสถานะใด (แนวคำตอบ ของแข็ง)

▪ นักเรียนใช้วิธีการใดบ้างเพื่อแยกเมล็ดข้าวสารออกจากสารอื่น ๆ และทำอย่างไร

(คำตอบขึ้นอยู่กับวิธีที่นักเรียนเลือก เช่น การหยิบออก ทำได้โดยการใช้มือหยิบเมล็ด

ข้าวสารออกจากสาร อื่น ๆ , การร่อนทำได้โดยนำสารผสมทั้งหมดใส่ลงในตะแกรงหรือ

กระชอนและเขย่าเปลือกข้าวหรือรำข้าวที่มีขนาดเล็กจะหลุดรอดรูตะแกรงหรือกระชอน



ส่วนเมล็ดข้าวสาร เมล็ดข้าวเปลือก และแกลบที่มีขนาดใหญ่กว่าจะคางอยู่บนตะแกรงหรือ
กระชอน ในกรณีที่มีเปลือกข้าวหรือแกลบเหลืออยู่ให้แยกสารต่อไปด้วย วิธีการฝัด จากนั้น

5

ใช้มือหยิบเมล็ดข้าวสารออกจากสารที่เหลือ , การฝัดทำได้โดยนำสารเนื้อผสมทั้งหมดใส่

กระด้งและขยับกระด้งขึ้นลงให้ลมพัดพาแกลบซึ่งมีน้ำหนักเบาปลิวออกไปจาก กระด้ง

เหลือเมล็ดข้าวสารและเมล็ดข้าวเปลือกบางส่วนอยู่ใน กระด้ง จากนั้นใช้การหยิบออกโดย

หยิบเมล็ดข้าวเปลือกออก จากเมล็ดข้าวสาร)

▪ การแยกสารที่เป็นของแข็งออกจากกันใช้วิธีใดได้บ้าง (แนวคำตอบ การหยิบออก การร่อน

และการฝัด)


▪ การหยิบออก การร่อน และการฝัดใช้แยกสารเนื้อผสมที่มลักษณะ และสมบัติอย่างไร (แนว
คำตอบ การหยิบออกใช้แยกสารเนื้อผสมที่เป็นของแข็ง ที่มีสีหรือขนาดแตกต่างกันอย่าง

ชัดเจน การร่อนใช้แยกของแข็งที่มี ขนาดแตกต่างกันโดยของแขงที่มขนาดเล็กกว่ารูตะแกรง


หรือ กระชอนจะลอดผ่านรูตะแกรงหรือกระชอน ส่วนของแข็งที่มีขนาด ใหญ่กว่าจะคางอยู่

บนตะแกรงหรือกระชอน ส่วนการฝัดใช้แยก ของแข็งที่มีน้ำหนักแตกต่างกันออกจากกัน)




10. วสดุอุปกรณ์


▪ ข้าวเปลือก ประมาณ 5 กรัมหรือ 1 กำมอ

▪ ครกและสาก 1 ชุด

▪ ถาด 1 ใบ

▪ ตะแกรงหรือกระชอน 1 ใบ


11. สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้


- หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ตามมาตรฐานการเรียนรู้

และ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


- สไลด์ประกอบการสอน

6

12. การวัดและประเมินผล


เกณฑ์การประเมิน

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)

1.ด้านความรู้ ( K ) การอภิปราย และ อภิปรายเกี่ยวกับ อภิปรายเกี่ยวกับ สามารถตีความหมาย

- นักเรียนสามารถ ลงข้อสรุปเกี่ยวกับ วิธีการแยกสาร วิธีการแยกสาร ข้อมูลจากการอภิปราย

อธิบายวิธีแยกของแขง วิธีการแยกสารโดยการ และลงข้อสรุปได้ และลงข้อสรุปได้ เกี่ยวกับวิธีการแยกสาร

ในสารเนื้อผสมออกจาก หยิบออก การร่อน หรือ ถูกต้องว่าสารเนื้อ ถูกต้องว่าสารเนื้อ และลงข้อสรุปได้
การฝัด ผสมที่เป็นของแข็ง ผสมที่เป็นของแข็ง ถูกต้องเป็นบางส่วนว่า
กันได้ (K)
ที่มีสีหรือมีขนาด ที่มีสีหรือมีขนาด สารเนื้อผสมที่เป็น

แตกต่างกันอย่าง แตกต่างกันอย่าง ของแข็งทมีสีหรือมี
ี่
ชัดเจน สามารถใช้ ชัดเจน สามารถใช้ ขนาดแตกต่างกันอย่าง

วิธีการหยิบออก วิธีการหยิบออก ชัดเจนสามารถใช้

การร่อนสามารถใช้ การร่อน วิธีการหยิบออก

ตะแกรงแยกสารที่ สามารถใช้ตะแกรง การร่อนสามารถใช้
เป็นของแข็งที่มี แยกสารที่เป็น ตะแกรงแยกสารที่เป็น

ี่
ี่
ขนาดแตกต่างกัน ของแข็งทมีขนาด ของแข็งทมีขนาด
และการฝัดใช้แยก แตกต่างกันและ แตกต่างกันและการ
ี่
ของแข็งทมีน้ำหนัก การฝัดใช้แยก ฝัดใช้แยกของแข็งที่มี
แตกต่างกันและ ของแข็งที่มีน้ำหนัก น้ำหนักแตกต่างกัน

สามารถระบุวิธีการ แตกต่างกันและ และสามารถระบุ
แยกสารที่ใช้ สามารถระบุวิธีการ วิธีการแยกสารที่ใช้

ตามลำดับได้ แยกสารที่ใช้ ตามลำดับ

ถูกต้องด้วยตนเอง ตามลำดับได้
ถูกต้องจากการ

ชี้แนะของครู หรือ

ผู้อื่น

7

เกณฑ์การประเมิน

จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)

2.ด้านทักษะ / การลงความเห็นจาก สามารถลง สามารถลง สามารถลงความเห็น


สมรรถนะที่สำคัญของ ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะ ความเห็นจาก ความเห็นจาก จากขอมูลที่ได้จากการ
ผู้เรียน ( P ) และสมบัติของสารใน ข้อมูลที่ได้จากการ ข้อมูลที่ได้จากการ สังเกตแต่ไม่ครบถ้วน

- นักเรียนสามารถลง สารเนื้อผสม สังเกตว่า เมล็ด สังเกตว่าเมล็ด ว่าเมล็ดข้าวสาร


ความเห็นข้อมูลจากการ ข้าวสาร เปลือกข้าว ข้าวสาร เปลือกข้าว เปลือกขาวหรือแกลบ
หรือแกลบและ หรือแกลบและ และเมล็ดข้าวเปลือกมี
สังเกตลักษณะของสาร


เมล็ดข้าวเปลือกม เมล็ดข้าวเปลือกม สถานะเป็นของแข็งที่มี
เนื้อผสมได้ (P)
สถานะเป็นของแข็ง สถานะเป็นของแข็ง สีและขนาดแตกต่างกัน
ที่มีสีและขนาด ที่มีสีและขนาด แม้จะได้รับการชี้แนะ

แตกต่างกันได้ แตกต่างกันได้ จากครูหรือผู้อื่น

ถูกต้องด้วยตนเอง ถูกต้องจากการ
ชี้แนะของครูหรือ

ผู้อื่น


3.ด้านคุณลักษณะอัน -สังเกตพฤติกรรมในคาบ ตั้งใจเรียนและให้ ตั้งใจเรียนและให้ ไม่ตั้งใจเรียนและไม่ให้


พึงประสงค์ ( A ) เรียน ความร่วมมือในการ ความร่วมมือในการ ความร่วมมือในการทำ
-นักเรียนให้ความร่วมมือ -สร้างแบบประเมิน ทำกิจกรรมต่างๆ ทำกิจกรรมต่าง ๆ กิจกรรมต่างๆ ไม่ตั้งใจ


ในการทำกิจกรรม (A) คุณลักษณะอันพึง ตั้งใจทำงานที่ได้รับ แต่ไม่ตั้งใจทำงานที่ ทำงานที่ได้รับ
ประสงค์ มอบหมาย ได้รับมอบหมาย มอบหมาย

8

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน


เกณฑ์การประเมิน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วิธีการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)

1. ความสามารถในการคิด การบอกเหตุผล สามารถเลือก สามารถเลือก สามารถเลือก

อย่างมีวิจารณญาณ และตัดสินใจ วิธีการแยกเมล็ด วิธีการแยกเมล็ด วิธีการแยกเมล็ด

เลือกวิธีการแยก ข้าวสารออกจาก ข้าวสารออกจาก ข้าวสารออกจาก

สารและวิเคราะห์ เมล็ดข้าวเปลือก เมล็ดข้าวเปลือก เมล็ดข้าวเปลือก

ข้อดีและข้อจำกัด แกลบและรำและ แกลบและรำและ แกลบและรำและ

ของวิธีการแยก บอกเหตุผลที่ บอกเหตุผลที่เลือก บอกเหตุผลที่เลือก
สารแต่ละวิธี เลือกวิธีดังกล่าว วิธีดังกล่าวได้ วิธีดังกล่าวได้

ได้สมเหตุสมผล สมเหตุสมผลและ สมเหตุสมผลแต่

และวิเคราะห์ข้อดี วิเคราะห์ข้อดีและ วิเคราะห์ข้อดีและ
และข้อจำกัดของ ข้อจำกัดของวิธีการ ข้อจำกัดของวิธีการ

วิธีการที่ใช้ได้ ที่ใช้ได้ถูกต้องโดย ที่ ใช้ได้ไม่ชัดเจน

ถูกต้องด้วยตนเอง ต้องอาศัยการ แม้ว่าจะได้รับการ
ชี้แนะจากครูหรือ ชี้แนะจากครูหรือ

ผู้อื่น ผู้อื่น






คุณลักษณะอันพึง เกณฑ์การประเมิน

ประสงค์ วิธีการประเมิน
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรุง(1)



1.มุ่งมนในการทำงาน ร่วมทำกจกรรม ร่วมทำกิจกรรม ร่วมทำกิจกรรม ร่วมทำกิจกรรม แต่
ั่
นำเสนอ แสดง นำเสนอ แสดง นำเสนอ แสดง ไม่สามารถนำเสนอ

ความคิดเห็น และ ความคิดเห็น และ ความคิดเห็น แต่ไม่ แสดงความคิดเห็น

อภิปรายวิธีการ อภิปรายวิธีการแยก สามารถอภิปราย และ อภิปรายวิธีการ

แยกสารผสมออก สารผสมออกจาก วิธีการแยกสาร แยกสารผสมออก
จากกัน กัน ผสมออกจากกัน จากกัน

9




แบบสังเกตพฤติกรรมและบนทึกคะแนนในชั้นเรียน

จุดประสงค์การ สมรรถนะสำคัญของ คุณลักษณะอันพึง

รายชื่อนักเรียน เรียนรู้ ผู้เรียน ประสงค์

K P A ความสามารถในการคิด มุ่งมั่นในการ
(3) (3) (3) อย่างมีวิจารณญาณ (3) ทำงาน (3)

10
แบบบันทึกหลังการสอน


ชั้น ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข

ปัญหา
ป.6/1 นักเรียนเรียนรู้วิธีการแยกสาร -สไลด์มีเสียงเพลงแทรกทำ -เสียงนี้เกิดจากการผิดพลาด

ป.6/4 ด้วยกิจกรรมการแยกของแข็ง ให้นักเรียนได้ยินเสียงครูไม่ ทางเทคนิคเนื่องจากครูต้องการ

ออกจากสารผสม โดย ชัด เปิดในตอนที่นักเรียนกำลังตำ
รายละเอียดกิจกรรม คือ ให้ -นักเรียนสนุกกับการตำ ข้าวเปลือกเพื่อให้รุ้สึกผ่อน

นักเรียนนำข้าวเปลือกมาตำให้ และการแยกทำให้ไม่ตั้งใจ คลายแต่เกิดความผิดพลาด

เปลือกกระเทาะออกเล็กน้อย เสียงเพลงดังขึ้นมาตลอดสไลด์
ฟังในขั้นตอนการอภิปราย
จากนั้นให้นักเรียนสังเกตลักษณะ ผล ประกอบการสอน

ของสารเนื้อผสมที่ปนกัน จากนั้น -ใช้คำถามในการอภิปราย

ื่
ใช้คำถามว่านักเรียนคิดว่า -นักเรียนบางคนไม่เปิด เพอให้นักเรียนมีสมาธิและ
นักเรียนจะสามารถแยกสารผสม กล้องหรือเปิดๆปิดๆทำให้ ปฏิบัติตามกติกาและขั้นตอน

ที่ได้จากการตำข้าวเปลือกนี้ได้ ครูไม่สามารถควบคุมได้ -ให้นักเรียนถ่ายคลิปในการตำ

ื่
อย่างไร นักเรียนแต่ละคนมี ตลอดเวลาการทำกิจกรรม และแยกสารส่งเพอเป็น
วิธีการที่ต่างกัน บางคนหยิบออก และไม่สามารถทราบได้ว่า หลักฐานในการประเมิน

บางคนใช้กระชอนร่อน บางคนใช้ นักเรียนได้ทำกิจกรรมนี้ -ปกติใช้วิธีให้นักเรียนกดยกมอ


การฝัด ซึ่งกจกรรมนี้เป็นกิจกรรม หรือไม่ แต่นักเรียนบางคนชินกับการยก
ที่นักเรียนได้ลงมือทำด้วยตัวเอง -นักเรียนแย่งกันตอบ มือตัวเองมากกว่าทำให้ครูไม่

ผ่านกระบวนการและทกษะของ คำถาม เห็น

ตนเอง ทำให้นักเรียนสามารถทำ -พยายามใช้อุปกรณ์ในการสอน
-หน้าจอดูสไลด์
ความเข้าใจในวิธีการแยกสาร หลายเครื่องเพื่อใช้หน้าจอหนึ่งดู

ผสมอย่างง่ายได้ และให้นักเรียน ประกอบการสอนและหน้า สไลด์และอีกหน้าจอหนึ่งดู
โปรแกรม ms teams ไม่
ได้กลับไปบันทึกผลการทำ สามารถเปิดให้อยู่ใน นักเรียน(แต่ก็ยังไม่ประสบผลที่
กิจกรรมเนื่องจากเวลาไม่ ต้องการ)

เพียงพอ หน้าจอเดียวกันได้ทำให้ครู
ดูนักเรียนได้ไม่ทั่วถึงหรือ

อาจต้องใช้เวลา

-เกินเวลาที่กำหนดในแผน


-นักเรียนมีการบ้าน

เนื่องจากเวลาในคาบไม่พอ










Click to View FlipBook Version