-
รายงานการนิเทศการเรยี นการสอน
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ผูร้ ายงาน
นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์
ตาแหนง่ ครู
กลุ่มบรหิ ารวิชาการ โรงเรียนอรโุ ณทยั วทิ ยาคม
สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเชียงใหม่
สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
บนั ทึกข้อความ
ส่วนราชการ โรงเรยี นอรุโณทัยวทิ ยาคม จังหวัดเชียงใหม่
ที่ 972/2564 วันท่ี 30 กันยายน 2564
เรื่อง รายงานการนเิ ทศการเรยี นการสอน (รายบคุ คล)
เรยี น ผูอ้ านวยการโรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม
ตามท่ีโรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม ได้มอบหมายให้ข้าพเจ้านางสาววิภารัตน์ อภิวงค์ ปฏิบัติหน้าที่
ครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 นั้น เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มี
คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษา และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรสถานศึกษา จึงขอรายงานการ
นิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) รายละเอียดดงั แนบ
จึงเรยี นมาเพอ่ื โปรดพจิ ารณา
(ลงชื่อ)
(นางสาววภิ ารตั น์ อภิวงค์)
ตาแหนง่ ครู
ความเห็นหวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงชอ่ื )
(นางสาววภิ ารัตน์ อภิวงค์)
หัวหนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
ความเห็นรองผู้อานวยการโรงเรยี น กลุ่มบริหารวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงชอ่ื )
(นางสาวเพราพลิ าส น้อยหลู่)
รองผู้อานวยการโรงเรียนอรโุ ณทัยวิทยาคม
ความเหน็ ผ้อู านวยการโรงเรยี นอรุโณทัยวทิ ยาคม
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
(ลงชือ่ )
(นางรัตตกิ รณ์ สขุ ดี)
ผู้อานวยการโรงเรยี นอรโุ ณทัยวิทยาคม
ก
คานา
กระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
โดยหลกั สตู รแกนกลางมุง่ เน้นพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา สร้างคนให้เป็นคนดี มีปญั ญา มีความสุข มีศักยภาพใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ครูจึงมีบทบาทที่สาคัญท่ีจะจัดการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร
การนิเทศการเรียน การสอนจึงเป็นองค์ประกอบหนึ่งของกระบวนการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาที่จะช่วย
ส่งเสริมให้มีการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนการสอนและปรับปรุงวิธีสอนให้ผู้เรียนได้เรี ยนรู้อย่างมี
ประสิทธิภาพสูงข้ึนและจะมีประสิทธิภาพได้ดี ต้องขึ้นอยู่กับบุคลากรในโรงเรียนได้มีส่วนร่วมรับผิดชอบงาน
และพฒั นา งานด้านการเรียนการสอนตลอดเวลาและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดของกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ รวมทงั้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะสาคัญตามที่กาหนดในหลกั สตู รสถานศกึ ษา
รายงานการนิเทศการเรียนการสอน (รายบุคคล) ประจาภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 ฉบับน้ี
จัดทาขึ้น เพ่อื รายงานการนเิ ทศการเรยี นการสอน โดยการประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ การสังเกตการเรียน
การสอนครูเป็นรายบุคคลในช้ันเรียน และการประเมินตนเองเกี่ยวกับการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญการตรวจสอบรายการ/องค์ประกอบต่างๆ พร้อมได้รับข้อเสนอแนะจากเพ่ือนครูแบบ
กลั ยาณมิตรนเิ ทศ
ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการประเมินในครั้งน้ี ข้าพเจ้าจะนาไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงพัฒนาตนเองใน
ด้านการจัดการเรียนการสอน การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ และส่งเสริมพัฒนาคุ ณภาพผู้เรียนให้มี
ประสทิ ธภิ าพในทุก ๆ ด้าน ซ่งึ จะสง่ ผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์
และสมรรถนะสาคัญตามจดุ หมายของหลกั สตู รของสถานศึกษาโรงเรียนอรุโณทัยวิทยาคม และมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาตอ่ ไป ขอขอบคุณคณะผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา คณะกรรมการนเิ ทศการเรยี นการสอน ครูและ
บุคลากรโรงเรยี นอรุโณทัยวิทยาคม ตลอดจนผทู้ ่มี สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งในการจัดทาไว้ ณ โอกาสน้ี
(นางสาววิภารตั น์ อภิวงค์)
ตาแหน่ง ครู
ข
สารบญั
ตอนท่ี หนา้
1 ข้อมลู พ้นื ฐาน 1
ขอ้ มลู ท่วั ไป 1
ขอ้ มูลการปฏบิ ตั ิหน้าท่สี อน 1
การจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ 2
3
2 การนเิ ทศการเรยี นการสอน 4
การนิเทศแผนการจดั การเรยี นรู้ 6
การนเิ ทศการเรยี นการสอน (สังเกตการเรียนการสอน) 8
การประเมนิ ตนเองเก่ยี วกับการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ท่ีเน้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั 9
ภาคผนวก
คาอธบิ ายรายวิชา
โครงสรา้ งรายวชิ า
แผนการจดั การเรียนรู้
ภาพกจิ กรรมการนเิ ทศ
ผลงานครู/ผลงานนกั เรยี น
ตอนที่ 1
ข้อมลู พนื้ ฐาน
1. ขอ้ มลู ท่ัวไป
ช่ือ นางสาววิภารัตน์ สกุล อภวิ งค์
วฒุ กิ ารศกึ ษา
ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบณั ฑิต วชิ าเอก ภาษาไทย
จากสถาบัน มหาวิทยาลยั ราชภัฏเชยี งใหม่
ระดบั ประกาศนยี บตั รบัณฑติ วิชาชีพครู วิชาเอก ป.บัณฑิต
จากสถาบัน มหาวิทยาลยั ฟาร์อสี เทอร์น เชียงใหม่
ตาแหน่ง : ครู วทิ ยฐานะ : - ตาแหน่งเลขท่ี : 117957 อายุ 35 ปี ปฏบิ ตั ริ าชการ 5 ปี
วนั /เดอื น/ปบี รรจเุ ขา้ รับราชการ วันที่ 26 สิงหาคม 2559
ปฏบิ ตั กิ ารสอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
โรงเรียนอรุโณทยั วิทยาคม สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษาเชยี งใหม่
2. ข้อมูลการปฏบิ ตั หิ นา้ ทส่ี อน
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
ท่ี รหัสวชิ า รายวชิ า ช้นั /ห้อง จานวน หมายเหตุ
ชัว่ โมง/สปั ดาห์
1 ท21101 ภาษาไทย 1 ม.1/2 3
2 ท21101 ภาษาไทย 1 ม.1/3 3
3 ท21101 ภาษาไทย 1 ม.1/4 3
4 ท21101 ภาษาไทย 1 ม.1/5 3
5 ท22101 ภาษาไทย 3 ม.2/1 3
6 ท30205 หลกั และการใชภ้ าษาไทย ม.6/2 2
7 I20201 การศึกษาค้นคว้าเพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้ ม.2/1 2
8 ลูกเสือ-เนตรนารี ม.2 1
9 ชมุ นุมดหู นงั ฟังเพลง ม.ตน้ ม.ปลาย 1
10 กิจกรรมชมุ ชนุ แหง่ การเรียนร(ู้ PLC)
รวม
3. การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ 2
รหสั วิชา รายวชิ า ช้นั
ท21101 ม.1
ท22101 ภาษาไทย 1 ม.2
ภาษาไทย 3
ลงช่ือ ผรู้ ายงาน
(นางสาววิภารัตน์ อภวิ งค์)
............ /............./............
ตอนท่ี 2
การนิเทศการเรียนการสอน
สาหรับผู้นเิ ทศ
แบบนเิ ทศแผนการจดั การเรียนรู้ ประเมนิ
งานนเิ ทศการเรยี นการสอน กลุ่มบริหารวิชาการ โรงเรียนอรุโณทยั วทิ ยาคม
ครูผสู้ อน นางสาววภิ ารัตน์ อภวิ งค์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
รายวิชา ภาษาไทย 3 รหัสวิชา ท22101 ชั้น ม2/1 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
ผูน้ เิ ทศ นางสาวภัทรนนั ท์ เจตะภยั นเิ ทศครั้งที่ 1 วันท่ี 1 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2564
วิธีการนิเทศ ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ สัมภาษณ์ พดู คุย
คาช้แี จง การนเิ ทศการเรียนการสอน ด้วยการประเมินแผนการจดั การเรยี นรู้ ตรวจสอบรายการ/องคป์ ระกอบต่างๆ
พรอ้ มให้ขอ้ เสนอแนะแบบกลั ยาณมติ รนเิ ทศ
ตอนที่ 1 โปรดทาเคร่ืองหมาย √ ในช่องระดบั คะแนนของขอ้ ท่ีกาหนด
รายงานการนิเทศ / องคป์ ระกอบ ระดบั คณุ ภาพ
5432 1
1. ดา้ นการวิเคราะหห์ ลกั สตู ร
1.1 มีการวเิ คราะหม์ าตรฐานและตวั ชี้วัดตามหลักสูตรสถานศกึ ษา
1.2 วเิ คราะห์คาอธบิ ายรายวิชา เพอ่ื กาหนดหนว่ ยการเรียนรู้
1.3 หนว่ ยการเรียนรู้ สอดคลอ้ งกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้
1.4 หนว่ ยการเรียนรู้ เหมาะสมกบั จานวนชวั่ โมงและนา้ หนักคะแนน
1.5 กาหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้วดั ดา้ นความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ (P)
และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
2. ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน
2.1 กจิ กรรมการเรียนรูส้ อดคล้องกับสาระการเรยี นรู้
2.2 กิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย เหมาะสมกบั ผู้เรียน
2.3 กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่เน้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ
2.4 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ ง่ เสริมผเู้ รียนไดฝ้ ึกทักษะปฏบิ ัติ/ทักษะกระบวนการ
2.5 กจิ กรรมการเรยี นรูส้ ง่ เสรมิ ผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงคต์ ามที่กาหนด
2.6 กิจกรรมการเรยี นรู้สง่ เสรมิ ให้ผเู้ รยี นไดพ้ ฒั นาตนเอง
3. ดา้ นสื่อการเรียนรู้ นวตั กรรม แหลง่ เรียนรู้
3.1 มสี อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีเออ้ื ตอ่ การเรียนรู้
3.2 มีสอ่ื การเรียนรู้เหมาะสมกบั กิจกรรมและศักยภาพของผเู้ รยี น
3.3 มสี ื่อท่หี ลากหลายให้ผเู้ รียนได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง
3.4 มกี ารใช้แหล่งเรียนรภู้ ายในสถานศึกษา มาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้
3.5 มีการใช้แหล่งเรยี นรู้ภายนอกสถานศึกษา รวมทงั้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ
มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้
3.6 มีนวัตกรรมในการจัดการเรยี นรแู้ ละมีการเผยแพร่
4. ดา้ นการวัดและประเมินผล
4.1 ใช้เคร่อื งมอื วธิ กี ารวัดและประเมินผลที่เหมาะสม
4.2 วัดผลประเมินผลครอบคลุมทั้งดา้ นความความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ
(P) และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
4.3 ประเมนิ พัฒนาการผ้เู รยี นดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลายและตอ่ เนือ่ ง
4.4 มีการบนั ทกึ หลงั สอน ระบุผลการจัดการเรยี นรู้ ปญั หาอุปสรรค
4.5 นาผลการประเมนิ ผเู้ รียนมาแก้ปญั หาด้วยวธิ กี ารวิจยั
คะแนนรวม
ค่าเฉลยี่
เกณฑก์ ารประเมิน
5 ยอดเยย่ี ม หมายถึง สามารถปฏบิ ตั ิได้ดเี ย่ยี ม หรอื มากท่ีสดุ
4 ดีเลศิ หมายถงึ สามารถปฏิบัตไิ ด้ดมี าก
3 ดี หมายถึง สามารถปฏบิ ตั ิได้ดี
2 ปานกลาง หมายถึง มีการปฏบิ ตั ิดีเป็นท่ียอมรบั ได้ปานกลาง
1 กาลังพัฒนา หมายถงึ มกี ารปฏบิ ตั ดิ ีเป็นท่ียอมรบั ได้นอ้ ย / ควรปรับปรุง
ตอนท่ี 2 การบรู ณาการ (เลอื กไดม้ ากกว่า 1 ขอ้ และโปรดระบุหน่วย/เร่อื ง)
1. สะเตม็ ศกึ ษา
( ) มี ( ) ไม่มี หน่วยที่.......เรื่อง.................................................................
2. สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
(√ ) มี ( ) ไม่มี หน่วยที่ 2 เรือ่ งการเขียนเรียงความเชงิ พรรณนาตามความร้สู ึก
3. โรงเรียนวิถีพทุ ธ
( ) มี ( ) ไม่มี หน่วยท่ี........เร่ือง.................................................................
4. โรงเรียนสจุ รติ / หลกั สตู รต้านทจุ รติ
( ) มี ( ) ไมม่ ี หน่วยที่........เร่ือง.................................................................
5. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
(√ ) มี ( ) ไมม่ ี หน่วยที่ 4 เรือ่ งการสร้างคาในภาษาไทย
6. โรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
( ) มี ( ) ไม่มี หน่วยท่ี........เรื่อง.................................................................
7. อน่ื ๆ
บูรณาการภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่
(√ ) มี ( ) ไมม่ ี หนว่ ยท่ี 3 เรอื่ งการพดู รายงานการศึกษาค้นคว้า
บรู ณาการหลักธรรม
(√ ) มี ( ) ไมม่ ี หนว่ ยที่ 4 เรื่องการอ่านจบั ใจความนิทานชาดก
บรู ณาการหลกั ธรรม
(√ ) มี ( ) ไมม่ ี หน่วยที่ 4 เรอื่ งการอา่ นจบั ใจความนทิ านชาดก การวิเคราะห์คณุ ค่า
สุภาษติ พระร่วง
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงช่อื .....................................................ครูผู้สอน ลงช่อื .....................................................ผนู้ เิ ทศ
(นางสาววิภารัตน์ อภวิ งค์) (นางสาวภัทรนันท์ เจตะภยั )
สาหรับผู้นิเทศ
แบบนเิ ทศการเรียนการสอน (สงั เกตการเรียนการสอน) ประเมนิ
งานนิเทศการเรยี นการสอน กลมุ่ งานบริหารงานวิชาการ โรงเรียนอรุโณทยั วิทยาคม
ชอ่ื ผูร้ บั การนิเทศ นางสาววิภารัตน์ อภวิ งค์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
รหสั วชิ า ท22101 รายวิชา ภาษาไทย 3
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2/1 วนั ที่ 7 เดอื น สิงหาคม พ.ศ. 2564
ช่องทางการจดั การเรยี นการสอน Google Meet , Google Classroom
ชอ่ื ผูน้ เิ ทศ นางสาวเพราพลิ าส น้อยหลู่ ตาแหนง่ รองผอู้ านวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
**************************************************
คาชแ้ี จง กรุณาเขียนเครื่องหมาย ในชอ่ งระดับคะแนน เพอื่ แสดงผลการประเมนิ พฤตกิ รรมการสอนของครู
เกณฑ์ระดับคะแนน 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ไมผ่ ่าน
หัวขอ้ การประเมนิ ระดับคะแนน หมายเหตุ
5 4321
1. สภาพทั่วไป
1.1 การเข้าสอนตรงต่อเวลา
1.2 การควบคุมความเป็นระเบียบในชั้นเรยี น
1.3 การใช้เวลาในการสอนเหมาะสมกบั การเรียนออนไลน์
2. บุคลิกภาพ
2.1 การแตง่ กายเหมาะสม
2.2 การใชน้ ้าเสยี ง มีความชดั เจน
2.3 ความเชอ่ื มัน่ ใจตนเอง
2.4 การใช้ภาษาสือ่ สารและสรา้ งบรรยากาศการเรียนรู้
3. การดาเนนิ การสอน
3.1 เน้ือหาสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.2 เนอื้ หาเหมาะสมกับระยะเวลาในการเรียน
3.3 การใช้วิธกี ารสอนทเี่ หมาะสมน่าสนใจ
3.4 การเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นซกั ถามหรอื แสดงความคดิ เหน็
3.5 มีการตง้ั คาถามที่กระต้นุ ผู้เรยี นใชก้ ระบวนการคดิ
และร่วมแสดงความคิดเหน็
3.6 ใช้สือ่ การสอนทเ่ี หมาะสม
3.7 ภาระงานมีความเหมาะสม
4. การวดั และประเมินผล
4.1 สอดคล้องและครอบคลมุ จุดประสงค์
4.2 การประเมินผลตามสภาพจริง (สอบปรนัย,สอบอัตนยั ,การ
ทาแบบฝึกหดั ,สงั เกตพฤตกิ รรม,
รวมคะแนน
รวม คิดเป็น..........%
(วธิ กี ารคดิ เปอร์เซ็นต์ นาผลรวมของคะแนนทไี่ ด้ คูณดว้ ย 100 หารด้วย 80 จะไดผ้ ลลัพธเ์ ปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์ )
สว่ นทจี่ ดั การได้ดี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สว่ นท่คี วรพัฒนา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการนิเทศ ตามเกณฑ์
91% - 100% = ดีมาก
81 % - 90 % = ดี
71 % - 80 % = พอใช้
61 % - 70 % = ควรปรับปรงุ
ตา่ กว่า 60 % = ไมผ่ ่าน
ลงช่ือ.....................................................ครผู ู้สอน ลงชือ่ .....................................................ผ้นู เิ ทศ
(นางสาววิภารัตน์ อภวิ งค์) (นางสาวเพราพิลาส นอ้ ยหลู่)
ตาแหน่ง รองผอู้ านวยการโรงเรียนอรุโณทยั
กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ
สาหรับผนู้ เิ ทศ
แบบนิเทศการเรยี นการสอน (สงั เกตการเรยี นการสอน) ประเมนิ
งานนเิ ทศการเรยี นการสอน กลมุ่ งานบริหารงานวชิ าการ โรงเรียนอรโุ ณทยั วิทยาคม
ชื่อผูร้ ับการนเิ ทศ นางสาววิภารัตน์ อภิวงค์ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย
รหัสวชิ า ท21101 รายวิชา ภาษาไทย 1
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 วนั ท่ี 7 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564
ช่องทางการจัดการเรยี นการสอน Google Meet , Google Classroom
ชอื่ ผู้นิเทศ นางสาวภัทรนนั ท์ เจตะภยั ครกู ลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
**************************************************
คาชแี้ จง กรุณาเขยี นเคร่ืองหมาย ในชอ่ งระดบั คะแนน เพอื่ แสดงผลการประเมินพฤตกิ รรมการสอนของครู
เกณฑร์ ะดบั คะแนน 5 = ดมี าก 4 = ดี 3 = พอใช้ 2 = ควรปรบั ปรงุ 1 = ไมผ่ า่ น
หวั ข้อการประเมิน ระดับคะแนน หมายเหตุ
5 4321
1. สภาพท่ัวไป
1.1 การเขา้ สอนตรงตอ่ เวลา
1.2 การควบคุมความเป็นระเบยี บในช้นั เรยี น
1.3 การใช้เวลาในการสอนเหมาะสมกบั การเรยี นออนไลน์
2. บคุ ลิกภาพ
2.1 การแต่งกายเหมาะสม
2.2 การใช้น้าเสียง มคี วามชัดเจน
2.3 ความเชื่อมั่นใจตนเอง
2.4 การใชภ้ าษาสือ่ สารและสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้
3. การดาเนินการสอน
3.1 เนอื้ หาสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
3.2 เน้ือหาเหมาะสมกับระยะเวลาในการเรยี น
3.3 การใช้วธิ กี ารสอนทเ่ี หมาะสมน่าสนใจ
3.4 การเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นซกั ถามหรอื แสดงความคดิ เห็น
3.5 มกี ารตั้งคาถามที่กระตุ้นผ้เู รียนใช้กระบวนการคิด
และรว่ มแสดงความคิดเห็น
3.6 ใชส้ อื่ การสอนท่ีเหมาะสม
3.7 ภาระงานมคี วามเหมาะสม
4. การวดั และประเมนิ ผล
4.1 สอดคลอ้ งและครอบคลมุ จุดประสงค์
4.2 การประเมินผลตามสภาพจริง (สอบปรนยั ,สอบอตั นยั ,
การทาแบบฝกึ หดั ,สังเกตพฤติกรรม,
รวมคะแนน
รวม คิดเปน็ ..........%
(วิธีการคิดเปอร์เซน็ ต์ นาผลรวมของคะแนนทไ่ี ด้ คูณดว้ ย 100 หารด้วย 80 จะได้ผลลพั ธ์เปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์ )
สว่ นท่จี ัดการได้ดี
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ส่วนทค่ี วรพฒั นา
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
สรุปผลการนเิ ทศ ตามเกณฑ์
91% - 100% = ดีมาก
81 % - 90 % = ดี
71 % - 80 % = พอใช้
61 % - 70 % = ควรปรบั ปรงุ
ตา่ กวา่ 60 % = ไมผ่ า่ น
ลงช่อื .....................................................ครผู ู้สอน ลงชอื่ .....................................................ผนู้ ิเทศ
(นางสาววิภารัตน์ อภวิ งค์) (นางสาวภทั รนันท์ เจตะภัย )
ครูประเมนิ ตนเอง
แบบประเมินเกีย่ วกบั การจัดทาแผนการจดั การเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
งานนิเทศการเรยี นการสอน กลุม่ บริหารวิชาการ โรงเรยี นอรุโณทัยวทิ ยาคม
ครูผู้สอน นางสาววิภารัตน์ อภวิ งค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
รายวชิ า ภาษาไทย 1 รหสั วิชา ท21101 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
คาช้ีแจง (ให้ทาทา่ นเครือ่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ งระดับคุณภาพ โดยพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมิน)
รายงานการนเิ ทศ / องคป์ ระกอบ ระดบั คณุ ภาพ 1
5432
1. การวิเคราะหม์ าตรฐาน/ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้
1.1 มีการระบมุ าตรฐาน/ตัวชีว้ ัด/ผลการเรยี นรู้
1.2 มีการวิเคราะห์ตัวชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้แยกออกเปน็ 3 ดา้ นคือ ความรู้ (K)
ทักษะ/กระบวนการ (P) และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A)
1.3 มีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั กิจกรรมการเรยี นรู้
1.4 มีความเหมาะสม สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
1.5 ครอบคลุมมาตรฐานการศกึ ษา
2. การออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้
2.1 การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เปน็ ข้ันตอน
2.2 แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ีองค์ประกอบครบ 4 ด้าน (แลกเปลย่ี น
ประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ นาเสนอความรู้ และปฏิบัติ/ประยกุ ตใ์ ช้)
2.3 มคี วามเหมาะสมกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.4 มีความสอดคล้องกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ทู ั้ง 3 ดา้ น คอื ความรู้ (K)
ทักษะ/กระบวนการ (P) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
2.5 สามารถปฏิบตั ิได้จรงิ
3. การออกแบบปฏสิ ัมพนั ธ/์ การบริหารจดั การชั้นเรียนเชิงบวก
3.1 มกี ารจดั กิจกรรมการเรียนรโู้ ดยใช้กระบวนการกล่มุ
3.2 มคี วามหลากหลายในการมีสว่ นรว่ มของผเู้ รียน
3.3 มกี ารกาหนดบทบาทและกจิ กรรมอยา่ ง ชดั เจน
3.4 ปฏิบตั ิจริง
3.5 ผ้เู รยี นสนกุ สนาน เกิดการเรียนรู้
4. การออกแบบประเมนิ ผล
4.1 มกี ารประเมินผลการเรยี นในแตล่ ะแผน
4.2 มกี ารกาหนดวธิ ีการประเมินผลทหี่ ลากหลาย
4.3 วธิ ีการประเมินผลสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์การเรียนรู้
4.4 ปฏิบัตจิ ริง
4.5 นาผลการประเมนิ มาพัฒนาการเรียนรู้
รายงานการนเิ ทศ / องค์ประกอบ ระดับคุณภาพ
5432 1
5. การใชส้ ่อื อุปกรณ์การเรยี นรู้
5.1 มีการใชส้ อ่ื อุปกรณ์หรอื แหลง่ เรยี นรู้
5.2 มกี ารกาหนดขนั้ ตอนหรอื วิธีการใช้ส่อื หรือแหล่งเรยี นรู้
5.3 มกี ารใช้สือ่ อปุ กรณ์หรอื แหล่งการเรยี นรู้ เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้
5.4 มีสอ่ื อุปกรณ์ แหลง่ เรียนรู้
5.5 มีการพัฒนาส่อื อุปกรณ์ แหลง่ เรียนรู้
6. ด้านการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ และให้ข้อมลู ย้อนกลบั เพ่ือปรับปรุงและพฒั นาการจดั การเรยี นรู้
6.1 ครมู ีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
6.2 นาขอ้ มูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้
6.3 มีนวตั กรรมในการจัดการเรียนร้แู ละมีการเผยแพร่
6.4 มีชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ระหว่างครูและผู้เกย่ี วข้อง
คะแนนรวม
คา่ เฉลย่ี
เกณฑก์ ารประเมิน
5 มากที่สุด หมายถึง มีการปฏิบตั อิ ยูใ่ นระดับดีมาก หรอื พอใจมากที่สดุ
4 มาก หมายถึง มีการปฏิบตั ิอยู่ในระดับดี หรือพอใจมาก
3 ปานกลาง หมายถงึ มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั ปานกลาง หรือพอใจพอใช้
2 นอ้ ย หมายถงึ มีการปฏิบัติอยใู่ นระดบั นอ้ ย หรอื พอใจน้อย
1 น้อยท่ีสุด หมายถึง มกี ารปฏิบตั อิ ยู่ในระดบั ปรับปรงุ หรอื ไม่พอใจ
ขอ้ เสนอแนะ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื .....................................................ครูผู้สอน
(นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์)
ครูประเมนิ หลักสตู ร
แบบประเมินผลการใช้หลักสูตรสถานศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑
ปรบั ปรงุ และพฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔
งานนเิ ทศการเรียนการสอน กลุ่มบรหิ ารวิชาการ โรงเรียนอรุโณทยั วทิ ยาคม
ครูผสู้ อน นางสาววภิ ารัตน์ อภวิ งค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
รายวชิ า ภาษาไทย 1 รหัสวิชา ท21101 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
คาช้แี จง
๑. แบบประเมนิ ผลฉบบั นี้ เปน็ แบบประมาณคา่ ๓ ระดับ พรอ้ มบันทึกเสนอแนะแบ่งเปน็ ๓ ตอน
ประกอบดว้ ย
ตอนที่ ๑ องค์ประกอบของหลักสตู รสถานศกึ ษา
ตอนที่ ๒ การนาหลักสูตรสถานศกึ ษาส่กู ารจดั การเรียนรู้
ตอนที่ ๓ ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
๒. ให้ผู้ทร่ี ับผิดชอบดาเนนิ การประเมนิ แล้วกรอกขอ้ มลู ตามทก่ี าหนด
๓. ระดบั คุณภาพ ให้เขยี นเครื่องหมายถูก (√) ลงในช่องระดับคุณภาพ ดังนี้
ระดบั คณุ ภาพ ๓ หมายถงึ ครบถว้ น ถกู ตอ้ ง สอดคลอ้ ง เหมาะสม ทุกรายการ
ระดบั คุณภาพ ๒ หมายถึง มคี รบทุกรายการ แต่มีบางรายการควรปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ระดบั คุณภาพ ๑ หมายถึง ไม่มี มีไม่ครบทุกรายการ ไมส่ อดคล้อง ตอ้ งปรับปรงุ แก้ไขหรอื
เพ่มิ เติม
๔. ข้อมูลที่ได้จะนาไปใช้ประโยชนต์ อ่ การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นการสอนของครู
ตอนที่ ๑ องคป์ ระกอบของหลักสูตรสถานศึกษา ผลการประเมิน ขอ้ เสนอแนะ ปรบั ปรงุ /แกไ้ ข
๓ ๒๑
รายการ
๑. ส่วนนา
๑.๑ ความนา
แสดงความเชอ่ื มโยงระหว่างหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลกั สูตรระดบั ทอ้ งถิน่ จดุ เนน้
และความต้องการของโรงเรยี น
๑.๒ วิสยั ทัศน์
แสดงภาพอนาคตที่พึงประสงคข์ องผเู้ รยี นทส่ี อดคล้องกบั
วิสยั ทศั นข์ องหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช
๒๕๕๑ อยา่ งชัดเจน สอดคลอ้ งกบั กรอบหลักสูตรระดบั ท้องถนิ่
ครอบคลุมสภาพความตอ้ งการของโรงเรียน ชุมชน ทอ้ งถิ่น มคี วาม
ชัดเจนสามารถปฏบิ ตั ิได้
๑.๓ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รยี น
มีความสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้น
พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑
๑.๔ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
มีความสอดคลอ้ งกับหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ สอดคล้องกบั เปา้ หมาย จดุ เน้น กรอบ
หลกั สูตรระดับท้องถน่ิ สอดคล้องกบั วสิ ยั ทัศน์ ของโรงเรียน
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๒.๑ โครงสร้างเวลาเรยี น
มีการระบุเวลาเรยี นตลอดหลกั สูตร จานวน ๘ กลุม่ สาระการ
เรียนรู้ ทเ่ี ป็นเวลาเรยี นพน้ื ฐาน และเพ่ิมเติมจาแนกแต่ละชัน้ ปอี ย่าง
ชดั เจน ระบุเวลาการจดั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี นจาแนกแตล่ ะชน้ั ปีอย่าง
ชดั เจน เวลาเรียนรวมของหลกั สตู รสถานศกึ ษาสอดคลอ้ งกบั โครงสรา้ ง
เวลาเรียนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๑
๒.๒ โครงสร้างหลักสตู ร
มีการระบรุ ายวิชาพืน้ ฐาน รายวชิ าเพ่มิ เตมิ ระบุรหัสวชิ า ชือ่
รายวิชา พรอ้ มทัง้ ระบเุ วลาเรียน และ/หรอื หน่วยกิต มกี ารระบุกจิ กรรม
พัฒนาผ้เู รยี น พรอ้ มท้งั ระบุเวลาเรียนไวอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ชดั เจน รายวิชา
เพิม่ เตมิ / กิจกรรมเพ่ิมเติมท่กี าหนดสอดคล้องกับวสิ ยั ทศั น์ จุดเน้นของ
โรงเรียน
๓. คาอธบิ ายรายวชิ า
มีการระบุรหัสวิชา ช่ือรายวชิ า และชื่อกลุม่ สาระการเรียนรู้ ชั้นปี
ที่สอน จานวนเวลาเรยี น และ/หรือหนว่ ยกติ ไว้อยา่ งถูกตอ้ งชัดเจน
การเขยี นคาอธบิ ายรายวชิ าได้เขียนเปน็ ความเรียงโดยระบอุ งค์
ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะหรือเจตคติท่ตี ้องการและ
ครอบคลุมตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
ระบรุ หัสตัวช้วี ดั ในรายวิชาพนื้ ฐานและจานวนรวมของตัวชว้ี ดั และ
ระบุผลการเรียนรู้ ในรายวิชาเพ่ิมเตมิ และจานวนรวมของผลการเรียนรู้
ถกู ต้อง
มกี ารกาหนดสาระการเรยี นร้ทู อ้ งถิ่น สอดแทรกอยู่ในคาอธบิ าย
รายวชิ าพ้ืนฐานหรือรายวิชาเพิ่มเติม
๔. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน
ในโครงสรา้ งหลักสตู รสถานศกึ ษาและโครงสรา้ งหลกั สตู รชน้ั ปี ได้
ระบุกจิ กรรม และจัดเวลา สอน ตามทก่ี าหนดไว้ในหลกั สูตรแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานและสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของโรงเรียน
มีการจดั ทาโครงสร้างและแนวการจดั กจิ กรรม แนวทางการวัดและ
ประเมนิ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนทงั้ ๓ กจิ กรรมท่ีชัดเจน
๕. เกณฑ์การจบการศึกษา
ระบเุ วลาเรยี น/หน่วยกิต ท้ังรายวิชาพนื้ ฐานและรายวิชาเพ่ิมเติม
ตามเกณฑ์การจบการศกึ ษาของโรงเรยี น ชดั เจน
ระบเุ กณฑก์ ารประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียนไวอ้ ย่าง
ชัดเจน
ระบุเกณฑก์ ารประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ์ ว้อย่างชัดเจน
ระบุเกณฑก์ ารผา่ นกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นไวอ้ ยา่ งชดั เจน
ตอนท่ี ๒ การนาหลกั สูตรสถานศึกษาสกู่ ารจดั การเรียนรู้ (หลักสตู รระดบั กล่มุ สาระการเรียนรู้)
รายการ ผลการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ ปรบั ปรงุ /แก้ไข
๓๒๑
๑. โครงสร้างรายวชิ า
๑.๑ การจัดกลุ่มมาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั
จัดกลมุ่ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั ที่มคี วามสมั พันธก์ ัน
และเวลา ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เหมาะสม
๑.๒ การจัดทาสาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
ได้วิเคราะหแ์ กน่ ความรขู้ องทกุ ตวั ชวี้ ัดในแตล่ ะหน่วยการ
เรยี นรู้ มาจดั ทาสาระสาคญั /ความคิดรวบยอด ชดั เจนเหมาะสมและ
ครบทกุ หน่วยการเรยี นรู้
๑.๓ การตง้ั ช่ือหนว่ ยการเรียนรู้ของแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้
สะทอ้ นใหเ้ หน็ สาระสาคญั หรือประเดน็ หลกั ในหนว่ ยการ
เรียนรู้น้ันๆ น่าสนใจเหมาะสมกบั วัย ความสนใจ ความสามารถของ
ผเู้ รียน
๑.๔ การกาหนดสดั สว่ นเวลาเรียน
กาหนดสัดส่วนเวลาเรียนแต่ละหน่วยการเรยี นรู้ เหมาะสม
และรวมทุกหนว่ ยตอ้ งเทา่ กับเวลาเรยี นตามหลักสูตร
๑.๕ การกาหนดสัดสว่ นน้าหนกั คะแนน
กาหนดสดั สว่ นนา้ หนกั คะแนนแต่ละหน่วยการเรียนรู้
เหมาะสมและรวมตลอดปี/ภาคเรยี นเท่ากับ 100 คะแนน
๒. หน่วยการเรยี นรู้
๒.๑ การวางแผนจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้
มีการวางแผนออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ครบทุกหน่วย
การเรยี นรู้ และทุกกล่มุ สาระฯ
๒.๒ การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ : การกาหนดเป้าหมาย
กาหนดมาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด สาระสาคญั /
ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคถ์ กู ต้อง เหมาะสมมีความสอดคลอ้ งกนั
๒.๓ การจดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ : การกาหนดหลกั ฐานการ
เรียนรู้
กาหนดชนิ้ งาน /ภาระงาน การวัดและประเมนิ ผล
สอดคลอ้ งกับตัวชีว้ ัดและมาตรฐานการเรยี นรู้
๒.๔ การจดั ทาหนว่ ยการเรียนรู้ : ออกแบบกจิ กรรมการ
เรียนรู้
ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ ได้สอดคล้องกบั ตวั ชี้วัด/
มาตรฐานและเน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญ
รายการ ผลการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ ปรบั ปรุง/แก้ไข
๓๒๑
๓. แผนการจัดการเรียนรู้
๓.๑ เขียนแผนการจัดการเรยี นรทู้ คี่ รบตามองค์ประกอบที่
สาคัญทุกหน่วยการเรยี นรู้
๓.๒ มกี ารใชเ้ ทคโนโลยที างการศกึ ษาในการจัด
กระบวนการเรยี นรู้
๓.๓ สอดคล้องจดุ เน้นสกู่ ารพฒั นาผเู้ รียน ความสามารถและ
ทักษะของผู้เรยี นศตวรรษท่ี ๒๑ (3Rs x8Cs x2Ls)
๓.๔ สอดคล้องการบรู ณาการตามพระราชบญั ญตั ิการศกึ ษา
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบับที่๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และ
(ฉบบั ที่๓) พ.ศ. ๒๕๕๓
บูรณาการหลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล (Worldclass
Standard School)
บรู ณาการกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
บรู ณาการกับประชาคมอาเซยี น
บรู ณาการกับค่านยิ ม ๑๒ ประการ
บรู ณาการงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
บูรณาการขา้ มกลุ่มสาระการเรียนรู้
๓.๕ ใชก้ ระบวนการวจิ ยั ในชั้นเรียนมาใช้ในการจัด
กระบวนการเรยี นร้ขู องครู แก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรยี น
๓.๖ การประเมินแผนการจดั การเรียนรู้ ทกุ แผนก่อนการ
นาไปใช้จรงิ
๓.๗ มีการนาเอาแผนการจัดการเรยี นรูท้ ีป่ รับปรุงแล้วไปใช้
ในการจดั การเรียนรูจ้ ริง
๔. พฒั นาหลกั สูตรการศึกษาอยา่ งย่งั ยืน
๔.๑ มีการนเิ ทศการใชห้ ลกั สตู รสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
๔.๒ มีการประเมินการใช้หลักสตู รสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเนอ่ื ง
๔.๓ นาผลการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษามา
วางแผนในการพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาอย่างตอ่ เน่อื ง
ตอนท่ี ๓ ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ....................................................... ผปู้ ระเมิน
(นางสาววภิ ารัตน์ อภวิ งค์)
............./................/.............
ภาคผนวก
คาอธิบายรายวชิ า โครงสร้างรายวิชาท่ีได้รบั นเิ ทศ
รหัสวิชา ท ๒๒๑๐๑ ช่ือรายวิชา ภาษาไทย ๓ กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นที่ ๑
คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วร้อยกรอง จับใจความสาคัญ สรุปความและอธิบาย
รายละเอียดจากเรื่องท่ีอ่านเขียนผังความคิด เพื่อแสดงความเข้าใจในบทเรียนต่างๆ อภิปราย แสดง
ความคิดเห็นและข้อโตแ้ ย้งเกยี่ วกับเร่ืองที่อ่าน คัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด เขียนบรรยายและพรรณนา
เขียนเรียงความ เขยี นย่อความ พดู สรุปใจความสาคญั จากเรื่องท่ฟี งั และดู วิเคราะหข์ อ้ เท็จจริง ข้อคิดเห็นและ
ความน่าเช่ือถือของข่าวสารและสื่อต่างๆ วิเคราะห์เรื่องท่ีฟังและดู อย่างมีเหตุผล นาข้อคิดมาประยุกต์ใช้ใน
การดาเนินชีวิต สร้างคาในภาษาไทย วิเคราะห์โครงสร้าง ประโยคสามัญ ประโยครวมและประโยคซ้อน
รวบรวมและอธิบายความหมายของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย สรุปเน้ือหาวรรณคดีและ
วรรณกรรมทีอ่ า่ น วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมท้องถ่ินที่อ่านได้อย่างมีเหตุผล อธิบายคุณค่า
ของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน โดยใชก้ ระบวนการศกึ ษาจากส่ือการเรียนรู้ แหลง่ การเรียนรู้ และแสวงหา
ความรดู้ ้วยตนเองตามคาแนะนาจากครูผู้สอนเพ่ือฝึกทักษะทางภาษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ทาให้ผู้เรียนมี
ความรู้ความเข้าใจ สามารถใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง เกิดความซาบซึ้งและตระหนักในคุณค่าของภาษาไทย
อนุรักษ์รกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ มรดกของชาติสบื ไป
รหัสตัวช้ีวดั
ท ๑.๑ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓, ม. ๒/๔
ท ๒.๑ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓, ม. ๒/๔
ท ๓.๑ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓
ท ๔.๑ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ท 4.๑ ม.๒/5
ท ๕.๑ ม. ๒/๑, ม. ๒/๒, ม. ๒/๓, ม. ๒/๔, ม. ๒/๕
รวมท้งั หมด ๑๙ ตัวชี้วัด
โครงสร้างรายวชิ า
รายวิชา ภาษาไทยพ้ืนฐาน 3 รหัสวิชา ท๒๒๑๐1 กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒
ประจาภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น ๓ ชัว่ โมง/สปั ดาห์ รวมเวลา ๖๐ ชัว่ โมง/ปจี านวน ๑.๕ หน่วยกติ
*************************************************************************************
ลาดบั ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนกั
ท่ี (ชวั่ โมง) คะแนน
เรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/
ผลการเรียนรู้
๑ การอา่ นคือชีวิต ท 1.๑ ม.๒/๑ - อ่านออกเสียงบทรอ้ ย ศกึ ษาหลกั การอ่าน 10 ๒๐
ท ๑.๑ ม.๒/๒ แก้ว และบทร้อยกรอง ออกเสียงบทรอ้ ย
ท ๑.๑ ม.๒/๓ ไดถ้ กู ต้อง แก้วร้อยกรอง
ท ๓.๑ ม.๒/๔ - จับใจความสาคญั จับใจความสาคัญ
สรปุ ความและอธบิ าย สรุปความและ
รายละเอียดจากเรอื่ งที่ อธบิ ายรายละเอยี ด
อา่ น จากเรอื่ งท่ีอา่ น
- เขียนผังความคิดเพอ่ื เขียนผังความคดิ
แสดงความเข้าใจใน เพ่ือแสดงความ
บทเรียนต่างๆท่ีอ่าน เขา้ ใจในบทเรยี น
- อภิปรายแสดงความ ตา่ งๆ อภปิ ราย
คดิ เห็นและ ขอ้ แสดงความคิดเห็น
โตแ้ ย้งเกี่ยวกบั เรอื่ งท่ี และขอ้ โต้แย้ง
อ่าน เก่ยี วกบั เร่อื ง
ทอ่ี ่าน
2 บรรจงคิด ท 2.๑ ม.๒/๑ - คัดลายมือตัวบรรจง คดั ลายมือตัว 10 20
เสกงานเขียน ท 2.๑ ม.๒/๒ ครึ่งบรรทดั บรรจงครึง่ บรรทดั
ท 2.๑ ม.๒/๓ - เขียนบรรยายและ เขียนบรรยายและ
ท 2.๑ ม.๒/๔ พรรณนา พรรณนา เขยี น
- เขยี นเรยี งความ เรียงความเขยี นย่อ
- เขยี นย่อความ ความ
๓ ฟงั ดู พูด ท 3.๑ ม.๒/๑ - พดู สรปุ ใจความ พูดสรปุ ใจความ ๑0 20
ใหพ้ ากเพียร ท 3.๑ ม.๒/2 สาคัญของเร่อื งทฟ่ี ัง สาคัญจากเร่ืองทีฟ่ งั
ท ๓.๑ ม.๒/3 และดู และดู วิเคราะห์
- วเิ คราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ ขอ้ เทจ็ จริง
ขอ้ คิด ข้อคิดเห็นและ
เห็นและความน่าเชอ่ื ความน่าเชือ่ ถือของ
ถอื ของขา่ วสารจากสื่อ ขา่ วสารและส่อื
ต่างๆ ตา่ งๆ วิเคราะห์
เรอ่ื งที่ฟังและดู
อย่างมีเหตผุ ล
ลาดบั ช่ือหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา น้าหนัก
ท่ี เรยี นร้/ู ตัวชี้วัด/ (ชั่วโมง) คะแนน
ผลการเรยี นรู้
- วเิ คราะห์และวิจารณ์ นาขอ้ คิดมา ๑๕ ๒๐
ท 4.๑ ม.๒/1
ท 4.๑ ม.๒/2 เร่ืองท่ฟี งั และดอู ย่างมี ประยกุ ต์ใช้ในการ 15 20
ท 4.๑ ม.๒/5
เหตผุ ลเพื่อนาข้อคดิ มา ดาเนนิ ชีวติ
ท 5.๑ ม.๒/1
ท 5.๑ ม.๒/๒ ประยกุ ต์ใช้ในการ
ท 5.๑ ม.๒/3
ท 5.๑ ม.๒/4 ดาเนินชวี ิต
ท 5.๑ ม.๒/5
๔ สอนให้เรยี น - สร้างคาในภาษาไทย สรา้ งคาใน
หลกั ภาษา
- วเิ คราะหโ์ ครงสร้าง ภาษาไทย
ประโยคสามัญประโยค วิเคราะห์โครงสรา้ ง
รวม และประโยคซ้อน ประโยคสามญั
- รวบรวมและ อธบิ าย ประโยครวมและ
ความหมายของคา ประโยคซ้อน
ภาษาต่าง ประเทศท่ใี ช้ รวบรวมและ
ในภาษาไทย อธิบายความหมาย
ของคาภาษาต่าง
ประเทศทีใ่ ช้ใน
ภาษาไทย
5 รูค้ ุณค่าวรรณคดี - สรุปเน้อื หาวรรณคดี สรปุ เนื้อหา
และวรรณกรรมทอี่ ่าน วรรณคดแี ละ
ในระดบั ทีย่ ากขึ้น วรรณกรรมที่อ่าน
- วเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณ์ วเิ คราะหแ์ ละ
วรรณคดีวรรณกรรม วจิ ารณว์ รรณคดี
และวรรณกรรม และวรรณกรรม
ทอ้ งถิ่นทอ่ี ่าน พร้อม ท้องถิน่ ที่อา่ นได้
ยกเหตุผลประกอบ อยา่ งมีเหตผุ ล
- อธิบายคุณคา่ ของ อธบิ ายคณุ คา่ ของ
วรรณคดแี ละ วรรณคดแี ละ
วรรณกรรมท่อี า่ น วรรณกรรมท่อี ่าน
- สรุปความร้แู ละ โดยใชก้ ระบวนการ
ขอ้ คิดจากการอา่ น ไป ศึกษาจากสอ่ื การ
ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ เรยี นรู้ แหลง่ การ
- ท่องจาบทอาขยาน เรยี นรู้ และ
ตามทีก่ าหนดและบท แสวงหาความรู้
รอ้ ยกรองทมี่ ีคณุ ค่า เพ่ือฝกึ ทกั ษะทาง
ตามความสนใจ ภาษาตาม
มาตรฐานการเรียน
ลาดับ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนกั
ท่ี เรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด/ (ชวั่ โมง) คะแนน
ผลการเรียนรู้
รู้ ทาให้ผเู้ รยี นมี
ความรคู้ วามเข้าใจ
สามารถใชภ้ าษาได้
อย่างถกู ตอ้ ง เกดิ
ความซาบซึ้งและ
ตระหนกั ในคุณค่า
ของภาษาไทย
อนุรักษร์ ักษา
ภาษาไทยไวเ้ ปน็
มรดกของชาติ
สืบไป
แผนที่ได้รับการนเิ ทศ
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 25
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ๓ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 ชอ่ื หนว่ ยสอนใหเ้ รยี นหลกั ภาษา จานวน 15 ช่ัวโมง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 25 เร่อื งคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทย จานวน 1 ชัว่ โมง
วชิ าภาษาไทย 3 ท ๒2๑๐1 ภาคเรียนที่ 1 ผู้สอน นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์
**********************************************************************************
๑. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติ
ตวั ชี้วดั ม.2/๕ รวบรวมและอธบิ ายความหมายของคาภาษาตา่ งประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย
๒. สาระสาคญั
คาทใี่ ช้ในภาษาไทยมีท้ังคาไทยแทแ้ ละคาท่ีนามาจากภาษาต่างประเทศเพื่อประโยชน์ทางการส่ือสาร
การถ่ายทอดวฒั นธรรม และการศกึ ษาหาความรู้ การจาแนกคาไทยและคายมื จากภาษาต่างประเทศได้ จะเป็น
พ้ืนฐานให้เกิดความเข้าใจเร่ืองอิทธิพลของภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย เพื่อให้สามารถใช้คาในการ
สอ่ื สารได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ
๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ด้านความรู้ (K – Knowledge)
๓.๑ นกั เรยี นสามารถอธบิ ายลักษณะของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P – Process)
3.2 นักเรยี นสามารถจาแนกและใช้คาภาษาตา่ งประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยได้
๓.๓ นักเรียนสามารถอา่ น เขยี น และใช้คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทยได้
ดา้ นเจตคติ (A – Attitude)
๓.4 นักเรียนเหน็ ความสาคญั ของคาภาษาต่างประเทศท่ใี ช้ในภาษาไทย
๔. สาระการเรียนรู้
คาภาษาตา่ งประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย เมอื่ โลกเจริญกา้ วหนา้ ขน้ึ เทคโนโลยีและนวัตกรรมสมัยใหม่แผ่
ขยายเข้ามาอย่างรวดเร็ว มีส่ิงใหม่ ๆ เกิดขึ้นมากมาย จึงต้องมีการสร้างคาทับศัพท์และบัญญัติศัพท์ข้ึนใช้
เพอื่ ให้กลุม่ บุคคล กลุ่มอาชพี และวงการต่าง ๆ ใช้สื่อความหมายได้เข้าใจตรงกัน ดังนั้น นักเรียนจึงควรศึกษา
ความหมายและหลักการใช้คาทับศัพท์และศัพท์บัญญัติ เพื่อให้สามารถใช้คาในการส่ือสารได้อย่างมี
ประสทิ ธิภาพ
๕. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๕.1 ความสามารถในการส่ือสาร
๕.2 ความสามารถในการคดิ
๖. คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์
1. ใฝ่เรยี นรู้ ๒. มีความรับผดิ ชอบ ๓. รกั ความเปน็ ไทย
๗. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน
๑. ใบงาน Live worksheets เรื่องคาทม่ี าจากภาษาอังกฤษ
https://www.liveworksheets.com/an2303499vn
2. ใบงาน Live worksheets เรอ่ื งคาที่มาจากภาษาจีน
https://www.liveworksheets.com/pz2303689tc
๘. รปู แบบการจดั การเรยี นรู้
การจดั การเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบ: เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
๙. ข้ันจดั กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้
ข้นั ที่ 1 นาเขา้ สบู่ ทเรยี น
9.1 ครใู ห้นักเรยี นเขา้ เรยี นผา่ น Google Meet และ Google Classroom
9.๒ นักเรยี นตอบคาถามกระตุ้นความคิดรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามทา้ ทาย ดังนี้
• เหตใุ ดจงึ ตอ้ งศกึ ษาว่าคาแต่ละคามีท่มี าจากภาษาใด
9.๓ ครใู ห้นักเรียนยกตัวอย่างคาที่มาจากภาษาต่างประเทศที่อยู่รอบตัวนักเรียน เพื่อเช่ือมโยงเข้าสู่
บทเรียนเร่ืองคาท่มี ากจากต่างประเทศ
ขน้ั ที่ 2 กจิ กรรมการเรยี นรู้
9.4 ครนู าเสนอ Powerpoit บทเรียนเรื่องคาทม่ี าจากภาษาตา่ งประเทศ คือคาท่ีมาจากภาษาอังกฤษ
และคาท่ีมาจากภาษาจนี
9.5 ครูอธิบายความรู้เรอื่ งคาทีม่ าจากภาษาอังกฤษ เก่ียวกับคาทับศัพท์ และคาศพั ทบ์ ัญญตั ิ
คาทับศัพท์ คือ การนาคาภาษาอืน่ มาเขยี นเป็นภาษาไทย ตามอักขระวธิ ขี องภาษาไทย
คาศพั ทบ์ ัญญัติ คือการบญั ญตั ิคาขึน้ ใหม่ในภาษาไทย โดยราชบัณฑติ ยสถาน
9.6 ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างคาที่มาจากภาษาอังกฤษ พร้อมทั้งอธิบายลักษณะของคาน้ัน โดยครู
อธิบายเพ่ิมเติม เสริมแรงโดยการให้คะแนนพเิ ศษ
9.7 ครอู ธบิ ายความรู้เรื่องคาที่มาจากภาษาจีน เก่ยี วกับหลักสงั เกตคา
-เปน็ ช่ืออาหารการกิน
-เป็นคาท่เี กยี่ วกับสง่ิ ของเครอื่ งใช้ท่ีเรารับมาจากชาวจีน
-เปน็ คาที่เกี่ยวกบั การค้าและการจัดระบบทางการค้า
-เปน็ คาที่ใช้วรรณยกุ ตต์ รี จตั วา เปน็ ส่วนมาก
9.8 ครูใหน้ กั เรยี นยกตวั อยา่ งคาทมี่ าจากภาษาจนี พร้อมท้ังอธิบายลักษณะของคานั้น โดยครูอธิบาย
เพมิ่ เตมิ เสรมิ แรงโดยการใหค้ ะแนนพิเศษ
9.9 ครูให้นักเรียนเล่นเกมตอบคาถามคาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ โดยเล่นเกมผ่าน เว็ปไซต์
Vonder Go! นกั เรยี นตอ้ งร่วมกันเลน่ กนั ตอบคาถามให้ถกู ตอ้ ง เพ่ือรวมพลังกาจัดศัตรูให้พ่ายแพ้ไป นักเรียน
ทต่ี อบคาถามไดถ้ กู ต้องและทาเวลาไดเ้ ร็วทสี่ ดุ เป็นผ้ชู นะ (เสรมิ แรงโดยใหค้ ะแนนพิเศษนกั เรียน)
ข้นั ท่ี 3 สรปุ
9.9 ครูให้นักเรียนตอบคาถามเพ่ือทดสอบความเข้าใจคาท่ีมาจากภาษาต่างประเทศ และตรวจสอบ
ความถกู ต้อง
9.10 ครแู ละนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ลกั ษณะของคาทม่ี าจากภาษาอังกฤษและภาษาจีน
๑๐. สอ่ื การเรยี นรู้
10.1 หนงั สอื เรยี น ภาษาไทย : หลกั ภาษาและการใช้ภาษา ม.2
10.2 ส่อื นาเสนอ Powerpoint เร่อื งคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย
10.3 เกม VONDER GO! คายมื ท่มี าจากภาษาองั กฤษและภาษาจนี
๑๑. แหล่งการเรียนรู้
11.1 ห้องเรยี นภาษาไทย ON-LINE BY ครวู ภิ ารตั น์
11.๒ แอปพลิเคชนั Google Meet และ Google Classroom
- https://meet.google.com/uqj-jghk-uec?authuser=0&hs=179
๑๒. การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครือ่ งมือทใ่ี ช้วัด เกณฑก์ ารประเมนิ
- นักเรียนผ่านเกณฑ์
ดา้ นความรู้ (K) การประเมนิ ตอ้ งได้
คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ย
- นักเรียนสามารถอธบิ ายลกั ษณะ - ตรวจแบบทดสอบเรอ่ื ง - แบบทดสอบเรอ่ื งคา ละ ๕0
- ระดบั คุณภาพ ๓
ของคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน คาภาษาตา่ งประเทศ ภาษาต่างประเทศ ผ่านเกณฑ์
ภาษาไทยได้ - แบบบันทกึ คะแนน - ระดับคณุ ภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - ประเมนิ ใบงานคาทีม่ า - แบบประเมินการคาใช้
- นักเรียนสามารถจาแนกและใช้ จากภาษาองั กฤษ ภาษาต่างประเทศ
คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ใน - ประเมินใบงานคาทม่ี า
ภาษาไทยได้ จากภาษาจนี - แบบบันทกึ การสังเกต
- นกั เรยี นสามารถอ่าน เขยี น พฤตกิ รรมของนักเรียน
และใช้คาภาษาต่างประเทศที่ใช้ - สังเกตพฤตกิ รรมของ
ในภาษาไทยได้ นักเรยี น
ด้านเจตคติ (A)
- นกั เรียนเห็นความสาคัญของคา
ภาษาต่างประเทศทีใ่ ช้ใน
ภาษาไทย
13. ข้อเสนอแนะของหวั หน้าสถานศกึ ษาหรอื ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ/นิเทศ/เสนอแนะ/รบั รอง)
ได้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ของ นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์ แล้ว มีความคิดเห็นดังน้ี
1. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ภาษาไทย 3 รหัสวิชา ท 22101 เรื่องคาภาษาต่างประเทศท่ีใช้ใน
ภาษาไทย เป็นแผนการจัดการเรยี นรทู้ ีอ่ ยูใ่ นระดบั
◻ ดีมาก
◻ ดี
◻ พอใช้
เพราะ ....................................................................................................................................................
◻ ควรปรบั ปรุงหรอื เพมิ่ เติมในเร่อื งเกี่ยวกับ.........................................................................................
2. การจัดกจิ กรรมไดน้ าเอากระบวนการเรียนรู้
◻ ใช้กจิ กรรมหรอื กระบวนการเรยี นร้ทู เ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญมาใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม
◻ ใชก้ จิ กรรมหรอื กระบวนการเรียนรู้ยังไมค่ ่อยเหมาะสม ควรเพมิ่ /ปรบั กจิ กรรม
◻ ใช้กจิ กรรมหรอื กระบวนการเรยี นรูใ้ หม่
3. การวัดและประเมนิ ผล
◻ สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
◻ ยังไมส่ อดคลอ้ งกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
4. ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ผ้นู เิ ทศ/รับรอง
(นางสาวเพราพลิ าส นอ้ ยหลู่)
ตาแหนง่ รองผ้อู านวยการโรงเรียนอรโุ ณทยั วทิ ยาคม
กลุม่ บรหิ ารงานวิชาการ
บนั ทกึ ผลการจดั การเรยี นรู้
แผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่องคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทัง้ หมด ........ คน มีผลการเรียนรเู้ ปน็ ดงั นี้
ด้านความรู้ (K)
๑. นกั เรยี นสามารถอธิบายลักษณะของคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทยได้
จานวนนกั เรยี นทีผ่ า่ นเกณฑ์จานวน .................. คน คดิ เป็นร้อยละ ...............
จานวนนักเรียนทไี่ ม่ผา่ นเกณฑจ์ านวน .............. คน คิดเปน็ ร้อยละ ...............
ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
2. นักเรยี นสามารถจาแนกและใชค้ าภาษาต่างประเทศท่ีใชใ้ นภาษาไทยได้
จานวนนักเรียนทผี่ ่านเกณฑจ์ านวน ............... คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............
จานวนนักเรยี นที่ไมผ่ ่านเกณฑ์จานวน ............คน คิดเป็นร้อยละ ...............
๓. นักเรยี นสามารถอา่ น เขียน และใชค้ าภาษาต่างประเทศท่ีใช้ในภาษาไทยได้
จานวนนกั เรียนท่ีผา่ นเกณฑ์จานวน ............... คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............
จานวนนกั เรยี นที่ไม่ผา่ นเกณฑ์จานวน ............คน คิดเป็นรอ้ ยละ ...............
ด้านเจตคติ (A)
4. นกั เรยี นเห็นความสาคญั ของคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
จานวนนักเรยี นทผี่ า่ นเกณฑ์จานวน ................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ...............
จานวนนักเรยี นทไ่ี มผ่ ่านเกณฑจ์ านวน ............คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ...............
ลงชื่อ ครูผ้สู อน
(นางสาววภิ ารตั น์ อภิวงค์)
ครูโรงเรียนอรโุ ณทัยวทิ ยาคม
แบบทดสอบ
เรื่องคาภาษาตา่ งประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย
ดา้ นพุทธพิ ิสัย (K-Knowledge)
๑. ข้อใดมีคายมื ภาษาอังกฤษ ๖. ขอ้ ใดเป็นลักษณะของคายมื ภาษาจนี
ก. วัคซนี ข. ไทย ก. คาที่มพี ยัญชนะ จ ร ล ญ เป็น
ค. สุกยี ากี้ ง. สันธาน
ตวั สะกด
๒. ข้อใดมีคายมื ภาษาอังกฤษ ข. เปน็ คาพยางค์เดยี ว ที่ต้องแปล
ก. ดอกไม้ ข. บุปฝา
ค. กรรณกิ าร์ ง. ไฮเดรนเยยี ความหมาย
ค. ใชพ้ ยัญชนะควบกลา้ อักษรนา
๓. ข้อใดมคี ายืมภาษาองั กฤษน้อยที่สดุ ง. มักใชว้ รรณยกุ ตต์ รี และจตั วา
ก. พบกบั เมนใู หมแ่ ละโปรโมชัน่ สุดพเิ ศษ
๗. ขอ้ ใดเปน็ คายืมภาษาจนี
ไดท้ กุ สาขา ก. โคโรนา ข. ความรัก
ข. เทีย่ วไทยให้สขุ ใจพรอ้ มได้เงนิ คืน ๑๐ ค. โป๊ยเซียน ง. ซอส
เปอรเ์ ซน็ ๘. ข้อใดเปน็ คายมื ภาษาจนี ทง้ั หมด
ค. ซื้อทวี ีรุ่นใหมข่ องเราวันน้แี ถมฟรหี ม้อ ก. ฟรี เตา้ หู้ ข. ตนุ ตว๋ั
ค. เกย๊ี ว ภาษา ง. เก๊ มจั ฉา
หงุ ขา้ วหน่ึงใบ
ง. รบั ส่วนลด ๒๐๐ บาท จากบตั รเครดิต งานวันเกิดคณุ พ่อในปีนี้ คุณแม่ทาอาหารหลาย
อย่าง เชน่ ซุปผกั โขม ผัดหมี่ทะเล สเตก๊ ปลา ไกอ่ บ
ของแบงกช์ ้นั นา และยังมีของหวานเปน็ ไอศกรมี เฉาก๊วย และ
๔. ข้อใดไมม่ คี ายืมจากภาษาองั กฤษ เต้าฮวย
๙. ขอ้ ความขา้ งต้นมีคายมื ภาษาจนี กีค่ า
ก. พ่อแม่ตอ้ งเตอื นลกู ให้ระวังแกง๊ ลักพา
ตัวเดก็ ก. คาภาษาจีน ๒ คา
ข. คาภาษาจนี ๓ คา
ข. การรับประทานวิตามนิ มที ั้งประโยชน์ ค. คาภาษาจนี ๔ คา
และโทษต่อร่างกาย ง. คาภาษาจีน ๕ คา
ค. การแข่งขนั กฬี าแห่งชาตมิ ที ีมนักกฬี า กจิ วัตรประจาวันของตเี๋ ลก็ คอื การทอดปาทอ่ งโก๋
เขา้ ร่วมจากทัง้ ๗๗ จังหวัด และขายโอเลี้ยง ต๋ีเล็กจะขายของถึงเทยี่ ง เสรจ็
แลว้ จงึ ไปซือ้ ขนมเปีย๊ ะไปฝาก หมวยเลก็
ง. งานสปั ดาห์หนังสอื แหง่ ชาตจิ ะจัดข้ึน
ประมาณเดือนมนี าคมของทุกปี ๑๐. ข้อความข้างต้นมีคายืมภาษาจีนกีค่ า
ก. คาภาษาจีน ๒ คา
งานวันเกิดคุณพอ่ ในปีนี้ คณุ แมท่ าอาหารหลาย ข. คาภาษาจนี ๓ คา
อยา่ ง เช่น ซุปผกั โขม ผดั หมี่ทะเล สเต๊กปลา ไกอ่ บ ค. คาภาษาจนี ๔ คา
และยังมขี องหวานเปน็ ไอศกรมี เฉากว๊ ย และ ง. คาภาษาจนี ๕ คา
เต้าฮวย
๕. ข้อใดขา้ งตน้ มคี ายมื ภาษาองั กฤษกคี่ า
ก. คาภาษาอังกฤษ ๒ คา
ข. คาภาษาองั กฤษ ๓ คา
ค. คาภาษาองั กฤษ ๔ คา
ง. คาภาษาองั กฤษ ๕ คา
แบบบันทึกคะแนน
เรอื่ งคาภาษาต่างประเทศทใี่ ช้ในภาษาไทย
ด้านพทุ ธพิ สิ ยั (K-Knowledge)
ท่ี เลขประจาตวั ชอ่ื -นามสกลุ คะแนน คดิ เปน็ ผลการ
นักเรียน ที่ได้ ร้อยละ ประเมิน
ผ่าน/ไม่ผา่ น
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
ปัญหาและข้อเสนอแนะเพิม่ เติม (ถ้ามี)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………….…............................
ลงชื่อ....................................................... ครูผสู้ อน
( นางสาววภิ ารตั น์ อภิวงค์)
ตาแหน่ง ครกู ลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย
วันท.่ี .........เดือน.................................พ.ศ. .............
เกณฑก์ ารประเมนิ
เรอื่ งคาภาษาต่างประเทศที่ใช้ในภาษาไทย
ดา้ นทกั ษะพิสยั (P-Process)
ประเด็นการ นา้ หนัก ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน คะแนน
๔๓๒๑
๑. ความถกู ต้อง 1
จาแนกคา จาแนกคา จาแนกคา จาแนกคา
๒. ความคิด 1
และเน้อื หา ภาษาตา่ งประเทศ ภาษาต่างประเทศ ภาษาต่างประเทศ ภาษาตา่ งประเทศ
1
๓. การสะกดคา ที่ใช้ในภาษาไทย ท่ใี ช้ในภาษาไทย ทีใ่ ช้ในภาษาไทย ที่ใช้ในภาษาไทย
4. เวลา ได้ถกู ตอ้ งโดยไม่ดู ได้ถูกต้องเป็น ได้แตย่ ังตอ้ งเปดิ ได้บา้ งเปน็ บางคา
ตารา เขยี นสะกด สว่ นใหญ่ เขียน ตารา เขยี นสะกด เขียนสะกดคา
คาถกู ต้องทกุ คา สะกดคา คาผิด ๓ คา ผดิ มากกว่า ๓ คา
ผิด ๑-๒ คา
เน้ือหาตรง เนื้อหาตรง เนือ้ หาตรง เนอื้ หาไมต่ รง
ประเดน็ ท่ีกาหนด ประเด็นที่กาหนด ประเดน็ ท่ีกาหนด ประเดน็ หรอื ตรง
สามารถส่ือสารได้ สามารถส่ือสารได้ สามารถสือ่ สารได้ เพยี งบางสว่ น
เขา้ ใจ มีแนวคดิ ที่ เข้าใจ มีแนวคิดท่ี แตข่ าดแนวคิดที่ ขาดแนวคดิ ท่ีเปน็
เปน็ เหตเุ ป็นผล เป็นเหตุเป็นผล เปน็ เหตุเป็นผล เหตุเป็นผล
น่าสนใจ
สะกดคาศัพท์ สะกดคาศพั ท์ได้ สะกดคาศัพท์ได้ สะกดคาศัพท์ได้
ได้ถกู ต้องแม่นยา ถูกต้องแมน่ ยา ถกู ตอ้ งแมน่ ยาบาง ถูกตอ้ งบางคา แต่
ทกุ คา หลายคา บางคา คา แต่บางคาต้อง ต้องใชเ้ วลาคิด
ต้องใชเ้ วลาคดิ ใชเ้ วลาคดิ บางคา นอกนน้ั ต้องมีผู้
เลก็ นอ้ ย ต้องมีผ้แู นะนา แนะนา
1 ผลงานเสรจ็ ผลงานเสรจ็ ช้า ผลงานเสร็จช้า ผลงานเสรจ็ ช้า
สมบูรณต์ ามเวลา กวา่ กาหนดไม่เกิน กวา่ กาหนดไม่เกนิ กว่ากาหนดเกนิ
ทกี่ าหนด ๑๐ นาที ๑๕ นาที ๒๐ นาที
แบบประเมิน
เรอ่ื งคาภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย
ดา้ นทกั ษะพิสยั (P-Process)
คาชแ้ี จง : ให้ผู้สอนประเมนิ เรอื่ งคาภาษาตา่ งประเทศที่ใช้ในภาษาไทยรายการทกี่ าหนดลงในชอ่ งตาราง
๒.
เลขที่ ชื่อ – สกุล ๑. ความ ความคดิ ๓. การ ๔. การใช้ รวม ระดับ
คุณภาพ
ถกู ตอ้ ง และ สะกดคา เวลา คะแนน
เนือ้ หา
๔ ๔ ๔ ๔ ๑๖
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
รวม
เกณฑก์ ารตัดสนิ
13-16 คะแนน หมายถึง ดีมาก ระดับคณุ ภาพ 4
9-12 คะแนน หมายถงึ ดี ระดับคณุ ภาพ 3
5-8 คะแนน หมายถึง พอใช้ ระดับคณุ ภาพ 2
0-4 คะแนน หมายถงึ ปรับปรงุ ระดับคุณภาพ 1
การประเมินผล
นกั เรยี นตอ้ งไดร้ บั ผลการประเมนิ ในระดบั พอใช้ (ระดับคุณภาพ 3)
ลงชอื่ ....................................................... ครผู ูส้ อน
( นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์)
ตาแหน่ง ครูกลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
วนั ที่..........เดือน.................................พ.ศ. .............
เกณฑก์ ารสังเกต
เรือ่ งคาภาษาต่างประเทศทใ่ี ชใ้ นภาษาไทย
ด้านเจตคติ (A-Attitude)
ประเด็นการประเมิน ๓ ระดบั คณุ ภาพ ๑
๒
1. การทางานอย่างเปน็ มีการแสดงข้ันตอนอยา่ ง มกี ารแสดงขนั้ ตอนอย่าง มีการแสดงข้นั ตอนไม่
ระบบ เปน็ ระบบทกุ ข้นั ตอน เปน็ ระบบและไมค่ รบทกุ เป็นระบบและไม่ครบทุก
ขัน้ ตอน ข้นั ตอน
2. การมีระเบียบวนิ ัยในการ สมุดงานและชน้ิ งาน สมุดงานและชน้ิ งาน สมุดงานและชนิ้ งาน
ทางาน ท้ังหมดสะอาดเรยี บรอ้ ย ส่วนใหญส่ ะอาดเรยี บรอ้ ย ไม่คอ่ ยสะอาดเรยี บร้อย
3. ความรอบคอบ มกี ารวางแผนดาเนนิ งาน มกี ารวางแผนดาเนินงาน ไม่มีการวางแผน
อย่างเป็นระบบและจัด และจดั เรยี งลาดับ ดาเนินงานและไม่จัด
เรียงลาดบั ความสาคัญ ความสาคญั ก่อน-หลัง ได้ เรยี งลาดบั ความสาคัญ
กอ่ น-หลัง ถกู ต้องครบถ้วน เปน็ ส่วนใหญ่ กอ่ น-หลงั
4. ความรับผิดชอบ สง่ งานก่อนหรอื ส่งตาม สง่ งานชา้ กว่ากาหนดเวลา สง่ งานชา้ กวา่ กาหนด
กาหนดเวลา แต่มีการตดิ ตามจาก ไมม่ กี ารตดิ ตามงาน
ครผู ู้สอนและมเี หตผุ ลทร่ี ับ จากครผู ู้สอนและไม่มี
ฟังไดก้ าหนดเวลา เหตุผลท่รี ับฟงั ได้
5. ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ มแี นวคดิ /วิธีการแปลก มแี นวคดิ /วิธีการแปลก ไม่มแี นวคิด/วิธกี าร
ใหม่ท่สี ามารถนาไปปฏิบัติ ใหม่ท่ีแตน่ าไปปฏิบัตแิ ล้ว แปลกใหม่ทีส่ ามารถ
ได้ถกู ต้องสมบรู ณ์ ไมถ่ กู ต้องสมบรู ณ์ นาไปปฏิบตั ิได้และ
ไมถ่ กู ต้องสมบูรณ์
6. ความเชอ่ื มน่ั ในตนเอง มคี วามคล่องแคลว่ ปรากฏ มีความคลอ่ งแคล่วปรากฏ มคี วามคล่องแคลว่
ชัดเจนและบอ่ ยครง้ั ชดั เจนเปน็ บางคร้งั ปรากฏชดั เจน
เปน็ ส่วนนอ้ ย
7. ความตะหนกั ในคุณค่า มคี วามพงึ พอใจ มีความพงึ พอใจ มคี วามพึงพอใจ ตั้งใจ
และมีเจตคตทิ ี่ดี ตัง้ ใจเรียน สนใจเรียน ตั้งใจเรียน สนใจเรยี น เรยี น สนใจเรยี น กล้า
กลา้ ซกั ถามปรากฎชัดเจน กลา้ ซกั ถามปานกลาง ซกั ถาม ไม่ชัดเจน
แบบบนั ทึกการสงั เกต
เรือ่ งคาภาษาต่างประเทศทีใ่ ช้ในภาษาไทย
ดา้ นเจตคติ(A-Attitude)
คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมินการนาเสนอผลงานของนกั เรยี นตามรายการทกี่ าหนด แล้วขดี ลงในชอ่ ง ท่ีตรง
กบั ระดบั คะแนน
ลาดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน
32 1
1 การทางานอย่างเปน็ ระบบ
2 การมรี ะเบียบวนิ ัยในการทางาน
3 ความรอบคอบ
4 ความรับผิดชอบ
5 ความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรค์
6 ความเช่อื ม่นั ในตนเอง
7 ความตระหนกั ในคุณคา่ และมเี จตคติ
รวม
ลงช่อื ....................................................... ครูผสู้ อน
( นางสาววภิ ารัตน์ อภิวงค์)
ตาแหนง่ ครกู ล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
วันท่.ี .........เดือน.................................พ.ศ. .............
เกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
19 - 21 ดมี าก
15 - 18 ดี
11 - 14 พอใช้
ตา่ กว่า 10 ปรับปรุง
ภาพประกอบการนเิ ทศการเรียนการสอน
ภาพประกอบการนิเทศการจดั การเรียนสอน
ผ้รู บั การนเิ ทศ นางสาววภิ ารตั น์ อภิวงค์ ผนู้ เิ ทศ รองผอู้ านวยการเพราพิลาส น้อยหลู่
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวิชา ภาษาไทย 3 รหัสวชิ า ท 22101
ภาพประกอบการนิเทศการจดั การเรียนสอน
ผ้รู บั การนเิ ทศ นางสาววภิ ารตั น์ อภิวงค์ ผนู้ เิ ทศ รองผอู้ านวยการเพราพิลาส น้อยหลู่
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวิชา ภาษาไทย 3 รหัสวชิ า ท 22101
ภาพประกอบการนเิ ทศการจดั การเรียนสอน ฝา่ ยบริหาร
ผู้รบั การนเิ ทศ นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์ ผนู้ ิเทศ รองผูอ้ านวยการเพราพลิ าส นอ้ ยหลู่
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวชิ า ภาษาไทย 3 รหสั วิชา ท 22101
ภาพประกอบการนเิ ทศการจดั การเรียนสอน ฝา่ ยบริหาร
ผู้รบั การนเิ ทศ นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์ ผนู้ ิเทศ รองผูอ้ านวยการเพราพลิ าส นอ้ ยหลู่
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวชิ า ภาษาไทย 3 รหสั วิชา ท 22101
ภาพประกอบการนเิ ทศการจดั การเรียนสอน ฝา่ ยบริหาร
ผู้รบั การนเิ ทศ นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์ ผนู้ ิเทศ รองผูอ้ านวยการเพราพลิ าส นอ้ ยหลู่
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวชิ า ภาษาไทย 3 รหสั วิชา ท 22101
ภาพประกอบการนเิ ทศการจดั การเรียนสอน ฝา่ ยบริหาร
ผู้รบั การนเิ ทศ นางสาววภิ ารตั น์ อภวิ งค์ ผนู้ ิเทศ รองผูอ้ านวยการเพราพลิ าส นอ้ ยหลู่
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 รายวชิ า ภาษาไทย 3 รหสั วิชา ท 22101
รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๑ ช่ือรายวชิ า ภาษาไทย ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๖๐ ชว่ั โมง จานวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วร้อยกรอง จับใจความสาคัญ ระบุเหตุและผลข้อเท็จจริงกับ
ข้อคิดเห็น อธิบายคาเปรียบเทียบและคาที่มีหลายความหมายในบริบทต่างๆ จาก การอ่าน ตีความคายากใน
เอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบรบิ ท ฝกึ คดั ลายมือดว้ ยตัวบรรจงครึ่งบรรทัด เขียนสื่อสารโดยใช้ถ้อยคาท่ีถูกต้อง
ชัดเจน เหมาะสม สละสลวย เขียนบรรยายประสบการณ์ เรียงความ ยอ่ ความจากเร่ืองที่อ่าน ฝึกพูดสรุปใจความ
สาคัญของเรอื่ งที่ฟงั และดูรวมถงึ เล่าเร่อื งย่อ ศกึ ษาให้มคี วามรู้ ความเข้าใจเรอ่ื งเสยี งในภาษา การสร้างคา วิเคราะห์
ชนิดและหน้าท่ีของคาในประโยค พิจารณาคุณค่า ความรู้ ข้อคิดของวรรณกรรมและวรรณคดีท่ีกาหนด เพ่ือนาไป
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตจรงิ ท่องจาบทอาขยานตาทก่ี าหนด รวมทั้งบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจ
โดยการฝึกฝนให้มีทักษะในการสื่อสาร การคิด การสืบค้น การใช้ทักษะชีวิตแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันได้
อย่างเหมาะสม สง่ เสริมให้ผู้เรยี นรกั ความเปน็ ไทย ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน มวี นิ ัยมารยาทและบุคลิกภาพท่ีดี กล้าแสดงออกอย่าง
เหมาะสม เพอื่ เสรมิ สรา้ งการเรียนรู้ และพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตาม ศักยภาพและอนุรกั ษส์ บื สานภาษาของชาตสิ บื ไป
รหสั ตวั ชว้ี ัด
ท ๑.๑ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๔, ม. ๑/๕, ม. ๑/๗, ม. ๑/๘, ม. ๑/๙
ท ๒.๑ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๔, ม. ๑/๕, ม. ๑/๖, ม. ๑/๗, ม. ๑/๙
ท ๓.๑ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๖
ท ๔.๑ ม. ๑/๑, ม. ๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๔
ท ๕.๑ ม. ๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๔
รวมท้ังหมด ๒๗ ตัวชีว้ ดั
คาอธิบายรายวิชา โครงสรา้ งรายวชิ าท่ีได้รบั นิเทศกลั ยาณมิตร
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชา ภาษาไทย ๑ รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑
เวลา ๓ ชั่วโมง/สปั ดาห์ รวมเวลา ๖๐ ช่ัวโมง จานวน ๑.๕ หน่วยกิต
*****************************************************************************************************************
ลาดบั ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระการเรยี นรู้ สาระสาคัญ เวลา นา้ หนกั
ท่ี เรยี นรู/้ ตวั ชี้วัด/ (ช่วั โมง) คะแนน
ผลการเรียนรู้
๑ การอา่ น - อ่านออกเสยี ง การอ่านเพ่อื นาความรู้ ๑๐ ๑๐
ในชีวิตประจาวัน ท ๑.๑ ม.๑/๑
ท ๑.๑ ม.๑/๒ บทรอ้ ยแก้วร้อย ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
ท ๑.๑ ม.๑/๓ กรอง ต้องจับใจความสาคัญ
ท ๑.๑ ม.๑/๔
ท ๑.๑ ม.๑/๕ - จับใจความ ของเรือ่ งท่ีอ่าน ระบุ
ท ๑.๑ ม.๑/๗ สาคญั เหตแุ ละผล ข้อเทจ็ จรงิ
ท ๑.๑ ม.๑/๘ - ระบเุ หตุและผล กับขอ้ คดิ เหน็ จากเร่อื ง
ท ๑.๑ ม.๑/๙ ทีอ่ า่ น ตีความ คายาก
ข้อเท็จจริงกับ ปฏบิ ัตติ ามค่มู อื แนะนา
ข้อคิดเห็น
วิธกี าร ใช้งานของ
- อธิบายคา เครอ่ื งมือหรือเครอื่ งใช้
เปรียบเทียบและ วเิ คราะห์คณุ ค่าทไี่ ด้รบั
คาท่ีมีหลาย
จากการอา่ น งานเขียน
ความหมายใน อย่างหลากหลาย และ
บริบทต่างๆ
มีมารยาทในการอ่าน
๒ การเขียนส่ือสาร ท ๒.๑ ม.๑/๑ - คัดลายมือดว้ ย การเขียนสอื่ สารดว้ ย ๑๐ ๑๕
ดว้ ยถ้อยคา
ท ๒.๑ ม.๑/๒ ตัวบรรจงครง่ึ การคัดลายมือ ตวั
ท ๒.๑ ม.๑/๓
บรรทดั บรรจงครงึ่ บรรทดั ตาม
ท ๒.๑ ม.๑/๔
ท ๒.๑ ม.๑/๕ - เขียนสอ่ื สารโดย รูปแบบการเขียนตัว
ท ๒.๑ ม.๑/๖
ใชถ้ ้อยคาท่ี อกั ษรไทย จะต้อง
ท ๒.๑ ม.๑/๗
ท ๒.๑ ม.๑/๙ ถกู ตอ้ ง ชัดเจน เลือกใช้ถ้อยคาท่ี
เหมาะสม ถกู ต้อง ชดั เจน
สละสลวย เหมาะสม และมคี วาม
- เขยี นบรรยาย สละสลวย สามารถ
ประสบการณ์ เขยี นบรรยาย
- เรยี งความ ประสบการณ์
- เขยี นยอ่ ความ เรยี งความ และเขียน
จากเรอ่ื งท่อี ่าน ยอ่ ความจากเร่ืองท่ี
อา่ นโดยคานึงถึง
มารยาทในการเขยี น