The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suntorn.ctw, 2022-04-07 00:52:16

Annual Report CTW TH

AR-CTW2021-TH

2.2.2 กรณเี ป็นข้อมูลสารสนเทศส�ำ คัญ ท่ีมผี ลต่อการเปลยี่ นแปลงราคาหลกั ทรัพยข์ องบรษิ ทั ฯ
(ก) ห้ามกรรมการ ผู้บริหาร และผู้ที่ล่วงรู้ข้อมูลภายในซ้ือขายหลักทรัพย์ของบริษัทฯ จนกว่าข้อมูล
สารสนเทศสำ�คัญดังกล่าวได้เผยแพร่ตอ่ ตลาดหลักทรัพย์แล้วอย่างน้อย 48 ชว่ั โมง
(ข) กรรมการ ผบู้ รหิ าร และผทู้ ล่ี ว่ งรขู้ อ้ มลู ภายในควรละเวน้ การซอ้ื ขายหลกั ทรพั ยข์ องบรษิ ทั ฯ ในชว่ งเวลา
กอ่ นเผยแพรข่ อ้ มูลส�ำ คญั ที่มผี ลตอ่ การเปล่ยี นแปลงราคาหลกั ทรัพยข์ องบรษิ ทั ฯ
3. บทลงโทษกรณฝี ่าฝนื นโยบายฉบบั น้ี
3.1 กรรมการ ผบู้ ริหาร
พรบ. หลกั ทรัพยแ์ ละตลาดหลักทรัพย์ฯ มาตรา 296 กำ�หนดว่า ผูใ้ ดทีซ่ อื้ ขายหลกั ทรัพย์โดยใชข้ ้อมูลภายใน
(มาตรา 242) “ต้องระวางโทษจำ�คกุ ไม่เกนิ สองปี หรือปรบั ต้งั แต่หา้ แสนบาทถงึ สองลา้ นบาท หรือท้งั จำ�ทั้งปรับ”
3.2 พนกั งานที่ลว่ งรู้ข้อมลู ภายใน
หากฝ่าฝืนนโยบายฉบับนี้ อาจถูกพิจารณาลงโทษทางวินัย จนถึงข้ันให้ออกจากงาน รวมถึงอาจมีความรับผิด
ทงั้ ทางอาญาและทางแพ่ง ตาม พรบ. หลักทรพั ย์และตลาดหลักทรัพย์ฯ
รายงานการเปล่ียนแปลงการถือห้นุ บรษิ ัทฯ ของกรรมการและผู้บริหารในปี 2564
รายนามผบู้ รหิ าร ตำ�แหน่ง จ�ำ นวนหุ้นท่ีถือ จ�ำ นวนหุ้นทถ่ี ือ จำ�นวนหนุ้ ท ี่ สัดสว่ น
ณ วันท่ี 31 ณ วันท่ี 31 เปลย่ี นแปลง การถอื ห้นุ
ธ.ค. 2563 ธ.ค. 2564 ในปี 2564 ในบริษทั (%)
นายชัย โสภณพนชิ ประธานกรรมการ 4,624,910 4,624,910 - 1.16
นายเปรมชัย กรรณสตู รองประธานกรรมการ 106 106 - 0.00
นาย ซนุ ทาว-เฮิน กรรมการผู้อ�ำ นวยการ 6,007,860 6,007,860 - 1.51
คสู่ มรส 1,600,000 1,600,000 - 0.40
นายพรวุฒิ สารสิน ประธานกรรมการตรวจสอบและ 38,150 38,150 - 0.01
กรรมการอิสระ
นายเกษม กหุ ลาบแก้ว กรรมการ และกรรมการสรรหา 6,000 6,000 - 0.00
และพจิ ารณาคา่ ตอบแทน
คูส่ มรส 16,800 16,800 - 0.00
นายสตเี ฟน่ ซ่วย กู่ กรรมการตรวจสอบ และกรรมการอสิ ระ - - - -
นายยวน จนุ้ ถงั กรรมการ 1,074,844 1,074,844 - 0.27
นายลี ไมเคลิ เชา ฉุน กรรมการ 264,958 264,958 - 0.07
นายไส้ หว่า ไซม่อน ซนุ ประธานกรรมการสรรหา - - - -
และพิจารณาค่าตอบแทน
กรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ
นางนจิ พร จรณะจติ ต์ กรรมการ และกรรมการสรรหาและ 106 106 - 0.00
พิจารณาค่าตอบแทน
นายสุรชัย ศิริวัลลภ กรรมการอิสระ - - - -
นางสนุ นั ทา แพงศุข กรรมการและรองกรรมการผ้อู �ำ นวยการ 40,400 40,400 - 0.01
(การเงิน)
นายธนสทิ ธิ์ องั กสทิ ธ์ิ รองกรรมการผ้อู ำ�นวยการ 23,400 23,400 - 0.01
(การขายและการตลาด)
คสู่ มรส 4,000 4,000 - 0.00
นายสถติ ย์ ตาบเพช็ ร ์ รองกรรมการผู้อ�ำ นวยการ 7,200 7,200 - 0.00
(การประกนั คุณภาพ)

บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิ้ล จ�ำ กัด (มหาชน) 49

รายนามผบู้ ริหาร ต�ำ แหน่ง จ�ำ นวนห้นุ ท่ถี อื จำ�นวนหนุ้ ท่ถี ือ จำ�นวนหนุ้ ท ี่ สัดส่วน
ณ วนั ท่ี 31 ณ วันท่ี 31 เปลยี่ นแปลง การถือหุ้น
ธ.ค. 2563 ธ.ค. 2564 ในปี 2564 ในบรษิ ัท (%)
นายสุวิทย์ วรี ะพงษ ์ รองกรรมการผอู้ �ำ นวยการ 40,000 40,000 0.01
(การผลติ และวิศวกรรม)
คู่สมรส 180,033 210,033 30,000 0.05
นายจัง เซ้า ชุน รองกรรมการผอู้ ำ�นวยการ 129,250 149,150 19,900 0.04
(ส�ำ นักงานกรรมการผู้อำ�นวยการ)
ค่สู มรส - - - -
นางอาภาณัฐ วงษ์จรติ ผชู้ ว่ ยกรรมการผอู้ ำ�นวยการ (การบญั ชี) - - - -

การตอ่ ต้านการทจุ ริต (Anti-corruption Policy)
บริษัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบิ้ล จำ�กดั (มหาชน) มคี วามม่งุ มั่นในการประกอบธุรกจิ ด้วยความโปร่งใส ภายใต้แนวทาง
การกำ�กับดูแลกิจการที่ดี สนับสนุนให้ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
ที่เก่ียวขอ้ งอย่างเครง่ ครดั บรษิ ัทฯ จงึ ก�ำ หนดนโยบายการตอ่ ต้านการทจุ รติ เพ่ือเปน็ แนวทางใหผ้ บู้ รหิ ารและพนกั งานถือปฏบิ ัติ ดังน้ี
1. ผู้บริหารและพนักงานต้องไม่ให้หรือเรียกรับสินบนและผลประโยชน์อื่นใดซ่ึงไม่เหมาะสม เพ่ือจูงใจให้ปฏิบัติ

หรือละเวน้ การปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี นทางมชิ อบ หรืออาจทำ�ให้บรษิ ัทฯ เสียประโยชนอ์ นั ชอบธรรม
2. ผู้บริหารและพนักงาน จะต้องไม่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว ที่ขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษัทฯ ไม่ว่า

จะโดยทางตรงหรือทางอ้อม จะต้องปฏิบัติหน้าท่ีและตัดสินใจในการดำ�เนินธุรกิจโดยคำ�นึงถึงประโยชน์สูงสุด
ของบริษทั ฯ เป็นสำ�คัญ
3. ผู้บริหารและพนักงาน มีหน้าท่ีดูแลและป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต หากพบการทุจริตหรือพบเหตุท่ีส่อไปในทาง
ทุจริต ให้แจ้งต่อกรรมการอิสระ หรือผู้บังคับบัญชาให้ทราบโดยเร็ว และให้ความร่วมมือในการตรวจสอบ
ขอ้ เท็จจริงตา่ งๆ
4. การบริจาคเงนิ เพื่อการกุศลและการใหเ้ งนิ สนับสนนุ ในกจิ กรรมหรือโครงการใดๆ ตอ้ งเปน็ ไปอย่างโปรง่ ใส และ
ถูกตอ้ งตามกฎหมาย
แนวทางปฏิบตั ิ
1) จัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมในการดำ�เนินธุรกิจ เพื่อป้องกันไม่ให้พนักงานมีการปฏิบัติหน้าท่ี
อยา่ งไมเ่ หมาะสม โดยเฉพาะงานด้านการขาย การตลาด และจัดซ้อื
2) จดั ให้มีช่องทางรบั ขอ้ รอ้ งเรยี นหรือแจ้งเบาะแสเมอ่ื พบพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม
3) ผู้บริหารและพนักงานต้องหลีกเล่ียงการขัดแย้งระหว่างผลประโยชน์ส่วนตัวและผลประโยชน์ของบริษัทฯ
ในทางจูงใจให้ปฏิบัติงานหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าท่ีในทางมิชอบ หรืออาจทำ�ให้บริษัทฯ เสียประโยชน์
อนั ชอบธรรม
การแจ้งเบาะแส (Whistleblowing)
บรษิ ทั ฯ จดั ใหม้ ชี ่องทางการรบั แจ้งขอ้ มูล เบาะแส หรอื ข้อร้องเรียน โดยมกี ลไกในการคุ้มครองผใู้ ห้ขอ้ มูลและให้ความ
ส�ำ คญั กับการเกบ็ ข้อมลู ขอ้ รอ้ งเรยี นเป็นความลับ อนั รวมถึงมาตรการในการตรวจสอบขอ้ รอ้ งเรยี นและพจิ ารณาบทลงโทษ แกผ่ ูท้ ่ีกระท�ำ ผิดอย่าง
เปน็ ธรรม ส�ำ หรับในปีทผี่ า่ นมาบรษิ ทั ฯ ไมไ่ ดร้ บั ข้อรอ้ งเรียน ไมพ่ บการละเมดิ หรอื การกระท�ำ ใดๆ ทข่ี ัดต่อนโยบายและแนวปฎบิ ัติการกำ�กับ
ดแู ลกิจการ

50 แบบ 56-1 One Report

8.2 รายงานผลการปฏบิ ตั หิ นา้ ทค่ี ณะกรรมการตรวจสอบในรอบปีทผี่ ่านมา
ในปี 2564 ไดก้ ำ�หนดให้มีการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบจ�ำ นวน 4 คร้ัง
การเขา้ รว่ มประชมุ ของคณะกรรมการตรวจสอบแตล่ ะท่านสรปุ ไดด้ ังน้ี
ช่อื ต�ำ แหนง่ การเขา้ รว่ มประชมุ (คร้งั )
1. นายพรวฒุ ิ สารสนิ ประธานกรรมการตรวจสอบและกรรมการอิสระ 4/4
2. นายไส้ หวา่ ไซม่อน ซนุ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ 4/4
3. นายสตีเฟ่น ซ่วย กู่ กรรมการตรวจสอบและกรรมการอสิ ระ 3/4

ในปี 2564 คณะกรรมการตรวจสอบไดม้ ีการประชุมรวมจ�ำ นวน 4 ครัง้ โดยกรรมการตรวจสอบไดร้ ายงานผลการปฏบิ ัตงิ านของ
คณะกรรมการตรวจสอบเสนอต่อท่ีประชุมคณะกรรมการบรษิ ัทฯ ทัง้ 4 ครั้ง ทางดา้ นงบการเงินได้มีการสอบทานงบการเงินรายไตรมาสและ
สน้ิ งวด โดยประชุมรว่ มกับผู้สอบบญั ชีของบรษิ ัทฯ 4 ครงั้ เพื่อพิจารณารายงานผลการตรวจสอบ ซ่ึงการประชุมกับผสู้ อบบญั ชไี ม่มฝี ่ายบรหิ าร
เข้าร่วมประชุม ในส่วนของการคัดเลือกผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ ประจำ�ปี 2564 คณะกรรมการตรวจสอบได้เสนอแต่งต้ังผู้สอบบัญชีที่มี
ความเปน็ อสิ ระในการปฏิบตั ิหนา้ ทตี่ อ่ คณะกรรมการบรษิ ัทฯ เพือ่ ขออนมุ ัติตอ่ ทป่ี ระชมุ ผู้ถือหุ้นแล้ว ตามขอ้ มลู และรายละเอยี ดท่รี ายงานไวใ้ น
เอกสารแนบ 6 รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
8.3 สรุปผลการปฏบิ ัติหน้าท่ขี องคณะกรรมการชุดยอ่ ยอื่นๆ
คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทน
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 คณะกรรมการสรรหาและพิจารณาคา่ ตอบแทนประกอบดว้ ย
ชื่อ ตำ�แหน่ง การเข้ารว่ มประชุม (ครัง้ )
1. นายไส้ หว่า ไซมอ่ น ซนุ ประธานกรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน 1/1
2. นางนิจพร จรณะจติ ต์ กรรมการสรรหาและพจิ ารณาค่าตอบแทน 1/1
3. นายเกษม กุหลาบแก้ว กรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทน 1/1

ในปี 2564 คณะกรรมการสรรหาและพจิ ารณาคา่ ตอบแทนไดม้ กี ารประชมุ 1 ครง้ั ตามรายละเอยี ดการเขา้ รว่ มประชมุ คณะกรรมการ
สรรหาและพิจารณาค่าตอบแทนทั้งคณะได้เข้าร่วมประชุมเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2564 โดยปฏิบัติหน้าท่ีตามที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มที่
ดว้ ยความรอบคอบ ระมดั ระวงั โปรง่ ใส เทยี่ งธรรม และเปน็ อสิ ระตามหลกั การก�ำ กบั ดแู ลกจิ การทด่ี ี ภายใตน้ โยบายและกฎบตั รของคณะกรรมการ
กำ�หนดคา่ ตอบแทนและสรรหาซ่งึ ได้ผ่านการการพจิ ารณาและอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการบริษทั ฯ สำ�หรับในปี 2564 ไดด้ �ำ เนินการท่เี กีย่ วขอ้ งกับ
การกำ�หนดคา่ ตอบแทนและสรรหาเพ่อื เสนอคณะกรรมการบรษิ ัทฯ พิจารณาอนุมัติ สรุปดังตอ่ ไปน้ี
- พิจารณาคุณสมบัติบุคคลท่ีเหมาะสม ที่จะเข้าดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการบริษัทฯ แทนกรรมการท่ีพ้นจากตำ�แหน่งตามวาระ

เพ่ือนำ�เสนอต่อคณะกรรมการบรษิ ทั ฯ ก่อนเสนอใหท้ ีป่ ระชุมสามญั ผูถ้ ือหนุ้ ประจ�ำ ปี 2564
- พิจารณาแต่งตั้งเป็นกรรมการแทนกรรมการท่ีออกตามวาระ
- พิจารณาเสนอช่อื กรรมการท่มี คี ุณสมบตั เิ หมาะสมเป็นกรรมการชดุ ย่อย เพอื่ น�ำ เสนอต่อคณะกรรมการบรษิ ทั ฯ
- พิจารณากล่ันกรองและเสนอการกำ�หนดค่าตอบแทนของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อยของบริษัทฯ ในปี 2564

ตามหลักเกณฑ์ที่บริษัทฯ กำ�หนด และเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ สอดคล้องกับผลการปฏิบัติงาน เพ่ือนำ�เสนอต่อ
คณะกรรมการบริษัทฯ พิจารณาเห็นชอบ ก่อนเสนอให้ท่ีประชุมสามัญผถู้ ือหนุ้ พจิ ารณาอนมุ ตั ิ
- พจิ ารณาการจ่ายเงนิ บ�ำ เหนจ็ ประจ�ำ ปี 2564 ใหแ้ กก่ รรมการและพนกั งานตามท่กี ำ�หนดไว้ในขอ้ บังคบั ของบรษิ ทั ฯ

บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิล้ จ�ำ กดั (มหาชน) 51

9. การควบคมุ ภายในและรายการระหวา่ งกัน

9.1 การควบคุมภายใน
คณะกรรมการบรษิ ทั ฯ ใหค้ วามส�ำ คญั ตอ่ ระบบการควบคมุ ภายใน โดยจดั ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ภายในทค่ี รอบคลมุ ทง้ั ดา้ นการเงนิ
การบรหิ าร และการด�ำ เนนิ งาน เพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและเปน็ ไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั และระเบยี บทเ่ี กย่ี วขอ้ ง จดั ใหม้ กี ารบรหิ ารความเสย่ี ง
ทเ่ี หมาะสมเพยี งพอ รวมทง้ั จดั ใหม้ กี ลไกการตรวจสอบ การถว่ งดลุ ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอในการปกปอ้ งรกั ษาและดแู ลทรพั ยส์ นิ ของบรษิ ทั ฯ
บรษิ ทั ฯ มหี นว่ ยงานตรวจสอบภายใน รบั ผดิ ชอบงานดา้ นการตรวจสอบภายใน โดยปฏบิ ตั งิ านตามแนวทางทก่ี �ำ หนดไวใ้ นกฎบตั ร
รายงานผลการตรวจสอบตอ่ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการ
ในการประชมุ คณะกรรมการครง้ั ท่ี 1/2565 เมอ่ื วนั ท่ี 11 มนี าคม 2565 โดยมกี รรมการตรวจสอบเขา้ รว่ มประชมุ ดว้ ยนน้ั คณะกรรมการ
ไดป้ ระเมนิ ความเพยี งพอ และความเหมาะสมของระบบการควบคมุ ภายใน โดยใชแ้ บบประเมนิ ความเพยี งพอของระบบการควบคมุ ภายในของส�ำ นกั งาน
คณะกรรมการก�ำ กบั หลกั ทรพั ยแ์ ละตลาดหลกั ทรพั ย์ ซง่ึ คณะกรรมการมมี ตเิ ปน็ เอกฉนั ทร์ บั รองความเพยี งพอของระบบการควบคมุ ภายใน โดยมี
องคป์ ระกอบทง้ั 5 สว่ น ดงั น ้ี
1) การควบคมุ ภายในองคก์ ร
2) การประเมนิ ความเสย่ี ง
3) การควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน
4) ระบบสารสนเทศและการสอ่ื สารขอ้ มลู
5) ระบบการตดิ ตาม
รายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการตรวจสอบของบรษิ ทั ฯ ไดจ้ ดั ท�ำ รายงานสรปุ สาระส�ำ คญั ในการปฏบิ ตั หิ นา้ ทข่ี องคณะกรรมการตรวจสอบของบรษิ ทั ฯ
ส�ำ หรบั ปี 2564 โดยนายพรวฒุ ิ สารสนิ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบเปน็ ผลู้ งนาม (รายละเอยี ดตามเอกสารแนบ 6)
ขอ้ มลู หวั หนา้ หนว่ ยงานตรวจสอบภายใน
ทป่ี ระชมุ คณะกรรมการตรวจสอบไดม้ มี ตแิ ตง่ ตง้ั นางสาวกาญจนา เอนกวศนิ ชยั เปน็ หวั หนา้ หนว่ ยงานตรวจสอบภายใน โดยเหน็ วา่
มปี ระสบการณก์ ารท�ำ งาน มคี วามรคู้ วามสามารถเพยี งพอในการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ทง้ั น้ี การพจิ ารณาและอนมุ ตั ิ แตง่ ตง้ั ถอดถอน โยกยา้ ยผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่
หวั หนา้ หนว่ ยงานตรวจสอบภายในของบรษิ ทั จะตอ้ งผา่ นการอนมุ ตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ (รายละเอยี ดตามเอกสารแนบ 3)
9.2 รายการระหว่างกัน
9.2.1 รายการระหว่างกันระหวา่ งกลมุ่ บรษิ ทั
รายการระหว่างกนั ในอดีตท่เี กิดข้ึนสามารถแบ่งออกได้ดงั ตอ่ ไปน้ี
รายการซือ้ ขาย
บรษิ ัทฯ มีธุรกรรมกบั บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และบริษัททีเ่ กี่ยวขอ้ งอื่นๆ รายการดังกล่าวเป็นการด�ำ เนินงานปกตขิ องธุรกจิ
เชน่ การซ้ือขายระหวา่ งบริษทั ค่าบรกิ าร ค่าจดั การ และไดร้ ะบุไวใ้ นงบการเงนิ ของบรษิ ัทฯ แลว้
รายการความช่วยเหลอื ทางการเงนิ
ความชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ ทใี่ หน้ นั้ มที งั้ การใหก้ แู้ ละการกยู้ มื รวมถงึ การค�้ำ ประกนั ระหวา่ งบรษิ ทั ในกลมุ่ โดยมจี ดุ ประสงค์
เพื่อเป็นการช่วยเหลือทางด้านเงินทุนหมุนเวียน และเสริมสภาพคล่องให้แก่บริษัทเหล่านั้นเม่ือมีความจำ�เป็น ซ่ึงรายการท่ีเกิดขึ้นดังกล่าวเป็น
รายการที่ด�ำ เนนิ การตามปกติของการทำ�ธุรกจิ
9.2.2 ความจำ�เป็นและความสมเหตุสมผลของรายการระหวา่ งกัน
ความจ�ำ เป็นและความเหน็ ของกรรมการตรวจสอบของรายการระหว่างกันไดอ้ ธบิ ายไว้ในตารางแลว้
9.2.3 มาตรการหรอื ข้นั ตอนการอนุมตั ิการท�ำ รายการระหว่างกนั
เน่ืองจากบริษัทฯ เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย การทำ�รายการระหว่างกันจึงต้องอยู่ภายใต้
กฎระเบียบและขอ้ บังคับของตลาดหลักทรัพย์ ผู้บรหิ ารจึงต้องตรวจสอบและควบคุมดูแลอย่างใกลช้ ดิ และไมม่ ีผูม้ ีส่วนไดเ้ สยี มสี ่วนในการอนมุ ตั ิ
ให้กระทำ�รายการระหว่างกันใดๆ เมื่อมีรายการระหว่างกันเกิดขึ้น นอกจากนั้น ก่อนเข้าทำ�รายการระหว่างกัน บริษัทฯ ได้ขอคำ�ปรึกษา
จากตลาดหลกั ทรัพย์ก่อนเสมอ

52 แบบ 56-1 One Report

9.2.4 แนวโนม้ การท�ำ รายการระหวา่ งกนั ในอนาคต
การซ้ือขาย
บริษัทฯ ยังคงมีธุรกรรมกับบริษัทย่อย บริษัทร่วม และบริษัทท่ีเกี่ยวข้องอ่ืนๆ โดยมีการซื้อขายผลิตภัณฑ์และวัตถุดิบ
ตามปกติ นอกจากน้ีท่ีประชุมคณะกรรมการบริษัทฯ ได้มีมติอนุมัติในหลักการให้ฝ่ายจัดการสามารถอนุมัติการทำ�ธุรกรรมที่เกี่ยวกับข้อตกลง
ทางการค้าท่ีมีเงอ่ื นไขการคา้ โดยทั่วไปในการทำ�ธรุ กรรมระหว่างบริษทั และบรษิ ัทยอ่ ย กบั กรรมการ ผบู้ ริหาร หรือบคุ คลทมี่ คี วามเกี่ยวข้อง
ความชว่ ยเหลือทางการเงนิ
บรษิ ทั ฯ จะใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ แกบ่ รษิ ทั ยอ่ ย โดยการจดั หาเงนิ ทนุ หมนุ เวยี นตามทบ่ี รษิ ทั ยอ่ ยตอ้ งการ ซง่ึ การให้
ความชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ ดงั กลา่ วจะเปน็ การให้ความช่วยเหลอื ในการดำ�เนนิ ธรุ กจิ ปกตเิ ท่านัน้
รายการระหว่างกนั ในปี 2562 - 2564
1. รายการระหว่างบริษทั ฯ กบั บรษิ ัททเ่ี กีย่ วข้อง
ช ื่อ มลู คา่ รายการ (ล้านบาท)
ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562 ลักษณะรายการระหว่างกัน ความสัมพันธ ์ นโยบายราคา/เงอื่ นไข

บรษิ ทั ไทยเมทลั 11.12 7.41 19.65 จรงุ ไทยจา้ ง TMP จรงุ ไทย ถอื หนุ้ ใน TMP รอ้ ยละ 15 ราคาตามสญั ญา

โพรเซสซิง่ จ�ำกดั (TMP) หลอมวตั ถดุ บิ (ทองแดง) คณุ ชยั โสภณพนชิ ซ่ึงเป็นกรรมการ

0.39 0.77 0.39 จรงุ ไทยค้างช�ำระค่าจา้ งหลอม ของจรงุ ไทย และถือหุ้นในจรุงไทย

วัตถดุ ิบกับ TMP ร้อยละ 0.69 และถอื หุน้ ใน

3.38 3.38 3.38 จรงุ ไทยไดร้ บั รายได ้ บมจ. กรงุ เทพประกันภัย จรงุ ไทยถือหุ้นใน TMP ทงั้ สนิ้

เงนิ ปนั ผลจาก TMP ร้อยละ 3.22 โดยที่ 225,000 หนุ้ และไดร้ ับเงินปันผล

บมจ. กรงุ เทพประกนั ภัย หุ้นละ 15 บาท ตามอัตราท่ี TMP

ถือหนุ้ ใน TMP ร้อยละ 5 ประกาศจา่ ยใหแ้ ก่ผู้ถือหุ้น

23.42 11.56 23.42

บมจ. อติ าเลยี นไทย 127.72 121.47 126.28 จรุงไทยได้รับรายได ้ นายเปรมชัย กรรณสูต ราคาตลาด และเง่ือนไขทางการค้า

ดีเวล๊อปเมนต์ (ITD) จากการขายสนิ ค้าให้ ITD และนางนจิ พร จรณะจติ ต์ ปกตเิ หมอื นกบั การขายใหบ้ คุ คลภายนอก

175.85 129.97 177.61 ITD คา้ งช�ำระคา่ สนิ ค้ากบั จรุงไทย เป็นกรรมการของจรงุ ไทย

54.75 102.42 6.62 จรงุ ไทยจ่ายค่าก่อสร้างอาคาร และถือหนุ้ ใน ITD รวมกนั อย ู่ ราคาตามสญั ญา

โรงงานให้ ITD ร้อยละ 18.54 (รวมครอบครัว)

บริษัท อิตลั ไทย วศิ วกรรม 75.33 40.59 - จรุงไทยไดร้ บั รายไดจ้ ากการ ITE เปน็ บรษิ ัทในเครือ ราคาตลาด และเงอ่ื นไขทางการคา้ ปกติ

จ�ำกดั (ITE) ขายสินคา้ ให้ ITE ของ ITD เหมือนกบั การขายใหบ้ ุคคลภายนอก

33.89 - - ITE คา้ งช�ำระคา่ สนิ คา้

กับ จรงุ ไทย

บรษิ ทั ไอทดี ี หงสา 0.40 1.85 1.61 จรุงไทยได้รับรายได้จากการ ITD Hongsa เปน็ บรษิ ทั ราคาตลาด และเงอ่ื นไขทางการคา้ ปกติ

จ�ำกัด (ITD Hongsa) ขายสินคา้ ให้ ITD Hongsa ในเครอื ของ ITD เหมือนกบั การขายใหบ้ ุคคลภายนอก

กิจการร่วมคา้ 6.70 0.28 - จรุงไทยได้รบั รายได้จากการ ITD-RT เป็นกจิ การรว่ มค้าท่ี ITD ราคาตลาด และเงอ่ื นไขทางการคา้ ปกติ

ไอทดี ี-อาร์ที(ITD-RT) ขายสนิ คา้ ให ้ ITD-RT ถือห้นุ อยู่ร้อยละ 70 เหมอื นกบั การขายใหบ้ ุคคลภายนอก

7.16 - - ITD-RT คา้ งช�ำระคา่ สนิ ค้า

กบั จรุงไทย

กิจการรว่ มคา้ 0.14 - - จรงุ ไทยไดร้ บั รายได้จากการ Italian Thai-NWR และ ITD-NWR ราคาตลาด และเงอื่ นไขทางการคา้ ปกติ

อติ าเลียนไทย-เนาวรตั น์ ขายสินค้าให้ Italian Thai-NWR เป็นกจิ การรว่ มค้าท่ี ITD เหมอื นกบั การขายใหบ้ คุ คลภายนอก

(Italian Thai-NWR) และ ITD-NWR ถือหุ้นอยู่รอ้ ยละ 70

และกิจการรว่ มค้า

ไอทีด-ี เอ็นดบั เบิลยูอาร์

(ITD-NWR)

481.94 396.58 312.12

บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบลิ้ จำ�กัด (มหาชน) 53

ช ือ่ มลู คา่ รายการ (ลา้ นบาท) ลักษณะรายการระหวา่ งกัน ความสัมพันธ ์ นโยบายราคา/เงอ่ื นไข
ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562
ราคาตามสญั ญา เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยส�ำหรบั ผบู้ รหิ าร
บรษิ ัท แปซิฟคิ 2.24 1.90 1.80 ค่าธรรมเนยี มการจัดการทจี่ รุงไทย PEWC ถอื หนุ้ โดยอ้อมใน ของ PEWC ทม่ี าชว่ ยในการบริหารจัดการ
ทจ่ี รุงไทย (มีการท�ำสัญญาระหวา่ งกัน
อีเล็คทริคไวร์ จา่ ยใหก้ ับ PEWC จรุงไทยรวมประมาณร้อยละ 51 และไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากทป่ี ระชมุ คณะกรรมการแลว้ )
ราคาตลาด และเงอื่ นไขทางการค้าปกติ
แอนดเ์ คเบล้ิ จ�ำกดั 0.57 0.47 0.44 จรุงไทยคา้ งช�ำระค่าธรรมเนียม เหมอื นกบั การขายให้บคุ คลภายนอก
ราคาทุนบวกก�ำไรสว่ นเพม่ิ
(PEWC) การจัดการกับ PEWC

132.41 - - จรงุ ไทยได้รับรายได้จากการ

ขายสนิ ค้าใหแ้ ก่ PEWC

บรษิ ัท ซกิ มา่ เคเบ้ลิ 0.24 - 0.17 จรงุ ไทยไดร้ บั รายไดจ้ าก Sigma เปน็ บรษิ ทั ในเครือ

จ�ำกดั (Sigma) การขายสินค้าให้แก่ Sigma ของกลมุ่ PEWC

135.46 2.37 2.41

2. รายการระหว่างบริษทั ยอ่ ย กับบริษทั ท่ีเก่ียวขอ้ ง
ช อ่ื มลู คา่ รายการ (ลา้ นบาท)
ปี 2564 ปี 2563 ปี 2562 ลักษณะรายการระหวา่ งกัน ความสมั พันธ ์ นโยบายราคา/เงือ่ นไข

บรษิ ัท สยามไฟเบอร ์ - 2.17 3.51 SFO ไดร้ ับรายได้จากการ SFO เปน็ บริษทั ย่อยทจี่ รุงไทย ราคาทนุ บวกก�ำไรสว่ นเพ่มิ

ออ๊ พตคิ ส์ จ�ำกัด (SFO) ขายสนิ ค้าใหแ้ ก่ ITD ถือห้นุ อยูร่ ้อยละ 100.00 และ ITD

กับ บมจ.อติ าเลียนไทย เป็นผถู้ ือห้นุ รายใหญ่ใน CTW

ดีเวล๊อปเมนต์ (ITD) โดยถือหนุ้ อยูร่ อ้ ยละ 12.90

1.14 2.32 3.75 ITD คา้ งช�ำระคา่ สินค้า

แก่ SFO

1.14 4.49 7.26

บริษทั สยามแปซฟิ คิ 34.70 0.29 - SPEWC ขายสนิ คา้ ใหแ้ ก่ PEWC SPEWC เป็นบริษัทยอ่ ยทจี่ รงุ ไทย ราคาทนุ บวกก�ำไรสว่ นเพ่ิม

อีเล็คทริคไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ 0.78 - 4.32 SPEWC รับจา้ งผลิตสนิ ค้า ถือหนุ้ ร้อยละ 100 และ PEWC

จ�ำกัด (SPEWC) กบั ใหแ้ ก่ PEWC เป็นบริษัทแมข่ องกลุ่มบริษัทฯ

บริษทั แปซฟิ ิค อเี ลค็ ทรคิ 0.78 - - PEWC คา้ งช�ำระค่ารับจ้าง

ไวร์แอนดเ์ คเบิ้ล ผลติ สนิ ค้ากับ SPEWC

จ�ำกดั (PEWC) 2.31 1.97 1.89 SPEWC จ่ายคา่ ธรรมเนียม ราคาตามสญั ญาทต่ี กลงกนั เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยส�ำหรบั

การจดั การให้แก่ PEWC ผบู้ รหิ ารของ PEWC ท่มี าช่วยในการบรหิ าร

0.51 0.42 0.39 SPEWC คา้ งช�ำระคา่ ธรรมเนยี ม จดั การท ี่ SPEWC (มกี ารท�ำสญั ญาระหวา่ งกนั

การจัดการกับ PEWC และไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากทปี่ ระชมุ คณะกรรมการแลว้ )

บริษัท เซีย่ งไฮ้ เอเซีย 16.00 1.14 7.70 SAP ขายสินค้าและวตั ถดุ ิบให้แก่ SAP เปน็ บริษทั ยอ่ ยทีจ่ รงุ ไทย ราคาตลาดและเงื่อนไขทางการคา้ ปกติ

แปซฟิ ิค อเี ล็คทริค จ�ำกดั PEWC-Shenzhen ถอื ห้นุ ทงั้ โดยตรงและโดยออ้ ม เหมือนกบั ซอื้ ขายกบั บุคคลภายนอก

(SAP) กบั บริษัท แปซฟิ ิค - - 0.66 PEWC-Shenzhen ค้างช�ำระ อยู่รอ้ ยละ 63.68 และ PEWC-

อเี ล็คทรคิ ไวร์แอนด์เคเบล้ิ คา่ วตั ถดุ บิ กบั SAP Shenzhen เป็นบริษทั ในเครอื

(เสิ่นเจิน้ ) จ�ำกดั - 179.17 184.15 SAP ซื้อสนิ คา้ จาก ของกลุ่ม PEWC

(PEWC-Shenzhen) PEWC-Shenzhen

- 66.86 155.93 SAP คา้ งช�ำระค่าสนิ ค้า

กับ PEWC- Shenzhen

- 2.09 2.53 SAP ขายเครือ่ งจกั รใหแ้ ก่ ราคาตลาด

PEWC- Shenzhen

บริษัท เซ่ียงไฮ้ เอเซยี - 0.05 0.07 SAP ได้รับรายไดค้ ่าเชา่ จาก SAP เปน็ บริษัทย่อยทีจ่ รุงไทย ราคาตลาด

แปซฟิ ิค อีเลค็ ทรคิ จ�ำกดั Ningbo ถือหุ้นท้ังโดยตรงและโดยออ้ ม

(SAP) กับ บริษทั หนงิ โป อย่รู อ้ ยละ 63.68 และ Ningbo

อเี ลค็ ทริคไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ เป็นบริษัทในเครอื ของ PEWC

จ�ำกัด (Ningbo)

55.08 251.99 357.64

54 แบบ 56-1 One Report

งบการเงิน

รายงานของผู้สอบบญั ชรี บั อนญุ าต
เสนอต่อผู้ถอื ห้นุ ของบรษิ ัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล จ�ำ กัด (มหาชน)
ความเหน็
ขา้ พเจ้าได้ตรวจสอบงบการเงนิ รวมของบริษัท จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบ้ิล จำ�กัด (มหาชน) และบริษัทย่อย (กลมุ่ บรษิ ัท) ซึง่ ประกอบดว้ ย
งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 งบกำ�ไรขาดทนุ รวม งบก�ำ ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม งบแสดงการเปล่ียนแปลงสว่ นของ
ผถู้ อื หุ้นรวมและงบกระแสเงนิ สดรวม ส�ำ หรับปีสน้ิ สุดวนั เดยี วกนั และหมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ รวม รวมถึงหมายเหตุสรปุ นโยบายการบัญชี
ทสี่ ำ�คญั และได้ตรวจสอบงบการเงินเฉพาะกิจการของบริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบิล้ จ�ำ กดั (มหาชน) ดว้ ยเชน่ กัน
ขา้ พเจา้ เหน็ วา่ งบการเงนิ ขา้ งต้นน้ีแสดงฐานะการเงนิ ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 ผลการด�ำ เนนิ งาน และกระแสเงินสด สำ�หรบั ปสี นิ้ สุด
วนั เดยี วกันของบริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบ้ลิ จำ�กัด (มหาชน) และบรษิ ัทยอ่ ย และเฉพาะของบริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ จ�ำ กดั (มหาชน)
โดยถูกตอ้ งตามท่ีควรในสาระสำ�คญั ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงนิ
เกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ขา้ พเจา้ ไดป้ ฏบิ ตั งิ านตรวจสอบตามมาตรฐานการสอบบญั ชี ความรบั ผดิ ชอบของขา้ พเจา้ ไดก้ ลา่ วไวใ้ นวรรค ความรบั ผดิ ชอบของผสู้ อบบญั ชี
ตอ่ การตรวจสอบงบการเงนิ ในรายงานของขา้ พเจา้ ขา้ พเจา้ มคี วามเปน็ อสิ ระจากกลมุ่ บรษิ ทั ตามขอ้ ก�ำ หนดจรรยาบรรณของผปู้ ระกอบวชิ าชพี บญั ชี
ที่กำ�หนดโดยสภาวิชาชีพบัญชีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบงบการเงิน และข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดด้านจรรยาบรรณอื่นๆ ตามท่ี
ระบุในข้อกำ�หนดน้ันด้วย ข้าพเจ้าเชื่อว่าหลักฐานการสอบบัญชีที่ข้าพเจ้าได้รับเพียงพอและเหมาะสมเพ่ือใช้เป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็น
ของขา้ พเจ้า
เร่ืองส�ำ คญั ในการตรวจสอบ
เรื่องสำ�คัญในการตรวจสอบคือเรื่องต่างๆ ท่ีมีนัยสำ�คัญที่สุดตามดุลยพินิจเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพของข้าพเจ้า ในการตรวจสอบงบการเงิน
สำ�หรับปีปัจจุบัน ข้าพเจ้าได้นำ�เร่ืองเหล่านี้มาพิจารณาในบริบทของการตรวจสอบงบการเงินโดยรวมและในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า
ทั้งนี้ ข้าพเจ้าไม่ได้แสดงความเห็นแยกตา่ งหากส�ำ หรับเรอื่ งเหล่าน้ี
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติงานตามความรับผิดชอบท่ีได้กล่าวไว้ในวรรคความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีต่อการตรวจสอบงบการเงินในรายงานของ
ข้าพเจ้า ซึ่งไดร้ วมความรบั ผิดชอบทีเ่ กี่ยวกับเร่ืองเหล่านี้ดว้ ย การปฏบิ ัตงิ านของขา้ พเจ้า ได้รวมวธิ ีการตรวจสอบทอี่ อกแบบมาเพอ่ื ตอบสนองต่อ
การประเมินความเสี่ยงจากการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ผลของวิธีการตรวจสอบของข้าพเจ้า ซึ่งได้รวม
วธิ ีการตรวจสอบส�ำ หรบั เรอื่ งเหล่าน้ดี ้วย ได้ใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจา้ ต่องบการเงินโดยรวม
เรอ่ื งส�ำ คัญในการตรวจสอบ พร้อมวธิ ีการตรวจสอบมีดงั ต่อไปนี้
การรบั รู้รายได้จากการขายโดยยังไมไ่ ดส้ ง่ มอบสนิ ค้า
ในระหว่างปี 2564 บริษัทฯมีการรับรู้รายได้จากการขายโดยยังไม่ได้ส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าจำ�นวน 449 ล้านบาท เนื่องจากบริษัทฯ
มีการทำ�สัญญาหรือข้อตกลงทางการค้ากับลูกค้าบางรายอย่างรัฐวิสาหกิจขนาดใหญ่ในลักษณะของข้อตกลงท่ีกำ�หนดไว้ล่วงหน้าสำ�หรับการจัดส่ง
สินคา้ ใหต้ ามทีร่ อ้ งขอ ดงั นั้นบัญชดี ังกลา่ ว จงึ ถือเป็นบัญชีท่มี ีความสำ�คัญมากและมีผลกระทบโดยตรงตอ่ ผลการด�ำ เนินงาน
ขา้ พเจา้ ไดป้ ระเมินและทดสอบระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ทเี่ ก่ยี วข้องกับรายการขายสนิ ค้าโดยยังไม่ได้สง่ มอบ โดยการสอบถาม
ผรู้ บั ผดิ ชอบ ทำ�ความเข้าใจและเลือกตัวอย่างมาทดสอบการปฏิบัติตามการควบคมุ ทบ่ี รษิ ัทฯ ออกแบบไว้ ข้าพเจ้าไดอ้ ่านสญั ญาและสอบถาม
ผู้บริหารเพ่อื ท�ำ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับเง่ือนไขพเิ ศษ ของการขายดังกล่าว และตรวจสอบเอกสารหลักฐานตา่ งๆ ที่เกย่ี วขอ้ ง นอกจากน้ันข้าพเจา้
ไดเ้ ขา้ รว่ มสงั เกตการณต์ รวจนบั สนิ คา้ ดงั กลา่ ว และสง่ หนงั สอื ยนื ยนั ยอดรายการขายสนิ คา้ ทย่ี งั ไมไ่ ดส้ ง่ มอบทง้ั มลู คา่ ขายสนิ คา้ ปรมิ าณของสนิ คา้
และเงอื่ นไขในการขายสินคา้ เหลา่ นนั้ กบั ลกู คา้ โดยตรง

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบล้ิ จ�ำ กัด (มหาชน) 55

รายงานของผู้สอบบัญชีรบั อนญุ าต

ข้อมูลอน่ื
ผูบ้ รหิ ารเป็นผู้รบั ผดิ ชอบตอ่ ขอ้ มูลอ่ืน ซึง่ รวมถึงขอ้ มลู ทรี่ วมอยใู่ นรายงานประจ�ำ ปขี องกลมุ่ บริษัท (แตไ่ มร่ วมถึงงบการเงินและรายงานของ
ผ้สู อบบัญชีทแี่ สดงอยู่ในรายงานนน้ั ) ซ่ึงคาดว่าจะถกู จดั เตรยี มใหก้ บั ข้าพเจา้ ภายหลงั วันทใ่ี นรายงานของผสู้ อบบัญชนี ้ี
ความเห็นของข้าพเจ้าต่องบการเงินไม่ครอบคลุมถึงข้อมูลอื่นและข้าพเจ้าไม่ได้ให้ข้อสรุปในลักษณะการให้ความเชื่อม่ันในรูปแบบใดๆ
ต่อข้อมูลอนื่ นน้ั
ความรับผิดชอบของข้าพเจ้าที่เก่ียวเน่ืองกับการตรวจสอบงบการเงินคือ การอ่านและพิจารณาว่าข้อมูลอื่นนั้นมีความขัดแย้งที่มีสาระสำ�คัญ
กบั งบการเงนิ หรอื กบั ความรทู้ ไี่ ดร้ บั จากการตรวจสอบของขา้ พเจา้ หรอื ไม่ หรอื ปรากฏวา่ ขอ้ มลู อนื่ แสดงขดั ตอ่ ขอ้ เทจ็ จรงิ อนั เปน็ สาระส�ำ คญั หรอื ไม่
เม่ือข้าพเจ้าได้อ่านรายงานประจำ�ปีของกลุ่มบริษัทตามที่กล่าวข้างต้นแล้ว และหากสรุปได้ว่ามีการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็น
สาระส�ำ คัญ ข้าพเจา้ จะส่อื สารเรอื่ งดังกลา่ วให้ผ้มู ีหน้าท่ใี นการกำ�กบั ดแู ลทราบเพอ่ื ใหม้ กี ารด�ำ เนนิ การแก้ไขทีเ่ หมาะสมตอ่ ไป
ความรบั ผิดชอบของผู้บริหารและผมู้ หี น้าท่ีในการก�ำ กับดแู ลต่องบการเงิน
ผู้บริหารมีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทำ�และนำ�เสนองบการเงินเหล่าน้ีโดยถูกต้องตามท่ีควรตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และ
รับผิดชอบเกี่ยวกับการควบคุมภายในท่ีผู้บริหารพิจารณาว่าจำ�เป็นเพ่ือให้สามารถจัดทำ�งบการเงินท่ีปราศจากการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริง
อันเปน็ สาระส�ำ คญั ไมว่ ่าจะเกิดจากการทุจรติ หรอื ข้อผดิ พลาด
ในการจดั ท�ำ งบการเงนิ ผบู้ รหิ ารรบั ผดิ ชอบในการประเมนิ ความสามารถของกลมุ่ บรษิ ทั ในการด�ำ เนนิ งานตอ่ เนอื่ ง การเปดิ เผยเรอื่ งทเ่ี กย่ี วกบั
การด�ำ เนนิ งานตอ่ เน่อื งในกรณีทม่ี เี ร่ืองดงั กลา่ ว และการใช้เกณฑก์ ารบญั ชีส�ำ หรบั กจิ การทด่ี �ำ เนนิ งานตอ่ เนอื่ งเวน้ แตผ่ ูบ้ รหิ ารมีความตัง้ ใจทจ่ี ะเลิก
กลมุ่ บรษิ ทั หรอื หยุดด�ำ เนินงานหรือไม่สามารถดำ�เนนิ งานต่อเนือ่ งอกี ตอ่ ไปได้
ผูม้ ีหน้าทใ่ี นการก�ำ กบั ดแู ลมหี นา้ ท่ีในการสอดสอ่ งดูแลกระบวนการในการจดั ท�ำ รายงานทางการเงินของกลุม่ บริษทั
ความรบั ผดิ ชอบของผสู้ อบบญั ชีต่อการตรวจสอบงบการเงนิ
การตรวจสอบของข้าพเจ้ามีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ได้ความเช่ือม่ันอย่างสมเหตุสมผลว่างบการเงินโดยรวมปราศจากการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อ
ขอ้ เท็จจริงอันเปน็ สาระสำ�คญั หรอื ไม่ ไม่วา่ จะเกิดจากการทจุ ริตหรอื ข้อผดิ พลาด และเสนอรายงานของผสู้ อบบัญชีซึง่ รวมความเห็นของขา้ พเจ้า
อยู่ด้วย ความเชื่อมั่นอย่างสมเหตุสมผลคือ ความเช่ือมั่นในระดับสูงแต่ไม่ได้เป็นการรับประกันว่าการปฏิบัติงานตรวจสอบตามมาตรฐาน
การสอบบัญชีจะสามารถตรวจพบข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญที่มีอยู่ได้เสมอไป ข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอาจเกิดจากการทุจริต
หรือข้อผิดพลาดและถือว่ามีสาระสำ�คัญเมื่อคาดการณ์อย่างสมเหตุสมผลได้ว่ารายการที่ขัดต่อข้อเท็จจริงแต่ละรายการหรือทุกรายการรวมกัน
จะมผี ลต่อการตัดสนิ ใจทางเศรษฐกิจของผใู้ ช้งบการเงินจากการใชง้ บการเงนิ เหล่าน้ี
ในการตรวจสอบของข้าพเจ้าตามมาตรฐานการสอบบัญชี ข้าพเจ้าใช้ดุลยพินิจและการสังเกตและสงสัยเย่ียงผู้ประกอบวิชาชีพตลอดการ
ตรวจสอบ และข้าพเจ้าได้ปฏิบตั ิงานดงั ตอ่ ไปนดี้ ว้ ย

• ระบุและประเมินความเสี่ยงที่อาจมีการแสดงข้อมูลท่ีขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญในงบการเงิน ไม่ว่าจะเกิดจากการทุจริตหรือ
ข้อผิดพลาด ออกแบบและปฏิบตั ิงานตามวิธกี ารตรวจสอบเพื่อตอบสนองตอ่ ความเสี่ยงเหล่าน้ัน และได้หลักฐานการสอบบัญชที เี่ พยี งพอ
และเหมาะสมเพ่ือเป็นเกณฑ์ในการแสดงความเห็นของข้าพเจ้า ความเส่ียงที่ไม่พบข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำ�คัญ
ซ่ึงเป็นผลมาจากการทุจริตจะสูงกว่าความเส่ียงท่ีเกิดจากข้อผิดพลาด เนื่องจากการทุจริตอาจเก่ียวกับการสมรู้ร่วมคิด การปลอมแปลง
เอกสารหลักฐาน การต้งั ใจละเว้นการแสดงขอ้ มูล การแสดงข้อมูลท่ีไม่ตรงตามขอ้ เท็จจริงหรือการแทรกแซงการควบคมุ ภายใน

• ทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการควบคุมภายในท่ีเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบ เพื่อออกแบบวิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับสถานการณ์
แต่ไม่ใช่เพ่อื วัตถปุ ระสงค์ในการแสดงความเหน็ ต่อความมปี ระสทิ ธผิ ลของการควบคุมภายในของกลุ่มบรษิ ัท

• ประเมินความเหมาะสมของนโยบายการบัญชีที่ผู้บริหารใช้และความสมเหตุสมผลของประมาณการทางบัญชีและการเปิดเผยข้อมูล
ทีเ่ กีย่ วขอ้ งทผ่ี ูบ้ ริหารจดั ทำ�

56 แบบ 56-1 One Report

รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนญุ าต

• สรปุ เกยี่ วกบั ความเหมาะสมของการใชเ้ กณฑก์ ารบญั ชสี �ำ หรบั กจิ การทดี่ �ำ เนนิ งานตอ่ เนอ่ื งของผบู้ รหิ าร และสรปุ จากหลกั ฐานการสอบบญั ชี
ที่ได้รับว่ามีความไม่แน่นอนที่มีสาระสำ�คัญที่เก่ียวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ท่ีอาจเป็นเหตุให้เกิดข้อสงสัยอย่างมีนัยสำ�คัญต่อ
ความสามารถของกลมุ่ บริษัทในการดำ�เนนิ งานตอ่ เน่ืองหรือไม่ หากขา้ พเจา้ ไดข้ ้อสรปุ วา่ มคี วามไมแ่ น่นอนทีม่ สี าระส�ำ คัญ ข้าพเจ้าจะตอ้ ง
ให้ข้อสังเกตไว้ในรายงานของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้าถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เก่ียวข้องในงบการเงิน หรือหากเห็นว่าการเปิดเผยดังกล่าว
ไมเ่ พียงพอ ขา้ พเจ้าจะแสดงความเห็นท่เี ปลีย่ นแปลงไป ขอ้ สรปุ ของขา้ พเจา้ ขึ้นอย่กู บั หลักฐานการสอบบัญชที ี่ได้รบั จนถึงวนั ทใ่ี นรายงาน
ของผู้สอบบัญชีของข้าพเจ้า อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์หรือสถานการณ์ในอนาคตอาจเป็นเหตุให้กลุ่มบริษัทต้องหยุดการดำ�เนินงาน
ต่อเนื่องได้

• ประเมินการนำ�เสนอ โครงสร้างและเน้ือหาของงบการเงินโดยรวม รวมถึงการเปิดเผยข้อมูลที่เก่ียวข้อง ตลอดจนประเมินว่างบการเงิน
แสดงรายการและเหตุการณท์ เี่ กิดขน้ึ โดยถูกต้องตามทีค่ วรหรอื ไม่

• รวบรวมเอกสารหลักฐานการสอบบัญชีท่ีเหมาะสมอย่างเพียงพอเกี่ยวกับข้อมูลทางการเงินของกิจการหรือของกิจกรรมทางธุรกิจภายใน
กลมุ่ บรษิ ทั เพอ่ื แสดงความเหน็ ตอ่ งบการเงนิ รวม ขา้ พเจา้ รบั ผดิ ชอบตอ่ การก�ำ หนดแนวทาง การควบคมุ ดแู ล และการปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบ
กลุ่มบรษิ ทั ข้าพเจา้ เปน็ ผรู้ ับผิดชอบแตเ่ พียงผู้เดียวต่อความเห็นของข้าพเจา้

ข้าพเจ้าได้ส่ือสารกับผู้มีหน้าท่ีในการกำ�กับดูแลในเร่ืองต่างๆ ซ่ึงรวมถึงขอบเขตและช่วงเวลาของการตรวจสอบตามที่ได้วางแผนไว้
ประเดน็ ทมี่ นี ยั ส�ำ คญั ทพี่ บจากการตรวจสอบรวมถงึ ขอ้ บกพรอ่ งทมี่ นี ยั ส�ำ คญั ในระบบการควบคมุ ภายในหากขา้ พเจา้ ไดพ้ บในระหวา่ งการตรวจสอบ
ของขา้ พเจา้
ข้าพเจ้าได้ให้คำ�รับรองแก่ผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลว่าข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตามข้อกำ�หนดจรรยาบรรณท่ีเก่ียวข้องกับความเป็นอิสระและ
ได้ส่ือสารกับผู้มีหน้าที่ในการกำ�กับดูแลเก่ียวกับความสัมพันธ์ท้ังหมดตลอดจนเร่ืองอ่ืนซึ่งข้าพเจ้าเช่ือว่ามีเหตุผลที่บุคคลภายนอกอาจพิจารณาว่า
กระทบตอ่ ความเปน็ อิสระของขา้ พเจ้าและมาตรการทีข่ า้ พเจา้ ใช้เพอื่ ป้องกนั ไม่ให้ข้าพเจา้ ขาดความเป็นอิสระ
จากเรื่องท้ังหลายท่ีส่ือสารกับผู้มีหน้าท่ีในการกำ�กับดูแล ข้าพเจ้าได้พิจารณาเร่ืองต่างๆ ท่ีมีนัยสำ�คัญท่ีสุดในการตรวจสอบงบการเงิน
ในปีปัจจุบันและก�ำ หนดเป็นเรื่องสำ�คญั ในการตรวจสอบ ข้าพเจา้ ได้อธิบายเรือ่ งเหล่าน้ไี ว้ในรายงานของผู้สอบบญั ชี เวน้ แต่กฎหมายหรือขอ้ บงั คับ
หา้ มไมใ่ ห้เปิดเผยเร่ืองดังกลา่ วตอ่ สาธารณะ หรือในสถานการณ์ทยี่ ากทีจ่ ะเกิดขึ้น ขา้ พเจา้ พิจารณาวา่ ไมค่ วรสือ่ สารเร่อื งดังกลา่ วในรายงานของ
ขา้ พเจา้ เพราะการกระท�ำ ดงั กลา่ วสามารถคาดการณไ์ ดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผลวา่ จะมผี ลกระทบในทางลบมากกวา่ ผลประโยชนท์ ผ่ี มู้ สี ว่ นไดเ้ สยี สาธารณะ
จะไดจ้ ากการสอ่ื สารดงั กลา่ ว
ขา้ พเจ้าเปน็ ผรู้ บั ผิดชอบงานสอบบญั ชีและการนำ�เสนอรายงานฉบับนี้

ศภุ ชัย ปญั ญาวัฒโน
ผสู้ อบบัญชรี ับอนญุ าต เลขทะเบยี น 3930

บริษทั สำ�นกั งาน อวี าย จ�ำ กดั
กรุงเทพฯ: 25 กุมภาพันธ์ 2565

บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบลิ้ จำ�กดั (มหาชน) 57

งบแสดงฐานะการเงิน

บรษิ ัท จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบล้ิ จ�ำกดั (มหาชน) และบรษิ ทั ย่อย งบการเงินรวม (หนว่ ย: บาท)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 2564 2563
งบการเงินเฉพาะกจิ การ
หมายเหต ุ 2564 2563

สินทรพั ย์
สินทรพั ยห์ มนุ เวียน
เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด 995,868,273 927,245,434 635,880,179 603,129,091
ลกู หน้ีการคา้ และลูกหนอ้ี ื่น 7 1,698,433,740 1,216,560,340 900,277,856 663,412,471
สนิ คา้ คงเหลอื 8 1,902,310,590 1,633,456,875 1,212,596,143 1,201,297,112
สนิ ทรัพย์ทางการเงินหมนุ เวยี นอน่ื 9 8,241,304 100,000,000 6,894,858 100,000,000
สนิ ทรัพยห์ มนุ เวียนอืน่ 97,171,544 59,749,582 60,575,613 18,910,229
รวมสนิ ทรพั ย์หมุนเวียน 4,702,025,451 3,937,012,231 2,816,224,649 2,586,748,903
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
สินทรัพย์ทางการเงนิ ไมห่ มุนเวยี นอืน่ 9 202,792,170 169,942,059 97,105,500 67,677,750
เงนิ ใหก้ ยู้ มื ระยะยาวแกบ่ รษิ ัทยอ่ ย 6 - - - -
เงินลงทนุ ในบรษิ ัทยอ่ ย 10 - - 1,128,637,588 1,150,672,751
เงินลงทุนในบริษทั รว่ ม 11 6,677,005 6,454,975 - -
อสังหารมิ ทรัพยเ์ พ่ือการลงทนุ 12 19,107,190 19,227,327 11,022,059 11,022,059
ที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์ 13 1,316,953,741 1,226,433,695 1,049,508,662 926,568,369
สินทรพั ย์ภาษีเงินไดร้ อการตัดบญั ชี 20 185,152,601 78,582,542 169,087,470 58,924,879
สนิ ทรัพย์ไมห่ มุนเวียนอ่ืน 27,217,709 30,772,324 9,321,868 14,436,754
รวมสินทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียน 1,757,900,416 1,531,412,922 2,464,683,147 2,229,302,562
รวมสนิ ทรพั ย์ 6,459,925,867 5,468,425,153 5,280,907,796 4,816,051,465

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นสว่ นหนงึ่ ของงบการเงินน ้ี


58 แบบ 56-1 One Report

งบแสดงฐานะการเงิน (ตอ่ )

บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ จ�ำกัด (มหาชน) และบรษิ ทั ย่อย งบการเงินรวม (หนว่ ย: บาท)
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 2564 2563
งบการเงินเฉพาะกจิ การ
หมายเหตุ 2564 2563

หน้สี นิ และส่วนของผู้ถอื ห้นุ
หนส้ี นิ หมนุ เวียน
เงนิ กูย้ มื ระยะส้ันจากสถาบนั การเงนิ - 36,025,860 - -
เจ้าหนท้ี รัสตร์ ีซีทส ์ 14 1,648,834,933 74,175,559 1,141,181,794 74,175,560
เจ้าหนก้ี ารคา้ และเจา้ หน้ีอืน่ 15 386,469,167 443,684,993 186,227,963 215,781,961
ภาษเี งนิ ได้ค้างจ่าย 14,382,477 26,059,084 - 26,059,084
คา่ เผ่อื ผลขาดทุนจากสัญญาทสี่ ร้างภาระ 16 93,545,101 - 93,545,101 -
หนีส้ ินหมนุ เวยี นอ่ืน 57,963,484 45,476,511 37,300,680 40,109,876
รวมหนี้สนิ หมุนเวียน 2,201,195,162 625,422,007 1,458,255,538 356,126,481
หนี้สนิ ไมห่ มุนเวียน
ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน 17 326,738,114 336,827,548 280,233,349 279,677,663
หน้ีสนิ ไมห่ มุนเวียนอ่นื - - 500,000 500,000
รวมหนส้ี ินไม่หมนุ เวยี น 326,738,114 336,827,548 280,733,349 280,177,663
รวมหนส้ี ิน 2,527,933,276 962,249,555 1,738,988,887 636,304,144
ส่วนของผูถ้ ือหุ้น
ทุนเรอื นหุน้
ทนุ จดทะเบียน
หุ้นสามญั 397,906,284 หนุ้ มูลค่าห้นุ ละ 5 บาท 1,989,531,420 1,989,531,420 1,989,531,420 1,989,531,420
ทนุ ออกจ�ำหนา่ ยและช�ำระเต็มมูลคา่ แลว้
ห้นุ สามญั 397,906,284 หุ้น มลู คา่ หุ้นละ 5 บาท 1,989,531,420 1,989,531,420 1,989,531,420 1,989,531,420
ส่วนเกินมลู ค่าห้นุ สามัญ 1,105,933,696 1,105,933,696 1,105,933,696 1,105,933,696
ส่วนเกนิ ทุนจากการเปล่ียนแปลงสดั ส่วน
การถอื หุ้นในบรษิ ัทย่อย 13,145,139 13,145,139 - -

สว่ นของผมู้ ีสว่ นไดเ้ สียที่ไมม่ อี �ำนาจควบคมุ
ในบริษทั ยอ่ ยท่ีซอื้ ในราคาต่�ำกว่ามูลคา่ ตามบัญชี 9,006,084 12,005,761 - -
ก�ำไรสะสม
จัดสรรแลว้ - ส�ำรองตามกฎหมาย 18 198,953,142 198,953,142 198,953,142 198,953,142
ยงั ไม่ไดจ้ ัดสรร 574,726,412 1,152,842,026 247,500,651 885,329,063
องคป์ ระกอบอืน่ ของสว่ นของผู้ถอื หนุ้ 40,805,414 13,507,570 - -
ส่วนของผถู้ ือหนุ้ ของบริษทั ฯ 3,932,101,307 4,485,918,754 3,541,918,909 4,179,747,321
ส่วนของผู้มสี ว่ นได้เสยี ทไ่ี ม่มีอ�ำนาจควบคุม
ของบริษทั ย่อย (108,716) 20,256,844 - -
รวมส่วนของผ้ถู ือห้นุ 3,931,992,591 4,506,175,598 3,541,918,909 4,179,747,321
รวมหนี้สนิ และสว่ นของผู้ถอื หนุ้ 6,459,925,867 5,468,425,153 5,280,907,796 4,816,051,465

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงนิ เปน็ ส่วนหน่ึงของงบการเงนิ น้ี

บรษิ ทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบลิ้ จ�ำ กดั (มหาชน) 59

งบก�ำ ไรขาดทุน

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ิล จ�ำกดั (มหาชน) และบริษัทยอ่ ย งบการเงนิ รวม (หนว่ ย: บาท)
ส�ำหรบั ปีส้นิ สดุ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 2564 2563
งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
หมายเหต ุ 2564 2563

รายได้
รายได้จากการขาย 6,388,105,293 4,667,752,368 3,055,364,986 2,574,686,118
รายได้อืน่
ก�ำไรจากอัตราแลกเปล่ยี น - 4,038,867 - -
รายไดค้ ่าธรรมเนียมการจัดการ - - 29,481,770 31,905,956
เงนิ ปนั ผลรบั 9, 10 6,640,308 3,375,000 13,357,991 8,868,995
อืน่ ๆ 10,169,129 10,662,536 15,687,527 17,229,727
รวมรายได้ 6,404,914,730 4,685,828,771 3,113,892,274 2,632,690,796
ค่าใชจ้ า่ ย
ต้นทุนขาย 5,985,160,334 4,007,982,382 2,888,182,439 2,016,912,817
คา่ เผ่อื การลดลงของมูลคา่ สนิ คา้ คงเหลอื (โอนกลบั ) 454,553,926 (22,124,984) 458,275,032 (16,238,226)
รวมต้นทนุ ขาย 6,439,714,260 3,985,857,398 3,346,457,471 2,000,674,591
ค่าใชจ้ า่ ยในการขายและจัดจ�ำหนา่ ย 71,648,398 117,015,417 43,711,629 89,601,092
คา่ ใช้จา่ ยในการบรหิ าร 278,495,119 243,803,591 194,007,698 183,583,281
คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื
ค่าเผอ่ื การดอ้ ยคา่ ของเงินลงทุนในบรษิ ทั ยอ่ ย 10 - - 29,535,162 3,423,000
ผลขาดทนุ จากสัญญาทสี่ ร้างภาระ 16 93,545,101 - 93,545,101 -
ค่าเผื่อการดอ้ ยค่าของอาคาร เคร่ืองจักรและอปุ กรณ์
(โอนกลับ) 13 16,895,850 (3,642,142) - -
รวมคา่ ใช้จ่าย 6,900,298,728 4,343,034,264 3,707,257,061 2,277,281,964
ก�ำไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมด�ำเนนิ งาน (495,383,998) 342,794,507 (593,364,787) 355,408,832
สว่ นแบง่ ก�ำไรจากเงนิ ลงทนุ ในบริษทั รว่ ม 11
รายไดท้ างการเงนิ 222,031 1,290,439 - -
ต้นทนุ ทางการเงนิ 2,494,601 25,270,771 1,100,496 3,296,171
ก�ำไร (ขาดทนุ ) ก่อนภาษเี งินได ้ (14,983,898) (8,590,763) (8,058,907) (3,640,377)
ภาษเี งนิ ได ้ 20 (507,651,264) 360,764,954 (600,323,198) 355,064,626
ก�ำไร (ขาดทนุ ) ส�ำหรับป ี 86,889,820 (73,748,830) 116,440,460 (70,256,676)
(420,761,444) 287,016,124 (483,882,738) 284,807,950

การแบง่ ปนั ก�ำไร (ขาดทุน) (403,768,015) 298,717,999 (483,882,738) 284,807,950
สว่ นที่เปน็ ของผู้ถอื หุ้นของบรษิ ัทฯ (16,993,429) (11,701,875)
สว่ นทีเ่ ป็นของผู้มีส่วนได้เสียที่ไมม่ อี �ำนาจควบคมุ (420,761,444) 287,016,124
ของบรษิ ัทยอ่ ย 21
(1.01) 0.75 (1.22) 0.72
ก�ำไรต่อหนุ้
ก�ำไรตอ่ หุ้นขน้ั พื้นฐาน
ก�ำไร (ขาดทนุ ) สว่ นท่เี ป็นของผถู้ ือหนุ้ ของบรษิ ทั ฯ

หมายเหตุประกอบงบการเงินเปน็ ส่วนหน่ึงของงบการเงินน้ี

60 แบบ 56-1 One Report

งบกำ�ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็

บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบลิ้ จ�ำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบการเงินรวม (หนว่ ย: บาท)
ส�ำหรับปีสิน้ สดุ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 2564 2563
งบการเงินเฉพาะกจิ การ
หมายเหตุ 2564 2563

ก�ำไร (ขาดทนุ ) ส�ำหรบั ปี (420,761,444) 287,016,124 (483,882,738) 284,807,950

ก�ำไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อืน่ :
รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในสว่ นของก�ำไร
หรือขาดทนุ ในภายหลัง
ผลตา่ งของอัตราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคา่ งบการเงิน
ที่เป็นเงนิ ตราต่างประเทศ 3,105,948 4,242,806 - -
รายการที่จะถกู บนั ทึกในส่วนของก�ำไรหรอื ขาดทุน 3,105,948 4,242,806 - -
ในภายหลงั
รายการท่จี ะไม่ถูกบนั ทกึ ในส่วนของก�ำไรหรอื ขาดทุน 5,886,962 5,446,212 1,961,600 7,263,868
ในภายหลงั
ผลก�ำไรจากการประมาณการตามหลัก 31,650,111 (55,236,749) 29,427,750 (52,924,500)
คณิตศาสตรป์ ระกนั ภัย 17
ผลก�ำไร (ขาดทนุ ) จากการเปล่ียนแปลง
มูลคา่ ของเงินลงทนุ ในตราสารทนุ ทก่ี �ำหนด
ให้วัดมลู ค่าดว้ ยมูลค่ายตุ ธิ รรมผา่ น
ก�ำไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อน่ื

หกั : ผลกระทบของภาษีเงินได้ 20 (7,507,415) 9,958,107 (6,277,870) 9,132,126
รายการที่จะไม่ถกู บนั ทกึ ในส่วนของก�ำไร 30,029,658 (39,832,430) 25,111,480 (36,528,506)
หรือขาดทนุ ในภายหลัง - สทุ ธจิ ากภาษเี งินได ้ 33,135,606 (35,589,624) 25,111,480 (36,528,506)
ก�ำไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อ่ืนส�ำหรับปี

ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ รวมส�ำหรับปี (387,625,838) 251,426,500 (458,771,258) 248,279,444

การแบ่งปนั ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ รวม
ส่วนทเ่ี ป็นของผู้ถือห้นุ ของบริษัทฯ (371,760,601) 261,587,236 (458,771,258) 248,279,444
ส่วนทีเ่ ปน็ ของผู้มีส่วนไดเ้ สยี ที่ไมม่ อี �ำนาจควบคมุ
ของบรษิ ัทย่อย (15,865,237) (10,160,736) - -
(387,625,838) 251,426,500 (458,771,258) 248,279,444

หมายเหตปุ ระกอบงบการเงินเปน็ ส่วนหนงึ่ ของงบการเงนิ น้ี

บรษิ ัท จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ลิ จ�ำ กัด (มหาชน) 61

62 แบบ 56-1 One Report งบแสดงการเปลีย่ นแปลงส่วนของผ้ถู ือหุ้น

บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบล้ิ จ�ำกดั (มหาชน) และบริษัทย่อย
ส�ำหรับปีสิ้นสดุ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564
(หนว่ ย: บาท)
งบการเงนิ รวม
สว่ นของผู้ถือหุ้นของบริษัทฯ
องคป์ ระกอบอนื่ ของส่วนของผถู้ อื หุ้น
ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสร็จอ่ืน
ก�ำไร (ขาดทนุ )
ส่วนเกนิ ทนุ สว่ นของผ้มู สี ่วน จากการวดั
จากการ ได้เสยี ทไี่ ม่มี ผลต่างจาก มลู คา่ สินทรพั ย์ สว่ นของ
เปล่ยี นแปลง อ�ำนาจควบคมุ ใน การแปลงค่า ทางการเงนิ ทวี่ ดั รวม ผมู้ ีส่วนได้เสยี
ทุนเรอื นห้นุ สดั ส่วน บริษัทยอ่ ยทีซ่ ้ือมาใน งบการเงนิ มลู ค่ายตุ ธิ รรม องคป์ ระกอบอน่ื รวมสว่ น ท่ีไม่ม ี รวม
ทอ่ี อก สว่ นเกนิ มูลค่า เงินลงทุน ราคาต่�ำ (สูง) กวา่ ก�ำไรสะสม ที่เปน็ เงินตรา ผ่านก�ำไรขาดทุน ของ ของผถู้ ือหุ้น อ�ำนาจควบคมุ สว่ นของ
และช�ำระแล้ว หุ้นสามญั ในบริษทั ย่อย มลู ค่าตามบัญช ี จัดสรรแล้ว ยังไมไ่ ดจ้ ดั สรร ตา่ งประเทศ เบด็ เสร็จอ่นื ส่วนของผ้ถู ือห้นุ ของบริษัทฯ ของบริษัทย่อย ผู้ถอื ห้นุ

ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2563 1,989,531,420 1,105,933,696 13,145,139 12,005,761 198,953,142 929,348,017 (10,931,746) 65,927,047 54,995,301 4,303,912,476 30,417,580 4,334,330,056
ก�ำไร (ขาดทุน) ส�ำหรับปี - - - - - 298,717,999 - - - 298,717,999 (11,701,875) 287,016,124
ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อน่ื ส�ำหรบั ปี - - - - - 4,356,969 2,701,667 (44,189,399) (41,487,732) (37,130,763) 1,541,139 (35,589,624)
ก�ำไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จรวมส�ำหรบั ปี - - - - - 303,074,968 2,701,667 (44,189,399) (41,487,732) 261,587,236 (10,160,736) 251,426,500
เงนิ ปันผลจา่ ย (หมายเหตุ 24) - - - - - (79,580,958) - - - (79,580,958) - (79,580,958)
ยอดคงเหลอื ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563 1,989,531,420 1,105,933,696 13,145,139 12,005,761 198,953,142 1,152,842,027 (8,230,079) 21,737,648 13,507,569 4,485,918,754 20,256,844 4,506,175,598

ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 1 มกราคม 2564 1,989,531,420 1,105,933,696 13,145,139 12,005,761 198,953,142 1,152,842,027 (8,230,079) 21,737,648 13,507,569 4,485,918,754 20,256,844 4,506,175,598
ขาดทุนส�ำหรับปี - - - - - (403,768,015) - - - (403,768,015) (16,993,429) (420,761,444)
ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อ่ืนส�ำหรบั ป ี - - - - - 4,709,569 1,977,756 25,320,089 27,297,845 32,007,414 1,128,192 33,135,606
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรับปี - - - - - (399,058,446) 1,977,756 25,320,089 27,297,845 (371,760,601) (15,865,237) (387,625,838)
ซื้อส่วนของผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี ที่ไมม่ ีอ�ำนาจควบคมุ
ของบรษิ ทั ยอ่ ย (หมายเหตุ 10) - - - (2,999,677) - - - - - (2,999,677) (4,500,323) (7,500,000)
เงินปนั ผลจา่ ย (หมายเหตุ 24) - - - - - (179,057,169) - - - (179,057,169) - (179,057,169)
ยอดคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1,989,531,420 1,105,933,696 13,145,139 9,006,084 198,953,142 574,726,412 (6,252,323) 47,057,737 40,805,414 3,932,101,307 (108,716) 3,931,992,591

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เปน็ ส่วนหน่งึ ของงบการเงินน้ี

บรษิ ัท จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบิ้ล จ�ำ กัด (มหาชน) งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผู้ถอื ห้นุ (ต่อ)

บริษัท จรงุ ไทยไวร์แอนดเ์ คเบิล้ จ�ำกดั (มหาชน) และบริษัทยอ่ ย
ส�ำหรบั ปสี ้นิ สดุ วันที่ 31 ธันวาคม 2564
(หนว่ ย: บาท)
งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
องค์ประกอบอนื่ ของสว่ น
ของผู้ถือห้นุ
ก�ำไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อนื่
ก�ำไร (ขาดทนุ )
จากการวดั มูลคา่
สนิ ทรัพยท์ างการเงนิ ท ่ี
ทุนเรอื นหนุ้ ส่วนเกนิ มูลคา่ ก�ำไรสะสม วดั มลู ค่ายุตธิ รรมผ่าน
ท่ีออกและช�ำระแลว้ หนุ้ สามญั จัดสรรแลว้ ยงั ไมไ่ ดจ้ ัดสรร ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อื่น รวม
ยอดคงเหลอื ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2563 1,989,531,420 1,105,933,696 198,953,142 638,148,777 78,481,800 4,011,048,835
ก�ำไรส�ำหรับป ี - - - 284,807,950 - 284,807,950
ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสร็จอื่นส�ำหรบั ปี - - - 5,811,094 (42,339,600) (36,528,506)
ก�ำไรขาดทุนเบด็ เสร็จรวมส�ำหรับปี - - - 290,619,044 (42,339,600) 248,279,444
เงนิ ปนั ผลจ่าย (หมายเหตุ 24) - - - (79,580,958) - (79,580,958)
ยอดคงเหลอื ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 1,989,531,420 1,105,933,696 198,953,142 849,186,863 36,142,200 4,179,747,321

ยอดคงเหลอื ณ วันท่ี 1 มกราคม 2564 1,989,531,420 1,105,933,696 198,953,142 849,186,863 36,142,200 4,179,747,321
ขาดทนุ ส�ำหรับปี - - - (483,882,738) - (483,882,738)
ก�ำไรขาดทนุ เบด็ เสร็จอื่นส�ำหรบั ปี - - - 25,111,480
ก�ำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมส�ำหรบั ปี - - - 1,569,280 23,542,200 (458,771,258)
เงนิ ปันผลจา่ ย (หมายเหตุ 24) - - - (482,313,458) 23,542,200 (179,057,154)
ยอดคงเหลือ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 (179,057,154) 3,541,918,909
1,989,531,420 1,105,933,696 198,953,142 187,816,251 -
59,684,400

63 หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นสว่ นหนง่ึ ของงบการเงนิ น้ี

งบกระแสเงนิ สด

บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบ้ิล จ�ำกดั (มหาชน) และบรษิ ทั ยอ่ ย งบการเงินรวม (หนว่ ย: บาท)
ส�ำหรบั ปสี ิน้ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 2564 2563
งบการเงินเฉพาะกจิ การ
2564 2563

กระแสเงินสดจากกจิ กรรมด�ำเนินงาน 360,764,954 (600,323,198) 355,064,626
ก�ำไร (ขาดทนุ ) กอ่ นภาษ ี (507,651,264)
รายการปรบั กระทบยอดก�ำไร (ขาดทนุ ) ก่อนภาษี
เปน็ เงนิ สดรบั (จา่ ย) จากกิจกรรมด�ำเนนิ งาน
ค่าเสอ่ื มราคาและคา่ ตดั จ�ำหนา่ ย 89,124,758 92,886,869 57,561,715 57,645,798
คา่ เผื่อผลขาดทนุ ดา้ นเครดติ ทค่ี าดว่าจะเกดิ ข้นึ (โอนกลบั ) 1,487,808 (2,607,257) (278,192) (5,252,859)
ตัดจ�ำหนา่ ยหนีส้ ญู - ลูกหน้ีการค้า - 2,926,231 - -
หนสี้ ญู ได้รบั คืน - (2,847,323) - -
คา่ เผอ่ื การลดลงของมลู ค่าสินคา้ คงเหลือ (โอนกลบั ) 454,553,926 (22,124,984) 458,275,032 (16,238,226)
ค่าเผอ่ื ผลขาดทนุ จากสญั ญาท่ีสร้างภาระ 93,545,101 - 93,545,101 -
ค่าเผ่ือการด้อยค่าของเงนิ ลงทุนในบรษิ ัทย่อย - - 29,535,162 3,423,000
ก�ำไรจากการจ�ำหนา่ ยทด่ี นิ อาคารและอุปกรณ ์ (2,983,404) (6,326,484) (358,249) (1,104,665)
คา่ เผ่ือการด้อยคา่ ของอาคาร เครอ่ื งจกั รและอปุ กรณ์ (โอนกลบั ) 16,895,850 (3,642,142) - -
สว่ นแบง่ ก�ำไรจากเงินลงทุนในบรษิ ัทร่วม (222,031) (1,290,439) - -
ส�ำรองผลประโยชน์ระยะยาวของพนกั งาน 20,544,698 22,091,233 17,564,335 18,641,431
ขาดทนุ จากอัตราแลกเปลี่ยนท่ยี งั ไมเ่ กดิ ข้ึนจริง 29,532,395 784,134 26,318,063 279,826
ก�ำไรจากการปรบั มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของเคร่อื งมอื ทางการเงนิ (8,241,304) - (6,894,858) -
รายได้เงนิ ปนั ผล (6,640,308) (3,375,000) (13,357,991) (8,868,995)
รายได้ทางการเงนิ (2,494,601) (25,270,771) (1,100,496) (3,296,171)
ตน้ ทนุ ทางการเงิน 12,571,466 6,424,564 6,990,245 2,586,810
ก�ำไรจากการด�ำเนินงานกอ่ นการเปลีย่ นแปลงในสินทรพั ย์
และหนี้สนิ ด�ำเนินงาน 190,023,090 418,393,585 67,476,669 402,880,575
สนิ ทรัพยด์ �ำเนินงาน (เพ่มิ ข้ึน) ลดลง
ลกู หนีก้ ารคา้ และลูกหน้อี ่ืน (483,692,905) 256,211,767 (236,837,018) 134,715,104
สนิ คา้ คงเหลอื (723,879,645) (49,417,643) (469,574,062) (40,019,790)
สนิ ทรัพยห์ มุนเวียนอืน่ (13,434,926) (26,162,449) (17,639,313) (17,178,167)
หนีส้ นิ ด�ำเนนิ งานเพ่มิ ข้ึน (ลดลง)
เจา้ หนกี้ ารคา้ และเจ้าหนีอ้ ืน่ (59,572,811) 59,953,223 (30,548,689) 88,700,120
ส�ำรองผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนักงาน (24,747,170) (28,446,187) (15,047,049) (24,546,964)
หนส้ี นิ หมนุ เวยี นอืน่ 10,829,285 (2,911,399) (4,434,058) (1,554,250)
เงินสดจาก (ใช้ไปใน) กิจกรรมด�ำเนินงาน (1,104,475,082) 627,620,897 (706,603,520) 542,996,628
จ่ายดอกเบ้ีย (11,781,839) (6,608,764) (6,825,195) (2,613,987)
จ่ายภาษเี งนิ ได้ (62,834,022) (50,026,976) (50,085,156) (48,769,132)
เงินสดสุทธจิ าก (ใช้ไปใน) กจิ กรรมด�ำเนินงาน (1,179,090,943) 570,985,157 (763,513,871) 491,613,509

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ เป็นสว่ นหนึง่ ของงบการเงินน้ี

64 แบบ 56-1 One Report

งบกระแสเงินสด (ตอ่ )

บรษิ ทั จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบิ้ล จ�ำกัด (มหาชน) และบริษทั ยอ่ ย งบการเงนิ รวม (หน่วย: บาท)
ส�ำหรบั ปสี ้ินสุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 2564 2564 2563
งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
2564 2563

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทนุ
เงินฝากธนาคารท่ีมภี าระคำ�้ ประกันลดลง - 75,500,000 - -
เงนิ สดรับจากดอกเบีย้ 2,744,828 25,736,387 1,350,320 3,304,203
เงนิ สดจ่ายเพื่อซือ้ เงินลงทนุ ในบรษิ ทั ย่อย - - (7,500,000) -
เงินปนั ผลรบั จากเงนิ ลงทุนในบรษิ ัทยอ่ ย - - 9,982,991 5,493,995
เงินปนั ผลรบั จากเงินลงทนุ ในบริษทั ท่เี กี่ยวข้องกัน 6,640,308 3,375,000 3,375,000 3,375,000
สินทรัพยท์ างการเงินหมนุ เวยี นอืน่ (เพม่ิ ขึน้ ) ลดลง 100,000,000 (100,000,000) 100,000,000 (100,000,000)
สนิ ทรัพยท์ างการเงนิ ไมห่ มนุ เวยี นอืน่ เพิ่มขึ้น (1,200,000) (19,000,000) - -
ซือ้ ที่ดนิ อาคารและอปุ กรณ์ (194,462,010) (331,073,931) (168,908,486) (296,293,604)
เงินสดรับจากการจ�ำหน่ายที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ 16,291,837 11,921,042 452,067 2,002,334
เงินจ่ายลว่ งหน้าค่าซือ้ เครือ่ งจกั รและอุปกรณ ์ (1,060,519) (11,180,550) (859,519) (11,078,550)
สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มนุ เวียนอนื่ เพม่ิ ข้ึน (6,265,436) (2,719,072) (5,712,934) (1,706,210)
เงนิ สดสุทธใิ ช้ไปในกจิ กรรมลงทนุ (77,310,992) (347,441,124) (67,820,561) (394,902,832)
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจดั หาเงิน
เงนิ สดจา่ ยซอื้ ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี ท่ไี มม่ อี �ำนาจควบคุมของบรษิ ัทยอ่ ย (7,500,000) - - -
เงนิ กยู้ ืมระยะส้ันจากสถาบันการเงินลดลง (36,025,860) (17,476,420) - -
เจา้ หนท้ี รัสต์รีซีทส์เพมิ่ ข้นึ (ลดลง) 1,548,558,403 (86,920,573) 1,043,464,532 (13,651,627)
จ่ายเงนิ ปนั ผล (177,432,301) (78,986,349) (177,432,292) (78,986,344)
เงนิ สดสทุ ธิจาก (ใชไ้ ปใน) กจิ กรรมจดั หาเงนิ 1,327,600,242 (183,383,342) 866,032,240 (92,637,971)
ผลตา่ งจากการแปลงค่างบการเงิน
เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสดเพม่ิ ข้ึนสุทธ ิ (821,807) 1,741,303 - -
ขาดทนุ จากอตั ราแลกเปล่ยี นทย่ี งั ไม่เกิดขึ้นจริง 70,376,500 41,901,994 34,697,808 4,072,706

ส�ำหรับเงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด (1,753,661) (107,534) (1,946,720) -
เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงินสดต้นป ี 927,245,434 885,450,974 603,129,091 599,056,385
เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงนิ สดปลายป ี 995,868,273 927,245,434 635,880,179 603,129,091

ข้อมลู กระแสเงนิ สดเปิดเผยเพิม่ เตมิ :- 11,180,550 65,774,148 11,078,550 54,448,156
รายการท่ไี มใ่ ช่เงนิ สด
เงินจ่ายลว่ งหนา้ คา่ สนิ ทรัพย์ถาวร - 2,892,703 - -
รบั ช�ำระหน้จี ากลกู หนีก้ ารคา้ โดยการรบั โอน
อสงั หาริมทรัพย์เพอ่ื การลงทุน

หมายเหตุประกอบงบการเงินเป็นสว่ นหนึ่งของงบการเงินน้ี

บรษิ ทั จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบ้ิล จ�ำ กัด (มหาชน) 65

หมายเหตุประกอบงบการเงนิ รวม

บรษิ ัท จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ลิ จ�ำ กดั (มหาชน) และบรษิ ัทย่อย
ส�ำ หรบั ปสี ้นิ สุดวันท่ี 31 ธนั วาคม 2564

1. ขอ้ มูลท่วั ไป

บริษัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบิ้ล จำ�กัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) เป็นบริษัทมหาชนซ่ึงจัดต้ังและมีภูมิลำ�เนาในประเทศไทย โดยมีบริษัท
แปซฟิ คิ อเี ลค็ ทรคิ ไวรแ์ อนดเ์ คเบลิ้ จ�ำ กดั ซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ทจี่ ดทะเบยี นจดั ตงั้ ในประเทศไตห้ วนั เปน็ บรษิ ทั ใหญข่ องกลมุ่ บรษิ ทั ธรุ กจิ หลกั ของบรษิ ทั ฯ
คอื การผลิตและจ�ำ หนา่ ยสายไฟฟา้ สายเคเบ้ลิ และสายโทรศัพท์ ทีอ่ ยู่ตามที่จดทะเบียนของบริษทั ฯอยู่ท่ี 589/71 อาคารเซน็ ทรลั ซิตี้ทาวเวอร์
ชน้ั ที่ 12 เอ ถนนเทพรัตน แขวงบางนาเหนอื เขตบางนา กรุงเทพมหานคร

2. เกณฑ์ในการจดั ทำ�งบการเงนิ
2.1 งบการเงินนี้จัดทำ�ขึ้นตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีก�ำ หนดในพระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการ
ในงบการเงินตามข้อกำ�หนดในประกาศกรมพฒั นาธุรกจิ การคา้ ออกตามความในพระราชบัญญัติการบญั ชี พ.ศ. 2543
งบการเงินฉบับภาษาไทยเป็นงบการเงินฉบับที่บริษัทฯ ใช้เป็นทางการตามกฎหมาย งบการเงินฉบับภาษาอังกฤษแปลจากงบการเงิน
ฉบับภาษาไทยน้ี
งบการเงินนี้ได้จดั ทำ�ขึ้นโดยใชเ้ กณฑ์ราคาทนุ เดมิ เวน้ แตจ่ ะได้เปดิ เผยเปน็ อยา่ งอ่ืนในนโยบายการบัญชี
2.2 เกณฑ์ในการจดั ท�ำ งบการเงนิ รวม
ก) งบการเงนิ รวมนไี้ ดจ้ ดั ท�ำ ขนึ้ โดยรวมงบการเงนิ ของบรษิ ทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบลิ้ จ�ำ กดั (มหาชน) (ซงึ่ ตอ่ ไปนเี้ รยี กวา่ “บรษิ ทั ฯ”)
และบริษทั ย่อย (ซึ่งตอ่ ไปนี้เรยี กว่า “บรษิ ัทย่อย”) (รวมเรยี กวา่ “กลมุ่ บริษทั ”) ดังต่อไปนี้
จัดต้ังขน้ึ ใน อตั ราร้อยละ
ชื่อบริษัท ลกั ษณะธุรกจิ ประเทศ ของการถอื หุ้น
2564 2563
ร้อยละ รอ้ ยละ
บริษัท ซที ดี บั บลิว เบต้า จ�ำ กดั ธรุ กจิ ร่วมลงทนุ ไทย 100 100
บรษิ ทั สยาม ไฟเบอร์ อ๊อพตคิ ส์ จ�ำ กดั ผลติ และจ�ำ หน่ายสายเคเบ้ิลใยแกว้ น�ำ แสง ไทย 100 90
บริษทั สยาม แปซฟิ ิค อีเล็คทรคิ ผลติ และจ�ำ หน่ายสายเคเบ้ลิ สายโทรศัพท์ ไทย 100 100
ไวร์ แอนด์ เคเบ้ลิ จ�ำ กัด สายไฟฟ้า และลวดอาบน้�ำ ยาและไมอ่ าบน้�ำ ยา
บริษัท เซี่ยงไฮ้ เอเซยี แปซิฟคิ อีเลค็ ทริค จ�ำ กัด จ�ำ หน่ายลวดทองแดงอาบน�้ำ ยา จนี 64 64
(ถอื หนุ้ โดยบริษทั ยอ่ ยร้อยละ 54)
บรษิ ัท ดับเบลิ ดี เคเบ้ิล จำ�กดั ผลติ และจำ�หน่ายสายเคเบล้ิ ไทย 100 100
และให้บริการหลอมวตั ถุดบิ

ข) บรษิ ทั ฯ จะถอื วา่ มกี ารควบคมุ กจิ การทเี่ ขา้ ไปลงทนุ หรอื บรษิ ทั ยอ่ ยได้ หากบรษิ ทั ฯ มสี ทิ ธไิ ดร้ บั หรอื มสี ว่ นไดเ้ สยี ในผลตอบแทนของ
กจิ การทเี่ ขา้ ไปลงทนุ และสามารถใชอ้ �ำ นาจในการสง่ั การกจิ กรรมทส่ี ง่ ผลกระทบอยา่ งมนี ยั ส�ำ คญั ตอ่ จ�ำ นวนเงนิ ผลตอบแทนนน้ั ได้
ค) บรษิ ทั ฯ น�ำ งบการเงนิ ของบรษิ ทั ยอ่ ยมารวมในการจดั ท�ำ งบการเงนิ รวมตง้ั แตว่ นั ทบี่ รษิ ทั ฯ มอี �ำ นาจในการควบคมุ บรษิ ทั ยอ่ ยจนถงึ
วนั ทบ่ี รษิ ัทฯ สิน้ สุดการควบคมุ บริษทั ย่อยน้นั
ง) งบการเงนิ ของบรษิ ัทยอ่ ยได้จดั ทำ�ขึ้นโดยใชน้ โยบายการบญั ชีทีส่ ำ�คัญเช่นเดยี วกันกบั ของบริษทั ฯ
จ) สินทรัพย์และหนี้สินตามงบการเงินของบริษัทย่อยซึ่งจัดต้ังในต่างประเทศแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปล่ียน
ณ วันส้ินรอบระยะเวลารายงาน ส่วนรายได้และค่าใช้จ่ายแปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใช้อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉล่ียรายเดือน
ผลต่างซ่ึงเกิดข้ึนจากการแปลงค่าดังกล่าวแสดงไว้เป็นรายการ “ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินที่เป็นเงินตราต่างประเทศ”
ในงบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผถู้ ือหุน้
ฉ) ยอดคงคา้ งระหว่างกลุ่มบริษทั รายการคา้ ระหวา่ งกนั ที่มีสาระส�ำ คญั ได้ถูกตดั ออกจากงบการเงินรวมน้แี ล้ว

66 แบบ 56-1 One Report

ช) ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มีอำ�นาจควบคุม คือ จำ�นวนกำ�ไรหรือขาดทุนและสินทรัพย์สุทธิของบริษัทย่อยส่วนท่ีไม่ได้เป็น
ของบรษิ ทั ฯ และแสดงเปน็ รายการแยกตา่ งหากในสว่ นของก�ำ ไรหรอื ขาดทนุ รวมและสว่ นของผถู้ อื หนุ้ ในงบแสดงฐานะการเงนิ รวม
2.3 บริษทั ฯ จดั ท�ำ งบการเงนิ เฉพาะกิจการโดยแสดงเงินลงทุนในบรษิ ัทยอ่ ย และบริษัทรว่ มตามวธิ รี าคาทุน

3. มาตรฐานการรายงานทางการเงินใหม่

3.1 มาตรฐานการรายงานทางการเงินท่เี ริม่ มผี ลบงั คับใช้ในปปี จั จบุ นั
ในระหว่างปี กลุ่มบริษัทได้นำ�มาตรฐานการรายงานทางการเงินและการตีความมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุง
จำ�นวนหลายฉบบั ซึง่ มผี ลบงั คบั ใช้ส�ำ หรบั งบการเงินท่ีมรี อบระยะเวลาบัญชีทเี่ รมิ่ ในหรอื หลังวันที่ 1 มกราคม 2564 มาถอื ปฏิบัติ มาตรฐาน
การรายงานทางการเงินดังกล่าวได้รับการปรับปรุงหรือจัดให้มีข้ึนเพ่ือให้มีเน้ือหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ
โดยส่วนใหญ่เป็นการอธิบายให้ชัดเจนเกีย่ วกับวธิ ีปฏิบัติทางการบัญชแี ละการให้แนวปฏบิ ตั ทิ างการบญั ชกี บั ผู้ใช้มาตรฐาน
การน�ำ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ดงั กลา่ วมาถือปฏบิ ตั ินไี้ มม่ ผี ลกระทบอยา่ งเปน็ สาระส�ำ คญั ตอ่ งบการเงินของกล่มุ บรษิ ทั
3.2 มาตรฐานการรายงานทางการเงินท่ีจะมีผลบังคับใช้สำ�หรับงบการเงินท่ีมีรอบระยะเวลาบัญชีที่เร่ิมในหรือหลัง
วันท่ี 1 มกราคม 2565
สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับปรับปรุงหลายฉบับ ซ่ึงจะมีผลบังคับใช้สำ�หรับงบการเงินที่มี
รอบระยะเวลาบญั ชที เ่ี รมิ่ ในหรอื หลงั วันท่ี 1 มกราคม 2565 มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ดังกลา่ วไดร้ บั การปรับปรงุ หรือจดั ให้มขี ึ้นเพ่ือให้มี
เน้ือหาเท่าเทียมกับมาตรฐานการรายงานทางการเงินระหว่างประเทศ โดยส่วนใหญ่เป็นการอธิบายให้ชัดเจนเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติทางการบัญชีและ
มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ บางฉบบั มีการใหข้ ้อผอ่ นปรนในทางปฏบิ ัตหิ รือขอ้ ยกเว้นช่วั คราวกบั ผู้ใชม้ าตรฐาน
ฝ่ายบริหารของกล่มุ บรษิ ทั เชอ่ื วา่ การปรับปรงุ มาตรฐานนจ้ี ะไมม่ ีผลกระทบอยา่ งเปน็ สาระสำ�คัญต่องบการเงนิ ของกลมุ่ บริษัท

4. นโยบายการบัญชที ่ีส�ำ คัญ

4.1 การรับรรู้ ายไดแ้ ละคา่ ใช้จา่ ย
ขายสินคา้
รายไดจ้ ากการขายสินคา้ รับรเู้ มอื่ กลุ่มบรษิ ทั ได้โอนอำ�นาจควบคมุ ในสนิ ค้าให้แก่ลูกคา้ แล้ว กลา่ วคือ เม่ือมีการสง่ มอบสินคา้ รายได้
จากการขายแสดงตามมูลค่าที่ได้รับหรือคาดว่าจะได้รับสำ�หรับสินค้าท่ีได้ส่งมอบหลังจากหักประมาณการสินค้ารับคืนและส่วนลด โดยไม่รวม
ภาษีมลู คา่ เพิม่
ขายสนิ ค้าโดยยังไมส่ ง่ มอบสินค้า
กลุ่มบริษัทรับรู้รายได้จากการขายสินค้าโดยยังไม่ส่งมอบเนื่องจากเป็นความประสงค์ของผู้ซื้อเม่ือผู้ซ้ือได้รับโอนอำ�นาจควบคุมใน
สินค้าน้ันแล้ว และยอมรับหน้ีตามเงื่อนไขการชำ�ระเงินตามปกติ โดยสินค้าที่ขายไปแล้วน้ันอยู่ในความครอบครองของกลุ่มบริษัทซ่ึงกลุ่มบริษัท
ได้ระบุไว้แล้วอย่างชัดเจน และสินค้าน้ันพร้อมท่ีจะส่งมอบให้ผู้ซ้ือ ณ เวลาท่ีมีการรับรู้รายได้ และมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัท
จะสง่ สนิ ค้าใหผ้ ู้ซ้ือ
รายได้จากการขายสินคา้ โดยยงั ไมส่ ่งมอบแสดงมูลคา่ ตามราคาในใบกำ�กบั สินคา้ โดยไมร่ วมภาษีมลู ค่าเพม่ิ หลังจากหกั ส่วนลดแล้ว
รายไดท้ างการเงิน
รายได้ทางการเงินรับรู้ตามเกณฑ์คงค้างด้วยวิธีดอกเบ้ียที่แท้จริง โดยจะนำ�มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ทางการเงินสุทธิจาก
คา่ เผือ่ ผลขาดทนุ ดา้ นเครดิตท่ีคาดว่าจะเกิดขนึ้ (ถา้ มี) มาคูณกบั อตั ราดอกเบี้ยทแี่ ท้จริง
ต้นทนุ ทางการเงนิ
คา่ ใชจ้ า่ ยดอกเบย้ี จากหนส้ี นิ ทางการเงนิ ทว่ี ดั มลู คา่ ดว้ ยราคาทนุ ตดั จ�ำ หนา่ ยค�ำ นวณโดยใชว้ ธิ ดี อกเบย้ี ทแ่ี ทจ้ รงิ และรบั รตู้ ามเกณฑค์ งคา้ ง
เงินปันผลรบั
เงินปันผลรับถอื เป็นรายได้เมื่อกลมุ่ บริษัทมีสทิ ธใิ นการรับเงินปันผล

บริษทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบล้ิ จ�ำ กัด (มหาชน) 67

4.2 เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด
เงนิ สดและรายการเทียบเท่าเงินสด หมายถึง เงนิ สดและเงินฝากธนาคาร และเงนิ ลงทุนระยะส้นั ทีม่ สี ภาพคลอ่ งสูง ซง่ึ ถึงกำ�หนด
จา่ ยคนื ภายในระยะเวลาไม่เกนิ 3 เดอื นนบั จากวนั ทไ่ี ด้มาและไม่มีข้อจ�ำ กัดในการเบกิ ใช้

4.3 สนิ คา้ คงเหลอื
สินค้าสำ�เร็จรูปและสินค้าระหว่างผลิตแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉล่ียหรือมูลค่าสุทธิที่จะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะตำ่�กว่า และ
ประกอบด้วยตน้ ทุนวตั ถุดบิ แรงงานและคา่ โสหยุ้ ในการผลิต
วัตถุดิบและวัสดุโรงงานแสดงมูลค่าตามราคาทุนถัวเฉล่ียหรือมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับแล้วแต่ราคาใดจะต�ำ่ กว่า และจะถือเป็นส่วนหนึ่ง
ของตน้ ทนุ การผลติ เมอื่ มกี ารเบกิ ใช้

4.4 เงนิ ลงทุนในบริษัทย่อยและบรษิ ทั รว่ ม
เงนิ ลงทุนในบรษิ ัทร่วมทแี่ สดงอยู่ในงบการเงินรวมแสดงมลู คา่ ตามวธิ ีสว่ นไดเ้ สยี
เงนิ ลงทนุ ในบรษิ ทั ยอ่ ยและบรษิ ทั รว่ มทแ่ี สดงอยใู่ นงบการเงนิ เฉพาะกจิ การแสดงมลู คา่ ตามวธิ รี าคาทนุ สทุ ธจิ ากคา่ เผอ่ื การดอ้ ยคา่ (ถา้ ม)ี

4.5 อสงั หารมิ ทรัพยเ์ พื่อการลงทุน
กลุ่มบริษัทบันทึกมูลค่าเริ่มแรกของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนในราคาทุนซึ่งรวมต้นทุนการทำ�รายการ หลังจากน้ัน กลุ่มบริษัท
จะบนั ทกึ อสังหาริมทรัพยเ์ พ่อื การลงทนุ ด้วยราคาทนุ หักคา่ เสอ่ื มราคาสะสมและค่าเผ่อื การดอ้ ยค่า (ถา้ มี)
คา่ เสอ่ื มราคาของอาคารทพ่ี กั อาศยั และอาคารส�ำ นกั งานใหเ้ ชา่ ค�ำ นวณจากราคาทนุ โดยวธิ เี สน้ ตรงตามอายกุ ารใหป้ ระโยชนโ์ ดยประมาณ
20 ปี ค่าเส่ือมราคารวมอยใู่ นสว่ นของกำ�ไรหรือขาดทุน
ไม่มกี ารคิดค่าเสอ่ื มราคาสำ�หรับทีด่ ินทไ่ี มไ่ ด้ใช้ในการด�ำ เนนิ งาน
กลุ่มบริษัทรับรู้ผลต่างระหว่างจำ�นวนเงินที่ได้รับสุทธิจากการจำ�หน่ายกับมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน
ในปที ี่ตัดรายการอสงั หาริมทรัพยเ์ พือ่ การลงทุนออกจากบัญชี

4.6 ที่ดนิ อาคารและอุปกรณ์ และค่าเส่อื มราคา
ทดี่ นิ แสดงมลู คา่ ตามราคาทนุ อาคารและอปุ กรณแ์ สดงมลู คา่ ตามราคาทนุ หกั คา่ เสอื่ มราคาสะสม และคา่ เผอื่ การดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ย์
(ถ้าม)ี
ค่าเส่ือมราคาของอาคารและอุปกรณ์ค�ำ นวณจากราคาทุนของสินทรพั ยโ์ ดยวธิ ีเส้นตรงตามอายกุ ารให้ประโยชน์โดยประมาณดังนี้
อาคาร 20 - 25 ปี
สง่ิ ปรบั ปรุงอาคาร 5 - 20 ปี
เครื่องจักรและอปุ กรณ์ 5 - 20 ปี
เครอื่ งตกแตง่ และเครอื่ งใช้ส�ำ นกั งาน 3 - 20 ปี
ยานพาหนะ 5 - 10 ปี
คา่ เส่ือมราคารวมอยใู่ นส่วนของก�ำ ไรหรอื ขาดทุน
ไม่มกี ารคิดค่าเสอ่ื มราคาส�ำ หรับท่ดี นิ และสินทรพั ย์ระหว่างตดิ ตัง้ และก่อสร้าง
กลุม่ บริษทั ตดั รายการทด่ี ิน อาคารและอุปกรณ์ ออกจากบัญชี เมือ่ จำ�หน่ายสินทรพั ยห์ รอื คาดวา่ จะไมไ่ ด้รบั ประโยชน์เชงิ เศรษฐกิจ
ในอนาคตจากการใช้หรือการจำ�หน่ายสินทรัพย์ รายการผลกำ�ไรหรือขาดทุนจากการจำ�หน่ายสินทรัพย์จะรับรู้ในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน
เมือ่ กลุม่ บริษทั ตดั รายการสินทรัพยน์ ัน้ ออกจากบญั ชี

4.7 สญั ญาเช่า
กลุ่มบริษัทจะบันทกึ สินทรพั ย์สทิ ธกิ ารใชแ้ ละหนีส้ ินตามสญั ญาเชา่ สำ�หรบั สญั ญาเช่าทุกสัญญา ณ วันที่สนิ ทรพั ย์ที่เช่าพรอ้ มใชง้ าน
(วนั ทสี่ ญั ญาเชา่ เรมิ่ มผี ล) ยกเวน้ สญั ญาเชา่ ทม่ี อี ายไุ มเ่ กนิ 12 เดอื น หรอื สญั ญาเชา่ สนิ ทรพั ยท์ ม่ี มี ลู คา่ ต�ำ่ กลมุ่ บรษิ ทั จะบนั ทกึ คา่ เชา่ เปน็ คา่ ใชจ้ า่ ย
ตามวธิ ีเส้นตรงตลอดอายุสัญญาเช่า

68 แบบ 56-1 One Report

สินทรัพย์สิทธกิ ารใช้
สินทรพั ยส์ ทิ ธิการใช้วดั มูลคา่ ดว้ ยราคาทุนหกั คา่ เสอื่ มราคาสะสม คา่ เผื่อผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรพั ย์ และปรบั ปรุงดว้ ย
การวัดมูลค่าของหนี้สินตามสัญญาเช่าใหม่ (ถ้ามี) ราคาทุนของสินทรัพย์สิทธิการใช้ประกอบด้วยจำ�นวนเงินของหน้ีสินตามสัญญาเช่าจากการ
วัดมูลคา่ เร่ิมแรก ตน้ ทนุ ทางตรงเร่มิ แรก และจ�ำ นวนเงนิ ท่ีจา่ ยชำ�ระในวนั ทห่ี รือกอ่ นวันท่ีสญั ญาเช่าเรม่ิ มผี ล
ค่าเส่ือมราคาของสินทรัพย์สิทธิการใช้คำ�นวณจากราคาทุนโดยวิธีเส้นตรงตามอายุสัญญาเช่าหรืออายุการให้ประโยชน์โดยประมาณ
ของสินทรพั ยส์ ทิ ธิการใช้แล้วแตร่ ะยะเวลาใดจะสัน้ กวา่ หากมกี ารโอนความเปน็ เจา้ ของในสนิ ทรัพยท์ ่ีเช่าให้แกก่ ล่มุ บรษิ ทั เม่ือสนิ้ สุดอายสุ ัญญาเชา่
สินทรัพย์สิทธิการใช้ที่จัดประเภทเป็นอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนแสดงรวมเป็นส่วนหนึ่งของอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนใน
งบแสดงฐานะการเงนิ
หนี้สนิ ตามสญั ญาเช่า
หนส้ี นิ ตามสญั ญาเชา่ วดั มลู คา่ ดว้ ยมลู คา่ ปจั จบุ นั ของจ�ำ นวนเงนิ ทต่ี อ้ งจา่ ยตามสญั ญาเชา่ ตลอดอายสุ ญั ญาเชา่ คดิ ลดดว้ ยอตั ราดอกเบย้ี
ตามนยั ของสญั ญาเชา่ หรอื อตั ราดอกเบย้ี การกยู้ มื สว่ นเพม่ิ ของกลมุ่ บรษิ ทั หลงั จากวนั ทส่ี ญั ญาเชา่ เรม่ิ มผี ล มลู คา่ ตามบญั ชขี องหนส้ี นิ ตามสญั ญาเชา่
จะเพ่ิมขึ้นจากดอกเบี้ยของหนี้สนิ ตามสญั ญาเช่าและลดลงจากการจ่ายชำ�ระหนี้สนิ ตามสัญญาเช่า และจะถกู วัดมูลค่าใหมเ่ มอื่ มีการเปล่ยี นแปลง
ในสญั ญาเชา่
4.8 รายการธรุ กิจกับบุคคลหรอื กจิ การท่ีเก่ยี วขอ้ งกัน
บุคคลหรอื กิจการทีเ่ กยี่ วขอ้ งกนั กบั กลุ่มบริษทั หมายถงึ บคุ คลหรอื กจิ การท่ีมีอำ�นาจควบคมุ กลุ่มบริษทั หรือถูกกลุ่มบริษัทควบคมุ
ไม่ว่าจะเปน็ โดยทางตรงหรอื ทางอ้อม หรืออย่ภู ายใต้การควบคมุ เดยี วกันกับกลุ่มบริษัท
นอกจากนบ้ี คุ คลหรอื กจิ การทเี่ กย่ี วขอ้ งกนั ยงั หมายรวมถงึ บรษิ ทั รว่ ม และบคุ คลหรอื กจิ การทม่ี สี ทิ ธอิ อกเสยี งโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม
ซงึ่ ท�ำ ให้มอี ทิ ธิพลอย่างเปน็ สาระส�ำ คัญต่อกลมุ่ บรษิ ทั ผบู้ ริหารสำ�คญั กรรมการหรือพนกั งานของกลมุ่ บรษิ ัททม่ี ีอำ�นาจในการวางแผนและควบคุม
การดำ�เนินงานของกลุ่มบรษิ ทั
4.9 เงินตราต่างประเทศ
บริษัทฯ แสดงงบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการเป็นสกุลเงินบาท ซ่ึงเป็นสกุลเงินท่ีใช้ในการดำ�เนินงานของบริษัทฯ
รายการต่างๆ ของแต่ละกิจการท่รี วมอยใู่ นงบการเงนิ รวมวดั มลู คา่ ด้วยสกุลเงินทีใ่ ชใ้ นการด�ำ เนนิ งานของแต่ละกิจการน้นั
รายการท่ีเป็นเงนิ ตราต่างประเทศแปลงคา่ เป็นเงนิ บาทโดยใชอ้ ตั ราแลกเปลีย่ น ณ วันท่เี กิดรายการ สินทรัพย์และหนี้สนิ ที่เป็นตวั เงนิ
ซึ่งอยูใ่ นสกลุ เงนิ ตราตา่ งประเทศไดแ้ ปลงค่าเป็นเงินบาทโดยใชอ้ ตั ราแลกเปลี่ยน ณ วันสนิ้ รอบระยะเวลารายงาน
กาํ ไรและขาดทนุ ทเ่ี กิดจากการเปล่ียนแปลงในอัตราแลกเปล่ยี นได้รวมอยใู่ นส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน
4.10 การดอ้ ยคา่ ของสนิ ทรพั ย์ท่ี ไม่ใชส่ นิ ทรพั ยท์ างการเงนิ
ทุกวันส้ินรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริษัทจะทำ�การประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ ซึ่งประกอบด้วยที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
สินทรัพย์สิทธิการใช้ และอสังหาริมทรัพย์เพ่ือการลงทุนของกลุ่มบริษัทหากมีข้อบ่งชี้ว่าสินทรัพย์ดังกล่าวอาจด้อยค่า กลุ่มบริษัทรับรู้ขาดทุน
จากการดอ้ ยคา่ เมอื่ มลู คา่ ทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั คนื ของสนิ ทรพั ยม์ มี ลู คา่ ต�่ำ กวา่ มลู คา่ ตามบญั ชขี องสนิ ทรพั ยน์ น้ั ทงั้ นมี้ ลู คา่ ทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั คนื หมายถงึ
มูลคา่ ยุตธิ รรมหกั ตน้ ทนุ ในการขายของสินทรพั ยห์ รือมลู คา่ จากการใช้สนิ ทรพั ย์แลว้ แต่ราคาใดจะสงู กวา่
กลมุ่ บรษิ ัทจะรบั รู้รายการขาดทุนจากการดอ้ ยคา่ ในสว่ นของก�ำ ไรหรือขาดทนุ
หากในการประเมินการด้อยค่าของสินทรัพย์ มีข้อบ่งช้ีที่แสดงให้เห็นว่าผลขาดทุนจากการด้อยค่าของสินทรัพย์ท่ีรับรู้ในงวดก่อน
ได้หมดไปหรือลดลง กลุ่มบริษัทจะประมาณมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนของสินทรัพย์นั้น และจะกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าท่ีรับรู้ใน
งวดก่อนก็ต่อเมื่อมีการเปล่ียนแปลงประมาณการท่ีใช้กำ�หนดมูลค่าท่ีคาดว่าจะได้รับคืนภายหลังจากการรับรู้ผลขาดทุนจากการด้อยค่าคร้ังล่าสุด
โดยมูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ท่ีเพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการด้อยค่าต้องไม่สูงกว่ามูลค่าตามบัญชีที่ควรจะเป็นหากกิจการ
ไม่เคยรบั รู้ผลขาดทนุ จากการดอ้ ยค่าของสินทรัพย์ในงวดก่อนๆ กลุ่มบริษทั จะบันทกึ กลบั รายการผลขาดทนุ จากการดอ้ ยค่าของสินทรพั ยโ์ ดยรบั รู้
ไปยงั ส่วนของกำ�ไรหรอื ขาดทุนทันที

บรษิ ัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล จำ�กดั (มหาชน) 69

4.11 ผลประโยชน์ของพนกั งาน
ผลประโยชนร์ ะยะส้ันของพนักงาน
กลมุ่ บรษิ ทั รบั รู้ เงินเดือน ค่าจ้าง โบนสั และเงินสมทบกองทนุ ประกนั สงั คมเป็นคา่ ใช้จ่ายเม่ือเกดิ รายการ
ผลประโยชนห์ ลังออกจากงานของพนักงาน
โครงการสมทบเงิน
กลมุ่ บรษิ ทั และพนกั งานไดร้ ว่ มกนั จดั ตงั้ กองทนุ ส�ำ รองเลย้ี งชพี ซง่ึ ประกอบดว้ ยเงนิ ทพี่ นกั งานจา่ ยสะสมและเงนิ ทกี่ ลมุ่ บรษิ ทั จา่ ยสมทบ
ให้เป็นรายเดือน สินทรัพย์ของกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพได้แยกออกจากสินทรัพย์ของกลุ่มบริษัท เงินท่ีกลุ่มบริษัทจ่ายสมทบกองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ
บันทกึ เปน็ ค่าใชจ้ า่ ยในปีทีเ่ กดิ รายการ
โครงการผลประโยชน์หลังออกจากงาน
กลุ่มบริษัทมีภาระสำ�หรับเงินชดเชยท่ีต้องจ่ายให้แก่พนักงานเม่ือออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน และตามโครงการผลตอบแทน
พนักงานอื่นๆ ซ่งึ กลุ่มบรษิ ัทถอื ว่าเงนิ ชดเชยดงั กลา่ วเป็นโครงการผลประโยชน์หลงั ออกจากงานสำ�หรบั พนกั งาน
กลุ่มบริษัทคำ�นวณหน้ีสินตามโครงการผลประโยชน์หลังออกจากงานของพนักงาน โดยใช้วิธีคิดลดแต่ละหน่วยท่ีประมาณการไว้
(Projected Unit Credit Method) โดยผู้เชีย่ วชาญอสิ ระได้ท�ำ การประเมนิ ภาระผกู พันดังกล่าวตามหลักคณติ ศาสตรป์ ระกันภยั
ผลก�ำ ไรหรอื ขาดทนุ จากการประมาณการตามหลกั คณติ ศาสตรป์ ระกนั ภยั ส�ำ หรบั โครงการผลประโยชนห์ ลงั ออกจากงานของพนกั งาน
จะรับรูท้ ันทีในก�ำ ไรขาดทุนเบด็ เสรจ็ อืน่
4.12 ประมาณการหนีส้ ิน
กลุ่มบริษัทจะบันทึกประมาณการหนี้สินไว้ในบัญชีเมื่อภาระผูกพันซึ่งเป็นผลมาจากเหตุการณ์ในอดีตได้เกิดขึ้นแล้ว และมีความ
เป็นไปได้ค่อนข้างแน่นอนว่ากลุ่มบริษัทจะเสียทรัพยากรเชิงเศรษฐกิจไปเพ่ือปลดเปล้ืองภาระผูกพันนั้น และกลุ่มบริษัทสามารถประมาณมูลค่า
ภาระผกู พนั น้นั ไดอ้ ยา่ งนา่ เชือ่ ถือ
4.13 ภาษเี งนิ ได้
ภาษีเงินไดป้ ระกอบด้วยภาษเี งินได้ปจั จุบนั และภาษเี งนิ ได้รอการตัดบญั ชี
ภาษีเงินได้ปัจจบุ นั
กลุ่มบริษทั บันทึกภาษีเงนิ ไดป้ ัจจบุ นั ตามจำ�นวนทีค่ าดวา่ จะจ่ายใหก้ ับหนว่ ยงานจดั เกบ็ ภาษขี องรฐั
โดยคำ�นวณจากก�ำ ไรทางภาษตี ามหลักเกณฑท์ ่ีกำ�หนดในกฎหมายภาษีอากร
ภาษีเงินไดร้ อการตัดบญั ชี
กลุ่มบริษัทบันทึกภาษีเงินได้รอการตัดบัญชีของผลแตกต่างชั่วคราวระหว่างราคาตามบัญชีของสินทรัพย์และหนี้สิน ณ วันส้ินรอบ
ระยะเวลารายงานกบั ฐานภาษีของสนิ ทรพั ย์และหนีส้ ินทเ่ี กย่ี วข้องนนั้ โดยใช้อัตราภาษที ม่ี ีผลบงั คับใช้ ณ วนั ส้ินรอบระยะเวลารายงาน
กลุ่มบริษัทรบั รหู้ นส้ี ินภาษีเงนิ ได้รอการตดั บญั ชขี องผลแตกต่างชั่วคราวท่ตี อ้ งเสียภาษที ุกรายการ แตร่ บั รู้สินทรพั ย์ภาษเี งินได้รอการ
ตัดบัญชีสำ�หรับผลแตกต่างชั่วคราวท่ีใช้หักภาษี รวมทั้งผลขาดทุนทางภาษีท่ียังไม่ได้ใช้ในจำ�นวนเท่าท่ีมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่กลุ่มบริษัท
จะมีกำ�ไรทางภาษใี นอนาคตเพียงพอทจ่ี ะใชป้ ระโยชนจ์ ากผลแตกต่างช่วั คราวท่ใี ชห้ ักภาษแี ละผลขาดทุนทางภาษีทย่ี งั ไมไ่ ด้ใชน้ น้ั
กลมุ่ บรษิ ทั จะทบทวนมลู คา่ ตามบญั ชขี องสนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ไดร้ อการตดั บญั ชที กุ สนิ้ รอบระยะเวลารายงานและจะท�ำ การปรบั ลดมลู คา่
ตามบญั ชดี งั กลา่ ว หากมคี วามเปน็ ไปไดค้ อ่ นขา้ งแนว่ า่ กลมุ่ บรษิ ทั จะไมม่ กี �ำ ไรทางภาษเี พยี งพอตอ่ การน�ำ สนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ไดร้ อการตดั บญั ชที ง้ั หมด
หรอื บางส่วนมาใชป้ ระโยชน์
กลมุ่ บรษิ ทั จะบนั ทกึ ภาษเี งนิ ไดร้ อการตดั บญั ชโี ดยตรงไปยงั สว่ นของผถู้ อื หนุ้ หากภาษที เี่ กดิ ขน้ึ เกยี่ วขอ้ งกบั รายการทไ่ี ดบ้ นั ทกึ โดยตรง
ไปยงั สว่ นของผ้ถู ือหุน้
4.14 เคร่ืองมอื ทางการเงิน
การจัดประเภทรายการและการวดั มูลค่าของสินทรพั ย์ทางการเงิน
กลุม่ บริษทั จัดประเภทสินทรพั ย์ทางการเงิน ณ วันทร่ี บั รูร้ ายการเรม่ิ แรก เป็นสนิ ทรัพย์ทางการเงิน ที่วัดมูลค่าในภายหลงั ด้วยราคา
ทนุ ตดั จำ�หน่าย สินทรัพยท์ างการเงนิ ทีว่ ัดมลู คา่ ในภายหลังด้วยมลู ค่ายตุ ธิ รรมผา่ นก�ำ ไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอนื่ และสนิ ทรพั ยท์ างการเงินทีว่ ัดมลู ค่า

70 แบบ 56-1 One Report

ในภายหลังดว้ ยมูลค่ายุตธิ รรมผา่ นกำ�ไรหรอื ขาดทนุ โดยพจิ ารณาจากแผนธรุ กิจของกิจการในการจัดการสินทรพั ย์ทางการเงิน และลักษณะของ
กระแสเงนิ สดตามสัญญาของสินทรัพยท์ างการเงนิ
สนิ ทรพั ย์ทางการเงนิ ทว่ี ัดมลู คา่ ด้วยราคาทุนตัดจำ�หน่าย
กลมุ่ บรษิ ทั วดั มลู คา่ สนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ ดว้ ยราคาทนุ ตดั จ�ำ หนา่ ย เมอ่ื กลมุ่ บรษิ ทั ถอื ครองสนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ นนั้ เพอื่ รบั กระแสเงนิ สด
ตามเงื่อนไขท่ีระบุไว้ในสัญญา ซ่ึงกระแสเงินสดน้ันเป็นการรับชำ�ระเพียงเงินต้นและดอกเบ้ียที่เกี่ยวข้องกับเงินต้นดังกล่าวตามช่วงเวลาที่ระบุไว้
ในสญั ญา
สินทรัพย์ทางการเงินดังกล่าววัดมูลค่าในภายหลังโดยใช้วิธีดอกเบ้ียท่ีแท้จริงและต้องมีการประเมินการด้อยค่า ท้ังน้ี ผลกำ�ไรและ
ขาดทุนทีเ่ กิดขน้ึ จากการตัดรายการ การเปลี่ยนแปลง หรือการด้อยคา่ ของสินทรัพย์ดงั กลา่ วจะรบั รใู้ นส่วนของก�ำ ไรหรอื ขาดทุน
สนิ ทรพั ย์ทางการเงินท่ีมกี ารกำ�หนดใหว้ ดั มลู คา่ ดว้ ยมลู คา่ ยุตธิ รรมผ่านก�ำ ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อน่ื
ณ วนั ทรี่ บั รรู้ ายการเรม่ิ แรก กลมุ่ บรษิ ทั สามารถเลอื กจดั ประเภทเงนิ ลงทนุ ในตราสารทนุ ซงึ่ ไมไ่ ดถ้ อื ไวเ้ พอื่ คา้ เปน็ ตราสารทนุ ทกี่ �ำ หนด
ใหว้ ดั มลู คา่ ดว้ ยมลู คา่ ยตุ ธิ รรมผา่ นก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อน่ื โดยไมส่ ามารถเปลย่ี นการจดั ประเภทไดใ้ นภายหลงั ทง้ั น้ี กลมุ่ บรษิ ทั พจิ ารณาตราสารทนุ
แตล่ ะชนดิ แยกจากกนั
ผลก�ำ ไรและขาดทนุ ทรี่ บั รใู้ นก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อน่ื ของสนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ นจ้ี ะไมส่ ามารถโอนไปรบั รใู้ นสว่ นของก�ำ ไรหรอื ขาดทนุ
ไดใ้ นภายหลงั
เงนิ ปนั ผลรบั จากเงนิ ลงทนุ ดงั กลา่ วถอื เปน็ รายไดอ้ น่ื ในสว่ นของก�ำ ไรหรอื ขาดทนุ เวน้ แตใ่ นกรณที เ่ี ปน็ การไดร้ บั คนื ของตน้ ทนุ การลงทนุ
ในสินทรพั ย์ทางการเงนิ อยา่ งชัดเจน กลมุ่ บรษิ ัทจะรบั ร้รู ายการนนั้ ในกำ�ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อืน่
นอกจากน้ี เงินลงทุนในตราสารทุนท่ีกำ�หนดให้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นไม่มีข้อกำ�หนดให้ประเมิน
การด้อยค่า
สนิ ทรัพย์ทางการเงนิ ทว่ี ดั มลู คา่ ด้วยมูลคา่ ยุติธรรมผา่ นกำ�ไรหรือขาดทุน
สินทรัพย์ทางการเงินที่วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำ�ไรหรือขาดทุน จะแสดงในงบแสดงฐานะการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรม
โดยรับรู้การเปล่ยี นแปลงของมลู คา่ ยตุ ธิ รรมในสว่ นของก�ำ ไรหรือขาดทุน
ทัง้ นี้ สินทรพั ย์ทางการเงินดงั กล่าว หมายรวมถงึ ตราสารอนุพันธ์ เงนิ ลงทุนในหลกั ทรพั ยท์ ีถ่ อื ไว้เพอ่ื คา้ เงินลงทุนในตราสารทนุ
ซ่งึ กลมุ่ บริษัทไม่ได้เลือกจดั ประเภทใหว้ ดั มูลคา่ ดว้ ยมลู ค่ายตุ ิธรรมผ่านกำ�ไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอน่ื และสินทรพั ย์ทางการเงินทีม่ ีกระแสเงินสดทไ่ี ม่ได้
รบั ชำ�ระเพียงเงินตน้ และดอกเบี้ย
เงนิ ปันผลรับจากเงนิ ลงทนุ ในตราสารทุนดังกลา่ วถอื เปน็ รายไดอ้ ่นื ในส่วนของก�ำ ไรหรือขาดทุน
การจัดประเภทรายการและการวัดมลู คา่ ของหน้สี ินทางการเงิน
กลุ่มบริษัทรับรู้รายการเริ่มแรกสำ�หรับหนี้สินทางการเงินด้วยมูลค่ายุติธรรมหักต้นทุนการทำ�รายการ และจัดประเภทเป็นหน้ีสิน
ทางการเงินที่วดั มลู คา่ ในภายหลงั ด้วยราคาทุนตัดจำ�หน่าย ยกเวน้ หนี้สนิ ตราสารอนุพนั ธ์ ซึ่งเปิดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงนิ รวม 4.15
การค�ำ นวณมลู คา่ ราคาทุนตดั จำ�หนา่ ยคำ�นงึ ถึงค่าธรรมเนยี มหรือตน้ ทุนทีถ่ ือเปน็ ส่วนหน่ึงของอตั ราดอกเบีย้ ทีแ่ ท้จริงน้ันด้วย ทง้ั นี้ ค่าตัดจำ�หน่าย
ตามวิธดี อกเบี้ยทีแ่ ท้จรงิ แสดงเป็นส่วนหนึ่งของต้นทนุ ทางการเงนิ ในส่วนของก�ำ ไรหรือขาดทุน
การตดั รายการของเครอ่ื งมอื ทางการเงนิ
สินทรัพย์ทางการเงินจะถูกตัดรายการออกจากบัญชี เม่ือสิทธิท่ีจะได้รับกระแสเงินสดได้สิ้นสุดลง หรือได้มีการโอนสิทธิท่ีจะได้รับ
กระแสเงินสด รวมถึงได้มีการโอนความเสี่ยงและผลตอบแทนเกือบท้ังหมด หรือมีการโอนการควบคุมในสินทรัพย์นั้น แม้ว่าจะไม่มีการโอนและ
ผลตอบแทน
กลมุ่ บรษิ ทั ตดั รายการหนส้ี นิ ทางการเงนิ กต็ อ่ เมอ่ื ไดม้ กี ารปฏบิ ตั ติ ามภาระผกู พนั ของหนส้ี นิ นนั้ แลว้ มกี ารยกเลกิ ภาระผกู พนั นน้ั หรอื
มกี ารสนิ้ สดุ ลงของภาระผกู พนั นน้ั ในกรณที มี่ กี ารเปลย่ี นหนสี้ นิ ทางการเงนิ ทม่ี อี ยใู่ หเ้ ปน็ หนส้ี นิ ใหมจ่ ากผใู้ หก้ รู้ ายเดยี วกนั ซงึ่ มขี อ้ ก�ำ หนดทแ่ี ตกตา่ ง
กนั อยา่ งมาก หรือมกี ารแก้ไขข้อก�ำ หนดของหนส้ี นิ ทมี่ ีอยอู่ ย่างเป็นสาระส�ำ คญั จะถือว่าเป็นการตดั รายการหน้สี นิ เดิมและรับร้หู นส้ี ินใหม่ โดยรับรู้
ผลแตกตา่ งของมลู ค่าตามบัญชีดังกลา่ วในสว่ นของกำ�ไรหรอื ขาดทุน
การดอ้ ยค่าของสินทรัพยท์ างการเงนิ
กลุ่มบริษัทรับรู้ค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนของตราสารหน้ีทั้งหมดที่ไม่ได้วัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรมผ่านกำ�ไร
หรอื ขาดทนุ คา่ เผอื่ ผลขาดทนุ ดา้ นเครดติ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ค�ำ นวณจากผลตา่ งของกระแสเงนิ สดทจี่ ะครบก�ำ หนดช�ำ ระตามสญั ญากบั กระแสเงนิ สด
ทงั้ หมดท่ีกลุม่ บริษัทคาดว่าจะได้รบั ช�ำ ระ และคิดลดด้วยอัตราดอกเบย้ี ที่แท้จริงโดยประมาณของสินทรพั ยท์ างการเงิน ณ วนั ท่ไี ดม้ า

บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบลิ้ จำ�กดั (มหาชน) 71

กลมุ่ บรษิ ัทพิจารณาว่าความเสีย่ งด้านเครดติ จะเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งมีนัยสำ�คัญ เม่ือมกี ารคา้ งช�ำ ระการจา่ ยเงนิ ตามสญั ญาเกินกวา่ 30 วนั
และพจิ ารณาว่าสินทรัพย์ทางการเงนิ นัน้ มกี ารดอ้ ยคา่ ด้านเครดติ หรือมกี ารผดิ สัญญา เมอ่ื มกี ารค้างชำ�ระการจ่ายเงนิ ตามสญั ญาเกนิ กว่า 90 วัน
อย่างไรก็ตาม ในบางกรณี กลุ่มบริษัทอาจพิจารณาว่าสินทรัพย์ทางการเงินนั้นมีการเพ่ิมข้ึนของความเสี่ยงด้านเครดิตอย่างมีนัยสำ�คัญและ
มีการผิดสัญญา โดยพิจารณาจากข้อมูลภายในหรือข้อมลู ภายนอกอน่ื เชน่ อันดบั ความนา่ เชอื่ ถอื ดา้ นเครดติ ของผอู้ อกตราสาร
สำ�หรับลูกหน้ีการค้า กลุ่มบริษัทใช้วิธีการอย่างง่ายในการคำ�นวณค่าเผ่ือผลขาดทุนด้านเครดิตท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึน กลุ่มบริษัทรับรู้
คา่ เผอ่ื ผลขาดทนุ ดา้ นเครดติ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ ตลอดอายขุ องลกู หนกี้ ารคา้ โดยอา้ งองิ จากประสบการณใ์ นอดตี ปรบั ปรงุ ดว้ ยขอ้ มลู การคาดการณ์
ไปในอนาคตเก่ียวกบั ลกู หน้ีการคา้ และสภาพแวดล้อมทางด้านเศรษฐกจิ
สนิ ทรัพย์ทางการเงินจะถูกตดั จำ�หนา่ ยออกจากบญั ชี เมือ่ กิจการคาดว่าจะไม่ไดร้ บั คนื กระแสเงนิ สดตามสัญญาอีกตอ่ ไป
4.15 ตราสารอนพุ นั ธ์
กลุ่มบริษัททำ�สัญญาซ้ือขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า ซ่ึงถือว่าเป็นตราสารอนุพันธ์ เพ่ือป้องกันความเส่ียงจากความผันผวน
ของอตั ราแลกเปลย่ี น
กลมุ่ บรษิ ัทรบั รู้มลู ค่าเร่ิมแรกของตราสารอนุพันธด์ ว้ ยมูลคา่ ยุติธรรม ณ วนั ท่ีท�ำ สญั ญา และวดั มูลค่าในภายหลงั ด้วยมลู คา่ ยุตธิ รรม
โดยรับรู้การเปลี่ยนแปลงของมูลค่ายุติธรรมในภายหลังในส่วนของกำ�ไรหรือขาดทุน ท้ังนี้ กลุ่มบริษัทแสดงตราสารอนุพันธ์เป็นสินทรัพย์ทาง
การเงนิ หรอื หนสี้ นิ ทางการเงินโดยพิจารณาจากมูลค่ายตุ ธิ รรมของตราสารอนพุ นั ธ์ดังกล่าว
กลมุ่ บรษิ ทั แสดงตราสารอนพุ นั ธโ์ ดยพจิ ารณาอายสุ ญั ญาคงเหลอื ทม่ี ากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ 12 เดอื นเปน็ สนิ ทรพั ยห์ รอื หนส้ี นิ ไมห่ มนุ เวยี นอน่ื
และสนิ ทรัพย์หรือหนสี้ นิ หมุนเวยี นอ่นื ตามลำ�ดบั
4.16 การวัดมลู คา่ ยตุ ิธรรม
มูลค่ายุติธรรม หมายถึง ราคาท่ีคาดว่าจะได้รับจากการขายสินทรัพย์หรือเป็นราคาท่ีจะต้องจ่ายเพ่ือโอนหน้ีสินให้ผู้อื่นโดยรายการ
ดงั กล่าวเป็นรายการท่ีเกดิ ข้ึนในสภาพปกติระหวา่ งผซู้ ื้อและผขู้ าย (ผรู้ ว่ มในตลาด) ณ วันท่ีวดั มูลคา่ กลมุ่ บริษัทใช้ราคาเสนอซอ้ื ขายในตลาดทม่ี ี
สภาพคลอ่ งในการวดั มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของสนิ ทรพั ยแ์ ละหนสี้ นิ ซงึ่ มาตรฐานการรายงานทางการเงนิ ทเี่ กยี่ วขอ้ งก�ำ หนดใหต้ อ้ งวดั มลู คา่ ดว้ ยมลู คา่ ยตุ ธิ รรม
ยกเว้นในกรณีที่ไม่มีตลาดท่ีมีสภาพคล่องสำ�หรับสินทรัพย์หรือหน้ีสินท่ีมีลักษณะเดียวกันหรือไม่สามารถหาราคาเสนอซื้อขายในตลาดที่มี
สภาพคล่องได้ กลุ่มบริษัทจะประมาณมูลค่ายุติธรรมโดยใช้เทคนิคการประเมินมูลค่าที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ และพยายามใช้ข้อมูล
ท่ีสามารถสังเกตไดท้ ีเ่ กีย่ วข้องกับสนิ ทรัพย์หรอื หนี้สนิ ทจ่ี ะวัดมลู ค่ายุตธิ รรมน้นั ให้มากที่สดุ
ลำ�ดับช้ันของมูลค่ายุติธรรมท่ีใช้วัดมูลค่าและเปิดเผยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์และหนี้สินในงบการเงินแบ่งออกเป็นสามระดับ
ตามประเภทของขอ้ มลู ทนี่ ำ�มาใช้ในการวัดมูลคา่ ยุติธรรม ดงั น้ี
ระดบั 1 ใชข้ อ้ มูลราคาเสนอซือ้ ขายของสินทรัพย์หรอื หนส้ี ินอย่างเดยี วกันในตลาดทม่ี ีสภาพคลอ่ ง
ระดบั 2 ใชข้ ้อมูลอื่นทส่ี ามารถสังเกตได้ของสินทรัพยห์ รอื หน้ีสนิ ไมว่ า่ จะเป็นขอ้ มลู ทางตรงหรอื ทางอ้อม
ระดบั 3 ใช้ข้อมูลทีไ่ ม่สามารถสังเกตได้ เชน่ ขอ้ มูลเกยี่ วกับกระแสเงนิ สดในอนาคตทก่ี ิจการประมาณขนึ้
ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริษัทจะประเมินความจำ�เป็นในการโอนรายการระหว่างลำ�ดับชั้นของมูลค่ายุติธรรมสำ�หรับ
สินทรพั ย์และหนี้สนิ ท่ถี ืออยู่ ณ วันส้ินรอบระยะเวลารายงานทม่ี กี ารวัดมลู ค่ายุติธรรมแบบเกิดขึ้นประจำ�

5. การใช้ดลุ ยพนิ จิ และประมาณการทางบญั ชที ส่ี ำ�คญั

ในการจัดทำ�งบการเงินตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจและการประมาณการในเร่ืองที่มีความ
ไมแ่ นน่ อนเสมอ การใชด้ ลุ ยพนิ จิ และการประมาณการดงั กลา่ วน้ี สง่ ผลกระทบตอ่ จ�ำ นวนเงนิ ทแี่ สดงในงบการเงนิ และตอ่ ขอ้ มลู ทแ่ี สดงในหมายเหตุ
ประกอบงบการเงิน ผลทเี่ กิดข้นึ จริงอาจแตกต่างไปจากจำ�นวนที่ประมาณการไว้ การใช้ดลุ ยพนิ ิจและการประมาณการท่สี �ำ คัญมดี งั น้ี

72 แบบ 56-1 One Report

คา่ เผ่อื ผลขาดทนุ ด้านเครดิตทคี่ าดว่าจะเกดิ ขนึ้ ของลกู หน้กี ารคา้
ในการประมาณค่าเผื่อผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขึ้นของลูกหน้ีการค้า ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจในการประมาณการ
ผลขาดทุนด้านเครดิตท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากลูกหนี้ โดยคำ�นึงถึงประสบการณ์การเก็บเงินในอดีต อายุของหน้ีท่ีคงค้างและการคาดการณ์
สภาวะเศรษฐกิจท่ีอาจมีผลกระทบต่อลูกหน้ี เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ข้อมูลผลขาดทุนด้านเครดิตจากประสบการณ์ในอดีตและการคาดการณ์
สภาวะเศรษฐกจิ ทอี่ าจมีผลกระทบต่อลูกหนี้ของกลุม่ บริษทั อาจไมไ่ ด้บง่ บอกถึงการผดิ สัญญาของลูกค้าท่ีเกดิ ขึ้นจรงิ ในอนาคต

มูลค่ายุติธรรมของเครือ่ งมือทางการเงนิ

ในการประเมนิ มูลคา่ ยตุ ิธรรมของเครือ่ งมือทางการเงินทบี่ ันทกึ ในงบแสดงฐานะการเงนิ ทไี่ มม่ ีการซอ้ื ขายในตลาดและไม่สามารถหาราคาได้
ในตลาดซอื้ ขายคล่อง ฝ่ายบรหิ ารตอ้ งใชด้ ุลยพนิ จิ ในการประเมินมูลค่ายุตธิ รรมของสนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ ดงั กล่าว โดยใชเ้ ทคนคิ และแบบจ�ำ ลอง
การประเมินมูลค่า ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในแบบจำ�ลองได้มาจากการเทียบเคียงกับตัวแปรที่มีอยู่ในตลาด โดยคำ�นึงถึงความเสี่ยงทางด้านเครดิต
สภาพคลอ่ ง ขอ้ มลู ความสมั พนั ธ์ และการเปลย่ี นแปลงของมลู คา่ ของเครอ่ื งมอื ทางการเงนิ ในระยะยาว การเปลยี่ นแปลงของสมมตฐิ านทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
กับตัวแปรทใ่ี ชใ้ นการค�ำ นวณ อาจมผี ลกระทบต่อมลู ค่ายุตธิ รรมท่แี สดงอยูใ่ นงบแสดงฐานะการเงนิ และการเปิดเผยล�ำ ดบั ช้นั ของมูลค่ายุติธรรม

คา่ เผือ่ การด้อยค่าของเงนิ ลงทนุ ในบรษิ ทั ย่อย

กลุ่มบริษัทจะต้ังค่าเผื่อการด้อยค่าของเงินลงทุนเมื่อมูลค่ายุติธรรมของเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำ�คัญและเป็นระยะเวลานาน
หรือเมื่อมีข้อบ่งช้ีของการด้อยค่า การที่จะสรุปว่าเงินลงทุนดังกล่าวได้ลดลงอย่างมีสาระสำ�คัญหรือเป็นระยะเวลานานหรือไม่น้ัน จำ�เป็นต้องใช้
ดุลยพินจิ ของฝ่ายบริหาร

ทีด่ นิ อาคารและอปุ กรณ์และคา่ เสื่อมราคา
ในการคำ�นวณค่าเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณ์ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องทำ�การประมาณอายุการให้ประโยชน์และมูลค่าคงเหลือเมื่อเลิก
ใชง้ านของอาคารและอปุ กรณ์ และตอ้ งทบทวนอายกุ ารใหป้ ระโยชนแ์ ละมูลค่าคงเหลอื ใหมห่ ากมกี ารเปล่ียนแปลงเกดิ ข้ึน
นอกจากนี้ ฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องสอบทานการด้อยค่าของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ในแต่ละช่วงเวลาและบันทึกขาดทุนจากการด้อยค่า
หากคาดว่ามูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนต่ำ�กว่ามูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์น้ัน ในการน้ีฝ่ายบริหารจำ�เป็นต้องใช้ดุลยพินิจที่เกี่ยวข้องกับการ
คาดการณ์รายได้และค่าใช้จา่ ยในอนาคตซึ่งเกีย่ วเนอื่ งกบั สนิ ทรพั ยน์ นั้

6. รายการธุรกจิ กับกจิ การท่ีเกย่ี วข้องกัน
ในระหวา่ งปี กลมุ่ บริษทั มรี ายการธุรกิจทสี่ ำ�คัญกับบคุ คลหรือกิจการทเ่ี ก่ยี วข้องกนั รายการธุรกิจดังกลา่ วเป็นไปตามเงื่อนไขทางการคา้ และ
เกณฑ์ตามทต่ี กลงกนั ระหว่างกลมุ่ บริษทั และบคุ คลหรอื กิจการทเ่ี กี่ยวขอ้ งกนั เหล่านน้ั ซึ่งเป็นไปตามปกตธิ ุรกิจโดยสามารถสรปุ ไดด้ งั นี้

(หน่วย: ลา้ นบาท)

งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ นโยบายการกำ�หนดราคา
2564 2563 2564 2563

รายการธรุ กิจกบั บรษิ ทั ใหญข่ องกลุ่มบรษิ ัท 35 3 - - ราคาทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม
ขายสินคา้ 132 - 132 - ราคาทุนบวกกำ�ไรส่วนเพิ่ม
ขายวตั ถุดิบ
รายไดค้ า่ บริการหลอมวัตถดุ ิบ 1 - - - ราคาทุนบวกก�ำ ไรสว่ นเพิม่
ค่าธรรมเนยี มการจดั การ 5 4 2 2 ราคาตามสญั ญา

บริษัท จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบ้ิล จ�ำ กดั (มหาชน) 73

(หนว่ ย: ล้านบาท)

งบการเงินรวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ นโยบายการก�ำ หนดราคา
2564 2563 2564 2563
รายการธุรกจิ กบั บริษทั ย่อย
(ตดั ออกจากงบการเงนิ รวมแล้ว) - - 130 9 ราคาทุนบวกก�ำ ไรส่วนเพิ่ม
ขายวตั ถุดบิ - - 12 8 ราคาทุนบวกกำ�ไรสว่ นเพม่ิ
รายได้คา่ บริการหลอมวัตถุดิบ - - - 1 ราคาทุนบวกกำ�ไรส่วนเพ่มิ
รายไดค้ ่าบริการบรรจุหีบห่อ - - 9 - ราคาทนุ บวกก�ำ ไรสว่ นเพิ่ม
ซอ้ื สนิ ค้า - - 21 20 ราคาทุนบวกกำ�ไรสว่ นเพม่ิ
คา่ บริการหลอมวตั ถดุ ิบ - - 5 6 ราคาทนุ บวกกำ�ไรส่วนเพมิ่
คา่ บรกิ ารห้มุ สายเคเบ้ิล - - 29 32 ราคาตามสัญญา
รายได้ค่าธรรมเนียมการจัดการ - - 1 1 ราคาตามสัญญา
รายได้ค่าบริการ - - 3 3 ราคาตามสญั ญา
รายไดค้ ่าเช่า - - 11 11 ราคาทุน
รายไดค้ า่ ไฟฟา้ - - 10 5 อัตราตามท่ปี ระกาศจา่ ย
เงนิ ปันผลรบั
รายการธรุ กจิ กบั บริษทั ท่เี กีย่ วข้องกนั 226 166 211 164 ราคาตลาด, ราคาทุนบวกกำ�ไร
ขายสนิ ค้า สว่ นเพม่ิ
- 1 - - ราคาตลาด
ขายวัตถดุ ิบ - 2 - - ราคาตลาด
ขายสินทรัพย ์ - 179 - - ราคาตลาด
ซอ้ื สนิ คา้
คา่ บรกิ ารหลอมวัตถุดิบ 11 7 11 7 ราคาตามสญั ญา
เงนิ ปนั ผลรับ 7 3 3 3 อัตราตามทป่ี ระกาศจ่าย
คา่ ก่อสรา้ งอาคารโรงงาน 55 102 55 102 ราคาตามสัญญา

74 แบบ 56-1 One Report

ยอดคงเหลือระหว่างกลุ่มบรษิ ทั และกจิ การทีเ่ กี่ยวข้องกัน ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 มรี ายละเอยี ดดงั น้ี (หนว่ ย: พันบาท)

งบการเงินรวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
2564 2563 2564 2563
ลูกหนก้ี ารคา้ และลูกหน้ีอ่ืน - กิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน (หมายเหตุ 7)
บริษัทใหญข่ องกลุ่มบริษัท 782 - - -
บริษัทยอ่ ย - - 22,785 29,347
บริษัทท่ีเกยี่ วข้องกัน (เปน็ ผู้ถือห้นุ หรอื มีกรรมการร่วมกัน หรือมผี ูถ้ ือหุ้นรว่ มกนั ) 218,050 154,307 216,910 151,989
รวมลกู หนีก้ ารค้าและลูกหนอี้ ืน่ - กจิ การทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกัน 218,832 154,307 239,695 181,336
เจา้ หนกี้ ารค้าและเจา้ หน้อี ่ืน - กิจการทเี่ ก่ยี วข้องกนั (หมายเหตุ 15)
บริษทั ใหญข่ องกลมุ่ บริษทั 1,080 893 574 474
บรษิ ทั ยอ่ ย - - 5,642 2,868
บริษทั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั (เป็นผูถ้ ือหุน้ หรอื มผี ้ถู ือหุ้นรว่ มกนั หรือมบี รษิ ัทฯเป็นผ้ถู อื ห้นุ ) 29,267 74,787 389 7,931
รวมเจา้ หนก้ี ารคา้ และเจา้ หนอ้ี ืน่ - กิจการท่ีเกย่ี วขอ้ งกนั 30,347 75,680 6,605 11,273

เงนิ ให้กู้ยืมระยะยาวแกบ่ รษิ ัทย่อย
ยอดคงเหลือของเงินใหก้ ยู้ ืมระยะยาวแก่บริษัทย่อย ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 และการเปลยี่ นแปลงของเงนิ ใหก้ ยู้ มื ดังกลา่ ว
มรี ายละเอยี ดดงั น้ี
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงินเฉพาะกิจการ
ยอดคงเหลอื ยอดคงเหลือ
ณ วนั ท ่ี เพิม่ ขน้ึ ลดลง ณ วันท่ี
เงนิ ให้กู้ยืม 31 ธนั วาคม 2563 ระหว่างปี ระหวา่ งปี 31 ธนั วาคม 2564
บริษทั ซีทีดับบลวิ เบต้า จำ�กดั
เงินต้น 540,939 - - 540,939
บวก: ดอกเบีย้ ค้างรับ 96,174 - - 96,174
รวม 637,113 - - 637,113
หกั : ค่าเผื่อผลขาดทนุ ด้านเครดติ ทีค่ าดว่าจะเกิดขน้ึ (637,113) - - (637,113)
รวม - - - -

บริษทั ฯ บันทกึ ค่าเผ่ือผลขาดทนุ ดา้ นเครดติ ท่คี าดว่าจะเกดิ ขึ้นท้งั จำ�นวนแลว้

คา่ ตอบแทนกรรมการและผู้บริหาร
ในระหวา่ งปสี น้ิ สดุ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 กลมุ่ บรษิ ทั มคี า่ ใชจ้ า่ ยผลประโยชนพ์ นกั งานทใ่ี หแ้ กก่ รรมการและผบู้ รหิ าร ดงั ตอ่ ไปน้ี
(หน่วย: พันบาท)
งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ผลประโยชน์ระยะส้นั 80,231 94,336 52,226 70,252
ผลประโยชน์หลังออกจากงาน 3,676 4,548 1,783 2,649
รวม 83,907 98,884 54,009 72,901

บรษิ ทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบิ้ล จ�ำ กัด (มหาชน) 75

7. ลกู หน้กี ารค้าและลกู หนี้อื่น งบการเงนิ รวม (หน่วย: พันบาท)
2564 2563 งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
2564 2563

ลกู หนก้ี ารคา้ - กจิ การทีเ่ กยี่ วขอ้ งกนั (หมายเหตุ 6) 56,162 33,865 56,731 36,291
อายหุ นีค้ งค้างนับจากวันท่ีถึงก�ำ หนดชำ�ระ 74,443 23,129 76,239 23,129
ยังไมถ่ งึ ก�ำ หนดชำ�ระ 21,972 35,200 21,972 33,061
คา้ งช�ำ ระ 38,080 62,113 38,080 61,934
ไม่เกิน 3 เดือน 28,175 27,036
3 - 6 เดือน 218,832 - 220,058 -
6 - 12 เดือน 154,307 154,415
มากกวา่ 12 เดอื น
รวมลกู หนี้การค้า - กิจการที่เกยี่ วขอ้ งกนั 1,253,572 874,829 546,037 375,990
ลูกหนก้ี ารค้า - กจิ การทไ่ี ม่เก่ยี วขอ้ งกัน
อายหุ นี้คงคา้ งนบั จากวนั ที่ถงึ ก�ำ หนดช�ำ ระ 206,230 174,974 99,219 94,624
ยงั ไมถ่ งึ กำ�หนดช�ำ ระ 15,219 10,770 14,962 10,175
คา้ งช�ำ ระ 2,219
ไม่เกนิ 3 เดือน 406 5,999 406 1,251
3 - 6 เดอื น 10,636 5,839 2,137 484,259
6 - 12 เดือน 1,486,063 1,072,411 662,761 (2,478)
มากกว่า 12 เดือน (12,250) (10,762) (2,200) 481,781
รวม 1,473,813 1,061,649 660,561 636,196
หัก: คา่ เผ่ือผลขาดทนุ ด้านเครดิตท่คี าดว่าจะเกิดขึ้น 1,692,645 1,215,956 880,619
รวมลูกหนก้ี ารคา้ - กจิ การทีไ่ มเ่ กี่ยวข้องกัน, สุทธ ิ
รวมลกู หนี้การค้า - สทุ ธ ิ - - 19,637 26,921
ลูกหนอ้ี ื่น 5,789 604 22 295
ลูกหนอ้ี ่ืน - กจิ การท่ีเกยี่ วขอ้ งกนั (หมายเหตุ 6) 5,789 604
ลูกหนอี้ นื่ - กิจการท่ไี มเ่ กย่ี วขอ้ งกนั 1,698,434 1,216,560 19,659 27,216
รวมลูกหนอ้ี นื่ 900,278 663,412
รวมลูกหน้กี ารค้าและลกู หน้ีอ่ืน - สุทธ ิ

การเปลยี่ นแปลงของบัญชีค่าเผ่อื ผลขาดทุนดา้ นเครดิตที่คาดว่าจะเกิดขน้ึ ของลูกหนก้ี ารคา้ และลกู หนอี้ ่นื มรี ายละเอียดดงั น้ี

(หน่วย: พันบาท)

งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกิจการ

ณ วันท่ี 1 มกราคม 2564 10,762 2,478

คา่ เผอื่ ผลขาดทุนดา้ นเครดติ ทีค่ าดว่าจะเกดิ ขึ้น (โอนกลับ) 1,488 (278)

ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 12,250 2,200

76 แบบ 56-1 One Report

8. สนิ ค้าคงเหลอื

(หนว่ ย: พนั บาท)

งบการเงินรวม

ราคาทุน รายการปรบั ลดราคาทนุ ใหเ้ ป็น สินคา้ คงเหลือ - สุทธิ
มลู คา่ สทุ ธิทจี่ ะได้รับ

2564 2563 2564 2563 2564 2563

สินคา้ สำ�เร็จรูป 733,198 741,435 (66,171) (46,380) 667,027 695,055

งานระหวา่ งท�ำ 958,958 405,226 (336,344) (7,413) 622,614 397,813

วตั ถุดบิ และวสั ดโุ รงงาน 608,470 343,633 (136,443) (30,139) 472,027 313,494

สนิ ค้าระหว่างทาง 140,643 227,095 - - 140,643 227,095

รวม 2,441,269 1,717,389 (538,958) (83,932) 1,902,311 1,633,457

(หนว่ ย: พนั บาท)

งบการเงนิ เฉพาะกิจการ

ราคาทนุ รายการปรับลดราคาทนุ ให้เป็น สินคา้ คงเหลอื - สทุ ธิ
มูลคา่ สทุ ธิท่จี ะได้รับ

2564 2563 2564 2563 2564 2563

สนิ คา้ ส�ำ เรจ็ รูป 463,770 541,741 (56,494) (37,667) 407,276 504,074

งานระหวา่ งท�ำ 919,893 359,527 (335,330) (6,687) 584,563 352,840

วัตถุดิบและวัสดโุ รงงาน 292,564 228,193 (120,861) (10,056) 171,703 218,137

สนิ คา้ ระหว่างทาง 49,054 126,246 - - 49,054 126,246

รวม 1,725,281 1,255,707 (512,685) (54,410) 1,212,596 1,201,297

ในระหว่างปีปัจจุบัน กลุ่มบริษัทบันทึกการปรับลดราคาทุนของสินค้าคงเหลือให้เป็นมูลค่าสุทธิท่ีจะได้รับ เป็นจำ�นวน 505 ล้านบาท
(2563: 40 ลา้ นบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 500 ล้านบาท 2563: 31 ล้านบาท) โดยแสดงเป็นส่วนหนงึ่ ของต้นทนุ ขาย และมีการกลบั รายการปรับลด
มูลคา่ สนิ คา้ คงเหลอื เปน็ จำ�นวน 50 ลา้ นบาท (2563: 62 ล้านบาท) (เฉพาะบริษัทฯ: 42 ลา้ นบาท 2563: 47 ลา้ นบาท) โดยนำ�ไปหกั จาก
ต้นทุนขายในระหว่างปี

บรษิ ัท จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ิล จำ�กัด (มหาชน) 77

9. สินทรพั ย์ทางการเงนิ อืน่ งบการเงินรวม (หน่วย: พันบาท)
2564 2563 งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
2564 2563

ตราสารหนี้ท่วี ัดมลู คา่ ดว้ ยราคาทนุ ตัดจ�ำ หนา่ ย - 100,000 - 100,000
เงนิ ฝากประจ�ำ ธนาคารที่มีอายเุ กนิ 3 เดอื น
สินทรพั ย์ทางการเงินที่วัดมลู ค่ายุตธิ รรมผ่านกำ�ไรขาดทุน 8,241 - 6,895 -
สนิ ทรัพย์ตราสารอนพุ ันธ ์
ตราสารหน้ีที่วดั มลู ค่าด้วยราคาทุนตัดจ�ำ หนา่ ย 57,200 56,000 - -
เงนิ ฝากประจ�ำ ธนาคารทม่ี ีอายเุ กนิ 1 ป ี
สินทรัพยท์ างการเงินทว่ี ัดมูลคา่ ยุติธรรมผ่านก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จอ่นื 97,106 67,678 97,106 67,678
บริษัท ไทยเมทัลโพรเซสซง่ิ จ�ำ กัด 48,486 46,264 - -
บริษัท คราว เซน็ จรู ี่ โฮลดิง้ จ�ำ กดั 211,033 269,942
รวมสนิ ทรพั ย์ทางการเงนิ อนื่ 104,001 167,678

หมนุ เวียน 8,241 100,000 6,895 100,000
ไมห่ มนุ เวียน 202,792 169,942 97,106 67,678
211,033 269,942 104,001 167,678

ในระหวา่ งปี 2564 บริษัทฯ ไดร้ ับเงนิ ปนั ผลจากบริษัท ไทยเมทัลโพสเซสซง่ิ จ�ำ กดั จำ�นวนเงิน 3.4 ลา้ นบาท (2563: 3.4 ลา้ นบาท)
ในระหวา่ งปี 2564 บริษัทย่อยแห่งหนึ่งได้รับเงินปันผลจากบรษิ ัท คราว เซ็นจูรี่ โฮลด้ิง จ�ำ กัด เป็นจ�ำ นวนเงิน 0.1 ลา้ นเหรียญสหรฐั อเมรกิ า
หรือประมาณ 3.2 ลา้ นบาท

10. เงนิ ลงทุนในบริษัทย่อย (หนว่ ย: พนั บาท)
เงินปนั ผลทบี่ ริษัทฯ ไดร้ ับ
เงินลงทนุ ในบริษทั ยอ่ ยตามทีแ่ สดงอย่ใู นงบการเงนิ เฉพาะกิจการ มรี ายละเอียดดังต่อไปนี้
ระหว่างปี
บรษิ ัท ทุนเรยี กช�ำ ระแล้ว ราคาทุน 2564 2563
2564 2563 2564 2563
บรษิ ัท สยาม ไฟเบอร์ อ๊อพติคส์ จ�ำ กดั 240,000 240,000 160,500 153,000 - -
บรษิ ทั สยาม แปซิฟคิ อีเล็คทรคิ ไวร์ แอนด์ 670,000 670,000 1,067,703 1,067,703 9,983 5,494
เคเบ้ิล จำ�กัด
บริษทั ดบั เบลิ ดี เคเบิ้ล จ�ำ กัด 20,000 20,000 20,000 20,000 - -
บรษิ ทั เซย่ี งไฮ้ เอเซีย แปซิฟคิ อเี ล็คทริค จำ�กดั 10,549 10,549 41,110 41,110 - -
พันเหรยี ญ พันเหรยี ญ
สหรัฐอเมรกิ า สหรัฐอเมริกา - -
บรษิ ทั ซที ดี ับบลวิ เบตา้ จ�ำ กดั 100 100 100 100 9 ,983 5,494
รวม 1,289,413 1,281,913
หกั : ค่าเผ่อื การดอ้ ยค่าของเงนิ ลงทนุ (160,775) (131,240)
รวมเงนิ ลงทุนในบริษทั ย่อย - สทุ ธิ 1,128,638 1,150,673

ในปี 2564 บรษิ ทั ฯบันทึกคา่ เผอ่ื การด้อยคา่ ของเงินลงทนุ ในบริษัทย่อยจำ�นวน 30 ลา้ นบาท (2563: 3 ลา้ นบาท) ในงบกำ�ไรขาดทุนของ
งบการเงินเฉพาะกิจการ

78 แบบ 56-1 One Report

ภายหลงั จากที่ประชุมคณะกรรมการของบริษัทฯ ได้มมี ติอนุมัตกิ ารซอื้ หุ้นสามัญของบรษิ ทั สยาม ไฟเบอร์ ออ๊ พตคิ ส์ จ�ำ กัด จากบริษทั
อิตาเลียนไทย ดเี วลอ๊ ปเมนต์ จ�ำ กดั (มหาชน) ซง่ึ เป็นบริษัทที่เกี่ยวข้องกนั เมื่อวนั ที่ 11 มถิ นุ ายน 2564 เป็นจำ�นวนเงนิ 7.5 ลา้ นบาทหรอื
คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 ของหุ้นท่อี อกและเรียกชำ�ระแลว้ แบง่ ออกเปน็ หุน้ สามญั จำ�นวน 2.4 ลา้ นหุ้น ในราคาหุ้นละ 3.125 บาท
บรษิ ทั ฯ ไดร้ บั การโอนหนุ้ ในวนั ที่ 1 กรกฎาคม 2564 จากรายการดงั กลา่ วมผี ลท�ำ ใหส้ ดั สว่ นในเงนิ ลงทนุ ของบรษิ ทั ฯ ในบรษิ ทั สยาม ไฟเบอร์
อ๊อพติคส์ จำ�กัด เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 90 เป็นร้อยละ 100 ของจำ�นวนหุ้นที่ออกและจำ�หน่ายแล้วทั้งหมด บริษัทฯ ได้บันทึกผลกระทบจาก
การเปลี่ยนแปลงในส่วนได้เสียไว้ภายใต้รายการ “ส่วนของผู้มีส่วนได้เสียท่ีไม่มีอำ�นาจควบคุมในบริษัทย่อยท่ีซื้อในราคาสูงกว่ามูลค่าตามบัญชี”
ในสว่ นของผู้ถอื หนุ้ ในงบการเงินรวม โดยมีรายละเอียด ดงั นี้
(หนว่ ย: พันบาท)
งบการเงนิ รวม
ราคาซื้อเงินลงทนุ ในบรษิ ัทย่อย 7,500
หกั : ส่วนได้เสยี ทไ่ี ม่มีอ�ำ นาจควบคุมในบริษทั ย่อยท่ถี กู ปรับปรงุ (4,500)
ส่วนของผ้มู สี ่วนไดเ้ สียที่ไม่มีอ�ำ นาจควบคุมในบรษิ ทั ยอ่ ยท่ซี ื้อในราคาสงู กวา่ มูลคา่ ตามบญั ชี 3,000

11. เงนิ ลงทุนในบริษทั รว่ ม
11.1 รายละเอียดของบรษิ ัทร่วม

(หนว่ ย: พนั บาท)

งบการเงินรวม

บ รษิ ทั ลกั ษณะธรุ กจิ จัดตง้ั ขนึ้ เงสนิ ดั ลสง่วทนนุ ราคาทุน มูลค่าตามบญั ชี
ในประเทศ ตามวธิ ีส่วนได้เสีย

2564 2563 2564 2563 2564 2563

รอ้ ยละ ร้อยละ

บรษิ ทั ล็อกซแพค (ประเทศไทย) จ�ำกัด ใหบ้ ริการด้านโทรคมนาคม ไทย 25 25 379,246 379,246 105,151 105,151

บรษิ ทั ลอ็ กซแพค ฮอ่ งกง จ�ำกดั ธุรกิจรว่ มลงทนุ ฮอ่ งกง 20 20 302 302 6,677 6,455

รวม 379,548 379,548 111,828 111,606

หกั : ค่าเผอ่ื การด้อยค่าของเงนิ ลงทนุ (105,151) (105,151)

รวมเงินลงทนุ ในบริษัทร่วม - สุทธิ 6,677 6,455

11.2 ส่วนแบ่งก�ำ ไรขาดทุนและเงนิ ปนั ผลรบั
เมอ่ื วนั ที่ 30 มนี าคม 2561 ทป่ี ระชมุ สามญั ผถู้ อื หนุ้ ของบรษิ ทั ลอ็ กซแพค (ประเทศไทย) จ�ำ กดั มมี ตอิ นมุ ตั กิ ารเลกิ กจิ การของบรษิ ทั
ดังกล่าว ปัจจบุ ันบรษิ ัทน้ีอยรู่ ะหว่างการชำ�ระบญั ชี
ในระหว่างปปี ัจจุบัน บรษิ ัทย่อยรับรู้สว่ นแบง่ กำ�ไรจากการลงทุนในบริษทั ลอ็ กซแพค ฮ่องกง จ�ำ กัด จำ�นวน 0.2 ลา้ นบาท (2563:
1.3 ล้านบาท) ส่วนแบง่ กำ�ไรขาดทุนจากการลงทนุ ในบริษัทรว่ มน้ีค�ำ นวณจากงบการเงินซึ่งได้จดั ทำ�ขนึ้ โดยฝา่ ยบรหิ ารของบรษิ ัทรว่ ม ฝ่ายบรหิ าร
ของกลุ่มบริษัทเชื่อว่างบการเงินดังกล่าวไม่มีความแตกต่างอย่างเป็นสาระสำ�คัญหากงบการเงินดังกล่าวได้รับการตรวจสอบหรือสอบทานโดย
ผู้สอบบัญชี
ไมม่ ีเงนิ ปันผลรับจากบริษทั ร่วมดงั กล่าว

บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบิล้ จำ�กัด (มหาชน) 79

11.3 ขอ้ มลู ทางการเงินตามทีแ่ สดงอยู่ในงบการเงนิ ของบริษทั ร่วมโดยสรุปมดี งั นี้
ทนุ เรียกช�ำระ สนิ ทรัพย์รวม หนี้สนิ รวม รายได้รวม ก�ำไร (ขาดทนุ )
บรษิ ัท หนว่ ย ณ วนั ที่ ณ วันท่ ี ณ วนั ท ่ี ส�ำหรับปีสนิ้ สุด ส�ำหรับปสี ิ้นสดุ
(ลา้ น) 31 ธนั วาคม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม วันท่ี 31 ธันวาคม วนั ที่ 31 ธันวาคม
2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563
บรษิ ัท ลอ็ กซแพค บาท 700 700 68 129 - - - - (25) (55)
(ประเทศไทย) จ�ำกัด
บรษิ ัท ล็อกซแพค เหรียญ 7 7 14 18 5 9 0.2 0.3 0.03 0.2
ฮอ่ งกง จ�ำกัด สหรัฐอเมริกา

12. อสังหาริมทรัพยเ์ พอ่ื การลงทุน (หนว่ ย: พันบาท)

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
ที่ดิน อาคาร ท่ีดนิ
ทีไ่ มไ่ ดใ้ ช ้ ทีพ่ ักอาศยั สใทิช้ทธิกีด่ าินร รวม ที่ไมไ่ ด้ใช้
ในการ และอาคาร ในการ รวม

ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564: ด�ำ เนินงาน สำ�นกั งานใหเ้ ช่า ดำ�เนินงาน
ราคาทนุ
หัก ค่าเสอ่ื มราคาสะสม 13,845 10,017 2,893 26,755 11,022 11,022
ผลตา่ งจากการแปลงค่างบการเงิน - (7,943) (95) (8,038) - -
มูลคา่ ตามบัญชี - สุทธิ - - 390 390 - -
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563:
ราคาทนุ 13,845 2,074 3,188 19,107 11,022 11,022
หกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม
มลู ค่าตามบัญชี - สทุ ธิ 13,845 10,017 2,893 26,755 11,022 11,022
- (7,510) (18) (7,528) - -

13,845 2,507 2,875 19,227 11,022 11,022

การกระทบยอดมลู ค่าตามบญั ชขี องอสงั หาริมทรพั ยเ์ พือ่ การลงทุนส�ำ หรบั ปี แสดงได้ดังนี้ (หนว่ ย: พันบาท)
งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
งบการเงินรวม 2564 2563
2564 2563 11,022 11,022
มูลคา่ ตามบัญชีตน้ ปี 19,227 16,785
รับโอนสทิ ธิการใชท้ ดี่ นิ จากลูกหนก้ี ารคา้ เพ่อื ช�ำ ระหน ้ี - -
คา่ เสอ่ื มราคาส�ำ หรับป ี - 2,893 - -
ผลตา่ งจากการแปลงค่างบการเงนิ (510) (451) - -
มลู คา่ ตามบัญชปี ลายป ี 390 - 11,022 11,022
19,107 19,227

80 แบบ 56-1 One Report

มลู คา่ ยุติธรรมของอสงั หาริมทรพั ย์เพอื่ การลงทนุ ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 แสดงได้ดงั นี้ งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
งบการเงนิ รวม 2564 2563
2564 2563 346,096 340,550
ท่ีดินท่ไี มไ่ ดใ้ ชใ้ นการด�ำ เนนิ งาน (พนั บาท) 349,064 343,412
อาคารท่พี กั อาศยั และอาคารส�ำ นกั งานใหเ้ ชา่ (พันบาท) 16,522 16,522 - -
สิทธิการใชท้ ด่ี ิน (พันหยวนเหรนิ หมนิ ป)้ี 626 626 - -

มลู คา่ ยตุ ธิ รรมของอสังหาริมทรพั ย์เพ่อื การลงทนุ ข้างต้นประเมนิ โดยผู้ประเมนิ ราคาอิสระโดยใช้เกณฑ์ราคาตลาด

13. ท่ดี ิน อาคารและอุปกรณ์ (หน่วย: พนั บาท)

งบการเงนิ รวม
อาคาร เครอ่ื งตกแต่ง สินทรพั ย์
ที่ดนิ สิ่งปลกู สร้าง เครอ่ื งจักร เคแรอ่ืลงะใ ช ้ ย านพาหนะ ระหว่าง
และสง่ิ ปรบั ปรงุ และอุปกรณ ์ ตดิ ตงั้ รวม

อาคาร ส�ำนักงาน และก่อสรา้ ง
ราคาทนุ
ณ วันท่ี 1 มกราคม 2563 240,121 1,280,978 2,949,248 112,070 121,336 30,728 4,734,481
ซือ้ เพิ่ม - 480 3,517 2,783 5,325 384,743 396,848
จ�ำหน่าย - (960) (168,379) (4,381) (10,030) - (183,750)
โอน - 14,882 35,761 514 1,289 (52,446) -
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงนิ - 4,366 6,913 98 238 668 12,283
ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2563 240,121 1,299,746 2,827,060 111,084 118,158 363,693 4,959,862
ซอื้ เพ่ิม - 190 9,093 3,658 6,870 185,832 205,643
จ�ำหนา่ ย - (2,645) (200,026) (6,843) (7,663) - (217,177)
โอน - 3,440 69,785 347 - (73,572) -
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงนิ - 10,288 2,210 151 292 - 12,941
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 240,121 1,311,019 2,708,122 108,397 117,657 475,953 4,961,269
คา่ เสอ่ื มราคาสะสม
ณ วนั ที่ 1 มกราคม 2563 - (1,047,043) (2,550,602) (100,125) (66,399) - (3,764,169)
ค่าเสอื่ มราคาส�ำหรับปี - (25,375) (51,034) (4,298) (10,268) - (90,975)
คา่ เสอ่ื มราคาส�ำหรับส่วนทจี่ �ำหน่าย - 653 164,011 4,334 9,158 - 178,156
ผลตา่ งจากการแปลงคา่ งบการเงิน - (3,116) (5,818) (115) (279) - (9,328)
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 - (1,074,881) (2,443,443) (100,204) (67,788) - (3,686,316)
ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับป ี - (20,362) (52,230) (4,148) (10,362) - (87,102)
ค่าเสื่อมราคาส�ำหรับสว่ นที่จ�ำหน่าย - 2,465 187,127 6,622 7,654 - 203,868
ผลตา่ งจากการแปลงค่างบการเงนิ - (6,768) (1,265) (136) (276) - (8,445)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 - (1,099,546) (2,309,811) (97,866) (70,772) - (3,577,995)
คา่ เผอ่ื การด้อยคา่
ณ วันท่ี 1 มกราคม 2563 - - (49,876) - - - (49,876)
ลดลงระหวา่ งป ี - - 3,642 - - - 3,642
ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงิน - - (878) - - - (878)
ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563 - - (47,112) - - - (47,112)
(เพ่มิ ขน้ึ ) ลดลงระหวา่ งปี - (27,700) 10,804 - - - (16,896)

บรษิ ัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบิล้ จ�ำ กัด (มหาชน) 81

งบการเงินรวม (หนว่ ย: พันบาท)

อาคาร เครอื่ งตกแตง่ สนิ ทรพั ย์
ท่ีดนิ สงิ่ ปลูกสรา้ ง เครอื่ งจกั ร เคแร่อืลงะใ ช ้ ย านพาหนะ ระหว่าง
และส่ิงปรับปรงุ และอปุ กรณ ์ ตดิ ตงั้ รวม

อาคาร ส�ำนักงาน และก่อสรา้ ง
ผลตา่ งจากการแปลงคา่ งบการเงนิ - (1,429) (883) - - - (2,312)
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 - (29,129) (37,191) - - - (66,320)
มลู ค่าสทุ ธติ ามบญั ชี
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 240,121 224,865 336,505 10,880 50,370 363,693 1,226,434
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 240,121 182,344 361,120 10,531 46,885 475,953 1,316,954
คา่ เส่ือมราคาส�ำหรบั ปี
2563 (จ�ำนวน 81 ล้านบาท รวมอยใู่ นตน้ ทนุ การผลติ ส่วนทเี่ หลือรวมอยู่ในคา่ ใชจ้ า่ ยในการขายและบริหาร) 90,975
2564 (จ�ำนวน 82 ลา้ นบาท รวมอยู่ในต้นทุนการผลิต ส่วนทีเ่ หลือรวมอยู่ในคา่ ใชจ้ า่ ยในการขายและบรหิ าร) 87,102

งบการเงนิ เฉพาะกิจการ (หน่วย: พันบาท)

อาคาร เครอื่ งตกแต่ง สินทรพั ย์
ท่ีดิน ส่ิงปลูกสรา้ ง เครอ่ื งจักร เคแรอ่ืลงะใ ช ้ ย านพาหนะ ระหวา่ ง
และสง่ิ ปรับปรงุ และอปุ กรณ์ ตดิ ต้ัง รวม

อาคาร ส�ำนักงาน และก่อสร้าง
ราคาทนุ
ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 2563 186,770 673,789 1,719,611 71,382 82,186 3,936 2,737,674
ซือ้ เพม่ิ - 210 2,590 1,708 4,565 341,669 350,742
จ�ำหน่าย - - (955) (1,801) (8,304) - (11,060)
โอน - 3,306 18,958 513 1,290 (24,067) -
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563 186,770 677,305 1,740,204 71,802 79,737 321,538 3,077,356
ซอื้ เพม่ิ - - 7,342 1,570 4,011 167,064 179,987
จ�ำหน่าย - - (7,546) (2,797) (1,583) - (11,926)
โอน - 3,440 21,545 347 - (25,332) -
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 186,770 680,745 1,761,545 70,922 82,165 463,270 3,245,417
คา่ เสอ่ื มราคาสะสม
ณ วนั ท่ี 1 มกราคม 2563 - (537,602) (1,457,217) (65,317) (43,753) - (2,103,889)
คา่ เสอ่ื มราคาส�ำหรบั ป ี - (13,311) (34,243) (2,310) (7,197) - (57,061)
ค่าเสอ่ื มราคาส�ำหรบั ส่วนทจ่ี �ำหน่าย - - 951 1,780 7,431 - 10,162
ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2563 - (550,913) (1,490,509) (65,847) (43,519) - (2,150,788)
ค่าเสอ่ื มราคาส�ำหรบั ป ี - (13,347) (34,132) (2,169) (7,305) - (56,953)
ค่าเสอ่ื มราคาส�ำหรับสว่ นที่จ�ำหน่าย - - 7,541 2,709 1,583 - 11,833
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 - (564,260) (1,517,100) (65,307) (49,241) - (2,195,908)
มูลค่าสุทธิตามบัญชี
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563 186,770 126,392 249,695 5,955 36,218 321,538 926,568
ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564 186,770 116,485 244,445 5,615 32,924 463,270 1,049,509
คา่ เสอื่ มราคาส�ำหรับปี
2563 (จ�ำนวน 54 ล้านบาท รวมอยใู่ นตน้ ทนุ การผลิต สว่ นทีเ่ หลือรวมอย่ใู นคา่ ใชจ้ ่ายในการขายและบรหิ าร) 57,061
2564 (จ�ำนวน 54 ลา้ นบาท รวมอยู่ในตน้ ทนุ การผลิต สว่ นทเี่ หลือรวมอยู่ในค่าใช้จ่ายในการขายและบรหิ าร) 56,953

82 แบบ 56-1 One Report

ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 กลมุ่ บรษิ ัทมีอาคารและอุปกรณ์จำ�นวนหนึง่ ซง่ึ ตดั คา่ เสื่อมราคาหมดแลว้ แต่ยังใช้งานอยู่ มูลคา่ ตาม
บัญชกี ่อนหกั ค่าเสือ่ มราคาสะสมของสนิ ทรพั ยด์ งั กล่าวมจี �ำ นวนเงินประมาณ 2,820 ล้านบาท และ 2,984 ลา้ นบาท ตามล�ำ ดับ (เฉพาะบรษิ ทั ฯ:
1,928 ลา้ นบาท 2563: 1,923 ล้านบาท)
บริษัทย่อยแห่งหน่ึงมที ดี่ ินพร้อมสิง่ ปลกู สรา้ งทปี่ ลอดจ�ำ นองแล้วมลู ค่าประมาณ 47 ล้านบาท แตย่ ังคงมภี าระในการห้ามจ�ำ หน่าย จา่ ยโอน
หรอื ก่อภาระผูกพันใดๆ เวน้ แตไ่ ดร้ บั ความยนิ ยอมเป็นหนงั สอื จากธนาคาร

14. เจ้าหน้ีทรัสต์รซี ที ส์

เจ้าหน้ีทรัสตร์ ีซที ส์มอี ตั ราดอกเบ้ยี ร้อยละ 0.7 - 3.3 ต่อปี (2563: ร้อยละ 0.9 - 1.0 ต่อปี)

15. เจา้ หนกี้ ารคา้ และเจ้าหนอ้ี ่นื งบการเงนิ รวม (หน่วย: พันบาท)
2564 2563 งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
216,779 185,079 2564 2563
29,267 67,628 96,223 56,301
เจ้าหนก้ี ารคา้ 54,911 61,279 6,031 3,640
เจ้าหนี้การคา้ - กิจการทเ่ี กย่ี วข้องกนั (หมายเหตุ 6) 1,080 8,052 48,207 51,905
เจา้ หนีอ้ ่ืน 84,432 121,647
เจา้ หนอ้ี น่ื - กิจการทเ่ี กี่ยวข้องกนั (หมายเหตุ 6) 386,469 443,685 574 7,633
ค่าใช้จ่ายคา้ งจา่ ย 35,193 96,303
รวมเจา้ หนีก้ ารคา้ และเจ้าหน้อี ืน่ 186,228 215,782

16. คา่ เผื่อผลขาดทุนจากสญั ญาที่สรา้ งภาระ

ยอดคงเหลือเป็นประมาณการผลขาดทุนทีอ่ าจเกดิ ขึ้นจากข้อตกลงทางการคา้ ทบ่ี ริษทั ฯ มีความตั้งใจจะปฏบิ ตั ติ าม โดยเทยี บเคียงราคาขาย
กบั ตน้ ทุนวัตถุดบิ ที่องิ ตามราคาสนิ ค้าโภคภณั ฑ์ในปัจจุบนั

17. สำ�รองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน
จ�ำ นวนเงินสำ�รองผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนกั งานซ่งึ เป็นเงนิ ชดเชยพนักงานเมอ่ื ออกจากงานแสดงไดด้ งั นี้
(หนว่ ย: พันบาท)
งบการเงนิ รวม งบการเงินเฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
ส�ำ รองผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนักงานตน้ ป ี 336,828 348,629 279,678 292,847
ส่วนท่รี บั รู้ในกำ�ไรหรอื ขาดทนุ :
ตน้ ทนุ บรกิ ารในปัจจุบนั 16,504 17,501 14,104 14,853
ต้นทนุ ดอกเบ้ีย 4,041 4,590 3,460 3,789
สว่ นท่รี บั รใู้ นกำ�ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อนื่ :
(กำ�ไร) ขาดทนุ จากการประมาณการตามหลกั คณติ ศาสตร์ประกนั ภัย
ส่วนทเี่ กดิ จากการเปล่ียนแปลงข้อสมมตทิ างการเงนิ   (16,182) 4,087 (13,082) 2,671
สว่ นทเ่ี กิดจากการปรับปรุงจากประสบการณ์ 10,294 (9,533) 11,120 (9,935)
ผลประโยชนท์ ี่จา่ ยในระหว่างป ี (24,747) (28,446) (15,047) (24,547)
ส�ำ รองผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนกั งานปลายป ี 326,738 336,828 280,233 279,678

บรษิ ทั จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบล้ิ จำ�กดั (มหาชน) 83

กล่มุ บรษิ ัทคาดว่าจะจา่ ยช�ำ ระผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนักงานภายใน 1 ปีข้างหน้าเปน็ จ�ำ นวนประมาณ 46 ลา้ นบาท (เฉพาะบรษิ ทั ฯ:
จ�ำ นวน 44 ล้านบาท) (2563: จ�ำ นวน 41 ล้านบาท เฉพาะบริษทั ฯ: จำ�นวน 33 ลา้ นบาท)
ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564 ระยะเวลาเฉลยี่ ถว่ งน้ำ�หนักในการจ่ายชำ�ระผลประโยชน์ระยะยาวของพนกั งานของกล่มุ บริษทั ประมาณ 9 ปี
(เฉพาะบรษิ ทั ฯ: 9 ปี) (2563: 9 - 10 ปี เฉพาะบริษทั ฯ: 10 ป)ี
สมมตฐิ านท่สี ำ�คญั ในการประมาณการตามหลักคณติ ศาสตร์ประกันภัย สรุปได้ดังนี้
(หนว่ ย: รอ้ ยละตอ่ ป)ี
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกจิ การ
2564 2563 2564 2563
อตั ราคิดลด 1.9 1.2 - 1.4 1.9 1.4
อัตราการข้นึ เงนิ เดือน (ขนึ้ กับชว่ งอาย)ุ 5.0 - 6.0 5.0 - 6.0 6.0 6.0
อตั ราการเปลย่ี นแปลงในจ�ำ นวนพนกั งาน 0.0 - 18.0 0.0 - 18.0 0.0 - 8.0 0.0 - 8.0

ผลกระทบของการเปลยี่ นแปลงสมมตฐิ านทสี่ �ำ คญั ตอ่ มลู คา่ ปจั จบุ นั ของภาระผกู พนั ผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนกั งาน ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม
2564 และ 2563 สรปุ ไดด้ งั น้ี

(หน่วย: ลา้ นบาท)

ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564

งบการเงินรวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ

เพมิ่ ขึน้ 1% ลดลง 1% เพม่ิ ขน้ึ 1% ลดลง 1%

อตั ราคดิ ลด (27) 32 (23) 27

อัตราการขน้ึ เงินเดือน 30 (26) 26 (23)

(หน่วย: ล้านบาท)

ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2563

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ

เพ่มิ ขึน้ 1% ลดลง 1% เพม่ิ ข้ึน 1% ลดลง 1%
อัตราคดิ ลด
อัตราการขึ้นเงินเดอื น (29) 35 (25) 29

33 (28) 28 (24)

18. ส�ำ รองตามกฎหมาย

ภายใตบ้ ทบญั ญตั ขิ องมาตรา 116 แหง่ พระราชบญั ญตั บิ รษิ ทั มหาชนจ�ำ กดั พ.ศ. 2535 บรษิ ทั ฯ ตอ้ งจดั สรรก�ำ ไรสทุ ธปิ ระจ�ำ ปสี ว่ นหนงึ่ ไวเ้ ปน็
ทนุ ส�ำ รองไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 5 ของก�ำ ไรสทุ ธปิ ระจ�ำ ปหี กั ดว้ ยยอดขาดทนุ สะสมยกมา (ถา้ ม)ี จนกวา่ ทนุ ส�ำ รองนจ้ี ะมจี �ำ นวนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 10
ของทุนจดทะเบียน สำ�รองตามกฎหมายดังกล่าวไม่สามารถนำ�ไปจ่ายเงินปันผลได้ ในปัจจุบัน บริษัทฯ ได้จัดสรรสำ�รองตามกฎหมายไว้
ครบถว้ นแลว้

84 แบบ 56-1 One Report

19. ค่าใชจ้ า่ ยตามลกั ษณะ (หนว่ ย: ลา้ นบาท)
งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
รายการค่าใชจ้ า่ ยแบง่ ตามลักษณะประกอบด้วยรายการค่าใชจ้ ่ายท่ีส�ำ คัญ ดังต่อไปนี้ 2564 2563
2,589 1,406
งบการเงินรวม
2564 2563 (482) 42
วัตถดุ ิบและวัสดสุ น้ิ เปลอื งใช้ไป และซือ้ สนิ คา้ สำ�เร็จรูป 5,511 3,220 291 354
การเปลี่ยนแปลงในสนิ คา้ ส�ำ เรจ็ รูปและงานระหว่างทำ� 103 125
เงนิ เดือนและคา่ แรงและผลประโยชน์อื่นของพนกั งาน (545) 1 32 27
คา่ บรรจหุ ีบห่อ 465 494 69 70
คา่ บรกิ ารหลอมวตั ถุดบิ 112 132 44 44
คา่ ไฟฟา้ 11 7 58 58
คา่ ซอ่ มแซมและบำ�รุงรักษา 144 134
คา่ เส่ือมราคาและคา่ ตดั จำ�หน่าย 58 57
89 93

20. ภาษเี งนิ ได้ งบการเงนิ รวม (หนว่ ย: พันบาท)
2564 2563 งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
ค่าใชจ้ ่ายภาษเี งนิ ไดส้ �ำ หรบั ปี สรุปได้ดงั นี้ 27,188 65,591 2564 2563

- 64,788
ภาษเี งนิ ได้ปจั จบุ นั :
ภาษีเงนิ ไดน้ ิติบุคคลส�ำ หรบั ป ี (114,078) 8,158 (116,440) 5,469
ภาษเี งินไดร้ อการตดั บัญช:ี (86,890) 73,749 (116,440) 70,257
ภาษีเงนิ ไดร้ อการตดั บัญชีจากการเกดิ ผลแตกต่างชว่ั คราว
และการกลบั รายการผลแตกต่างชว่ั คราว
คา่ ใช้จา่ ยภาษีเงินได้ทีแ่ สดงอยูใ่ นงบก�ำ ไรขาดทนุ

จำ�นวนภาษเี งินได้ท่ีเกย่ี วข้องกบั สว่ นประกอบแต่ละสว่ นของกำ�ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอืน่ ส�ำ หรับปี สรปุ ได้ดังนี้ (หน่วย: พนั บาท)
งบการเงินเฉพาะกจิ การ
งบการเงินรวม 2564 2563
2564 2563
ภาษีเงนิ ได้รอการตัดบญั ชีทเี่ กย่ี วข้องกับกำ�ไรจากการประมาณการ (1,177) (1,089) (392) (1,453)
ตามหลักคณติ ศาสตร์ประกันภัย
ภาษีเงนิ ได้รอการตดั บญั ชีท่เี ก่ยี วขอ้ งกับ (ก�ำ ไร) ขาดทนุ (6,330) 11,047 (5,886) 10,585
จากเงนิ ลงทุนในตราสารทนุ ท่กี ำ�หนดใหว้ ัดมลู คา่ (7,507) 9,958 (6,278) 9,132
ดว้ ยมูลค่ายุติธรรมผ่านก�ำ ไรขาดทุนเบด็ เสร็จอน่ื


บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบล้ิ จ�ำ กดั (มหาชน) 85

รายการกระทบยอดระหวา่ งก�ำ ไรทางบญั ชกี ับค่าใช้จ่ายภาษเี งินไดม้ ีดังนี้ งบการเงินรวม (หนว่ ย: พนั บาท)
2564 2563 งบการเงินเฉพาะกิจการ
(507,651) 360,765 2564 2563
ก�ำ ไร (ขาดทุน) ทางบญั ชกี อ่ นภาษีเงนิ ได้นติ ิบุคคล ร้อยละ ร้อยละ (600,323) 355,064
อัตราภาษีเงนิ ได้นิตบิ คุ คล 20, 25 20, 25 ร้อยละ ร้อยละ
(103,869) 70,594
ก�ำ ไร (ขาดทนุ ) ทางบญั ชกี ่อนภาษีเงินได้นติ ิบุคคลคูณอตั ราภาษ ี 20 20
สนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ไดร้ อการตัดบัญชที ีไ่ มไ่ ดบ้ นั ทกึ ในปกี อ่ น (120,065) 71,013
แตน่ ำ�มาใชป้ ระโยชนร์ ะหว่างปี
รายการปรับปรงุ สนิ ทรัพย์ภาษเี งินได้รอการตดั บญั ชี - (2,770) - -
สนิ ทรพั ยภ์ าษีเงนิ ได้รอการตัดบัญชีท่ีไม่ไดบ้ ันทึกในระหว่างปี - (1,615) - -
ผลกระทบทางภาษสี ำ�หรับ: 17,628 9,181 5,907 685
รายได้ท่ีต้องรบั ร้ภู าษเี พม่ิ เตมิ
รายได้ทไี่ ดร้ บั การยกเว้นภาษ ี - - 406 546
ค่าใชจ้ า่ ยต้องหา้ ม (675) (675) (2,672) (1,774)
ค่าใช้จา่ ยทีม่ ีสทิ ธหิ กั ไดเ้ พ่ิมข้นึ 477 667
อื่นๆ (373) (827) 221 358
รวม (78) (806) (202) (571)
ค่าใชจ้ า่ ยภาษีเงนิ ได้ท่แี สดงอย่ใู นงบก�ำ ไรขาดทุน (649) (1,641) (35)
(86,890) 73,749 (2,282) -
(116,440) (1,441)
70,257

สว่ นประกอบของสนิ ทรพั ย์และหน้สี ินภาษีเงินไดร้ อการตัดบญั ชี ประกอบด้วยรายการดังต่อไปน้ี
(หน่วย: พันบาท)
งบแสดงฐานะการเงิน
งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกิจการ
2564 2563 2564 2563
สนิ ทรัพย์ (หน้สี นิ ) ภาษเี งนิ ไดร้ อการตดั บัญชี
ลกู หน้กี ารคา้ และสินค้าคงเหลอื (การรับรู้รายไดท้ ่ีตา่ งกัน) 121 (69) 121 (39)
ส่วนปรับปรุงอาคาร (การรับรู้ค่าเสือ่ มราคาทตี่ ่างกนั ) 798 691 - -
คา่ เผ่อื ผลขาดทุนด้านเครดิตทคี่ าดวา่ จะเกิดขึ้น 2,207 1,909 440 496
ค่าเผ่ือการลดลงของมลู ค่าสนิ ค้าคงเหลอื 103,418 11,633 102,537 10,882
คา่ เผอื่ ผลขาดทุนจากสญั ญาทสี่ รา้ งภาระ 18,709 - 18,709 -
กำ�ไรทย่ี งั ไม่เกิดขึน้ จากการปรบั มูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ทางการเงนิ (1,648) - (1,379) -
สำ�รองผลประโยชน์วนั ลาพักรอ้ นของพนกั งาน 1,004 873 786 687
ส�ำ รองผลประโยชนร์ ะยะยาวของพนักงาน 65,348 67,365 56,047 55,935
ก�ำ ไรท่ยี งั ไม่เกดิ ขึน้ จากการเปล่ยี นแปลงมูลคา่ ยุตธิ รรมของเงนิ ลงทุน (11,764) (5,434) (14,921) (9,036)
ขาดทนุ ทางภาษีทยี่ งั ไมไ่ ด้ใช ้ 6,747 1,615 6,747 -
อน่ื ๆ 213 - - -
สินทรัพย์ภาษีเงนิ ไดร้ อการตดั บญั ชี - สุทธ ิ 185,153 78,583 169,087 58,925

86 แบบ 56-1 One Report

ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 กลมุ่ บรษิ ทั มรี ายการผลแตกตา่ งชว่ั คราวทใ่ี ชห้ กั ภาษแี ละขาดทนุ ทางภาษยี งั ไมไ่ ดใ้ ชจ้ �ำ นวน 501 ลา้ นบาท (2563:
467 ลา้ นบาท) ทกี่ ลมุ่ บรษิ ทั ไมไ่ ดบ้ นั ทกึ สนิ ทรพั ยภ์ าษเี งนิ ไดร้ อการตดั บญั ชี เนอื่ งจากพจิ ารณาแลว้ เหน็ วา่ กลมุ่ บรษิ ทั อาจไมม่ กี �ำ ไรทางภาษใี นอนาคต
เพียงพอที่จะน�ำ ผลแตกต่างชว่ั คราวและผลขาดทุนทางภาษมี าใชป้ ระโยชน์ได้
ผลขาดทุนทางภาษีท่ียงั ไมไ่ ดใ้ ชม้ จี ำ�นวนเงิน 333 ล้านบาท ซงึ่ จะทยอยส้ินสดุ ระยะเวลาการใหป้ ระโยชนภ์ ายในปี 2568

21. ก�ำ ไรต่อหุน้
กำ�ไรตอ่ หุน้ ข้ันพน้ื ฐานค�ำ นวณโดยหารกำ�ไร (ขาดทนุ ) ส�ำ หรับปที ี่เป็นของผูถ้ อื หุ้นของบรษิ ทั ฯ (ไม่รวมก�ำ ไรขาดทนุ เบด็ เสรจ็ อ่นื ) ด้วยจ�ำ นวน
ถัวเฉลีย่ ถว่ งน้ำ�หนกั ของหนุ้ สามัญที่ออกอยู่ในระหว่างปี
สำ�หรับปีสิน้ สุดวันที่ 31 ธนั วาคม
งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกจิ การ
2564 2563 2564 2563
กำ�ไร (ขาดทนุ ) ส�ำ หรบั ปี (พนั บาท) (403,768) 298,718 (483,883) 284,808
จำ�นวนหุ้นสามญั ถวั เฉลีย่ ถว่ งน�ำ้ หนัก (พนั หนุ้ ) 397,906 397,906 397,906 397,906
ก�ำ ไร (ขาดทนุ ) ต่อหนุ้ ข้นั พ้ืนฐาน (บาท/หนุ้ ) (1.01) 0.75 (1.22) 0.72

22. ขอ้ มูลทางการเงินจ�ำ แนกตามส่วนงาน

ข้อมูลส่วนงานดำ�เนินงานที่นำ�เสนอนี้สอดคล้องกับรายงานภายในของกลุ่มบริษัทท่ีผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดด้านการดำ�เนินงานได้รับและ
สอบทานอย่างสมำ่�เสมอเพื่อใช้ในการตัดสินใจในการจัดสรรทรัพยากรให้กับส่วนงานและประเมินผลการด�ำ เนินงานของส่วนงาน ท้ังน้ีผู้มีอำ�นาจ
ตัดสินใจสูงสดุ ด้านการด�ำ เนินงานของกลุ่มบรษิ ัทคือประธานบริหารของกลมุ่ บริษทั
เพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการบรหิ ารงาน กลมุ่ บรษิ ทั จดั โครงสรา้ งองคก์ รเปน็ หนว่ ยธรุ กจิ ตามประเภทของผลติ ภณั ฑ์ กลมุ่ บรษิ ทั มสี ว่ นงานทร่ี ายงาน
ท้ังส้นิ 4 สว่ นงาน ดงั น้ี
- ส่วนงานผลติ ภณั ฑ์สายไฟฟ้า ซงึ่ ประกอบดว้ ย ผลติ ภัณฑส์ ายไฟฟ้าตวั น�ำ อลูมิเนียม ผลติ ภณั ฑส์ ายไฟฟา้ ตัวน�ำ ทองแดง และผลติ ภัณฑ์
สายไฟฟ้าแรงดนั สงู
- ส่วนงานผลิตภณั ฑ์สายเคเบล้ิ โทรศัพท์
- ส่วนงานผลิตภณั ฑล์ วดอาบนำ้�ยาและไมอ่ าบน�้ำ ยา ซงึ่ ประกอบดว้ ย ผลติ ภณั ฑล์ วดทองแดงอาบน้ำ�ยาผลติ ภัณฑล์ วดอลูมเิ นียมอาบนำ้�ยา
และผลิตภัณฑ์ลวดทองแดงไม่อาบน้ำ�ยา
- ส่วนงานผลติ ภัณฑ์สายเคเบิ้ลใยแกว้ น�ำ แสง
กลุม่ บริษทั ไมม่ ีการรวมสว่ นงานด�ำ เนนิ งานเปน็ สว่ นงานที่รายงานขา้ งต้น
ผู้มีอำ�นาจตัดสินใจสูงสุดสอบทานผลการดำ�เนินงานของแต่ละหน่วยธุรกิจแยกจากกันเพ่ือวัตถุประสงค์ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรร
ทรัพยากรและการประเมินผลการปฏิบัติงาน กลุ่มบริษัทประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนงานโดยพิจารณาจากกำ�ไรหรือขาดทุนจากการ
ดำ�เนินงานและสินทรพั ยร์ วมซ่งึ วัดมูลคา่ โดยใช้เกณฑเ์ ดียวกบั ท่ใี ชใ้ นการวัดก�ำ ไรหรอื ขาดทุนจากการด�ำ เนินงานและสนิ ทรัพยร์ วมในงบการเงนิ
การบันทึกบญั ชีส�ำ หรับรายการระหวา่ งสว่ นงานท่ีรายงานเป็นไปในลักษณะเดยี วกับการบันทกึ บัญชีส�ำ หรบั รายการธรุ กจิ กบั บคุ คลภายนอก

บริษทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล จ�ำ กัด (มหาชน) 87

ข้อมูลรายไดแ้ ละก�ำ ไรขาดทนุ ของสว่ นงานของกลมุ่ บรษิ ัทสำ�หรับปี มดี งั ตอ่ ไปนี้ (หน่วย: ลา้ นบาท)

ส�ำหรับปสี ิ้นสุดวนั ที่ 31 ธนั วาคม
ส่วนงาน ส่วนงาน สว่ นงานผลติ ภัณฑ์ ส่วนงานผลิตภัณฑ์
ผลติ ภัณฑ ์ ผลิตภัณฑ์ ลวดอาบน�ำ้ ยาและ สายเคเบล้ิ อ่ืนๆ งบการเงินรวม
สายไฟฟา้ 1) สายเคเบ้ิลโทรศพั ท์ ไมอ่ าบน�้ำยา2) ใยแก้วน�ำแสง
2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563
รายได้
รายได้จากการขาย 2,733 2,552 4 9 3,457 1,999 22 104 172 4 6,388 4,668
ก�ำไร (ขาดทนุ ) ของส่วนงาน (292) 585 (1) (8) 247 86 (13) 18 7 1 (52) 682
รายไดแ้ ละคา่ ใชจ้ า่ ยทไ่ี มไ่ ด้ปันส่วน:
รายไดอ้ น่ื 10 15
รายไดเ้ งนิ ปันผล 7 3
คา่ ใชจ้ ่ายในการขายและจดั จ�ำหน่าย (72) (117)
คา่ ใช้จา่ ยในการบรหิ าร (278) (244)
คา่ เผือ่ ผลขาดทุนจากสัญญาท่สี ร้างภาระ (93) -
ค่าเผื่อการดอ้ ยค่าอาคาร เครอื่ งจักรและอุปกรณ์ (17) 4
รายไดท้ างการเงนิ 2 25
ต้นทุนทางการเงนิ (15) (8)
ส่วนแบง่ ก�ำไรจากเงนิ ลงทนุ ในบริษัทร่วม - 1
ก�ำไร (ขาดทนุ ) ก่อนภาษเี งินได้ (508) 361
ภาษีเงินได ้ 87 (74)
ก�ำไร (ขาดทนุ ) ส�ำหรับปี (421) 287
สว่ นของผู้มีส่วนไดเ้ สียทีไ่ ม่มอี �ำนาจควบคมุ ของบริษัทย่อย 17 12
ก�ำไร (ขาดทุน) ส่วนท่เี ป็นของผู้ถอื หุน้ ของบริษทั ฯ (404) 299

1) ส่วนงานผลิตภณั ฑ์สายไฟฟา้ ประกอบดว้ ย ผลิตภณั ฑ์สายไฟฟา้ ตัวน�ำอลูมิเนยี ม ผลติ ภัณฑ์สายไฟฟา้ ตัวน�ำทองแดง และผลิตภณั ฑส์ ายไฟฟา้ แรงดันสูง
2) ส่วนงานผลิตภัณฑ์ลวดอาบน้�ำยาและไม่อาบน�้ำยา ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ลวดทองแดงอาบน้�ำยา ผลิตภัณฑ์ลวดอลูมิเนียมอาบน้�ำยา และผลิตภัณฑ์

ลวดทองแดงไม่อาบน�ำ้ ยา

ขอ้ มูลเกีย่ วกบั เขตภูมศิ าสตร์ (หนว่ ย: ลา้ นบาท)
รายไดจ้ ากลกู คา้ ภายนอกกำ�หนดข้นึ ตามสถานทต่ี ัง้ ของลูกค้า 2564 2563
5,463 4,012
รายได้จากลูกค้าภายนอก
ประเทศไทย 323 126
ฮ่องกง 170 3
สาธารณรฐั ไตห้ วนั 165 121
ประเทศเวยี ดนาม 17 190
สาธารณรฐั ประชาชนจีน 250 216
ประเทศอื่นๆ 6,388 4,668
รวม 1,352 1,240
สนิ ทรัพยไ์ ม่หมุนเวยี น (ไม่รวมเครอ่ื งมอื ทางการเงิน สนิ ทรัพย์ภาษเี งินได้รอตดั บัญชี) 18 43
ประเทศไทย 1,370 1,283
สาธารณรฐั ประชาชนจีน
รวม

88 แบบ 56-1 One Report

ข้อมลู เกีย่ วกับลูกค้ารายใหญ่

ในปี 2564 กลุ่มบริษัทมีรายได้จากลูกค้ารายใหญ่จำ�นวนหน่ึงรายเป็นจำ�นวนเงิน 735 ล้านบาท ซ่ึงมาจากส่วนงานผลิตภัณฑ์สายไฟฟ้า
(2563: มรี ายไดจ้ ากลูกค้ารายใหญ่จำ�นวนหนงึ่ รายเป็นจำ�นวนเงนิ 1,052 ลา้ นบาท ซึ่งมาจากส่วนงานผลติ ภัณฑส์ ายไฟฟา้ )

23. กองทุนสำ�รองเลี้ยงชีพ

กล่มุ บรษิ ัทและพนักงานไดร้ ่วมกนั จัดต้งั กองทุนสำ�รองเลย้ี งชีพข้ึนตามพระราชบญั ญัติกองทนุ ส�ำ รองเลีย้ งชีพ พ.ศ. 2530 โดยกลุ่มบรษิ ัทและ
พนักงานจะจา่ ยสมทบเข้ากองทนุ เป็นรายเดอื นในอัตรารอ้ ยละ 5 ของเงนิ เดือน กองทุนสำ�รองเลีย้ งชพี ของกลุ่มบรษิ ทั บริหารโดยบรษิ ทั หลกั ทรัพย์
จัดการกองทุน กรงุ ศรี จ�ำ กัด และบริษทั หลักทรัพยจ์ ัดการกองทนุ รวม บวั หลวง จ�ำ กดั และจะจ่ายให้แกพ่ นักงานเม่อื พนกั งานนั้น ออกจากงาน
ตามระเบียบว่าด้วยกองทุนของกลุ่มบริษัท ในระหว่างปี 2564 กลุ่มบริษัทรับรู้เงินสมทบดังกล่าวเป็นค่าใช้จ่ายจำ�นวน 9 ล้านบาท (2563:
9 ลา้ นบาท) (เฉพาะบรษิ ทั ฯ: 7 ลา้ นบาท และ 2563: 7 ลา้ นบาท)

24. เงนิ ปนั ผล
อนมุ ตั โิ ดย จ�ำ นวนเงนิ ปนั ผล เงินปันผลตอ่ หนุ้
(พันบาท) (บาท)


เงนิ ปันผลประจ�ำ ปี 2562

ทป่ี ระชุมสามัญผู้ถอื หุ้นประจำ�ป ี

เม่ือวนั ท่ี 28 เมษายน 2563 79,581 0.20
179,057 0.45
เงินปันผลประจ�ำ ปี 2563 ทป่ี ระชุมสามัญผถู้ ือหนุ้ ประจำ�ป ี

เมอื่ วนั ที่ 22 เมษายน 2564

25. ภาระผกู พนั และหนีส้ นิ ท่ีอาจเกิดขึ้น งบการเงนิ รวม งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
31 ธนั วาคม 31 ธันวาคม 31 ธนั วาคม 31 ธนั วาคม
2564 2563 2564 2563

12 37 9 37
ภาระผูกพนั เกย่ี วกบั รายจา่ ยฝา่ ยทนุ - 2 - 2
- การก่อสร้างอาคารโรงงาน (ล้านบาท) - 1 - 1
- การซื้อเคร่ืองจกั รและอปุ กรณ์ (ลา้ นบาท) 3 1 3 1
- การซื้อเคร่อื งจักรและอุปกรณ์ (ล้านเหรยี ญสหรฐั อเมรกิ า)
ภาระผกู พนั การซื้อวตั ถุดบิ (ลา้ นเหรยี ญสหรัฐอเมริกา) 8 8 5 5
ภาระผกู พนั เกี่ยวกบั สญั ญาจา้ งบรกิ าร 2 2 1 1
จา่ ยช�ำ ระภายใน 1 ปี
- ล้านบาท 74 64 74 63
- ลา้ นเหรียญไต้หวนั 370 422 368 417
การค้ำ�ประกนั 22 21 6 6
หนงั สือค้ำ�ประกนั การประกวดราคา (ลา้ นบาท)
หนังสอื ค�ำ้ ประกันการปฏบิ ตั ิตามสัญญา (ล้านบาท) 9,400 - 12,400 16,450 - 20,850 1,600 - 2,400 9,450 - 10,550
หนังสือค้�ำ ประกนั การใช้สาธารณปู โภค (ลา้ นบาท) 540 2,250 - 1,550
ภาระผกู พันตามสญั ญาการซอื้ วัตถุดิบ
เทียบเคยี งราคาตลาด (เมตริกตนั )
ส่วนทีร่ ะบรุ าคาแล้ว (เมตรกิ ตนั )

บริษทั จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบ้ิล จ�ำ กดั (มหาชน) 89

26. ลำ�ดบั ช้นั ของมูลค่ายุติธรรม
ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 และ 2563 กลมุ่ บริษทั มสี ินทรพั ยแ์ ละหน้ีสินที่วดั มูลคา่ ด้วยมลู ค่ายตุ ธิ รรมหรอื เปดิ เผยมูลคา่ ยตุ ธิ รรมแยกแสดง
ตามลำ�ดบั ช้ันของมลู ค่ายุตธิ รรม ดงั นี้

(หน่วย: ลา้ นบาท)

งบการเงนิ รวม ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2564

ระดบั 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม

สนิ ทรัพย์ทวี่ ัดมูลค่าดว้ ยมูลค่ายตุ ิธรรม

สนิ ทรพั ย์ทางการเงินทวี่ ัดมูลคา่ ดว้ ยมูลค่ายตุ ิธรรมผา่ นกำ�ไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอน่ื

เงินลงทุนในตราสารทุน - 146 - 146

ตราสารอนพุ นั ธ์

สญั ญาซือ้ ขายเงินตราต่างประเทศล่วงหนา้ - 8 - 8

สินทรัพย์ท่เี ปิดเผยมลู คา่ ยตุ ธิ รรม

อสงั หาริมทรพั ยเ์ พือ่ การลงทนุ - 369 - 369

(หนว่ ย: ล้านบาท)
งบการเงนิ รวม ณ วนั ท่ี 31 ธันวาคม 2563

ระดบั 1 ระดบั 2 ระดับ 3 รวม
สนิ ทรัพยท์ ี่วัดมูลค่าด้วยมลู ค่ายุตธิ รรม
- 114 - 114
สินทรพั ยท์ างการเงนิ ทีว่ ัดมูลค่าดว้ ยมูลค่ายตุ ธิ รรมผา่ นก�ำ ไรขาดทนุ เบ็ดเสรจ็ อน่ื - 363 - 363
เงินลงทนุ ในตราสารทุน
สนิ ทรัพย์ท่เี ปดิ เผยมลู ค่ายุตธิ รรม

อสงั หาริมทรพั ย์เพอื่ การลงทนุ

(หนว่ ย: ล้านบาท)
งบการเงนิ เฉพาะกิจการ ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 รวม
สินทรัพยท์ วี่ ัดมลู ค่าดว้ ยมูลคา่ ยุติธรรม
- 97 - 97
สนิ ทรพั ย์ทางการเงนิ ทวี่ ดั มูลค่าดว้ ยมลู คา่ ยตุ ิธรรมผา่ นก�ำ ไรขาดทนุ เบ็ดเสร็จอ่ืน - 7 - 7
เงินลงทุนในตราสารทุน - 346 - 346
ตราสารอนุพนั ธ์
สัญญาซ้ือขายเงินตราต่างประเทศลว่ งหนา้
สินทรพั ย์ทีเ่ ปดิ เผยมูลคา่ ยตุ ิธรรม

อสังหาริมทรพั ย์เพ่อื การลงทุน

90 แบบ 56-1 One Report

(หนว่ ย: ลา้ นบาท)
งบการเงินเฉพาะกจิ การ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563

ระดับ 1 ระดับ 2 ระดบั 3 รวม
สนิ ทรพั ยท์ ว่ี ัดมูลค่าด้วยมูลค่ายุติธรรม
- 68 - 68
สินทรพั ย์ทางการเงนิ ทีว่ ัดมลู ค่าด้วยมลู คา่ ยตุ ธิ รรมผา่ นกำ�ไรขาดทนุ เบด็ เสร็จอ่นื - 341 - 341
เงินลงทนุ ในตราสารทนุ
สนิ ทรัพย์ท่เี ปิดเผยมลู ค่ายุตธิ รรม

อสงั หาริมทรพั ย์เพื่อการลงทนุ

27. เครื่องมอื ทางการเงนิ

27.1 วตั ถปุ ระสงค์และนโยบายการบริหารความเส่ยี งทางการเงิน
เคร่ืองมือทางการเงินที่สำ�คัญของกลุ่มบริษัท ประกอบด้วย เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้การค้าและลูกหน้ีอื่น
เงนิ ให้ก้ยู ืม เงนิ ลงทนุ เงนิ กู้ยมื ระยะสน้ั จากสถาบนั การเงนิ เจา้ หนก้ี ารค้าและเจ้าหนี้อ่นื เจ้าหน้ีทรัสต์รซี ที ส์ กลุม่ บริษทั มคี วามเส่ยี งทางการเงินท่ี
เก่ียวขอ้ งกบั เครื่องมอื ทางการเงินดงั กล่าว และมนี โยบายการบริหารความเสยี่ ง ดังน้ี
ความเสยี่ งดา้ นเครดติ
กลุ่มบริษัทมีความเส่ียงด้านเครดิตที่เกี่ยวเน่ืองกับลูกหน้ีการค้าและลูกหนี้อ่ืน เงินให้กู้ยืม เงินฝากกับธนาคารและสถาบันการเงิน
โดยจ�ำ นวนเงนิ สงู สดุ ทก่ี ลมุ่ บรษิ ทั อาจตอ้ งสญู เสยี จากการใหส้ นิ เชอ่ื คอื มลู คา่ ตามบญั ชที แ่ี สดงอยใู่ นงบแสดงฐานะการเงนิ
ลกู หนก้ี ารคา้ และลกู หนอ้ี น่ื
กลุ่มบริษัทบริหารความเสี่ยงโดยใช้นโยบายและขั้นตอนในการควบคุมการให้สินเช่ืออย่างเหมาะสม จึงไม่คาดว่าจะเกิดผลขาดทุน
ทางการเงนิ ทม่ี สี าระสำ�คญั นอกจากน้ี กลมุ่ บรษิ ัทมกี ารตดิ ตามยอดคงค้างของลกู หนี้การคา้ อย่างสม�่ำ เสมอ
ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน กลุ่มบริษัทพิจารณาอัตราค่าเผ่ือผลขาดทุนด้านเครดิตที่คาดว่าจะเกิดข้ึนโดยคำ�นวณจากอายุหนี้
คงค้างโดยการจดั กลมุ่ ลกู คา้ ทีม่ ีความเส่ยี งดา้ นเครดติ ท่ีคล้ายคลึงกันนับจากวนั ทถี่ งึ กำ�หนดชำ�ระส�ำ หรบั กล่มุ
เงินฝากธนาคาร
กลุ่มบริษัทมีความเสี่ยงด้านเครดิตของตราสารหน้ีอยู่ในระดับต่ำ�เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีนโยบายในการพิจารณาและอนุมัติวงเงิน
สินเช่ือสำ�หรับธนาคารแต่ละรายโดยคณะกรรมการของกลุ่มบริษัท และธนาคารคู่สัญญาของกลุ่มบริษัทเป็นธนาคารท่ีมีอันดับความน่าเช่ือถือ
ด้านเครดิตจากการประเมนิ โดยสถาบัน จัดอันดบั ความน่าเชื่อถือดา้ นเครดติ ระหวา่ งประเทศในระดบั สูง
ความเสี่ยงด้านตลาด
กลมุ่ บริษัทมีความเสีย่ งดา้ นตลาด 2 ประเภท ได้แก่ ความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลี่ยน และความเสี่ยงจากอัตราดอกเบ้ีย
ความเสีย่ งจากอตั ราแลกเปลีย่ น
กลุ่มบริษัทมีความเส่ียงจากอัตราแลกเปล่ียนท่ีสำ�คัญอันเกี่ยวเน่ืองจากการซื้อหรือขายสินค้าเป็นเงินตราต่างประเทศ กลุ่มบริษัท
ไดต้ กลงท�ำ สญั ญาซอื้ ขายเงนิ ตราต่างประเทศล่วงหนา้ ซ่งึ สว่ นใหญ่มีอายสุ ญั ญาไมเ่ กนิ หนง่ึ ปเี พอ่ื ใชเ้ ปน็ เครอื่ งมอื ในการบริหารความเสีย่ ง

บรษิ ทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบล้ิ จำ�กัด (มหาชน) 91

ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 กลมุ่ บรษิ ัทมียอดคงเหลอื ของสินทรัพยแ์ ละหนสี้ ินทางการเงนิ ทเี่ ปน็ สกุลเงนิ ตราต่างประเทศ
ดังนี้

งบการเงินรวม

สกลุ เงนิ สนิ ทรัพยท์ างการเงนิ หนส้ี ินทางการเงิน อตั ราแลกเปลีย่ นเฉลย่ี

2564 2563 2564 2563 2564 2563

(ลา้ น) (ลา้ น) (ลา้ น) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงนิ ตราตา่ งประเทศ)

เหรียญสหรัฐอเมรกิ า 4 3 54 7 33.4199 30.0371

งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ
สกลุ เงนิ
สนิ ทรัพยท์ างการเงิน หนส้ี นิ ทางการเงิน อัตราแลกเปลย่ี นเฉลย่ี

เหรียญสหรฐั อเมริกา 2564 2563 2564 2563 2564 2563

(ลา้ น) (ล้าน) (ลา้ น) (ล้าน) (บาทต่อหน่วยเงนิ ตราตา่ งประเทศ)

3 - 36 4 33.4199 30.0371

นอกจากน้ี กลุ่มบริษัทยังมีความเส่ียงจากการท่ีมีเงินลงทุนในบริษัทย่อยในต่างประเทศ ซ่ึงฝ่ายบริหารของกลุ่มบริษัทมีความตั้งใจ
ที่จะถอื เงนิ ลงทนุ ดงั กล่าวในระยะยาวและไมม่ แี ผนที่จะขายเงินลงทุนดังกลา่ วในอนาคต ดงั นน้ั จงึ ไม่ได้ท�ำ สญั ญาป้องกันความเสีย่ งไว้
กลมุ่ บรษิ ทั พจิ ารณาวา่ การเปลย่ี นแปลงของมลู คา่ ยตุ ธิ รรมของสนิ ทรพั ยแ์ ละหนส้ี นิ ทเี่ ปน็ สกลุ เงนิ ตราตา่ งประเทศ ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม
2564 ไม่มีผลกระทบอยา่ งเป็นสาระส�ำ คญั ต่อก�ำ ไรกอ่ นภาษขี องกลุม่ บริษัท
ความเสย่ี งจากอตั ราดอกเบยี้
กลมุ่ บรษิ ทั มคี วามเสยี่ งจากอตั ราดอกเบย้ี ทส่ี �ำ คญั อนั เกยี่ วเนอ่ื งกบั เงนิ ฝากธนาคาร เงนิ กยู้ มื ระยะสน้ั และเจา้ หนท้ี รสั ตร์ ซี ที ส์ สนิ ทรพั ย์
และหนี้สินทางการเงินส่วนใหญ่มีอัตราดอกเบี้ยทปี่ รับข้นึ ลงตามอตั ราตลาด หรอื มอี ัตราดอกเบยี้ คงทซ่ี ง่ึ ใกล้เคียงกบั อตั ราตลาดในปจั จบุ ัน
ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2564 และ 2563 สนิ ทรพั ย์และหนส้ี ินทางการเงนิ ท่สี �ำ คญั สามารถจดั ตามประเภทอัตราดอกเบี้ย และสำ�หรับ
สินทรัพย์และหน้ีสินทางการเงินทม่ี ีอตั ราดอกเบี้ยคงท่สี ามารถแยกตามวนั ทคี่ รบก�ำ หนดหรอื วันท่มี กี ารก�ำ หนดอัตราดอกเบ้ียใหม่ (หากวันท่ีมีการ
กำ�หนดอัตราดอกเบีย้ ใหม่ถึงกอ่ น) ได้ดังนี้

92 แบบ 56-1 One Report

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงนิ รวม ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564

อตั ราดอกเบีย้ คงที ่ อตั ราดอกเบี้ย ไม่มี อัตรา

ภายใน มากกวา่ ปรบั ข้ึนลง อัตรา รวม ดอกเบย้ี

1 ปี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย ท่แี ท้จรงิ

(ร้อยละต่อปี)

สินทรพั ยท์ างการเงิน

เงนิ สดและรายการเทียบเทา่ เงนิ สด - - 992 4 996 0.1 - 0.4

ลกู หนก้ี ารค้าและลูกหนี้อ่ืน - - - 1,698 1,698 -

สินทรพั ย์ทางการเงินหมนุ เวยี นอืน่ - - - 8 8 -

สนิ ทรัพยท์ างการเงนิ ไมห่ มุนเวยี นอื่น - 57 - 146 203 0.2 - 1.0

- 57 992 1,856 2,905

หนีส้ ินทางการเงิน

เจ้าหนี้ทรัสตร์ ีซที ส ์ 1,649 - - - 1,649 0.7 - 3.3

เจ้าหนก้ี ารคา้ และเจา้ หน้อี ่ืน - - - 386 386 -

1,649 - - 386 2,035

(หน่วย: ล้านบาท)

งบการเงนิ รวม ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563

อัตราดอกเบี้ยคงท่ ี อัตราดอกเบย้ี ไม่ม ี อัตรา

ภายใน มากกว่า ปรับขนึ้ ลง อัตรา รวม ดอกเบ้ีย

1 ป ี 5 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบี้ย ทแ่ี ท้จริง

(รอ้ ยละตอ่ ปี)

สินทรพั ยท์ างการเงนิ

เงินสดและรายการเทยี บเทา่ เงนิ สด 101 - 826 - 927 0.1 - 0.4

ลูกหนีก้ ารค้าและลูกหน้อี ่นื - - - 1,217 1,217 -

สินทรพั ย์ทางการเงินหมนุ เวยี นอน่ื 100 - - - 100 0.6

สินทรพั ย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอนื่ - 56 - 114 170 0.2

201 56 826 1,331 2,414

หน้ีสนิ ทางการเงิน

เงนิ กู้ยืมระยะสน้ั จากสถาบนั การเงิน - - 36 - 36 4.5 - 4.9

เจ้าหนีท้ รัสต์รีซีทส ์ 74 - - - 74 0.9 - 1.0

เจ้าหน้ีการคา้ และเจา้ หนอ้ี ่นื - - - 444 444 -

74 - 36 444 554

บริษทั จรุงไทยไวร์แอนด์เคเบิล้ จำ�กดั (มหาชน) 93

งบการเงนิ เฉพาะกจิ การ ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564 (หน่วย: ลา้ นบาท)

อตั ราดอกเบย้ี คงท ่ี อตั ราดอกเบยี้ ไมม่ ี อัตรา
ดอกเบย้ี
ภายใน ปรบั ข้นึ ลง อัตรา รวม ที่แท้จริง
(ร้อยละต่อป)ี
1 ปี ตามราคาตลาด ดอกเบย้ี
0.1 - 0.3
-
-
สนิ ทรพั ย์ทางการเงนิ -

เงนิ สดและรายการเทยี บเทา่ เงินสด - 637 (1) 636 0.7 - 3.3
-
ลกู หน้ีการค้าและลูกหนี้อนื่ - - 900 900

สินทรัพยท์ างการเงนิ หมุนเวียนอ่ืน - - 7 7

สนิ ทรพั ยท์ างการเงนิ ไมห่ มุนเวยี นอ่นื - - 97 97

- 637 1,003 1,640

หนี้สินทางการเงิน

เจ้าหนีท้ รัสตร์ ซี ีทส ์ 1,141 - - 1,141

เจา้ หนก้ี ารคา้ และเจา้ หนอี้ นื่ - - 186 186

1,141 - 186 1,327

งบการเงินเฉพาะกิจการ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563 (หนว่ ย: ลา้ นบาท)

อตั ราดอกเบี้ยคงท่ ี อตั ราดอกเบี้ย ไม่ม ี อตั รา
ดอกเบ้ีย
ภายใน ปรบั ขน้ึ ลง อตั รา รวม ที่แทจ้ รงิ
(ร้อยละต่อป)ี
1 ป ี ตามราคาตลาด ดอกเบย้ี
0.1 - 0.4
-
0.6
สินทรพั ย์ทางการเงิน -

เงินสดและรายการเทียบเทา่ เงินสด 101 508 (6) 603 0.9 - 1.0
-
ลกู หนีก้ ารคา้ และลกู หนอี้ ื่น - - 663 663

สินทรัพยท์ างการเงินหมุนเวยี นอน่ื 100 - - 100

สินทรัพย์ทางการเงินไม่หมุนเวียนอื่น - - 68 68

201 508 725 1,434

หนส้ี ินทางการเงิน

เจ้าหน้ที รสั ต์รีซีทส์ 74 - - 74

เจา้ หนีก้ ารคา้ และเจ้าหนอี้ นื่ - - 216 216

74 - 216 290

94 แบบ 56-1 One Report

กลมุ่ บรษิ ทั พจิ ารณาวา่ การเปลย่ี นแปลงของอตั ราดอกเบยี้ ของเงนิ กยู้ มื ทม่ี อี ตั ราดอกเบยี้ ปรบั ขน้ึ ลงตามอตั ราตลาด ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม
2564 ไม่มผี ลกระทบอยา่ งเป็นสาระส�ำ คัญตอ่ ก�ำ ไรก่อนภาษขี องกลุม่ บรษิ ัท
ความเสี่ยงด้านสภาพคลอ่ ง
กลุ่มบริษัทได้ประเมินความเส่ียงด้านสภาพคล่องไว้อยู่ในระดับตำ่�เน่ืองจากกลุ่มบริษัทสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนท่ีหลากหลาย
อยา่ งเพียงพอ
27.2 มลู ค่ายุติธรรมของเครือ่ งมือทางการเงิน
เนื่องจากเคร่ืองมือทางการเงินส่วนใหญ่ของกลุ่มบริษัทจัดอยู่ในประเภทระยะสั้นหรือมีอัตราดอกเบ้ียใกล้เคียงกับอัตราดอกเบี้ย
ในตลาด กลมุ่ บรษิ ัทจงึ ประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของเครอื่ งมือทางการเงนิ ใกลเ้ คยี งกับมูลคา่ ตามบัญชีท่แี สดงในงบแสดงฐานะการเงนิ
กลุม่ บรษิ ทั มวี ธิ กี ารและสมมติฐานทใี่ ชใ้ นการประมาณมูลคา่ ยุตธิ รรมของเครอ่ื งมอื ทางการเงนิ ดังนี้
ก) สินทรัพย์และหนี้สินทางการเงินที่จะครบกำ�หนดในระยะเวลาอันส้ัน ได้แก่ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ลูกหนี้และ
ลกู หนอ้ี น่ื เจา้ หนแ้ี ละเจา้ หนอ้ี นื่ เงนิ กยู้ มื ระยะสน้ั จากสถาบนั การเงนิ แสดงมลู คา่ ยตุ ธิ รรมโดยประมาณตามมลู คา่ ตามบญั ชที แี่ สดงในงบแสดงฐานะ
การเงิน
ข) เงินลงทุนในตราสารทุน แสดงมูลค่ายุติธรรมตามราคาตลาด หรืออ้างอิงจากแบบจำ�ลองราคาที่ได้รับการยอมรับโดยท่ัวไป
ในกรณีท่ไี มม่ ีราคาตลาด
ค) เงนิ กยู้ มื ระยะสน้ั ทจี่ า่ ยดอกเบย้ี ในอตั ราใกลเ้ คยี งกบั อตั ราดอกเบย้ี ในตลาด แสดงมลู คา่ ยตุ ธิ รรมโดยประมาณตามมลู คา่ ตามบญั ชี
ทีแ่ สดงในงบแสดงฐานะการเงนิ
ง) ตราสารอนุพันธ์ แสดงมูลค่ายุติธรรมซ่ึงคำ�นวณโดยใช้เทคนิคการคิดลดกระแสเงินสดในอนาคตและแบบจำ�ลองตามทฤษฎี
ในการประเมินมูลค่า ซึ่งขอ้ มูลท่ีนำ�มาใช้ในการประเมินมูลค่าส่วนใหญ่เปน็ ขอ้ มลู ทสี่ ามารถสังเกตไดใ้ นตลาดที่เกีย่ วขอ้ ง เช่น อตั ราแลกเปลี่ยน
ทนั ที อตั ราแลกเปลยี่ นลว่ งหนา้ ของเงนิ ตราตา่ งประเทศ เสน้ อตั ราผลตอบแทนของอตั ราดอกเบยี้ และเสน้ ราคาลว่ งหนา้ ของสนิ คา้ โภคภณั ฑ์ เปน็ ตน้
กล่มุ บรษิ ัทได้คำ�นึงถึงผลกระทบของความเส่ยี งด้านเครดิตของคสู่ ัญญาในการประมาณมูลค่ายุตธิ รรมของตราสารอนพุ นั ธ์
ในระหวา่ งปีปัจจุบัน ไมม่ ีการโอนรายการระหว่างลำ�ดับชัน้ ของมลู ค่ายตุ ิธรรม

28. การบรหิ ารจดั การทนุ

วัตถุประสงค์ในการบริหารจัดการทุนที่สำ�คัญของกลุ่มบริษัทคือการจัดให้มีซ่ึงโครงสร้างทุนท่ีเหมาะสมเพื่อสนับสนุนการดำ�เนินธุรกิจของ
กลุ่มบริษทั และเสริมสรา้ งมลู ค่าการถือหุ้นใหก้ ับผู้ถือห้นุ โดย ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 กลมุ่ บริษัทมีอตั ราสว่ นหนี้สนิ ตอ่ ทนุ เท่ากบั 0.64:1
(2563: 0.21:1) และเฉพาะบรษิ ัทฯ มีอัตราส่วนหนี้สนิ ต่อทุนเท่ากับ 0.49:1 (2563: 0.15:1)

29. เหตกุ ารณ์ภายหลงั รอบระยะเวลารายงาน

เมือ่ วนั ที่ 26 มกราคม 2565 ทปี่ ระชุมคณะกรรมการของบรษิ ัทฯ มีมติอนุมัตกิ ารกยู้ ืมเงินจากธนาคารแหง่ หนง่ึ เป็นจ�ำ นวน 9 ลา้ นเหรียญ
สหรัฐอเมรกิ า หรอื ประมาณ 310 ล้านบาท เงนิ กยู้ ืมมีอัตราดอกเบย้ี ลอยตวั อ้างอิงกบั LIBOR ซงึ่ ครบก�ำ หนดชำ�ระภายในเดอื นกุมภาพันธ์ 2567
ภายใตส้ ญั ญาเงนิ กบู้ รษิ ทั ฯ ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามเงอ่ื นไขทางการเงนิ บางประการ ตอ่ มาในเดอื นมกราคม 2565 บรษิ ทั ฯ เบกิ ใชเ้ งนิ กดู้ งั กลา่ วทง้ั จ�ำ นวนแลว้

30. การอนมุ ัตงิ บการเงิน

งบการเงินนไี้ ด้รับอนุมตั ใิ หอ้ อกโดยกรรมการผู้มอี ำ�นาจของบรษิ ัทฯ เมือ่ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565

บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบล้ิ จำ�กดั (มหาชน) 95

การรบั รองความถกู ตอ้ งของข้อมูล

“บริษัทได้สอบทานข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี/รายงานประจำ�ปีฉบับนี้แล้ว ด้วยความระมัดระวัง บริษัทขอรับรองว่า
ขอ้ มูลดังกล่าวถกู ต้องครบถว้ น ไมเ่ ป็นเท็จ ไมท่ �ำ ใหผ้ อู้ ่ืนสำ�คญั ผิด หรือไม่ขาดขอ้ มลู ทค่ี วรตอ้ งแจ้งในสาระส�ำ คญั นอกจากน้ี บริษทั ขอรับรองวา่
(1) งบการเงินและข้อมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการข้อมูลประจำ�ปี/รายงานประจำ�ปี ได้แสดงข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วน
ในสาระสำ�คญั เกยี่ วกบั ฐานะการเงิน ผลการด�ำ เนนิ งาน และกระแสเงนิ สดของบรษิ ัทและบริษัทย่อยแลว้
(2) บริษัทได้จัดให้บริษัทมีระบบการเปิดเผยข้อมูลท่ีดี เพ่ือให้แน่ใจว่าบริษัทได้เปิดเผยข้อมูลในส่วนที่เป็นสาระสำ�คัญทั้งของบริษัทและ
บริษัทย่อยอย่างถกู ตอ้ งครบถว้ นแล้ว รวมทงั้ ควบคมุ ดแู ลใหม้ กี ารปฏิบตั ติ ามระบบดังกล่าว
(3) บริษัทได้จัดให้มีระบบการควบคุมภายในท่ีดี และควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามระบบดังกล่าว และบริษัทได้แจ้งข้อมูลการประเมิน
ระบบการควบคุมภายใน ณ วนั ที่ 31 ธนั วาคม 2564 ต่อผู้สอบบัญชี และกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว้ ซ่ึงครอบคลุมถงึ ขอ้ บกพรอ่ งและ
การเปลี่ยนแปลงท่ีสำ�คัญของระบบการควบคุมภายใน รวมท้ังการกระทำ�ที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบต่อการจัดทำ�รายงานทางการเงินของบริษัท
และบรษิ ัทย่อย
ในการน้ี เพอ่ื เปน็ หลกั ฐานวา่ เอกสารทง้ั หมดเปน็ เอกสารชดุ เดยี วกนั กบั ทบ่ี รษิ ทั ไดร้ บั รองความถกู ตอ้ งแลว้ บรษิ ทั ไดม้ อบหมายให้ นางสนุ นั ทา
แพงศขุ เป็นผลู้ งลายมอื ชื่อก�ำ กับเอกสารนไ้ี ว้ทุกหนา้ ด้วย หากเอกสารใดไม่มลี ายมอื ช่อื ของ นางสนุ ันทา แพงศุข ก�ำ กับไว้ บรษิ ัทจะถอื วา่ ไม่ใช่
ขอ้ มลู ท่บี ริษัทได้รับรองความถูกตอ้ งของข้อมลู แลว้ ดังกลา่ วข้างต้น”

ชอ่ื ตำ�แหน่ง ลายมือช่ือ
1. นายซุน ทาว-เฮนิ กรรมการผู้อ�ำ นวยการ นายซุน ทาว เฮิน
2. นายเกษม กหุ ลาบแกว้ กรรมการ นายเกษม กหุ ลาบแกว้
3. นางสุนนั ทา แพงศขุ กรรมการและรองกรรมการ นางสุนันทา แพงศขุ
ผ้อู �ำ นวยการ (การเงนิ )

ชอ่ื ตำ�แหนง่ ลายมอื ชอ่ื
ผรู้ บั มอบอำ�นาจ นางสนุ นั ทา แพงศขุ กรรมการและรองกรรมการ นางสนุ ันทา แพงศขุ
ผู้อ�ำ นวยการ (การเงนิ )

96 แบบ 56-1 One Report

เอกสารแนบ

รายละเอียดเก่ียวกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้มีอ�ำ นาจควบคุม ผู้ที่ ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบสูงสุดในสายงาน
บัญชีและการเงนิ ผู้ที่ ได้รับมอบหมายใหร้ ับผิดชอบโดยตรงในการควบคมุ ดูแลการทำ�บญั ชี และเลขานกุ ารบริษทั

ช่ือ - สกลุ / อาย ุ คุณวฒุ ทิ างการศึกษา/ % การถอื หุน้ ความสัมพันธ ์ ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปยี อ้ นหลงั
ต�ำแหนง่ (ป)ี ประวตั กิ ารอบรม ทางครอบครัว ระยะเวลา ต�ำแหนง่ บรษิ ทั
ระหว่างผบู้ รหิ าร

นายชยั โสภณพนิช 78 - ปริญญาตรี บริหารธุรกจิ 1.16 - 2561 - ปจั จบุ นั ประธานกรรมการ บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล
มหาวทิ ยาลัยโคโรราโด จ�ำกดั (มหาชน)
ประธานกรรมการ สหรฐั อเมรกิ า 2561 - ปจั จุบนั ประธานกรรมการ บรษิ ทั กรุงเทพประกนั ภัย จ�ำกัด
- การอบรมจากสมาคม (มหาชน)
สง่ เสริมสถาบนั กรรมการ 2553 - 2558 ประธานคณะผูบ้ รหิ าร บริษทั กรุงเทพประกันภัย จ�ำกดั
บรษิ ทั ไทย (IOD) (มหาชน)
(DCP 16/2002 และ 2561 - ปจั จุบนั ประธานกรรมการ บรษิ ทั โรงพยาบาลบ�ำรุงราษฎร์
Chairman 10/2004) จ�ำกัด (มหาชน)
- ปรญิ ญาบัตร 2561 - 2564 ประธานกรรมการ บริษทั ไทยรับประกนั ภยั ต่อ
หลักสตู รวิทยาลยั จ�ำกัด (มหาชน)
ป้องกันราชอาณาจกั ร 2561 - ปัจจบุ ัน ประธานกรรมการ บรษิ ัท ไฟน์ เม็ททลั เทคโนโลยีส์
ภาครัฐร่วมกบั จ�ำกัด (มหาชน)
เอกชน (ปรอ.รุ่นที่ 6) 2532 - ปจั จุบัน รองประธานกรรมการ บริษทั ไทยเมทัล โพรเซสซ่งิ จ�ำกัด
- Advanced Management
Program, The Wharton
School, 1984

นายเปรมชยั 68 ปรญิ ญาโท บริหารธุรกจิ 0.00 เปน็ นอ้ งชาย 2552 - ปจั จบุ นั รองประธานกรรมการ บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล
กรรณสูต มหาวิทยาลัยเซ้าทเ์ ทริ น์ นางนจิ พร จ�ำกดั (มหาชน)
แคลิฟอรเ์ นีย สหรฐั อเมรกิ า จรณะจติ ต์ 2528 - ปจั จบุ ัน ประธานกรรมการ บริษัท อติ าเลียนไทย
รองประธานกรรมการ ซ่งึ เปน็ กรรมการ บรหิ าร ดเี วลอ๊ ปเม้นต์ จ�ำกดั (มหาชน)
ของบรษิ ทั ฯ 2522 - ปัจจบุ ัน ประธานกรรมการ บริษทั บางกอกสตีลไวร์ จ�ำกัด
บรหิ าร
2540 - 2564 กรรมการ บรษิ ทั สยามไฟเบอร์ อ๊อพตคิ ส์
จ�ำกดั
ปัจจุบนั กรรมการ บรษิ ทั สยามสติลซินดิเกต จ�ำกัด
(มหาชน)
ปจั จุบนั กรรมการ บริษัท เครอ่ื งจักรกลสยาม จ�ำกดั
ปัจจุบนั กรรมการ บริษัท ภูมใิ จไทย ซีเมนต์ จ�ำกัด
ปจั จุบัน กรรมการ บริษัท เมยี นม่า ไอทดี ี จ�ำกัด

นาย ซุน ทาว-เฮนิ 68 - ปรญิ ญาโท บรหิ ารธรุ กจิ 1.91 - 2537 - ปจั จบุ นั กรรมการผู้อ�ำนวยการ บริษทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบล้ิ
มหาวิทยาลัยเซา้ ทเ์ ทริ น์ จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการผ้อู �ำนวยการ แคลิฟอรเ์ นีย สหรฐั อเมริกา 2539 - ปจั จบุ ัน กรรมการผู้อ�ำนวยการ บรษิ ทั ซีทดี บั บลวิ เบตา้ จ�ำกดั
(กรรมการผมู้ อี �ำนาจ - การอบรมจากสมาคม 2540 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บรษิ ทั สยามไฟเบอร์ ออ๊ พติคส์
ลงนาม) ส่งเสรมิ สถาบนั กรรมการ จ�ำกดั
บรษิ ัทไทย (IOD) 2546 - ปจั จุบัน กรรมการผู้จัดการ บริษัท แปซิฟคิ อเี ลค็ ทรคิ ไวร์
(DAP 73/2008) แอนด์ เคเบิล้ จ�ำกดั
2550 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บริษัท สยาม แปซฟิ ิค อเี ล็คทรคิ
ไวร์ แอนด์ เคเบล้ิ จ�ำกดั
2538 - ปจั จุบนั กรรมการ บริษัท ไทยเมทัล โพรเซสซิง่ จ�ำกดั
2539 - ปจั จุบัน กรรมการ บรษิ ทั เอเซยี แปซฟิ คิ ไวร์ แอนด์
เคเบ้ิล จ�ำกัด
2555 - ปัจจบุ ัน กรรมการ บริษทั ดบั เบลิ ดี เคเบ้ิล จ�ำกดั
2563 - ปัจจุบนั กรรมการ บรษิ ทั สยาม แปซิฟคิ โฮลดิง้ จ�ำกัด

บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิ้ล จ�ำ กดั (มหาชน) 97

ช่ือ - สกลุ / อายุ คณุ วฒุ ทิ างการศึกษา/ % การถือห้นุ ความสมั พนั ธ ์ ประสบการณ์การท�ำงาน 5 ปยี ้อนหลงั
ต�ำแหนง่ (ปี) ประวัตกิ ารอบรม ทางครอบครัว ระยะเวลา ต�ำแหน่ง บรษิ ทั
ระหว่างผ้บู รหิ าร

นายพรวุฒิ สารสนิ 62 - ปริญญาโท บรหิ ารธุรกิจ 0.01 - 2529 - ปจั จุบัน กรรมการอสิ ระ บรษิ ัท จรุงไทยไวร์แอนดเ์ คเบ้ลิ
มหาวทิ ยาลัยเปปเปอร์ไดน ์ จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการอิสระและ สหรัฐอเมริกา 2544 - ปัจจุบัน ประธานกรรมการ บรษิ ทั จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบิ้ล
ประธานกรรมการ - การอบรมจากสมาคม ตรวจสอบ จ�ำกัด (มหาชน)
ตรวจสอบ สง่ เสรมิ สถาบันกรรมการ 2556 - ปัจจบุ นั ประธานกรรมการ บรษิ ทั ไทยน้�ำทิพย์ จ�ำกัด
บริษัทไทย (IOD) 2560 - ปัจจุบนั ประธานกรรมการ บริษทั บีจี คอนเทนเนอร์ กลา๊ ส
(DAP 45/2005) จ�ำกดั (มหาชน)
ปจั จบุ ัน กรรมการ บรษิ ัท ฝาจีบ จ�ำกดั (มหาชน)
ปัจจุบัน กรรมการ บรษิ ัท โฮมโปรดกั ส์ เซน็ เตอร์ จ�ำกัด
(มหาชน)
ปจั จบุ ัน กรรมการ บรษิ ัท เอพี (ไทยแลนด)์ จ�ำกัด
(มหาชน)

นายเกษม กหุ ลาบแกว้ 90 - ปริญญาตรวี ิศวกรรมศาสตร์ 0.006 - 2538 - ปัจจบุ ัน กรรมการ บริษทั จรุงไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิ้ล
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการ - การอบรมจากสมาคม 2535 - ปจั จุบัน ทป่ี รกึ ษา บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบลิ้
กรรมการสรรหา สง่ เสรมิ สถาบันกรรมการ จ�ำกัด (มหาชน)
และพิจารณาคา่ ตอบแทน บริษัทไทย (IOD) 2549 - ปัจจบุ นั กรรมการสรรหา และ บริษทั จรงุ ไทยไวร์แอนด์เคเบ้ลิ
(กรรมการผมู้ อี �ำนาจ (DAP 35/2005, พิจารณาคา่ ตอบแทน จ�ำกัด (มหาชน)
ลงนาม) RCC 2/2007 และ 2535 - ปัจจบุ ัน ท่ีปรึกษาอาวุโส บรษิ ัท ทาซา่ อินดัสเตรยี ล จ�ำกัด
DCP 126/2009)
- ปรญิ ญาบตั ร หลกั สูตร
วทิ ยาลัย
ปอ้ งกนั ราชอาณาจักร
(วปอ.รุน่ ท่ี 29)

นายสตเี ฟน่ ซ่วย กู่ 65 ปริญญาตร ี - - 2552 - ปัจจบุ นั กรรมการอิสระ และ บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิ้ล
สาขาวศิ วกรรมสง่ิ ทอ กรรมการตรวจสอบ จ�ำกัด (มหาชน)
กรรมการอิสระ และ มหาวทิ ยาลยั เซนต์จอห์น 2545 - ปจั จบุ ัน กรรมการผู้จัดการ บรษิ ทั เลย์แกรนด์ อนิ เตอร์
กรรมการตรวจสอบ ไตห้ วนั เนชนั่ แนล จ�ำกดั
2545 - ปจั จบุ นั กรรมการผจู้ ดั การ บรษิ ัท ซโู จว คิงส์ แพค็ กิ้ง
แมททีเรยี ล จ�ำกดั
2554 - ปัจจุบัน กรรมการผจู้ ัดการ บริษทั สมารท์ โค อนิ เตอร์เนชั่นแนล
จ�ำกดั

นายยวน จ้นุ ถงั 61 ปริญญาโท 0.27 - ปัจจบุ นั กรรมการ บริษัท จรุงไทยไวรแ์ อนด์เคเบ้ิล
วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ จ�ำกดั (มหาชน)
กรรมการ มหาวทิ ยาลยั วอเตอร์ลู 2547 - ปจั จุบนั ประธานกรรมการ บริษทั แปซิฟิค อีเลค็ ทริค ไวร์
แคนาดา แอนด์ เคเบิ้ล จ�ำกัด
2550 - ปัจจุบัน กรรมการ บรษิ ทั สยาม แปซิฟคิ อีเล็คทริค
ไวร์ แอนด์ เคเบลิ้ จ�ำกัด
2548 - ปจั จุบนั ประธานเจ้าหนา้ ที ่ บริษัท เอเชยี แปซิฟคิ ไวร์ แอนด์
บริหาร เคเบ้ิล จ�ำกดั
2548 - ปัจจุบนั กรรมการ บรษิ ัท ออสเตรเลยี แปซฟิ คิ
อีเล็คทริค เคเบ้ิล จ�ำกัด
2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บรษิ ทั แปซฟิ คิ อเี ล็คทริค ไวร์
แอนด์ เคเบล้ิ (เซนิ เจิน้ ) จ�ำกดั
2548 - ปัจจุบัน กรรมการ บรษิ ทั ซกิ มา่ เคเบิล้ จ�ำกัด

นายไส้ หวา่ 62 ปรญิ ญาโท การเงิน - - 2552 - ปจั จบุ ัน กรรมการอสิ ระ บริษทั จรงุ ไทยไวรแ์ อนดเ์ คเบิล้
ไซม่อน ซนุ มหาวทิ ยาลยั ฮาวาย กรรมการตรวจสอบ จ�ำกัด (มหาชน)
สหรฐั อเมรกิ า และประธาน
กรรมการอสิ ระ กรรมการสรรหา
กรรมการตรวจสอบ และพิจารณา
และประธานกรรมการ ค่าตอบแทน
สรรหา และพจิ ารณา 2561 - ปจั จุบัน กรรมการอสิ ระและ บริษทั อติ าเลยี นไทย ดเี วล๊อปเมนต์
คา่ ตอบแทน กรรมการตรวจสอบ จ�ำกัด (มหาชน)

98 แบบ 56-1 One Report


Click to View FlipBook Version