การจดั จาแนกประเภทของจลุ ินทรยี ์
จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการรทู้ ่ี 2 การจัดจาแนกประเภทของจลุ ินทรีย์
1. ประเภทของจุลนิ ทรีย์
2. ชนดิ ของจุลนิ ทรีย์
จลุ ชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
หน่วยการรทู้ ี่ 2 การจดั จาแนกประเภทของจลุ ินทรีย์
จุดประสงค์การเรยี นรู้(นาทาง)
1. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้และเขา้ ใจเก่ียวกบั ประเภทของจลุ นิ ทรยี ์
2. เพือ่ ให้มีความร้แู ละเขา้ ใจเกยี่ วกบั ชนิดของจุลินทรยี ์
3. เพอ่ื ใหม้ คี วามรแู้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกบั โครงสรา้ งและลกั ษณะทส่ี าคญั ของจลุ ินทรยี ์
จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการรทู้ ่ี 2 การจัดจาแนกประเภทของจลุ นิ ทรยี ์
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้(ปลายทาง)
1. สามารถจาแนกประเภทของจลุ นิ ทรยี ไ์ ด้
2. สามารถจาแนกชนิดของจุลนิ ทรยี ์ได้
3. อธิบายรูปร่างและลกั ษณะสาคญั ของจุลนิ ทรยี ไ์ ด้
จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
หน่วยการรู้ที่ 2 การจดั จาแนกประเภทของจุลนิ ทรีย์
จุลนิ ทรยี ์ หรือ จุลชีวนั (MICROORGANISMS) เปน็ ส่งิ มชี ีวิตขนาดเลก็ ทม่ี ี
จานวนชนิดหรือสปีชีส์มากท่สี ุดเมื่อเทยี บกับสงิ่ มชี ีวติ ชนิดอ่นื ทไี่ ม่สามารถมองเหน็ ได้
ดว้ ยตาเปล่าจึงจาเปน็ ตอ้ งใช้กล้องจุลทรรศน์ ได้แก่ แบคทเี รยี รา ไวรสั และ ยสี ต์
เปน็ ต้น
จลุ ชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการรูท้ ่ี 2 การจัดจาแนกประเภทของจลุ ินทรยี ์
การจัดจาแนกสิ่งมีชีวิตในอดตี มีการจัดแบง่ กลมุ่ สิ่งมชี ีวิตออกเปน็
2 อาณาจักร (KINGDOM) คือ
- อาณาจกั รพชื (PLANT KINGDOM)
- อาณาจักรสตั ว์ (ANIMAL KINGDOM)
จลุ ชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการรู้ที่ 2 การจดั จาแนกประเภทของจุลินทรยี ์
ต่อมานกั สตั ววทิ ยาหลายทา่ นได้นาเสนอการจัดจาแนกให้ ส่งิ มชี ีวิตกลุ่มทีม่ ี
ขนาดเลก็ ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียสอยู่ในอาณาจักรโปรตสิ ตา (KINGDOM OF
PROTISTA) เปน็ อาณาจกั รทีร่ วมสิ่งมีชวี ติ ขนาดเล็ก หรอื สง่ิ มชี วี ิตเซลลเ์ ดียวไว้
ด้วยกนั ลักษณะเซลลส์ ิง่ มีชีวิตมคี วามสาคญั ในการจดั จาแนกสิ่งมชี วี ิต ซงึ่ สามารถ
แบ่งชนดิ ของเซลลอ์ อกเปน็ 2 ชนดิ ได้แก่
จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการรทู้ ี่ 2 การจัดจาแนกประเภทของจลุ ินทรีย์
โปรคารโิ อต (PROCARYOTE) เป็นจลุ นิ ทรยี ์ที่มีเซลลแ์ บบทีม่ สี ารพันธุกรรม
ลอยปะปนอยู่ในไซโทพลาสซมึ โดยไม่มเี ยื่อห้มุ นวิ เคลียส (NUCLEAR MEMBRANE)
ห่อหมุ้ ทาใหส้ ่วนของสารพนั ธุกรรม (GENETIC MATERIAL) กระจดั กระจายใน
ไซโตพลาสซมึ จุลินทรีย์พวกนี้ ไดแ้ ก่ แบคทเี รยี รคิ เกตเซยี และสาหร่ายสเี ขียวแกม
น้าเงิน
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการรู้ท่ี 2 การจัดจาแนกประเภทของจุลนิ ทรีย์
ยูคารโิ อต (EUCARYOTE) เป็นจุลินทรีย์ท่มี เี ซลล์แบบท่ีนวิ เคลียสมเี ย่ือหุ้ม
หอ่ ห้มุ ทาใหส้ ารพนั ธุกรรมอยู่รวมกลุ่มกนั ในนิวเคลียสจุลนิ ทรยี ์พวกนี้ ไดแ้ ก่ ฟังไจ
โปรโตซวั และสาหรา่ ย สาหรบั ไวรสั ไวรอยด์ และพรีออนไม่จดั เปน็ จุลินทรีย์พวก
PROCARYOTIC CELL หรอื EUCARYOTIC CELL เนอ่ื งจากเปน็ ชนดิ ท่ไี ม่ไดม้ ี
ลักษณะเปน็ เซลล์ เป็นเพยี งอนุภาคของไวรัสอย่างง่าย และไม่มนี ิวเคลยี ส
จลุ ชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
หน่วยการร้ทู ี่ 2 การจดั จาแนกประเภทของจลุ นิ ทรยี ์
ปจั จบุ นั นกั อนุกรมวธิ านไดจ้ ดั จาแนกสิ่งมชี วี ติ ออกเป็น 5 อาณาจกั ร ไดแ้ ก่
1. อาณาจักรมอเนอรา (KINGDOM OF MONERA) เป็นพวกท่เี ซลลเ์ ป็นโปร
คาริโอต ส่ิงมีชีวติ ในอาณาจกั รน้ี ได้แก่ แบคทเี รีย และสาหรา่ ยสเี ขียวแกมนา้ เงิน (BLUE
GREEN ALGAE)
2. อาณาจักรโพรทิสตา (KINGDOM OF PROTISTA) เป็นพวกยคู าริโอต
ส่งิ มีชวี ิตในอาณาจกั รน้ี ได้แก่ สาหรา่ ย และโปรโตชัว
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
หนว่ ยการร้ทู ่ี 2 การจดั จาแนกประเภทของจุลนิ ทรยี ์
ปัจจุบนั นกั อนุกรมวิธานได้จดั จาแนกสง่ิ มีชีวิตออกเป็น 5 อาณาจกั ร ได้แก่
3. อาณาจักรฟังไจ (KINGDOM OF FUNGI) เปน็ พวกยคู ารโิ อต สิ่งมีชีวติ ใน
อาณาจกั รน้ี ได้แก่ เชอ้ื รา และยสี ต์
4. อาณาจกั รพืช (KINGDOM OF PLANTAE)
5. อาณาจักรสัตว์ (KINGDOM OF ANIMALIA)
จลุ ชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ประเภทของจลุ ินทรยี ์
มกี ารจดั จาแนกส่งิ มีชวี ติ ออกเปน็ 3 กลมุ่ โดยอาศัยหลกั การเปรยี บความแตกต่าง
ของลาดบั เบสบนสายอารอ์ ารเ์ อ็นเอ (RRNA) ได้แก่
1. กลุ่มยูแบคทีเรยี (EUBACTERIA) กลุม่ นี้เปน็ แบคทเี รียทีแ่ ทจ้ รงิ ได้แก่
แบคทีเรยี แกรมบวก แบคทีเรียแกรมลบ ไมโคพลาสมา ไซยาโนแบคทเี รีย แบคทีเรยี สี
เขียว และยงั รวมถึงแบคทเี รยี ชนิดคลาไมเดีย (CHALAMYDIA) และรกิ เกตเชยี
(RICKETTSIA)
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ประเภทของจุลินทรีย์
2. กลุ่มอาร์เคยี (ARCHAEA) เปน็ กล่มุ แบคทีเรยี สามารถเจริญไดใ้ นสภาวะที่
แตกตา่ งไปจากส่งิ มีชวี ติ ท่วั ไป เช่น สามารถเจรญิ ได้ในสง่ิ แวดลอ้ มที่มีอุณหภมู สิ งู
(EXTREME THERMOPHILE) สามารถเจรญิ ได้ในสภาวะที่มคี วามเขม้ ข้นของเกลอื สงู
(EXTREME HALOPHILE) บางชนิดสามารถเจรญิ และสามารถสร้างมีเทนได ้
(METHANOGEN)
จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
ประเภทของจุลินทรีย์
3. กล่มุ ยคู าเรีย (EUCARYA) เป็นสิง่ มชี วี ติ ช้นั สูงทั่วไป มเี ย่อื หมุ้ นิวเคลียส
แยกโครงสรา้ งของสารพันธกุ รรมออกจากไซโทพลาสซึมและ ออร์แกเนลอ่นื ๆ
สงิ่ มชี ีวิตกลมุ่ นี้ ได้แก่ พืช สัตว์ช้ันสงู โปรโตซวั สว่ นจุลนิ ทรีย์ท่อี ยใู่ นกลุม่ ยูคาเรยี
ไดแ้ ก่ โปรโตซัว สาหรา่ ย ราเมือก ฟังไจ เป็นต้น
จุลชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ชนดิ ของจุลนิ ทรีย์
จลุ ินทรยี ์ท้ังหมดที่นกั จลุ ชวี วทิ ยาพบและศกึ ษาจนถงึ ปจั จบุ นั คิดเป็นประมาณ
1 เปอรเ์ ซ็นตข์ องจานวนจุลินทรีย์ทงั้ หมดบนโลก เม่ือพจิ ารณาจากคณุ สมบัตใิ นการ
เป็นเซลลข์ องจุลินทรีย์สามารถแบง่ จุลนิ ทรีย์ออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
จุลชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ชนิดของจุลนิ ทรยี ์
1. จุลนิ ทรีย์ทีม่ ลี กั ษณะเปน็ เซลล์ เช่น แบคทีเรยี (BACTERIA) เชื้อรา
(FUNGI) สาหรา่ ย (ALGA) และโปรโตซวั (PROTOZOA)
2. จุลินทรีย์ทีม่ ลี กั ษณะเปน็ อนภุ าค (PARTICLES) เช่น ไวรสั (VIRUS)
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ชนดิ ของจลุ นิ ทรีย์
แบคทเี รยี (BACTERIA)
โครงสรา้ งของแบคทเี รยี มสี ว่ นประกอบทจี่ าเพาะ
ในแต่ละชนิดของแบคทีเรีย โดยแต่ละชนิดอาจไม่มีครบ
ทุกส่วนประกอบ เน่อื งจากเป็นเซลลช์ นดิ ยคู าริโอต ทาให้
ไซโทพลาสซึมมี ดเี อ็น เอ หรือสารพนั ธุกรรมกระจายอยู่
เรยี กว่า นิวคลีออยด์ (NUCLEOID) โครงสรา้ งและ โครงสร้างและสว่ นประกอบของเซลล์แบคทเี รยี
ส่วนประกอบของเซลล์
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ลกั ษณะและรปู รา่ งของแบคทีเรีย
แบคทีเรยี เป็นสิง่ มีชวี ิตขนาดเลก็ ไม่สามารถมอง
ด้วยตาเปลา่ สว่ นใหญม่ ีเซลลเ์ ดียว และมีโครงสร้าง
เซลล์ที่ไม่ซับซ้อนมาก สามารถจาแนกชนิดของ
แบคทีเรียได้ดังน้ี
1) แบง่ ตามรูปรา่ ง แบง่ ได้หลายแบบทั้งกลม
(COCCUS), แบบท่อน (BACILLUS), แบบเกลยี ว
(SPIRAL) ซ่ึงแต่ละแบบกจ็ ะมีการจดั เรยี งเซลลต์ ่างกัน
ลักษณะและรูปร่างของแบคทีเรยี
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ลกั ษณะและรูปรา่ งของแบคทเี รีย
(1) ทรงกลม (COCCUS) เป็นแบคทเี รียท่มี ีรปู
กลมหรอื ไข่อาจอยู่เป็นเซลลเ์ ดี่ยวๆ หรือตอ่ กนั เปน็ สาย
โซ่หรืออยกู่ ันเปน็ กลุ่ม
(2) ทรงกระบอก (BACILLUS) เปน็ แบคทีเรียที่
มีรปู รา่ งเปน็ ท่อน อาจเปน็ ทอ่ นส้ันหรือท่อนยาว
(3) แบบเกลยี ว (SPIRAL) เปน็ แบคทเี รยี ทมี่ ี
รูปร่างเปน็ ทอ่ นโค้งงอ
ลกั ษณะและรปู รา่ งของแบคทีเรยี
จุลชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ลักษณะและรปู รา่ งของแบคทเี รยี ลักษณะการย้อมตดิ สีแกรมของแบคทเี รยี
2) แบง่ ตามการย้อมติดสีแกรม (GRAM'S STAIN)
สามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คอื
(1) แบคทีเรียแกรมบวก (GRAM POSITIVE
BACTERIA) เมอื่ ย้อมสแี กรมจะยอ้ มติดสีม่วง
(2) แบคทีเรียแกรมลบ (GRAM NEGATIVE
BACTERIA) เมื่อยอ้ มสีแกรมจะยอ้ มติดสีแดงของ SAFRANIN
แตบ่ างชนดิ สามารถตดิ สีทง้ั สองเรียกว่า GRAM
VARIABLE ซงึ่ เกี่ยวขอ้ งกับผนงั เซลลข์ องแบคทเี รีย
จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
ชนิดของจุลนิ ทรีย์
เชื้อรา (FUNGI) เปน็ กลมุ่ ของจุลนิ ทรีย์ทไี่ ม่มคี ลอโรฟลิ ล์ มีสปอร์มีการ
สืบพันธ์ท้ังแบบมเี พศ และไมม่ เี พศเซลล์เปน็ แบบ EUKARYOTE มีทง้ั ท่ีอยู่เป็นเซลล์
เดี่ยว ได้แก่ ยสี ต์ และติดกนั เปน็ สาย ได้แก่ รา เสน้ สายทัว่ ไปรวมถงึ เห็ด เสน้ ใยการ
เจรญิ จะขยายตามแนวยาวไดอ้ ยา่ งไมม่ ขี อบเขตจากดั ผนังเซลล์ ประกอบด้วยสาร
พวกเซลลโู ลสและไคติน หรืออย่างใดอยา่ งหน่งึ
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ลกั ษณะท่ีสาคญั ของเช้ือรา
1. ไม่มีคลอโรฟิลล์ จงึ ไม่สามารถสงั เคราะห์แสงได้ ตอ้ งอาศยั สิ่งมีชวี ิตหรือซากสงิ่ มชี ีวิตอนื่
2. มีรูปรา่ งแบบ FILAMENT เรียกวา่ เสน้ ใย (HYPHA) กลุ่มของเสน้ ใยเรยี กว่ามยั ซเี ลียม
(MYCELIUM) และมัยซเี ลียมไม่มกี ารเจริญววิ ัฒนาการไปเป็นเนอ้ื เย่อื (TISSUE)
3. มนี วิ เคลยี สแบบ EUKARYOTIC NUCLEUS คอื นิวเคลยี สมีเย่ือหุ้มนิวเคลยี สหอ่ หมุ้
4. มผี นังเซลล์
5. สร้างสปอรเ์ พ่ือการสืบพันธุ์
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ชนดิ ของรา ประกอบด้วย
- รา (MOLD)
- เห็ด (MUSHROOM)
- ยสี ต์ (YEAST)
ยสี ต์ (Yeast) รา (mold)
จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
ชนิดของจุลนิ ทรยี ์
โปรโตซัว (PROTOZOA) โปรโตซวั หรือสัตว์เซลล์เดยี วถกู จัดอยใู่ น
อาณาจกั รโปรติสตา ดารงชวี ติ ดว้ ยเพียงเซลล์เดยี ว ไม่มรี ะบบเนอ้ื เยอ่ื ท่ีซบั ซอ้ น
เหมือนสตั ว์ช้ันสูง
จลุ ชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
โปรโตซัว (PROTOZOA)
รูปรา่ งของเซลล์มีหลายแบบ
เชน่ รี กลม รูปไข่
ลักษณะและรูปรา่ งของโปรโตซวั
จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
โปรโตซัว (PROTOZOA)
ดารงชวี ติ ทัง้ ในนา้ จืด น้าเค็ม ในดิน บางชนิดดารงชวี ติ แบบอิสระ บางชนดิ อย่แู บบ
พง่ึ พาอาศยั สิ่งมีชวี ิตอน่ื ๆ เชน่ โปรโตซวั ในลาไส้ปลวก บางชนิดเป็นปรสติ เชน่ เชอ้ื มาลาเรยี
(PLASMODIUM SP.) เช้อื บิดมีตัว (ENTAMOEBA HISTOLYTICA) เปน็ ตน้
โปรโตซวั มบี ทบาทสาคัญต่อระบบนเิ วศในแงข่ องการเป็นหว่ งโซ่อาหาร สตั วน์ า้ หลาย
ชนิดกินโปรโตซัวเป็นอาหาร นอกจากนี้โปรโตซวั บางชนิดยงั มีสว่ นเก่ยี วขอ้ งกบั การบาบัดน้า
เสียในระบบนเิ วศอีกดว้ ย
จลุ ชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
ชนดิ ของจุลนิ ทรีย์
สาหรา่ ย (ALGAE) สาหร่ายเป็นสง่ิ มีชวี ติ กลุม่ ท่มี ีคลอโรฟิลล์สามารถ
สังเคราะห์แสง สร้างนา้ ตาล และกา๊ ซออกซิเจนได้ มที ้ังชนิดทเ่ี ป็นเซลลเ์ ดียวและชนิด
ทอี่ ยรู่ วมเปน็ กลมุ่ สาหร่ายไมม่ ีทอ่ ลาเลยี ง ไมม่ ีการพฒั นาของราก ลาต้นและใบ
จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
สาหร่าย (ALGAE) มีความแตกต่างจากพืชสเี ขยี ว คือ
มโี ครงสร้างในการสืบพนั ธแ์ุ บบอาศัยเพศเปน็ แบบไม่อาศัยเพศ ด้วยการสร้าง
สปอร์สามารถเคล่ือนที่ได้ สาหรา่ ยพบไดท้ ่วั ไปท้ังน้าจดื น้าเค็ม นา้ ทะเล
จลุ ชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
สาหรา่ ย (ALGAE)
บ า ง ค ร้ั ง อ า จ พ บ ใ น ดิ น ที่ ช้ื น ๆ
ก้อนหิน เศษไม้ หรือในท่ีอุณหภูมิต่าเป็น
น้าแข็ง ทาให้น้าแข็งเป็นสีต่างๆ การ
ด า ร ง ชี วิ ต มี ทั้ ง ช นิ ด ท่ี พึ่ ง พ า อ า ศั ย กั บ
สิ่งมีชีวิตชนิดอื่น (MUTUALISM)หรือ
เป็นปรสติ กบั สิ่งมีชวี ติ ชนดิ อน่ื
ลกั ษณะและรูปร่างของสาหร่าย
จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
ชนดิ ของจุลินทรีย์
ไวรสั (VIRUS) ไวรสั หมายถึงจลุ นิ ทรยี ์ท่สี ามารถกอ่ ใหเ้ กดิ การตดิ เชอื้ ได้
(IINFECTIOUS AGENTS) ทั้งในมนษุ ย,์ สัตว์, พชื และ สิ่งมชี วี ิตอน่ื ๆ ท่เี ป็นส่งิ มชี วี ติ
มเี ซลล์ (CELLULAR LIFE)
จุลชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
ไวรสั (VIRUS)
ไวรสั เป็นปรสิตภายในเซลลแ์ ทจ้ รงิ (OBLIGATE INTRACELLULAR PARASITE)
เนอ่ื งจากต้องอาศัยอยู่ ภายในสิ่งมีชวี ิตอื่นเท่าน้นั ไวรสั เป็นสง่ิ มชี ีวิตทไ่ี มไ่ ด้ถูกจัดจาแนกใน
อาณาจักรของส่ิงมีชีวติ ทว่ั ไป เนอ่ื งจากไม่มอี งคป์ ระกอบพนื้ ฐานทจี่ าเป็นสาหรบั การ
เจรญิ เติบโต ไมม่ รี ะบบเอนไซมท์ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับปฏิกริ ยิ าใดๆ เป็นของตัวเอง การเพ่มิ จานวน
ของไวรัสต้องอาศัยเอนไซม์ การสรา้ งพลงั งาน การสร้างสารชวี โมเลกุลจากสงิ่ มีชวี ติ อ่นื
จุลชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
คณุ สมบตั ทิ ่ีสาคัญของไวรัส
1) ไวรัสมกี รดนวิ คลีอกิ เพียงชนิดเดียวเป็น DNA หรอื RNA (ยกเว้นบางชนิด)
ไวรัสมีขนาดเล็กมาก (20-300 NANOMETER) สามารถหลดุ รอดผา่ นเครอ่ื งกรองที่ใช้
กรองแบคทีเรียได้ การดรู ปู รา่ งของไวรสั ตอ้ งใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์อเิ ลคตรอนจะใช้กล้อง
จลุ ทรรศน์ธรรมดาไมไ่ ด้
จุลชีววิทยา (MICROBIOLOGY)
คณุ สมบัตทิ ่ีสาคัญของไวรัส
2) ไวรสั มกี ารเพ่ิมจานวนเฉพาะในเซลล์ของสิง่ ทีม่ ีชวี ติ เทา่ นั้น ไวรสั กลไกใน
การเพ่ิมจานวนทเี่ รียกวา่ REPLICATION กแ็ ตกตา่ งจากการเพม่ิ จานวนของจุลนิ ทรีย์
ชนดิ อน่ื อย่างชัดเจน ทั้งนเี้ พราะไวรสั มีโครงสร้างและสว่ นประกอบแบบงา่ ยๆ
ไม่มเี มตาโบลซิ มึ และ ORGANELL ตา่ งๆ เช่น ไรโบโซมหรอื ไมโตคอนเดรียของตัวเอง
จาเปน็ ต้องอาศัยการทางานจากเซลล์โฮสต์ทงั้ สิน้
จุลชีววทิ ยา (MICROBIOLOGY)
คุณสมบตั ทิ ี่สาคญั ของไวรสั
3) ไวรัสไม่ถูกทาลายโดยยาปฏชิ ีวนะทีใ่ ช้รักษาโรคติดเชื้อแบคทเี รีย แตม่ สี าร
อนิ เตอร์เฟยี รอน (INTERFERON, IFN) และยาหรอื สารเคมที ี่ยบั ยั้งการเพม่ิ จานวน
ของไวรัสได้
จลุ ชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
คณุ สมบตั ิท่ีสาคญั ของไวรสั
4) การติดเช้ือไวรัสสามารถทาใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงต่างๆ บนเซลล์โฮสต์
เช่น ทาใหเ้ ซลล์ตาย, มกี ารรวมตัวของเซลล,์ หรอื ทาใหเ้ ซลลเ์ กิดการเปลี่ยนแปลง
คณุ สมบัติ (TRANSFORMATION) กลายเปน็ เซลลม์ ะเร็งได้
จลุ ชวี วิทยา (MICROBIOLOGY)
ลักษณะและรปู รา่ งของไวรัส
1) Helical มลี ักษณะเป็นท่อน
ตรง หรือโค้งงอ หรอื ส่ีเหล่ยี มผนื ผา้
เชน่ Tobacco mosaic virus (ก่อ
โรคใบดา่ งในยาสบู ) Mump virus
(เปน็ สาเหตุของโรคคางทมู ) Rabies
(พิษสุนัขบา้ ) เปน็ ต้น
ลกั ษณะและรปู ร่างของไวรัส
จลุ ชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ลกั ษณะและรูปรา่ งของไวรสั ลักษณะและรูปรา่ งของไวรัส
2) Icosahedral มีรูปรา่ งแบบ
ลกู บาศก์ อาจมลี กู บาศก์หลายๆ ทรง
หรอื หลายเหลยี่ ม บางครง้ั การศึกษา
ในภาพถา่ ยอาจดูคลา้ ยกับลักษณะ
ทรงกลม เช่น Poliovirus (เป็น
สาเหตุ ของโรคโปลโิ อ) Herpes
(ก่อโรคเริม) เป็นต้น
จลุ ชวี วทิ ยา (MICROBIOLOGY)
ลกั ษณะและรูปรา่ งของไวรสั ลกั ษณะและรปู รา่ งของไวรัส
3) Complex เปน็ รปู ร่างไวรสั ทมี่ ีลักษณะการ
รวมกนั ของ Helical กบั Icosahedral ทาใหด้ ู
คลา้ ยมสี ่วนหวั และส่วนลาตัว เปน็ ไวรสั ทม่ี รี ูปรา่ ง
ซบั ซอ้ น เชน่ Bacteriophage Smallpox (ฝดี าษ)
เปน็ ต้น นอกจากนีย้ ังมีรูปร่างแบบทเี่ รยี กว่า Binal
ซง่ึ มีรปู ร่างคล้ายลูกออ็ ด แบง่ เปน็ สองสว่ น คอื ส่วน
หัว สว่ นลาตวั และส่วนหางซึง่ ช่วยในการเกาะจบั
กับโฮสต์ได้ดขี นึ้ แตก่ ็สามารถจัดไว้ในกล่มุ
Complex ไดเ้ ชน่ เดียวกนั