The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suntorn.ctw, 2022-04-07 00:52:16

Annual Report CTW TH

AR-CTW2021-TH

2564รายงานประจำป

บรษิ ัท จรงุ ไทยไวรแอนดเคเบ้ลิ จำกัด (มหาชน)

แบบ 56-1 One Report

สารบญั

สว่ นท่ี 1 การประกอบธุรกิจและผลการด�ำ เนนิ งาน 1

1. โครงสร้างและการดำ�เนินงานของกล่มุ บริษทั 1

2. การบริหารจัดการความเส่ียง 17

3. การขับเคลือ่ นธรุ กิจเพอื่ ความย่ังยนื 19

4. การวิเคราะห์และค�ำ อธบิ ายของฝ่ายจัดการ (MD&A) 26

5. ข้อมลู ท่วั ไปและข้อมลู สำ�คญั อ่ืน 30

สว่ นที่ 2 การกำ�กับดแู ลกจิ การ 31

6. นโยบายการกำ�กบั ดูแลกิจการ 31

7. โครงสรา้ งการกำ�กบั ดูแลกิจการ และข้อมูลสำ�คัญเกย่ี วกบั คณะกรรมการ 38

คณะกรรมการชดุ ย่อย ผ้บู ริหาร พนกั งานและอน่ื ๆ

8. รายงานผลการดำ�เนนิ งานสำ�คญั ดา้ นการกำ�กบั ดูแลกจิ การ 43

9. การควบคุมภายในและรายการระหว่างกัน 52

ส่วนท่ี 3 งบการเงิน 55

ส่วนที่ 4 การรบั รองความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู 96

เอกสารแนบ

เอกสารแนบ 1 : รายละเอียดเกีย่ วกบั กรรมการ ผ้บู ริหาร ผมู้ ีอำ�นาจควบคุม 97

ผทู้ ี่ไดร้ ับมอบหมายให้รบั ผิดชอบสงู สดุ ในสายงานบญั ชแี ละการเงิน

ผทู้ ีไ่ ด้มอบหมายใหร้ บั ผดิ ชอบโดยตรงในการควบคมุ ดูแลการท�ำ บัญชี

และเลขานุการบริษัท

เอกสารแนบ 2 : รายละเอียดเก่ยี วกับกรรมการของบริษทั ยอ่ ย 102

เอกสารแนบ 3 : รายละเอียดเกี่ยวกับหัวหนา้ งานตรวจสอบภายใน และหวั หน้างานกำ�กับดูแล 104

การปฏบิ ัติงานของบริษัท (compliance)

เอกสารแนบ 4 : ทรัพยส์ นิ ท่ใี ช้ในการประกอบธุรกิจและรายละเอียดเก่ยี วกับรายการประเมนิ ราคาทรัพยส์ นิ 105

เอกสารแนบ 5 : นโยบายและแนวปฏบิ ัตกิ ารกำ�กบั ดแู ลกิจการและจรรยาบรรณธรุ กจิ 105

เอกสารแนบ 6 : รายงานคณะกรรมการตรวจสอบ 106

การประกอบธรุ กิจและผลการด�ำ เนินงาน

1. โครงสร้างและการดำ�เนินงานของกลุ่มบริษทั

1.1 นโยบายและภาพรวมการประกอบธรุ กจิ
บรษิ ัท จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบ้ิล จำ�กดั (มหาชน) “จรงุ ไทย” หรอื (“CTW”) ได้ก่อตงั้ ขนึ้ เมื่อปี พ.ศ. 2510 ด้วยทุนจดทะเบียน
เริ่มต้นจำ�นวน 10 ล้านบาทได้รับการส่งเสริมการลงทุนจากสำ�นักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) โดยเป็นการร่วมทุนระหว่าง
กลมุ่ นกั ลงทนุ ชาวไทย และนกั ลงทุนชาวไตห้ วัน คอื Walsin Lihwa Electric Wire & Cable Corp. และ กลุม่ ของบริษัทแปซฟิ ิค อิเลคทริค
ไวร์ แอนด์ เคเบล้ิ จ�ำ กดั (“PEWC”) ตอ่ มาบรษิ ทั ฯ ไดแ้ ปรสภาพเปน็ บรษิ ทั มหาชนจ�ำ กดั และไดจ้ ดทะเบยี นเขา้ ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทย
เมื่อวันท่ี 25 กันยายน 2518 โดยจัดอยู่ในหมวดกลุ่มเครื่องไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ ซึ่งปัจจุบันอยู่ในหมวดวัสดุอุตสาหกรรมและเครื่องจักร
(Industrial Materials & Machinery)
PEWC ซึ่งเป็นบริษัทแม่โดยอ้อมและดำ�เนินธุรกิจหลักอยู่ในประเทศไต้หวัน มีธุรกิจหลักคือ การผลิตสายไฟฟ้า สายเคเบ้ิล
ธรุ กจิ ซ้ือมาขายไป และธรุ กิจโทรคมนาคมในภมู ิภาคเอเซยี
บรษิ ทั แม่ และบรษิ ัทฯ ด�ำ เนนิ กิจการหลักเป็นลักษณะเดียวกนั คอื การผลิตและจัดจำ�หน่ายสายไฟฟา้ และสายเคเบิ้ล แตไ่ ด้แบง่
ส่วนงานทางภมู ิศาสตรก์ ันอยา่ งชดั เจน
บรษิ ัทฯ และบรษิ ทั ยอ่ ย ได้แก่ บริษทั สยามไฟเบอร์ออ๊ พตคิ ส์ จ�ำ กดั (“SFO”), บริษัท ดับเบลิ ดี เคเบิล้ จำ�กัด (“DDC”),
บริษัท สยามแปซิฟคิ อีเลค็ ทริคไวร์ แอนดเ์ คเบลิ้ จำ�กดั (“SPEWC”) และบรษิ ทั เซยี่ งไฮ้ เอเซยี แปซฟิ ิค อเี ลค็ ทริค จำ�กดั (“SAP”) มีธุรกิจ
หลกั คือ ผลิตและจ�ำ หนา่ ยสายไฟฟ้าอลูมิเนียม สายไฟฟ้าทองแดง สายไฟฟ้าแรงดนั สูง สายโทรศัพท์ สายเคเบลิ้ สายเคเบล้ิ ใยแก้วนำ�แสง
ลวดอาบนำ�้ ยาและไม่อาบน�้ำ ยา เพ่ือจ�ำ หน่ายในประเทศและสง่ ออกจำ�หน่ายยังตา่ งประเทศ รวมทั้งรบั จา้ งทำ�การผลิต แลกเปลี่ยน แปรรูปสนิ คา้
ดังกล่าว
บรษิ ัทฯ มธี รุ กจิ เพื่อการลงทุนคือ บริษทั ซที ีดบั บลวิ เบต้า จ�ำ กดั โดยมวี ตั ถุประสงคใ์ นการแสวงหากำ�ไรจากการลงทุน อีกทงั้
บรษิ ัทฯ ยงั มีบริษทั ร่วมที่ประกอบธรุ กิจการส่ือสารและโทรคมนาคม คอื บรษิ ัท ล็อกซแพค (ประเทศไทย) จำ�กดั และ บรษิ ทั ล็อกซแพค
ฮ่องกง จ�ำ กัด ปจั จุบนั บรษิ ัทฯ ไมม่ ีนโยบายในการลงทุนเพม่ิ นอกจากการลงทุนทจ่ี ะสามารถเกื้อหนนุ หรือช่วยเหลือธรุ กจิ หลกั ของบริษัทฯ ได้

1.1.1 วิสยั ทศั น์
1. ค้นหาวธิ ีการปรับปรุงคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพในการผลิตอย่างต่อเนื่อง
2. พฒั นานวัตกรรมของผลติ ภณั ฑ์ และค้นหาชอ่ งทางตลาดใหมอ่ ย่างต่อเนอื่ ง
3. พยายามรกั ษาระดับความเปน็ ผู้ผลติ สายเคเบ้ิลชนั้ น�ำ ในประเทศไทย
พันธกิจ
1. จดั หาผลติ ภัณฑแ์ ละบรกิ ารทีม่ ีคณุ ภาพดีท่สี ุดใหแ้ ก่ลกู คา้
2. สร้างผลกำ�ไรที่ดีอยา่ งสม�ำ่ เสมอให้แก่ผถู้ อื หุ้น
3. จัดให้มสี ภาพแวดล้อมในการทำ�งานที่มัน่ คงและมคี วามปลอดภัยส�ำ หรับพนกั งาน
1.1.2 ข้อมูลบริษทั ฯ
บริษทั จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบ้ลิ จำ�กดั (มหาชน) (“จรุงไทย” หรือ “บริษทั ฯ”) มีช่ือในภาษาอังกฤษวา่ Charoong Thai
Wire and Cable Public Co., Ltd. มที ต่ี ัง้ ส�ำ นกั งานใหญ่อยทู่ ี่ 589/71 อาคารเซน็ ทรัลซิต้ี ชั้น 12 เอ ถนนเทพรตั น แขวงบางนาเหนอื
เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260 โทรศพั ท์ 02-745-6118 ถงึ 30 โทรสาร 02-745-6131 ถงึ 32 บรษิ ทั ฯ มเี ว็บไซต์ คือ www.ctw.co.th
เลขทะเบยี นบรษิ ัทเลขท่ี 0107537000599 ประกอบธรุ กิจหลกั คือ ผลิตและจำ�หนา่ ยสายไฟฟ้าอลูมิเนียม สายไฟฟ้าทองแดง สายไฟฟา้ แรงดนั สูง
สายโทรศัพท์ สายเคเบ้ลิ สายเคเบ้ลิ ใยแกว้ นำ�แสง ลวดอาบนำ�้ ยา และไมอ่ าบน้�ำ ยา เพื่อจำ�หน่ายในประเทศและส่งออกจำ�หนา่ ยยงั ตา่ งประเทศ
รวมทง้ั รับจา้ งท�ำ การผลติ แลกเปลี่ยน แปรรปู สินคา้ ดังกล่าวด้วย โดยเริม่ เปดิ ดำ�เนินกจิ การเมือ่ ปี พ.ศ. 2510
ณ วนั ท่ี 10 มกราคม 2565 บรษิ ทั ฯ มที นุ จดทะเบยี นทอี่ อกจ�ำ หนา่ ยและเรยี กช�ำ ระเตม็ มลู คา่ แลว้ เปน็ จ�ำ นวน 1,989,531,420
บาท (หุ้นสามญั 397,906,284 ห้นุ มูลค่าหุ้นละ 5 บาท)

บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบล้ิ จำ�กดั (มหาชน) 1

1.2 ลักษณะการประกอบธรุ กจิ
1.2.1 โครงสรา้ งรายได้
โครงสร้างรายได้ของบรษิ ัทฯ จำ�แนกตามลักษณะของกล่มุ ธุรกิจ มีดังนี้
รายผลติ ภัณฑ/์ กลมุ่ ธุรกิจ ดำ�เนนิ การโดย สัดส่วน ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
การลงทนุ รายได ้ % รายได ้ % รายได้ %
(ร้อยละ) (ล้านบาท) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
กล่มุ การผลิต จรงุ ไทย 2,917.19 45.55 2,555.57 54.54 2,071.60 34.41
รายได้ SPEWC 100.00 3,447.93 53.83 1,823.55 38.92 3,235.60 53.74
SAP 63.68 23.48 0.37 199.49 4.26 650.97 10.81
SFO 100.00 16.27 0.25 104.65 2.23 63.01 1.04
DDC 100.00 0.04 0.00 2.57 0.05 0.03 0.00
กล่มุ ธรุ กจิ เพอ่ื การลงทุน
รายได ้ CTW-Beta 100.00 - - - 0.00 - 0.00
รวม 100.00 6,404.91 100.00 4,685.83 100.00 6,021.21 100.00

รายผลติ ภณั ฑ์/กลมุ่ ธุรกิจ ด�ำ เนินการโดย สัดสว่ นการ หน่วย ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
ลงทนุ (รอ้ ยละ) 0.00 2.02
กลมุ่ ธุรกิจการสอื่ สารและ -
โทรคมนาคม Loxpac 24.56 ลา้ นบาท - 389,183
รายได*้ Loxpac HK 19.65 ยูโร - 282,784 828,049
เหรียญสหรัฐ 163,179

หมายเหตุ * เป็นรายได้ทงั้ หมดของบรษิ ทั รว่ มซึง่ ไมไ่ ดค้ �ำ นวณรายไดต้ ามสัดส่วนทีบ่ ริษทั ฯ ถอื อยู่

1.2.2 ขอ้ มลู เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์
กลุม่ การผลิต
(1) ลักษณะผลติ ภัณฑ์
ก) ผลติ ภณั ฑ์
ผลติ ภัณฑ์ในกล่มุ นส้ี ามารถแยกได้เปน็ 4 ประเภทดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์สายไฟฟ้า ซึ่งประกอบด้วย สายไฟฟ้าตัวนำ�อลูมิเนียม, สายไฟฟ้าตัวนำ�ทองแดงและสายไฟฟ้า
แรงดันสงู
2. ผลติ ภณั ฑ์สายเคเบิ้ลโทรศัพท์
3. ผลิตภณั ฑส์ ายเคเบ้ลิ ใยแก้วนำ�แสง
4. ผลิตภัณฑ์ลวดอาบนำ้�ยา และไม่อาบน้ำ�ยา ซึ่งประกอบด้วย ลวดทองแดงอาบนำ้�ยา ลวดอลูมิเนียม
อาบน�ำ้ ยา และลวดทองแดงไม่อาบน�ำ้ ยา
ข) ยอดขายของบรษิ ัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ยจ�ำ แนกตามสายการผลติ

2 แบบ 56-1 One Report

ผลติ ภณั ฑ ์ ยอดขาย (%) ลกั ษณะของผลิตภัณฑ์
ปี 2564
ผลติ ภัณฑล์ วดอาบน�ำ้ ยา และ 54.12 - ลวดทองแดงอาบน้ำ�ยา
ไม่อาบน้ำ�ยา - ลวดอลูมิเนียมอาบน�ำ้ ยา
- ลวดทองแดงไมอ่ าบน�้ำ ยา
สายไฟฟ้าตวั นำ�ทองแดง 16.94 - สายอาคาร (THW, NYY, VSF)
- สายทองแดงเปลอื ย
สายไฟฟ้าแรงดันสูง 14.34 - สายแรงสงู ตัวนำ�อลมู ิเนียม SAC
- สายตวั นำ�ทองแดงหุม้ ดว้ ยฉนวนครอสลิ้ง พอี ี พนั เทปทองแดง
และเปลือกนอกพีวซี ี แรงดนั 12/20 กโิ ลโวลต์ 24 กโิ ลโวลต,์
115 กโิ ลโวลต์
สายไฟฟา้ ตวั นำ�อลูมเิ นียม 11.51 - สายอลมู ิเนียมแกนเหลก็
- สายอลูมิเนยี มเปลอื ย
- สายอลูมิเนยี มหุม้ พวี ซี ี
ผลติ ภณั ฑส์ ายเคเบิ้ลใยแก้วนำ�แสง 0.34 - Single/Multi Fiber optics
ผลติ ภัณฑส์ ายเคเบ้ิลโทรศพั ท์ 0.06 - สายดรอปไวร์
- สายเคเบลิ้ โทรศัพท์สำ�หรับเดนิ ภายนอกชนดิ มีสายสะพานในตวั
- สายเคเบ้ลิ โทรศัพทส์ ำ�หรบั เดินภายใน ชนิดทองแดงไมช่ ุบดบี กุ
- สายเคเบล้ิ โทรศพั ท์ส�ำ หรับเดินใต้ดนิ ชนดิ มีสารกนั นำ้�
อน่ื ๆ 2.69
รวม 100.00

ผลติ ภณั ฑส์ ว่ นใหญใ่ นกลมุ่ การผลติ ของบรษิ ทั ฯ ไดแ้ ก่ ผลติ ภณั ฑล์ วดอาบน�ำ้ ยาและไมอ่ าบน�ำ้ ยา ซง่ึ จ�ำ หนา่ ยใหแ้ กล่ กู คา้ ภาคเอกชน
และส่งออกต่างประเทศ ส่วนสายไฟฟา้ สายเคเบ้ลิ และสายเคเบ้ิลใยแกว้ นำ�แสง สว่ นใหญจ่ ำ�หนา่ ยใหแ้ ก่หนว่ ยงานภาครัฐวสิ าหกิจ ผูด้ ูแลกจิ การ
สาธารณูปโภคเปน็ หลัก เช่น การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคและการไฟฟา้ นครหลวง รวมถึงหนว่ ยงานรัฐวสิ าหกิจ
ทแี่ ปรรูปแล้วได้แก่ บมจ. โทรคมนาคมแหง่ ชาติ ในส่วนภาคเอกชน จำ�หน่ายใหแ้ กผ่ รู้ ับเหมา และลกู คา้ ทวั่ ไป เปน็ ต้น

(2) การตลาดและภาวะการแขง่ ขัน
ก) การทำ�การตลาดของผลิตภัณฑ์และบริการท่ีสำ�คัญ
บริษัทฯ ไดม้ งุ่ เน้นสง่ เสริมการตลาด 4 ดา้ นหลกั เพ่อื ใหบ้ รรลุถงึ เป้าหมายที่วางไว้ดงั นี้
1. ดา้ นผลติ ภัณฑ์
บริษัทฯ ได้ดำ�เนินการผลิตสายไฟฟ้าตัวนำ�อลูมิเนียม สายไฟฟ้าตัวนำ�ทองแดง สายไฟฟ้าแรงดันสูง
สายโทรคมนาคม สายเคเบ้ิลใยแก้วนำ�แสง ลวดอาบน้ำ�ยาและไม่อาบน้ำ�ยา ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานท้ังในประเทศและต่างประเทศ เช่น
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (มอก.) ของประเทศไทย, IEC ตามมาตรฐานสากล, BS ตามมาตรฐานของประเทศอังกฤษ, ASTM
ตามมาตรฐานของประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นตน้ อีกทัง้ ยังได้รบั การรับรองผลติ ภณั ฑจ์ ากหน่วยงานราชการและสถาบนั ที่นา่ เช่ือถอื ตา่ งๆ ดงั นี้
- ใบอนุญาตท�ำ ผลติ ภณั ฑ์สายไฟฟา้ มอก. 11-2553, มอก. 293-2541, มอก.2202-2547, มอก.85-2548,

มอก.2434-2552 และใบอนุญาตแสดงเคร่ืองหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์สายไฟฟ้า มอก.64-2517,
มอก.838-2531, มอก.2143-2546 โดยสำ�นกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) เปน็ ต้น
- ใบรบั รองผลการทดสอบสายแรงดันสูง 69 KV. และ 115 KV. จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจา้ คุณทหารลาดกระบงั
- ใบรบั รอง (Certificate) ของผลติ ภัณฑส์ ายทนไฟจาก TUV SUD PSB Pte. Ltd. ประเทศสิงคโปร์

บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบ้ิล จ�ำ กดั (มหาชน) 3

จากการที่ผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ ของบริษัทฯ ได้รับการรับรองดังกล่าวข้างต้นจะเป็นการสร้างความมั่นใจ
ใหแ้ ก่ลูกค้า ในการพจิ ารณาเลอื กใช้ผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ัทฯ ไดเ้ ป็นอย่างดี นอกจากนบ้ี รษิ ทั ฯ ยังได้พฒั นาผลติ ภณั ฑใ์ หม่ๆ เพอ่ื รองรบั โครงการ
รถไฟฟ้า อาทิเชน่ สายไฟระบบควบคมุ การเดินรถและระบบอาณตั ิสัญญาณ (Control and Signalling Cable) เปน็ ตน้ ส่วนบรษิ ทั ย่อย SPEWC
ได้เรมิ่ ผลิตลวดทองแดงแบบพันเกลียว (LITZ WIRE) และจ�ำ หน่ายต้งั แตต่ น้ ปี 2561 เปน็ ตน้ มา ซึง่ เปน็ ผลติ ภณั ฑ์ก่งึ ส�ำ เรจ็ รูป (Semi-Finished
Product) ท่ีกลุ่มลูกค้าโรงงานอุตสาหกรรมในต่างประเทศต้องการนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบ ส่วนของบริษัทย่อย SFO ได้พัฒนาการผลิตเคเบ้ิล
ชนิดทนต่อการลามไฟที่เปลือกประสพความสำ�เร็จ และคาดว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีจะนำ�เข้าสู่ตลาดในระยะเวลาไม่ช้าน้ี และในส่วนของ
การพัฒนาเคเบ้ิลร้อยท่อ โดยให้มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเคเบิ้ลลดลง เพ่ือประโยชน์ในการวางจำ�นวนเคเบ้ิลให้ได้จำ�นวนเส้นมากข้ึน
ในท่อขนาดเท่าเดิม SFO ประสบความสำ�เร็จในระดับหน่ึงแล้ว แต่ผลท่ีได้ยังไม่ใช่เป้าหมายท่ีต้องการ ยังต้องใช้เวลาสำ�หรับการทดสอบและ
ปรบั ปรุงตอ่ ไปอีกระยะหนงึ่
2. ด้านราคา
ในปที ่ผี า่ นมาเศรษฐกจิ โดยรวม ตอ้ งเผชญิ กับการระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID 19)
การลงทุนของภาคเอกชนหดตัวอย่างตอ่ เนอ่ื ง โดยภาครฐั ไดอ้ อกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ผา่ นการลงทนุ ในโครงการพน้ื ฐานตา่ งๆ ซ่งึ บรษิ ัทฯ
ได้พยายามแข่งขันด้านราคาที่มีความผันผวนอย่างรุนแรง ซึ่งราคาวัตถุดิบหลักในตลาดโลกปรับเพ่ิมสูงข้ึน ทำ�ให้บริษัทฯ ต้องปรับการกำ�หนด
ราคาขายให้สอดคล้องกับราคาวัตถุดิบหลัก เพื่อเพ่ิมยอดขายให้สูงข้ึน โดยมุ่งเน้นการควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่ายที่ไม่จำ�เป็น และบริษัทฯ
ได้มุ่งเน้นการผลิตสินค้าให้ได้ปริมาณท่ีมากข้ึนและรวดเร็วขึ้น ตลอดจนการบริการให้ข้อมูลและคำ�ปรึกษาเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ ในส่วนของ
บรษิ ัทย่อย SPEWC ยังคงเขม้ งวดกับการซอื้ วัตถดุ บิ แบบทนั ก�ำ หนดเวลา (Just in Time) และจับคู่ (Match) ราคาซอ้ื กบั ราคาขายใหไ้ ด้
มากท่ีสุด ซึ่งจะทำ�ให้สามารถควบคุมต้นทุนได้อย่างถูกต้องแม่นยำ�มากขึ้น แต่ด้วยภาวะการแข่งขันด้านราคา โดยเฉพาะสินค้าจากคู่แข่งขัน
ในประเทศจนี SPEWC จึงจำ�เป็นตอ้ งก�ำ หนดราคาขายตำ�่ กวา่ ทีค่ วรจะเปน็
3. ดา้ นช่องทางการจำ�หน่าย
บริษัทฯ ยังคงมีนโยบายเพ่ิมส่วนแบ่งการตลาดโดยการขยายตลาดให้ครอบคลุมทั่วประเทศ และมุ่งเน้น
การขายให้แก่กลุ่มผู้รับเหมางานระบบไฟฟ้า ผู้แทนจำ�หน่ายเดิม ผู้แทนจำ�หน่ายรายใหม่ที่มีศักยภาพสูง และผู้แทนจำ�หน่ายต่างจังหวัด
นอกจากน้บี รษิ ทั ฯ ไดส้ ร้างโอกาสในการขาย ดว้ ยการเข้ารว่ มประมูลงานในโครงการขนาดใหญ่ (Mega Project) ต่างๆ มากข้ึน เชน่ โครงการ
รถไฟฟ้าสายสีนำ้�เงินส่วนตอ่ ขยาย, สายสสี ้ม, สายสีเหลือง และสายสชี มพ,ู โครงการต่างๆ ของการรถไฟแหง่ ประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) ท่ีมโี ครงการ
รถไฟรางคู่ โครงการรถไฟฟา้ ความเรว็ สูง (High Speed Train) โครงการโรงผลติ ไฟฟ้ารายเล็ก (Small Power Producer - SPP) และ
โรงผลิตไฟฟา้ อิสระ (Independence Power Producer - IPP) โครงการกอ่ สร้างสนามบนิ สวุ รรณภมู เิ ฟส 2 โครงการก่อสรา้ งรัฐสภาแหง่ ใหม่
โครงการรถไฟฟ้าความเรว็ สูงเชือ่ ม 3 สนามบิน (High Speed Train) โครงการก่อสรา้ งทางวง่ิ ท่ี 3 สนามบนิ สุวรรณภมู ิ, งานรือ้ ย้ายสายลง
ใต้ดิน และโครงการพฒั นาโครงสรา้ งพ้ืนฐาน (Infrastructure) ในพ้ืนที่การพัฒนาระเบยี งเศรษฐกจิ พิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic
Corridor-EEC) เปน็ ต้น ซ่ึงแต่ละโครงการ เป็นโครงการระยะยาวใชเ้ วลา 2-3 ปี ซึง่ จะต้องมีการใชส้ ายไฟฟ้า สายเคเบิ้ล และสายเคเบิลใยแกว้
น�ำ แสง เป็นจำ�นวนมาก ในส่วนของ บริษทั ยอ่ ย SPEWC บรษิ ัทฯ ไดพ้ ยายามหาชอ่ งทางใหมๆ่ เพ่ือจ�ำ หนา่ ยผลิตภณั ฑ์ ทงั้ ผลิตภัณฑ์เดมิ และ
ผลติ ภัณฑใ์ หม่ เพอ่ื น�ำ ออกจำ�หนา่ ยยังประเทศเพ่ือนบา้ น และต่างประเทศมากข้นึ โดยในปี 2564 SPEWC ได้มกี ารหาลูกค้าใหม่ที่จะช่วยให้เกิด
การประหยัดต่อขนาดในการบริหารการขายสนิ ค้าเพมิ่ ข้นึ ในตลาดเดิม แตเ่ น้นนโยบายการเลือกลูกคา้ ท่ีขายไดก้ ำ�ไรมากข้นึ เป็นหลัก ปี 2564 นี้
โครงสร้างลูกค้าของ SPEWC เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก โดยบริษัทฯ เปลี่ยนเป็นมุ่งเน้นการขายและบริการให้แก่กลุ่มลูกค้าที่เป็นผู้ผลิต
เครื่องใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์คอมพิวเตอร์รายใหญ่ของโลกที่มาตั้งโรงงานอยู่ในประเทศไทยและเป็นกิจการท่ีได้รับผลกระทบทางบวกจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 อีกท้ังการมุ่งเน้นขายและบริการให้แก่ลูกค้ารายใหญ่นี้ ทำ�ให้บริษัทฯ สามารถลดงานท่ีไม่มีประโยชน์และ
การเสยี เวลาไปได้มากจนสามารถสร้างความพึงพอใจใหล้ กู ค้ารายใหญ่
4. ด้านการสง่ เสรมิ การขาย
บรษิ ัทฯ ได้ท�ำ การโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ผลิตภัณฑผ์ า่ นแผน่ ปา้ ยโฆษณา นิตยสาร และส่ือตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ ง
กับอุตสาหกรรมสายไฟฟ้า อาทิเช่น วารสารสมาคมช่างเหมาไฟฟ้าและเครื่องกลไทย (Thai Electrical & Mechanical Contractors
Association) (TEMCA) วารสารของสภาวิศวกรรมไทย เป็นต้น ในปี 2564 บรษิ ัทฯ ยงั คงใช้บรกิ ารการโฆษณาประชาสมั พนั ธ์ผ่านส่อื ออนไลน์
เชน่ อินเทอร์เน็ต (Internet) และเฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นต้น ซง่ึ จะถงึ กลุ่มลูกคา้ เป้าหมายโดยตรง พรอ้ มท้งั เปิดโอกาสใหก้ ลมุ่ ตวั แทนจำ�หน่าย

4 แบบ 56-1 One Report

กลมุ่ ผ้รู ับเหมาระบบไฟฟ้า กลมุ่ วิศวกรผคู้ วบคุมงานและออกแบบงานระบบไฟฟา้ ได้เข้าเยยี่ มชมโรงงานของบริษทั ฯ เพ่อื ศกึ ษากระบวนการผลติ
และการทดสอบ เพือ่ ให้เกดิ ความมัน่ ใจในคุณภาพและมาตรฐานสนิ คา้ ของบรษิ ทั ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังคงเนน้ การจดั ให้มีการอบรมสัมมนา
เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายทั่วทุกภาคของประเทศไทย เพ่ือเป็นการขยายฐานตลาดทั้งกลุ่มลูกค้าใหม่และ
กลุ่มลกู ค้าเดิม เพ่ือให้ผลติ ภณั ฑ์ของบรษิ ทั ฯ เปน็ ท่ีรู้จกั และเปน็ ทยี่ อมรบั มากขน้ึ
ส�ำ หรับการสง่ ออกผลิตภณั ฑไ์ ปจ�ำ หน่ายยงั ต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเวยี ดนาม สิงคโปร์ พมา่ และ
ลาว บริษัทฯ ยังคงเผชิญกับสภาวการณ์แข่งขันกับสินค้าท่ีผลิตจากประเทศท่ีมีต้นทุนผลิตด้านแรงงานท่ีตำ่�กว่า ทำ�ให้ไม่สามารถผลักดันยอด
สง่ ออกไดต้ ามทคี่ าดหวังไว้
บริษทั ย่อย SFO ประสบกับอปุ สรรคในการดำ�เนินธรุ กจิ โครงการต่างๆ ของท้ังภาครัฐ รฐั วิสาหกจิ ตลอด
จนภาคเอกชน ถกู ชะลอการด�ำ เนนิ การ หรอื บางโครงการถกู ยกเลกิ ไป ตงั้ แตเ่ กดิ ปญั หาสถานการณท์ างการเมอื งในประเทศ เพอื่ เปน็ การประหยดั
งบประมาณ และค่าใช้จา่ ยตา่ งๆ บรษิ ัทฯ จำ�เป็นต้องจ�ำ กดั การส่งเสริมการขายหรอื ยกเลกิ ไป ซ่งึ เปน็ ไปตามสภาวะของตลาดที่อย่ใู นชว่ งภาวะ
ซบเซา แต่ SFO ยังคงรกั ษาส่ิงแวดล้อมตามมาตรฐาน ISO 14001 : 2004 และปฏบิ ตั ติ ามข้อก�ำ หนดของกฎหมาย รวมถงึ ดำ�เนินการด้าน
CSR อย่างต่อเนื่องด้วยงบประมาณท่ีจำ�กัด สำ�หรับ ISO 14001 : 2004 การรับรองระบบการจัดการส่ิงแวดล้อมได้ครบวาระการปรับปรุง
ขอ้ กำ�หนด และได้มีการเปลีย่ นมาตรฐานฉบับใหมเ่ ปน็ ISO 14001 : 2015 ซึง่ มผี ลบังคบั ใชต้ ั้งแตเ่ ดือนกันยายน ปี 2561 เป็นต้นไป
ในปี 2564 บรษิ ัทยอ่ ย SPEWC ยงั คงใหส้ ว่ นลดเปน็ พเิ ศษแกต่ วั แทนจ�ำ หนา่ ยทมี่ ยี อดสง่ั ซอื้ สนิ ค้าถงึ เปา้ หมาย
ที่กำ�หนดไว้ หรือสงั่ ซ้อื ในช่วงท่ีบรษิ ัทฯ ตอ้ งการขายสินคา้ ใหไ้ ด้เร็วข้ึน และรว่ มมือกับลูกค้ารายใหญเ่ พอ่ื ปกปอ้ งความเส่ยี งจากความผันผวนของ
ราคาวัตถดุ ิบหลกั ซ่งึ คือแผน่ ทองแดงบริสุทธิ์ (COPPER CATHODE)
กลยุทธ์ทางการตลาดของบรษิ ัทฯ มีดงั น้ี
• เพ่ิมยอดจำ�หน่ายให้แก่หน่วยงานเอกชนและรัฐวิสาหกิจมากขึ้น โดยบริษัทฯ มีเป้าหมายมุ่งเน้นในการ
พฒั นาคณุ ภาพของผลติ ภัณฑเ์ ป็นหลัก ในปี 2564 ทีผ่ า่ นมาได้จ�ำ หน่ายใหแ้ กล่ ูกค้าภาคเอกชนที่มีโครงการใหญ่ๆ หลายโครงการ โดยบริษัทฯ
มีสัดสว่ นการจ�ำ หน่ายใหล้ กู ค้าภาคเอกชนอยทู่ ่รี อ้ ยละ 54.46 และยอดจ�ำ หน่ายให้แก่ลกู ค้าภาครัฐวิสาหกิจอย่ทู ี่ รอ้ ยละ 45.54 ของยอดจ�ำ หน่าย
ทัง้ หมด นอกจากนีบ้ ริษทั ฯ ได้ปรบั ปรุงกฎเกณฑร์ ะเบียบการรบั ช�ำ ระเงนิ จากลกู คา้ เพอ่ื อำ�นวยความสะดวกให้แก่ลกู คา้ ภาคเอกชนในประเทศ
ซ่งึ ช่วยทำ�ให้บรษิ ัทฯ สามารถจ�ำ หน่ายสนิ ค้าไดม้ ากขนึ้
• เพม่ิ ยอดจ�ำ หนา่ ย และเพมิ่ ชอ่ งทางการสง่ ออก โดยมงุ่ รกั ษาระดบั คณุ ภาพสนิ คา้ ของบรษิ ทั ฯ ใหอ้ ยใู่ นระดบั
มาตรฐานสากลเพอ่ื เพิม่ ศกั ยภาพในการแข่งขันในตลาดตา่ งประเทศ
• มุ่งเนน้ ขยายตวั แทนจำ�หนา่ ยท่ีมีความสามารถเพิ่มข้นึ ทั้งในกรุงเทพฯ และตา่ งจงั หวดั ทีส่ ำ�คญั ๆ ซง่ึ จะ
เปน็ ตวั แทนจำ�หนา่ ยในแตล่ ะภูมิภาคด้วย
• ขยายฐานลกู ค้ากลุ่มใหมๆ่ โดยการน�ำ เสนอผลติ ภณั ฑ์แก่ลูกคา้ กลุม่ ต่างๆ มากขึน้ ได้แก่ กล่มุ โรงพยาบาล
คอนโดมิเนยี ม ศูนย์การบินทงุ่ มหาเมฆ กล่มุ มหาวทิ ยาลยั และสนามบินสวุ รรณภูมเิ ฟส 2 เปน็ ตน้
• เขา้ รว่ มแขง่ ขันประกวดราคาในโครงการขนาดใหญ่ (Mega Project) ของทงั้ ภาครฐั และภาคเอกชน
มากขน้ึ อาทเิ ชน่ โครงการรถไฟฟา้ เสน้ ทางตา่ งๆ โครงการรถไฟฟา้ รางคู่ (สว่ นตอ่ ขยาย) รถไฟฟา้ ความเรว็ สงู และโครงการรถไฟฟา้ ความเรว็ สงู
เช่อื ม 3 สนามบนิ แบบไร้รอยต่อ (ดอนเมอื ง - สุวรรณภูมิ - อู่ตะเภา) เปน็ ตน้
• รักษาสัมพนั ธภาพทีด่ กี บั หนว่ ยงานรฐั วสิ าหกจิ และสร้างความสัมพนั ธท์ ี่ดีกับลกู คา้ ทั่วไปอยา่ งสมำ่�เสมอ
• ปรับปรงุ การใหบ้ ริการ และการสง่ มอบสินคา้ ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพและรวดเรว็ ขน้ึ
• ปรับปรุงนโยบายในการจัดตั้งตัวแทนจำ�หน่าย นโยบายการขาย และส่งเสริมการขาย ตลอดจนพัฒนา
ช่องทางการจัดจำ�หน่ายตา่ งๆ รวมถงึ ตัวแทนจำ�หน่ายในต่างจังหวดั
• บรษิ ทั ย่อย SFO ยังคงพยายามมุ่งเนน้ ให้ความรูแ้ ก่ลกู คา้ และผู้ใช้สายเคเบ้ลิ ใยแกว้ น�ำ แสง ใหต้ ระหนกั
ถงึ ความแตกตา่ งของระดบั คณุ ภาพทตี่ รงตามมาตรฐาน แมจ้ ะซอื้ ผลติ ภณั ฑใ์ นราคาทสี่ งู กวา่ กต็ าม และไดพ้ ยายามหาแหลง่ ผจู้ �ำ หนา่ ยวตั ถดุ บิ หลกั
รายใหมๆ่ เพม่ิ มากข้นึ ท้ังน้ีเพ่อื เปน็ การเพ่มิ อำ�นาจการต่อรอง และลดต้นทุนในการผลติ

บริษัท จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบลิ้ จ�ำ กดั (มหาชน) 5

ช่องทางการจัดจ�ำ หน่าย
บริษัทฯ และบริษัทย่อย SFO มียอดจำ�หน่ายให้แก่หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และยอดส่งออก
สำ�หรบั ปี 2562 ถงึ ปี 2564 คิดเป็นสดั ส่วนรอ้ ยละดงั ต่อไปน้ี
จรุงไทยฯ SFO
2562 2563 2564 2562 2563 2564
รัฐวิสาหกิจ 26.49 52.86 45.54 18.72 41.38 0.00
เอกชน 72.86 46.85 49.87 81.28 58.62 100.00
สง่ ออก 0.65 0.29 4.59 0.00 0.00 0.00
รวม 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00

ในปี 2564 บริษทั ย่อย SPEWC มียอดจำ�หน่ายภายในประเทศรอ้ ยละ 68.20 โดยส่วนใหญจ่ ำ�หน่ายใหแ้ ก่ลกู คา้ ภาคเอกชน และมียอดสง่ ออก
ร้อยละ 31.74

หนว่ ยงานรัฐวสิ าหกจิ : โดยวธิ ปี ระกวดราคาตามนโยบายจดั ซอ้ื สนิ คา้ ส�ำ เรจ็ รปู และการวา่ จา้ งผลติ จากผผู้ ลติ ภายในประเทศ การประกวดราคา
ในปี 2564 ซึ่งได้งานจากหน่วยงานรัฐวิสาหกิจส่วนใหญ่เป็นงานท่ีต่อเน่ืองจากปีก่อน โดยใช้วิธีการประมูลงาน
ทางอินเทอร์เน็ตระบบ E-Bidding, วิธีคัดเลือกและวิธีเจาะจง โดยโครงการลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานที่สำ�คัญๆ
ได้รับการขบั เคลอ่ื นจากหน่วยงานภาครฐั อยา่ งตอ่ เนอื่ งมาโดยตลอด

ภาคเอกชน : บริษัทฯ ได้พยายามเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันกับคู่แข่งภายในประเทศ โดยมีการทำ�สัญญาซ้ือขายและ
จ�ำ หนา่ ยใหแ้ กผ่ แู้ ทนจ�ำ หนา่ ยอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ผรู้ บั เหมารายใหญ่ ผรู้ บั เหมาโครงการ เชน่ โครงการกอ่ สรา้ งสถานรี ถไฟฟา้
สายสเี หลอื ง, สายสชี มพู โครงการตา่ งๆ ของการรถไฟแหง่ ประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) อกี ทงั้ บรษิ ทั ฯ ไดเ้ พ่ิมศกั ยภาพ
ในการแข่งขัน และเพิม่ โอกาสในการเขา้ รว่ มประมูลงานตา่ งๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง

สง่ ออก : การส่งออกสินค้าในปี 2564 ได้รับผลกระทบด้านภาวะการแข่งขันท่ีรุนแรงอย่างต่อเนื่องและเน่ืองจากภาวะหดตัว
เพม่ิ สงู ขึน้ จากปีกอ่ น เนื่องจากผลกระทบจากการชะลอตวั ของเศรษฐกจิ โลก และการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั
โควดิ -19 (COVID 19) การสง่ ออกผลติ ภณั ฑไ์ ปยงั สาธารณรัฐแหง่ สหภาพเมียนมา และประเทศกัมพชู า ยังคงมี
อปุ สรรคเกยี่ วกบั มาตรการควบคมุ ท�ำ ใหไ้ มส่ ามารถผลกั ดนั ยอดการสง่ ออกไดต้ ามทค่ี าดหวงั ไว้ บรษิ ทั ฯ ยงั คงพยายาม
หาช่องทางการแข่งขันในตลาดต่างประเทศ เพื่อเพม่ิ โอกาสในการสง่ ออกใหม้ ากข้ึน

ข) สภาพการแข่งขันและส่วนแบ่งทางการตลาด
สายไฟฟ้าตวั น�ำ อลูมิเนยี ม
เศรษฐกจิ ในปี 2564 ท่ผี า่ นมาบรษิ ัทฯ ไดร้ บั ผลกระทบเน่อื งจากสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรสั
โควิด-19 (COVID 19) ซ่ึงรัฐบาลไดม้ ีมาตรการควบคมุ การระบาดทเ่ี ข้มงวด ท�ำ ใหก้ ารลงทนุ ของภาครัฐและภาคเอกชนได้รบั ผลกระทบปรับตัว
ลดลง โครงการตา่ งๆ ตอ้ งหยดุ ชะงกั การขยายตวั ลดลงจากแผนการเดมิ สง่ ผลตอ่ การผลติ และการสง่ มอบของบรษิ ทั ฯ ประกอบกบั ราคาวตั ถดุ บิ
ปรบั สงู ขนึ้ ตลอด และอตั ราแลกเปลยี่ นออ่ นคา่ ลงจากปกี อ่ น แตเ่ นอ่ื งจากภาครฐั บาลมนี โยบายเกย่ี วกบั โครงการโครงสรา้ งพนื้ ฐานระยะยาวทส่ี �ำ คญั
จ�ำ เปน็ ตอ้ งดำ�เนนิ การอย่างตอ่ เนื่อง จงึ สง่ ผลใหธ้ ุรกจิ ภาครฐั และภาคเอกชนมีความต้องการใชส้ ายไฟฟา้ อลูมเิ นียมเพ่มิ ขนึ้ ในปี 2564 บรษิ ัทฯ
มสี ่วนแบ่งสายไฟฟ้าตัวน�ำ อลมู ิเนียมประมาณรอ้ ยละ 11 ของตลาดภายในประเทศ

6 แบบ 56-1 One Report

สายไฟฟ้าตัวน�ำ ทองแดง
ในปี 2564 เนอ่ื งจากยงั มผี ลกระทบจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โควิด-19 (COVID 19)
ระลอกใหม่ สง่ ผลกระทบตอ่ เนอ่ื งท�ำ ใหร้ ฐั บาลประกาศใชม้ าตรการลอ็ กดาวน์ ท�ำ ใหเ้ ศรษฐกจิ ในหลายภาคสว่ นหยดุ ชะงกั ภาคเอกชนผปู้ ระกอบการ
ชะลอการลงทุนมีผลกระทบต่อการผลิต ซ่ึงทำ�ให้บริษัทฯ ไม่สามารถส่งสินค้าได้ และภาครัฐบาลมีความล่าช้าในการดำ�เนินการเบิกจ่ายงบ
ในโครงสร้างพน้ื ฐานระยะยาว อีกทัง้ ในตลาดสายไฟฟา้ ตัวน�ำ ทองแดงมผี ผู้ ลติ เพิ่มมากขนึ้ ทำ�ใหบ้ รษิ ัทฯ ต้องเผชิญกบั ภาวะการแขง่ ขันท่รี นุ แรง
มากข้ึน อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ยังสามารถได้รับงานจากโครงการพื้นฐานระยะยาว อาทิเช่น โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลือง, สายสีส้ม,
โรงพยาบาลจุฬา 400 เตียง, โรงพยาบาลสนิ แพทย์, AIA บางนา, คอนโด Knight Bridge Space พระราม 9, คอนโด ShrewsBury,
คอนโด Rhythm เจรญิ กรุง, โรงเรียนนายเรืออากาศนวมินท์กษตั ริยาธราช (มวกเหล็ก) และศนู ย์การบินท่งุ มหาเมฆ เป็นตน้ ในปี 2564 บริษัทฯ
มีส่วนแบง่ ตลาด สายไฟฟา้ ตัวน�ำ ทองแดงประมาณรอ้ ยละ 13 ของตลาดภายในประเทศ
สายไฟฟา้ แรงดันสูง
ตลาดสายไฟฟ้าแรงดนั สูง มลี ักษณะคลา้ ยกับตลาดสายไฟฟา้ ตวั นำ�อลมู เิ นยี ม โดยส่วนใหญ่บรษิ ทั ฯ จะเป็นผู้
รับจ้างผลติ ให้แกห่ น่วยงานรัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชน บริษทั ฯ ได้รับงานโครงการพืน้ ฐานตอ่ เน่ืองซงึ่ มีระยะยาว เชน่ รถไฟฟ้าสีส้ม สายสีชมพู
สายสีหลอื ง โครงการกอ่ สรา้ งสนามบินสวุ รรณภูมิ เฟส 2 งานเคลอื่ นย้ายสายลงใตด้ ิน โครงการรถไฟฟ้ารางคู่ (ส่วนงานเพม่ิ เตมิ ) ซึ่งโครงการ
ต่างๆ ในปี 2564 ได้เจออุปสรรคสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโควิด-19 (COVID 19) ทำ�ให้รัฐบาลประกาศล็อกดาวน์
ซึ่งส่งผลให้บรษิ ัทฯ มีการสง่ ของล่าชา้ ออกไป ประกอบกบั ราคาวตั ถดุ บิ ปรบั เพิ่มสูงข้นึ ตลอด และมีความผันผวนของอตั ราแลกเปลย่ี น ส่งผลให้
ในปี 2564 บริษทั ฯ มสี ว่ นแบ่งตลาดสายไฟฟา้ แรงดันสงู ประมาณรอ้ ยละ 14 ของตลาดภายในประเทศ
สายเคเบล้ิ โทรศัพท์
ปัจจุบันความต้องการใช้สายเคเบ้ิลโทรศัพท์ชนิดไส้ทองแดงมีจำ�นวนลดลงอย่างมาก เน่ืองจากมีสินค้าทดแทน
ทเี่ กิดจากการเปลีย่ นแปลงด้านเทคโนโลยี คอื สายเคเบลิ้ ใยแก้วน�ำ แสง ซึ่งมีคณุ สมบตั ิทางดา้ นเทคนคิ ทดี่ ีกว่าในทกุ ด้าน เช่น การลดทอนสญั ญาณ
ต่ำ� บรรจุข้อมูลได้จำ�นวนมาก โครงสร้างมีขนาดเล็ก นำ้�หนักเบา ไม่นำ�ไฟฟ้าเน่ืองจากมีคุณสมบัติเป็นฉนวน เป็นต้น ซ่ึงหน่วยงาน
ทีย่ ังใช้สายเคเบิ้ลโทรศัพทช์ นดิ ไส้ทองแดง คอื บมจ. โทรคมนาคมแห่งชาติ ที่ซอื้ ไปทดแทนของเดมิ ทต่ี อ้ งเปลี่ยนตามอายุการใช้งาน ซง่ึ ปจั จุบนั
ได้เปล่ียนไปใช้สายเคเบ้ิลใยแก้วนำ�แสงหมดแล้ว ในส่วนบริษัทย่อย SPEWC มียอดขายลดลงด้วยเหตุผลเช่นเดียวกับบริษัทฯ และคาดว่า
จะจำ�หนา่ ยไปอกี 1 ปีข้างหนา้ หลงั จากนั้นจะพจิ ารณายกเลกิ การผลิตและจำ�หนา่ ยเนือ่ งจากไม่คุม้ คา่ ตอ่ การผลิต ปี 2564 SPEWC เลิกผลติ
และจำ�หน่ายผลิตภัณฑ์สายโทรศัพท์แล้ว และยกเลิกไลน์การผลิตเน่ืองจากปัจจุบันไม่มีลูกค้าส่ังซ้ือสินค้าประเภทน้ีแล้วด้วยเหตุผลว่าเทคโนโลยี่
เปลย่ี นแปลงไป โดยมีสินคา้ อื่นมาทดแทนได้ดีกวา่ มาก (TECHNOLOGY DISRUPTION)
สายเคเบล้ิ ใยแก้วนำ�แสง
ปัจจบุ ันการส่ือสารด้วยโทรศพั ท์เคลอ่ื นที่ ได้มีการพฒั นาจากระบบ 4G (การส่ือสารไรส้ ายรนุ่ ท่ี 4 : Fourth-
Generation Wireless ) ทำ�ให้ความต้องการใช้สายเคเบ้ลิ ใยแก้วน�ำ แสงเพิม่ มากขึ้น เพอื่ เพ่ิมประสทิ ธิภาพของการรบั สง่ สัญญาณท่เี รว็ ขนึ้ กวา่ เดิม
จากโอกาสทางธุรกจิ ดงั กล่าว การแข่งขันจะรุนแรงเพิม่ มากข้ึน เน่อื งจากมจี �ำ นวนผู้ผลติ สายเคเบล้ิ ใยแก้วนำ�แสงในประเทศเพม่ิ ข้ึน จากเดิมทมี่ ี
เพยี งการน�ำ เข้าสายเคเบิ้ลใยแกว้ จากต่างประเทศ
ปัจจบุ ันผูผ้ ลติ สายเคเบลิ้ ใยแก้วนำ�แสงทส่ี �ำ คญั ภายในประเทศยงั คงมเี พียง 7 ราย นอกจากนย้ี ังมผี ู้ประกอบการ
จากต่างประเทศท่ีเข้ามาแข่งขันในตลาดภายในประเทศ โดยไม่ต้องเสียอัตราภาษีนำ�เข้าและมีต้นทุนในการผลิตที่ต่ำ�กว่าผู้ผลิตภายในประเทศ
ทำ�ให้ผู้ผลติ ภายในประเทศต้องแขง่ ขันอยา่ งยากล�ำ บากในเรือ่ งของราคา เน่อื งจากวัตถดุ บิ สว่ นใหญ่ทีใ่ ชใ้ นการผลติ ต้องนำ�เขา้ จากตา่ งประเทศ
บริษัทฯ จะจำ�หน่ายสายเคเบิ้ลใยแก้วนำ�แสงให้แก่ผู้รับเหมาช่วงงานของภาคเอกชนผู้ให้บริการโทรคมนาคมเป็นส่วนใหญ่ และสืบเนื่องจาก
การแข่งขันท่ีรุนแรงของสินค้านำ�เข้า บริษัทย่อย SFO ได้ประสานงานและขอความช่วยเหลือจากสมาคมอุตสาหกรรมไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์
และโทรคมนาคมไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพ่ือให้ความช่วยเหลือโดยการทำ�หนังสือถึงหน่วยราชการท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือผลักดันให้
รฐั วสิ าหกจิ ตา่ งๆ ท่ีใชส้ ายเคเบิ้ลใยนำ�แก้วสนบั สนนุ การใช้สินค้าทผ่ี ลิตในประเทศไทยมากขนึ้
ลวดอาบน�้ำ ยาและไม่อาบน้ำ�ยา
บริษัทย่อย SPEWC เป็นหนึ่งในสามของผ้ผู ลติ ลวดทองแดงอาบนำ�้ ยาที่ไดม้ าตรฐานสูงสดุ ในประเทศไทย และ
ไดร้ ับมาตรฐาน UL (Underwriters Laboratories Inc.) ซ่ึงเป็นมาตรฐานท่ไี ด้รับการยอมรบั ในวงการผูผ้ ลิตท่วั โลก SPEWC ม่งุ เน้นการแขง่ ขนั
ด้านคุณภาพ พร้อมทัง้ การใหบ้ ริการและการส่งสินคา้ ทร่ี วดเรว็ ตลอดจนแสดงความรับผิดชอบในกรณที ีส่ นิ คา้ มปี ญั หา จากสภาวะการแขง่ ขันที่
รุนแรงข้ึนในระยะหลายปีท่ีผ่านมา SPEWC ได้กำ�หนดนโยบาย โดยมุ่งเน้นขายสินค้าให้แก่กลุ่มลูกค้าเป้าหมายท่ีมีความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์

บริษัท จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิล้ จำ�กดั (มหาชน) 7

ของบริษทั อย่างแทจ้ รงิ (Niche Market) มากข้นึ นอกจากน้ี SPEWC ได้พยายามเพิ่มยอดขายด้วยการติดตามการขายและใหบ้ รกิ ารแก่ลกู ค้า
เก่าในตลาดเดิม หาลูกค้าใหม่เพ่ิมในตลาดเดิม ตลอดจนหาตลาดใหม่ๆ ทั้งตลาดในต่างประเทศและตลาดภายในประเทศ ท่ีบริษัทสามารถ
ขายสนิ ค้าได้ในราคาทด่ี ขี ้ึน ตงั้ แตป่ ี 2558 บรษิ ัทฯ ได้เนน้ การผลิตและสง่ ออกผลติ ภัณฑ์ลวดทองแดงไม่อาบน้ำ�ยา ซึ่งเปน็ สินค้ากึ่งสำ�เรจ็ รูป
ของลวดทองแดงอาบน้ำ�ยา ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.6 มิลลิเมตร และ 1.8 มิลลิเมตร ซึ่งเป็นท่ีต้องการของกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม
ในต่างประเทศเพื่อนำ�ไปใช้เป็นวัตถุดิบขั้นต้น แต่ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวอาจจะทำ�อัตรากำ�ไรได้น้อย ในปี 2561 SPEWC ได้ริเร่ิมสินค้าใหม่
อกี ชนิดหนึ่งคอื ลวดทองแดงพนั เกลียว (LITZ WIRE) ซึ่งจะใชใ้ นอตุ สาหกรรมผลติ เครื่องใชไ้ ฟฟา้ โดยบริษัทฯ ไดเ้ ริ่มผลิตและทดลองจำ�หน่าย
ต้ังแต่ตน้ ปี 2561 เป็นตน้ มา ในปี 2564 SPEWC มสี ว่ นแบ่งตลาดลวดอาบน้ำ�ยาและไม่อาบน�ำ้ ยา ประมาณร้อยละ 25-30% ของตลาด
ภายในประเทศ
ปี 2564 SPEWC ลดการขายลวดทองแดงไม่อาบน�ำ้ ยาลงไปจนกระทง่ั เหลอื ยอดขายเพยี ง 2.5% ของยอดขาย
ท้งั หมดดว้ ยเหตุท่ผี ลติ ภัณฑด์ งั กลา่ วมกี �ำ ไรขนั้ ตน้ นอ้ ยมาก ๆ หรอื ขาดทนุ อีกท้งั การขายลวดไม่อาบนำ�้ ยาน้ที งั้ หมดเปน็ การขายส่งออก จะมคี ่า
ใช้จ่ายการสง่ ออก อาทิ คา่ จา้ งบรษิ ัทออกของ (Shipping) คา่ ระวางเรอื ค่าธรรมเนยี มที่ธนาคารเรียกเกบ็ จากเอกสารส่งออก ค่าใช้จา่ ยท่เี กิด
จากการใชเ้ งินตราตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ คา่ ความแตกตา่ งระหว่างอตั ราขายกบั อตั รารบั ซ้อื คา่ ท�ำ สัญญาประกนั ความเสีย่ งล่วงหนา้ คา่ ธรรมเนยี ม
ทดแทนอัตราแลกเปล่ยี น (Commission in Lieu of Exchange) ลูกคา้ ขอเครดิตเทอมนานมาก ท�ำ ให้เกิดความเสยี่ งจากการไมไ่ ด้รับชำ�ระเงิน
ซึ่งการฟอ้ งรอ้ งติดตามหน้ขี า้ มประเทศแทบเป็นไปไม่ได้เลย (การขายทงั้ หมดเป็น B/C หรอื Post Shipment T/T)
สทิ ธิและขอ้ จำ�กดั ในการดำ�เนนิ ธรุ กิจการผลิต
ผลิตภัณฑข์ องบริษทั ฯ มีคุณภาพทีไ่ ดม้ าตรฐานท้งั ในและต่างประเทศ เชน่ มาตรฐาน TIS, NEMA, IEC, BS และ ASTM เป็นตน้ บรษิ ัทฯ
มเี ทคโนโลยที มี่ มี าตรฐานสงู และผลติ สนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพ ควบคไู่ ปกบั การพฒั นาการบรหิ ารจดั การโดยไดน้ �ำ ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพตามมาตรฐาน
ISO 9000 มาปรับใชจ้ นได้รับการรับรองระบบบริหารคุณภาพ ISO 9002 : 1994 เปน็ ครง้ั แรกในปี 2539 จากส�ำ นกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์
อตุ สาหกรรม กระทรวงอตุ สาหกรรม และจากหน่วยงานรบั รองมาตรฐานสากล Bureau Veritas Quality International (BVQI) ในปถี ัดมา
โดยไดม้ กี ารปรบั เปลยี่ นระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพเรอ่ื ยมาจนกระทง่ั ปจั จบุ นั เปน็ ระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ ISO 9001:2015 และในการด�ำ เนนิ กจิ การ
ผลติ ของบริษัทฯ ท่ีค�ำ นงึ ถึงผลกระทบอันเกดิ จากกระบวนการผลิตตอ่ ส่งิ แวดล้อม จึงไดน้ ำ�ระบบการจดั การส่งิ แวดลอ้ มตามมาตรฐาน ISO14001
: 2004 มาใช้ ซ่ึงบรษิ ัทฯได้รบั การรบั รองระบบดังกลา่ วในปี 2557 จากหนว่ ยรับรองมาตรฐานไอเอสโอ (MASCI : Management System
Certification Institute) และไดป้ รบั เปลี่ยนระบบจดั การส่งิ แวดล้อมดังกล่าวใหเ้ ป็นไปตามข้อกำ�หนดของมาตรฐานทีเ่ ปน็ ปัจจุบนั คือ ISO14001
: 2015 เช่นเดียวกับระบบบรหิ ารงานคุณภาพ ISO 9001:2015 ในปี 2561 บริษทั ฯ ยงั ได้ตระหนกั ถึงความปลอดภยั ในการท�ำ งานของพนกั งาน
จงึ ไดน้ �ำ ระบบการจดั การอาชวี อนามยั และความปลอดภยั มาใช้ และไดร้ บั การรบั รองระบบการจดั การอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ตามมาตรฐาน
มอก. 18001 : 2554 และ ISO 45001 : 2018 จาก MASCI เช่นเดยี วกับระบบ ISO 9001:2015 และ ISO14001 : 2015 อกี ทงั้ ห้องปฏิบัติ
การทดสอบของบรษิ ทั ฯ ทไี่ ด้รับการรบั รองขดี ความสามารถของห้องปฏบิ ัตกิ ารทดสอบตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025 : 2017 โดยหน่วยรับรอง
ระบบงานแหง่ ชาตขิ องส�ำ นกั งานมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม (TLAS : Thai Laboratory Accreditation Scheme) ไดข้ ยายขอบขา่ ยขดี
ความสามารถในการทดสอบให้ครอบคลมุ ทุกผลิตภณั ฑข์ องบรษิ ทั ฯ อันไดแ้ ก่ สายไฟฟ้าทนไฟ (Fire Resistant Cable) สายไฟฟา้ แรงดนั ต�ำ่
(Low Voltage Cable) และสายไฟฟา้ แรงดันสูง (High Voltage Cable) เพือ่ สรา้ งความมั่นใจให้กับลูกคา้ ในด้านคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์
(3) การจัดหาผลติ ภัณฑ์หรอื บรกิ าร
ก) การผลิตหรอื การจดั หาผลติ ภณั ฑเ์ พ่อื จ�ำ หนา่ ย
โรงงานของบริษัทฯและ SFO ต้ังอยู่เลขท่ี 35/1 หมู่ 22 ถนนสวุ นิ ทวงศ์ ตำ�บลศาลาแดง อ�ำ เภอบางนำ้�เปรยี้ ว
จงั หวัดฉะเชิงเทรา ประกอบด้วยอาคารสำ�นกั งาน 1 หลงั และอาคารโรงงาน 6 หลงั ดงั นี้
1. อาคารสำ�นกั งาน
2. อาคารโรงงานผลิตสายเคเบิ้ลอลูมิเนยี ม (Aluminium Cable)
3. อาคารโรงงานผลติ สายไฟฟ้า (Power Cable)
4. อาคารโรงงานผลติ สายเคเบล้ิ โทรศัพท์ (Telephone Cable)
5. อาคารโรงงานผลิตสายไฟฟ้าแรงดันต�ำ่ และผลติ ลวดทองแดง
6. อาคารโรงงานทดสอบสายไฟฟ้า
7. อาคารโรงงานผลิตสายเคเบลิ้ ใยแก้วนำ�แสงของ SFO

8 แบบ 56-1 One Report

ส�ำ นกั งานของ SPEWC ตง้ั อยเู่ ลขท่ี 2922/311-312 ชน้ั 30 อาคารชาญอสิ สระทาวเวอร์ 2 ถนนเพชรบรุ ตี ดั ใหม่
แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรงุ เทพฯ สว่ นโรงงานตัง้ อยู่เลขท่ี 8 หมทู่ ี่ 5 ถนนตวิ านนท์ ต�ำ บลบ้านใหม่ อำ�เภอเมอื งปทมุ ธานี จังหวดั ปทุมธานี
ซึ่งประกอบดว้ ยอาคารต่างๆ ดงั นี้
1. อาคารส�ำ นกั งานโรงงาน 2 อาคาร
2. อาคารเครอื่ งจกั ร 8 อาคาร
3. อาคารโรงเกบ็ สินคา้ 6 อาคาร
4. อาคารช่ัวคราวส�ำ หรับบรรจุสินคา้ 2 อาคาร
5. อาคารรักษาความปลอดภัย 1 อาคาร
ส�ำ นกั งาน และโรงงานของบริษทั เซี่ยงไฮ้ เอเซีย แปซิฟิค อีเลค็ ทรคิ จำ�กดั ตัง้ อยู่เลขท่ี 2525 ถนนตา้ เย่
เมืองอเู่ ฉียว ฟ่งเซี่ยน เซีย่ งไฮ้ ประเทศจีน

กำ�ลังการผลติ และอัตราการใช้กำ�ลังการผลิตของบรษิ ทั ฯ
ก�ำ ลงั การผลิตและปริมาณการผลติ ท่เี กดิ ข้นึ จริง ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
ผลติ ภัณฑส์ ายไฟฟ้าตวั นำ�อลูมเิ นียม 6,715 6,840
กำ�ลังการผลิตเตม็ ทตี่ ่อปี : 14,400 เมตรกิ ตัน 47 47
ปรมิ าณการผลติ จรงิ (เมตรกิ ตัน) 10,706 5,501 6,339
อตั ราการใชก้ �ำ ลงั การผลิต (%) 74 46 55
ผลติ ภณั ฑ์สายไฟฟ้าตวั นำ�ทองแดง 1,253 3,169
ก�ำ ลงั การผลิตเตม็ ที่ต่อปี : 12,000 เมตรกิ ตนั 0.1 0
ปรมิ าณการผลิตจรงิ (เมตรกิ ตัน) 3,928 5,079 2,382
อตั ราการใชก้ ำ�ลงั การผลิต (%) 33 97 50
ผลติ ภณั ฑส์ ายเคเบลิ้ โทรศัพท์
กำ�ลังการผลติ เต็มทต่ี อ่ ปี: 1,440,000 คูก่ โิ ลเมตร
ปรมิ าณการผลติ จริง (คู่กิโลเมตร) 962
อตั ราการใช้ก�ำ ลงั การผลติ (%) 0.1
ผลติ ภัณฑ์สายไฟฟา้ แรงดนั สงู
ก�ำ ลังการผลิตเตม็ ทตี่ อ่ ปี : 5,250* เมตริกตนั (XLPE)
ปริมาณการผลิตจริง (เมตรกิ ตนั ) 3,672
อัตราการใชก้ �ำ ลงั การผลิต (%) 70
หมายเหตุ : * บรษิ ัทฯ ไดเ้ พม่ิ กำ�ลังการผลิตมากขนึ้ เนอ่ื งจากมกี ารปรับปรุงเครอ่ื งจกั ร

กำ�ลังการผลิต และอตั ราการใชก้ ำ�ลงั การผลิตของบริษัทยอ่ ย (SFO) ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
ก�ำ ลงั การผลิตและปริมาณการผลติ ทีเ่ กิดขึ้นจริง 23,117 53,567 63,524
SFO 11 13
ผลิตภัณฑส์ ายเคเบ้ลิ ใยแกว้ นำ�แสง 5
ก�ำ ลงั การผลติ เตม็ ที่ต่อปี : 500,000 Km-fiber/year
ปรมิ าณการผลิตจริง (km-fiber)
อัตราการใชก้ ำ�ลงั การผลติ (%)

บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ลิ จ�ำ กดั (มหาชน) 9

กำ�ลังการผลิต และอัตราการใชก้ �ำ ลังการผลติ ของบรษิ ัทย่อย (SPEWC, SAP)
กำ�ลังการผลติ และปริมาณการผลิตที่เกิดข้นึ จริง ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
SPEWC
ผลิตภัณฑ์ลวดอาบน�ำ้ ยาและไม่อาบนำ�้ ยา 15,600 15,600
กำ�ลงั การผลิตเต็มท่ตี อ่ ปี : เมตรกิ ตัน 15,600 7,642 14,411
ปรมิ าณการผลิตจรงิ (เมตริกตัน) 10,203 49 92
อัตราการใช้ก�ำ ลังการผลติ (%) 65 180,000 180,000
ผลิตภณั ฑส์ ายเคเบ้ิลโทรศัพท์ 3,864 38,724
ก�ำ ลงั การผลติ เต็มที่ตอ่ ปี : คู่กิโลเมตร 0* 2 19
ปริมาณการผลิตจริง (คกู่ โิ ลเมตร) 0*
อตั ราการใช้กำ�ลงั การผลิต (%) 0* 0 ** 6,744
SAP 0 ** 2,028
ผลิตภัณฑ์ลวดทองแดงอาบน้�ำ ยา 0 ** 30
กำ�ลงั การผลิตเต็มทต่ี อ่ ปี : เมตรกิ ตัน 0 **
ปริมาณการผลิตจรงิ (เมตรกิ ตนั ) 0 **
อัตราการใช้กำ�ลังการผลิต (%) 0 **
* SPEWC หยุดการผลติ สายเคเบลิ้ โทรศพั ท์ ในระหว่างปี 2564
** SAP หยดุ การผลิตสนิ ค้าตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจิกายน 2562

ข) แหลง่ ทม่ี าของวตั ถุดบิ ส�ำ คัญ
บริษทั ฯ ไดร้ ับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตต่างๆ จากกลุม่ ผ้ถู อื หุน้ ชาวไต้หวัน และไดน้ ำ�มาพัฒนาเพิม่ เติม
นอกจากน้บี ริษัทฯ ยังไดร้ บั การสนบั สนนุ เทคโนโลยีการผลิตใหม่ๆ จากบริษัท ฟจู กิ ุระ จ�ำ กัด ประเทศญป่ี นุ่ มาเปน็ เวลากว่า 30 ปี
ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม
บริษัทฯ ไดด้ �ำ เนินการผลติ โดยใช้เทคโนโลยกี ารผลติ ที่ทันสมยั ซึง่ ไม่สง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดล้อมเกินกวา่ ขอบเขต
ทก่ี ฎหมายก�ำ หนดและไมเ่ คยถกู รอ้ งเรยี น หรอื มขี อ้ พพิ าทเกย่ี วกบั ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม และมกี ารใชว้ ตั ถดุ บิ ทปี่ ราศจากโลหะหนกั ทเ่ี ปน็ อนั ตราย
ต่อชีวิต และส่งิ แวดลอ้ มมากข้ึน เช่น PVC ทปี่ ราศจากสารตะก่ัว เป็นตน้
วตั ถดุ ิบ
ในปี 2564 วตั ถุดบิ ทใี่ ช้ในการผลติ ของบรษิ ัทฯ ประมาณร้อยละ 88 น�ำ เขา้ มาจากต่างประเทศโดยผ่านบรษิ ัท
ตวั แทนในประเทศไทย และร้อยละ 12 ใชว้ ัตถุดิบในประเทศ จ�ำ นวนผจู้ �ำ หนา่ ยวตั ถุดบิ มที งั้ หมด 42 ราย โดยแบง่ เปน็ ผู้จ�ำ หน่ายในประเทศ
23 ราย และตา่ งประเทศ 19 ราย

วัตถุดิบหลักทบ่ี ริษัทฯ ใช้ในการผลิตแบง่ ได้เป็น 4 ชนดิ ดงั น้ี
1. ตวั น�ำ :
วัตถุดิบตัวนำ�ที่สำ�คัญได้แก่ โลหะสองชนิด คืออลูมิเนียม และทองแดง ซ่ึงมีความบริสุทธ์ิในอัตรา
รอ้ ยละ 99.70 สำ�หรบั อลมู เิ นียม และร้อยละ 99.90 สำ�หรับทองแดง โดยโลหะท้ังสองชนิดนำ�เข้าจากตา่ งประเทศ เช่น ประเทศออสเตรเลยี
จีนและโปแลนด์ เป็นต้น ราคาของโลหะทั้งสองควบคุมโดยตลาดกลางที่ประเทศอังกฤษ (London Metal Exchange) ซึ่งแต่เดิมบริษัทฯ
เป็นผูร้ บั ภาระในการจดั ซื้อ-จัดหาวตั ถดุ บิ ใหแ้ ก่ลูกค้า แต่ปัจจบุ นั ลกู คา้ ของบริษทั ฯ ที่เป็นรัฐวสิ าหกิจบางแห่ง ได้เปล่ียนนโยบายเปน็ จดั ซ้ือและ
จดั หาวตั ถดุ บิ เอง โดยท�ำ สญั ญาวา่ จา้ งใหบ้ ริษัทฯ เปน็ ผู้ผลิตสายไฟฟ้าสำ�เร็จรูปให้ ดว้ ยเหตุน้บี รษิ ัทฯ จึงลดภาระในการจดั ซื้อ จัดหาและจดั เก็บ
วัตถุดิบ ตลอดจนลดผลกระทบจากความผันผวนของราคาของวตั ถดุ ิบดังกลา่ ว ในตลาดโลกดว้ ย

10 แบบ 56-1 One Report

2. ฉนวน (กึ่งฉนวน) : ปัจจบุ นั ประเภทของฉนวนและกึง่ ฉนวนทบี่ ริษัทฯ ใชอ้ ยู่มี 3 ชนิด ดงั นี้
2.1 เทอรโ์ มพลาสติก (Thermoplastic) ท่ใี ช้งานมี 3 ชนดิ คอื
2.1.1 โพลไิ วนลี คลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) หรอื P.V.C. จัดซ้อื จากผผู้ ลิตในประเทศ 2 ราย
ได้แก่ บริษัท แอ็พพลาย ดีบี จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทเอสซีจี เพอร์ฟอร์มานซ์
เคมคิ อลส์ จำ�กัด
2.1.2 โพลิเอทิลีน (Polyethylene) หรือ P.E. จัดซ้ือจากผู้ผลิตในประเทศ 1 รายได้แก่ SCG
performance Chemical Co., Ltd., และจากผผู้ ลิตในตา่ งประเทศอกี 2 รายได้แก่ DOW,
Borouge
2.1.3 โลว์สโมค ฮาโลเจนฟรี (Low Smoke Halogen Free) หรือ LSHF จัดซื้อจากผู้ผลิต
ในต่างประเทศ 3 ราย ได้แก่ AEI, POLYONE, PADANA PLAST
2.2 เทอรโ์ มเซตตง้ิ พลาสตกิ (Thermosetting Plastic) จดั ซอื้ จากผผู้ ลติ ในตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ TSC, DOW,
BOROUGE, WANMA
2.3 เซม-ิ คอนดคั ทพี (Semi-conductive) จัดซือ้ จากต่างประเทศไดแ้ ก่ DOW,BOROUGE ฯลฯ
3. ใยแกว้ น�ำ แสง : SFO เลอื กซอ้ื วตั ถดุ บิ จากผผู้ ลติ ชน้ั น�ำ ของโลก โดยค�ำ นงึ ถงึ คณุ ภาพและการสง่ มอบเปน็ หลกั
4. ทองแดงแผ่นบริสุทธ์ิ 99.9 % (Copper Cathode) และทองแดงเส้นบริสทุ ธ์ิ 99.9 % (Copper Rod) :
วตั ถุดิบหลกั ของ SPEWC ตอ้ งนำ�เข้าจากตา่ งประเทศ โดยติดต่อซอ้ื จากบรษิ ัทนายหน้า (Broker) เนอื่ งจาก
ทองแดงจัดเปน็ สนิ คา้ โภคภณั ฑ์ (Commodity) ประเภทหนงึ่ โดยมีตลาดซื้อขายหลกั อยใู่ นประเทศอังกฤษ คือ LONDON METAL EXCHANGE
(LME) ซึ่งราคาจะปรับขึ้นลงตลอดเวลา ข้ึนอยู่กับอุปสงค์และอุปทานในตลาด เน่ืองจากความผันผวนของราคาและปริมาณการผลิตจาก
เหมอื งแรท่ องแดง SPEWC จงึ ต้องมีการทำ�สญั ญาซอ้ื ขายกนั เป็นรายปี และมีการก�ำ หนดปริมาณ (Quota) การสั่งซอื้ ข้ันต่�ำ ต่อเดอื น ซึง่ เป็น
ข้อตกลงกบั ผู้ขายดว้ ยว่า ผขู้ ายมีพนั ธะท่ีตอ้ งจัดหาทองแดงมาสง่ มอบใหไ้ ดต้ ามจำ�นวนท่รี ะบุ ในสญั ญาดงั กล่าว

(4) ทรพั ยส์ ินทใ่ี ช้ในการประกอบบธรุ กจิ
สินทรัพย์ถาวร (สทุ ธิ)
สนิ ทรพั ย์ถาวรตามรายละเอียดในงบการเงินรวม (ตรวจสอบแล้ว) ของบริษัทฯ ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 สามารถ
สรุปไดด้ งั น้ี
(หนว่ ย : ลา้ นบาท)
สินทรพั ย์ ตน้ ทนุ ค่าเสือ่ มราคาสะสม คา่ เผ่อื การดอ้ ยค่า มลู คา่ สุทธิ ลกั ษณะกรรมสทิ ธิ
ทีด่ ิน/1 240.12 - - 240.12 เจ้าของ
หอ้ งชุด อาคาร สิง่ ปลกู สร้าง/2และ
ส่งิ ปรบั ปรุงอาคาร 1,311.02 (1,099.55) (29.13) 182.34 เจ้าของ
เครอื่ งจักรและอปุ กรณ ์ 2,708.12 (2,309.81) (37.19) 361.12 เจ้าของ
เครอื่ งตกแต่งและเคร่อื งใช้ส�ำ นักงาน 108.40 (97.87) - 10.53 เจ้าของ
ยานพาหนะ 117.66 (70.77) - 46.89 เจา้ ของ
สินทรพั ย์ระหวา่ งตดิ ตงั้ และก่อสรา้ ง 475.95 - - 475.95 เจา้ ของ
รวม 4,961.27 (3,578.00) (66.32) 1,316.95

หมายเหต ุ 1. ปจั จุบนั บริษัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ยมีกรรมสทิ ธิที่ดนิ ทั้งหมดจำ�นวนเน้อื ที่ 227 ไร่ 3 งาน 48.5 ตารางวา ซึ่งมที ีต่ ั้งดังตอ่ ไปนี้
1.1 ท่ดี ินเนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 46 ตารางวา ตงั้ อยทู่ ีถ่ นนสขุ สวสั ดิ์ อ�ำ เภอพระประแดง จังหวดั สมทุ รปราการ ที่ดนิ ดังกล่าว

เป็นทต่ี ้ังของ โรงงานเก่าของบรษิ ัทฯ และมิได้มีการผลิตแต่อยา่ งใด
1.2 ที่ดนิ เนื้อท่ี 163 ไร่ 1 งาน 19 ตารางวา ต้งั อยู่ท่ถี นนสวุ นิ ทวงศ์ ตำ�บลศาลาแดง อำ�เภอบางน�ำ้ เปรีย้ ว จังหวดั ฉะเชงิ เทรา

ซ่งึ เป็นทต่ี ัง้ โรงงานของจรงุ ไทยและโรงงานของบรษิ ัทย่อย SFO
1.3 ทด่ี ินเน้ือท่ี 4 ไร่ 67 ตารางวา ตั้งอยู่ที่ถนนสวุ ินทวงศ์ ต�ำ บลศาลาแดง อ�ำ เภอบางน้ำ�เปรี้ยว จงั หวดั ฉะเชิงเทรา เป็นทด่ี นิ

วา่ งเปล่า

บรษิ ทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบิล้ จำ�กดั (มหาชน) 11

1.4 ทด่ี นิ เนอ้ื ที่ 198 ตารางวา ตั้งอยทู่ ่ี อ�ำ เภอเมอื ง จังหวดั ฉะเชงิ เทรา ซงึ่ เปน็ ทีต่ ัง้ บา้ นพกั สำ�หรบั พนักงานของบรษิ ัทฯ
1.5 ที่ดินเนื้อที่ 67 ไร่ 3 งาน 14.5 ตารางวา ต้งั อยูท่ ่ี ถนนติวานนท์ ต�ำ บลบา้ นใหม่ อ�ำ เภอเมืองปทุมธานี จังหวดั ปทุมธานี

ซ่งึ เปน็ ทต่ี ้ังโรงงานของบริษทั ย่อย SPEWC
2. ส�ำ นกั งานแบง่ เป็นดงั นี้
2.1 สำ�นักงานของบรษิ ัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ย SFO อยูท่ ี่ชนั้ 12A อาคารเซน็ ทรัลซติ ้ี ทาวเวอร์ ถนนเทพรตั น แขวงบางนาเหนือ

เขตบางนา กรงุ เทพฯ เนอ้ื ที่ 1,351.98 ตารางเมตร
2.2 ห้องชุดพักอาศัยของผู้บริหารจำ�นวน 2 ห้อง อยู่ท่ีอาคารเซ็นทรัลซิต้ี นอธเซาท ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนือ

เขตบางนา กรงุ เทพฯ เน้อื ท่ี 115.92 ตารางเมตร และ 109.66 ตารางเมตร
2.3 สำ�นักงานของบรษิ ัทยอ่ ย SPEWC อยู่ท่ีชนั้ 30 อาคารชาญอิสระทาวเวอร์ 2 ถ.เพชรบรุ ีตัดใหม่ เขตหว้ ยขวาง กรุงเทพฯ

และอาคารสำ�นักงานอีกแห่งหนึ่งอยู่ที่โรงงาน ถนนติวานนท์ ตำ�บลบ้านใหม่ อำ�เภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
อกี จำ�นวน 1 อาคาร
2.4 ทาวเฮ้าส์หม่บู า้ นบุษกรวิลล์ 11 คหู า ตัง้ อยทู่ ่ีจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา เป็นทพี่ กั อาศัยของคนงานของบริษทั ฯ
3. อาคารโรงงานแบ่งเปน็ ดังน้ี
3.1 อาคารสำ�นกั งานโรงงาน บนเนือ้ ท่ี 756 ตารางเมตร
3.2 อาคารโรงงานผลิตสายโทรศัพท์ บนเนอื้ ท่ี 18,000 ตารางเมตร
3.3 อาคารโรงงานผลติ สายไฟฟา้ ทองแดง และผลิตสายไฟฟ้าแรงดันสูง บนเนือ้ ที่ 23,700 ตารางเมตร
3.4 อาคารโรงงานผลิตสายไฟฟ้าอลมู เิ นยี ม บนเนอื้ ที่ 12,100 ตารางเมตร
3.5 อาคารโรงงานผลิตสายเคเบิล้ ใยแก้วนำ�แสงของบริษทั ยอ่ ย SFO บนเน้ือท่ี 3,600 ตารางเมตร
3.6 อาคารโรงงานผลติ สายไฟฟ้าแรงดันตำ่�และผลิตลวดทองแดงบนเน้ือท่ี 18,000 ตารางเมตร
3.7 อาคารโรงงานทดสอบสายไฟ บนเนื้อท่ี 2,322 ตารางเมตร
3.8 อาคารโรงงานของ SPEWC ซง่ึ เป็นอาคารเคร่อื งจกั ร 8 อาคาร
4. สินทรัพย์ของ SPEWC ทั้งหมดไม่มีภาระผูกพันใดๆ แต่ยังคงมีภาระในการห้ามจำ�หน่าย จ่ายโอน หรือก่อภาระผูกพันใดๆ
สำ�หรับทดี่ ินและสิ่งปลกู สร้างแหง่ หน่ึงทป่ี ลอดจ�ำ นองแลว้ เวน้ แตไ่ ดร้ ับความยินยอมเป็นหนงั สอื จากธนาคาร (Negative pledge
& letter of undertaking)
(5) งานท่ียังไมไ่ ดส้ ่งมอบ
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ยมยี อดสั่งซ้อื ทีย่ ังไมไ่ ดส้ ง่ มอบประมาณ 1,012.99 ลา้ นบาท
กลมุ่ ธุรกจิ เพ่ือการลงทุน
บรษิ ัท ซีทดี ับบลวิ เบตา้ จำ�กดั ซึ่งประกอบธรุ กิจด้วยการลงทุนในบรษิ ัทอน่ื โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพ่อื แสวงหากำ�ไร
จากผลต่างระหวา่ งราคาขายและราคาทุน (Capital Gain) เทา่ นัน้
กลุ่มธุรกจิ การสื่อสารและโทรคมนาคม
บริษัท ล็อกซแพค (ประเทศไทย) จำ�กัด (Loxpac-TH) เป็นผู้ประกอบการเพียงรายเดียวท่ีได้รับสัมปทาน
ด้านโทรคมนาคมในเขตการค้าและเศรษฐกจิ พเิ ศษ (Free Economic and Trade Zone) ในประเทศเกาหลเี หนอื ในเดอื นกันยายน ปี 2539
บริษทั ฯ ไดร้ ว่ มก่อตั้งบรษิ ทั NEAT & T (North East Asia Telephone & Telecommunications Co. Ltd.) เป็นผูป้ ระกอบการในเขต
การค้าและเศรษฐกจิ พเิ ศษภายในประเทศเกาหลเี หนอื (FETZ) ในประเทศเกาหลเี หนอื โดยรว่ มลงทนุ กับ บริษัท KPTC (Korea Postal &
Telecommunications Co. Ltd.) Loxpac-TH ได้หยุดดำ�เนนิ กิจการตง้ั แต่วนั ท่ี 31 มนี าคม 2561 ขณะนีอ้ ยรู่ ะหว่างการดำ�เนินการเลกิ กจิ การ
บรษิ ัท ล็อคซแพค ฮ่องกง จ�ำ กัด (Loxpac-HK) ไดร้ บั ใบอนุญาตให้บรกิ ารดา้ นอนิ เตอรเ์ น็ต (ISP) โดย Loxpac-HK
รว่ มกบั KPTC (Korea Postal & Telecommunications Co. Ltd.) เรม่ิ ก่อต้งั กจิ การรว่ มคา้ “สตาร์ เจ ว”ี (Star J.V.) เพือ่ เปน็ ผู้ให้บริการ
ด้านอนิ เตอร์เนต็ ในประเทศเกาหลเี หนอื โดย Star J.V. เริม่ ให้บรกิ ารตงั้ แตว่ ันที่ 10 ตุลาคม 2553

12 แบบ 56-1 One Report

1.3 โครงสรา้ งการถอื หนุ้ ของกลุม่ บริษัทฯ
1.3.1 โครงสรา้ งกล่มุ บริษทั แม่ (ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564)

บริษัท แปซิฟิค อีเล็คทริคไวร์แอนด์เคเบล้ิ จ�ำกดั
75.42%

บริษทั เอเซยี แปซิฟิค ไวร์ แอนดเ์ คเบลิ้ จ�ำกัด

100.00% 100.00% 98.30% 100.00%
บรษิ ัท สิงเวล จ�ำกัด บจ. ไทรเจน้ อินเวสเมน้ ท์ บริษัท ซกิ มา่ เคเบิล้ บริษทั สยาม (เอพีดบั บลวิ ซ)ี

โฮลดิ้งส์ (พีทอี )ี จ�ำกัด โฮลดง้ิ ส์ จ�ำกัด

100.00%

บรษิ ทั มูนววิ จ�ำกัด

49.00% 46.69% บมจ. อิตาเลยี นไทย ดเี วล๊อปเมน้ ท์
บจ. สยามแปซฟิ ิค โฮลดิ้ง 51.00% 99.70%
49.00%
4.31% บจ. สยามผลิตภณั ฑค์ อนกรตี และอฐิ

บจ. หาดเล็ก

83.33% 16.67% 16.67% 83.33%
บจ. พอี ดี ับเบ้ลิ ยซู ี (ประเทศไทย) บจ. เอพดี บั เบล้ิ ยซู ี (ประเทศไทย)

14.97% 9.10% 5.07% 0.80%
21.86% 12.90%
บรษิ ทั จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ จ�ำกดั (มหาชน)

โครงสร้างกลุม่ บรษิ ทั ฯ

100.00% 90.00% 100.00% 100.00%
บจ. สยามแปซิฟคิ อเี ล็คทรคิ ไวรแ์ อนดเ์ คเบลิ้
บจ. สยาม ไฟเบอร์ ออ๊ พติคส์ บจ. ดบั เบลิ ดี เคเบ้ิล บจ. ซีทีดับบลิว เบต้า

52.30% 9.78% 15.00% 31.96%
บจ. เซ่ียงไฮ้ เอเซยี บจ. ไทยเมทลั โพรเซสซิ่ง *โพรสเพก็ ซ์ ลมิ ิเตด็
แปซิฟิค อิเลค็ ทรคิ

24.56% 3.00% 19.65%
บจ. ลอ็ กซแพค บจ. ล็อกซแพค
(ประเทศไทย)
ฮ่องกง
70.00%
บจ. เอ็นอเี อทแี อนดท์ ี 70.00%
บจ. สตาร์ เจ วี

หมายเหตุ: * อย่รู ะหว่างด�ำเนินการชำ� ระบัญชี

บรษิ ัท จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ จำ�กัด (มหาชน) 13

การถือหุน้ ในบริษัทอนื่

ช่อื บริษัทและสถานที่ต้งั ประเภทกจิ การ ชนดิ หุ้นท่อี อก หุ้นท่ีบรษิ ัทถือ %
จำ�หนา่ ย จำ�นวน (ห้นุ )
จ�ำ นวน (หุ้น)
1. บรษิ ทั ซีทีดบั บลวิ เบต้า จำ�กดั ธุรกิจรว่ มลงทุน หุ้นสามญั 10,000 9,993 99.93
2. บริษัท ดับเบลิ ดี เคเบลิ้ จำ�กดั ผลติ และจ�ำ หนา่ ย หุ้นสามญั 200,000 199,995 100.00
สายไฟฟา้ ตวั น�ำ
อลูมเิ นยี ม และทองแดง
และรบั จ้างหลอม
3. บริษัท สยามไฟเบอร์ ออ๊ พติคส์ จำ�กัด ผลติ และจำ�หน่าย หนุ้ สามัญ 24,000,000 23,999,994 100.00
สำ�นกั งานใหญ่ : 589/71 อาคารเซ็นทรัลซติ ี้ สายเคเบ้ิล
ทาวเวอร์ ชัน้ 12 เอ ถ.เทพรัตน ใยแก้วนำ�แสง
แขวงบางนาเหนือ เขตบางนา กรุงเทพฯ 10260
โทร : (02) 745-6118-30
แฟกซ์ : (02) 7456131-32, 745-6575
4. บริษัท สยามแปซิฟคิ อเี ล็คทริค ไวร ์ ผลติ และจ�ำ หนา่ ย หุ้นสามัญ 6,7000,000 6,700,000 100.00
แอนด์ เคเบิล้ จำ�กดั สายเคเบิล้ โทรศัพท์
สำ�นกั งานใหญ่ : อาคารชาญอสิ ระ 2 ชนั้ 30 สายไฟฟา้ และ
2922/312 ถ.เพชรบุรีตัดใหม่ ลวดอาบน้�ำ ยา
เขตห้วยขวางกรงุ เทพฯ 10320 และไมอ่ าบน�ำ้ ยา
โทร : (02) 308-2091 (15 คู่สาย)
แฟกซ์ : (02) 308-2081-2
5. บริษัท เซยี่ งไฮ้ เอเซยี แปซฟิ ิค อเี ลค็ ทริค จำ�กัด จำ�หน่าย หุ้นสามัญ 10,548,737 6,548,737 62.08
ส�ำ นักงานใหญ่ : 2525 ถนนตา้ เย่ เมืองอเู่ ฉยี ว, ลวดทองแดง
ฟง่ เซีย่ น เซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน อาบน้�ำ ยา
โทร: (86 21) 5740 3196
แฟ็กซ์ : (86 21) 5740 2366
6. บริษทั ล็อกซแพค (ประเทศไทย) จ�ำ กดั สอ่ื สาร หนุ้ สามัญ 45,000,000 25,000,000 **24.56
สำ�นกั งานใหญ่ : 139 อาคารเศรษฐีวรรณ โทรคมนาคม หุ้น 12,690,000 5,594,500
ชน้ั 1 ถ.ปั้น แขวงสลี ม เขตบางรัก บรุ ิมสทิ ธิ์
กรงุ เทพฯ 10500
โทร : (084) 016-7912
7. บรษิ ัท ล๊อกซแพค ฮอ่ งกง จำ�กัด สอื่ สาร หนุ้ สามญั 50,000 9,825 19.65
ส�ำ นกั งานใหญ่ : 18 เอฟ, ซิกนา่ ทาวเวอร์ โทรคมนาคม
482 ถนนจาฟ, คอสเวย์ เบย์, ฮอ่ งกง
8. บรษิ ัท โพรสเพก็ ซ์ จ�ำ กัด * Public Shell หนุ้ สามญั 1,343,236 437,597 31.96
สำ�นกั งานใหญ่ : 2 ถนนฮสี เทอร,์ พาร์เนล, Company
โอค๊ แลนด,์ ประเทศนิวซีแลนด์
โทร : (649) 917-8338
9. บรษิ ทั ไทยเมทัลโพรเซสซ่งิ จำ�กัด ผลิตทองแดงเส้น ห้นุ สามญั 1,5000,000 225,000 15.00
สำ�นักงานใหญ่ : อาคารทูแปซิฟิคเพลส ชนั้ 25
142 ถ.สขุ ุมวิท คลองเตย กรงุ เทพฯ 10110
โทร : (02) 653-2550 (30 คู่สาย)
แฟกซ์ : (02) 653-2617
หมายเหตุ : * อยูร่ ะหวา่ งดำ�เนินการช�ำ ระบัญชี ** สัดสว่ นตามสทิ ธกิ ารออกเสยี ง

14 แบบ 56-1 One Report

1.3.2 บคุ คลท่อี าจมีความขัดแย้งถือหุ้นในบรษิ ัทยอ่ ยหรอื บรษิ ทั ร่วม
-ไม่มี-
1.3.3 ความสมั พนั ธ์กับกลุม่ ธรุ กิจของผู้ถอื หุ้นใหญ่
กลมุ่ ผถู้ อื หนุ้ 10 รายใหญข่ อง บริษทั แปซิฟคิ อเี ลค็ ทริค ไวร์ แอนด์ เคเบลิ้ จ�ำ กดั ซึ่งเป็นบริษทั แม่ (ณ วนั ที่ 20
เมษายน 2564)
รายช่ือผถู้ ือหนุ้ (Shareholders) จ�ำ นวนห้นุ (No. of shares) ร้อยละ (Holding %)
1. National Financial Stabilization Fund 26,225,241 3.56
2. Yuan Yuan Corporation 24,008,254 3.26
3. Century Pacific Corporation 13,841,775 1.88
4. Ding-Hao ACME Co., Ltd. 8,654,393 1.18
5. Jin Xing Industry Ltd. 7,549,364 1.03
6. Tai Ho Investment Co., Ltd. 5,849,756 0.80
7. PEWC Employee Welfare Committee 5,289,443 0.72
8. Liao Guang Rong 4,290,000 0.58
9. Qiu Xiao Qi 3,932,721 0.53
10. Ruiya Investment Co., Ltd. 3,710,000 0.50
10. ผถู้ อื ห้นุ รายยอ่ ย / Minority Shareholders 632,549,053 85.96
จ�ำ นวนหุน้ ท้ังหมด 735,900,000 100.00

1.3.4 ผถู้ อื หุ้น
รายชือ่ กลุ่มผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ ณ วนั ท่ี 26 มนี าคม 2564 (วนั กำ�หนดรายช่ือผู้ถอื หนุ้ ท่มี สี ิทธิในการเข้ารว่ มประชมุ ผูถ้ ือหนุ้
(Record Date) ลา่ สุด ในปี 2564) ดงั น้ี
กลุ่มผ้ถู ือหุ้น จ�ำ นวนหนุ้ อตั ราการถอื หนุ้ (%) หมายเหตุ
1. กลมุ่ บจ. แปซิฟิค อเี ลค็ ทรคิ ไวร์ แอนด์ เคเบ้ลิ (PEWC) *
1.1 บรษิ ทั สิงเวล จำ�กัด (Singvale Pte Ltd.) 86,999,500 21.87 นติ ิบคุ คลตา่ งประเทศ
1.2 บริษัท ไทรเจน้ อินเวสเมน้ ท์ โฮลดิง้ ส์ จ�ำ กดั 49,568,514 12.46 นติ ิบคุ คลตา่ งประเทศ
(Trigent Investment Holdings Ltd.)
1.3 บรษิ ัท พีอดี ับเบลิ ยูซี (ประเทศไทย) จำ�กัด 36,206,398 9.10 นิติบุคคลในประเทศ
1.4 บริษทั เอพดี บั เบิลยูซี (ประเทศไทย) จ�ำ กดั 20,186,272 5.07 นติ บิ คุ คลในประเทศ
192,960,684 48.50
2. กลุม่ อติ าเลยี นไทย
2.1 บรษิ ทั อิตาเลียนไทย ดเี วลอ๊ ปเมนต์ จ�ำ กดั (มหาชน) ** 51,327,115 12.90 นิตบิ คุ คลในประเทศ
2.2 บรษิ ทั สยามผลติ ภัณฑ์คอนกรีตและอฐิ จ�ำ กัด 3,188,686 0.80 นิตบิ ุคคลในประเทศ
54,515,801 13.70
3. กลมุ่ กรุงเทพประกันภยั
3.1 บรษิ ทั กรุงเทพประกนั ภยั จ�ำ กัด (มหาชน) *** 28,997,724 7.29 นติ บิ คุ คลในประเทศ
3.2 นายชัย โสภณพนิช 4,624,910 1.16 บุคคลในประเทศ
33,622,634 8.45

บริษัท จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบิ้ล จ�ำ กดั (มหาชน) 15

กลมุ่ ผู้ถือหุ้น จ�ำ นวนหนุ้ อตั ราการถอื หนุ้ (%) หมายเหตุ
4. กลุม่ ผ้บู ริหาร
4.1 นายซุน ทาว เฮิน (Mr. Sun Tao-Heng) **** 7,339,960 1.84 บุคคลตา่ งด้าว
5. กลมุ่ อ่ืนๆ ******
5.1 China Tonghai Securities Limited A/C Client 10,000,000 2.51 นติ บิ คุ คลตา่ งประเทศ
5.2 Mr. Si Lok Mark Lee 3,500,000 0.88 บคุ คลต่างดา้ ว
5.3 นายสิทธิชยั บญุ เสริมมติ ร 3,150,000 0.79 บุคคลในประเทศ
5.4 นายสพุ จน์ เรอื งเดชวรชัย 3,003,000 0.75 บคุ คลในประเทศ
5.5 นายทง อิ เจียว 2,720,928 0.68 บุคคลตา่ งด้าว
5.6 นายสมเจตน์ ช�ำ นาญทอ่ งไพวัลห ์ 2,550,000 0.64 บคุ คลในประเทศ
5.7 นายนันทพันธ์ มหัทธนธัญ 2,204,000 0.55 บุคคลในประเทศ
5.8 นายศิรริ ัตน์ ตงั้ เกษมส�ำ ราญ 2,009,900 0.50 บคุ คลในประเทศ
5.9 ผู้ถือหุ้นรายย่อย 80,329,377 20.21
รวม 397,906,284 100.00
หมายเหตุ : * 1. กล่มุ บจ. แปซิฟิค อีเล็คทรคิ ไวร์ แอนด์ เคเบ้ิล ซงึ่ ด�ำ เนนิ ธรุ กิจในประเทศไต้หวนั ไดเ้ ปิดเผยกลุ่มผู้ถอื หุ้น 10 รายใหญ่
(อา้ งอิงหน้าท่ี 15)
** 2.1 ผ้ถู ือหุ้นของบรษิ ทั อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จ�ำ กดั (มหาชน) (ITD) ประกอบดว้ ย นายเปรมชยั กรรณสตู และ
ครอบครัวถือหนุ้ ใน ITD 628,213,626 หุ้นหรือคิดเป็น 11.898% นางนจิ พร จรณะจิตต์ และครอบครัวถอื หุ้นใน ITD
350,815,140 ห้นุ หรอื คดิ เป็น 6.644% จากทุนเรยี กช�ำ ระแล้วทง้ั สนิ้ 5,279,868,944 หนุ้ (ณ วนั ที่ 29 มกราคม 2564)
*** 3.1 ผู้ถือหุ้นของบริษัท กรุงเทพประกันภัย จำ�กัด (มหาชน) (BKI) ประกอบด้วย นายชัย โสภณพนิช และคู่สมรส
ถือหุ้นใน BKI 3,917,051 หุ้น หรือคิดเป็น 3.68% จากทุนจดทะเบียนทั้งส้ิน 106,470,000 หุ้น (ณ วันที่ 27
พฤศจกิ ายน 2563)
**** 4.1 นายซุน ทาว เฮนิ (Mr. Sun Tao-Heng) นับรวมผู้ถอื หุน้ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกันตาม พ.ร.บ. หลักทรัพยแ์ ละตลาดหลกั ทรัพย์
พ.ศ. 2535 มาตรา 258 ไดแ้ ก่ Mrs. Sun Lin, Ru-Jen ซึ่งเป็นคสู่ มรสจ�ำ นวน 1,600,000 หุน้
***** 5.1 มีสถานะเป็นสถาบันการเงินต่างประเทศ หรือผู้ฝากและผู้ดูแลหุ้น (Custodian) ทำ�หน้าท่ีเป็นผู้ถือหลักทรัพย์แทน
(Trust Company หรอื Nominee Account) ซ่งึ บรษิ ัทฯ ได้ตรวจสอบกับบรษิ ทั ศูนยร์ บั ฝากหลักทรพั ย์ (ประเทศไทย)
จ�ำ กดั (TSD) แลว้ ไม่สามารถเปิดเผย
1.4 จ�ำ นวนทนุ จดทะเบียนและทนุ ชำ�ระแล้ว
วันที่ 6 มกราคม 2564 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนและทุนชำ�ระแล้ว 1,989,531,420 บาท แบ่งเป็นหุ้นสามัญจำ�นวน
397,906,284 หนุ้ มลู คา่ ที่ตราไวห้ นุ้ ละ 5 บาท จดทะเบียนกบั ตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย เม่อื วันท่ี 25 กันยายน 2518 โดยใชช้ อ่ื ยอ่
“CTW”
1.5 การออกหลกั ทรพั ยอ์ น่ื
-ไมม่ ี-
1.6 นโยบายการจ่ายเงินปนั ผล
บริษัทฯ มีนโยบายท่ีจะจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ตำ่�กว่าร้อยละ 25 ของกำ�ไรสุทธิ ในงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษัทฯ
ณ วนั สน้ิ รอบปบี ญั ชี ภายหลังจากหักสำ�รองต่างๆ ตามกฎหมาย โดยคณะกรรมการจะต้องเสนอใหท้ ่ปี ระชุมผถู้ ือหุ้นเป็นผู้พจิ ารณาอนมุ ตั ิ
ส�ำ หรบั นโยบายการจา่ ยเงินปันผลของบริษัทย่อยมีรายละเอยี ดดังน้ี
บริษัท ซที ีดบั บลวิ เบต้า จ�ำ กัด กำ�หนดให้จา่ ยในอตั ราไมต่ �่ำ กวา่ ร้อยละ 25 และไม่เกินร้อยละ 50 ของก�ำ ไรสทุ ธิ ภายหลงั จาก
หกั ส�ำ รองตา่ งๆ ตามกฎหมาย
SPEWC กำ�หนดให้จา่ ยในอัตราไม่ต�่ำ กว่าร้อยละ 25 ของก�ำ ไรสุทธหิ ลังหกั ภาษแี ล้ว และปฎบิ ตั ิใหถ้ ูกตอ้ งตามทีก่ ฎหมายก�ำ หนด

16 แบบ 56-1 One Report

SFO, SAP และ DDC การจ่ายเงินปันผลจะกำ�หนดโดยคณะกรรมการบริษัทฯ เป็นคราวๆ ไป โดยต้องเสนอให้ท่ีประชุม
ผถู้ อื หนุ้ บรษิ ทั ฯ นัน้ ๆ เป็นผ้พู จิ ารณาอนุมตั ิการจ่ายเงินปนั ผล

ขอ้ มูลการจ่ายเงนิ ปนั ผลของบริษัทฯ ย้อนหลัง 3 ปี
ปีตามงบการเงนิ / ปีที่จ่ายเงินปนั ผล 2563/2564 2562/2563 2561/2562
ก�ำ ไรสทุ ธติ ่อหุน้ (บาท) 0.72 0.28 0.71
เงินปนั ผลต่อหนุ้ (บาท) 0.45 0.20 0.45
อัตราเงินปันผลที่จ่ายเทยี บกบั กำ�ไรสุทธิ (%) 62.87 71.10 63.15

2. การบริหารจัดการความเสยี่ ง

2.1 นโยบายและแผนการบรหิ ารความเสย่ี ง
บรษิ ทั ฯ ยงั ไมม่ นี โยบายบรหิ ารความเสยี่ ง แตใ่ นปี 2564 คณะกรรมการบรหิ ารไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ เปน็ ประจ�ำ ทกุ เดอื นเพอ่ื พจิ ารณา
ทบทวนปัจจัยความเสี่ยงท่ีมีผลกระทบต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัท พร้อมหาแนวทางบริหารความเส่ียง และเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทฯ
เพ่ือน�ำ ไปใชเ้ ป็นข้อมูลในการบริหารงานของบรษิ ัทฯ ให้มีความรดั กุมยงิ่ ขึน้ ต่อไป
2.2 ปัจจัยความเส่ียงตอ่ การด�ำ เนนิ ธุรกจิ ของบรษิ ัท
2.2.1 ความเส่ียงจากความผนั ผวนของต้นทุนวตั ถดุ บิ ในการผลิต
วัตถุดิบหลักที่บริษัทฯ ใช้ในการผลิตประมาณร้อยละ 90 ต้องนำ�เข้าจากต่างประเทศ ได้แก่ ทองแดง อลูมิเนียม
โพลีไวนลิ คลอไรด์ โพลีเอธลิ ีน และใยแกว้ น�ำ แสง ลว้ นแตเ่ ป็นสนิ ค้าโภคภัณฑ์ (Commodity Products) ท่รี าคาตลาดข้นึ อยูก่ บั อุปสงคแ์ ละ
อุปทานของตลาดโลก เม่ือราคาวัตถุดิบหลักต้องข้ึนอยู่กับตลาดต่างประเทศ การซ้ือขายจึงต้องอยู่ในรูปของสกุลเงินเหรียญสหรัฐฯ ในขณะท่ี
การขายสินค้าจะขายเปน็ สกุลเงินบาท ดงั นั้นบริษทั ฯ จึงมคี วามเส่ยี งอนั เนอื่ งมาจากความผนั ผวนของราคาวัตถดุ ิบ และอตั ราแลกเปล่ียนอยเู่ สมอ
โดยระดับของความเสี่ยงนี้ข้ึนอยู่กับมูลค่าซ้ือขายในแต่ละสัญญา โดยจะส่งผลกระทบต่อต้นทุน ทั้งน้ีราคาทองแดงและอลูมิเนียมปรับตัวสูงข้ึน
ตลอดปี 2564
แนวทางในการแก้ไขหรอื ป้องกัน :
เพ่ือเป็นการบรรเทาความเส่ียงจากความผันผวนของราคาวัตถุดิบและอัตราแลกเปล่ียน อันเกิดจากการส่ังซื้อวัตถุดิบ
จากตา่ งประเทศ หากเปน็ ไปไดบ้ รษิ ทั ฯ จะใหล้ กู คา้ เปน็ ผจู้ ดั หาวตั ถดุ บิ ใหบ้ รษิ ทั ฯ โดยตรง เพอ่ื ผลติ สายไฟฟา้ ส�ำ เรจ็ รปู ให้ ซง่ึ เปน็ วธิ กี ารทใ่ี ชไ้ ดผ้ ลส�ำ เรจ็
กับลกู ค้าหน่วยงานรัฐวิสาหกิจเปน็ สว่ นใหญ่ ในบางกรณีเพอ่ื เปน็ การบริหารความเสย่ี งท่ีจะเกดิ ขน้ึ จากอตั ราแลกเปล่ยี น บริษทั ฯ จะจดั ซ้ือวตั ถดุ ิบ
โดยทำ�สญั ญาซ้ือขายเงนิ ตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward Contract) พรอ้ มทง้ั ออกเลตเตอรอ์ อฟเครดติ (Letter of Credit) เพอ่ื ทจ่ี ะลด
ความเสย่ี งดา้ นนใ้ี หน้ อ้ ยทส่ี ดุ บรษิ ทั ฯ ไดม้ กี ารตดิ ตามแนวโนม้ ราคาวตั ถดุ บิ หลกั ทใ่ี ชใ้ นการผลติ อยา่ งสม�ำ่ เสมอ และท�ำ การเปรยี บเทยี บราคาจาก
ซพั พลายเออรห์ ลายรายกอ่ นท�ำ การสง่ั ซอื้ เพอื่ ใหไ้ ดเ้ งอ่ื นไขทด่ี ที ส่ี ดุ รวมทง้ั ลดความเสยี่ งดา้ นราคาดว้ ยการสงั่ ซอื้ วตั ถดุ บิ ส�ำ รองโดยใหจ้ �ำ นวนวตั ถดุ บิ
สอดคลอ้ งกับการพยากรณป์ รมิ าณคำ�สง่ั ซอ้ื นอกจากน้ี บรษิ ทั ฯ ไดพ้ ยายามหาแหล่งขายวัตถุดบิ หลักทีใ่ ช้ เพอ่ื ใหไ้ ด้วตั ถดุ บิ ที่มคี ุณภาพและราคา
ทเ่ี หมาะสม โดยบรษิ ัท และบริษัทย่อย SPEWC ไดม้ ีแนวทางป้องกันการขาดแคลนวัตถดุ บิ ดว้ ยการทำ�สญั ญาสัง่ ซื้อวตั ถดุ ิบล่วงหน้าเปน็ รายปี
และทยอยรับมอบเปน็ รายเดอื น
2.2.2 ความเสี่ยงจากการเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีการผลติ
ประเทศไทยได้ปรับตวั เข้าสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 ที่เรยี กว่า “ไทยแลนด์ 4.0” ตามการส่งเสรมิ จากภาครัฐบาล เพือ่ ให้
ผปู้ ระกอบการทุกภาคสว่ นไดน้ ำ�เทคโนโลยที ที่ นั สมยั มาใชท้ ้งั ในภาคการผลิตและการบริการ เชน่ การใช้ห่นุ ยนต์และปัญญาประดษิ ฐ์ (Artificial
Inteligence A.I.) ทดแทนแรงงานคน เพอื่ ลดตน้ ทนุ การผลติ และรองรบั การแขง่ ขนั ในตลาดโลก ผลติ ภณั ฑข์ องบรษิ ทั ฯ เปน็ ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี กยี่ วขอ้ ง
กบั เทคโนโลยที างด้านพลงั งาน และการสือ่ สารโทรคมนาคม ซึ่งตอ้ งมกี ารวิจยั พัฒนาให้เกดิ นวัตกรรมใหม่ๆ อย่างตอ่ เน่ืองอย่เู สมอ เพ่ือยกระดบั
คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของผลติ ภณั ฑ์ ใหท้ นั ตอ่ การเปลย่ี นแปลงตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในโลกปจั จบุ นั นอกจากเทคโนโลยกี ารผลติ ทมี่ กี ารเปลย่ี นแปลง
อย่างรวดเร็วแลว้ บรษิ ัทฯ ยังต้องเผชญิ กบั การแขง่ ขันในตลาดประเภทสายไฟฟา้ ที่มีความรนุ แรงในการแขง่ ขันสงู ขนึ้ ดว้ ย โดยเฉพาะการแขง่ ขัน
ด้านราคา บริษัทฯ จึงมคี วามเส่ยี งจากการท่ีต้องพยายามปรบั ปรงุ กระบวนการผลิต การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ เพ่ือใหม้ รี ะบบการผลิตท่ที ันสมยั
เปน็ ระบบอตั โนมัติ และให้ได้ผลผลติ เพิ่มมากขึน้ ดว้ ย เพ่ือเป็นการลดตน้ ทุนการผลิต ในขณะท่ยี งั ต้องคงคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพของผลติ ภัณฑ์
ไว้ดว้ ย

บริษทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล จ�ำ กดั (มหาชน) 17

แนวทางในการแกไ้ ขหรอื ปอ้ งกัน :
บรษิ ทั ฯ มกี ารเตรยี มความพรอ้ มในการลดความเสยี่ งอนั เนอื่ งมาจากการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยกี ารผลติ โดยไดจ้ ดั ตง้ั
ทีมงานซึ่งประกอบด้วยฝ่ายวิศวกรรม ฝ่ายผลิต และฝ่ายทดสอบ เพื่อร่วมกันติดตามความเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีทุกด้านที่เก่ียวข้อง
กับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ได้แก่ ด้านเทคนิคการผลิต ด้านวัตถุดิบหลัก ด้านเคร่ืองจักรที่ใช้ในการผลิต ด้านเครื่องมือทดสอบ เป็นต้น
เพ่ือนำ�มาพัฒนาและปรับปรุงเทคนิคการผลิต เพื่อให้มีประสิทธิภาพมากข้ึนและสามารถตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าตลอดจนรองรับ
ความตอ้ งการของตลาดในปจั จบุ นั ได้ โดยทผี่ า่ นมาบรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั หาเครอื่ งจกั รทม่ี เี ทคโนโลยใี หมๆ่ ซง่ึ มรี ะบบการควบคมุ แบบอตั โนมตั ิ ใชป้ รมิ าณ
พลงั งานน้อย แตไ่ ดผ้ ลผลติ เพิม่ มากขึ้น เขา้ มาทดแทนเครอ่ื งจักรเดิมทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพต่ำ�กวา่ ไมค่ มุ้ ค่าในการผลิต หรอื มีตน้ ทนุ ในการผลติ ท่ีสูง
2.2.3 ความเสย่ี งจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน
บริษัทฯ และบริษัทย่อย ต้องนำ�เข้าวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตจากต่างประเทศ ทำ�ให้อาจได้รับผลกระทบด้านต้นทุนจาก
อัตราแลกเปลี่ยน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนสำ�หรับเงินลงทุนที่เป็นเงินตราต่างประเทศในบริษัทย่อย และบริษัทร่วม
ในต่างประเทศ ท้ังนี้ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีภาระหนี้สินที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศท้ังสิ้น
จำ�นวน 54 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ
แนวทางในการแกไ้ ขหรอื ป้องกนั :
เพื่อลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน บริษัทฯ ได้มีการบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน โดยตกลงทำ�สัญญา
ซอ้ื ขายเงนิ ตราตา่ งประเทศลว่ งหนา้ (Forward Contract) ซง่ึ สว่ นใหญม่ อี ายสุ ญั ญาไมเ่ กนิ หนง่ึ ปี นอกจากน้ี บรษิ ทั ฯ และบรษิ ทั ยอ่ ย ยงั มคี วามเสย่ี ง
จากการท่ีมีเงินลงทนุ ในบรษิ ัทย่อยในต่างประเทศ ซ่ึงฝ่ายบริหารของบรษิ ัทฯ และบริษัทยอ่ ย มีความต้งั ใจที่จะถือเงนิ ลงทุนดังกล่าวในระยะยาว
และไมม่ ีแผนท่ีจะขายเงนิ ลงทุนดังกลา่ วในอนาคต ดงั น้ันจงึ ไม่ไดท้ ำ�สญั ญาปอ้ งกนั ความเสีย่ งไว้
นอกจากนีบ้ ริษัทฯ มนี โยบายสนบั สนุนการสง่ สินคา้ ออกไปขายยังต่างประเทศ เพอื่ ใหม้ ีรายได้เป็นสกุลเงนิ เหรยี ญสหรฐั ฯ
ซ่งึ จะเปน็ การลดความเสยี่ งจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราไปในตัว (Natural Hedge) อีกท้งั ไดม้ ีการติดตามการเคล่ือนไหวของอัตราแลกเปลี่ยน
อย่างใกล้ชิด
2.2.4 ความเสีย่ งจากอำ�นาจควบคุมของผูถ้ อื หนุ้ รายใหญ่
ปัจจุบนั ผถู้ ือหนุ้ 4 รายใหญข่ องบรษิ ทั ฯ เป็นบรษิ ัทท่เี กีย่ วขอ้ งกนั ในเครอื ของกลุ่ม บรษิ ัท แปซฟิ ิคอเี ล็คทริค ไวรแ์ อนด์
เคเบิ้ล จำ�กดั (PEWC) ซ่ึงถือห้นุ ในบริษัทฯ รวมท้ังสนิ้ ประมาณรอ้ ยละ 51 และเม่อื รวมกบั ผถู้ ือหนุ้ รายยอ่ ยอน่ื ๆ ซง่ึ เปน็ ตัวแทนและผูบ้ รหิ ารจาก
PEWC แลว้ จะท�ำ ให้ PEWC สามารถทำ�การตดั สนิ ใจในเรือ่ งทจี่ ะมผี ลกระทบโดยตรงตอ่ นโยบายของบรษิ ทั ฯ ได้ ดงั นนั้ ผู้ถือหุ้นรายย่อยจงึ อาจมี
ความเสีย่ งจากการที่ไมส่ ามารถลงคะแนนเสยี งเพ่อื คัดค้านผู้ถอื หนุ้ รายใหญ่ได้
แนวทางในการแกไ้ ขหรือปอ้ งกัน
บริษทั ฯ มีการแตง่ ต้งั คณะกรรมการตรวจสอบเพอ่ื ตรวจสอบการด�ำ เนนิ งานของฝา่ ยผบู้ รหิ ารและใหค้ วามคิดเหน็ ในการท�ำ
รายการท่ีอาจจะก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นท่ีเก่ียวข้องกัน ทั้งน้ี ผู้ถือหุ้น 4 รายใหญ่ดังกล่าวจะไม่
สามารถลงคะแนนเสยี งในการเข้าทำ�รายการระหว่างกันท่ีตนเองมีส่วนได้เสยี ได้
2.2.5 ความเสยี่ งจากการขาดแคลนแรงงานท่มี ีทักษะ
ตามทรี่ ฐั บาลไดป้ ระกาศนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Easter Economic Corridor-EEC)
เพื่อรองรับการลงทุนทั้งในและต่างประเทศท่ีจะได้รับสิทธิพิเศษด้านภาษีและด้านที่ดิน โดยจะเร่ิมดำ�เนินการครอบคลุมพื้นที่ 3 จังหวัด
ในภาคตะวันออก ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง ซึ่งจะมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งต่างๆ ทั้งทางบก
ทางทะเล และทางอากาศ เพอื่ ใหม้ คี วามพรอ้ มในการเชอื่ มตอ่ กบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น การขยายงานตามนโยบายดงั กลา่ วจงึ มคี วามตอ้ งการแรงงาน
เพิ่มมากข้ึน จึงส่งผลให้บริษัทฯ อาจประสพปัญหาการขาดแคลนแรงงาน รวมถึงการโยกย้ายงาน โดยเฉพาะแรงงานท่ีมีทักษะท่ีจำ�เป็นต้อง
รกั ษาไว้ หรอื จัดหาบุคลากรที่มที ักษะ ความรู้ ความช�ำ นาญ ในการใชเ้ ครอ่ื งจักรและเทคโนโลยที ่ที ันสมยั เพื่อทดแทนแรงงานที่ขาดแคลน
แนวทางในการแก้ไขหรือปอ้ งกัน
เพอ่ื รกั ษาไว้ซงึ่ บุคคลากรท่ีมที กั ษะ ความรู้ ความช�ำ นาญ และมปี ระสบการณใ์ นการทำ�งาน บริษัทฯ จงึ ให้ความส�ำ คญั
ต่อบุคลากรทุกระดับ ได้จัดให้มีเส้นทางความก้าวหน้าในสายอาชีพท่ีชัดเจนเพื่อให้บุคลากรเกิดการพัฒนาความรู้ ความสามารถในสายงาน
ของตนเองเพิ่มมากขึ้น และได้จัดสภาพแวดล้อมในท่ีทำ�งานให้ถูกสุขลักษณะ พร้อมทั้งจัดสวัสดิการท่ีเหมาะสมให้แก่พนักงานและครอบครัว
เพ่ิมขึ้น ได้แก่ เงินช่วยเหลือเมื่อพนักงานทำ�การสมรส หรือ มีบุตรเพิ่ม เงินช่วยเหลือในกรณีพนักงานหรือทายาทเข้ารับการรักษาตัวใน
โรงพยาบาล ทำ�การปรับเงินคา่ จา้ งอย่างเหมาะสมทุกปีตามผลประกอบการ จดั ให้มีบรกิ ารรถรับส่งพนักงานที่อย่ไู กล จดั ให้มคี า่ ตอบแทนพิเศษ

18 แบบ 56-1 One Report

นอกเหนือจากค่าแรงให้กับพนักงานท่ีมีความขยันและต้ังใจทำ�งานทุกๆ เดือน เป็นต้น นอกจากน้ี บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อกระบวนการ
คดั เลอื กบคุ ลากรท่เี ข้าใหม่ จัดใหม้ กี ารอบรมพัฒนาทักษะฝีมอื และความรูเ้ ฉพาะดา้ นในการปฏิบัติหนา้ ท่ี เพ่อื ใหม้ ีความเชย่ี วชาญ และปรับเพิม่
ตำ�แหน่งให้มีความก้าวหน้าในสายงาน ตลอดจนได้จัดเตรียมแผนการพัฒนาบุคลากรรุ่นใหม่เพื่อทดแทนพนักงานท่ีเกษียณอายุงานและรองรับ
ปัญหาการขาดแคลนแรงงานทม่ี ที กั ษะ ที่อาจจะเกดิ จากการท่แี รงงานยา้ ยเขา้ สูร่ ะบบข้าราชการ และลกู จ้างของภาครัฐ

3. การขบั เคลือ่ นธุรกจิ เพอื่ ความยง่ั ยนื
บรษิ ทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ลิ จำ�กดั (มหาชน) มีความมุ่งม่นั ในการด�ำ เนินธรุ กิจเพ่อื การเจรญิ เติบโตอย่างยง่ั ยืนในระยะยาวจึงให้ความ
ส�ำ คญั กบั คณุ ภาพมาตรฐานของกระบวนการผลติ และการควบคมุ คณุ ภาพ ภายใตร้ ะบบการบรหิ ารทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ จนไดม้ าซง่ึ มาตรฐานในระดบั
สากล และค�ำ นึงถึงความปลอดภัยในการใชง้ าน ตลอดจนตอ้ งเปน็ มิตรกับสิง่ แวดลอ้ ม ด้านบุคลากร บริษัทฯ ใหค้ วามสำ�คญั ในดา้ นสขุ ลกั ษณะ
ความปลอดภยั ขณะการปฏบิ ตั งิ าน ลดการบาดเจ็บจากการท�ำ งาน พร้อมสง่ เสรมิ ดา้ นสขุ ภาพ และความเปน็ อยู่ของพนกั งาน เพอ่ื ความสุขและ
คุณภาพชวี ิตทีย่ งั่ ยืน
3.1 นโยบายและเป้าหมายการจดั การดา้ นความยัง่ ยนื
บริษทั ฯ ให้ความส�ำ คัญต่อผู้ทเ่ี กี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้เสยี ทุกกลุ่ม ดงั น้ี
3.1.1 บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและนโยบายต่อต้านการทุจริต โดยได้รับการอนุมัติจากที่ประชุม
คณะกรรมการ
3.1.2 ในกรณที บ่ี รษิ ทั ฯ มกี �ำ ไร บรษิ ทั ฯ จะขอใหท้ ป่ี ระชมุ ผถู้ อื หนุ้ อนมุ ตั จิ า่ ยคา่ บ�ำ เหนจ็ ตอบแทน หรอื เงนิ รางวลั พเิ ศษประจ�ำ ปี
แก่กรรมการและพนักงาน
3.1.3 บริษัทฯ ได้จัดทำ�จรรยาบรรณของกรรมการและพนักงาน เพ่ือเป็นหลักในการปฏิบัติงานของกรรมการและพนักงานต่อ
ผู้มสี ่วนไดเ้ สียทกุ กลมุ่
3.2 การจดั การผลกระทบต่อผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี ในห่วงโซค่ ณุ คา่ ของธุรกจิ
บริษัทฯ ให้ความสำ�คัญต่อผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ ซึ่งมีความสำ�คัญต่อการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ
และได้วิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสียแต่ละกลุ่ม โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องกับการดำ�เนินธุรกิจของบริษัทฯ ประเมินผลกระทบจากกระบวนการ
ดำ�เนนิ ธรุ กจิ ความคาดหวัง และการตอบสนองความคาดหวงั ของผู้มีสว่ นได้เสีย ดงั น้ี
ผู้มสี ว่ นได้เสยี ความคาดหวัง การตอบสนองความคาดหวงั
พนกั งาน - ค่าตอบแทนและสวัสดิการท่เี หมาะสม - ปรับคา่ ตอบแทนและสวัสดิการทเ่ี หมาะสมกับผลปฎิบัติงาน
และเปน็ ธรรม ของพนักงาน และผลประกอบการของบรษิ ทั ฯ
- โอกาสในการพัฒนาตนเอง พัฒนา - ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหพ้ นกั งานเข้าฝึกอบรม ฝกึ ฝนทกั ษะ
ศกั ยภาพ ทักษะความรใู้ นการท�ำ งาน ท้ังภายในและภายนอกองค์กร
- ความปลอดภยั ชวี อนามัย และ - จัดให้สถานทที่ ำ�งานมคี วามสะอาด ปลอดภัย และมี
สภาพแวดล้อมทดี่ ใี นการทำ�งาน สขุ อนามัยที่ดีสำ�หรบั พนกั งานทกุ คน
- ความมั่นคงและก้าวหนา้ ในอาชีพ - ใหโ้ อกาสทเี่ ทา่ เทียมกันแก่พนักงานทกุ คน ในการจ้างงานและ
- ความเท่าเทยี ม ความเสมอภาค ความกา้ วหน้าในอาชพี การงาน
- ไม่ใหม้ ีการเลอื กปฏบิ ตั ใิ ดๆ ทไ่ี มถ่ ูกต้องตามกฎหมาย
ผถู้ อื หนุ้ - มูลค่าหุ้นและผลตอบแทนที่ดี - จ่ายเงินปันผลอย่างเหมาะสม
- กจิ กรรมเติบโตอย่างตอ่ เนอ่ื ง และมัน่ คง - บริหารจดั การความเสย่ี งอยา่ งรอบคอบ
- การกำ�กับดูแลกจิ การที่ดี - ก�ำ กบั ดูแลกจิ การอยา่ งโปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้
- การปฏบิ ัตติ ่อผถู้ ือหุน้ อย่างเทา่ เทียม - เปิดเผยขอ้ มูลอย่างครบถว้ น โปร่งใส ทันเวลา และ
ก�ำ หนดใหม้ นี กั ลงทนุ สมั พนั ธเ์ พอื่ ใหข้ ้อมลู ที่ถูกต้อง
กรรมการ - การปฎบิ ัตติ ามกฎหมาย ข้อบงั คบั - กำ�กบั ดแู ลกจิ การท่ีดี ตามนโยบายทีก่ �ำ หนด และมีการบงั คับ
และจรรยาบรรณ ใชอ้ ย่างเครง่ ครัด
- การปฏบิ ตั ิทโ่ี ปร่งใส และตรวจสอบได ้ - รายงานผลการดำ�เนนิ งาน
- ความสำ�เร็จของธุรกิจ

บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบ้ิล จ�ำ กัด (มหาชน) 19

ผ้มู สี ว่ นไดเ้ สีย ความคาดหวัง การตอบสนองความคาดหวงั
ลกู ค้า - สนิ คา้ ทดี่ ีมคี ุณภาพตามสญั ญา ส่งมอบได้ - ก�ำ หนดราคาสนิ คา้ ทเ่ี ป็นธรรม สนิ คา้ มีคณุ ภาพและ
ตามปริมาณทต่ี อ้ งการและต่อเนือ่ ง มคี วามปลอดภยั ในระดบั มาตรฐานสากล
- การปฏบิ ัตติ ามสัญญาและข้อตกลงทาง - มกี ารรับประกันคุณภาพสนิ ค้า และรบั ขอ้ รอ้ งเรยี นเกี่ยวกับ
การค้าอยา่ งเปน็ ธรรม คุณภาพของสนิ ค้า
- การรบั ประกนั สนิ คา้ - สร้างความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับสนิ ค้า โดยจดั ให้มคี ู่มอื
- การรักษาข้อมูลท่ีเป็นความลับของลูกคา้ การใช้งานเกย่ี วกับสนิ ค้าทถี่ ูกตอ้ ง ปลอดภัยและใชส้ ินค้า
- ความสมั พนั ธ์ท่ดี ี ได้อย่างคมุ้ คา่ พรอ้ มทั้งเผยแพรข่ อ้ มูลท่เี กี่ยวขอ้ งกบั
ผลิตภัณฑ์อยา่ งถูกต้อง ชดั เจน
- ปฏิบัตติ ามฎหมายและหลักเกณฑท์ ่เี ก่ยี วกบั การคุ้มครอง
ผ้บู รโิ ภคอยา่ งเคร่งครัด
คูค่ า้ หรือเจ้าหน้ี - การปฏิบตั ิตามเงอ่ื นไขทางการคา้ - ยดึ มั่นในวธิ ีการปฏบิ ตั ทิ ี่ดีในการซื้อสนิ คา้ จากคู่คา้
- การปฏบิ ัตติ ามข้อตกลงอยา่ งเป็นธรรม และเปน็ ไปตามเงือ่ นไขทางการค้า
- การแข่งขันราคาอย่างเปน็ ธรรม โปรง่ ใส - ปฏิบตั ิตามเงอ่ื นไขการกยู้ ืมเงินจากเจา้ หน้เี ก่ียวกบั วตั ถุประสงค์
- ความสัมพันธ์ทดี่ ี การใชเ้ งนิ การช�ำ ระคนื หลกั ทรพั ยค์ �ำ้ ประกนั และขอ้ ตกลงอน่ื ๆ
- บริษัทฯ ไดใ้ ห้ข้อมูลทถ่ี กู ต้องแก่คู่ค้าหรือเจ้าหนเ้ี สมอ
ผรู้ บั ก�ำ จดั ของเสีย - การปฏบิ ตั ติ ามข้อตกลงอยา่ งเครง่ ครัด - ติดตาม และตรวจสอบการดำ�เนนิ การของผรู้ ับก�ำ จดั ของเสยี
- การดำ�เนนิ การทถี่ กู ต้องตามขอ้ บังคับ - ประเมนิ ผลการด�ำ เนนิ งานของผรู้ บั ก�ำ จดั ของเสีย
และกฏหมาย
หน่วยงานภาครัฐ - การปฏบิ ัติตามระเบียบขอ้ บังคบั - ปฏบิ ัติตามระเบียบข้อบงั คับ และกฏหมายท่เี กีย่ วขอ้ ง
และกฏหมายทเ่ี กยี่ วข้อง ในทุกด้าน
- การใหค้ วามรว่ มมอื ในการใหข้ อ้ มลู - ชำ�ระภาษที กุ ประเภทอย่างครบถว้ น ถกู ต้อง และตรงเวลา
เพื่อการพัฒนา ที่กำ�หนด
- การให้การสนับสนนุ โครงการของภาครฐั - เปดิ เผยขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องและโปร่งใส
ท่เี ป็นประโยชนต์ ่อสว่ นรวม - รายงานข้อมลู ตามท่กี ฎหมายก�ำ หนด
ชุมชนและสงั คม - การสนบั สนุนกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน ์ - มงุ่ มน่ั ที่จะด�ำ เนินธุรกจิ ด้วยความรับผิดชอบ
ต่อชุมชนและสงั คม ตอ่ สภาพแวดล้อม ชุมชน และสังคม
- การดำ�เนนิ ธุรกจิ โดยไมส่ ร้างผลกระทบ - สง่ เสริมให้พนกั งานทกุ คนปฏิบัตหิ น้าทดี่ ว้ ยความรับผดิ ชอบ
ตอ่ ชุมชนและสงั คม ต่อสภาพแวดล้อม ชุมชน และสงั คม
- การใหค้ วามชว่ ยเหลือและมีสว่ นร่วม - สนับสนุนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมท่เี ปน็ ประโยชน์
ในการแก้ไขปัญหาชมุ ชนและสงั คม ตอ่ สาธารณะ พร้อมทงั้ สง่ เสริมพนักงานใหม้ ีจติ สำ�นกึ ที่ดี
- ความโปรง่ ใสในการด�ำ เนินกิจการ และทำ�ดตี อ่ สังคมสว่ นรวม
- มีสว่ นร่วมในการแก้ไขและอนุรักษ์พลังงาน - ส่งเสรมิ การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ก�ำ หนด
และส่ิงแวดลอ้ ม มาตรการประหยดั พลงั งาน การควบคมุ มลพิษ ตลอดจน
- ไม่สร้างผลกระทบตอ่ สิ่งแวดล้อมทัง้ ทางตรง การดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ ม
และทางออ้ ม - บรหิ ารจดั การโดยใช้เทคโนโลยแี ละข้ันตอนการผลติ ทมี่ ี
มาตรฐานดา้ นสิง่ แวดล้อม ตามข้อกำ�หนดของมาตรฐาน
ISO14001 : 2015 โดยมกี ารจดั ท�ำ ระบบบำ�บดั ของเสียต่างๆ
- ด�ำ เนนิ ธรุ กจิ ดว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ก�ำ หนดและกฎหมายตา่ งๆ
ดา้ นสงิ่ แวดล้อมอยา่ งเครง่ ครัด

20 แบบ 56-1 One Report

ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สีย ความคาดหวัง การตอบสนองความคาดหวงั
ผ้สู อบบญั ช ี - ผสู้ อบบญั ชีสามารถปฏิบัติหนา้ ทีไ่ ด้ - บรษิ ทั ฯ ไดใ้ หค้ วามรว่ มมือเป็นอยา่ งดตี อ่ ผู้สอบบัญชี
อยา่ งเป็นอิสระ ในการใหข้ อ้ มลู ทางการเงนิ และขอ้ มูลท่เี ก่ียวขอ้ งตามท่ี
- การให้ความร่วมมือในการให้ขอ้ มูล ผู้สอบบญั ชรี อ้ งขอ โดยผสู้ อบบัญชีสามารถปฏิบัติหนา้ ทไี่ ด้
ทางการเงนิ และข้อมลู ท่เี กี่ยวขอ้ งตามที ่ อย่างเปน็ อสิ ระ
ผู้สอบบญั ชตี ้องการ

3.3 การจัดการด้านความยง่ั ยืนในมติ สิ งิ่ แวดล้อม
3.3.1 นโยบายและแนวปฎิบตั ดิ ้านส่ิงแวดล้อม
บรษิ ทั ฯ มคี วามมงุ่ มนั่ ในการพฒั นาและบรหิ ารกจิ กรรมระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ ควบคไู่ ปกบั ระบบการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม
ใหด้ ำ�เนนิ ไปอยา่ งถกู ต้องและสอดคล้องกบั ข้อก�ำ หนดของมาตรฐาน ISO9001 : 2015 และ ISO14001 : 2015 โดยมวี ัตถุประสงค์หลกั ของ
บรษิ ทั ฯ คอื ด�ำ เนนิ การผลติ สนิ คา้ ทม่ี คี ณุ ภาพมาตรฐานเปน็ ทย่ี อมรบั ของลกู คา้ ดว้ ยกระบวนการด�ำ เนนิ งานทต่ี ระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ของผลกระทบ
ทม่ี ตี อ่ สง่ิ แวดลอ้ ม อนั เนอ่ื งมาจากการใชท้ รพั ยากรในการผลติ กระบวนการผลติ และกจิ กรรมอนื่ ๆ ในองคก์ ร ดงั นนั้ เพอื่ สรา้ งจติ ส�ำ นกึ ใหพ้ นกั งาน
ทกุ คน มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ ดยี วกนั และด�ำ เนนิ การใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทต่ี อ้ งการ จงึ ไดก้ �ำ หนดนโยบายคณุ ภาพและสงิ่ แวดลอ้ มดงั นี้ “ลกู คา้ พอใจ พฒั นา
ต่อเนอ่ื ง ปอ้ งกนั เร่อื งมลพิษ มุ่งปฎบิ ตั ิตามกฎหมาย”
3.3.2 ผลการดำ�เนินการดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
บรษิ ทั ฯ ตระหนกั ถงึ ผลกระทบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม และการใชท้ รพั ยากรอยา่ งคมุ้ คา่ ในทกุ ขน้ั ตอนการผลติ และพฒั นาผลติ ภณั ฑ์
และไดป้ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ ก�ำ หนดของกฎหมาย กฎระเบยี บของหนว่ ยงานตา่ งๆ และมาตรฐานสากลทเ่ี กย่ี วขอ้ งในดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม โดยเครง่ ครดั เสมอมา
มีการประเมินผลกระทบและลักษณะปัญหาด้านส่ิงแวดล้อมท่ีมีนัยสำ�คัญในทุกกิจกรรมท่ีจะส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ ต้ังแต่
กระบวนการจัดหาวัตถุดิบในการผลิต กระบวนการผลิต การตรวจสอบคุณภาพ การส่งมอบสินค้า จนถึงบริการหลังการขาย เพื่อป้องกัน
ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม ดงั น้ี
1) การจดั การดา้ นพลงั งาน บรษิ ทั ฯ ด�ำ เนนิ การจดั การพลงั งานใหเ้ กดิ การใชง้ านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ในกระบวนการผลติ
ทง้ั ระบบแสงสวา่ ง ระบบปรบั อากาศ
• ตดิ ต้งั และปรบั ปรงุ ระบบอดั อากาศ (Compressed Air System) ระบบทอ่ ส่งทม่ี ีคณุ ภาพ เพ่อื ลดการสูญเสยี ในการ
ใชพ้ ลงั งาน และมีแผนบำ�รุงรักษาอย่างสมำ�่ เสมอ
• ติดตั้งเคร่ืองวัดการใช้พลังงานไฟฟ้า ในจุดที่มีการใช้พลังงานอย่างมีนัยสำ�คัญ เพ่ือนำ�ข้อมูลไปบริหารจัดการด้าน
พลงั งาน และไดข้ ยายจดุ ตดิ ตัง้ เครอ่ื งวัดเพิ่มมากขึน้ ให้ครอบคลมุ ทุกพ้นื ที่
• เปลี่ยนเครื่องปรับอากาศเก่าที่มีประสิทธิภาพต่ำ� เป็นระบบปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพด้านการประหยัดไฟฟ้า
และการใชส้ ารท�ำ ความเยน็ ทสี่ ง่ กระทบตอ่ การปลอ่ ยกา๊ ซเรอื นกระจก อกี ทงั้ จดั ท�ำ แผนการบ�ำ รงุ รกั ษาอยา่ งสม�ำ่ เสมอ
• เปลีย่ นหลอดไฟชนดิ ฟลอู อเรสเซนตข์ นาด 36 วัตต์เปน็ หลอดแอลอีดี (LED) ขนาด 10 วัตต์ ในสำ�นกั งานและ
อาคารโรงงาน
2) การจัดการนำ�้ บริษัทฯ มีการใช้นำ�้ ประปาในการผลิต อุปโภค และบริโภค จึงให้ความสำ�คัญในการจัดการระบบ
การจา่ ยน�ำ้ มกี ารดแู ลบ�ำ รงุ รกั ษาอยา่ งสม�ำ่ เสมอ และตดิ ตง้ั เครอ่ื งวดั ปรมิ าณการใชน้ �ำ้ ในจดุ ส�ำ คญั เพอ่ื น�ำ ขอ้ มลู มาวางแผน
การจดั การน�ำ้
3) การจดั การเกย่ี วกบั ขยะ ของเสยี และมลพษิ บรษิ ทั ฯ มกี ารด�ำ เนนิ การตามหลกั การ 3R (Reduce Reuse Recycle)
มกี ารคดั แยกขยะตามประเภท ควบคกู่ บั การสรา้ งจติ ส�ำ นกึ และการมสี ว่ นรว่ ม เพอ่ื ลดการก�ำ จดั ขยะดว้ ยวธิ กี ารฝงั กลบ
ในดา้ นการจดั การดา้ นมลพษิ บรษิ ทั ฯ มกี ารตรวจวดั คณุ ภาพดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มในพน้ื ทท่ี �ำ งาน ซง่ึ คา่ มาตรฐานคณุ ภาพ
อากาศ เสยี ง แสงสวา่ ง อยใู่ นเกณฑป์ กตติ ามทก่ี ฎหมายก�ำ หนด โดยมกี ารตรวจวดั อยา่ งนอ้ ยปลี ะหนง่ึ ครง้ั และมี
แผนฉกุ เฉนิ ปอ้ งกนั การรว่ั ใหลของสารเคมี โดยในปี 2564 ทผ่ี า่ นมาไมพ่ บกรณสี ารเคมรี ว่ั ใหล

บรษิ ัท จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบ้ิล จ�ำ กัด (มหาชน) 21

การจัดการเกยี่ วกับการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก
บรษิ ัทฯ ใหค้ วามสำ�คัญในการจดั การปญั หาก๊าซเรือนกระจก โดยในช่วงกลางปี 2564 ได้เริ่มติดตามเก็บรวบรวมข้อมูล
กิจกรรมของธุรกิจท่ีมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งทางตรง และทางอ้อม เพ่ือนำ�มาคำ�นวณระบุการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของทั้งองค์กร
ตามแนวทางขององค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (อบก.) เพ่ือทวนสอบกับหน่วยงานที่มีมาตรฐานการปฎิบัติซ่ึงได้รับการขึ้นทะเบียนกับ
อบก. เพื่อให้เกดิ ความเชื่อมนั่ ตอ่ ข้อมูลการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกทีจ่ ะเปดิ เผย
1. การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกทางตรง (Scope-1) พบว่ามกี ิจกรรมท่เี กดิ การเผาไหม้เช้ือเพลิงก๊าซธรรมชาติ (Natural
Gas : NG) ในกระบวนการผลติ , การเผาไหม้เชอื้ เพลงิ ดเี ซล (Diesel) ในการขนส่ง, การเผาไหม้เชอ้ื เพลิงก๊าซปิโตรเลยี มเหลว (Liquefied
Petroleum Gas:LPG) ในยานพาหนะขนสง่ วัตถดุ บิ ในพน้ื ท่ี และการรั่วไหลของสารทำ�ความเย็นในเครอื่ งปรับอากาศ
2. การปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกทางอ้อม (Scope-2) พบว่ามกี ารใช้พลงั งานไฟฟ้าในปี 2564 ปริมาณ 21,157,000 KWh
รวมถึงการใชท้ รพั ยากรอนื่ ซง่ึ จะกอ่ ใหเ้ กิดการปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจกท่ีเพิ่มขน้ึ
บริษัทฯ ตระหนักถึงความส�ำ คญั ต่อการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูช่ ัน้ บรรยากาศ ซ่ึงเกดิ จากการใช้พลังงานของบรษิ ัทฯ ใน
กิจกรรมการผลิต จงึ ได้มมี าตรการลดการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก เชน่ การตรวจวัดการเผาไหมเ้ ชือ้ เพลงิ ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas : NG)
เพื่อปรับให้เกิดการเผาไหม้อย่างสมบูรณ์ และใช้ความร้อนให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เปล่ียนการใช้สารทำ�เย็นในเครื่องปรับอากาศ นอกจากน้ี
บริษัทฯ ได้ส่งเสริมการเดินทางมาทำ�งานของพนกั งานโดยการใช้บริการรถรับ-ส่งของบรษิ ัทฯ และลดการใช้พลังงานไฟฟา้ โดยก�ำ หนดมาตรการ
และกจิ กรรมในการประหยดั พลงั งานไฟฟา้ เชน่ การปรับเปลีย่ นหลอดไฟชนิดฟลอู อเรสเซนตข์ นาด 36 วัตต์เป็นหลอดแอลอดี ี (LED) มกี าร
วางแผนบำ�รงุ รักษาเครอ่ื งปรบั อากาศอย่างสม�ำ่ เสมอ ปรับปรุงระบบอดั อากาศในการผลติ เพอ่ื ลดการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้า วางแผนบ�ำ รุงรักษาปอ้ งกนั
การรั่วไหลของสารเคมี เปน็ ตน้
3.4 การจดั การความยั่งยนื ในมติ สิ ังคม
3.4.1 นโยบายความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม (CSR Policy)
บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบ้ิล จำ�กดั (มหาชน) และ บริษทั ยอ่ ย ประกอบธุรกจิ ผลิตสายไฟฟา้ สายเคเบิ้ล สายโทรศัพท์
สายเคเบล้ิ ใยแกว้ น�ำ แสง ลวดอาบน้ำ�ยาและไมอ่ าบน้ำ�ยา มีความมงุ่ มน่ั ท่ีจะดำ�เนนิ ธุรกจิ ด้วยความรบั ผดิ ชอบต่อผลกระทบในด้านตา่ งๆ ทีเ่ กดิ ขึ้น
จากการดำ�เนินกิจการของบริษัทฯ ควบคู่ไปกับการผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพและมีความปลอดภัย ได้มาตรฐานในระดับสากล โดยยึดหลักการ
ดำ�เนินธรุ กจิ ภายใตก้ ารกำ�กับดแู ลกิจการท่ีดี ด้วยความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม คำ�นึงถงึ ผู้ทีม่ ีส่วนได้เสียทกุ ฝ่ายทีเ่ กีย่ วขอ้ ง บริษทั ฯ
จึงกำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบตอ่ สงั คม ดังนี้
แนวทางการด�ำ เนนิ งานด้วยความรับผิดชอบตอ่ สงั คม (CSR Practice)
1. การประกอบธรุ กจิ ดว้ ยความเปน็ ธรรม (Business Ethics)
บริษทั ฯ ส่งเสรมิ การแข่งขันทางการค้าอยา่ งเสรี โดยกรรมการ ผ้บู รหิ ารและพนกั งานตอ้ งยดึ มั่นในการตัดสินใจและ
การด�ำ เนนิ งานทางธุรกจิ ภายใตก้ รอบของกฎหมาย ขอ้ ก�ำ หนด และระเบียบทีเ่ กี่ยวข้องอยา่ งเคร่งครดั รวมท้ังประพฤตปิ ฏิบัติตนอยูใ่ นกรอบของ
คุณธรรมท่ีดีงาม หลีกเลย่ี งการดำ�เนินการท่อี าจกอ่ ให้เกดิ ความขัดแยง้ ทางผลประโยชน์
แนวทางปฏบิ ตั ิ
1) ไมส่ นับสนนุ การดำ�เนนิ การทมี่ ีลกั ษณะเป็นการละเมดิ ทรพั ยส์ ินทางปัญญาหรอื ลิขสทิ ธิ์
2) ปฏบิ ตั ติ ามเงอื่ นไขหรือสญั ญาตา่ งๆ ทม่ี ตี อ่ ลกู ค้า คคู่ ้า หรือเจ้าหนี้อยา่ งเคร่งครดั
3) ผลติ สินค้าท่ีมคี ุณภาพและมคี วามปลอดภยั โดยเสนอขายในราคาทเี่ ปน็ ธรรม
4) หลกี เล่ยี งการเข้าท�ำ รายการท่อี าจกอ่ ให้เกดิ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ หากตอ้ งท�ำ รายการที่มีความเก่ียวโยง
จะมีการเปดิ เผยข้อมูลอยา่ งครบถ้วน
2. การเคารพสทิ ธิมนุษยชน
บรษิ ทั ฯ ใหค้ วามส�ำ คญั และเคารพตอ่ สทิ ธมิ นษุ ยชน โดยการปฏบิ ตั ติ อ่ ผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งดว้ ยความเสมอภาค ไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ
ไม่แบง่ แยกเพศ เช้อื ชาติ ศาสนา หรือภูมลิ ำ�เนา ส่งเสริมให้มกี ารปฏบิ ตั ิตามหลักสิทธมิ นษุ ยชนตามมาตรฐานสากล
แนวทางปฏิบตั ิ
1) ส่งเสรมิ ความเสมอภาคในการทำ�งาน ไม่แบง่ แยกเพศ เช้อื ชาติ ศาสนา เพศหญงิ ชาย หรอื ภูมลิ ำ�เนาเดมิ
2) ไม่มีการใชแ้ รงงานเดก็ และสนับสนุนการต่อต้านการใชแ้ รงงานเดก็ ในรปู แบบตา่ งๆ
3) จดั ใหม้ สี ภาพการทำ�งานทด่ี ี สอดคล้องกบั กฎหมายและระเบยี บข้อบังคบั ทีเ่ กี่ยวขอ้ งอย่างเคร่งครัด
4) สง่ เสรมิ ให้พนกั งานปฏบิ ัตติ นตอ่ เพอ่ื นรว่ มงานด้วยความเคารพในสทิ ธิส่วนบุคคล

22 แบบ 56-1 One Report

3. การปฏบิ ัตติ อ่ แรงงานอยา่ งเปน็ ธรรม
บริษัทฯ มุ่งม่ันท่ีจะให้พนักงานมีสภาพแวดล้อมการทำ�งานท่ีมีความปลอดภัยและมีสุขอนามัยที่ดี กำ�หนดเงื่อนไข
การจ้างที่เปน็ ธรรม ไดร้ บั ค่าตอบแทนและสวสั ดกิ ารที่เหมาะสม เพ่อื ให้พนักงานทกุ คน ทำ�งานอยา่ งมคี วามสุขและมีคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี
แนวทางปฏิบตั ิ
1) ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายแรงงานและระเบยี บข้อบังคับท่ีเกยี่ วข้องอย่างเคร่งครดั
2) จดั ให้สถานทีท่ �ำ งานมีความสะอาด ปลอดภยั และมีสขุ อนามัยทดี่ ีส�ำ หรบั พนักงานทกุ คน
3) จดั ใหม้ แี พทย์และพยาบาลประจำ�อยทู่ ่หี ้องพยาบาลของโรงงงาน
4) ส่งเสริมและสนบั สนนุ ใหพ้ นักงานปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บความปลอดภัยอยา่ งเคร่งครัด
5) จดั ใหม้ คี ณะกรรมการสวสั ดกิ าร เพอ่ื คอยดแู ลปรบั ปรงุ สวสั ดกิ ารพนกั งานและสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งานใหด้ ขี น้ึ
6) จดั ใหม้ คี ณะกรรมการความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำ งาน เพอื่ ตดิ ตามดแู ลและรายงาน
เรื่องความปลอดภัย ความเส่ียงต่างๆ ที่อาจจะเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงานของพนักงาน รวมถึงมีการรายงาน
การเกิดอบุ ตั ิเหตแุ ละบาดเจบ็ จากการท�ำ งานให้พนกั งานรบั ทราบ
7) ใหโ้ อกาสทเ่ี ทา่ เทยี มกันแก่พนกั งานทกุ คน ในการจ้างงานและความก้าวหนา้ ในอาชีพการงาน
8) ส่งเสริมและสนบั สนนุ ใหพ้ นกั งานเข้าฝกึ อบรม ฝกึ ฝนทักษะทั้งภายในและภายนอกองคก์ ร
9) ไม่ให้มกี ารเลือกปฏิบตั ใิ ดๆ ที่ไมถ่ ูกตอ้ งตามกฎหมาย
10) จัดใหม้ ีช่องทางรบั ข้อรอ้ งเรยี นหากพนกั งานได้รับการปฏบิ ัตอิ ย่างไมเ่ ป็นธรรม
11) ส่งเสริมให้มีกิจกรรมออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพท่ีดีของพนักงาน โดยบริษัทฯ จัดเตรียมสถานท่ีที่เหมาะสม
อุปกรณ์กีฬาและอปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการออกกำ�ลงั กาย
12) ในชว่ งการแพรร่ ะบาดของเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 บรษิ ทั ฯ ตระหนกั ถงึ ความปลอดภยั ในการปฏบิ ตั งิ าน เนอ่ื งจาก
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสอย่างรวดเร็วและรุนแรงท่ัวทุกภูมิภาคต่างๆ ของโลก ซึ่งในปัจจุบันมีผู้ติดเชื้อโรค
ดงั กลา่ วมากกว่า 100 ล้านคน ทัว่ โลก บริษัทฯ จงึ มคี วามห่วงใยในสถานการณ์ดงั กล่าว จงึ กำ�หนดมาตรการ
และแนวทางเพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อโรคดังกล่าวในสถานท่ีทำ�งาน และสื่อสารให้ความรู้ตลอดถึง
การส่งเสริมการใช้อุปกรณ์ป้องกัน เพ่ือมิให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของพนักงาน โดยบริษัทฯ มีข้ันตอนการ
ด�ำ เนินงานดังนี้
12.1 ก�ำ หนดนโยบายการแบ่งกลุ่มการท�ำ งานเพ่ือเว้นระยะหา่ งในการสัมผสั
12.2 สือ่ สารท�ำ ความเขา้ ใจกบั พนักงานเกยี่ วกับการแพร่ระบาดของโรคและการปอ้ งกนั
12.3 สนบั สนนุ อุปกรณป์ อ้ งกัน เช่น หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอลล์ า้ งมือ และนำ้�ยาฆา่ เช้อื เป็นต้น
12.4 ก�ำ หนดมาตรการคัดกรองบคุ คลภายนอกทจ่ี ะเขา้ มาในพื้นที่บรษิ ทั ฯ
12.5 ก�ำ หนดมาตรการตา่ งๆ ตามระเบยี บซงึ่ ประกาศจากศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณแ์ พรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั
โคโรนา 2019 (ศบค.)
4. ความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผบู้ ริโภค
บรษิ ทั ฯ มคี วามมงุ่ มน่ั ในการผลติ สนิ คา้ ทมี่ คี ณุ ภาพและมคี วามปลอดภยั ในระดบั มาตรฐานสากล สนิ คา้ ตอ้ งตอบสนอง
ต่อความตอ้ งการและความคาดหวงั ของลูกคา้ อย่างดที ่ีสดุ โดยเสนอขายในราคาทเ่ี ปน็ ธรรม พร้อมทง้ั มีการรบั ประกัน และรบั ข้อร้องเรียนเก่ียวกบั
คุณภาพสนิ ค้า ตลอดจนส่งเสรมิ การสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการใชส้ ินค้าอย่างคมุ้ คา่ ถูกต้องและปลอดภยั
แนวทางปฏิบัติ
1) กำ�หนดราคาสินคา้ ทีเ่ ป็นธรรม สินคา้ มีคณุ ภาพและมีความปลอดภยั ในระดับมาตรฐานสากล
2) มกี ารรับประกนั คณุ ภาพสนิ ค้า และรบั ขอ้ ร้องเรียนเก่ียวกบั คุณภาพของสินค้า
3) สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจเกยี่ วกับสนิ คา้ โดยจดั ให้มีคมู่ ือการใช้งานเกี่ยวกบั สินคา้ ทถี่ ูกตอ้ ง ปลอดภัยและใช้สนิ ค้า
ไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ พรอ้ มท้งั เผยแพร่ขอ้ มูลทเี่ ก่ียวขอ้ งกับผลิตภัณฑอ์ ย่างถูกตอ้ ง ชดั เจน
4) ปฏบิ ตั ติ ามฎหมายและหลักเกณฑท์ ่เี กี่ยวกบั การคุม้ ครองผู้บริโภคอย่างเคร่งครัด

บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบิล้ จ�ำ กดั (มหาชน) 23

5. การดแู ลรักษาส่ิงแวดลอ้ ม
บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจด้วยการปฏิบัติตามข้อกำ�หนดและกฎหมายต่างๆ ด้านส่ิงแวดล้อมอย่างเคร่งครัด ส่งเสริม
การใช้ทรัพยากรอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ กำ�หนดมาตรการประหยดั พลงั งาน การควบคมุ มลพษิ ตลอดจนการดแู ลรักษาสิง่ แวดลอ้ ม
แนวทางปฏิบัติ
1) มีการนำ�วสั ดุบรรจภุ ัณฑแ์ ละวสั ดุรไี ซเคิลอ่ืนๆ กลับมาใช้ประโยชนใ์ หม่ เชน่ ล้อไม้ ล้อเหล็ก เป็นตน้
2) มีการปรับเปลี่ยนเช้ือเพลิงที่ใช้ในการผลิตสินค้าเป็นก๊าซธรรมชาติแทนการใช้นำ้�มันเตา เพ่ือประหยัดพลังงาน
และลดมลภาวะเปน็ พิษ
3) จดั ใหม้ รี ะบบการบ�ำ บดั น�้ำ เสยี จากอตุ สาหกรรมทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และน�ำ น�ำ้ ทไี่ ดจ้ ากการบ�ำ บดั น�้ำ เสยี มาใชป้ ระโยชน์
เชน่ รดน�้ำ ตน้ ไม้ เป็นตน้
4) นำ�เศษอาหารทเ่ี หลือจากโรงอาหารมาท�ำ นำ�้ หมักชีวภาพเพื่อใชร้ ดพชื ผักสวนครัวทป่ี ลกู ไว้ในพื้นท่ีว่างในโรงงาน
5) สร้างโรงคัดแยกขยะและกากอุตสาหกรรมตามประเภทขยะอย่างชัดเจน ได้แก่ ขยะรีไซเคิล ขยะปนเปื้อน
ขยะอันตราย ขยะย่อยสลาย และจัดการกำ�จัดด้วยวิธีการท่ีแตกต่างกันตามขบวนการบำ�บัดโดยบริษัทที่ได้รับ
อนุญาตจากกรมโรงงานอตุ สาหกรรม
6) เข้าร่วมโครงการความร่วมมอื ลดการใช้ไฟฟา้ (Demand Response) กับคณะกรรมการก�ำ กับกจิ การพลงั งาน
7) ได้รับการรับรองเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว (Green Industry) จากกระทรวงอุตสาหกรรม
8) เข้ารว่ มกจิ กรรมการจัดการของเสยี ในการผลิตตามหลกั 3Rs ของกระทรวงอุตสาหกรรม และไดร้ ับการรบั รอง
ขบวนการจดั การของเสีย Reduce (ลดการใช้) Reuse (ใช้ซ้ำ�) Recycle (นำ�กลบั มาใช้ใหม)่
6. การร่วมพฒั นาชุมชนหรือสังคม
บรษิ ทั ฯ ม่งุ มน่ั ท่ีจะดำ�เนินธุรกจิ ดว้ ยความรบั ผิดชอบตอ่ สภาพแวดล้อม ชมุ ชน และสงั คม สนับสนุนการมสี ว่ นรว่ ม
ในกจิ กรรมทเี่ ป็นประโยชนต์ ่อสาธารณะ พร้อมทัง้ ส่งเสริมพนักงานใหม้ จี ติ สำ�นึกที่ดีและท�ำ ดตี อ่ สังคมสว่ นรวม
แนวทางปฏบิ ตั ิ
1) ส่งเสริมและสนบั สนุนการมสี ่วนร่วมในกิจกรรมท่เี ป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ
2) ส่งเสริมให้พนักงานทกุ คนปฏิบัติหน้าทีด่ ้วยความรับผดิ ชอบต่อสภาพแวดล้อม ชุมชน และสงั คม
3) ส่งเสรมิ พนกั งานใหม้ ีจติ ส�ำ นึกทดี่ ีและท�ำ ดตี ่อสงั คมสว่ นรวม
4) สง่ เสริมและสนับสนนุ การจา้ งงานจากพนกั งานทมี่ ภี ูมลิ ำ�เนาอยใู่ กล้ทีต่ ั้งโรงงาน
5) ส่งพนักงานไปเป็นวิทยากรในสถานศกึ ษา เพอ่ื ใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั การออกแบบและติดต้งั ระบบไฟฟ้า
3.4.2 ผลการดำ�เนนิ งานดา้ นสังคม
สำ�หรับในปีที่ผ่านมา บริษัทฯ ไม่ได้รับข้อร้องเรียนใดๆ ที่เก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติต่อแรงงาน
ความรับผิดชอบต่อลูกค้า หรือสังคมและชุมชน ท่ีเป็นการเอารัดเอาเปรียบ ไม่เป็นธรรม อันขัดแย้งต่อนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการที่ดีและ
จรรยาบรรณธุรกิจที่บริษัทฯ ได้จัดทำ�ไว้แต่อย่างใด โดยบริษัทฯ ได้ปฏิบัติตามแนวทางที่กำ�หนดไว้อย่างเป็นรูปธรรมในการดำ�เนินธุรกิจ
มีการตรวจ ตดิ ตาม จดั ทำ�บันทกึ และรายงานต่อหน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องอย่างสม่�ำ เสมอ ดงั นี้
1. ในสว่ นการดูแลรกั ษาสิง่ แวดล้อม
บริษัทฯ ได้จัดท�ำ โครงการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน โดยการปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพของอุปกรณ์ทใี่ ชง้ านเป็นประจำ� เพื่อลด
การสญู เสียเนือ่ งจากสภาพเก่าใชง้ านมานาน และวธิ กี ารใช้งานที่เกิดความสญู เสียสูง รวมถึงหาเคร่อื งมือวดั เพ่ือปรบั ปรงุ ประสิทธภิ าพการท�ำ งาน
ของเครื่องจกั ร โดยมรี ายละเอียดของโครงการต่างๆ ดังนี้
1. เปล่ยี นเคร่ืองปรบั อากาศแบบแยกสว่ นทใี่ ช้งานมากกว่า 15 ปี เป็นเครอ่ื งปรับอากาศเบอร์ 5 (ประหยดั ไฟฟา้ )
2. ปรับปรงุ ประสทิ ธภิ าพการใชง้ านระบบปรับอากาศในกระบวนการผลติ
3. จัดหาเครือ่ งมือวดั ประสทิ ธภิ าพการเผาไหม้เชื้อเพลิงกา๊ ซธรรมชาตเิ พ่อื ควบคุมการเผาไหม้ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพ
4. เปลย่ี นหลอดไฟส่องสว่างชนดิ ฟลอู อเรสเซนต์ 40 วตั ต์ เปน็ หลอดไฟแอลอดี ี 15 วตั ต์

24 แบบ 56-1 One Report

2. ในส่วนของพนักงาน เจ้าหนา้ ท่ี ผ้รู บั เหมาหรือผูท้ ีม่ าตดิ ตอ่ งาน ตลอดจนชมุ ชนขา้ งเคียง
- บริษัทฯ มีข้อปฏิบัติด้านความปลอดภัยที่กำ�กับดูแลโดยคณะกรรมการป้องกันอุบัติภัยในการทำ�งาน (คปอ.)

ทำ�หน้าทต่ี รวจตรา ความปลอดภัยในพ้ืนท่กี ารปฏบิ ตั งิ าน การใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลของพนักงาน
และผทู้ เี่ ขา้ มาปฎบิ ตั งิ านในพนื้ ทเี่ สย่ี ง และไดจ้ ดั ตง้ั คณะกรรมการออกตรวจ ประจ�ำ จดุ เสยี่ งทงั้ ภายในและภายนอก
อย่างตอ่ เนอ่ื ง พรอ้ มทั้งประชุมสรปุ ทกุ เดือน เพ่อื รายงานต่อฝ่ายบริหาร ตลอดจนป้องกันและลดอบุ ตั เิ หตุทอี่ าจ
จะเกิดขึน้
- บริษัทฯ ได้จัดให้มกี ารฝกึ อบรมเพ่มิ ทกั ษะการปฏบิ ตั งิ าน ฝีมือแรงงาน และความเป็นผู้นำ� เพอ่ื ยกระดบั พนักงาน
ที่มีความต้ังใจในการท�ำ งานใหไ้ ดม้ โี อกาสก้าวหน้าในหนา้ ท่ีการงาน
- บริษัทฯ ได้ติดต่อผู้ท่ีมีความชำ�นาญด้านส่ิงแวดล้อมและเครื่องจักรกล ท้ังจากหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน
เพ่ือเขา้ ท�ำ การตรวจวัดสภาพสิ่งแวดล้อมและเครอ่ื งจกั รกลทอี่ าจเกดิ ความเสย่ี งภายในบริษทั ฯ เพอ่ื เพมิ่ ความมั่นใจ
ในการปฏิบัตงิ านของพนักงานเป็นประจ�ำ อย่างน้อยปลี ะ 1 คร้ัง อาทเิ ช่น การตรวจวัดสภาพอากาศ ฝนุ่ ควนั
แสง เสียง ความรอ้ น เป็นตน้
- บรษิ ทั ฯ ไดต้ ดิ ตงั้ ปา้ ยประกาศแจง้ เตอื นความเสยี่ งตา่ งๆ ทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ตามพนื้ ทป่ี ฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ จดั เตรยี มอปุ กรณ์
ป้องกนั สญั ญาณเตือน และวิธปี ฏิบตั ิท่ีถูกตอ้ งหากเกดิ เหตุ
- บริษทั ฯ ได้ติดต่อหนว่ ยงานจากภายนอกท่ีได้รบั การรับรองจากกรมโรงงานอตุ สาหกรรม เพอื่ เข้าท�ำ การตรวจสอบ
คณุ ภาพน้ำ�ที่ปลอ่ ยออกส่ภู ายนอกอยา่ งสมำ่�เสมอ เพื่อใหน้ �ำ้ ทบ่ี ริษัทฯ ปล่อยออกสชู่ มุ ชนภายนอก อยู่ในเกณฑ์
มาตรฐานตามที่กรมโรงงานอตุ สาหกรรมก�ำ หนด
- บรษิ ทั ฯ ท�ำ การก�ำ จดั ขยะและบ�ำ บดั ของเสยี อยา่ งถกู วธิ ิ โดยไดท้ �ำ การวา่ จา้ งบรษิ ทั ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองการก�ำ จดั ขยะ
อุตสาหกรรมจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นผู้ดำ�เนินการพร้อมท้ังจัดทำ�รายงานต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ทุกครงั้ ทีม่ กี ารน�ำ กากอุตสาหกรรมออกนอกโรงงาน
- บรษิ ทั ฯ ได้จดั ใหม้ ีการซอ้ มแผนป้องกันและอพยพตามแผนเหตฉุ ุกเฉินเมอ่ื เกดิ เหตุไฟไหม้ แกส๊ ร่ัว หรอื สารเคมี
รว่ั ไหล เพ่ือให้พนกั งานปฏิบตั ิตวั ได้อยา่ งถูกต้อง ไมต่ นื่ ตระหนกเม่อื ประสพเหตุ
3. ในสว่ นของผู้บรโิ ภค
สนิ คา้ ของบรษิ ัทฯ เปน็ สินคา้ ท่เี กย่ี วกับความปลอดภัยทไี่ ด้ขนึ้ ทะเบยี นกับสำ�นักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม
(ส.ม.อ.) และไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม (ม.อ.ก.) นอกจากน้ี สินคา้ ของบรษิ ทั ฯ ไดร้ ับการออกแบบผลติ และทดสอบ
ตามมาตรฐานอตุ สาหกรรมไทยและตามมาตรฐานสากล โดยไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานสนิ คา้ จากสถาบนั ทเี่ ชอ่ื ถอื ได้ ทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ
อีกท้ัง บรษิ ทั ฯ ได้รับการรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัตกิ ารทดสอบ ISO/IEC 17025 จากสถาบนั รับรองมาตรฐานไอเอสโอ (สรอ.) หรอื MASCI
ซ่ึงก่อตั้งข้ึนโดยกระทรวงอุตสาหกรรมโดยที่ตัวสินค้าจะมีป้ายบ่งบอกถึงคุณภาพของสินค้าตามกฏหมายกำ�หนด ปริมาณ ขนาด น้ำ�หนัก
และการนำ�ไปใช้งาน ซ่ึงสามารถตรวจสอบข้อมูลของสินค้าได้ตามมาตรฐานเมื่อมีการร้องเรียนจากลูกค้า หรือสามารถตรวจสอบรายละเอียด
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ของบริษทั ฯ ได้ที่เวบ็ ไซด์ www.ctw.co.th
ในสว่ นของบริษัทยอ่ ย SFO บรษิ ทั ฯ ได้ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและข้อบงั คบั ตา่ งๆ เพอื่ ดูแลรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม เช่น
การบ�ำ บัดและตรวจคณุ ภาพน้ำ� กอ่ นปลอ่ ยลงสู่แหล่งน�้ำ สาธารณะ การก�ำ หนดมาตรการประหยัดพลงั งานและการคดั แยกขยะ อกี ท้งั บริษัทฯ
ได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ ISO14001 : 2004 จึงปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและลดผลกระทบส่ิงแวดล้อมด้านคุณภาพนำ้�คือ 
มีการเก็บตัวอยา่ งนำ้�ที่จะปล่อยท้งิ สง่ ไปตรวจสอบคุณภาพให้อยใู่ นเกณฑ์มาตรฐาน โดยตรวจวดั ค่าความเป็น กรด-ดา่ ง (Ph), ความสกปรก
ในรปู ของสารอินทรีย์ (Biochemical Oxygen Demand : BOD), ปริมาณสารแขวนลอย (Suspended Solids) ปริมาณน้�ำ มันและไขมนั
(Oil & Grease) ซึง่ ในการตรวจสอบคณุ ภาพน้ำ�ท้ิงดงั กลา่ ว บรษิ ัทฯ ไดด้ ำ�เนินการจ้างบรษิ ทั ที่มคี วามชำ�นาญและได้ข้นึ ทะเบียนการปฏบิ ัตกิ าร
วิเคราะหก์ บั กรมโรงงานอุตสาหกรรม ท�ำ หนา้ ที่ตรวจวิเคราะห์น้�ำ ท้งิ โดยผลของการตรวจวดั คุณภาพนำ�้ ทกุ จุดอยู่ในเกณฑค์ า่ มาตรฐาน และไดม้ ี
การเปลีย่ นมาตรฐานฉบบั ใหม่เป็น ISO 14001 : 2015 ในปี 2561
- ด้านการอนุรักษ์พลงั งาน บรษิ ทั ฯ ได้กำ�หนดมาตรการประหยดั พลงั งาน โดยรว่ มมอื กับทางกรมพฒั นาพลงั งาน
ทดแทนและอนุรักษ์พลังงานกระทรวงพลังงานได้จัดทำ�โครงการลดการใช้งานพลังงานไฟฟ้า โดยการเปล่ียน
หลอดไฟจากเดิมใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์และสปอร์ตไลท์รอบโรงงาน มาเป็นหลอดแอลอีดี (LED) และ
ตรวจวัดแสง ในพนื้ ท่ีการท�ำ งานใหอ้ ยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน ตามท่ีกฎหมายก�ำ หนดไวอ้ ยา่ งเคร่งครดั และสมำ่�เสมอ

บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ิล จำ�กัด (มหาชน) 25

- ดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม บรษิ ทั ฯ ไดเ้ นน้ ความส�ำ คญั ดา้ นการคดั แยกขยะ โดยมกี ารอบรมพนกั งานใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ
ในดา้ นการคัดแยกขยะและยังจดั ทำ�โครงการคดั แยกขยะ โดยแบง่ เป็น ขยะทวั่ ไป ขยะรีไซเคิล และขยะอนั ตราย
และใชบ้ ริการจดั การก�ำ จัดขยะกับหน่วยงาน/บรษิ ัทท่ีไดร้ ับอนุญาตจากกรมโรงงานอตุ สาหกรรมเทา่ นนั้

กจิ กรรมของหนว่ ยงาน เพ่อื ประโยชนแ์ ก่สงั คมในด้านต่างๆ (CSR after Process)
- บริษัทฯ ส่งเสริมและสนบั สนุนการมสี ่วนรว่ มในกจิ กรรมท่ีมปี ระโยชน์ต่อสาธารณะ และรว่ มทำ�กจิ กรรมเพอ่ื สงั คม

อยา่ งสม�ำ่ เสมอ โดยรว่ มมือกับหน่วยงานราชการในท้องถ่นิ ชมุ ชนรอบข้าง โรงเรยี น และวัด ในด้านการพฒั นา
ทอ้ งถนิ่ ดา้ นสง่ เสรมิ การศกึ ษา และการสง่ เสรมิ วฒั นธรรมและประเพณอี นั ดงี ามในชมุ ชน ปี 2564 ในสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19) บริษัทฯ ได้จัดหาวัคซีนทางเลือกให้แกพ่ นกั งานทุกคน และ
บรจิ าคใหก้ ับผู้ทรี่ ว่ มงานกับบรษิ ทั ฯ ผูด้ อ้ ยโอกาสผ่านสถาบนั วจิ ยั จฬุ าภรณ์ อกี ทัง้ ไดร้ ว่ มมอื กบั หน่วยงานราชการ
ทอ้ งถน่ิ จดั ตง้ั ศนู ยพ์ กั คอย ส�ำ หรบั ผทู้ ม่ี คี วามเสย่ี งจากการตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19) เพอ่ื รอการรกั ษาตวั
ในโรงพยาบาลตอ่ ไป และได้สนับสนุนหนา้ กากอนามัยชนิด N95 ให้กับเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขในจงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
ผา่ นทางหน่วยงานส�ำ นักงานอตุ สาหกรรมจงั หวัด
- ในด้านการส่งเสริมวัฒนธรรมและประเพณีอันดีงาม บริษัทฯ ร่วมส่งเสริมทำ�นุบำ�รุงศาสนา รวมท้ังสร้างความ
สมั พนั ธ์กบั ชุมชน ในปี 2564 บริษัทฯ ได้ร่วมกบั อำ�เภอบางน�ำ้ เปรีย้ ว บรจิ าคเงินสนบั สนุนกิจกรรมส�ำ นักงาน
เหล่ากาชาดจังหวดั ในโครงการ “วนั รวมน�้ำ ใจส่กู าชาด”
- บริษัทฯ ได้จัดกิจกรรมเพ่ือสังคมอย่างสม่ำ�เสมอ โดยการบริจาคอุปกรณ์ไฟฟ้า พร้อมติดตั้งระบบไฟฟ้าให้กับ
โรงเรยี นและวดั โดยใช้สายไฟฟา้ ซึง่ เปน็ ผลติ ภัณฑ์ทีม่ คี ุณภาพสงู ในปี 2564 บรษิ ัทฯ บริจาคสายไฟฟา้ เพอ่ื ใช้
ในการสนับสนุนการปฎิบตั ิภารกจิ ของสถานตี ำ�รวจภธู รอำ�เภอบางนำ้�เปรีย้ ว จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา
- บริษัทฯ ได้ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมด้านการศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะและชุมชน โดยในปี 2564
ได้ร่วมกับชมุ ชนและองคก์ ารปกครองในทอ้ งถนิ่ บริจาคเงินเพือ่ ช่วยเหลือซ่อมแซมบา้ นเรอื นชมุ ชนโดยรอบบรษิ ัทฯ
ซง่ึ ประสบภยั จากพายุฤดูรอ้ นในปที ผ่ี า่ นมา
- บริษัทฯ ได้สนับสนุนทุนการศึกษาแก่บุตรของพนักงาน และส่งเสริมกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติเป็นประจำ�ทุกปี
ให้กับเด็ก เยาวชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดใกล้เคียง เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้และเป็นทรัพยากรบุคคล
ที่สำ�คัญของประเทศชาติ บริษัทฯ ได้ตระหนักถึงความสำ�คัญของวันเด็กดังกล่าวโดยร่วมมือด้านกิจกรรมกับ
หนว่ ยงานราชการและหนว่ ยงานภาคเอกชนตา่ งๆ
- บริษัทฯ ได้ร่วมกับผู้ทรงคุณวุฒิด้านการออกแบบติดตั้งระบบไฟฟ้าจัดพิมพ์คู่มือการเลือกใช้สายไฟฟ้าสำ�หรับ
งานออกแบบ และตดิ ตง้ั ระบบไฟฟา้ เผยแพรค่ วามรูด้ ้านมาตรฐานการออกแบบ และติดตัง้ ระบบไฟฟ้ามอบให้กบั
ชา่ งเทคนิค วศิ วกร นกั ศึกษา และผสู้ นใจนำ�ไปใช้เป็นความรู้
ในสว่ นของบรษิ ทั ยอ่ ย SFO ไดจ้ ดั ท�ำ เอกสารขอ้ มลู ความปลอดภยั ของสารเคมี MSDS (Material Safety Data Sheets)
ซงึ่ เปน็ เอกสารประชาสัมพนั ธ์ เพอ่ื ให้ลูกคา้ รบั ทราบวธิ ีการใช้งานเคเบ้ิลอยา่ งปลอดภัย พร้อมทัง้ ใหค้ �ำ แนะน�ำ การใชแ้ ละติดต้งั เคเบลิ้ อย่างถกู ตอ้ ง

4. การวิเคราะห์และคำ�อธิบายของฝา่ ยจัดการ (Management and Analysis : MD&A)

1. ภาพรวมการด�ำ เนินงาน
ในปี 2564 ผลกระทบจากการแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ไดถ้ ูกผอ่ นคลายมาตรการลงบ้าง แต่ยงั คง
ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกจิ อยา่ งตอ่ เน่อื ง กอปรกับราคาวตั ถดุ บิ หลักทบ่ี รษิ ทั ฯ ใช้ในการผลิตสนิ ค้ามีแนวโนม้ ปรับตวั สูงขน้ึ สง่ ผลตอ่ ตน้ ทุนสนิ ค้า
ของบรษิ ทั ฯ ทไี่ ดร้ บั ค�ำ สัง่ ซื้อจากงานโครงการตา่ งๆ ทเี่ ขา้ มาในช่วงไตรมาสที่ 4 ของปี 2563 สูงขน้ึ ดว้ ย ทำ�ใหใ้ นปี 2564 บรษิ ทั ฯ และ
บรษิ ัทยอ่ ย มีผลขาดทุน 403.77 ล้านบาท กำ�ไรลดลง 702.49 ล้านบาท หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 235.17 เม่ือเทียบกับปี 2563 ซงึ่ มีผลก�ำ ไรจ�ำ นวน
298.72 ลา้ นบาท รายไดห้ ลกั ของกลมุ่ บรษิ ทั ฯ มาจากการขายผลิตภัณฑล์ วดอาบน�ำ้ ยา และไม่อาบน้�ำ ยารอ้ ยละ 54 ตามดว้ ยสายไฟฟ้าตวั นำ�
อลูมเิ นยี มและทองแดงร้อยละ 43 ซงึ่ ขายให้แก่ลกู ค้าทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชนในประเทศและตา่ งประเทศ

26 แบบ 56-1 One Report

2. ผลการดำ�เนนิ งาน และความสามารถในการท�ำ ก�ำ ไร
การวิเคราะห์รายได้
ในปี 2564 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีรายได้รวมทั้งส้ินจำ�นวน 6,405.14 ล้านบาท ลดลง 1,719.31 ล้านบาท หรือลดลง
ร้อยละ 36.69 เมื่อเทียบกับปีก่อน ซึ่งมีรายได้รวมท้ังส้ินจำ�นวน 4,685.83 ล้านบาท โดยมีรายได้จากการขายผลิตภัณฑ์จำ�นวน 6,388.11
ลา้ นบาท หรือคิดเปน็ ร้อยละ 99.73 ของรายได้รวม โดยจ�ำ แนกเป็นรายได้จากการขายให้ลกู คา้ ภายในประเทศจำ�นวน 5,463.28 ล้านบาท หรอื
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.52 ของยอดขายรวม และขายให้ลูกค้าตา่ งประเทศจ�ำ นวน 924.83 ลา้ นบาท หรือคดิ เป็นร้อยละ 14.48 ของยอดขายรวม
ในปี 2564 กลมุ่ บรษิ ัทฯ และบริษทั ยอ่ ยมีรายไดอ้ ่นื รวมจำ�นวน 16.81 ลา้ นบาท ลดลง 1.27 ลา้ นบาท หรือลดลงรอ้ ยละ 7.01
เม่ือเปรยี บเทียบกบั ปี 2563 ทม่ี รี ายได้อ่ืนจำ�นวน 18.08 ล้านบาท สาเหตุเนื่องจากในปี 2563 มีก�ำ ไรจากอตั ราแลกเปลยี่ น จ�ำ นวน 4.04
ลา้ นบาท
รายได้ทางการเงนิ
ในปี 2564 บรษิ ทั ฯ และบรษิ ัทย่อยมรี ายไดท้ างการเงินรวมทั้งสน้ิ จำ�นวน 2.49 ลา้ นบาท ลดลง 22.78 ล้านบาท หรือลดลง
รอ้ ยละ 90.13 เม่ือเปรียบเทยี บกบั ปี 2563 ที่มีรายได้ทางการเงนิ รวมทัง้ สิ้นจ�ำ นวน 25.27 ลา้ นบาท สาเหตเุ นอ่ื งจากในปี 2563 บรษิ ัทยอ่ ย
แหง่ หน่ึงได้รบั ดอกเบย้ี จากลกู หนก้ี ารคา้ ท่ีค้างชำ�ระเป็นระยะเวลานาน
การวิเคราะหต์ ้นทุนขาย และค่าใช้จ่าย
ในปี 2564 บรษิ ัทฯ และบริษัทยอ่ ย มคี ่าใชจ้ า่ ยรวมจำ�นวน 6,900.30 ลา้ นบาท เพมิ่ ขึน้ 2,557.26 ล้านบาท หรือเพิ่มขน้ึ
ร้อยละ 58.88 เม่อื เทยี บกบั ปี 2563 ซึง่ มีคา่ ใช้จา่ ยรวมจ�ำ นวน 4,343.03 ล้านบาท โดยมีตน้ ทุนขายรวมสำ�หรับปี 2564 จำ�นวน 6,439.71
ลา้ นบาท หรอื คิดเป็นรอ้ ยละ 100.81 ของยอดขาย เพม่ิ ข้ึนจำ�นวน 2,453.86 ลา้ นบาท หรือเพิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 61.56 เม่ือเทียบกับปี 2563
ทม่ี ตี น้ ทนุ ขายจ�ำ นวน 3,985.86 ล้านบาท หรือคดิ เปน็ รอ้ ยละ 85.39 ของยอดขาย โดยในปี 2564 มีค่าเผือ่ การลดลงของมูลค่าสินค้าคงเหลือ
ซึง่ แสดงเปน็ สว่ นหนง่ึ ของตน้ ทนุ ขายจำ�นวน 454.55 ลา้ นบาท เนอื่ งจากความผันผวนของราคาทองแดงซง่ึ เปน็ วตั ถุดบิ หลักปรับตวั เพม่ิ ขนึ้ มาก
บรษิ ทั ฯ จึงประมาณการค่าเผ่อื ผลขาดทุนจากสญั ญาทส่ี ร้างภาระส�ำ หรับสนิ ค้าทีเ่ หลืออยู่ทัง้ หมดของงานโครงการระยะยาว
ส่วนแบง่ ก�ำ ไรจากเงนิ ลงทุนในบริษทั รว่ ม
สว่ นแบ่งก�ำ ไรจากเงินลงทนุ ในบริษัทร่วม ในปี 2564 จำ�นวน 0.22 ล้านบาท ก�ำ ไรลดลง 1.07 ลา้ นบาท หรอื ลดลงรอ้ ยละ 82.79
เม่ือเทียบกับปี 2563 ซ่ึงมีส่วนแบ่งกำ�ไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วมจำ�นวน 1.29 ล้านบาท เป็นการรับรู้ส่วนแบ่งกำ�ไรจากการลงทุนใน
บริษทั ลอ็ กซแพค ฮอ่ งกง จ�ำ กดั ซงึ่ เป็นบรษิ ทั ร่วม
ต้นทุนทางการเงนิ
บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีค่าใช้จ่ายทางการเงินในปี 2564 จำ�นวน 14.98 ล้านบาท เพิ่มข้ึน 6.39 ล้านบาท หรือเพ่ิมข้ึน
ร้อยละ 74.42 เมอ่ื เทียบกบั ปี 2563 ซึง่ มคี า่ ใช้จา่ ยทางการเงินจ�ำ นวน 8.59 ล้านบาท โดยส่วนใหญเ่ ปน็ ดอกเบยี้ จ่ายเจ้าหนี้ทรัสตร์ ีซที ส์ท่ีเพ่มิ ข้ึน
กำ�ไรสุทธิ
บริษทั ฯ และบรษิ ัทยอ่ ยมีผลขาดทนุ ในปี 2564 จ�ำ นวน 403.77 ลา้ นบาท กำ�ไรลดลงจ�ำ นวน 702.49 ล้านบาท หรอื ลดลง
รอ้ ยละ 235.17 คดิ เปน็ อตั ราขาดทนุ อยทู่ ร่ี อ้ ยละ 6.32 เมอ่ื เทยี บกบั ปี 2563 ซง่ึ มกี �ำ ไรจ�ำ นวน 298.72 ลา้ นบาท คดิ เปน็ อตั ราก�ำ ไรอยทู่ ร่ี อ้ ยละ 6.40
3. ความสามารถในการบริหารทรัพย์สนิ
สนิ ทรัพย์
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีสินทรัพย์รวมจำ�นวน 6,459.93 ล้านบาท เพ่ิมข้ึนจำ�นวน 991.50
ลา้ นบาท หรือเพิม่ ข้ึนรอ้ ยละ 18.13 เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั ปี 2563 ซึ่งมีสนิ ทรัพยร์ วมจ�ำ นวน 5,468.42 ลา้ นบาท สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขน้ึ
ของลกู หนี้การค้าและลกู หน้อี ่นื จ�ำ นวน 481.87 ล้านบาท สินคา้ คงเหลือเพมิ่ ขนึ้ จำ�นวน 268.85 ล้านบาท สนิ ทรพั ยห์ มุนเวยี นอ่ืนเพิม่ ขนึ้ จ�ำ นวน
37.42 ลา้ นบาท ในขณะท่สี นิ ทรัพย์ทางการเงนิ หมนุ เวียนอืน่ ลดลงจำ�นวน 91.76 ล้านบาท และสนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ ไมห่ มนุ เวียนอ่ืนเพ่มิ ขนึ้
จ�ำ นวนรวมท้ังสนิ้ 226.49 ลา้ นบาท
ณ วนั ส้นิ ปี 2564 ลูกหน้กี ารคา้ และลกู หนี้อนื่ จำ�นวน 1,698.43 ลา้ นบาท เพ่มิ ขึ้น 481.87 ลา้ นบาท หรือเพิ่มขนึ้ รอ้ ยละ 39.61
จากยอด 1,216.56 ล้านบาท ณ วนั สน้ิ ปี 2563 เน่อื งจากบริษทั ฯ และบรษิ ัทย่อยมรี ายได้จากการขายสนิ ค้าเพมิ่ ขน้ึ
ณ วันส้นิ ปี 2564 สนิ คา้ คงเหลอื จำ�นวน 1,902.31 ล้านบาท เพม่ิ ขน้ึ 268.85 ลา้ นบาท หรือเพิม่ ขึน้ รอ้ ยละ 16.46 จากยอด
1,633.46 ลา้ นบาท ณ วันส้นิ ปี 2563 ซึ่งเป็นสนิ คา้ ท่มี ีก�ำ หนดส่งมอบตน้ ปี 2565

บริษัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบิ้ล จ�ำ กดั (มหาชน) 27

ทีด่ ิน อาคาร และอปุ กรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จำ�นวน 1,316.95 ลา้ นบาท เพมิ่ ข้นึ 90.52 ลา้ นบาท หรือเพม่ิ ขนึ้
รอ้ ยละ 7.38 จากยอด 1,226.43 ลา้ นบาท ณ วนั สิน้ ปี 2563 โดยมีการตดั คา่ เสอื่ มราคา สำ�หรับปี 2564 จ�ำ นวน 87.10 ลา้ นบาท
หนส้ี ิน
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ และบริษทั ย่อย มหี นส้ี นิ รวมจ�ำ นวน 2,527.93 ล้านบาท เพ่ิมขึ้น 1,565.68 ล้านบาท หรือ
เพม่ิ ขึ้นร้อยละ 162.71 เมื่อเทยี บกบั ยอด ณ สิน้ ปี 2563 ซง่ึ มจี �ำ นวน 962.25 ลา้ นบาท โดยแบง่ เปน็ หนี้สนิ ระยะส้ันจำ�นวน 2,201.20 ลา้ นบาท
และหนสี้ นิ ระยะยาวจ�ำ นวน 326.74 ลา้ นบาท โดยหนสี้ นิ ระยะยาวเปน็ การตงั้ ส�ำ รองผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนกั งาน เพอื่ เปน็ เงนิ ชดเชยพนกั งาน
เมื่อออกจากงานทงั้ จำ�นวน
เจา้ หนท้ี รสั ตร์ ีซีท (T/R) จ�ำ นวน 1,648.83 ล้านบาท เพ่ิมขึน้ จ�ำ นวน 1,574.66 ล้านบาท หรือเพิ่มขึน้ ร้อยละ 2,122.88 จากยอด
74.17 ล้านบาท ณ วนั สิ้นปี 2563 เน่อื งจากบริษัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ยมกี ารสั่งซ้อื วตั ถุดบิ หลักจากต่างประเทศเพ่ือรองรับคำ�สัง่ ซือ้ ของลกู ค้า
การวเิ คราะหก์ ระแสเงินสด
ในปี 2564 บรษิ ัทฯ และบริษทั ย่อย มีเงนิ สดสุทธใิ ช้ไปในกิจกรรมด�ำ เนินงานจ�ำ นวน 1,179.09 ลา้ นบาท เงนิ สดสุทธใิ ชไ้ ปใน
กิจกรรมลงทนุ จำ�นวน 77.31 ล้านบาท เงนิ สดสทุ ธจิ ากกิจกรรมจดั หาเงินจ�ำ นวน 1,327.60 ล้านบาท นอกจากนม้ี เี งนิ สดลดลงจากผลต่างจาก
การแปลงค่างบการเงินจำ�นวน 0.82 ล้านบาท เป็นผลใหเ้ งินสดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สดสทุ ธิ ในปี 2564 เพิม่ ข้นึ จำ�นวน 28.48 ล้านบาท
โดยมีเงินสดและรายการเทยี บเท่าเงนิ สดจ�ำ นวน 995.87 ล้านบาท ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564
เงินสดสุทธิใชไ้ ปในกจิ กรรมด�ำ เนนิ งานจ�ำ นวน 1,179.09 ล้านบาท เปน็ ผลมาจากมกี ำ�ไรจากการด�ำ เนนิ งาน 190.02 ลา้ นบาท
เงินสดสุทธิจากหนี้สินดำ�เนินงานลดลงจำ�นวน 73.49 ล้านบาท ในขณะท่ีเงินสดสุทธิท่ีใช้ไปในสินทรัพย์ดำ�เนินงานเพิ่มข้ึนจำ�นวน 1,221.01
ล้านบาท จ่ายดอกเบย้ี และภาษเี งินไดจ้ �ำ นวน 74.62 ล้านบาท
เงนิ สดสทุ ธใิ ช้ไปในกิจกรรมลงทุนจ�ำ นวน 77.31 ล้านบาท เป็นเงนิ สดที่เปน็ เงนิ ฝากประจำ�ท่มี ีอายุเกิน 3 เดอื น (สนิ ทรัพยท์ าง
การเงินหมุนเวียนอ่ืน) ลดลงจำ�นวน 100.00 ล้านบาท เงินปันผลรับจากเงินลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอ่ืน จำ�นวน 6.64
ล้านบาท โดยมดี อกเบ้ยี รับจ�ำ นวน 2.74 ล้านบาท ในขณะทีม่ เี งนิ สดใช้ไปในการซอ้ื เครื่องจกั รและงานระหว่างก่อสรา้ งจำ�นวน 194.46 ลา้ นบาท
เงินสดรบั จากการจ�ำ หนา่ ยทด่ี นิ อาคาร และอปุ กรณ์จ�ำ นวน 16.29 ล้านบาท และเงินลงทุนในสนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ ไม่หมุนเวียนอน่ื เพมิ่ ขึน้ จ�ำ นวน
1.20 ลา้ นบาท
ในสว่ นของเงนิ สดสทุ ธิจากกิจกรรมจัดหาเงนิ จำ�นวน 1,327.60 ล้านบาท เจา้ หน้ีทรสั ตร์ ีซที ส์เพมิ่ ขึน้ จ�ำ นวน 1,548.56 ลา้ นบาท
เงนิ กยู้ มื ระยะส้ันจากสถาบนั การเงนิ ลดลงจ�ำ นวน 36.03 ล้านบาท และจ่ายเงินปันผลจำ�นวน 177.43 ลา้ นบาท
4. สภาพคลอ่ งและความเพียงพอของเงินทุน
สภาพคล่อง
ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564 บรษิ ทั ฯ และบริษัทยอ่ ยมีอตั ราส่วนสภาพคลอ่ งอย่ทู ่ี 2.14 เทา่ และอตั ราส่วนสภาพคลอ่ งหมนุ เรว็
อยทู่ ี่ 1.22 เทา่ โดยมสี ภาพคลอ่ งลดลงจากปกี ่อนอย่างมีนยั ส�ำ คญั เม่ือเทียบกบั อตั ราสว่ น ณ สิ้นปี 2563 ทม่ี ีอตั ราสว่ นสภาพคล่อง อยู่ที่
6.29 เทา่ และอัตราส่วนสภาพคลอ่ งหมนุ เรว็ อย่ทู ่ี 3.43 เท่า ถึงแม้วา่ บริษทั ฯ และบรษิ ทั ยอ่ ย มีเงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงินสดเพมิ่ ขน้ึ จาก
การด�ำ เนนิ งานจำ�นวน 68.62 ล้านบาท และมลี ูกหนก้ี ารคา้ และลูกหนี้อนื่ เพ่มิ ขน้ึ จำ�นวนมากถึง 481.87 ล้านบาท ซ่งึ สอดคลอ้ งกับยอดขาย
ท่ีเพิม่ ขึ้น ในขณะเดยี วกัน บรษิ ัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ย กม็ ีหน้ีสินหมุนเวียนเพิม่ ข้ึนจำ�นวน 1,575.73 ลา้ นบาท โดยเจ้าหน้ีทรัสต์รีซที ส์ท่ีมีจ�ำ นวน
เพมิ่ ขึ้น 1,574.66 ลา้ นบาท เนื่องจากมีการซอื้ วตั ถดุ ิบเพิม่ ขนึ้ เพอ่ื รองรบั การผลติ เปน็ จ�ำ นวนมาก
โครงสรา้ งเงินทุน
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 บรษิ ทั ฯ และบรษิ ทั ยอ่ ยมสี ว่ นของผถู้ อื หนุ้ จ�ำ นวน 3,932.10 ลา้ นบาท ลดลงจ�ำ นวน 553.82 ลา้ นบาท
หรอื ลดลงร้อยละ 12.35 จากยอด 4,485.92 ล้านบาท ณ วนั ส้นิ ปี 2563 และมผี ลขาดทนุ เบ็ดเสร็จรวมส่วนท่ีเป็นของผถู้ ือห้นุ ของบริษัทฯ
ในปี 2564 จ�ำ นวน 371.76 ล้านบาท ในขณะทีม่ กี ารจา่ ยเงนิ ปันผลสำ�หรบั ผลการดำ�เนินงานปี 2563 จำ�นวน 179.06 ลา้ นบาท
โครงสร้างเงินทนุ ของบรษิ ัทฯ และบริษัทยอ่ ย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ประกอบด้วยหนีส้ นิ รวมจำ�นวน 2,527.93 ล้านบาท
และสว่ นของผู้ถือหุน้ จ�ำ นวน 3,931.99 ล้านบาท คดิ เปน็ อัตราสว่ นหนี้สนิ ตอ่ สว่ นของผ้ถู อื ห้นุ เพียง 0.64 เท่า เพ่มิ ขน้ึ เมอื่ เทียบกับอตั ราสว่ นหนี้
สนิ ต่อส่วนของผู้ถือหนุ้ ณ ส้นิ ปี 2563 ซง่ึ อยูท่ ่ี 0.21 เท่า ท้ังนี้ บริษัทฯ และบริษัทย่อย ไม่มคี วามเสี่ยงจากการมีเงนิ ทุนไม่เพียงพอ เนอื่ งจาก
มีส่วนของทุนมากกว่าหน้ีสิน โดยหนี้สินส่วนใหญ่ท่ีมีอยู่ร้อยละ 87.07 เป็นหนี้สินหมุนเวียนซึ่งเกิดจากกิจกรรมดำ�เนินงานของบริษัทฯ ได้แก่
เจ้าหนีท้ รัสต์รซี ีทส์ เจา้ หนก้ี ารค้า และเจ้าหน้ีอน่ื เปน็ ตน้

28 แบบ 56-1 One Report

5. ปจั จยั อ่นื ท่ีอาจจะมีผลกระทบตอ่ ผลการด�ำ เนินงานในอนาคต
ธนาคารแห่งประเทศไทยคาดว่าเศรษฐกิจไทยในปี 2565 จะขยายตัวร้อยละ 3.4 จากการฟื้นตัวของการใช้จ่ายในประเทศและ
รายไดจ้ ากนักทอ่ งเที่ยวตา่ งชาติ และคาดวา่ อัตราเงนิ เฟอ้ ท่ัวไปในปี 2565 จะอยูท่ รี่ อ้ ยละ 1.7
การระบาดของโรคโควิด-19 สายพนั ธุโ์ อมิครอน เป็นความเส่ยี งสำ�คญั ต่อแนวโนม้ เศรษฐกจิ โดยรวมในระยะข้างหนา้ โดยผลกระทบ
ตอ่ เศรษฐกจิ อาจรุนแรงหรือยืดเยอ้ื กวา่ ท่คี าดไว้ ขึน้ อยกู่ บั ความรุนแรงของสถานการณร์ ะบาดและความเข้มงวดของมาตรการในการควบคุม
บริษัทฯ มคี วามเช่ือมนั่ ว่า เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตวั ได้อย่างต่อเนอื่ ง ประกอบกบั ภาครัฐได้ออกมาตรการทางการเงินการคลัง
มาอย่างต่อเนื่อง เพอื่ กระต้นุ ฟนื้ ฟแู ละยกระดับศักยภาพทางเศรษฐกจิ ของประเทศในระยะยาว บรษิ ทั ฯ จึงคาดวา่ ผลการดำ�เนนิ งานในปี 2565
บริษัทฯ จะมีรายได้เติบโตมากข้ึนกว่าในปีที่ผ่านมา เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เกี่ยวข้องกับสาธารณูปโภคพื้นฐาน ซึ่งลูกค้ารายใหญ่
ยงั คงเปน็ รฐั วสิ าหกจิ และหนว่ ยงานของรฐั โดยบรษิ ทั ฯ ไดม้ กี ารตดิ ตงั้ เครอื่ งจกั รใหมเ่ พอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการผลติ และการบรหิ ารจดั การตน้ ทนุ
การผลิต เพอื่ ควบคมุ และก�ำ หนดราคาขายให้สามารถแข่งขันได้ในตลาด
นอกจากนี้ ปจั จยั ทอ่ี าจจะมผี ลกระทบตอ่ ความสามารถในการท�ำ ก�ำ ไรของบรษิ ทั ฯ ยงั คงเปน็ นโยบายและมาตรการทางดา้ นเศรษฐกจิ
จากภาครัฐ ความความผันผวนของราคาวัตถุดิบหลักท่ีใช้ในการผลิตซึ่งยังคงมีแนวโน้มสูงข้ึน อัตราแลกเปล่ียนซึ่งมีผลต่อต้นทุนวัตถุดิบหลัก
การแขง่ ขันด้านราคาของผลิตภัณฑ์ การเพ่ิมขึ้นของราคาพลังงาน เปน็ ตน้
อตั ราสว่ นทางการเงนิ ท่ีสำ�คัญ
2564 2563 2562

อัตราส่วนสภาพคลอ่ ง
อัตราสว่ นสภาพคล่อง (เท่า) 2.14 6.29 6.02
อัตราส่วนสภาพคลอ่ งหมนุ เร็ว (เทา่ ) 1.22 3.43 3.59
อตั ราสว่ นสภาพคลอ่ งกระแสเงนิ สด (เทา่ ) (0.83) 0.87 0.48
อัตราสว่ นหมนุ เวยี นลกู หนกี้ ารค้า (เท่า) 4.36 3.44 3.53
ระยะเวลาเก็บหน้เี ฉลยี่ (วัน) 83 105 102
อตั ราส่วนหมนุ เวยี นสนิ คา้ คงเหลอื (เทา่ ) 9.46 5.91 8.79
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วัน) 38 61 41
อัตราสว่ นหมนุ เวยี นเจ้าหน้ี (เทา่ ) * 5.80 11.19 8.33
ระยะเวลาชำ�ระหน้ี (วนั ) 62 32 43
Cash Cycle (วนั ) 59 134 100
อัตราส่วนแสดงความสามารถในการหาก�ำ ไร (0.81) 14.61 6.52
อตั ราก�ำ ไร (ขาดทุน) ข้นั ตน้ (%) (0.08) 7.34 1.79
อตั รากำ�ไร (ขาดทนุ ) จากการด�ำ เนินงาน (%) 0.30 0.93 1.19
อตั รากำ�ไรอน่ื (%) (238.02) 162.11 446.85
อัตราสว่ นเงนิ สดต่อการทำ�กำ�ไร (ขาดทุน) (%) (6.57) 6.37 1.28
อัตราก�ำ ไร (ขาดทนุ ) สุทธิ (%) (9.57) 6.81 1.77
อตั ราผลตอบแทนผถู้ อื หนุ้ (%) (6.77) 5.56 1.36
อัตราสว่ นแสดงประสิทธภิ าพในการด�ำ เนนิ งาน (38.18) 35.88 18.12
อตั ราผลตอบแทนจากสนิ ทรพั ย์ (%) 1.07 0.87 1.06
อัตราผลตอบแทนจากสินทรพั ย์ถาวร (%) 0.64 0.21 0.24
อตั ราการหมนุ เวียนของสนิ ทรพั ย์ (เท่า) (73.89) 74.27 22.87
อตั ราวิเคราะหน์ โยบายทางการเงิน 1.04 0.87 0.57
อตั ราส่วนหน้สี ินตอ่ สว่ นของผู้ถอื หุ้น (เทา่ ) NA*** 62.87 71.10
อตั ราส่วนความสามารถชำ�ระดอกเบยี้ (เท่า)
อตั ราส่วนความสามารถชำ�ระภาระผูกพนั (Cash basis) (เทา่ )
อตั ราการจ่ายเงินปันผล (%)**

หมายเหต ุ * เจา้ หนกี้ ารค้าที่ใชค้ ำ�นวณอัตราส่วนหมนุ เวียนเจ้าหนี้ เป็นเจา้ หน้กี ารคา้ + เจ้าหนีท้ รัสตร์ ซี ที ส์ (เฉล่ยี )
** เปรยี บเทยี บกับก�ำ ไรสุทธิจากงบการเงนิ เฉพาะกิจการของบรษิ ทั ฯ ตามนโยบายการจ่ายเงนิ ปันผล
*** จา่ ยเงินปนั ผลจากกำ�ไรสะสมทีย่ ังไมไ่ ดจ้ ัดสรร

บรษิ ทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบลิ้ จำ�กดั (มหาชน) 29

5. ข้อมูลทัว่ ไปและข้อมลู ส�ำ คญั อน่ื
5.1 ขอ้ มลู ท่ัวไป
ขอ้ มลู บคุ คลอา้ งองิ
นายทะเบยี นหลกั ทรพั ย ์ : บรษิ ทั ศนู ยร์ บั ฝากหลกั ทรพั ย์ (ประเทศไทย) จ�ำ กดั (TSD)
เลขท่ี 93 ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงดนิ แดง เขตดนิ แดง กรงุ เทพฯ 10400
โทร. (02) 009-9000
โทรสาร (02) 009-9991
เวบ็ ไซต์ : www.set.or.th/tsd
ผสู้ อบบญั ช ี นายศภุ ชยั ปญั ญาวฒั โน ผสู้ อบบญั ชรี บั อนญุ าต ทะเบยี นเลขท่ี 3930 หรอื
นางสาวกรองแกว้ ลมิ ปก์ ติ ตกิ ลุ ผสู้ อบบญั ชรี บั อนญุ าต ทะเบยี นเลขท่ี 3930 หรอื
นายณฐั วฒุ ิ สนั ตเิ พช็ ร ผสู้ อบบญั ชรี บั อนญุ าต ทะเบยี นเลขท่ี 5730
บรษิ ทั ส�ำ นกั งาน อวี าย จ�ำ กดั
ชน้ั ท่ี 33 อาคารเลครชั ดา 193/136-137
ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย
กรงุ เทพฯ 10110
โทร. (02) 264-9090
โทรสาร (02) 264-0789-90
เวบ็ ไซต์ : www.ey.com
ทป่ี รกึ ษาทางกฎหมาย : - ไมม่ ี -
ทป่ี รกึ ษาทางการเงนิ : - ไมม่ ี -
5.2 ข้อมูลส�ำ คญั อื่น
ชอ่ งทางในการติดต่อบริษัทฯ
บรษิ ทั ได้เปดิ โอกาสให้ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี สามารถแสดงความคดิ เห็น เสนอแนะ แจ้งปัญหาหรือขอ้ รอ้ งเรียนต่างๆ ดังนี้
นางสาวกาญจนา เอนกวศินชยั : เลขานกุ ารบริษัทฯ
แผนกบริการองคก์ ร (Corporate Services Section)
โทร 02-745-6118 ถงึ 30 หรือท่ี
E-mail address : [email protected]
5.3 ขอ้ พพิ าททางกฎหมาย
- ไม่มี -

30 แบบ 56-1 One Report

การกำ�กับดูแลกจิ การ

6. นโยบายการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การ

6.1 ภาพรวมนโยบายและแนวปฎบิ ัตกิ ารก�ำ กับดูแลกิจการ
เน่ืองจากบรษิ ัทฯ เปน็ บริษัทจดทะเบยี นในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย ดังนัน้ ในช่วงเวลาท่ีผ่านมาบริษทั ฯ ได้ปฏบิ ตั ิตาม
ข้อพึงปฏิบัติที่ดีสำ�หรับกรรมการบริษัทจดทะเบียน ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยมาโดยตลอด เพ่ือสร้างความมั่นใจว่า
คณะกรรมการและผู้บริหารของบรษิ ทั ฯ มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ในการบริหารธรุ กจิ นอกจากน้ีผบู้ รหิ ารได้ปฏิบตั ติ ามนโยบาย
ท่กี �ำ หนดไวข้ องบรษิ ัทฯ อีกทั้งมกี ารติดตามตรวจสอบและควบคมุ ดแู ลการดำ�เนินงาน เพือ่ ให้เกดิ ผลประโยชน์สูงสดุ ตอ่ บริษทั ฯ และตอ่ ผูถ้ อื หุ้น
ของบรษิ ัทฯ รวมถึงสร้างความมั่นใจวา่ ระบบการควบคมุ ภายในของบรษิ ทั ฯ มปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอด้วย
หลักการกำ�กบั ดูแลกิจการท่ีดี 5 ขอ้
บรษิ ทั ฯ ได้ปฏบิ ตั ติ ามหลักการกำ�กบั ดแู ลกจิ การท่ีดตี ามเน้อื หา 5 หมวด ดงั นี้
1. สทิ ธิของผู้ถือหุ้น
บรษิ ัทฯ ตระหนกั และให้ความสำ�คัญต่อสทิ ธขิ องผ้ถู ือหนุ้ เสมอ โดยมแี นวปฏบิ ัติในดา้ นสิทธิของผถู้ ือหนุ้ ดงั น้ี
1.1 บริษัทฯ ไม่กระทำ�การใดๆ อนั เปน็ การริดรอนสิทธิของผถู้ อื หนุ้
1.2 บริษทั ฯ จัดประชมุ ผู้ถอื หุน้ ทส่ี �ำ นกั งานใหญข่ องบริษทั ฯ ซึ่งผู้ถอื หนุ้ สามารถเดินทางเขา้ รว่ มประชุมไดส้ ะดวก
1.3 ในการประชมุ ผ้ถู อื หนุ้ ประจำ�ปี 2564 บริษทั ฯ ไมไ่ ดม้ ีการเพมิ่ วาระอ่นื ๆ ทไี่ มไ่ ดร้ ะบไุ ว้ในหนงั สือเชญิ ประชุมผถู้ อื ห้นุ

ที่ได้จัดสง่ ใหแ้ กผ่ ูถ้ ือหุน้ แลว้
1.4 หนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นและเอกสารประกอบในแต่ละวาระ มีคำ�ช้ีแจงและข้อมูลสำ�หรับผู้ถือหุ้นศึกษาข้อมูลอย่าง

ครบถ้วน
1.5 ก่อนการประชมุ ผู้ถอื ห้นุ มกี ารช้แี จงวธิ กี ารออกเสียงลงคะแนนและการนับคะแนนเสยี ง เพอ่ื ให้ผถู้ ือห้นุ ทราบกฎเกณฑ์

ตา่ งๆ ที่ใชใ้ นการประชมุ และมีการใชบ้ ัตรลงคะแนนเสียง
1.6 บริษทั ฯ อ�ำ นวยความสะดวกและส่งเสริมให้ผถู้ อื หุ้นสามารถใช้สทิ ธิในการเขา้ รว่ มประชมุ และออกเสียงได้อย่างเต็มท่ี
1.7 ในการประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นสามารถแสดงความเห็นหรือต้ังคำ�ถามในเร่ืองการดำ�เนินกิจการ

งานของบรษิ ทั ฯ ได้อยา่ งอิสระ
1.8 เสนอให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณาอนุมัติค่าตอบแทนกรรมการทุกปี และพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินปันผล เม่ือบริษัทฯ
มกี �ำ ไร
1.9 บริษทั ฯ ได้เผยแพรร่ ายงานการประชมุ ผถู้ ือหนุ้ ใหผ้ ถู้ ือหุน้ ได้รับทราบผา่ นเว็บไซตข์ องตลาดหลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย
และบนเว็บไซตข์ องบรษิ ัทฯ ภายใน 14 วนั นบั จากวนั ประชมุ โดยระบผุ ลการลงคะแนนในแตล่ ะวาระด้วย
1.10 หากท่ีประชุมผู้ถือหุ้นได้พิจารณาเร่ืองราวต่างๆ ตามระเบียบวาระการประชุมเสร็จส้ินลงแล้ว มีผู้ถือหุ้นซึ่งมีหุ้นนับ
รวมกันได้ไมน่ ้อยกวา่ 1 ใน 3 ของจ�ำ นวนหุ้นทง้ั หมด มสี ทิ ธิทีจ่ ะขอใหท้ ปี่ ระชุมพจิ ารณาเร่อื งอน่ื ๆ นอกเหนือจาก
ที่กำ�หนดไวใ้ นหนังสือบอกกล่าวนัดประชมุ ได้
1.11 ณ วนั ท่ี 26 มนี าคม 2564 ซงึ่ เปน็ วนั กำ�หนดรายชอื่ ผถู้ อื หนุ้ (Record Date) ล่าสุด บริษทั ฯ มีหุน้ ท่ถี ือโดยผถู้ อื หนุ้
รายยอ่ ย (Free Float) อยรู่ อ้ ยละ 25.95
2. การปฏบิ ัตติ ่อผถู้ ือหนุ้ อย่างเท่าเทยี มกนั
บรษิ ัทฯ ใหค้ วามสำ�คญั ในการปฏิบัตทิ ่ีเท่าเทียมกนั ต่อผูถ้ อื หุ้นทกุ ราย โดยในปที ่ีผา่ นมา บริษทั ฯ ไดจ้ ัดใหม้ ีการประชุมสามญั
ผู้ถอื หนุ้ ประจำ�ปี เม่ือวันที่ 22 เมษายน 2564 ณ ท่สี ำ�นกั งานแหง่ ใหญข่ องบรษิ ัทฯ โดยมีกรรมการเขา้ ประชุม 7 คน จากจำ�นวนกรรมการ
ทัง้ หมด 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 58.33 ซ่งึ บรษิ ทั ฯ มแี นวปฏิบตั ติ ่อผ้ถู อื ห้นุ อยา่ งเทา่ เทยี มกัน ดงั น้ี
2.1 บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ท�ำ หนงั สอื นดั ประชมุ โดยระบรุ ะเบยี บวาระการประชมุ พรอ้ มทง้ั ความเหน็ ของคณะกรรมการและเอกสาร
ประกอบการพิจารณาในวาระต่างๆ อย่างเพียงพอที่จะให้ผู้ถือหุ้นพิจารณาและตัดสินใจออกเสียงลงคะแนนได้อย่าง
เหมาะสม
2.2 บรษิ ัทฯ ไดจ้ ดั สง่ หนงั สอื นดั ประชุมให้แกผ่ ้ถู ือหุ้นไม่น้อยกว่า 10 วัน ก่อนวันประชมุ
2.3 จัดทำ�หนังสือเชิญประชุมเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ลงประกาศหนังสือเชิญประชุมผู้ถือหุ้นในหนังสือพิมพ์รายวัน
พรอ้ มท้งั เผยแพรห่ นังสอื เชิญประชมุ บนเว็บไซต์ของบรษิ ทั ฯ ทั้งภาษาไทยและภาษาองั กฤษก่อนวันประชมุ

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ิล จ�ำ กัด (มหาชน) 31

2.4 เปิดโอกาสให้ผู้ถือหุ้นท่ีไม่สามารถเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง ใช้สิทธิออกเสียงโดยมอบฉันทะให้ผู้อ่ืนเข้าร่วมประชุม
และออกเสียงลงมติแทนได้ โดยใช้แบบหนงั สอื มอบฉนั ทะแบบ ข. ซง่ึ เป็นแบบทผี่ ้ถู ือห้นุ สามารถกำ�หนดทศิ ทางการลง
คะแนนเสียงได้เองในแตล่ ะวาระ โดยบริษทั ฯ ไดจ้ ัดสง่ ไปให้พรอ้ มหนงั สอื เชญิ ประชุมผถู้ อื ห้นุ

2.5 ผ้ถู ือห้นุ ทกุ รายมีสทิ ธอิ อกเสยี งตามจำ�นวนห้นุ ทถ่ี อื อยู่ โดยมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึง่ หนุ้ ตอ่ หนง่ึ เสียง
2.6 ในวาระการเลอื กตง้ั กรรมการ ผ้ถู ือหุ้นใช้สิทธิในการแตง่ ตั้งกรรมการเป็นรายบุคคลได้
2.7 ในการประชมุ สามัญผู้ถอื ห้นุ ประจ�ำ ปี 2564 บรษิ ทั ฯ ไดเ้ สนอชอื่ กรรมการอสิ ระจำ�นวน 3 คน เปน็ ทางเลือกในการ

มอบฉันทะของผู้ถือหนุ้ ไมม่ ผี ู้ถือห้นุ มอบอำ�นาจให้กรรมการอสิ ระเปน็ ผรู้ ับมอบอ�ำ นาจให้ออกเสียงแทน
2.8 บรษิ ัทฯ มีนโยบายในการซ้อื ขายหลักทรัพย์ และการใชข้ อ้ มลู ภายใน และไดแ้ จ้งให้กรรมการ ผบู้ รหิ าร และพนกั งาน

ตอ้ งปฏบิ ตั ิตามนโยบายดงั กล่าว ดงั นี้
1) เมอื่ มกี ารซือ้ ขาย โอน หรอื รบั โอนหลกั ทรัพย์ของบรษิ ทั ฯ กรรมการหรือผู้บรหิ ารต้องสง่ รายงานการเปลย่ี นแปลง

การถือหลักทรัพย์ ในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยให้ส่งผ่านระบบการรับส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามแนวทาง
ท่สี �ำ นักงาน กลต. กำ�หนดภายใน 3 วันท�ำ การ นบั ตัง้ แตว่ ันทมี่ กี ารซือ้ ขาย โอน หรือรับโอนหลกั ทรัพยข์ อง
บริษทั ฯ
2) หา้ มกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานผ้ทู ี่ลว่ งรู้ข้อมลู ภายใน น�ำ ขอ้ มลู ภายในไปแสวงหาประโยชน์ หรอื เปิดเผยแก่
บคุ คลอนื่ ไมว่ า่ โดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม และไมว่ า่ ดว้ ยวธิ ใี ด โดยรหู้ รอื ควรรวู้ า่ ผรู้ บั ขอ้ มลู อาจน�ำ ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์
ในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ ไม่ว่าเพือ่ ตนเองหรอื บคุ คลอ่ืน และไมว่ า่ จะได้รบั ผลตอบแทนหรอื ไมก่ ต็ าม
3) ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานผู้ท่ีล่วงรู้ข้อมูลภายใน ทำ�การซื้อหรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ในช่วง
ระยะเวลากอ่ นทจ่ี ะเผยแพรข่ อ้ มูลภายใน
4) บรษิ ทั ฯ จะเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู งบการเงนิ และขอ้ มลู สารสนเทศกอ่ นน�ำ สง่ ตอ่ ตลาดหลกั ทรพั ยฯ์ กรรมการ ผบู้ รหิ ารและ
พนกั งานท่ีเกยี่ วข้องจะตอ้ งรักษาความลับของบริษัทฯ อยา่ งเครง่ ครัด
ทงั้ น้ี บรษิ ัทฯ มีบทลงโทษกรณีฝ่าฝนื นโยบายในการซ้อื ขายหลักทรพั ย์ และการใชข้ ้อมลู ภายในของบรษิ ทั ฯ ดงั น้ี
1) กรรมการ ผบู้ รหิ าร : พรบ.หลักทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ฯ มาตรา 296 กำ�หนดว่า ผู้ใดที่ซอ้ื ขายหลักทรพั ย์
โดยใช้ข้อมูลภายใน (มาตรา 242) “ต้องระวางโทษจำ�คุกไม่เกินสองปี หรือปรับตั้งแต่ห้าแสนบาทถึง
สองลา้ นบาท หรอื ท้ังจ�ำ ทัง้ ปรบั ”
2) พนกั งานที่ลว่ งรขู้ อ้ มูลภายใน : หากฝา่ ฝนื นโยบายฉบบั นี้ อาจถูกพจิ ารณาลงโทษทางวินัย จนถึงข้ันใหอ้ อกจากงาน
รวมถึง อาจมคี วามรบั ผิดท้งั ทางอาญาและทางแพ่ง ตาม พรบ. หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพยฯ์
2.9 บริษัทฯ ท�ำ รายการที่เกยี่ วโยงกัน โดยปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ของตลาดหลกั ทรัพย์และสำ�นกั งาน ก.ล.ต.
3. การค�ำ นึงถึงบทบาทของผู้มสี ่วนไดเ้ สยี
บรษิ ทั ฯ ให้ความส�ำ คญั ตอ่ ผ้ทู ่เี ก่ยี วขอ้ งและผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทุกกลมุ่ ดังน้ี
3.1 บริษัทฯ ได้กำ�หนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคมและนโยบายต่อต้านการทุจริต โดยได้รับการอนุมัติจากที่ประชุม
คณะกรรมการ
3.2 ในกรณีท่ีบริษัทฯ มีกำ�ไร บริษัทฯ จะขอให้ท่ีประชุมผู้ถือหุ้นอนุมัติจ่ายค่าบำ�เหน็จตอบแทน หรือเงินรางวัลพิเศษ
ประจ�ำ ปแี กก่ รรมการและพนกั งาน
3.3 บริษทั ฯ ไดจ้ ัดท�ำ จรรยาบรรณของกรรมการและพนกั งาน เพ่อื เปน็ หลกั ในการปฏบิ ัติงานของกรรมการและพนกั งานตอ่
ผู้มสี ่วนไดเ้ สียทกุ กลมุ่ โดยมีรายละเอียด ดังน้ี
ลกู คา้ : บรษิ ทั ฯ ไดส้ รา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี ตี อ่ ลกู คา้ โดยยดึ หลกั ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ การรกั ษาจรยิ ธรรมและความเชอ่ื ถอื
ซึ่งกันและกัน กรรมการและผู้บริหารจะต้องเอาใจใส่และรับผิดชอบต่อลูกค้าเก่ียวกับผลิตภัณฑ์ การกำ�หนดมาตรฐานคุณภาพและดูแลรักษา
มาตรฐานน้นั
พนักงาน : บริษทั ฯ ได้ให้ความสำ�คญั กบั นโยบายความปลอดภัยในการทำ�งานของพนกั งาน โดยจดั สภาพแวดล้อม
ในการทำ�งานให้มีลักษณะปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอุบัติเหตุท่ีอาจจะเกิดขึ้นจากการทำ�งานให้แก่พนักงานทุกคน
รวมทั้งปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้ดีข้ึน เพ่ือให้การทำ�งานของพนักงานมีประสิทธิผล มีการจัดตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำ�งาน และมีการติดตามประเมินผลทุกเดือน ตลอดจนกำ�หนดวิธีการจ้างงานและเปิดโอกาสในการ
จ้างงานอยา่ งเสมอภาค เพื่อใหไ้ ด้พนักงานทมี่ คี ุณภาพ มีความร้แู ละความช�ำ นาญ ทจ่ี ำ�เปน็ ส�ำ หรับการดำ�เนนิ งานในธรุ กจิ

32 แบบ 56-1 One Report

บริษัทฯ มกี ารส่งเสรมิ การพฒั นาความร้คู วามสามารถของพนักงานอย่างสมำ่�เสมอ โดยจดั ให้มีการอบรมภายในบรษิ ัทฯ
และส่งพนกั งานไปอบรมสัมมนาภายนอกบริษทั ฯ ท้งั ในประเทศและต่างประเทศ
บริษัทฯ ได้จัดให้มีกล่องรับการแจ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียนจากพนักงาน ในกรณีพบเห็นการทำ�ผิดกฎหมายหรือ
กฎระเบยี บของบรษิ ทั ฯ
นอกจากน้ี บริษทั ฯ ไดม้ ีการจดั ต้งั กองทนุ สำ�รองเล้ียงชีพส�ำ หรบั พนกั งานต้งั แต่ปี 2536 เป็นตน้ มา เพื่อเปน็ หลกั ประกัน
ให้แก่พนกั งานเมื่อยามเกษียณอายหุ รือออกจากงาน โดยพนกั งานสามารถขอเกษียณอายุการทำ�งานกอ่ นได้ หากพนักงานมีอายุครบ 55 ปี และ
มอี ายกุ ารทำ�งานครบ 25 ปี ซ่งึ จะได้รับเงินชดเชยตามระเบียบของบรษิ ทั ฯ และตามทีก่ ฎหมายกำ�หนด
ค่คู า้ หรอื เจา้ หนี้ : จะต้องทำ�ใหม้ ั่นใจวา่ มีวิธกี ารปฏบิ ตั ิที่ดใี นการซ้อื สนิ ค้าจากค่คู ้า และเป็นไปตามเง่ือนไขทางการคา้
รวมถงึ เง่อื นไขการกู้ยมื เงนิ จากเจ้าหน้ีเก่ยี วกับวัตถุประสงคก์ ารใช้เงิน การช�ำ ระคนื หลกั ทรพั ยค์ ำ้�ประกันและข้อตกลงอืน่ ๆ นอกจากนี้ บริษทั ฯ
ได้ใหข้ ้อมูลทถี่ กู ต้องแก่ค่คู ้าหรือเจ้าหน้เี สมอ
ชุมชนและสังคม : จะต้องมีความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมในการใช้ทรัพยากรและรักษาสิ่งแวดล้อม บริษัทฯ
ตระหนกั ถงึ ความส�ำ คญั ตอ่ การรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม มกี ารบรหิ ารจดั การโดยใชเ้ ทคโนโลยแี ละขน้ั ตอนการผลติ ทม่ี มี าตรฐานดา้ นสง่ิ แวดลอ้ ม ตามขอ้ ก�ำ หนด
ของมาตรฐาน ISO14001 : 2015 โดยมีการจัดทำ�ระบบบำ�บัดของเสียต่างๆ อาทิเช่น บำ�บัดระบบน้ำ�เสีย ก่อนปล่อยสู่ธรรมชาติทุกครั้ง
ติดตั้งระบบบำ�บัดควันท่ีเกิดจากการเผาไหม้ จัดทำ�ระบบกรองฝุ่นละออง และได้จัดทำ�โรงคัดแยกขยะและกากอุตสาหกรรมแต่ละประเภท
เพอ่ื สง่ ตอ่ ไปบ�ำ บดั ตามหลกั วชิ าการกบั หนว่ ยงานทไี่ ดร้ บั การรบั รองมาตรฐานจากกรมโรงงานอตุ สาหกรรม อกี ทงั้ มกี ารน�ำ วสั ดใุ ชแ้ ลว้ มาใชป้ ระโยชน์
ใหม่อีก ซึ่งเปน็ การประหยดั พลงั งานและทรพั ยากรธรรมชาติ รวมถึงเพอื่ ประโยชนข์ องชุมชนท่ัวไป ทงั้ น้บี รษิ ทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามขอ้ กำ�หนดของ
กฎหมาย และกฎระเบยี บของหน่วยงานตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวข้องโดยเครง่ ครัดเสมอมา
บริษัทฯ ได้ปรับเปลี่ยนเชื้อเพลิงสำ�หรับใช้ในสายงานการผลิตเต็ม 100% ตั้งแต่ปี 2555 เป็นต้นมา จากเดิมที่ใช้
นำ้�มันเตา (Fuel Oils) ซึ่งต้องนำ�เข้าจากต่างประเทศและราคามีการปรับข้ึนอย่างต่อเน่ืองมาโดยตลอด โดยเปล่ียนเป็นใช้ก๊าซธรรมชาติ
(Natural Gas) จากบรษิ ทั ปตท. จำ�กดั (มหาชน) ซ่ึงถอื เป็นเช้อื เพลิงทส่ี ะอาด เป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม และช่วยลดปรมิ าณมลภาวะเปน็ พิษ
โดยทำ�ให้ไม่มีเขมา่ ควันด�ำ หรือละอองฝุน่ จากการเผาไหม้ ไม่เกดิ ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (Sulfur Dioxide-SO2) และกา๊ ซคารบ์ อนมอนอกซไ์ ซด์
(Carbon Monoxide-CO) ส่งผลใหค้ ่าใช้จา่ ยในการบ�ำ บดั ควนั ไฟทีเ่ กิดจากการเผาไหม้ลดลง นอกจากนี้ บรษิ ทั ฯ มกี ระบวนการบ�ำ รุงรกั ษา
เชิงป้องกัน (Preventive Maintenance-PM) อยา่ งสมำ่�เสมอจากผู้เชีย่ วชาญ รวมถึงมกี ารวัดคา่ ฝุ่นละอองบริเวณพนื้ ทท่ี �ำ งานและปลอ่ งควัน
เพอ่ื ป้องกนั มลภาวะเป็นพิษจากฝุ่นละอองและแกส๊ จากการเผาไหม้ ซึ่งไดต้ ิดต้ังอปุ กรณ์บ�ำ บัดควนั และฝนุ่ ละอองด้วย
ในสว่ นของการใชไ้ ฟฟา้ ซงึ่ ถอื เปน็ พลงั งานหลกั ในการผลติ บรษิ ทั ฯ ใหค้ วามส�ำ คญั โดยการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ “โครงการ
อนุรักษ์พลังงานในสถานประกอบการ” ตามพระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานของกระทรวงพลังงาน โดยแต่งตั้งคณะกรรมการ
อนุรักษ์พลังงาน เพื่อกำ�หนดนโยบายและแผนการทำ�งานอย่างต่อเน่ือง โดยได้จัดอบรมให้ความรู้ด้านการอนุรักษ์พลังงานแก่พนักงาน รวมท้ัง
ปรับปรงุ แก้ไข อปุ กรณ์ เครื่องจักรต่างๆ อาทเิ ช่น เปลยี่ นปม้ั ลมแบบลูกสบู เปน็ แบบสกรู เปล่ยี นเคร่อื งปรับอากาศทไ่ี ด้รบั ฉลากประหยดั ไฟ
เบอร์ 5 แทนของเดมิ ทเี่ สียไป เปลย่ี นหลอดไฟชนิดฟลูออเรสเซนตข์ นาด 36 วัตต์เปน็ หลอดแอลอดี ี (LED) ขนาด 10 วัตต์ ในส�ำ นักงานและ
อาคารโรงงาน ติดต้งั ตวั เก็บประจไุ ฟฟ้า (Capacitor Bank) เพอ่ื ปรบั ปรงุ คา่ Power Factor ในระบบไฟฟา้ ของโรงงานเพ่อื ลดการสูญเสีย
ในระบบ และลดคา่ ปรับที่ตอ้ งจ่ายใหก้ ารไฟฟา้ ฯ เปน็ ต้น รวมถึงการบำ�รุงรักษาเคร่อื งจักรตามแผนเพ่ือให้ลดการสญู เสยี และเพิ่มประสทิ ธิภาพ
ในกระบวนการผลิต อีกท้ังบริษทั ฯ ได้เขา้ รว่ มโครงการเปลย่ี นเครื่องจักรท่ีมีประสิทธภิ าพต�่ำ กบั กรมพฒั นาพลงั งานทดแทนและอนุรักษ์พลงั งาน
ซึง่ ได้รับเงนิ สนับสนนุ บางสว่ นจากกรมพฒั นาพลังงานทดแทนและอนรุ กั ษ์พลงั งานในการจัดหาเครอื่ งจักรใหม่
ผู้สอบบัญชี : บริษัทฯ ได้ใหค้ วามร่วมมอื เปน็ อยา่ งดีตอ่ ผูส้ อบบัญชี ในการให้ขอ้ มูลทางการเงินและข้อมูลท่เี ก่ยี วข้อง
ตามทีผ่ ูส้ อบบัญชีตอ้ งการ โดยผู้สอบบญั ชสี ามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ไดอ้ ย่างเปน็ อสิ ระ
ผู้ถือหุ้นและกลุ่มผู้มีส่วนได้เสียอ่ืนๆ : กรรมการจะต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นและกลุ่มผู้ให้การสนับสนุนทาง
การเงนิ ในเรอื่ งเกีย่ วกบั การเปิดเผยสารสนเทศ วธิ กี ารปฏบิ ตั ทิ างบญั ชี และการใช้สารสนเทศภายใน โดยกรรมการจะต้องตดั สินใจดำ�เนนิ การใดๆ
ด้วยความซื่อสตั ยส์ ุจริต เปน็ ธรรมต่อผู้ถอื หุน้ ทง้ั รายใหญ่และรายย่อย และเพอ่ื ผลประโยชนโ์ ดยรวม
4. การเปิดเผยข้อมลู และความโปรง่ ใส
บรษิ ัทฯ ให้ความสำ�คัญในการเปดิ เผยขอ้ มูลของบริษทั ฯ อยา่ งถูกต้องและครบถ้วน ดงั น้ี
4.1 ข้อมูลที่แสดงในรายงานทางการเงิน มีความถูกต้อง เชื่อถือได้ และเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีท่ีรับรองโดยท่ัวไป

ซง่ึ ผา่ นการตรวจสอบจากผสู้ อบบญั ชที มี่ คี วามเปน็ อสิ ระและมคี ณุ สมบตั ทิ ไ่ี ดร้ บั การยอมรบั เปน็ ผสู้ อบบญั ชที ไี่ ดร้ บั ความ
เห็นชอบจากสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำ�นักงาน ก.ล.ต.) โดยคณะกรรมการ
ตรวจสอบมหี นา้ ทใี่ นการสอบทานงบการเงินให้มีความถูกต้องครบถ้วน

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบล้ิ จำ�กดั (มหาชน) 33

ในปี 2564 ผูส้ อบบัญชไี ดแ้ สดงความเหน็ ต่องบการเงนิ ประจ�ำ ปี 2564 ของบรษิ ัทฯ ไวอ้ ย่างไมม่ เี งอ่ื นไข และบริษทั ฯ
ได้นำ�ส่งงบการเงินต่อสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (สำ�นักงาน ก.ล.ต.) และ
ตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยภายในระยะเวลาทก่ี �ำ หนด โดยไมม่ ปี ระวตั กิ ารถกู สง่ั ใหแ้ กไ้ ขงบการเงนิ จากส�ำ นกั งาน ก.ล.ต.

4.2 คณะกรรมการไดจ้ ดั ท�ำ รายงานความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการตอ่ รายงานทางการเงนิ ซงึ่ ไดร้ บั การรบั รองจากทปี่ ระชมุ
คณะกรรมการ
4.3 บรษิ ทั ฯ ไดเ้ ปดิ เผยขอบเขต หน้าท่ีและความรบั ผดิ ชอบของกรรมการ และกรรมการชุดยอ่ ย ดังน้ี
4.3.1 ขอบเขตหนา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของกรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน

และกรรมการบริหาร (อ้างอิงถึง หัวข้อท่ี 7 โครงสร้างการกำ�กับดูแลกิจการ และข้อมูลสำ�คัญเก่ียวกับ
คณะกรรมการ คณะกรรมการชดุ ยอ่ ย ผูบ้ ริหาร พนกั งาน และอืน่ ๆ หน้าที่ 39-41)
4.3.2 ก ารทำ�หนา้ ทีข่ องกรรมการในปี 2564 ที่ผ่านมา ไดแ้ ก่ จ�ำ นวนครั้งของการประชุมและจำ�นวนคร้ังทก่ี รรมการ
แต่ละท่านเข้าร่วมประชุม (อ้างอิงถึง หัวข้อที่ 8.1 สรุปผลการปฎิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการในรอบปีที่ผ่านมา
หน้าที่ 43)
4.3.3 เปดิ เผยคา่ ตอบแทนทีจ่ า่ ยแก่กรรมการ (อ้างองิ ถงึ หัวข้อท่ี 8.1.2 การเข้าร่วมประชมุ และการจ่ายค่าตอบแทน
คณะกรรมการรายบคุ คล หน้าที่ 46-47)
4.4 บริษัทฯ ได้เปิดเผยรายละเอียดการทำ�รายการระหว่างกันไว้อย่างครบถ้วน (อ้างอิงหัวข้อที่ 9 การควบคุมภายใน
และรายการระหวา่ งกนั หน้าที่ 53-54)
4.5 บริษัทฯ ไดเ้ ปิดเผยขอ้ มลู งบการเงิน แบบแสดงรายการข้อมลู ประจำ�ปี รายงานประจ�ำ ปี (แบบ 56-1 One Report)
และรายงานการประชมุ ผู้ถอื หุน้ โดยเผยแพรไ่ วท้ ีเ่ ว็บไซต์ของบรษิ ทั ฯ www.ctw.co.th
4.6 บรษิ ัทฯ ได้เปดิ เผยคา่ สอบบัญชีที่จ่ายใหแ้ กบ่ ริษัทสอบบญั ชี (อ้างอิงถึง ค่าตอบแทนของผ้สู อบบญั ชี หนา้ ท่ี 43)
4.7 ผถู้ ือหุ้นและนกั ลงทนุ สามารถติดตอ่ ขอทราบข้อมลู ของบริษัทฯ ได้ โดยผ่านแผนกบริการองค์กร (Corporate Services
Section) โทร 02-745-6118 ถึง 30 หรือท่ี e-mail address : [email protected]
5. ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
บรษิ ทั ฯ ใหค้ วามส�ำ คัญต่อบทบาทหนา้ ที่ และความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการในการกำ�กบั ดแู ลกิจการเพื่อประโยชนส์ ูงสดุ
ของบรษิ ทั ฯ โดยมีรายละเอียดดงั นี้
5.1 โครงสร้างของคณะกรรมการ
5.1.1 ตามข้อบังคับของบรษิ ทั ฯ กรรมการของบรษิ ัทฯ ให้มีจ�ำ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ 5 คน โดยให้ท่ีประชุมผ้ถู อื หุ้นเปน็
ผพู้ จิ ารณาเลอื กตัง้
5.1.2 ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 บริษัทฯ มีกรรมการจำ�นวน 12 คน ประกอบดว้ ย
กรรมการทเ่ี ปน็ ผู้บรหิ าร 3 คน
กรรมการที่ไม่เปน็ ผบู้ รหิ าร 9 คน (เปน็ กรรมการอิสระ 4 คน)
5.1.3 ในการประชมุ สามัญผถู้ อื หุน้ ประจำ�ปี ให้กรรมการออกจากตำ�แหนง่ จ�ำ นวน 1 ใน 3 กรรมการจึงมวี าระในการ
ดำ�รงตำ�แหน่งทแี่ น่นอนคราวละ 3 ปี
5.1.4 ประธานกรรมการและกรรมการผู้อำ�นวยการมีหน้าท่ีความรับผิดชอบต่างกัน และเพื่อเป็นการแบ่งแยกหน้าท่ี
ในการกำ�หนดนโยบายการกำ�กับดูแลและการบริหารงานประจำ� ประธานกรรมการจึงไม่ได้เป็นบุคคลเดียวกับ
กรรมการผูอ้ ำ�นวยการ
5.1.5 บรษิ ทั ฯ มเี ลขานกุ ารบรษิ ทั ท�ำ หนา้ ทใี่ หค้ �ำ แนะน�ำ ดา้ นกฎหมายและกฎเกณฑต์ า่ งๆ ทค่ี ณะกรรมการจะตอ้ งทราบ
5.2 คณะกรรมการชดุ ย่อย
5.2.1 คณะกรรมการของบรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ใหม้ คี ณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน
เพ่อื ชว่ ยศกึ ษาและกล่นั กรองงาน
5.2.2 การเขา้ ร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบและกรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน (อา้ งองิ หัวข้อท่ี 8.2
รายงานผลการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่คี ณะกรรมการตรวจสอบในรอบปที ีผ่ ่านมา หนา้ ท่ี 51 และหัวขอ้ ที่ 8.3 สรปุ ผลการ
ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ของคณะกรรมการชดุ อื่นๆ หนา้ ที่ 51)

34 แบบ 56-1 One Report

5.2.3 ประธานกรรมการไม่ได้เป็นประธานในคณะกรรมการชุดย่อย เพื่อให้การทำ�หน้าท่ีของคณะกรรมการชุดย่อย
มีความเปน็ อสิ ระ

5.2.4 ประธานคณะกรรมการชุดย่อยทกุ คณะของบรษิ ทั ฯ เปน็ กรรมการอสิ ระ
5.3 บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ
5.3.1 คณะกรรมการได้ร่วมกันก�ำ หนดนโยบาย และให้ความเห็นชอบเกย่ี วกับการดำ�เนนิ งานทส่ี �ำ คัญของบรษิ ทั ฯ ดูแล

ให้บริษัทฯ มีการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ อย่างถูกต้องตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง โดยในปี 2564 บริษัทฯ
ไม่มีประวัติการกระทำ�ผิดกฎระเบียบหรือระเบียบท่ีเก่ียวข้องของสำ�นักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์
แหง่ ประเทศไทย แต่อยา่ งใด
5.3.2 บริษัทฯ ได้จัดท�ำ ข้อพงึ ปฏบิ ตั ทิ างจรรยาบรรณสำ�หรบั กรรมการและพนักงาน เพอื่ ใหก้ รรมการ ผูบ้ ริหาร และ
พนกั งานของบรษิ ัทฯ ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่
5.3.3 การเข้าร่วมประชุมของกรรมการแต่ละทา่ น (อ้างองิ หัวข้อการเขา้ ร่วมประชุมของคณะกรรมการ หนา้ ท่ี 45-46)
5.4 การประชุมคณะกรรมการ
5.4.1 คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ ได้จัดให้มีการประชมุ โดยปกติอย่างนอ้ ย 3 เดอื นต่อครัง้ และจะมกี ารประชมุ เพ่มิ เติม
ตามความจ�ำ เปน็ และเหมาะสม โดยมีการก�ำ หนดวาระชัดเจนลว่ งหน้า
5.4.2 เลขานุการบริษัท ได้จัดหนังสือเชิญประชุมพร้อมระเบียบวาระการประชุม และเอกสารจัดส่งให้กรรมการ
ก่อนการประชุมล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เพ่ือให้กรรมการได้ศึกษาข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนเข้าร่วมประชุม
คณะกรรมการ
5.4.3 ในการประชมุ คณะกรรมการแตล่ ะครง้ั จะตอ้ งมกี รรมการมาประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ กง่ึ หนงึ่ ของจ�ำ นวนกรรมการทง้ั หมด
จึงจะครบเปน็ องคป์ ระชุม
5.4.4 ในปี 2564 ทผ่ี า่ นมา คณะกรรมการมกี ารประชมุ จ�ำ นวน 5 ครงั้ การประชมุ แตล่ ะครง้ั ใชเ้ วลาโดยเฉลยี่ ประมาณ
1 ชว่ั โมง 6 นาที โดยไดม้ ีการจดบันทกึ การประชมุ ไว้เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร และจัดเก็บรายงานการประชุม
ท่ผี า่ นการรบั รองจากคณะกรรมการ พรอ้ มใชใ้ นการอ้างอิงและให้ผู้ท่เี ก่ียวข้องสามารถตรวจสอบได้
5.4.5 ประธานกรรมการ และกรรมการผอู้ �ำ นวยการจะเปน็ ผรู้ ว่ มกนั พจิ ารณาการเลอื กเรอ่ื งเขา้ วาระการประชมุ คณะกรรมการ
โดยกรรมการมคี วามเปน็ อิสระท่จี ะเสนอเรื่องเขา้ สวู่ าระการประชมุ คณะกรรมการ
นโยบายการต่อตา้ นการทจุ รติ (Anti-corruption Policy)
บรษิ ทั ฯ มีความมงุ่ ม่ันในการประกอบธรุ กจิ ด้วยความโปร่งใส ภายใต้แนวทางการก�ำ กับดแู ลกจิ การทีด่ ี สนับสนุนใหผ้ บู้ ริหารและ
พนักงานปฏบิ ตั ิหน้าทีด่ ว้ ยความซือ่ สัตย์สจุ ริต ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับทเี่ กย่ี วข้องอยา่ งเครง่ ครดั บริษทั ฯ จึงกำ�หนดนโยบาย
การตอ่ ต้านการทุจริต เพอื่ เปน็ แนวทางใหผ้ บู้ ริหารและพนกั งานถือปฏบิ ตั ิ ดังน้ี
1. ผู้บริหารและพนักงานต้องไม่ให้หรือเรียกรับสินบนและผลประโยชน์อ่ืนใดซ่ึงไม่เหมาะสม เพื่อจูงใจให้ปฏิบัติหรือละเว้น
การปฏบิ ัติหนา้ ทใี่ นทางมิชอบ หรอื อาจท�ำ ให้บริษัทฯ เสยี ประโยชน์อนั ชอบธรรม
2. ผู้บริหารและพนักงานจะต้องไม่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว ท่ีขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือ
ทางอ้อม จะตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ทีแ่ ละตดั สินใจในการดำ�เนินธุรกิจโดยค�ำ นึงถึงประโยชนส์ งู สุดของบริษัทฯ เป็นสำ�คัญ
3. ผูบ้ ริหารและพนักงานมหี น้าท่ดี แู ลและป้องกันไมใ่ หเ้ กดิ การทจุ ริต หากพบการทุจริตหรอื พบเหตุทส่ี ่อไปในทางทุจรติ ให้แจ้ง
ตอ่ กรรมการอิสระหรือผบู้ งั คับบัญชาให้ทราบโดยเรว็ และใหค้ วามรว่ มมือในการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ตา่ งๆ
4. การบริจาคเงินเพื่อการกุศลและการให้เงินสนับสนุนในกิจกรรมหรือโครงการใดๆ ต้องเป็นไปอย่างโปร่งใส และถูกต้อง
ตามกฎหมาย
แนวทางปฏิบัติ
1) จดั ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ภายในทเ่ี หมาะสมในการด�ำ เนนิ ธรุ กจิ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ หพ้ นกั งานมกี ารปฏบิ ตั หิ นา้ ทอ่ี ยา่ งไมเ่ หมาะสม
โดยเฉพาะงานดา้ นการขาย การตลาด และการจดั ซื้อ
2) จดั ใหม้ ชี อ่ งทางรับขอ้ ร้องเรยี นหรอื แจง้ เบาะแสเมื่อพบพฤตกิ รรมที่ไมเ่ หมาะสม
3) ผู้บริหารและพนักงานต้องหลีกเล่ียงการขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ของบริษัทฯ ในทางจูงใจให้
ปฏบิ ัตงิ านหรอื ละเวน้ การปฏิบัตหิ น้าที่ในทางมิชอบ หรอื อาจท�ำ ใหบ้ ริษัทฯ เสียประโยชนอ์ นั ชอบธรรม

บริษัท จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบลิ้ จำ�กัด (มหาชน) 35

6.2 จรรยาบรรณธรุ กิจ
บรษิ ทั ฯ ได้จดั ให้มจี รรยาบรรณสำ�หรับกรรมการ (Code of Conduct for Directors) เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานทดี่ ใี น
การท�ำ หน้าทีก่ รรมการของบรษิ ทั ฯ และจรรยาบรรณส�ำ หรับพนักงาน (Code of Conduct for Employees) เพือ่ เป็นหลกั การและคณุ ธรรม
ประจ�ำ ใจในการปฏบิ ตั งิ านใหแ้ กบ่ รษิ ทั ฯ ซง่ึ จรรยาบรรณดงั กลา่ ว ไดผ้ า่ นการรบั รองจากทป่ี ระชมุ คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ และไดถ้ กู จดั สง่ ใหก้ รรมการ
และพนักงานทุกคน พร้อมทงั้ เซ็นรบั ทราบ
จรรยาบรรณกรรมการ
ข้อพึงปฏิบัตสิ �ำ หรบั กรรมการของบริษัทฯ เพ่ือเปน็ แนวทางปฏบิ ัติท่ีดีในการทำ�หนา้ ทกี่ รรมการของบรษิ ทั ฯ มดี งั น้ี
1. การปฏิบตั ติ ามกฎหมายและข้อบงั คบั ของบริษัทฯ
กรรมการจะตอ้ งปฏิบัติหน้าทใี่ ห้เปน็ ไปตามกฎหมาย วัตถุประสงคแ์ ละขอ้ บังคบั ของบริษทั ฯ ตลอดจนมติที่ประชุม ผถู้ ือหนุ้
ดว้ ยความซือ่ สตั ย์ สจุ รติ และระมัดระวงั รกั ษาผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ
2. การรักษาความลับ
กรรมการจะตอ้ งไมน่ �ำ ขอ้ มลู อนั เปน็ ความลบั ไปใชเ้ พอื่ ประโยชนส์ ว่ นตวั ของบคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ กรรมการจะตอ้ งเกบ็ รกั ษาขอ้ มลู
อนั เปน็ ความลบั ในการประกอบธุรกจิ ปกติของบริษทั ฯ โดยกรรมการมภี าระหนา้ ทผ่ี กู พันในการปกป้องข้อมลู ทเี่ ปน็ ความลบั ของบริษทั ฯ ตลอดไป
แม้ว่าบคุ คลนัน้ ไดล้ าออกหรอื พน้ สภาพจากการเปน็ กรรมการของบริษทั ฯ แล้ว
3. ความครบถ้วนและความถูกตอ้ งของขอ้ มูลของบริษทั ฯ
ขอ้ มูลการประกอบธรุ กจิ ของบริษทั ฯ จะตอ้ งได้รบั การจดั ท�ำ จากรายงานทถ่ี กู ต้องและเชื่อถอื ได้ เพอ่ื เสนอตอ่ ผู้บรหิ าร ผถู้ ือหุ้น
ลูกคา้ องคก์ รของรฐั และหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ งอ่นื ๆ ดงั นัน้ ข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ ต้องมีความถูกต้อง ตรงตามความเปน็ จรงิ
และครบถว้ น
4. การใช้ข้อมลู ภายในเพอ่ื ซ้อื ขายหลกั ทรัพย์
กรรมการที่ได้รับทราบข้อมูลภายในท่ีเป็นสาระสำ�คัญ และมีผลกระทบต่อราคาซ้ือขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ จะต้องระงับ
การซื้อหรอื ขายหลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ทั ฯ ไมว่ า่ โดยทางตรงหรือทางออ้ ม กอ่ นทขี่ อ้ มลู นน้ั จะไดม้ ีการเปดิ เผยต่อตลาดหลกั ทรพั ยแ์ หง่ ประเทศไทยหรือ
ไดเ้ ปิดเผยตอ่ สาธารณชนแลว้ เพอื่ ใหก้ ารซ้อื ขายหลกั ทรัพยม์ ีความโปรง่ ใสและเป็นธรรมต่อนักลงทุน
5. ความขดั แย้งทางผลประโยชน์
กรรมการจะต้องไม่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว ท่ีขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม
กรรมการจะต้องปฏบิ ตั หิ น้าที่และตัดสนิ ใจในการด�ำ เนนิ ธรุ กิจโดยค�ำ นงึ ถึงประโยชนส์ งู สดุ ของบรษิ ทั ฯ เปน็ ท่ีตั้ง
6. สมั พนั ธภาพกบั ผ้ถู อื หุ้น และกลุ่มผู้มสี ่วนได้เสยี อนื่ ๆ
กรรมการจะต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้นและกลุ่มผู้ให้การสนับสนุนทางการเงิน ในเร่ืองเก่ียวกับการเปิดเผยสารสนเทศ
วิธกี ารปฏิบตั ทิ างบัญชี และการใช้สารสนเทศภายใน โดยกรรมการจะตอ้ งตัดสินใจด�ำ เนินการใดๆ ดว้ ยความซ่ือสัตยส์ จุ ริต และเปน็ ธรรมตอ่
ผ้ถู อื หนุ้ ทั้งรายใหญแ่ ละรายย่อย และเพ่ือผลประโยชน์โดยรวม
7. สมั พันธภาพกบั ลกู ค้า
กรรมการจะต้องสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีต่อลูกค้า โดยยึดหลักความซื่อสัตย์สุจริต การรักษาจริยธรรมและความเช่ือถือซ่ึงกัน
และกนั กรรมการและผบู้ รหิ ารจะตอ้ งเอาใจใสแ่ ละรบั ผดิ ชอบตอ่ ลกู คา้ เกย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ การก�ำ หนดมาตรฐานคณุ ภาพและดแู ลรกั ษามาตรฐานนน้ั
8. สมั พันธภาพกับค่คู ้าหรือเจา้ หนี้
กรรมการจะต้องทำ�ใหม้ นั่ ใจวา่ มวี ิธกี ารปฏบิ ัตทิ ่ดี ีในการซือ้ สินค้าจากคู่คา้ และเป็นไปตามเงือ่ นไขทางการค้า รวมถึงเงือ่ นไข
การกู้ยมื เงนิ จากเจ้าหนเ้ี กยี่ วกบั วตั ถปุ ระสงค์การใช้เงิน การชำ�ระคืน หลกั ทรพั ยค์ ำ้�ประกันและขอ้ ตกลงอืน่ ๆ
9. สัมพนั ธภาพกับพนกั งาน
กรรมการจะต้องทำ�ใหม้ น่ั ใจได้ว่าบรษิ ทั ฯ จัดสภาพแวดลอ้ มในการทำ�งานใหม้ ลี กั ษณะปลอดภยั ถกู สุขลกั ษณะ เพือ่ ให้การ
ท�ำ งานมปี ระสิทธผิ ล ตลอดจนกำ�หนดวธิ ีการจา้ งงานและเปดิ โอกาสในการจา้ งงานอย่างเสมอภาค เพื่อใหไ้ ดพ้ นกั งานท่ีมคี ณุ ภาพ มคี วามรู้และ
ความช�ำ นาญที่จำ�เปน็ ส�ำ หรับการดำ�เนนิ งานในธรุ กจิ
10. สมั พันธภาพกับสภาพแวดลอ้ ม ชุมชนและสงั คม
กรรมการจะต้องมีความรบั ผดิ ชอบต่อสภาพแวดลอ้ ม ชุมชน และสงั คม ในการใชท้ รัพยากรและรกั ษาส่งิ แวดล้อม

36 แบบ 56-1 One Report

จรรยาบรรณพนกั งาน
ขอ้ พึงปฏิบตั สิ �ำ หรบั พนักงานของบรษิ ทั ฯ เพื่อเป็นหลกั การและคณุ ธรรมประจำ�ใจในการปฏบิ ัตงิ านให้แกบ่ รษิ ัทฯ มีดังน้ี
1. การปฏิบัตติ ามกฎหมายและกฎระเบยี บของบริษทั ฯ
พนกั งานทกุ คน ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบยี บของบรษิ ทั ฯ พนกั งานทกุ คนตอ้ งยดึ มน่ั ในการตดั สนิ ใจและการด�ำ เนนิ งาน
ทางธรุ กจิ ภายใต้กรอบของกฎหมาย ขอ้ ก�ำ หนด และระเบียบทเี่ ก่ยี วข้องอย่างเครง่ ครัด รวมทงั้ ประพฤติปฏิบัตติ นอยู่ในกรอบคณุ ธรรมท่ดี ีงาม
2. การรกั ษาความลับ
พนกั งานทกุ คนจะตอ้ งไมน่ �ำ ขอ้ มลู อนั เปน็ ความลบั ไปใชเ้ พอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตวั ของบคุ คลใดบคุ คลหนง่ึ พนกั งาน ทกุ คนมหี นา้ ท่ี
ในการเกบ็ รกั ษาข้อมลู อันเป็นความลบั ในการประกอบธุรกจิ ปกติของบรษิ ัทฯ โดยพนักงานมีภาระหน้าที่ผกู พันในการปกป้องข้อมลู ท่เี ปน็ ความลับ
ของบริษัทฯ ตลอดไป แม้วา่ บุคคลนน้ั ได้ลาออกหรือพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานของบรษิ ทั ฯ แลว้ บรษิ ัทฯ ถือว่าข้อมูลหรือเอกสารใดๆ ท่ี
พนักงานได้จัดทำ�ข้ึนในระหว่างทปี่ ฏบิ ัตหิ น้าทเี่ ปน็ พนักงานของบรษิ ัทฯ จะยงั คงเป็นทรัพยส์ ินของบริษัทฯ พนักงานจะตอ้ งไมเ่ ปดิ เผยข้อมลู หรือ
เอกสารดังกลา่ ว ภายหลังการพ้นสภาพการเปน็ พนกั งานของบริษทั ฯ ด้วย
3. ความครบถ้วนและความถกู ต้องของขอ้ มลู ของบริษัทฯ
ขอ้ มูลการประกอบธรุ กิจของบรษิ ัทฯ จะต้องได้รับการจัดท�ำ จากรายงานท่ีถกู ตอ้ งและเชือ่ ถือได้ เพ่ือเสนอตอ่ ผูบ้ รหิ าร ผู้ถอื หุ้น
ลกู คา้ องค์กรของรฐั และหนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ งอื่นๆ ดังนัน้ ข้อมลู ท่เี กี่ยวข้องกับธรุ กิจของบริษัทฯ ตอ้ งมีความถกู ต้อง ตรงตามความเป็นจรงิ
และครบถว้ น โดยพนักงานทุกคนมีภาระหน้าที่ความรบั ผดิ ชอบในการจัดเกบ็ ข้อมูลดว้ ยความซอื่ สัตยส์ จุ รติ ถูกต้อง ครบถว้ น ตรงตามความ
เป็นจรงิ และตรงตามวตั ถุประสงคข์ องบริษัทฯ
4. การใชข้ ้อมูลภายในเพ่อื ซอ้ื ขายหลักทรัพย์
ห้ามพนักงานท่ีรับทราบข้อมูลภายในอันมีสาระสำ�คัญ และมีผลกระทบต่อราคาซ้ือขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ทำ�การซื้อ
หรือขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ ก่อนท่ีข้อมูลน้ันจะได้มีการเปิดเผยต่อตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยหรือได้เปิดเผยต่อสาธารณชนแล้ว
เพือ่ ให้การซอ้ื ขายหลักทรพั ยม์ คี วามโปรง่ ใสและเปน็ ธรรมต่อนกั ลงทุน
5. ความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์
พนักงานทกุ คนจะตอ้ งไม่แสวงหาผลประโยชนส์ ่วนตวั ที่ขัดแย้งกบั ผลประโยชนข์ องบรษิ ัทฯ พนกั งานทุกคนต้องตดั สนิ ใจใน
การดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุดของบริษัทฯ เท่าน้ัน และต้องไม่ยอมให้เหตุผลส่วนตัวหรือบุคคลในครอบครัวของตนเองมีอิทธิพล
ตอ่ การตัดสินใจท่ีทำ�ให้เบี่ยงเบนไปจากหลกั การดงั กล่าว
บริษทั ฯ กำ�หนดหลกั ปฏบิ ัติสำ�หรบั เร่อื งความขดั แย้งทางผลประโยชน์ ดังนี้
- พนกั งานทกุ คนตอ้ งหลกี เลยี่ งสถานการณ์ ทอ่ี าจจะท�ำ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ
- ในกรณที พี่ นกั งาน บคุ คลทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พนกั งาน หรอื บคุ คลในครอบครวั ของพนกั งานมผี ลประโยชนท์ งั้ ทางตรงหรอื ทางออ้ ม

ทข่ี ดั แยง้ หรอื อาจขดั แยง้ กบั ผลประโยชนข์ องบรษิ ทั ฯ พนกั งานจะตอ้ งแจง้ บรษิ ทั ฯ เพอ่ื ใหร้ บั ทราบลว่ งหนา้ โดยสง่ รายละเอยี ด
ตามแบบฟอรม์ ท่บี ริษทั ฯ ก�ำ หนดต่อรองกรรมการผ้อู ำ�นวยการ (การเงนิ )
- ในกรณีท่ีพนักงานมีส่วนร่วมในการดำ�เนินกิจกรรมภายนอกบริษัทฯ หรือดำ�รงตำ�แหน่งภายนอกบริษัทฯ กิจกรรมหรือ
การด�ำ รงต�ำ แหนง่ นน้ั ๆ จะตอ้ งไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ ทางผลประโยชนก์ บั บรษิ ทั ฯ ไมว่ า่ จะโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม และ
จะต้องไมท่ �ำ ให้เกิดความเสยี หายต่อบรษิ ทั ฯ รวมถงึ จะต้องไมก่ ระทบตอ่ การปฏบิ ัติหน้าทขี่ องบุคคลนน้ั ๆ ในบริษทั ฯ ด้วย
6. การดแู ลและจดั การสนิ ทรัพย์ของบรษิ ทั ฯ
พนกั งานทุกคนมีหน้าทใี่ นการดแู ลรับผิดชอบต่อสนิ ทรัพย์ของบรษิ ทั ฯ มิใหส้ ญู หาย เสยี หาย ถกู ลักขโมย และถูกนำ�ไปใชใ้ น
ทางท่ีผิด นอกจากน้ีจะต้องร่วมกันปรับปรุงพัฒนาระบบการปฏิบัติงานเพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดและเพื่อให้บริษัทฯ ประสบความสำ�เร็จ
ตามเปา้ หมายท่ไี ด้วางไว้
7. สมั พนั ธภาพกับลูกค้า
พนักงานทกุ คนตอ้ งสรา้ งความสัมพันธท์ ดี่ ตี อ่ ลูกค้า โดยยดึ หลักความซ่ือสัตยส์ ุจรติ การรักษาจริยธรรมและความเชอื่ ถอื ซ่งึ กนั
และกนั พนกั งานทกุ คนตอ้ งสนองความตอ้ งการและความคาดหวงั ของลกู คา้ อยา่ งดที ส่ี ดุ โดยในการน�ำ เสนอขอ้ มลู จะตอ้ งชดั เจนถกู ตอ้ งตามความ
เปน็ จริงและโปรง่ ใสยุตธิ รรม

บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบ้ิล จ�ำ กัด (มหาชน) 37

8. สัมพันธภาพกับสภาพแวดล้อม ชุมชนและสงั คม
พนกั งานทุกคนตอ้ งประพฤติและปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองท่ีดี และมไี มตรีจิตที่ดีต่อชุมชน พนกั งานทุกคนตอ้ งมีความรบั ผิดชอบ
ตอ่ สภาพแวดล้อม ชมุ ชน และสังคมในการใชท้ รัพยากรและรกั ษาสิง่ แวดล้อม
9. สมั พันธภาพกบั พนกั งาน
บริษัทฯ ได้พยายามจัดสภาพแวดล้อมในการทำ�งานให้มีลักษณะปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ เพื่อให้การทำ�งานมีประสิทธิผล
พนกั งานทกุ คนจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ นตอ่ เพอ่ื นรว่ มงานดว้ ยความเคารพในสทิ ธสิ ว่ นบคุ คล และจะตอ้ งมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ เพอื่ นพนกั งานและตอ่ บรษิ ทั ฯ
6.3 การเปลย่ี นแปลงและพฒั นาการท่ีสำ�คญั ของนโยบาย แนวปฏบิ ัติ และระบบการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การในรอบปที ผ่ี ่านมา
คณะกรรมการบริษทั ฯ ตระหนกั และใหค้ วามส�ำ คญั กบั การก�ำ กบั ดูแลกิจการทด่ี ี ดังนน้ั คณะกรรมการบรษิ ัทฯ จงึ ไดก้ �ำ หนดนโยบาย
ให้ปฏบิ ัติตามหลกั ปฏิบัติซ่ึงสอดคลอ้ งกับหลักการก�ำ กบั กจิ การทีด่ ีส�ำ หรับบริษัทจดทะเบยี นปี 2560 (Corporate Governance Code : CG
Code) ของคณะกรรมการก�ำ กับหลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลักทรพั ย์ โดยบรษิ ัทฯ จัดทำ�นโยบายการกำ�กับดูแลกจิ การ แนวปฏบิ ัตดิ ้านการก�ำ กับดูแล
กิจการท่ีมีเน้ือหาครอบคลุม 5 หมวดหลัก เพ่ือแสดงให้เห็นว่าบริษัทฯ มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ การเปิดเผยข้อมูล
มีความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ซ่ึงช่วยสร้างความเชื่อม่ันให้แก่ผู้ถือหุ้น นักลงทุน ผู้มีส่วนได้เสีย และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกฝ่าย ประกอบกับ
คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ เชื่อว่าการกำ�กบั ดแู ลกจิ การทีด่ จี ะช่วยเพิ่มมลู ค่าแก่ผ้ถู ือหุ้นในระยะยาว และสร้างคณุ คา่ ใหแ้ กก่ ิจการอยา่ งยัง่ ยนื
คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ ไดม้ กี ารทบทวนและน�ำ CG Code มาปรบั ใช้ ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ททางธรุ กจิ ของบรษิ ทั ฯ เปน็ ประจ�ำ ทกุ ปี
อาทิ ในปีทผ่ี า่ นมาได้มกี ารรวบรวมและปรบั ปรงุ คู่มอื การก�ำ กับดแู ลกิจการและจรรยาบรรณธุรกิจ เป็นตน้ และหากพบวา่ CG Code ขอ้ ใดยัง
ไม่เหมาะสมกบั บริบทของบรษิ ทั ฯ บริษัทฯ จะหามาตรการทดแทน โดยจะแจ้งให้ผู้ถอื หุ้นและผู้มีส่วนได้เสียไดร้ ับทราบ
ทั้งน้ีการปฏิบัติตามหลักการกำ�กับกิจการที่ดีสะท้อนในจรรยาบรรณทางธุรกิจ รวมทั้งกฎบัตรคณะกรรมการบริษัทฯ และ
คณะกรรมการชุดย่อยท่ีได้รับมอบหมายในเร่ืองต่างๆ ของบริษัทฯ เพ่ือให้ม่ันใจว่าการปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการ บริษัทฯ ครบถ้วน
รายละเอียดการปฏิบัติของคณะกรรมการบริษัทฯ ผู้บริหาร และพนักงาน รวมถึงบริษัทย่อยที่ได้ปฏิบัติตามนโยบายการกำ�กับดูแลกิจการ
รวมถึงนโยบายท่เี ก่ียวขอ้ ง

7. โครงสร้างการกำ�กับดูแลกิจการ และข้อมูลสำ�คัญเก่ียวกับคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดย่อย
ผู้บรหิ าร พนักงานและอน่ื ๆ

7.1 โครงสร้างการก�ำ กบั ดูแลกิจการ
โครงสร้างการบริหารจดั การของบรษิ ัท ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564

คณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการบรหิ าร

กรรมการผูอ้ �ำนวยการ

รองกรรมการผอู้ �ำนวยการ
(ส�ำนักกรรมการผู้อ�ำนวยการ)

แผนกตรวจสอบภายใน

รองกรรมการผอู้ �ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ รองกรรมการผู้อ�ำนวยการ
(การผลิตและวศิ วกรรม) (การเงนิ ) (การขายและการตลาด) (การประกันคณุ ภาพ)
ผ้ชู ่วยกรรมการ
ผูช้ ่วยกรรมการ ผู้ช่วยกรรมการ ผ้ชู ่วยกรรมการ ผชู้ ว่ ยกรรมการ ผู้อ�ำนวยการ
ผ้อู �ำนวยการ ผู้อ�ำนวยการ ผอู้ �ำนวยการ ผอู้ �ำนวยการ (การประกันคณุ ภาพ)
(การผลิตและวิศวกรรม) (บคุ คลและธุรการ) (การบัญช)ี (การวางแผน)

38 แบบ 56-1 One Report

7.2 ข้อมลู เก่ยี วกับคณะกรรมการ
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 บริษทั ฯ มีกรรมการทั้งหมด 12 คน ประกอบด้วย
ช่ือ ต�ำ แหนง่
1. นายชยั โสภณพนิช ประธานกรรมการ
2. นายเปรมชัย กรรณสูต รองประธานกรรมการ
3. นายซนุ ทาว-เฮิน * กรรมการผ้อู ำ�นวยการ
4. นายพรวุฒิ สารสนิ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
5. นายเกษม กุหลาบแกว้ * กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน
6. นางสนุ ันทา แพงศขุ * กรรมการและรองกรรมการผู้อ�ำ นวยการ (การเงนิ )
7. นางนิจพร จรณะจิตต ์ กรรมการและกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
8. นายไส้ หวา่ ไซม่อน ซนุ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ
9. นายสตีเฟน่ ซว่ ย ก ู่ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
10. นายยวน จุ้น ถงั กรรมการ
11. นายลี ไมเคลิ เชา ฉุน กรรมการ
12. นายสุรชยั ศริ ิวลั ลภ กรรมการอสิ ระ
หมายเหตุ : * เปน็ กรรมการผู้มอี ำ�นาจลงนามผกู พันบรษิ ัทฯ

ขอบเขตอำ�นาจหนา้ ท่ขี องคณะกรรมการบริษทั ฯ
หน้าที่และความรบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการ ซึง่ กำ�หนดตามข้อบงั คบั บรษิ ทั ฯ มีดงั ตอ่ ไปนี้
1. แตง่ ตง้ั กรรมการบรษิ ทั ฯ จ�ำ นวนหนง่ึ เปน็ คณะกรรมการบรหิ าร ซงึ่ ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการบรหิ าร รองประธานกรรมการ

บรหิ าร และตำ�แหน่งอ่ืนๆ ตามท่คี ณะกรรมการเห็นสมควร โดยก�ำ หนดใหก้ รรมการบริหารชุดดงั กลา่ ว มอี ำ�นาจหนา้ ทีบ่ ริหาร
และควบคุมกิจการของบรษิ ทั ฯ ตามท่ีคณะกรรมการบริษทั ฯ กำ�หนดหรือมอบหมาย
2. คณะกรรมการตอ้ งมกี ารประชมุ กนั อยา่ งนอ้ ย 3 เดอื นครง้ั ณ สถานทป่ี ระชมุ อนั เปน็ ทต่ี ง้ั ของส�ำ นกั งานใหญห่ รอื จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง
3. พจิ ารณาก�ำ หนดทศิ ทางและนโยบายการด�ำ เนนิ งานของบริษัทฯ และก�ำ กบั ควบคมุ ดแู ลให้ฝา่ ยจัดการดำ�เนินการใหเ้ ปน็ ไปตาม
นโยบายทก่ี ำ�หนดไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ล เพอื่ เพม่ิ มลู ค่าทางเศรษฐกจิ สูงสดุ ให้แกบ่ รษิ ัทฯ และเกดิ ผลตอบแทน
สูงสดุ ให้แก่ผู้ถือหุน้
4. แจ้งให้ผู้ถือหุ้นรับทราบหรือจัดประชุมผู้ถือหุ้นทันที เมื่อเกิดเหตุการณ์สำ�คัญที่มีผลกระทบต่อการดำ�เนินงานหรือฐานะ
ทางการเงนิ ของบริษัทฯ และ/หรอื ผลประโยชนข์ องผ้ถู ือหุ้น
นอกจากน้ี คณะกรรมการบริษัทฯ ได้มอบอำ�นาจให้กรรมการผู้อำ�นวยการและคณะกรรมการบริหารในการบริหารงานทั่วไป
ของบรษิ ัทฯ โดยจะไม่รวมถงึ อ�ำ นาจในการอนุมตั ิรายการทีม่ สี ่วนไดเ้ สียหรืออาจมีความขดั แยง้ ทางผลประโยชน์ในลักษณะอ่นื ใดกบั บรษิ ัทฯ หรอื
บริษัทย่อย และได้มอบอำ�นาจให้กรรมการผู้อำ�นวยการมีอำ�นาจหน้าที่ในการซื้อหรือขายทรัพย์สินถาวรได้ในวงเงินไม่เกินกว่า 50 ล้านบาท
โดยท่คี ณะกรรมการจะเปน็ ผูอ้ นมุ ัติในวงเงินที่สูงเกินกว่านี้
การหมดอายขุ องกรรมการ
ในการประชุมสามัญผถู้ ือหนุ้ ประจำ�ปที ุกครง้ั ให้กรรมการออกจากตำ�แหน่งในอตั รา 1 ใน 3 ถา้ จำ�นวนกรรมการท่ีจะแบ่งออก
ใหค้ รบเป็น 3 สว่ นไม่ได้ กใ็ หอ้ อกโดยจ�ำ นวนใกลท้ ี่สดุ กับส่วน 1 ใน 3
กรรมการท่ีจะต้องออกจากตำ�แหน่งในปีแรก และปีท่ีสองภายหลังใช้ข้อบังคับน้ีให้ใช้วิธีจับสลาก ส่วนปีหลังจากน้ันให้กรรมการ
ท่ีอยูใ่ นตำ�แหนง่ นานท่สี ุดเป็นผูอ้ อกจากตำ�แหนง่
กรรมการท่ีออกจากต�ำ แหน่งไปนัน้ อาจได้รบั เลือกตัง้ ใหมไ่ ด้

บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบลิ้ จำ�กดั (มหาชน) 39

นอกจากพ้นตำ�แหน่งตามวาระแล้ว กรรมการต้องพ้นจากตำ�แหน่งเมือ่
1. ถงึ แกก่ รรม
2. ลาออก
3. ขาดคุณสมบตั ิ หรือมีลักษณะตอ้ งหา้ มตามกฎหมายว่าด้วยบริษทั มหาชนจำ�กัด
4. ที่ประชมุ ผถู้ อื หุ้นลงมตใิ หอ้ อกด้วยคะแนนเสยี งไม่น้อยกวา่ 3 ใน 4 ของจ�ำ นวนผูถ้ อื ห้นุ ซึง่ มาประชมุ และมีสทิ ธิออกเสยี ง และ
มหี ุ้นนบั รวมกันไดไ้ ม่น้อยกว่ากงึ่ หนึ่งของจำ�นวนหนุ้ ทีถ่ ือโดยผู้ถือหนุ้ ทม่ี าประชุม และมสี ทิ ธอิ อกเสยี ง
5. ศาลมคี �ำ สงั่ ใหอ้ อก
ในกรณีท่ีต�ำ แหน่งกรรมการวา่ งลงเพราะเหตอุ น่ื นอกจากถงึ คราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการเลือกบคุ คล ซ่งึ มคี ณุ สมบตั ิ และ
ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฏหมายว่าด้วยบริษัทมหาชนจำ�กัดเข้าเป็นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เว้นแต่วาระของ
กรรมการผอู้ อกไปนนั้ จะเหลอื นอ้ ยกวา่ 2 เดอื น โดยมตขิ องคณะกรรมการตอ้ งประกอบดว้ ยคะแนนเสยี งไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ใน 4 ของจ�ำ นวนกรรมการ
ท่ยี ังเหลืออยู่ บุคคลซ่ึงเข้าเปน็ กรรมการแทนดงั กล่าว ใหอ้ ยใู่ นตำ�แหน่งเพยี งเทา่ วาระทีย่ ังเหลอื อยู่ของกรรมการซง่ึ ตนแทน
7.3 ขอ้ มูลเกีย่ วกับคณะกรรมการชดุ ยอ่ ย
คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ ประกอบด้วยคณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
คณะกรรมการบริหาร โดยไดก้ ำ�หนดขอบเขตอำ�นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการชุดยอ่ ยแตล่ ะชดุ ดงั น้ี
คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดว้ ย
ชื่อ ต�ำ แหน่ง
1. นายพรวฒุ ิ สารสนิ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ
2. นายไส้ หวา่ ไซมอ่ น ซนุ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ
3. นายสตีเฟ่น ซว่ ย กู่ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ

นายไส้ หวา่ ไซมอ่ น ซุน เปน็ กรรมการตรวจสอบ ผู้มคี วามรู้และประสบการณใ์ นการสอบทานงบการเงนิ
ขอบเขต หน้าท่ี และความรบั ผิดชอบของกรรมการตรวจสอบ
1. สอบทานใหบ้ รษิ ัทมรี ายงานทางการเงินอยา่ งถกู ต้องและเพยี งพอ
2. สอบทานให้บริษัทมีระบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit)
ทเ่ี หมาะสมและมปี ระสทิ ธผิ ล พจิ ารณาความเปน็ อสิ ระของหนว่ ยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหค้ วามเหน็ ชอบในการพจิ ารณา
แตง่ ตั้ง โยกยา้ ย เลกิ จ้างหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในหรอื หน่วยงานอน่ื ทีร่ บั ผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน
3. สอบทานให้บริษัทปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมาย
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับธรุ กจิ ของบริษทั
4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแต่งตั้งบุคคลซ่ึงมีความเป็นอิสระเพ่ือทำ�หน้าท่ีเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัท และเสนอค่าตอบแทนของ
บคุ คลดังกลา่ ว รวมทง้ั เขา้ ร่วมประชมุ กบั ผสู้ อบบัญชีโดยไมม่ ฝี า่ ยจดั การเข้าร่วมประชมุ ดว้ ย อยา่ งนอ้ ยปีละ 1 ครั้ง
5 พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการท่ีอาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้เป็นไปตามกฎหมาย และข้อกำ�หนดของ
ตลาดหลกั ทรัพย์ ทง้ั นี้ เพือ่ ให้มน่ั ใจวา่ รายการดังกลา่ วสมเหตสุ มผลและเป็นประโยชน์สงู สดุ ตอ่ บรษิ ัท
6 จัดทำ�รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปิดเผยไว้ในรายงานประจำ�ปีของบริษัท ซ่ึงรายงานดังกล่าวต้องลงนามโดย
ประธานคณะกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบดว้ ยข้อมลู อยา่ งนอ้ ยดังตอ่ ไปนี้
(ก) ความเหน็ เก่ยี วกับความถกู ต้อง ครบถว้ น เปน็ ทีเ่ ชอื่ ถอื ได้ของรายงานทางการเงนิ ของบริษัท
(ข) ความเห็นเก่ยี วกบั ความเพียงพอของระบบควบคมุ ภายในของบริษัท
(ค) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกำ�หนดของตลาดหลักทรัพย์หรือ
กฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งกับธุรกิจของบริษทั
(ง) ความเหน็ เกย่ี วกบั ความเหมาะสมของผ้สู อบบัญชี
(จ) ความเหน็ เกีย่ วกบั รายการท่ีอาจมคี วามขดั แย้งทางผลประโยชน์
(ฉ) จ�ำ นวนการประชมุ คณะกรรมการตรวจสอบและการเข้ารว่ มประชุมของกรรมการตรวจสอบแตล่ ะทา่ น

40 แบบ 56-1 One Report

(ช) ความเหน็ หรือขอ้ สังเกต โดยรวมท่คี ณะกรรมการตรวจสอบไดร้ บั จากการปฏิบัตหิ น้าท่ตี ามกฎบตั ร (Charter)
(ซ) รายการอน่ื ที่เห็นว่า ผถู้ อื หุ้นและผลู้ งทนุ ท่ัวไปควรทราบ ภายใตข้ อบเขตหนา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจาก
คณะกรรมการบริษทั
7 ปฏบิ ตั ิการอืน่ ใดตามทค่ี ณะกรรมการของบรษิ ัทมอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ
กรรมการตรวจสอบมีวาระด�ำ รงต�ำ แหน่งคราวละ 3 ปี
คณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน
ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564 คณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทนประกอบด้วย
ชอ่ื ต�ำ แหน่ง
1. นายไส้ หว่า ไซมอ่ น ซนุ ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
2. นางนจิ พร จรณะจติ ต์ กรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน
3. นายเกษม กหุ ลาบแก้ว กรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน

ขอบเขต หนา้ ที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา และพิจารณาคา่ ตอบแทน
1. ก�ำ หนดนโยบาย หลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหากรรมการบรษิ ทั และผบู้ รหิ ารระดบั สูง
2. พิจารณาสรรหาบุคคลทมี่ ีคณุ สมบตั ิเหมาะสม เพ่ือเสนอแตง่ ตั้งเป็นกรรมการ และผู้บรหิ ารระดับสูง
3. พจิ ารณาก�ำ หนดหลักเกณฑใ์ นการจา่ ยคา่ ตอบแทนและรูปแบบค่าตอบแทนให้แกก่ รรมการ และผู้บรหิ ารระดับสูง
4. พจิ ารณาและเสนอก�ำ หนดคา่ ตอบแทนให้แก่กรรมการบริษัท และตอ่ ท่ปี ระชมุ ผ้ถู อื หุ้นเพอื่ พิจารณาอนุมตั ิ
กรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน มีวาระดำ�รงต�ำ แหน่งคราวละ 3 ปี
7.4 ขอ้ มูลเก่ยี วกบั ผูบ้ รหิ าร
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 คณะกรรมการบรหิ ารและผบู้ ริหารของบรษิ ทั ฯ ประกอบดว้ ย
ชือ่ ตำ�แหนง่
1. นายซุน ทาว-เฮิน กรรมการผู้อ�ำ นวยการ
2. นายเกษม กุหลาบแก้ว กรรมการบริหาร
3. นางสนุ นั ทา แพงศุข กรรมการบริหาร และรองกรรมการผู้อ�ำ นวยการ (การเงิน)
4. นายธนสิทธ์ิ องั กสทิ ธ ิ์ รองกรรมการผอู้ ำ�นวยการ (การขายและการตลาด)
5. นายสุวทิ ย์ วีระพงษ ์ รองกรรมการผอู้ �ำ นวยการ (การผลติ และวิศวกรรม)
6. นายสถติ ย์ ตาบเพช็ ร์ รองกรรมการผ้อู ำ�นวยการ (การประกันคณุ ภาพ)
7. นายจัง เซ้า ชนุ รองกรรมการผูอ้ �ำ นวยการ (ส�ำ นกั กรรมการผู้อ�ำ นวยการ)
8. นางอาภาณัฐ วงษ์จริต ผชู้ ่วยกรรมการผู้อ�ำ นวยการ (การบัญช)ี

ขอบเขต หน้าที่ และความรบั ผดิ ชอบของกรรมการบรหิ าร และผู้บริหารมีดังนี้
1. ก�ำ กบั ดแู ลการด�ำ เนนิ งานโดยรวมใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของบรษิ ทั ฯ และก�ำ หนดกลยทุ ธก์ ารด�ำ เนนิ ธรุ กจิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบาย
หลักของคณะกรรมการบริษัทฯ โดยจะไม่รวมถึงอำ�นาจอนุมัติรายการที่มีส่วนได้เสียหรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์
ในลกั ษณะอืน่ ใดกับบรษิ ัทฯ หรอื บรษิ ทั ยอ่ ย
2. กำ�กับดแู ลให้นโยบายและกลยุทธ์ดังกล่าวขา้ งตน้ มีการนำ�ไปใชป้ ฏิบตั ิอย่างเหมาะสม
3. บริหารจดั การงานตามท่ีไดร้ บั มอบหมายในแตล่ ะหน่วยงาน
4. ด�ำ เนินกิจการที่เกี่ยวข้องกบั การปฏบิ ตั งิ านทวั่ ไปในแตล่ ะวัน
ค่าตอบแทนกรรมการบริหารและผู้บรหิ าร สำ�หรบั ปี 2564
จ�ำ นวน เงนิ เดือน ค่าทีป่ รกึ ษาและโบนัส รวม
(คน) (ล้านบาท) (ลา้ นบาท) (ล้านบาท)
กรรมการบรหิ ารและผูบ้ ริหาร 8 24.37 10.71 35.1

บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบล้ิ จำ�กดั (มหาชน) 41

7.5 ขอ้ มูลเกยี่ วกับพนักงาน
จำ�นวนพนกั งานกลมุ่ การผลติ
บริษทั ฯ และบริษัทยอ่ ยมจี �ำ นวนผู้บรหิ ารและพนักงาน ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 จ�ำ นวนทัง้ สิ้น 792 คน
นโยบายการใชพ้ นกั งานรว่ มกัน
จรุงไทยและ SPEWC ได้รับความช่วยเหลือจากบริษัท PEWC ซ่ึงเป็นบริษัทแม่ดำ�เนินธุรกิจอยู่ที่ไต้หวัน ปัจจุบันมีตัวแทน
จากบรษิ ทั แม่ประจ�ำ อยูท่ จี่ รงุ ไทยและ SPEWC โดยจรุงไทยและ SPEWC จะมีภาระการจ่ายเงนิ เดอื นค่าบรหิ ารแก่ PEWC ตามสญั ญาท่ีได้
ตกลงกัน
จรุงไทยไดใ้ หค้ วามช่วยเหลือในการผลิตและบริหารแกบ่ รษิ ัท SFO และ DDC ซึง่ เปน็ บริษัทย่อย โดยจรงุ ไทยท�ำ สญั ญาบริหาร
จดั การ ใหค้ �ำ ปรกึ ษาในดา้ นการด�ำ เนนิ งานและการจดั การแก่ SFO และ DDC ทง้ั น้ี ในสว่ นของผบู้ รหิ ารและพนกั งานจรงุ ไทย ณ ส�ำ นกั งานใหญ่
ที่มีการดำ�เนินการด้านต่างๆ เช่น การตลาด การเงิน การบัญชี เป็นต้น จรุงไทยจะเรียกเก็บในอัตราเหมาจ่ายประมาณเดือนละ
2,144,091 บาทจาก SFO และ 113,850 บาทจาก DDC ตามล�ำ ดบั สว่ นฝ่ายผลติ จะประกอบไปด้วยวศิ วกรและพนกั งานฝา่ ยผลติ จรุงไทย
จะเรียกเก็บจาก SFO และ DDC ตามจำ�นวนผู้เช่ียวชาญและระดับของผู้เชี่ยวชาญโดยคำ�นวณตามจำ�นวนชั่วโมงทำ�งานท่ีเกิดขึ้นจริงด้วย
อัตราท่ีตกลงกันไว้ในสัญญา นอกจากน้ีจรุงไทยได้คิดค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดเพ่ิมเติม จาก SFO และ DDC อีกร้อยละ 10 และร้อยละ 5
ตามล�ำ ดบั จากยอดเงนิ รวมของสญั ญาบรหิ ารจดั การ นอกเหนอื จากสญั ญาดังกลา่ ว บริษัทฯ มไิ ด้เรยี กเก็บคา่ ใชจ้ ่ายเกยี่ วกับพนักงานใดๆ อกี
ในสว่ นของบริษัทยอ่ ยเพ่ือการลงทุน ได้แก่ บริษทั ซีทดี ับบลิว เบต้า จำ�กดั จะใชพ้ นกั งานรว่ มกบั จรงุ ไทย โดยไมม่ ีการคิด
คา่ ใชจ้ ่ายระหว่างกนั แต่อยา่ งใด
ปญั หาขอ้ พพิ าทแรงงาน
ในรอบระยะเวลา 3 ปที ี่ผา่ นมา บรษิ ทั ฯ ไมม่ ีขอ้ พิพาทด้านแรงงานทสี่ ำ�คัญ
ค่าตอบแทนพนักงาน
ปี 2564 บริษัทฯ และบริษัทย่อยจ่ายค่าตอบแทนแก่พนักงาน เป็นเงินเดือน โบนัส เงินสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพและ
ผลประโยชนอ์ ืน่ จ�ำ นวนท้งั ส้นิ 373.30 ล้านบาท
เงนิ กองทนุ สำ�รองเลย้ี งชพี
กรรมการและผู้บริหารที่เป็นพนักงานของบริษัทฯ จะเป็นสมาชิกกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพของบริษัทฯ หรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับความ
สมคั รใจ ซง่ึ ตามนโยบายบรษิ ทั ฯ และพนกั งานมคี วามประสงคใ์ นการจดั ตงั้ กองทนุ ส�ำ รองเลย้ี งชพี ขน้ึ เพอื่ เปน็ สวสั ดกิ ารและหลกั ประกนั แกพ่ นกั งาน
เมอ่ื ออกจากงาน ทุพพลภาพ ปลดเกษียณ ตาย หรอื ลาออกจากกองทนุ โดยมีการจัดตงั้ กองทุน โดยใช้ชื่อวา่ “กองทนุ สำ�รองเล้ยี งชีพของ
บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบ้ิล จำ�กัด (มหาชน) ซงึ่ จดทะเบียนแล้ว” โดยในระเบยี บกองทนุ สำ�รองเลยี้ งชีพของบรษิ ัทฯ จะหักเงนิ สะสมของ
พนกั งานจากคา่ จา้ งในอตั รารอ้ ยละ 5 ของคา่ จา้ งตอ่ เดอื นของสมาชกิ แตล่ ะราย และบรษิ ทั ฯ จะจา่ ยเงนิ สมทบใหส้ มาชกิ แตล่ ะรายในอตั ราเดยี วกนั
ท้ังน้ี กองทุนส�ำ รองเลี้ยงชพี ของบริษัทฯ ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 มจี ำ�นวนสมาชกิ ท้งั สน้ิ 461 ราย โดยมีขนาดกองทนุ 148.47 ลา้ นบาท
บริษัทฯ จ่ายเงินสมทบให้แก่กรรมการบริหารและผู้บริหารของบริษัทฯ ในปี 2564 จำ�นวน 1.26 ล้านบาท และ ปี 2563 จำ�นวน
1.22 ล้านบาท โดยบรษิ ัทฯ จา่ ยเงนิ สมทบให้แก่พนกั งานบรษิ ัทฯ ในปี 2564 จ�ำ นวน 6.72 ลา้ นบาท
นโยบายการพัฒนาพนกั งาน
บริษัทฯ ได้ประกอบกิจการมาเป็นเวลากว่า 50 ปี ซ่ึงท่ีผ่านมาได้มีการพัฒนางานด้านบุคคล และเทคโนโลยีมาโดยตลอด
บริษัทฯ ได้ให้ความสำ�คัญด้านทรัพยากรบุคคล ซ่ึงถือเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งเสริมให้การดำ�เนินงานของบริษัทฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
โดยไดม้ นี โยบายการพฒั นาพนกั งานเพอ่ื เพมิ่ ทกั ษะและศกั ยภาพในการท�ำ งานใหม้ คี วามรู้ ความช�ำ นาญ สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
และนำ�มาถ่ายทอดความรู้ในองค์กรได้ และเพ่ือเตรียมความพร้อมสำ�หรับการปฏิบัติงานในอนาคตเพ่ือรองรับเทคโนโลยีใหม่ๆ ท่ีจะเกิดขึ้น
โดยที่ผ่านมาบริษัทฯ ได้จัดให้มีการฝึกอบรมสัมมนาทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ เพื่อเพิ่มทักษะท่ีเก่ียวกับประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต
อาทเิ ช่น การใช้เคร่ืองมือบรหิ ารจดั การขบวนการผลิตดา้ นคณุ ภาพ ตามระบบบรหิ ารงานคณุ ภาพ ISO 9001:2015 เพอื่ พัฒนาผลติ ภณั ฑ์ให้ได้
มาตรฐานตามความต้องการของลูกค้า และสามารถตรวจสอบ การมีส่วนร่วมอนุรักษ์พลังงาน พัฒนาเก่ียวกับการจัดการปัญหาสิ่งแวดล้อม
และชมุ ชน ตามระบบการจัดการสง่ิ แวดล้อมตามมาตรฐาน ISO : 14001 รวมถึงการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบการจัดการอาชวี อนามัยและ
ความปลอดภยั ตามมาตรฐาน ISO 45001 : 2018 และ TIS 18001 : 2554

42 แบบ 56-1 One Report

7.6 ขอ้ มลู สำ�คญั อน่ื ๆ
7.6.1 บคุ คลท่ไี ด้รบั มอบหมายใหร้ บั ผิดชอบดังตอ่ ไปนี้
เลขานกุ ารบรษิ ทั และหัวหนา้ งานตรวจสอบภายในของบริษัท
นางสาวกาญจนา เอนกวศินชัย (ได้เปดิ เผยข้อมลู เลขานุการบรษิ ัท ในเอกสารแนบ 1 และเอกสารแนบ 3)
ผ้ทู ีไ่ ดร้ ับมอบหมายให้รบั ผิดชอบโดยตรงในการควบคมุ ดแู ลการท�ำ บัญชี
นางอาภาณัฐ วงษจ์ ริต ผชู้ ่วยกรรมการผอู้ �ำ นวยการ (การบญั ช)ี (ไดเ้ ปดิ เผยข้อมลู ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมายให้รับผดิ ชอบโดยตรง
ในการควบคุมดูแลการท�ำ บญั ชี ในเอกสารแนบ 1)
7.6.2 หัวหน้างานนักลงทุนสมั พันธ์
นางสาวกาญจนา เอนกวศินชัย ได้รับมอบหมายให้ทำ�หน้าที่นักลงทุนสัมพันธ์ ซึ่งผู้ถือหุ้นและนักลงทุนสามารถติดต่อ
ขอทราบข้อมูลของบรษิ ทั ฯ ได้ โดยผา่ นแผนกบริการองค์กร (Corporate Services Section) โทร 02-745-6118 ถงึ 30 หรอื ท่ี e-mail address
: [email protected]
7.6.3 คา่ ตอบแทนของผสู้ อบบญั ชี
คา่ ตอบแทนจากการสอบบญั ชี (audit fee)
บริษัทฯ และบรษิ ัทยอ่ ยจ่ายคา่ ตอบแทนการสอบบัญชี ให้แก่
- ผู้สอบบัญชขี องบรษิ ัทฯ ในรอบปีบัญชี 2564 มจี ำ�นวนเงนิ รวม 5,080,000 บาท
- ส�ำ นักงานสอบบญั ชีท่ีผสู้ อบบัญชีสังกัด บคุ คลหรือกจิ การที่เกย่ี วข้องกบั ผสู้ อบบญั ชแี ละสำ�นักงานสอบบัญชีที่ผสู้ อบบญั ชี
สังกดั ในรอบปี 2564 ที่ผ่านมาจำ�นวนเงินรวม 0 บาท
ค่าบรกิ ารอื่น (non-audit fee)
ในรอบบญั ชี 2564 บรษิ ทั และบรษิ ัทย่อย มคี า่ บรกิ ารอ่ืน ให้แก่ผสู้ อบบัญชีของบรษิ ทั ฯ จ�ำ นวนเงนิ รวม 0 บาท

8. รายงานผลการดำ�เนนิ งานส�ำ คญั ดา้ นการกำ�กบั ดแู ลกิจการ

8.1 สรุปผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ทีค่ ณะกรรมการในรอบปีที่ผ่านมา
บริษัทฯ ได้มีการเปิดเผยจำ�นวนคร้ังของการประชุมและการเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการ และการเข้าร่วมประชุมของ
คณะกรรมการชุดย่อย ได้แก่คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการสรรหาและกำ�หนดค่าตอบแทน ในหัวข้อการเข้าร่วมประชุมของ
คณะกรรมการบริษทั ฯ ปี 2564 หนา้ ที่ 45-46 หัวขอ้ 8.2 รายงานผลการปฏบิ ัตหิ น้าทค่ี ณะกรรมการตรวจสอบในรอบปที ีผ่ ่านมา หน้าที่ 51
และ 8.3 สรุปผลการปฏิบัตหิ น้าท่ีของคณะกรรมการชดุ ยอ่ ยอนื่ ๆ หน้าท่ี 51 ซงึ่ ในการประชุมแต่ละคราวประธานในท่ปี ระชมุ ของการประชมุ
คณะกรรมการ และการประชุมกรรมการชุดย่อยได้เปิดโอกาสให้กรรมการแต่ละท่านแสดงความคิดเห็นอย่างเป็นอิสระและมีการจัดสรรเวลา
การประชุมอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ในรอบปีที่ผ่านมาในการประชุมคณะกรรมการ ครั้งท่ี 1/2565 เม่ือวันท่ี 11 มีนาคม 2565
คณะกรรมการได้ประเมินผลการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัทฯ โดยคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดย่อยทุกชุดได้ปฏิบัติงานด้วย
ความรู้ ความสามารถ ตามขอบเขตอำ�นาจหน้าที่และความรับผิดชอบท่ีได้รับมอบหมาย และสอดคล้องกับแนวทางปฏิบัติที่ดีของหน่วยงาน
ก�ำ กับดแู ล
8.1.1 การสรรหา พฒั นา และประเมนิ ผลการปฎิบตั หิ น้าท่ีของคณะกรรมการ
1. กรรมการอสิ ระ
หลักเกณฑ์ในการคัดเลอื กกรรมการอสิ ระ
1. กรรมการอสิ ระต้องมีคณุ สมบตั ดิ งั น้ี
1.1 ถือห้นุ ไม่เกนิ รอ้ ยละ 1 ของจ�ำ นวนหนุ้ ทีม่ สี ิทธอิ อกเสียงทัง้ ของบริษทั ฯ บริษัทใหญ่ บริษัทยอ่ ย บริษทั รว่ ม

ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ ท้ังน้ีให้นับรวมหุ้นที่ถือโดยผู้ที่เกี่ยวข้องของกรรมการ
อสิ ระรายนนั้ ๆ ดว้ ย
1.2 ไมเ่ ปน็ หรือเคยเปน็ กรรมการทม่ี ีสว่ นรว่ มในการบรหิ ารงาน พนกั งาน ลูกจ้าง ทีป่ รึกษาทไ่ี ดเ้ งินเดอื นประจำ�
หรือผู้มอี ำ�นาจควบคมุ ของบรษิ ัทฯ บริษัทใหญ่ บรษิ ทั ยอ่ ย บริษัทร่วม บริษทั ย่อยล�ำ ดบั เดยี วกัน ผ้ถู ือห้นุ

บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบล้ิ จ�ำ กัด (มหาชน) 43

รายใหญ่ หรอื ของผูม้ ีอำ�นาจควบคมุ ของบริษทั เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลักษณะดังกล่าวมาแล้วไม่นอ้ ยกว่า
2 ปี ทง้ั นี้ ลักษณะต้องหา้ มดงั กล่าวไมร่ วมถึงกรณีทกี่ รรมการอสิ ระเคยเปน็ ข้าราชการ หรือท่ีปรกึ ษาของส่วน
ราชการซ่งึ เปน็ ผู้ถอื หนุ้ รายใหญ่ หรอื ผมู้ อี �ำ นาจควบคมุ ของบรษิ ทั ฯ
1.3 ไมเ่ ปน็ บคุ คลทม่ี คี วามสมั พนั ธท์ างสายโลหติ หรอื โดยการจดทะเบยี นตามกฏหมายในลกั ษณะทเ่ี ปน็ บดิ า มารดา
ค่สู มรส พน่ี อ้ ง และบตุ ร รวมทั้งคูส่ มรสของบตุ รของผบู้ รหิ าร ผ้ถู อื หุ้นรายใหญ่ ผมู้ อี �ำ นาจควบคุม หรือ
บุคคลทีจ่ ะไดร้ บั การเสนอให้เป็นผ้บู รหิ ารหรอื ผมู้ ีอ�ำ นาจควบคุมของบรษิ ทั ฯ หรอื บรษิ ัทย่อย
1.4 ไมม่ หี รือเคยมีความสมั พนั ธท์ างธุรกิจกบั บริษัทฯ บริษทั ใหญ่ บริษัทยอ่ ย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หนุ้ รายใหญ่ หรอื
ผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะท่ีอาจเป็นการขัดขวางการใช้วิจารณญาณอย่างอิสระของตน
รวมทั้งไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้ถือหุ้นที่มีนัย หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของผู้ที่มีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ
บรษิ ัทใหญ่ บรษิ ทั ย่อย บรษิ ทั รว่ ม ผู้ถอื หุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคมุ ของบริษทั ฯ เว้นแตจ่ ะไดพ้ น้ จาก
การมลี ักษณะดงั กลา่ วมาแลว้ ไมน่ ้อยกวา่ 2 ปี
1.5 ไม่เป็นหรือเคยเป็นผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ
ผมู้ อี �ำ นาจควบคมุ ของบรษิ ทั ฯ และไมเ่ ปน็ ผถู้ อื หนุ้ ทม่ี นี ยั ผมู้ อี �ำ นาจควบคมุ หรอื หนุ้ สว่ นผจู้ ดั การของส�ำ นกั งาน
สอบบัญชี ซงึ่ มผี สู้ อบบญั ชีของบริษทั ฯ บรษิ ทั ใหญ่ บริษัทยอ่ ย บริษทั ร่วม ผู้ถอื หนุ้ รายใหญ่ หรอื ผ้มู ีอ�ำ นาจ
ควบคมุ ของบริษัทฯ สงั กัดอยู่ เว้นแตจ่ ะไดพ้ น้ จากการมีลกั ษณะดงั กลา่ วมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ 2 ปี
1.6 ไมเ่ ปน็ หรือเคยเปน็ ผใู้ หบ้ ริการทางวชิ าชีพใดๆ ซึ่งรวมถึงการให้บรกิ ารเป็นทป่ี รกึ ษากฎหมาย หรอื ทปี่ รกึ ษา
ทางการเงนิ ซงึ่ ได้รับคา่ บรกิ ารเกินกวา่ 2 ลา้ นบาทตอ่ ปจี ากบริษัทฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษัทรว่ ม
ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอำ�นาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็นผู้ถือหุ้นท่ีมีนัย ผู้มีอำ�นาจควบคุม หรือ
หุ้นส่วนของผใู้ หบ้ ริการทางวิชาชีพน้นั ดว้ ย เวน้ แต่จะไดพ้ ้นจากการมลี ักษณะดังกล่าวมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
1.7 ไมเ่ ปน็ กรรมการทไ่ี ดร้ บั การแตง่ ตง้ั ขน้ึ เพอ่ื เปน็ ตวั แทนของกรรมการของบรษิ ทั ฯ ผถู้ อื หนุ้ รายใหญ่ หรอื ผถู้ อื หนุ้
ซงึ่ เปน็ ผู้ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับผถู้ อื หุน้ รายใหญ่
1.8 ไม่ประกอบกิจการที่มีสภาพอย่างเดียวกันและเป็นการแข่งขันท่ีมีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย
หรอื ไมเ่ ปน็ หนุ้ สว่ นทมี่ นี ยั ในหา้ งหนุ้ สว่ น หรอื เปน็ กรรมการทม่ี สี ว่ นรว่ มบรหิ ารงาน ลกู จา้ ง พนกั งาน ทป่ี รกึ ษา
ท่ีรับเงินเดือนประจำ� หรือถือหุ้นเกินร้อยละหนึ่งของจำ�นวนหุ้นที่มีสิทธิออกเสียงท้ังหมดของบริษัทอื่น
ซง่ึ ประกอบกิจการท่ีมสี ภาพอยา่ งเดียวกันและเป็นการแขง่ ขนั ทม่ี ีนัยกับกจิ การของบรษิ ัทฯ หรือบริษัทย่อย
1.9 ไมม่ ีลักษณะอื่นใดทีท่ �ำ ใหไ้ ม่สามารถให้ความเห็นอยา่ งเป็นอิสระเก่ียวกับการด�ำ เนินงานของบริษัทฯ
2. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนเป็นผู้สรรหาและพิจารณาบุคคลท่ีจะแต่งต้ังเป็นกรรมการอิสระ
ของบริษัทฯ โดยพิจารณาจากความสามารถและคุณสมบัติตามที่กำ�หนด หลังจากนั้นจะตรวจสอบคุณสมบัติ
ตดิ ต่อและทาบทามจนได้ผทู้ ี่มคี วามเหมาะสมทสี่ ดุ เพอื่ เสนอตอ่ ทีป่ ระชมุ คณะกรรมการบริษัทหรือทีป่ ระชมุ ผถู้ ือหนุ้
เพื่อพิจารณาและมมี ติแต่งตง้ั ตอ่ ไป
2. การสรรหากรรมการและผ้บู ริหารระดบั สูงสุด
ทป่ี ระชุมคณะกรรมการครงั้ ท่ี 3/2549 เมอ่ื วนั ที่ 18 สงิ หาคม 2549 ได้มมี ติแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสรรหาและพิจารณา
ค่าตอบแทน เพื่อทำ�หน้าที่กำ�หนดนโยบาย พิจารณาหลักเกณฑ์และกระบวนการในการสรรหาบุคคลท่ีมีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำ�รงตำ�แหน่ง
กรรมการและผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งพิจารณาหลักเกณฑ์ในการจ่ายและรูปแบบค่าตอบแทนของกรรมการ และผู้บริหารระดับสูงเพื่อเสนอ
ความเห็นตอ่ คณะกรรมการบริษัทฯ หรอื ท่ีประชมุ ผ้ถู อื หุ้นเพอ่ื พจิ ารณาแล้วแต่กรณี ท้ังนเี้ พ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับหลักการกำ�กับดแู ลกิจการท่ีดสี �ำ หรบั
บรษิ ัทจดทะเบยี น
ในรอบปีที่ผา่ นมา บริษัทฯ ไมม่ กี ารสรรหากรรมการ และผู้บรหิ ารระดับสงู ท่านใหม่ นอกจากกรรมการทคี่ รบวาระและ
เสนอให้ผู้ถอื หุ้นเลือกกลับเขา้ มาใหม่
อ�ำ นาจและหน้าที่ของคณะกรรมการ
คณะกรรมการตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ทใ่ี หต้ รงตามขอ้ กฎหมาย วตั ถปุ ระสงค์ ข้อบงั คบั บริษัทฯ และมตทิ ปี่ ระชมุ สามญั และ
วสิ ามญั ผถู้ อื หุน้ ของบรษิ ทั ฯ

44 แบบ 56-1 One Report

การเลอื กกรรมการ
การคัดเลือกบุคคลที่จะแต่งตั้งเป็นกรรมการของบริษัทฯ จะต้องผ่านการพิจาณาและการเสนอเลือกต้ังหรือแต่งตั้งจาก
คณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน (Nominating & Compensation Committee) โดยมแี นวทางดงั น้ี
1. คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนจะเป็นผู้สรรหา และพิจารณาคัดเลือกบุคคลท่ีจะได้รับการแต่งตั้ง
เปน็ กรรมการของบรษิ ัทฯ โดยพจิ ารณาจากประสบการณ์ ความรคู้ วามสามารถ จรยิ ธรรม ความน่าเชื่อถอื ทาง
สงั คม และน�ำ เสนอตอ่ ที่ประชมุ สามัญผูถ้ อื ห้นุ ประจำ�ปีเพือ่ พจิ ารณาแต่งตั้งตอ่ ไป
2. กรรมการของบรษิ ทั ฯ จะตอ้ งมไี มน่ อ้ ยกวา่ 5 คน โดยใหท้ ปี่ ระชุมผู้ถอื หุ้นเปน็ ผพู้ ิจารณาเลือกตง้ั และกรรมการ
ไมน่ อ้ ยกว่ากึ่งหน่งึ จะต้องมีถ่นิ ฐานอยู่ในประเทศไทย
3. ในการลงคะแนนเสียงเลือกต้ังกรรมการ ผู้ถือหุ้นทุกคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหน่ึงหุ้นต่อหน่ึงเสียง โดยผู้ถือหุ้น
ใช้บัตรลงคะแนนเลือกต้งั กรรมการเปน็ รายบุคคล
4. มติของที่ประชุมผู้ถือหุ้นในการเลือกตั้งกรรมการให้ถือคะแนนเสียงข้างมากของผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและออกเสียง
ลงคะแนน ถ้ามีคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในท่ปี ระชมุ ออกเสยี งเพิม่ ขึ้นอกี เสยี งหน่ึงเปน็ เสียงชขี้ าด
8.1.2 การเข้าร่วมประชุมและการจา่ ยคา่ ตอบแทนคณะกรรมการรายบคุ คล
ในปีท่ีผ่านมา บริษัทฯ ได้จัดให้มีการประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจำ�ปี 2564 เม่ือวันพฤหัสบดีที่ 22 เมษายน 2564
เวลา 14.30 น. ณ ที่สำ�นักงานแห่งใหญ่ของบริษัทฯ โดยมีกรรมการเข้าประชุม 7 คน จากจำ�นวนกรรมการท้ังหมด 12 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 58.33 ของคณะกรรมการท้ังคณะ กรรมการท่เี ข้าร่วมประชุมประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธาน
กรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน กรรมการบรหิ าร กรรมการผอู้ ำ�นวยการ และกรรมการทา่ นอืน่ ๆ
การประชุมคณะกรรมการ
1. คณะกรรมการบริษทั ฯ ไดจ้ ัดใหม้ ีการประชมุ โดยปกติอย่างนอ้ ย 3 เดอื นต่อครั้ง และจะมีการประชุมเพ่มิ เตมิ ตามความ
จ�ำ เป็นและเหมาะสม โดยมีการกำ�หนดวาระชัดเจนล่วงหน้า
2. เลขานกุ ารบรษิ ทั ไดจ้ ดั หนงั สอื เชญิ ประชมุ พรอ้ มระเบยี บวาระการประชมุ และเอกสารจดั สง่ ใหก้ รรมการ กอ่ นการประชมุ
ลว่ งหน้าไมน่ ้อยกว่า 7 วัน เพ่อื ใหก้ รรมการไดศ้ กึ ษาข้อมูลอยา่ งเพยี งพอก่อนเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการ
3. ในการประชุมคณะกรรมการแต่ละครั้งจะต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่าก่ึงหน่ึงของจำ�นวนกรรมการทั้งหมด
จงึ จะครบเป็นองคป์ ระชมุ
4. ในปี 2564 ท่ผี ่านมา มีการประชมุ คณะกรรมการ จำ�นวน 5 คร้ัง การประชมุ แต่ละครง้ั ใช้เวลาโดยเฉลยี่ ประมาณ
1 ชั่วโมง 6 นาที โดยได้มีการจดบันทกึ การประชมุ ไว้เป็นลายลกั ษณอ์ ักษร และจัดเกบ็ รายงานการประชมุ ทผี่ ่านการ
รับรองจากคณะกรรมการ พร้อมใช้ในการอา้ งองิ และให้ผู้ทเ่ี กย่ี วข้องสามารถตรวจสอบได้
5. ประธานกรรมการและกรรมการผู้อำ�นวยการจะเป็นผู้ร่วมกันพิจารณาการเลือกเร่ืองเข้าวาระการประชุมคณะกรรมการ
โดยกรรมการมีความเปน็ อสิ ระท่จี ะเสนอเรอื่ งเข้าสู่วาระการประชมุ คณะกรรมการ
การเข้าร่วมประชุมของคณะกรรมการบริษทั ฯ ปี 2564
ชอื่ คณะกรรมการบรษิ ัทฯ ประชุมสามญั ผถู้ อื หุน้ ประจ�ำ ปี 2564
(มกี ารประชมุ 5 ครง้ั ) (22 เมษายน 2564)
1. นายชัย โสภณพนิช 5/5 1
2. นายเปรมชยั กรรณสตู 5/5 -
3. นายซนุ ทาว-เฮิน 5/5 1
4. นายพรวุฒิ สารสิน 4/5 1
5. นายเกษม กหุ ลาบแก้ว 5/5 1
6. นางสนุ นั ทา แพงศุข 5/5 1
7. นางนิจพร จรณะจติ ต์ 5/5 -
8. นายไส้ หวา่ ไซม่อน ซุน 5/5 1
9. นายสตีเฟน่ ซ่วย ก่ ู 5/5 -

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ิล จำ�กดั (มหาชน) 45

ช่ือ คณะกรรมการบริษทั ฯ ประชมุ สามญั ผ้ถู อื หนุ้ ประจ�ำ ปี 2564
(มีการประชมุ 5 ครั้ง) (22 เมษายน 2564)
10. นายสุรชัย ศริ ิวลั ลภ 4/5 1
11. นายยวน จนุ้ ถงั 4/5 -
12. นายลี ไมเคลิ เชา-ฉุน * 4/4 -
หมายเหตุ : * เขา้ ด�ำ รงต�ำ แหนง่ กรรมการ เมื่อวนั ท่ี 12 มนี าคม 2564

ค่าตอบแทนกรรมการและผบู้ รหิ าร
นโยบายการจ่ายค่าตอบแทนใหแ้ ก่กรรมการ
คา่ ตอบแทนทจ่ี ่ายใหแ้ กก่ รรมการ มดี ังนี้
เบ้ียประชมุ
ทป่ี ระชุมสามญั ผูถ้ อื หุ้นประจำ�ปี 2564 ได้มีมตกิ �ำ หนดคา่ เบี้ยประชุมดังน้ี
ค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการ
- ประธานกรรมการ 50,000 บาท/ครั้งที่ประชุม
- กรรมการอน่ื 40,000 บาท/ครง้ั ที่ประชมุ
คา่ เบี้ยประชุมกรรมการตรวจสอบ
- ประธานกรรมการตรวจสอบ 40,000 บาท/ครั้งทป่ี ระชุม
- กรรมการตรวจสอบ 30,000 บาท/ครงั้ ที่ประชมุ
คา่ เบี้ยประชุมกรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน
- ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน 40,000 บาท/ปี
- กรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน 30,000 บาท/ปี
บริษัทฯ ไม่มกี ารจ่ายค่าตอบแทนทีเ่ ปน็ รายเดอื น ค่าตอบแทนพิเศษ หรือผลประโยชนอ์ ื่นๆ ให้แกก่ รรมการ
บำ�เหนจ็ กรรมการทกี่ ำ�หนดจ่ายตามขอ้ บงั คบั
ตามข้อบงั คบั ของบรษิ ัทฯ ก�ำ หนดให้ที่ประชุมผถู้ อื หนุ้ มมี ตจิ า่ ยค่าบำ�เหน็จตอบแทน ใหแ้ กก่ รรมการและพนักงานทุกปี
ในอัตรารวมกันไมเ่ กนิ ร้อยละ 3 ของยอดขาย โดยจดั สรรใหแ้ กก่ รรมการ 1 ใน 3 ส่วน และใหแ้ กพ่ นกั งาน 2 ใน 3 สว่ น
ในการจา่ ยเงนิ ค่าบ�ำ เหนจ็ ตอบแทนใหแ้ กก่ รรมการดงั กล่าว คณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทนของบรษิ ทั ฯ
จะประชุมและปรกึ ษาหารอื กนั เพื่อจัดสรรเงินบ�ำ เหน็จใหแ้ กก่ รรมการ โดยแบง่ เงนิ คา่ บำ�เหนจ็ ออกเปน็ ส่วนๆ ส่วนละเทา่ ๆ กนั และจดั สรรดังนี้
ประธานกรรมการ ไดร้ ับในอัตรา 2.0 ส่วน
รองประธานกรรมการ ไดร้ ับในอตั รา 1.5 ส่วน
กรรมการ ได้รบั ในอตั รา 1.0 สว่ น
ในกรณีมีเศษ หรือมีการปรับอตั ราส่วนในการจดั สรร ใหค้ ณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทนร่วมกนั พจิ ารณา
จัดสรรไดต้ ามทเ่ี หน็ วา่ เหมาะสม
ส�ำ หรบั กรรมการทดี่ �ำ รงต�ำ แหนง่ กรรมการไมเ่ ตม็ ปใี นปที ม่ี กี ารจา่ ยคา่ บ�ำ เหนจ็ ใหเ้ ฉลย่ี จา่ ยตามจ�ำ นวนวนั ทด่ี �ำ รงต�ำ แหนง่
ในปนี น้ั ๆ
ค่าตอบแทนท่ีเปน็ ตัวเงนิ สำ�หรบั ปี 2564
ชอ่ื ตำ�แหน่ง คา่ เบ้ียประชมุ บำ�เหน็จกรรมการ
(บาท) (บาท) ***
1. นายชัย โสภณพนชิ ประธานกรรมการ 250,000.- 3,120,000.-
2. นายเปรมชัย กรรณสตู รองประธานกรรมการ 200,000.- 2,340,000.-
3 นายซุน ทาว-เฮิน กรรมการผอู้ �ำ นวยการ 200,000.- 1,560,000.-
4 นายพรวุฒิ สารสนิ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ 160,000.- 1,560,000.-
5. นายเกษม กหุ ลาบแกว้ กรรมการ และกรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน 200,000.- 1,560,000.-

46 แบบ 56-1 One Report

ชอ่ื ต�ำ แหน่ง ค่าเบย้ี ประชมุ บำ�เหน็จกรรมการ
(บาท) (บาท) ***
6. นางสนุ ันทา แพงศขุ กรรมการ และรองกรรมการผู้อำ�นวยการ (การเงิน) 200,000.- 1,560,000.-
7. นางนิจพร จรณะจติ ต ์ กรรมการ และกรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน 200,000.- 1,560,000.-
8. นายไส้ หวา่ ไซมอ่ น ซนุ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ และประธานกรรมการ 200,000.- 1,560,000.-
สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน
9. นายสตเี ฟน่ ซว่ ย กู่ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอิสระ 200,000.- 1,560,000.-
10. นายสุรชัย ศิริวัลลภ กรรมการ 160,000.- 1,560,000.-
11. นายยวน จ้นุ ถัง กรรมการ 160,000.- 1,560,000.-
12. นายลี ไมเคิล เชา-ฉนุ * กรรมการ 160,000.- 1,560,000.-
13. นายเจิ้ง เชา-ฉนุ ** กรรมการ 40,000.- 1,560,000.-
รวม 2,330,000.- 22,620,000.-
(ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 บรษิ ัทฯ มกี รรมการท้ังหมด 12 คน)
หมายเหตุ : * เข้าดำ�รงต�ำ แหนง่ กรรมการเมอ่ื วันท่ี 12 มีนาคม 2564
** ลาออกจากตำ�แหนง่ กรรมการเมื่อวันที่ 12 มนี าคม 2564
*** คา่ บ�ำ เหน็จกรรมการค�ำ นวณจากผลการดำ�เนินงานประจำ�ปี 2563 ท่จี า่ ยในปี 2564

ค่าตอบแทนกรรมการตรวจสอบ ส�ำ หรับปี 2564
ชื่อ ตำ�แหนง่ คา่ เบี้ยประชมุ (บาท)
1. นายพรวุฒิ สารสิน ประธานกรรมการตรวจสอบ 160,000.-
2. นายไส้ หว่า ไซมอ่ น ซนุ * กรรมการตรวจสอบ 120,000.-
3. นายสตเี ฟ่น ซ่วย กู่ กรรมการตรวจสอบ 120,000.-
รวม 400,000.-
หมายเหตุ : * เป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ในการสอบทานงบการเงิน

คา่ ตอบแทนกรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน ส�ำ หรับปี 2564
ชือ่ ต�ำ แหน่ง ค่าเบีย้ ประชุม (บาท)
1. นายไส้ หวา่ ไซม่อน ซุน ประธานกรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน 40,000.-
2. นางนิจพร จรณะจติ ต ์ กรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน 30,000.-
3. นายเกษม กหุ ลาบแกว้ กรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน 30,000.-
รวม 100,000.-

8.1.3 การกำ�กับดแู ลการด�ำ เนินงานของบรษิ ทั ยอ่ ยและบรษิ ัทร่วม
บริษัทฯ ดำ�เนินธุรกิจผ่านบริษัทย่อยและบริษัทร่วม รายละเอียดปรากฎในข้อ 1.3 โครงสร้างการถือหุ้นของกลุ่มบริษัท
โดยคณะกรรมการบริษทั มกี ลไกในการกำ�กับดูแลการจัดการและรับผิดชอบการดำ�เนนิ งานในบริษัทย่อยและบรษิ ัทร่วม ดังน้ี
- ส่งบุคคลเพอ่ื เป็นตวั แทนของบรษิ ทั ฯ ไปเป็นกรรมการและกรรมการบรหิ าร ตามสดั สว่ นการถอื หนุ้ รายละเอียดปรากฎ

ตามขอ้ 7 โครงสรา้ งการก�ำ กับดูแลกจิ การ
- ก�ำ หนดแนวทางก�ำ กับดูแล การเปิดเผยข้อมูลฐานะการเงินและผลการดำ�เนนิ งาน การทำ�รายการเกย่ี วโยง การไดม้ าหรือ

จ�ำ หนา่ ยไปซึ่งสินทรัพย์ และการท�ำ รายการส�ำ คญั อื่นใดในบริษทั ยอ่ ย ให้สอดคล้องกับนโยบายของบริษัทฯ กฎหมายท่ี
เกี่ยวขอ้ งและหลกั เกณฑ์ตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
- การดำ�เนินการในเรอ่ื งสำ�คญั ในบรษิ ัทยอ่ ย จะต้องได้รบั อนุมัติจากคณะกรรมการบรษิ ทั หรอื ผู้ถือหนุ้
- ก�ำ หนดใหม้ นี โยบายการก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี และระบบการควบคมุ ภายในทเ่ี หมาะสมและเพยี งพอในบรษิ ทั ยอ่ ยของบรษิ ทั ฯ

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบลิ้ จำ�กัด (มหาชน) 47

8.1.4 การตดิ ตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายและแนวปฏบิ ัติในการกำ�กับดแู ลกจิ การ
การป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์
บรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ใหม้ จี รรยาบรรณส�ำ หรบั กรรมการ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านทด่ี ใี นการท�ำ หนา้ ทก่ี รรมการของบรษิ ทั ฯ
และจรรยาบรรณสำ�หรบั พนักงาน เพ่อื เปน็ หลกั การและคณุ ธรรมประจำ�ใจในการปฏิบตั งิ านให้แกบ่ รษิ ทั ฯ และไดป้ ระกาศ “ระเบยี บและขอ้ บงั คับ
เก่ียวกบั การท�ำ งาน” ซง่ึ ครอบคลุมระเบยี บการท�ำ งาน วินยั และบทลงโทษทางวินัย เพื่อเปน็ แนวทางในการปฎบิ ัตขิ องพนกั งาน
การซ้อื ขายหลักทรพั ยแ์ ละการใชข้ อ้ มลู ภายในของบริษทั ฯ
เพ่ือเป็นการสนับสนุนให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 เก่ียวกับการซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายใน และประกาศสำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลกั ทรพั ย์ เก่ยี วกบั การรายงานการถอื หลกั ทรพั ย์ของกรรมการและผบู้ รหิ ารของบริษัทจดทะเบยี น อกี ทง้ั เพ่อื การปฏิบตั ติ อ่ ผถู้ อื หนุ้ ทุกราย
อยา่ งเทา่ เทยี มกัน รวมถงึ การสรา้ งความโปรง่ ใสในการเปิดเผยข้อมูลท่ีสาคญั ภายใต้นโยบายการก�ำ กับดูแลกิจการของบรษิ ทั ฯ คณะกรรมการ
บริษทั ฯ จึงก�ำ หนดนโยบายในการซ้อื ขายหลักทรัพยแ์ ละการใช้ข้อมูลภายในของบริษทั ฯ เพ่ือเปน็ แนวทางในการปฏิบัติ ดงั นี้
1. แนวทางปฏิบัติเก่ยี วกับการซื้อขายหลักทรัพยข์ องบรษิ ัทฯ (CTW)
1.1 ผู้ที่มหี น้าทรี่ ายงาน
1.1.1 กรรมการ
1.1.2 ผู้บรหิ าร (ระดับรองกรรมการผู้อ�ำ นวยการขน้ึ ไปและผู้จัดการฝ่ายบญั ชี)
1.1.3 พนักงานทเ่ี ขา้ ถงึ ข้อมลู ภายใน
1.2 กรณผี ้มู ีหนา้ ทร่ี ายงานเป็นกรรมการหรอื ผู้บริหารของบริษทั ฯ
เม่ือมีการซือ้ ขาย โอน หรอื รบั โอนหลักทรพั ย์ของบรษิ ทั ฯ กรรมการหรือผู้บริหารตอ้ งส่งรายงานการเปลีย่ นแปลง
การถือหลักทรัพย์ ในรูปข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์โดยให้ส่งผ่านระบบการรับส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ตามแนวทางท่ี
ส�ำ นกั งาน กลต. ก�ำ หนด ภายใน 3 วนั ท�ำ การ นบั ตง้ั แตว่ นั ทม่ี กี ารซอ้ื ขาย โอน หรอื รบั โอนหลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ทั ฯ
การจดั ท�ำ รายงานดงั กลา่ วขา้ งตน้ ใหค้ รอบคลมุ ถงึ การถอื หลกั ทรพั ยแ์ ละการซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยโ์ ดยบคุ คลดงั ตอ่ ไปน้ี
ของกรรมการหรือผ้บู ริหาร
(1) ค่สู มรสหรอื ผู้ทอ่ี ย่กู ินดว้ ยกันฉนั สามีภริยา
(2) บตุ รทีย่ ังไม่บรรลนุ ติ ิภาวะ
(3) นติ บิ ุคคลซึ่งตนเอง บุคคลตาม (1) และบคุ คลตาม (2) ถอื หุ้นรวมกันเกนิ ร้อยละ 30 ของจ�ำ นวนสทิ ธิ
ออกเสยี งท้ังหมดของนติ บิ คุ คลดังกลา่ ว และการถอื ห้นุ รวมกันดงั กลา่ วเป็นสดั สว่ นท่ีมากทสี่ ุดในนติ กิ รรมน้ัน
2. แนวทางปฏบิ ตั ิเกย่ี วกับการใชข้ ้อมูลภายใน
2.1 หา้ มกรรมการ ผบู้ รหิ าร และผทู้ ล่ี ว่ งรขู้ อ้ มลู ภายใน น�ำ ขอ้ มลู ภายในไปแสวงหาประโยชน์ หรอื เปดิ เผยแกบ่ คุ คลอน่ื
ไมว่ า่ โดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม และไมว่ า่ ดว้ ยวธิ ใี ด โดยรหู้ รอื ควรรวู้ า่ ผรู้ บั ขอ้ มลู อาจน�ำ ขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการ
ซื้อขายหลักทรพั ย์ ไม่ว่าเพื่อตนเองหรอื บุคคลอ่นื และไม่ว่าจะไดร้ บั ผลตอบแทนหรือไม่กต็ าม
2.2 หา้ มกรรมการ ผบู้ ริหาร และผทู้ ลี่ ่วงรขู้ ้อมลู ภายใน ทำ�การซ้อื หรอื ขายหลักทรพั ยข์ องบรษิ ทั ฯ ในชว่ งระยะเวลา
กอ่ นท่ีจะเผยแพรข่ ้อมูลภายใน ดังนี้
2.2.1 กรณเี ปน็ งบการเงิน
หา้ มกรรมการ ผ้บู ริหาร และผู้ที่ลว่ งร้ขู อ้ มูลภายในซื้อขายหลักทรพั ย์ของบริษทั ฯ ในช่วงเวลา 30 วนั
ก่อนการเปดิ เผยงบการเงนิ (Blackout Period) รายไตรมาสและงบการเงนิ ประจ�ำ ปี
ท้ังน้ี กำ�หนดเวลาที่จะเผยแพรง่ บการเงนิ คือภายใน 45 วัน นบั จากวนั ส้ินไตรมาส (มนี าคม มิถนุ ายน
และกันยายน) และภายใน 60 วนั นับจากวันสนิ้ ปี (ธนั วาคม) ดงั นี้
- ภายในวันที่ 15 พฤษภาคม
- ภายในวนั ท่ี 15 สิงหาคม
- ภายในวนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน
- ภายในวันท่ี 1 มนี าคม

48 แบบ 56-1 One Report


Click to View FlipBook Version