The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nurmee Asea, 2021-01-18 02:54:50

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

ทักษะการเรียนรู้

45

ขอแตกตางระหวา งขอ มูลและสารสนเทศ ตวั อยา ง เชน
ขอมูล : ศูนย กศน. อําเภอเมือง มีคอมพิวเตอรสําหรับบริการผูเรียน 15 เครื่อง

มผี เู รยี นจํานวน 6,000 คน
สารสนเทศ : อัตราสวนคอมพิวเตอรสําหรับบริการผูเรียน ตอผูเรียน ของศูนย กศน.

อําเภอเมือง เทา กับ เคร่อื งละ 400 คน (6,000/15 = 400)

ประเภทของขอ มลู

เกณฑใ นการจําแนกประเภทขอ มูล ท่เี รามกั จะพบเหน็ อยเู ปนประจาํ ในปจ จบุ นั ไดแก

1. จาํ แนกตามลักษณะ สามารถแบง ออกได 2 ชนดิ คือ
1) ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เปนขอมูลท่ีแสดงความแตกตางใน

เร่ืองปริมาณหรอื ขนาด บอกไดว ามากนอย สามารถใชเ ครื่องมอื วัดคาเปนตัวเลขไดโดยตรง เชน
อายุ นํ้าหนกั สวนสงู ปริมาณตา ง ๆ

2) ขอ มลู เชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เปน ขอ มลู ทีแ่ สดงลักษณะท่ีแตกตางกัน
ไมสามารถวัดคาออกมาเปนตัวเลขได บอกไมไดวามีคามากนอย แตบอกไดวาดีไมดี เหมาะสม
ไมเ หมาะสม เชน เพศ อาชีพ คณุ ภาพสนิ คา

2. จาํ แนกตามแหลงทีม่ า สามารถแบง ออกได 2 ชนิด คือ
1) ขอมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เปนขอมูลท่ีผูใชเปนผูเก็บรวบรวมขอมูลเอง

โดยตรง ซึง่ อาจจะเก็บดว ยการสัมภาษณ การสงั เกต การสาํ รวจ
2) ขอมูลทุติภูมิ (Secondary Data) เปนขอมูลท่ีไดมาจากแหลงขอมูลที่มีผูเก็บ

รวบรวมไวแ ลว เปน ขอมูลในอดีต และมกั จะเปนขอมูลท่ไี ดผานการวิเคราะหเบ้อื งตน มาแลว

คณุ สมบตั ิที่เหมาะสมของขอมลู

1. ความถกู ตอ ง กระบวนการไดมาซึ่งขอมูลมีความนาเช่ือถือ ตองออกแบบโครงสราง
วิธกี ารเก็บขอ มูลใหผดิ พลาดนอยที่สุด

2. ความรวดเร็วและเปนปจจุบัน การไดมาของขอมูลตองทันตอเหตุการณและความ
ตอ งการ เพราะขอมลู สามารถเปลี่ยนแปลงไดอ ยางรวดเร็ว

3. ความสมบูรณ ตองสํารวจและสอบถามความตอ งการของผูใชขอมูล เพื่อใหขอมูลท่ี
เก็บรวบรวมมา มีความสมบูรณใ นระดับทเี่ หมาะสม

46

4. ความชัดเจนและกะทัดรัด ตองออกแบบโครงสรางของขอมูลใหกะทัดรัด สื่อ
ความหมายได

5. ความสอดคลอง ตองมีการสาํ รวจความตองการของกลุมเปาหมาย เพื่อใหไดขอมูลที่
สามารถตอบสนองตามความตอ งการ

การรวบรวมขอ มูล

ในการรวบรวมขอ มลู กอนอ่ืนเราตองต้ังจุดประสงคไวกอนวา เราตองการขอมูลเพื่อไป
ใชทาํ อะไร ตอ งการขอมูลชนดิ ใด หลังจากนนั้ จงึ คอ ยออกแบบโครงสราง วิธีการ เคร่ืองมือที่ใช
ในการรวบรวมใหชัดเจน เพ่ือใหขอมูลที่รวบรวมมาไดน้ันไมกระจัดกระจาย ตรงตามความ
ตองการและวตั ถุประสงค การใชงาน หากไมวางแผนและกําหนดวัตถุประสงคไวกอน จะทําให
ขอมูลทไ่ี ดมาบางสวนเปลาประโยชน

1. เทคนิคการรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลสามารถทําไดหลายวิธี แตละ
วธิ ีกแ็ ตกตา งกันไปตามความเหมาะสมของขอมูลและความตองการของผูใช ซ่ึงมีวิธีการที่นิยมใช
กันท่วั ไป ดังน้ี

1) การสังเกต เปนการรวบรวมขอมูลจากเหตุการณหรือส่ิงท่ีตองการสังเกต
โดยตรง โดยอาศัยประสาทสมั ผัสเปน เครื่องมือสอื่ สารความหมาย เชน การสังเกตลักษณะรูปราง
พฤติกรรม เหตุการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน สามารถเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเองหรือใช
ทมี งาน

2) การสัมภาษณ เปนการรวบรวมขอมูลจากบุคคลอ่ืน ๆ โดยการพูดคุย
ซักถามกบั บุคคลที่เราตอ งการขอมลู ซ่งึ สามารถเกบ็ รวบรวมขอมลู ไดด วยตนเอง

3) การตอบแบบสอบถาม เปนการใหผูใหขอมูลตอบแบบรายการคําถาม
ตามท่ผี ถู ามตองการ สามารถสอบถามทางโทรศพั ท หรอื จดั รบั สงทางไปรษณียก็ได

4) การศึกษาเอกสารหรือแหลงที่เก็บขอมูล ไดแก การศึกษาคนควาจาก
แบบเรยี น ตํารา วารสาร คอมพวิ เตอร เทปบันทกึ ภาพ เทปบนั ทึกเสียง เปน ตน

5) การสํารวจ เปน การตรวจสอบรายละเอียด เชน สํารวจขอมูลผลิตผลทาง
การเกษตรของหมูบา น ความนยิ มตอสินคาของชมุ ชน เปนตน

6) การทดสอบ ทดลอง ไดแ ก การทดสอบเรื่องตาง ๆ การทดลองกับส่ิงของ
เพือ่ หาวิธีการและผลลพั ธท ่ไี ดจ ากการทดลอง

47

2. การบันทึกขอมูล เม่ือศึกษาและรวบรวมขอ มูลอยา งหลากหลายแลว ก็ตองมีการ
บนั ทกึ ขอมลู เหลาน้นั ไวเ พอื่ การวิเคราะหและสังเคราะหตอไป การบันทึกขอมูลท่ีมีประสิทธิภาพ
นั้น เทคนิคการเรียงความ ตีความ ยอความ สรุปความ ท่ีไดศึกษาจากสาระวิชาภาษาไทย และ
สาระวชิ าอื่น ๆ มาแลว สามารถนาํ ทกั ษะเหลาน้ันมาประยกุ ตใ ชไ ด และยงั สามารถนําไปบันทึกผล
การวิเคราะห สังเคราะหขอมูล การจัดทําขอมูลเปนสารสนเทศไดอีกดวย หากมีขอมูลจํานวน
มากตอ งบนั ทกึ หลักการยอ ความเปนเทคนคิ ท่ีควรฝก ฝนและนําไปปฏิบัติ ดังนี้

1) อานขอความท่ีจะยอใหเขาใจ หาใจความสําคัญของแตละยอหนา และ
ใจความรองที่สําคัญ ๆ

2) นําใจความสําคญั และใจความรองมาเรยี บเรียงดวยสํานวนของตนเอง
3) ถาขอความที่อานไมมีช่ือเรื่อง ตองต้ังชื่อขึ้นเอง กรณีตัวเลขหรือจํานวน
ตอ งระบหุ นวยใหช ดั เจน
4) ขอความรอยกรอง ตอ งเปลย่ี นเปน รอ ยแกวในความยอ

การทาํ ขอมลู ใหเ ปนสารสนเทศท่ีเปนประโยชนต อการใชงาน จําเปนตองใชเทคโนโลยี
เขา มาชว ย ตั้งแตก ารเกบ็ รวบรวมขอมลู การตรวจสอบขอมูล การประมวลผล และการดูแลรักษา
สารสนเทศเพื่อการใชง าน

ลักษณะของขอ มลู เพ่อื การคดิ เปน 3 ประการ

การคิดตามแนวทางของปรัชญาคดิ เปน นัน้ จําเปน ตองอาศัยขอมูลอยางนอย 3 ประการ
ไดแก ขอมูลเก่ียวกับตนเอง ขอมูลเกี่ยวกับสังคมสิ่งแวดลอม และขอมูลดานวิชาการ มาใช
ประกอบการคิดพิจารณาตัดสินใจ โดยขอมูลที่ไดมาน้ัน อาจเปนไดท้ังในเชิงคุณภาพหรือเชิง
ปริมาณ แตตองมีขอมูลจริง ซึ่งผูตัดสินใจเช่ือม่ัน มีความชัดเจนและเพียงพอตอการตัดสินใจ
ลักษณะของขอ มูลในแตล ะดาน ควรเปน ดงั น้ี

1. ขอ มลู ดา นตนเอง ไดแ ก ขอ มูลเกยี่ วกบั ตวั บคุ คลซ่ึงจะเปนผูตัดสินใจ เปนขอมูล
ทั้งทางกายภาพ ท้ังทางอารมณและจิตใจ เชน พื้นฐานของชีวิต ครอบครัว ญาติพ่ีนอง
การศึกษา อาชพี ความเปนอยู สุขภาพ พฤตกิ รรมการปฏิบัติตน ศักยภาพความสามารถเฉพาะตัว
ความเชือ่ ทัศนคติ นิสัย ใจคอ เปน ตน

2. ขอมลู ดานสังคมและสิง่ แวดลอ ม ไดแก ขอ มูลเก่ียวกบั สภาพแวดลอ มทอี่ ยรู อบ ๆ
ตัว เชน พื้นฐานบริบททางสังคม วัฒนธรรมจารีตประเพณี เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง
เปน ตน

48

3. ขอมลู ดานวิชาการ ไดแก หลกั วิชาการทุกศาสตร ทกุ สาขาวชิ าทจ่ี ะชวยสนับสนุน
ในการคิด การตัดสินใจดําเนินงานท่ีมีตามแหลงสืบคนตาง ๆ เชน เอกสารตํารา ผลการวิจัย
ระเบียบ กฎหมาย คาํ วินจิ ฉยั ของศาล เทคโนโลยีสารสนเทศ นกั ปราชญ ผูร ู ภมู ิปญญา เปนตน

การวเิ คราะหแ ละการสงั เคราะหข อ มูลเพอ่ื นาํ มาใชประกอบการตดั สนิ ใจ

1. การวิเคราะหขอมูล เปนการแยกแยะขอมูล หรือสวนประกอบของขอมูลออกเปน
สวนยอย ๆ เพื่อใหเห็นรายละเอียด ความสัมพันธของขอมูลแตละสวนไดมากท่ีสุด ศึกษา
รายละเอยี ดขอมูลในการคิดเปน ทั้ง 3 ประการ วาแตละดานมีอะไรบาง เปนการหาคําตอบวา
ใคร ทาํ อะไร ทีไ่ หน อยา งไร ฯลฯ วิเคราะหและตรวจสอบขอ มลู รอบดานทั้งดานบวกและดานลบ
ดูความหลากหลายและพอเพียงเพื่อใหไดขอมูลท่ีแมนยํา เที่ยงตรง เชื่อถือได สมเหตุสมผล
การวิเคราะหขอมูลมีประโยชน ชวยใหเราสามารถเขาใจเร่ืองราวหรือปรากฏการณตาง ๆ
ทแ่ี ทจริง ไมเ ชอื่ ตามคาํ บอกเลาหรือคํากลาวอา งของใครงาย ๆ

2. การสังเคราะหขอ มูล เปนการนําขอมลู ท่ีเกย่ี วขอ ง ถูกตอ ง ใกลเคียงกัน มารวบรวม
จดั กลุม จัดระบบเปนกลุม ใหญ น่นั คอื การนาํ ขอ มลู การคดิ เปน ทั้ง 3 ประการ ท่ีวิเคราะหแมนยํา
เท่ยี งตรง หลากหลายและพอเพียงท้ังดานบวกและดานลบไวแลว มาจัดกลุมในเชิงบูรณาการให
เปนทางเลือกในการแกปญหา เพื่อใชประกอบการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสม เปนท่ี
ยอมรบั และพอใจท่ีสุดนํามาแกป ญหาตอ ไป

49

เรื่องท่ี 4 กระบวนการคดิ การแกป ญ หาอยา งคนคดิ เปน ตวั อยา งการนาํ ไปปฏบิ ตั ิ
ในวถิ กี ารดาํ เนินชีวติ จรงิ

ตอ ไปนี้ เปนกรณีตวั อยา งของการแกป ญ หาตามกระบวนการคิดเปน ท่ีประสบผลสําเร็จ
มาแลว เพื่อใหผูเ รียนไดศ ึกษาทาํ ความเขาใจไดช ัดเจนข้ึน

ตัวอยางกระบวนการและขน้ั ตอนการแกปญ หาแบบคนคิดเปน
กระบวนการคิดเปนของชุมชน กรณกี ลุมอนิ แปง และมหาวทิ ยาลยั ชุมชนนานาชาติ

ทบี่ านบัว อาํ เภอกุดบาก จงั หวัดสกลนคร
**********************
• การเรยี นรูข องชาวบาน บานบัว เกิดจากสภาพปญ หาในการดาํ รงชีวิตทล่ี าํ บากเพราะการสญู เสียปา
เพ่ือแลกกับการปลูกปอ ปลกู มนั ตามคําแนะนาํ ของหนว ยงานรัฐ ทําใหช าวบา นเร่มิ ไดคิด ไดวิเคราะหปญหา
ความยากลําบากและหาทางแกไ ข โดยการรวมตวั กันและรว มมอื กับหนวยงานและบุคคลภายนอก สิ่งแรกท่ี
ชาวบานริเริ่มข้ึน คือ การเพาะกลาหวาย ซึ่งเปนพืชอาหารท่ีนับวันจะหมดไปจากชุมชน ปแรกมีผูนํา
ชาวบา นและคนอ่นื อกี 5 คน เขารวมกิจกรรม เมอื่ คนกลุม นไี้ ดร บั ผลแลว ชาวบานทวั่ ไปจงึ เขา รวมและขยาย
ออกไปเกือบทง้ั หมูบ า น
• จากการเพาะกลา และปลูกหวายในชุมชน ทําใหชาวบา นบวั เริ่มมองเหน็ แนวทางที่พ่ึงตนเองในดาน
อาหาร พืชพ้ืนบานอ่ืน ๆ ที่เปนอาหาร สมุนไพร ก็ไดรับความสนใจและขยายพันธุเชนกัน จนเกิดการ
รวมกลุมพืชพันธพุ ้ืนบา น ท่ีตอ มาไดเ ปลยี่ นชอื่ เปน กลมุ อินแปง และมีกิจกรรมการเรยี นรูอกี หลายอยางตามมา
เชน กลุม คลองสงนํ้า กลมุ ออมทรัพย และหมอพนื้ บา น เปน ตน
• นอกจากชมุ ชนบา นบัวไดใหค วามสนใจตอการแกป ญหาและการพัฒนาชาวบานท่ัวไปแลว ยังไดมุง
ไปถงึ ตวั เด็กซง่ึ จะเปนผูสืบทอดวถิ ีชีวิตของชุมชนไปในเบ้ืองหนา กลุมเด็กฮักถิ่นจึงไดเกิดข้ึนเพื่อฝกอบรมให
ลูกหลานไดเ รียนรู เหน็ คุณคาและเขา ใจถงึ ความเปนจริงในวิถีชีวิตของทองถ่ินในมุมมองของชุมชนที่แตกตาง
จากตาํ ราและสายตาของคนภายนอก
• ทุกวันเสาร-อาทิตย เด็ก ๆ ท่ีบานจะรวมกลุมกัน มีผูนําและคนเฒาคนแกในชุมชนผลัดกันเลา
เร่อื งราวของชุมชน วถิ ชี ีวติ ตลอดจนประเพณวี ัฒนธรรมอนั ดงี าม ท่ีผา นมาเด็ก ๆ จะชวยกันทําการเกษตรใน
พน้ื ทร่ี วมของชมุ ชน กนิ อาหารรวมกัน มีการเดนิ ปา เพ่ือศึกษาธรรมชาติ และเกบ็ พันธพุ ืชจากปา มาเพาะขยาย
เพ่ือเพิ่มรายไดใหแ กเ ด็กและครอบครัวอกี ทางหน่งึ ดว ย ชาวบาน บา นบัว เรียกการเรยี นรขู องเด็กดวยวธิ ีการนี้
วา กระบวนการ “พาเฮ็ด พาทํา” ผูนําและคนเฒาคนแกในชุมชนก็ถายทอดดวยวิธี “ทําใหดู อยูใหเห็น”
ทง้ั หมดน้ีจึงนับเปนกระบวนการเรยี นรูท ่วี างอยูบนพ้นื ฐาน และสอดคลองกบั วิถีชวี ติ ของชุมชนโดยแท
• ถึงวนั นี้ ชมุ ชนบานบัวไดเขา สูการเรยี นรูท ก่ี วา งออกไป มีการแลกเปล่ียนความรูประสบการณกับ
เพื่อนบานตางชุมชน ตางภาคและตางประเทศ จากสถานะดังกลาวนี้ ผูนําชุมชนจึงไดกอตั้งสถาบันการ
เรยี นรูของตนเองข้นึ และใชช อ่ื วา มหาวิทยาลยั ชุมชนนานาชาตบิ านบัว

50

จากปญ หาท่เี กิดข้ึน ชาวบานไดหาทางแกปญ หาตามกระบวนการคดิ เปน ดังนี้

ขั้นท่ี 1 ขัน้ สํารวจทําความเขาใจกับปญหา
สภาพการดาํ รงชีวติ ทล่ี าํ บาก แรน แคน ชาวบานมีความตองการท่ีจะมีชีวิตความเปนอยู

ท่ีดขี ึน้ จึงเร่มิ คิดเพื่อพิจารณาแยกแยะวา ทเี่ ปน เชน นเี้ กีย่ วของกับอะไรบาง
ประการแรก คิดอยางมีสติ เพ่ือพิจารณาปญหาใหชัดเจนและสรางความมั่นใจวา

แกปญหาได จากน้ันจึงพิจารณาความล้ําลึกและซับซอนของปญหาในการดํารงชีวิตท่ีผานมา
เพื่อแยกแยะความหนักเบา และมองชองทางในการเขา ถงึ ปญหา

51

ขั้นที่ 2 ขัน้ หาสาเหตุของปญหา
ชาวบานตองรวมคิด วาสาเหตุของความเปนอยูที่ลําบากแรนแคนเกิดจากอะไร
ซงึ่ จะตอ งใชข อ มลู ตนเอง เชน การทํามาหากนิ สถานะความเปนอยู นิสัย ความประพฤติ ความรู
ความสามารถ ความถนัดเฉพาะตัว ฯลฯ ศึกษาขอมูลจากสภาวะแวดลอม (ขอมูลดานสังคม
สิง่ แวดลอ ม) ท่ีสงผลใหความเปนอยูลําบากแรนแคน เชน สภาวะทางธรรมชาติ ลักษณะของดิน
ฟา อากาศ วิถีชีวติ ประเพณวี ัฒนธรรม หนว ยงานองคกรท่ีใหความชวยเหลือสนับสนุน สภาวะ
เศรษฐกจิ การซือ้ ขายแลกเปล่ยี นสินคา ฯลฯ ขอมูลท่ีเก่ียวกับความรู (ขอมูลดานวิชาการ) ใน
เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและผลกระทบของการใชสารเคมี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทบาทหนา ทขี่ องหนว ยงานองคกรตา ง ๆ ตัวอยา งผเู คยประสบปญหา ฯลฯ นําขอมูลเหลาน้ีมา
วิเคราะหอยางหลากหลาย เพื่อสังเคราะหหาสาเหตุของปญหา ซึ่งก็ไดขอสรุปวา การสูญเสียปา
ทําใหพืชอาหารธรรมชาตินับวนั จะหมดไป พชื ที่ปลกู เปนอาชีพหลัก คอื ปอ มนั ไมส ามารถใชเปน
อาหารได ตองหาซื้อพืชผักมาประกอบอาหาร สุขภาพแยลงเน่ืองจากใชสารเคมีจํานวนมาก
ผลผลิตปอ มนั มีราคาต่ํา รายไดจากการขายไมเพยี งพอกับการใชจ า ยในการดําเนินชีวติ

ข้นั ท่ี 3 ขน้ั วเิ คราะหเพอื่ เสนอทางเลือกแกปญ หา
ตองนําเอาสาเหตุตาง ๆ ที่ทําใหมีความเปนอยูท่ีลําบากแรนแคน ที่วิเคราะหไดจาก
ขอ มลู ทัง้ 3 ดาน ในข้ันท่ี 2 ของชาวบา นมาสงั เคราะห สรุปเปนทางเลอื กในการแกไขปญหาหลาย
ๆ ทางเลือกท่ีนาจะเปนไปได เชน รองทุกขหนวยงานรัฐใหประกันราคาผลผลิต จัดตั้งกองทุน
เพอ่ื การกยู ืมหนั ไปประกอบอาชีพอื่น ยายถ่ินฐาน ปลูกพืชอาหารเพ่ือเรงฟนฟูสภาพปาและลด
คาใชจ า ย ปรึกษาหนวยงาน ทีม่ หี นาทส่ี นบั สนุนสงเสริม ฯลฯ

ขน้ั ที่ 4 ขัน้ การตดั สินใจ
ชาวบานจะตองตัดสินใจเลือกทางแกปญหาการดํารงชีวิตที่ลําบากแรนแคนของตนเอง
ท่ีคิดวาดีที่สุดเหมาะสมกับตนเอง สามารถปฏิบัติไดดวยความพอใจ ซ่ึงก็ไดขอสรุปวา เลือก
วธิ กี ารบนการพ่งึ พาตนเองใหม ากท่ีสดุ สิง่ สําคัญอนั ดับแรก คอื เรงฟน ฟูสภาพปาโดยการปลูกพืช
ที่ใชเปนอาหาร ซึ่งพืชที่เหมาะสมตอการนํามาปลูก คือ หวาย เพราะเปนพืชธรรมชาติที่โตเร็ว
ทนทานตอ สภาพดินฟา อากาศ ชว ยฟนฟูสภาพปา ภายในระยะเวลาส้ัน ๆเปน ท่นี ยิ มนํามาประกอบ
อาหาร แตน ับวันจะหายาก และการปลูกพชื เปน ความถนดั ความชํานาญของชาวบา นทุกคน

52

ข้นั ท่ี 5 ขัน้ นาํ ผลการตดั สนิ ใจไปสกู ารปฏบิ ตั ิ
ชาวบานบางสวนเร่ิมการเพาะกลาและปลูกหวายในชุมชนดวยความมุงมั่น และตั้งใจ
อยา งแนวแน โดยมีหนว ยงานและบคุ คลภายนอกใหก ารสนบั สนนุ สง เสรมิ

ขั้นที่ 6 ขัน้ ติดตามประเมินผล
เปนการประเมินตนเองของชาวบานวาการตัดสินใจลงมือปฏิบัติมาไดระยะหน่ึงแลว
ทําใหความเปนอยูดีข้ึนหรือไม มีความพอใจหรือไม ซ่ึงก็พบวา ผืนปาเริ่มฟนฟู มีพืชอาหาร
เพียงพอตอการบริโภค ท่ีเหลือนําไปขายไดราคาดี เพราะเปนท่ีนิยมของตลาด ความขัดสน
อดอยากหมดไป คาใชจายลดลง มีความพอใจ สบายใจข้ึน สามารถบรรเทาปญหาเบื้องตนได
เม่ือชาวบานที่ริเร่ิมลงมือปฏิบัติไดรับผลเปนที่พอใจ ชาวบานทั่วไปเห็นผลจึงเขารวมและขยาย
ออกไปจนเกือบท้ังหมูบาน รวมทั้งเห็นแนวทาง ท่ีพึ่งตนเองในดานอาหาร พืชพ้ืนบานอ่ืน ๆ
ที่เปน อาหาร สมุนไพร กไ็ ดร บั ความสนใจและขยายพันธุเชนกัน จนนําไปสูการรวมกลุมพืชพันธุ
พื้นบาน

ในกรณนี ี้ หากชาวบานลงมือปฏิบัติแลว ความขัดสนอดอยากยังไมหมดไป ยังไมสบาย
ใจ ก็ตองยอนกลับไปดูขอมูล ทั้ง 3 ดาน อีกคร้ังวา ยังไมไดศึกษาขอมูลดานใดอยางพอเพียง
หรือไม จากนัน้ จงึ ศกึ ษาหาขอมลู น้ัน ๆ จากแหลงขอมูลเพ่มิ เตมิ แลว นาํ มาคดิ วิเคราะห สงั เคราะห
หาทางเลือกใหม เพอ่ื การตดั สินใจแกป ญ หาตอ ไป จนกวา จะพบทางเลอื กแกปญ หาไดอ ยางพอใจ
เมอื่ ปญ หาปากทอ งหมดไป ก็ยงั มีความไมส บายใจในเรือ่ งอน่ื ตามมา ยังไมสงบสุข ชาวบานบาน
บัวก็ไดใชกระบวนการแกปญหาท้ัง 6 ข้ันตอนน้ี ไปใชใ นการแกป ญหาอ่ืน ๆ จนประสบผลสําเร็จ
กอ ใหเ กิดกิจกรรมอื่น ๆ ของชมุ ชนตามมาอีกมากมาย

กรณีที่ยกมานี้ เปนอีกตัวอยางหนึ่งของการแกปญหาดวยการใชกระบวนการคิดเปน
ท่ีจะชวยใหผูเรียนเขาใจข้ึน และสามารถนําไปเปนตัวอยางในการฝกทักษะการคิดท่ีเรียกไดวา
“คิดเปน ”

53

ใหผูเ รยี นอานกรณตี วั อยางตอ ไปน้ี จากน้ันใหพิจารณาวา ตามเน้ือเร่ืองมีขอมูลใดบาง
ท่ีเปนขอมูลของตนเอง ขอมูลวิชาการ และขอมูลสังคมส่ิงแวดลอม แลวบันทึกลงในแบบฟอรม
จําแนกขอมูล เมื่อไดขอมูลครบถวนแลว ใหผูเรียนวิเคราะหและสังเคราะหขอมูล และกําหนด
ทางเลอื ก เพอื่ การตัดสินใจ 2 - 3 ทางเลอื กทเี่ หมาะสม และเปนไปไดในการแกปญหา เพ่ือ
ไมใหเกิดเหตุการณดังกรณีตัวอยาง จากน้ันนําทางเลือกมาพิจารณาวาทางเลือกใดเปน
ทางเลือกในการตัดสินใจท่ีดีทสี่ ุด โดยใหเ หตผุ ลประกอบการตัดสนิ ใจลงในแบบฟอรม ที่กาํ หนด

แบบบนั ทกึ ขอมลู

1. ช่อื กรณีตัวอยาง : ชํา้ รกั สาว หนมุ ยิงตัวตาย
2. เนอ้ื หาสาระของกรณตี วั อยาง

หนุมชํ้ารัก ควา .38 ยิงตัวตายหนาหองน้ําบานพัก ในวันเกิดแฟนสาวแบงค ชนวนเหตุ
จากมีเรอื่ งทะเลาะกนั เพราะอกี ฝา ยจับไดวาผูตายมหี ญิงอน่ื จึงขอเลิกรา แตคืนกอนเกิดเหตุผูตาย
ไปตามงอ สาวโดยใชกําลังฉุดลากกลับมาตกลงปญหาหัวใจท่ีบาน จนชวงเชาเปนวันเกิดแฟนสาว
จึงเรียกใหต่ืนเพื่อไปทําบุญตักบาตรแตฝายหญิงไมขอคืนดียืนยันเลิกแนนอน กอนขอตัวเขา
หอ งน้าํ เพื่อรบี ไปทํางาน จึงใชปน จอ ยิงฆาตัวตายทันที

...ท่ีเกิดเหตุซึ่งเปนบานช้ันเดียว พบศพ “......” น่ังเสียชีวิตอยูหนาหองนํ้า ขางตัวพบ
อาวุธปน พกขนาด .38 ตกอยูห น่ึงกระบอก สภาพศพถกู ยงิ เขา ที่คางทะลุออกศีรษะ 1 นดั

สอบสวนเบื้องตนทราบวา กอนเกิดเหตุผูตายมีเร่ืองทะเลาะกับแฟนสาวทํางานธนาคาร
เพราะแฟนสาวจับไดวาผูตายมีหญิงอ่ืน จึงขอเลิกราเม่ือสัปดาหท่ีผานมา แตเมื่อคืนที่ผานมา
ผูตายไปตามงอสาวโดยใชก าํ ลงั ฉุดลากสาวกลับมาตกลงปญหาหัวใจท่ีบาน จนเชาวันน้ีซ่ึงเปนวัน
เกดิ ของแฟนสาว ผตู ายไดเรยี กใหต ืน่ เพอ่ื ไปทําบญุ ตกั บาตรวนั เกิดแฟนสาว แตฝายหญิงไมขอคืน
ดี ยืนยนั จะเลกิ แนนอน กอ นขอตัวเขาหองนํา้ เพ่ือรีบไปทํางาน ผูตายจึงหยิบอาวุธปนออกมาจอ
ยงิ ฆาตวั ตายทนั ที

(เดลินวิ ส ฉบับท่ี 24,324 วนั พธุ ที่ 18 พฤษภาคม 2559)

54

3. ขอมูลที่จําแนกทัง้ 3 ดาน ประกอบดว ย ดานตนเอง ดานสงั คมสง่ิ แวดลอม และดานวชิ าการ

ขอ มลู ดา นตนเอง ขอมูลดานสงั คมสิง่ แวดลอ ม ขอมลู ดานวิชาการ

…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….
…………………………………………. …………………………………………. ………………………………………….

4. ทางเลอื กท่เี สนอเพือ่ พจิ ารณาตัดสนิ ใจ
1) ...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
2) ...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................
3) ...............................................................................................................................................
...............................................................................................................................................

5. ทางเลือกทีต่ ดั สนิ ใจเลือกและเหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

55

การวจิ ัยอยางงา ย เปน เร่อื งทม่ี งุ ใหค วามรู ความเขาใจเก่ียวกับการฝกทักษะ ความหมาย
ความสําคัญของการวิจัยอยางงาย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน ไดแก การระบุ
กําหนดปญหาท่ีตองการหาความรู ความจริง หรือส่ิงท่ีตองการพัฒนา การแสวงหาความรู จาก
การศกึ ษาเอกสาร ผูท รงคุณวุฒิ ภูมิปญญาทองถ่ิน แหลงเรียนรู ทดลอง การนําขอมูลที่ไดมาหา
คาํ ตอบท่ีตองการ การเขียนรายงานสรุปผล และการนําความรไู ปปฏิบัติจรงิ

เร่อื งท่ี 1 ความหมายและประโยชนข องการวิจัยอยา งงา ย

ความหมายของการวิจยั อยางงาย
การวิจยั อยา งงา ย หมายถึง การศึกษาคน ควาเพอ่ื หาคาํ ตอบของคําถามท่ีสงสยั หรือหา

คําตอบมาใชใ นการแกป ญหา โดยใชว ิธีการและกระบวนการตา ง ๆ อยางเปน ระบบเพือ่ ใหไ ด
คาํ ตอบท่ีนา เช่อื ถือ
ความสําคญั ของการวจิ ยั อยา งงา ย

1. ทาํ ใหผวู จิ ัยไดรบั ความรูใ หม ๆ
2. การทําวจิ ัยชวยหาคําตอบท่ีผวู ิจัยสงสัย หรือแกป ญหาของผูวิจยั
3. การวจิ ัยชว ยใหผ ูวิจัยทราบผลการดําเนนิ งาน และขอบกพรองระหวางการดําเนินงาน
4. การวจิ ยั ชว ยใหผ วู ิจยั ไดแ นวทางในการพัฒนาการทาํ งาน
5. การวิจัยชว ยใหผวู ิจัยมีการทาํ งานอยางมรี ะบบ
6. การวิจัยชวยใหผ วู ิจยั เปน คนชา งคิด ชางสังเกต

56

ประโยชนของการวิจยั อยางงาย
1. ประโยชนต อ ผวู ิจยั
1) เปน การพฒั นาความคิดใหเปนระบบ คิดเปนขั้นตอน ใชก ระบวนการทีเ่ ปน เหตุ

เปน ผล
2) เปนการพัฒนากระบวนการสรางความรูอยางเปนระบบ
3) ฝกใหผูวจิ ัยเปน คนชางสงั เกต มีทกั ษะการจดบนั ทึกและสรุปความ

2. ประโยชนต อชมุ ชน
1) สมาชิกในชุมชนมีความรู เขาใจสภาพปญ หา และสามารถวเิ คราะหห าวธิ กี าร

แกป ญ หาไดอ ยางเปนระบบ
2) สามารถใชก ระบวนการวจิ ยั หรือผลการวิจัยมาเปนแนวทางในการพฒั นา

คณุ ภาพชีวติ ในดานตา ง ๆ

เรื่องที่ 2 ขัน้ ตอนการทาํ วจิ ัยอยา งงา ย

ขัน้ ตอนของการทาํ วิจยั อยา งงาย ประกอบดวย 5 ข้ันตอน ดังนี้
1. ขั้นตอนการระบุปญหาการวิจัย เปนขั้นตอนของการเลือกเรื่องที่มีความสนใจ

หรือเปนปญหาทต่ี อ งการแกไ ขมากาํ หนดเปนคาํ ถามการวิจัย
2. ข้ันตอนการเขียนโครงการวิจัย เปนการเขียนแผนการวิจัย โดยจะตองเขียนให

ครอบคลมุ ในหวั ขอ ดังน้ี
1) ชือ่ โครงการวิจัย เปนการเขียนบอกวาเปนการศึกษาอะไร กับใคร อยางไร

ทไี่ หน
2) ชื่อผูวจิ ยั บอกชอ่ื ของผทู ําวิจัย
3) ความเปนมาและความสําคัญ เปนการเขียนใหเห็นถึงประเด็นปญหา และ

นาํ ไปสูวัตถุประสงคของการวจิ ัย
4) วัตถุประสงคของการวิจัย เปนการเขียนในลักษณะท่ีบงบอกวา ผูวิจัย

ตอ งการรูอะไร หรอื จะทําอะไร เพือ่ ใหไ ดคาํ ตอบของการวิจยั โดยมีหลกั การเขยี นวตั ถปุ ระสงคของ
การวิจัย ดงั น้ี

57

(1) ตองสอดคลอ งกบั ชอ่ื เรือ่ ง ความเปน มาและสภาพปญ หา
(2) ครอบคลมุ สิ่งทต่ี อ งการศึกษา
(3) เขียนเปนประโยคบอกเลา ส้ันกะทัดรัด ไดใจความ และมีความ
ชดั เจน
5) วิธีการดําเนินการวิจัย เปนการวางแผนเก่ียวกับวิธีการและกระบวนการ
เรม่ิ ตั้งแต การเก็บขอมลู การวิเคราะหขอมูล รวมไปถึงการนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเพ่ือให
ไดค าํ ตอบของปญ หา
6) ปฏิทินปฏิบัติงาน และแผนการดําเนินงานเปนการเขียนระบุวาการ
ดําเนนิ การวจิ ัย ในครงั้ นีจ้ ะใชเวลานานเทา ใด เร่มิ ตน และส้ินสุดเม่ือใด โดยระบุกิจกรรมท่ีทํา และ
สถานที่ทีใ่ ชในการวิจัย ใหชัดเจน
7) ประโยชนของการวิจัย เปนการบอกวา เมื่อไดคําตอบของการวิจัยมาแลว
จะสามารถนาํ ไปแกป ญ หา หรอื พฒั นางานไดอยางไร
3. ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย เปนการดําเนินการวิจัยตามแผนที่กําหนดไวใน
โครงการวิจยั ซึง่ จะตองคํานึงถงึ องคป ระกอบ ดงั นี้
1) ประชากรและกลมุ ตวั อยา ง เปน การกาํ หนดวาจะศึกษาใคร
2) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนการสรางเคร่ืองมือ เพ่ือไปเก็บขอมูลมา
วิเคราะห ใหเกิดความรู มีเคร่ืองมือ 3 ประเภท คือ แบบสังเกต แบบสอบถาม และแบบ
สมั ภาษณ
3) การเก็บรวบรวมขอ มลู ถาเก็บขอมูลดวยตนเอง จะใชแบบสัมภาษณ แบบ
สังเกต และแบบสอบถาม แตถาสงทางไปรษณีย ควรใชเฉพาะแบบสอบถาม หลังจาก
ดาํ เนินการเกบ็ ขอ มลู แลว ควรจะตรวจสอบความสมบรู ณ ความถกู ตองของขอ มูล
4) สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูลการวิจัยอยางงาย คือ ความถ่ี รอยละหรือ
เปอรเซน็ ต และคาเฉลย่ี
4. ขั้นตอนการรายงานผลการวเิ คราะหขอมลู เปน การกลาวถึงผลของการวิจัย โดย
การวิเคราะหต ามจดุ ประสงค ใหส อดคลอ งกับวตั ถุประสงคของการวิจัย อาจนําเสนอเปนขอความ
ตัวเลข ตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเพ่อื ใหผอู า นเขาใจมากขนึ้
5. ข้ันตอนการสรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ เปนการสรุปผลตามวัตถุประสงค
วา ไดผ ลการวิจัยตามวัตถปุ ระสงคท่ีตง้ั ไวห รอื ไม และมขี อเสนอแนะของการวจิ ัยอยางไร

58

เรือ่ งท่ี 3 สถติ เิ พอื่ การวจิ ยั

ความหมายของสถติ ิ

สถิติ หมายถึง คาตัวเลขที่เกิดจากการคํานวณมาจากขอมูลที่เก็บมาจากกลุมตัวอยาง
ไดแก คา รอ ยละ คา เฉลี่ย

สถิติท่ีใชใ นการวิจัยอยา งงาย

1) ความถี่ คือ การแจงนบั จาํ นวนของสงิ่ ท่เี ราตองการศกึ ษา วา มีจาํ นวนเทา ไหร
ตัวอยา ง กศน.ตําบลแหงหน่ึง มีนกั ศกึ ษาระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน จาํ นวน 10 คน

2) รอ ยละ หรอื เปอรเซ็นต เปน ตัวเลขทแ่ี สดงถงึ สัดสวนของตัวเลขจาํ นวนหนง่ึ เมื่อแบง
ออกเปน รอ ยสว น

สตู รการหาคา รอ ยละ

รอยละ = จาํ นวนทีต่ อ งการเปรยี บเทยี บ × 100
จาํ นวนเต็ม

ตัวอยา ง เชน
นักศึกษา กศน.ตาํ บล มีทงั้ หมด 40 คน เปนชาย 10 คน หญงิ 30 คน คิดเปน รอ ยละ

ได ดงั น้ี

นักศึกษาชาย × 100 = 25 %

นักศกึ ษาหญิง × 100 = 75 %

59

3) คา เฉล่ยี คอื การนาํ คาผลรวมของคา ของขอ มูลท้ังหมด มารวมกัน แลวหารดว ย
จาํ นวน ของขอ มูล

สตู รการหาคา เฉล่ยี

คาเฉลี่ย = ผลรวมของขอ มลู ทงั้ หมด
จํานวนชดุ ของขอ มูล

ตวั อยาง เชน
วิชาทักษะการเรียนรู มีผูสอบไดคะแนน 15 20 12 18 25 คิดคะแนนเฉลี่ย

ดงั น้ี

คา เฉลี่ย = 15 + 20 + 12 + 18 + 25
5

คะแนนเฉล่ีย = 18

60

เรื่องที่ 4 เครื่องมือการวิจัยเพอื่ การเกบ็ รวบรวมขอมลู

ความหมายของเคร่อื งมอื การวจิ ยั

เครอ่ื งมอื การวจิ ัย หมายถึง เครื่องมือสําหรับใชในการเก็บรวบรวมขอมูลและวัดตัวแปร
ตาง ๆ ในงานวิจัย เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยโดยทั่วไป ไดแก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และ
แบบสังเกต เปนตน ในการวิจัยควรเลือกใชเคร่ืองมือวิจัยใหสอดคลองตามวัตถุประสงคของการ
วจิ ัย เพอ่ื ใชใ นการเก็บรวบรวมขอมูล เนื่องจากเครื่องมือแตละชนิดจะมีคุณลักษณะแตกตางกัน
มีความเหมาะสมในการเกบ็ ขอมูลไมเ หมือนกัน ซึ่งผูวิจัยจะตองมีความรูและความชํานาญในการ
ใชเครือ่ งมือเพอ่ื ใหไดข อมูลทต่ี รงตามความตอ งการ

เครอ่ื งมือการวจิ ยั สาํ หรบั การทาํ วิจัยอยางงาย

1. แบบสอบถาม เปนเคร่ืองมือการวิจัยท่ีนิยมนํามาใชในการวิจัย แบงออกเปน 2
ประเภท คือ

1) แบบสอบถามปลายเปด เปนแบบสอบถามที่ระบุคําตอบไวแลว หรืออาจให
เตมิ คําหรือขอความสน้ั ๆ เชน ทา นมอี าชพี อะไร

( ) เกษตรกร
( ) คา ขาย
( ) หมอ
( ) อื่นๆ ระบุ .................
2) แบบสอบถามปลายปด เปนแบบสอบถามที่ไมไดกําหนดคําตอบไว แตให
ผูตอบไดเขยี นแสดงความคิดเห็นอิสระ เชน ผเู รียนชอบไปแหลง เรยี นรใู ด เพราะเหตุใด
2. การสัมภาษณ เปน เครือ่ งมอื การวจิ ัยทนี่ ยิ มนาํ มาใชในการวิจัยเชิงคุณภาพ เปนการ
เก็บขอมูลในลักษณะการเผชิญหนากัน ระหวางผูสัมภาษณและผูใหสัมภาษณ โดยผูสัมภาษณ
เปนผูซกั ถาม ซ่งึ จะกําหนดคําถามไวลว งหนา สอดคลองกับวตั ถุประสงคของการวจิ ัย

61

3. แบบสังเกต ใชในการรวบรวมขอมูล โดยสังเกตพฤติกรรมแลวจดบันทึกในแบบ
สังเกต แบงเปน 2 ประเภท คือ

1) แบบสังเกตท่ีไมมีโครงรางการสังเกต เปนแบบที่ไมไดกําหนดเหตุการณ
พฤตกิ รรม หรอื สถานการณที่จะสงั เกตไวชัดเจน

2) แบบสังเกตที่มีโครงรางการสังเกต เปนแบบที่กําหนดไวลวงหนา วาจะสังเกต
อะไร สงั เกตอยางไร เม่อื ใด และบันทึกผลการสงั เกตอยา งไร เชน สงั เกตพฤติกรรมในการพบกลุม
ของนกั ศึกษา ของ กศน.ตาํ บล ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

พฤติกรรม พบ ไมพ บ

1. โทรศพั ท

2. กนิ ขนม

3. ซักถามปญ หา

4. เลน ไลน

5. ตง้ั ใจฟงผูส อน

ฯลฯ

62

เร่อื งท่ี 5 การเขยี นโครงการวจิ ัย

ความสําคญั ของโครงการวจิ ัย

โครงการวจิ ัย คือ แผนการดําเนินวจิ ยั ที่เขียนข้ึนกอนการทําวิจัยจริง เพ่ือใชเปนแนวทาง
ในการดําเนินการวจิ ัยสําหรับผูวิจยั และผูเ ก่ยี วขอ ง ใหเปน ไปตามแผนการวจิ ยั ท่ีกําหนด

องคป ระกอบของโครงการวจิ ยั

โดยท่ัวไป โครงการวิจยั ประกอบดว ยหัวขอ ดังตอ ไปนี้

1. ชือ่ เรอื่ งการวิจยั การเขยี นชื่อเรอื่ ง ควรส่อื ความหมายทชี่ ัดเจน เมื่อผูอานอานแลว
ทาํ ใหทราบวาเปน การวจิ ยั เกีย่ วกับปญ หาอะไรไดท ันที

2. ชื่อผูวจิ ัย บอกช่ือของผทู ําวิจัย
3. ความเปนมาและความสําคัญ การเขียนความเปนมาและความสําคัญ เปนการ
เขียนระบุใหผ ูอานทราบวา ทําไมจึงตองทําการวจิ ยั เรอื่ งนี้ ควรกลา วถงึ สภาพปญ หาใหชดั เจน และ
หากปญ หาดงั กลาวไดแ กไ ขโดยวิธกี ารวจิ ัยแลว จะเกดิ ประโยชนอ ยางไร
4. วัตถุประสงคของการวิจัย เปนการระบุใหผูอานทราบวา การวิจัยนี้ผูวิจัยตอง
การศึกษาอะไร กับใคร และจะเกิดผลอยางไร
5. ประโยชนที่คาดวา จะไดรบั กลา วถงึ ผลของการวจิ ัยวาจะเกิดผลทเ่ี ปน ประโยชนใน
การนาํ ไปใชในการแกป ญหา หรือการพฒั นางานอยา งไร
6. ปฏิทินปฏิบัติงาน เปนการเขียนระบุวาการดําเนินการวิจัยครั้งนี้ จะใชเวลานาน
เทา ใด เริม่ ตนและสิน้ สุดเมื่อใด โดยระบุกจิ กรรมทท่ี าํ และสถานทที่ ใี่ ชใ นการวิจยั ใหช ัดเจน
7. วิธีดําเนินการวิจัย เปนการอธิบายถึง วิธีการศึกษาหรือวิธีการดําเนินงานอยาง
ละเอียด ควรครอบคลุมหัวขอ ดงั ตอไปนี้

1) กลมุ เปาหมายท่ตี อ งการศกึ ษา
2) เครือ่ งมือท่ใี ชใ นการวิจยั
3) การรวบรวมขอ มลู
4) การวิเคราะหข อ มลู

63

กจิ กรรมที่ 1 ใหผ ูเ รยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี
1. การวจิ ยั อยางงาย คืออะไร

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

2. จงบอกความสาํ คัญของการวจิ ยั อยางงา ย
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

3. จงบอกข้นั ตอนและกระบวนการของการวิจยั อยา งงาย มาใหเขาใจ
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

4. กศน.ตาํ บลแหงหนึ่ง มผี ลคะแนนสอบของผูเ รียนในรายวชิ าทักษะการเรียนรู จํานวน
10 คน ดังน้ี 20 15 17 16 13 12 18 16 15 15 จงตอบคาํ ถาม ตอ ไปนี้

4.1 ความถห่ี รือจํานวนผเู รยี นที่มีคะแนน ต่ํากวา 15 คะแนน
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

4.2 ความถห่ี รือจาํ นวนผูเรียนทม่ี คี ะแนน ตั้งแต 15 คะแนนขึ้นไป
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

64

4.3 ในการสอบครง้ั น้ี หากมีการกําหนดเกณฑการสอบผา นไวท ี่ 15 คะแนน
อยากทราบวา มีผูเรยี นทส่ี อบไมผานจาํ นวน กี่คน คดิ เปนรอยละเทา ใด (จงแสดงวธิ ที ํา)
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

4.4 คาเฉลยี่ ของคะแนน ในรายวิชาทกั ษะการเรียนรูของผูเ รียน
(จงแสดงวิธีทํา)
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
5. จงหาความถี่ของผเู รียนใน กศน.ตําบลท่ศี กึ ษาอยู เปนเพศหญิงก่ีคน เปน เพศชายก่คี น

เพศ การแจงนับ ความถี่ (คน)
หญงิ
ชาย

กิจกรรมที่ 2 ใหผเู รียนเขยี นโครงการวจิ ยั อยา งงาย มา 1 เร่อื ง ตามหวั ขอ ตอไปน้ี
1. ชอ่ื เรอื่ ง

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

2. ผวู จิ ยั
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

65

3. ความเปนมาและความสาํ คญั
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

4. วัตถปุ ระสงคของการวิจัย
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

5. วิธีดําเนินการวิจยั
- ประชากร และกลมุ ตวั อยา ง

..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

- วธิ ีการเก็บรวบรวมขอมลู
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

- เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ นการวิจัย
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

- สถติ ิท่ีใชใ นการวิเคราะหข อ มูล
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

66

6. ปฏิทินการปฏิบัตงิ าน

วัน/เดือน/ป กิจกรรม สถานที่ งบประมาณ
ดําเนนิ การ

………………… ………………………………………………………… ……………………… ……………………..
………………… ………………………………………………………… ……………………… ……………………..
………………… ………………………………………………………… …………………….. ………………………
………………… ………………………………………………………… …………………….. ………………………

7. ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

67

ปจจุบันโลกมีการแขงขันในการประกอบอาชีพกันมากขึ้น ผูที่จะประสบความสําเร็จใน
การประกอบอาชีพ ตอ งมกี ารศึกษา คนควาหาความรจู ากแหลง เรยี นรูตา ง ๆ และมที ักษะพ้ืนฐาน
ท่ีจําเปน ตอการประกอบอาชีพ เชน ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการแกปญหา
ทกั ษะการทํางานรวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการบริหารและการจัดการตามท่ีได
เรยี นรูม าแลวในบทที่ 1-5 และในบทเรียนน้ี ผูเรียนจะไดเรียนรูเพิ่มเติมในเรื่องทักษะการเรียนรู
และศักยภาพหลักของพ้ืนท่ีในการพัฒนาอาชีพ ซ่ึงเปนอีกทักษะหนึ่งท่ีสําคัญในการตัดสินใจใน
การเลือกประกอบอาชีพ

เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ท่ใี นการพฒั นาอาชพี

การเรยี นรูเ กย่ี วกบั ศกั ยภาพหลักของพื้นที่ เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการพัฒนาอาชีพ
เปนส่ิงจําเปน ที่ผานมาประเทศไทยจะสามารถยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา ใหป ระชาชนในแตละ
พื้นที่มีงานทําแลวไดในระดับหนึ่ง แตดวยการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่เปนไปอยางรวดเร็ว
จึงสง ผลตอ ประเทศไทยทตี่ องมกี ารปรบั ตวั และเพ่มิ ขดี ความสามารถใหเขาสูสังคมแหงการแขงขัน
ซึ่งไมเพียงแตในระดับภูมิภาคอาเซียนเทานั้น ยังตองสามารถแขงขันไดในระดับทุกภูมิภาคของ
โลกดว ย การศึกษาเทาน้ันจะชวยสรางคนใหมีความรู ความสามารถ มองเห็นโอกาสและรวมกัน
พัฒนาประเทศใหย ืนอยูบนเวทโี ลกไดอ ยา งมน่ั คง และสามารถแขงขนั ไดในระดับสากล

กระทรวงศึกษาธกิ าร จึงไดก าํ หนดยุทธศาสตรการพัฒนา 5 ศกั ยภาพของพ้ืนที่ใน 5 กลุม
อาชพี ใหม ใหสามารถแขง ขนั ใน 5 ภูมิภาคหลักของโลก คือ 1) ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ
ในแตละพ้นื ที่ 2) ศักยภาพของพน้ื ท่ีตามลกั ษณะภมู อิ ากาศ 3) ศกั ยภาพของภมู ิประเทศและทําเล
ท่ีต้ังของแตละพ้ืนท่ี 4) ศักยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี องคความรู ภูมิปญญาและวิถี
ชีวิตของแตละพื้นท่ี และ5) ศักยภาพของทรัพยากรมนษุ ยใ นแตล ะพ้ืนท่ี

68

ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถในตัวคนแตละคน หรือคุณสมบัติที่มีแฝงอยูในส่ิง
ตา ง ๆ เปน พลงั ภายใน พลงั ที่ซอ นไว หรือพลังแฝงที่ยังไมไดแสดงออกมาใหปรากฏ หรือออกมา
บางแตยังออกมาไมหมด

การวเิ คราะห หมายถึง การแยกแยะสิง่ ท่ีจะพิจารณาออกเปน สว นยอ ย ที่มีความสัมพันธ
กนั รวมถึงสบื คนความสมั พันธสวนยอ ยเหลานั้นดวย

ศกั ยภาพหลกั ของพื้นท่ี หมายถึง ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะภูมิอากาศ
ภูมปิ ระเทศ ทาํ เลที่ต้งั ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี องคความรู ภูมิปญญา วิถีชีวิต หรือทรัพยากร
มนษุ ยของพนื้ ทน่ี ้นั ๆ

เรอื่ งที่ 2 การวิเคราะหศ กั ยภาพหลกั ของพืน้ ทีใ่ นการพฒั นาอาชพี

1. ศกั ยภาพหลักของทรัพยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนที่ หมายถึง สิ่งแวดลอมตาง ๆ
ทเี่ กิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนํามาใชประโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน นํ้า ปาไม
ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ และพลังงาน เปนตน การแยกแยะเพื่อนําเอาศักยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติในแตละพ้ืนท่ี มาใชประโยชนในการประกอบอาชีพ ตองพิจารณาวา
ทรัพยากรธรรมชาติท่ีอยูในพื้นที่น้ัน ๆ มีอะไรบาง เพียงพอหรือไม ถาไมมี ก็ตองพิจารณาใหม
วา จะประกอบอาชพี ท่ีตดั สินใจเลอื กไวห รอื ไม เชน ตองการผลิตนํ้าแรธ รรมชาติจําหนาย แตในพื้นที่
ไมม ตี านา้ํ ไหลผาน และไมสามารถขุดนา้ํ บาดาลได กต็ อ งพิจารณาตอไป ถาตองการอาชีพนี้ เพราะ
เหน็ วามีคนนิยมดื่มน้ําแรมาก ประกอบกับตลาดยังมีความตองการเชนกัน ก็ตองพิจารณาอีกวา
การลงทนุ หาทรพั ยากรนา้ํ และแรธาตุ มาใชใ นการผลติ นา้ํ แร จะเสียคาใชจ ายคุมทุนหรอื ไม

2. ศกั ยภาพของพ้นื ทตี่ ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ หมายถึง ลักษณะของลม ฟา อากาศที่มี
อยูป ระจําทอ งถ่นิ ใดทอ งถ่ินหนึง่ โดยพิจารณาจากคาเฉล่ียของอุณหภูมิประจําเดือน และปริมาณ
นํา้ ฝนในชวงระยะเวลาตาง ๆ ในรอบป เชน ภาคเหนือของประเทศไทย มีอากาศหนาวเย็น หรือ
รอนชื้นสลับกับฤดูแลง อาชีพทางการเกษตร ท่ีทํารายไดใหประชากร ไดแก การทําสวน ทําไร
ทาํ นาและเลี้ยงสัตว หรือภาคใตม ีฝนตกตลอดทง้ั ป เหมาะแกการเพาะปลกู พืชเมืองรอน ท่ีตองการ
ความชุมช้ืนสูง เชน ยางพารา ปาลมน้ํามัน เปนตน เพราะฉะน้ันการประกอบอาชีพอะไรก็ตาม
จาํ เปน ตอ งพจิ ารณาถึงสภาพภูมอิ ากาศดวย

69

3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทําเลทต่ี ั้งของแตละพื้นที่ หมายถึง ลักษณะพ้ืนที่และ
ทาํ เลทต่ี ้งั ในแตละจงั หวัด ซง่ึ มีลกั ษณะแตกตา งกัน เชน เปนภูเขา ทร่ี าบสงู ท่ีราบลุม ที่ราบชายฝง
สิ่งทค่ี วรศึกษา เชน ขนาดของพ้ืนท่ี ความลาดชัน และความสูงของพื้นท่ี เปนตน รวมถึงการผลิต
การจาํ หนา ย หรือการใหบ รกิ าร ตองคํานึงถึงทําเลท่ตี ง้ั ท่ีเหมาะสม

4. ศกั ยภาพของศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวถิ ีชวี ติ ของแตล ะพ้นื ท่ี ประเทศไทยมี
สภาพ ภมู ิประเทศ ภมู ิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติท่ีแตกตางกันออกไปในแตละภาค จึงมี
ความแตกตางกัน ในการดํารงชีวิต ท้ังดานศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี และการประกอบอาชีพ
ถึงแมวาคนไทยสวนใหญ มีวิถีชีวิตผูกพันกับการเกษตร ถึงรอยละ 80 แตก็ควรพิจารณาเลือก
อาชีพทเี่ หมาะสมกับศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณใี หสอดคลอ งกับวถิ ีชวี ิตของแตล ะพื้นที่ดว ย

5. ศักยภาพของทรัพยากรมนุษยในแตละพื้นที่ หมายถึง การนําศักยภาพของแตละ
บุคคล ในแตละพื้นที่มาใชในการปฏิบัติงาน ใหเกิดประโยชนสูงสุด และสรางใหแตละบุคคล
เกิดทัศนคติท่ีดี ตออาชีพ องคกร ตลอดจนเกิดความตระหนักในคุณคาของตนเอง และเพ่ือน
รวมงาน ในประเทศไทยยังมีบุคคลอีกหลายกลุมที่สามารถปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ความเปนอยู
ตลอดจนการพัฒนาอาชพี ใหเ หมาะสมกบั ยคุ สมยั โดยเฉพาะอาชีพดา นเกษตรกรรม ปจจุบันมีการ
ทาํ เกษตรแบบผสมผสาน สามารถพลิกฟน คนื ธรรมชาตใิ หอดุ มสมบรู ณแทนสภาพดินเดิม ที่เคยถูก
ทําลายไป ทรัพยากรมนุษยเปนเร่ืองท่ีสําคัญ ที่ตองพิจารณาดําเนินการประกอบอาชีพอยางเปน
ระบบ ใหส อดคลองกบั ความตอ งการของบุคคลในแตละพ้ืนที่

จะเห็นไดวา การวิเคราะหศักยภาพตามหลักของพื้นท่ี ท้ัง 5 ดาน ดังกลาวขางตน
มีความสําคัญและจําเปนตอการประกอบอาชีพใหเขมแข็ง หากไดวิเคราะหศักยภาพของตนเอง
อยางรอบดาน รวมถงึ ปจ จัยภายในตัวตน และภายนอกของผูประกอบอาชีพ ถาวิเคราะหขอมูลได
มากและถกู ตอง กม็ ีโอกาสเขาสูการประกอบอาชีพ ไดม ากยิ่งข้ึน

70

เรือ่ งที่ 3 ตวั อยา งอาชพี ท่ีสอดคลอ งกบั ศกั ยภาพหลักของพ้นื ท่ี

กลุม อาชพี ใหมดา นเกษตรกรรม

1. กลมุ การผลิต เชน การปลูกไมดอกเพือ่ การคา การผลติ ปุยอินทรีย ปยุ นา้ํ หมักชีวภาพ
2. กลุมแปรรูป เชน การแปรรูปปลานิลแดดเดียว การแปรรูปทําไสกรอกจากปลาดุก
การตากแหงและหมกั ดองผกั และผลไม
3. กลุมเศรษฐกิจพอเพียง เชน การเกษตรแบบยั่งยืน การเกษตรแบบผสมผสานตาม
แนวเกษตรทฤษฎีใหม และแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง

ตัวอยา ง อาชพี การปลกู พชื ผักโดยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ
ปจจุบัน การเพาะปลูกของประเทศไทย ประสบปญหาที่สําคัญคือ ดินขาดความอุดม
สมบรู ณ และปญหาแมลงศตั รรู บกวน เกษตรกรใชวิธีแกปญหาโดยใชยาฆาแมลง ซ่ึงเปนอันตราย
ตอ เกษตรกรผผู ลิตและผบู รโิ ภค อกี ทัง้ ยังเกิดมลพิษตอส่ิงแวดลอม รัฐบาลจึงสงเสริมใหเกษตรกร
ปฏบิ ัตติ ามแนวทางการเกษตรธรรมชาติแบบย่ังยืน ตามแนวพระราชดําริ ซึ่งเปนแนวทางท่ีจะทํา
ใหดนิ มคี วามอุดมสมบรู ณ มศี ักยภาพในการเพาะปลกู และใหผ ลผลิตทป่ี ลอดภัยจากสารพษิ ตาง ๆ
ดังนั้น ผูเรียนตองมีความรู ความเขาใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการดําเนินตามแนว
พระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว โดยตองศึกษา และเรียนรูในเร่ืองหลักเกษตร
ธรรมชาติ การปรบั ปรงุ ดนิ โดยใชป ุยอินทรยี  และปุยชีวภาพ การปองกันและกําจัดศัตรูพืช โดยวิธี
เกษตรธรรมชาติ การทําสมุนไพร เพ่ือปองกันและกําจัดศัตรูพืช ฝกปฏิบัติทําปุยหมัก ปุยนํ้า
ชวี ภาพและนา้ํ สกัดชีวภาพ ฝก ปฏิบัติการเพาะกลา การจัดดอกไม การแปรรูปผลผลิตการเกษตร
การวางแผนการปลูกพืชผัก โดยวิธีเกษตรธรรมชาติ ในอนาคต ฝกจนเกิดทักษะ
จะไดอ าชพี ทห่ี ลากหลาย จากแนวทางเกษตรธรรมชาติแบบยง่ั ยนื

71

ตวั อยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพื้นทที่ ส่ี อดคลอ งกบั อาชพี การปลกู พชื ผกั โดยวธิ เี กษตร
ธรรมชาติ

ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน รายละเอียดทีค่ วรพิจารณา

1 การวเิ คราะหทรัพยากรธรรมชาติ - ดนิ มีความอุดมสมบูรณ ไมมีแมลงศัตรพู ชื

ในแตละพนื้ ที่ รบกวน

- มีแหลงน้าํ และลักษณะพื้นที่เปนท่รี าบลมุ อดุ ม

สมบูรณ

เหมาะสมในการทาํ การเกษตร

2 การวิเคราะหพ้ืนทตี่ ามลกั ษณะ - ฤดูกาล ภมู ิอากาศเหมาะสมตอการปลกู พชื ผกั

ภมู ิอากาศ เชน มีอากาศเย็น ไมรอนจดั

3 การวิเคราะหภมู ปิ ระเทศ และ - เปน ฐานการผลติ ทางการเกษตร มแี หลง

ทาํ เลทีต่ ั้งของแตล ะพน้ื ท่ี ชลประทาน

- ไมม คี วามเส่ยี งจากภยั ธรรมชาติ ทม่ี ผี ลตอความ

เสยี หายอยางรุนแรง

- มพี ืน้ ทีพ่ อเพียงเหมาะสม มกี ารคมนาคมสะดวก

4 การวเิ คราะห ศลิ ปะ วัฒนธรรม - มีวิถีชีวติ แบบเกษตรกรรม

ประเพณี และวิถชี วี ติ ของแตละ - ประชาชนสนใจในวิถีธรรมชาติ

พนื้ ที่

5 การวิเคราะหทรพั ยากรมนุษย - มีภมู ปิ ญญา/ผรู ู เกี่ยวกับเกษตรธรรมชาติ

ในแตละพน้ื ท่ี - ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานและชุมชน

อยา งมาก

กลมุ อาชพี ใหมดานอตุ สาหกรรม

1. กลุมไฟฟา และอิเล็กทรอนกิ ส เชน ชา งไฟฟา อตุ สาหกรรม ชางเช่อื มโลหะดวยไฟฟา
และแกส ชา งเชือ่ มเหลก็ ดดั ประตู หนาตาง ชางเดนิ สายไฟฟาภายในอาคาร ชา งเดินสายและตดิ ตั้ง
อุปกรณไฟฟา ชา งซอ มแอร เปนตน

2. กลุมส่ิงทอและตกแตงผา เชน การทําซิลคสกรีน การทําผามัดยอม การทําผาบาติก
การทอผาดวยก่กี ระตกุ เปน ตน

72

3. กลมุ เครอ่ื งยนต เชน การซอ มรถยนต และรถจักรยานยนต ชางเครื่องยนต ชางเคาะ
ตัวถังและพนสีรถยนต เปน ตน

4. กลุมศิลปประดิษฐ และอัญมณี เชน การแกะสลักวัสดุออนเบื้องตน การข้ึนรูป
กระถางตนไมด วยแปน หมนุ การทาํ ของชาํ รว ยดวยเซรามิก ผาทอ การประดิษฐของที่ระลึกที่เปน
เอกลกั ษณข องไทยจากผา หรือโลหะ เปน ตน

5. กลุมอุตสาหกรรม เชน อุตสาหกรรมการทองเที่ยว ธุรกิจโรงแรม รานอาหาร การ
คมนาคมขนสง เปนตน

ตัวอยาง อาชีพตัวแทนจําหนายที่พักและบริการทองเท่ียวในแหลงทองเที่ยวเชิง
วฒั นธรรม ในกลุมประเทศภูมิภาคอาเซยี นโดยใชอ ินเทอรเน็ต

ปจจุบัน ประชาคมโลกมีการติดตอส่ือสารกันมากขึ้นอยางรวดเร็ว คนในภูมิภาคกลุม
ประเทศอาเซยี น จะติดตอไปมาหาสูกันมากข้ึน แตละประเทศตางมีความสนใจเกี่ยวกับประเพณี
วัฒนธรรมของชาติเพอื่ นบาน มคี วามตอ งการเรยี นรูแ ละทอ งเท่ยี วกนั มากขน้ึ จนเกิดเปนธุรกิจการ
ทองเที่ยวและอุตสาหกรรมบริการท่ีมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็วท่ัวโลก กอใหเกิดรายไดเปน
เงนิ ตราตา งประเทศ เขาประเทศเปนจํานวนมาก เม่ือเทียบกับรายไดจากสินคาอื่น ๆ นอกจากน้ี
ยังทําใหเ กดิ ธุรกจิ โรงแรม รา นอาหาร การคมนาคมและขนสง ขยายตัวตามไปดวย การทองเท่ียว
จึงถือวาเปนกิจกรรมการกระจายรายไดและความเจริญสูภูมิภาคตาง ๆ เกิดการสรางงาน สราง
อาชีพ ใหแกชุมชนในทองถิ่น และยังเปนตัวกระตุน ใหเกิดการผลิต และการนําเอา
ทรัพยากรธรรมชาตติ า ง ๆ มาใชใหเ กดิ ประโยชนอยางเหมาะสม โดยอยูในรปู ของสินคา และบริการ
เกี่ยวกับการทองเท่ียว ดังนั้น การรวบรวมขอมูล นําเสนอ ใหบริการเกี่ยวกับการทองเที่ยว โดย
เปนตัวกลางระหวา งผูประกอบการ กบั ผูใชบ รกิ าร หรอื เรยี กงา ย ๆ วา เปน ตัวแทนใหเ ชาที่พัก และ
บริการทองเที่ยว ผูเรียนจึงควรมีความรู ความเขาใจ มีทักษะในการสื่อสาร การเจรจาตอรอง
มีทักษะการใชอินเทอรเน็ต สําหรับการเปนตัวแทนจําหนาย และเจตคติที่ดี เกี่ยวกับธุรกิจที่พัก
และการใหบ ริการการทอ งเท่ยี วเชิงวัฒนธรรม ในกลมุ ประเทศอาเซียน

73

ตวั อยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพน้ื ทท่ี ส่ี อดคลอ งกบั อาชพี ตัวแทนจําหนา ยทพี่ กั
และบรกิ ารทองเท่ียวฯ

ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอียดท่คี วรพิจารณา
1 การวิเคราะหท รัพยากรธรรมชาติ - ขอ มลู ของแหลงทองเท่ียว

ในแตละพื้นที่ - มบี รรยากาศทเ่ี หมาะสมเปนแหลงทองเที่ยว
2 การวิเคราะหพ ้นื ทีต่ ามลกั ษณะ
- มีทําเลทีต่ ้งั อยูในชุมชน ที่มกี ารเดนิ ทางได
ภมู อิ ากาศ สะดวก
3 การวเิ คราะหภ ูมิประเทศ และ - มที นุ ทางสังคมและวัฒนธรรม การบริโภคของ
ตลาดโลกมีแนวโนมกระแสความนิยมสนิ คา
ทําเลทตี่ งั้ ของแตละพืน้ ท่ี ตะวนั ออกมากขึ้น
4 การวิเคราะห ศลิ ปะ วัฒนธรรม - มศี ลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวถิ ชี ีวติ แบบ
ด้ังเดมิ และเปนเอกลกั ษณ
ประเพณี และวิถีชวี ิตของแตล ะ - มีความสามารถในการใชเทคโนโลยที างการ
พ้นื ท่ี สอ่ื สาร และสามารถส่อื สารภาษาตา งประเทศ
และภาษาในกลุม ประเทศเพ่ือนบา นอาเซยี น
5 การวิเคราะหทรัพยากรมนุษย - มรี ะบบประกนั สังคม และการคมุ ครองแรงงาน
ในแตละพน้ื ที่

กลุม อาชพี ใหมด า นพาณชิ ยกรรม

1. กลุมพัฒนาผลิตภณั ฑ เชน การออกแบบและการบรรจุภณั ฑช มุ ชน การพฒั นา
ผลิตภณั ฑเ พอื่ ชมุ ชน การพฒั นาและออกแบบผลติ ภณั ฑ

2. การขายสินคา ทางอินเทอรเนต็ การสรา งรานคา ทางอินเทอรเ นต็
3. กลุมผูประกอบการ เชน การประกอบธุรกิจชุมชน รานคาปลีกกลุมแมบาน และ
วิสาหกจิ ชมุ ชน

74

ตัวอยา ง อาชพี การพฒั นากลมุ อาชพี ทอผาพน้ื เมือง

ผาทอพ้ืนเมืองมีอยูทั่วทุกภูมิภาคของไทย มีลักษณะแตกตางกัน ทั้งการออกแบบ สีสัน
และวัสดุ ท่ีใช ขึ้นอยูกับทรัพยากรของพ้ืนท่ีน้ัน ๆ เปนท่ีนิยมของคนท่ัวไป ท้ังคนไทยและ
ตางประเทศ สําหรับใชเปนเครื่องนุงหมและของใชในชีวิตประจําวัน ปจจุบัน มีการผลิตผา
พ้ืนเมือง ในลักษณะอุตสาหกรรมโรงงาน โดยมีบริษัทรับจางชางทอผา โดยกําหนดลวดลายให
พรอมทั้งจัดเสนไหม เสน ดายท่ียอมสแี ลว มาใหท อ เพ่ือเปนการควบคุมคุณภาพ และอีกลักษณะ
หนึง่ จะมคี นกลางมารับซอื้ ผา จากชางทออิสระ ซึง่ หาวสั ดุทาํ เองตั้งแตการปนดาย ยอมสี ทอตาม
ลวดลายท่ีตองการ โดยทําท่ีบานของตนเอง แตคนกลางจะเปนผูกําหนดราคาตามคุณภาพ และ
ลวดลายของผาที่ตลาดตองการ ในบางพ้ืนที่มีการรวมตัวกันเปนกลุมทําเปนอาชีพเสริม และ
จําหนายในลักษณะสหกรณ เชน กลุมทอผาของศูนยศิลปาชีพ หรือกลุมอื่น ๆในพื้นท่ี การทอผา
พื้นเมือง สวนใหญจะออกแบบลวดลายเปนสัญลักษณ หรือเอกลักษณดั้งเดิม โดยเฉพาะชุมชน
ที่ มีเชอื้ สายชาติพนั ธุบ างกลุม ทีก่ ระจายตวั กันอยูในภาคตาง ๆ ของประเทศไทย จนถึงปจจุบันน้ี
มีเอกลักษณการออกแบบของตนเอง ถึงแมวาจะมีการพัฒนาปรับเปล่ียนสีสัน ลวดลาย
ตามรสนิยมของตลาด แตก็ยังมีบางสวนที่คงเอกลักษณของตนเองไว เพื่อแสดงความชัดเจน ถึง
ชาติพันธุในแตละภูมิภาค ผูบริโภคสามารถเลือกซ้ือไดอยางหลากหลาย การแขงขันในดาน
การตลาดก็ยอมจะสูงข้ึน ดังน้ัน ผูเรียนควรมีความรู ความสามารถ ทักษะและเจตคติตออาชีพ
และคาํ นึงถึงการวเิ คราะหส ภาพกลุมอาชีพและธุรกิจอาชีพทอผา พนื้ เมือง

ตวั อยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพน้ื ทท่ี ีส่ อดคลอ งกบั อาชพี ทอผา พน้ื เมือง

ที่ ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดทคี่ วรพิจารณา
1 การวิเคราะหท รพั ยากรธรรมชาติ - มีทรัพยากรธรรมชาติ ท่พี อเพยี ง สามารถนาํ มา
เปน วตั ถดุ ิบได
ในแตล ะพื้นท่ี - มภี มู อิ ากาศทีเ่ หมาะสม
2 การวิเคราะหพ้นื ที่ตามลักษณะ - มขี อ มูลของภูมอิ ากาศอยูเ สมอ
- เปน ศูนยกลางหัตถอุตสาหกรรม
ภูมิอากาศ - มพี ื้นที่ ท่ีเอือ้ ตอการบรกิ ารดา นการคา การ
3 การวเิ คราะหภูมปิ ระเทศ และ ลงทนุ และการทอ งเทยี่ ว เชอ่ื มโยงกับประเทศ
เพื่อนบาน สามารถตดิ ตอการคาได
ทาํ เลทต่ี ้งั ของแตละพน้ื ที่ - มีพืน้ ทชี่ ายแดน ตดิ ตอ กบั ประเทศเพอื่ นบาน

75

ท่ี ศักยภาพ 5 ดา น รายละเอียดทคี่ วรพจิ ารณา
4 การวิเคราะห ศลิ ปะ วฒั นธรรม - มีแหลง อตุ สาหกรรมท่ีเกยี่ วขอ ง ทุนทางสังคม
และวฒั นธรรม
ประเพณี และวถิ ีชีวิตของแตล ะ
พนื้ ท่ี - มีภมู ปิ ญญาและทักษะฝม อื แรงงาน
5 การวิเคราะหทรพั ยากรมนุษย
ในแตล ะพื้นที่

กลุมอาชพี ใหมด านความคดิ สรางสรรค

1. คอมพิวเตอรและธรุ การ ไดแ ก โปรแกรมตา ง ๆ ทใ่ี ชกบั เครอ่ื งคอมพิวเตอร
2. กลุมออกแบบ เชน โปรแกรม Auto Cad เพ่ืองานออกแบบกอสราง ออกแบบ
ช้นิ สว นทางอตุ สาหกรรม โปรแกรม Solid Work เพอื่ ใชเ ขียนแบบเครื่องกล
3. กลุมงานในสํานักงาน เชน Office and Multimedia การจัดทําระบบขอมูลทาง
การเงินและบัญชีดวยโปรแกรม Excel และโปรแกรมบัญชีสําเร็จรูป เพ่ือใชในการทํางานทางธุรกิจ
การใชค อมพิวเตอร ในสํานักงานดวยโปรแกรม Microsoft Office โปรแกรม Microsoft Access
เปน โปรแกรม สาํ หรับการบันทึกฐานขอ มูล เชน งานบุคลากร รายการหนงั สอื ในหอ งสมุด
4. กลุมชา งคอมพิวเตอร เชน ชา งซอ ม ชา งประกอบ ชา งติดตง้ั ระบบและบํารงุ รกั ษา
คอมพวิ เตอร

ตัวอยา ง อาชพี การสรา งภาพเคลอ่ื นไหว (Animation) เพอ่ื ธรุ กจิ

ในยุคปจจุบัน คอมพิวเตอรเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันของมนุษยมากขึ้น ธุรกิจ
อุตสาหกรรม Animation เปนงานเกี่ยวกับการสรางภาพเคลื่อนไหว ที่ใหความบันเทิง และงาน
สรางสรรคการออกแบบโดยการใชคอมพวิ เตอร เปนอาชพี หนง่ึ ทสี่ ามารถทาํ รายไดดี ท้ังในปจจุบัน
และอนาคต ผูเรียนที่สนใจ ควรมีความรู ความเขาใจ ทักษะ และเจตคติเกี่ยวกับความหมาย
ความสาํ คญั และประโยชนของความคดิ สรา งสรรค เทคนิคการคิดแบบสรา งสรรค การกําจัดส่ิงกีด
ก้ันความคิดเชิงสรางสรรค ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับการสรางภาพเคล่ือนไหว (Animation)
เพื่อธุรกิจ การออกแบบช้ินงาน (Animation Workshop) ประโยชนและโทษของการใช
คอมพิวเตอร จรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ กฎหมายท่ีเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ซ่ึงผู
ประกอบอาชีพทางดานความคิดสรางสรรค ควรหมั่นฝกฝนและพัฒนาความคิดอยางตอเนื่อง
เพื่อสรางสรรคผลงานท่ีดี และมีศักยภาพดานทักษะสูงข้ึน จนสามารถสงผลงานเขาประกวด
แขง ขันได

76

ตัวอยาง การวิเคราะหศ กั ยภาพของพ้นื ทท่ี ่สี อดคลอ งกบั อาชพี การสรางภาพเคลอื่ นไหว
(Animation) เพื่อธรุ กจิ

ท่ี ศักยภาพ 5 ดาน รายละเอียดท่คี วรพิจารณา

1 การวเิ คราะหทรพั ยากรธรรมชาติ -

ในแตล ะพ้ืนที่

2 การวเิ คราะหพน้ื ท่ีตามลกั ษณะ -

ภูมอิ ากาศ

3 การวิเคราะหภ ูมิประเทศ และ -

ทําเลทต่ี ้ังของแตละพนื้ ท่ี

4 การวิเคราะหศลิ ปะ วฒั นธรรม - มีขอมูลเก่ียวกับศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี

ประเพณี และวิถีชีวติ ของแตล ะ ทผี่ สม ผสานของหลากหลายพ้ืนท่ี

พ้ืนที่

5 การวิเคราะหทรพั ยากรมนษุ ย - มีแรงงานท่ีมีทกั ษะฝมือ ความรู ความสามารถ

ในแตละพน้ื ที่ ในการใชเทคโนโลยี

- มกี ารสงเสริมโอกาสทางการศกึ ษาอยา งตอ เนื่อง

หมายเหตุ บางอาชพี เมอ่ื วิเคราะหศกั ยภาพแลว อาจไมม ีรายละเอยี ดการพิจารณาครบทง้ั 5
ดา น

กลุมอาชพี ใหมด านบรหิ ารจัดการและการบรกิ าร

1. กลุมการทองเที่ยว เชน มัคคุเทศก พนักงานบริการอาหารและเคร่ืองดื่ม พนักงาน
ผสมเครอ่ื งดื่ม การทําอาหารวา งนานาชาติ การบรกิ ารทพ่ี ักในรูปแบบโฮมสเตย เปน ตน

2. กลุมสุขภาพ เชน การนวดแผนไทย นวดดวยลูกประคบ สปาเพื่อสุขภาพ การดูแล
เด็กและผสู ูงอายุ เปน ตน

3. กลุมการซอมแซมและบํารุงรักษา เชน การซอมเคร่ืองปรับอากาศ การซอม
เคร่ืองยนตดีเซล ซอมเคร่ืองยนตเบนซิน การซอมเคร่ืองยนตเล็กเพ่ือการเกษตร การซอมจักร
อตุ สาหกรรม การซอมเครือ่ งใช ไฟฟา เปนตน

4. กลุมคมนาคมและการขนสง ไดแก อาชพี ดาน Logistics หรือการขนสงสินคาทางบก
ทางอากาศและทางเรอื

77

5. กลมุ ชางกอสราง เชน ชา งปกู ระเบื้อง ชา งไม ชางปูน ชางทาสี ชา งเชื่อมโลหะ
6. กลมุ ผลติ วัสดกุ อสรา ง เชน การทําบลอ็ กคอนกรีต เสาคอนกรีต เปน ตน

ตวั อยาง อาชพี การบรกิ ารทพี่ กั ในรปู แบบโฮมสเตย

การบริการที่พักในรูปแบบโฮมสเตย เปนการประกอบอาชีพธุรกิจในชุมชน โดยนําเอา
ตน ทนุ ทางสังคม คือ ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอม มาบริหารจัดการ ไดแก ทุนทรัพยากร
บุคคล ทุนภูมิปญญาและแหลงเรียนรู ทุนทางวัฒนธรรม ทุนงบประมาณของรัฐ และทุนทาง
ความรู มาใชจดั กจิ กรรมการเรยี นรู โดยมเี ครือขา ยเขามามสี วนรวม และใชชุมชนเปนฐาน ควบคู
กบั การสรางองคความรู เพื่อเพ่ิมมูลคา จูงใจใหนักทองเท่ียว มาสัมผัสกับการทองเท่ียวเชิงอนุรักษ
ในรูปแบบโฮมสเตย ดังนัน้ ผเู รียนจึงตองเรียนรูในหลักการจัดโฮมสเตยใหเขาใจ ศึกษาหาความรู
ในเรื่องท่ีเก่ียวของกับสถานการณการทองเท่ียว นโยบายการทองเที่ยวของประเทศไทย ความรู
พื้นฐานและมาตรฐานการจดั โฮมสเตย การจัดกจิ กรรมนาํ เท่ยี ว การตอนรับนักทอ งเที่ยว การบริการ
และการเปน มัคคุเทศก วิธีการสรางเครอื ขายการทอ งเท่ียว การประกอบอาหาร การปฐมพยาบาล
เบ้ืองตน ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร การทองเที่ยวและการบริหารจัดการ องคความรู
ทีห่ ลากหลายนี้ จะสามารถพฒั นาตนเอง และกลมุ ไปสกู ารบริหารจัดการที่มีมาตรฐานเปนไปตาม
หลักการ ของอาชีพการบรกิ ารที่พักสาํ หรับนกั ทอ งเทย่ี ว ในรปู แบบโฮมสเตย

ตัวอยา ง การวเิ คราะหศ กั ยภาพของพ้ืนทที่ ่ีสอดคลอ งกบั อาชพี การบริการทพ่ี กั ในรปู แบบ
โฮมสเตย

ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดา น รายละเอยี ดท่ีควรพิจารณา

1 การวิเคราะหท รพั ยากรธรรมชาติ - มีแหลงทอ งเทยี่ วท่เี ปนจุดสนใจ มีความแปลก

ในแตละพน้ื ท่ี ชวนใหผคู นมาเทย่ี วพักผอ น และพกั คางคืน

- มีเสนทางศึกษาธรรมชาตทิ ี่นาสนใจ

- ใกลแ หลงนาํ้ นํ้าตก ทะเล มที ิวทศั นท ี่สวยงาม

- ไมถ กู รบกวนจากแมลง และสตั วอืน่ ๆ

2 การวิเคราะหพน้ื ท่ตี ามลกั ษณะ - ภูมอิ ากาศไมแปรปรวนบอ ยมากนกั

ภูมอิ ากาศ

3 การวเิ คราะหภมู ปิ ระเทศ และ - มที าํ เลที่ตัง้ อยไู มไกลเกินไป เดนิ ทางไดสะดวก

ทําเลทีต่ ้งั ของแตล ะพืน้ ที่ - ขอ มูลแตล ะพืน้ ท่ีท่ีเลอื ก อยูใกลจ ดุ ทองเท่ียว

78

4 การวิเคราะห ศลิ ปะ วฒั นธรรม หรือไม มคี วามปลอดภยั เพียงใด และมคี แู ขง
ประเพณี และวถิ ีชวี ิตของแตล ะ ที่สําคญั หรือไม
พนื้ ท่ี - เปนแหลง ทองเทย่ี วทางวัฒนธรรม ทีเ่ ปน
ธรรมชาติ อยูในพ้นื ที่
5 การวเิ คราะหทรพั ยากรมนุษย
ในแตละพ้ืนที่ - มผี ูประกอบการ และแรงงานท่มี คี วามรู
ความสามารถ
- มีความรวมมือจากชุมชนในดา นการเปนมิตรกบั
นักทอ งเท่ียวท่มี าใชบ ริการทพี่ กั

ใหผ เู รยี นรวมกลมุ และรว มกันอภิปราย สรุปนําเสนอในประเด็น ดงั ตอไปนี้
1. วเิ คราะหศกั ยภาพหลกั ของพื้นทีใ่ นการพฒั นาอาชีพในชมุ ชนของตนเอง วามีศกั ยภาพ

ดา นใด แตล ะดานมลี ักษณะเฉพาะพน้ื ที่ อยางไรบาง
2. จากขอท่ี 1 ใหผ ูเรยี นยกตวั อยางกลุมอาชพี ดานใดดา นหน่งึ มา 1 อาชพี แลว ใหเ หตุผล

ทางศักยภาพประกอบทง้ั 5 ศกั ยภาพ

79

บรรณานุกรม

วิชิต นนั ทสุวรรณ และคณะ. (2541). บทบาทชุมชนกบั การศกึ ษา. สาํ นักงานคณะกรรมการ
การศึกษา แหง ชาติ สํานกั นายกรัฐมนตร.ี กรุงเทพฯ. ม.ป.พ.
สถาบนั พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนอื . (2552). คูม อื การสอน

แบบ คิดเปน และจติ วทิ ยาการเรยี นรูของผใู หญ. อบุ ลราชธานี : ยงสวสั ดิอ์ นิ เตอร
กรุป.
สาํ นกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั . (2552). คมั ภีร กศน.
กรุงเทพ : เอน็ .เอ.รตั นะเทรดด้งิ .
_________. (2553). ทกั ษะการเรียนรู ทร 21001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . เอกสารทาง
วชิ าการลาํ ดบั ท่ี 39/2553. ม.ป.พ.
_________. (2553). หนังสอื เรยี นสาระทักษะการเรยี นรู รายวชิ าทกั ษะการเรยี นรู
(ทร 21001) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน . หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. ม.ป.พ.
_________. (2555). หนงั สอื เรยี นรายวิชาทกั ษะการเรียนรู ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน (ฉบับ
ปรบั ปรุง 2554). เอกสารทางวชิ าการ ลําดบั ท่ี 33/2555.
สมนกึ โทณผลนิ . (2554). ทกั ษะการเรยี นรู ทร 21001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน .
กรุงเทพฯ : หนอนหนงั สือ สตารเน็ทเวิรค จํากัด.
สมประสงค วทิ ยเกียรต.ิ (2555). สาระทกั ษะการเรยี นรู รายวชิ าทักษะการเรียนรู ทร
21001. ฉบบั ปรบั ปรงุ 2554. นนทบุรี : ปย มติ ร มัลตมิ ีเดีย จาํ กัด.

80

คณะผจู ดั ทํา

ทีป่ รกึ ษา

นายสุรพงษ จาํ จด เลขาธกิ าร กศน.

นายประเสรฐิ หอมดี รองเลขาธิการ กศน.

นางตรีนุช สุขสเุ ดช ผอู ํานวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

นายจาํ เรญิ มลู ฟอง ผอู ํานวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนอื

นายสมชาย เดด็ ขาด รองผอู ํานวยการสถาบนั กศน.ภาคเหนอื

ผสู รปุ เน้อื หา

นางดวงทพิ ย แกวประเสรฐิ ครูชาํ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื

นางสาวกมลธรรม ช่ืนพนั ธุ ครชู าํ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ

นางณชิ ากร เมตาภรณ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ

นางอบุ ลรัตน มโี ชค ครชู ํานาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ

นางลาํ เจียก สองสดี า ครชู าํ นาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ

นายธีรศักดิ์ ลอยลม ครชู าํ นาญการ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื

นายเสถียรพงศ ใจเยน็ ครผู ูชวย สถาบัน กศน.ภาคเหนือ

ผูบ รรณาธกิ าร

นางสาวอาํ ภรณ ชา งเกวียน ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอแจห ม จงั หวัดลําปาง

นางศภุ ดา ศรีพิลาศ ศึกษานิเทศก ชํานาญการพเิ ศษ สํานกั งาน กศน.

จังหวัดนครสวรรค

ผูพสิ จู นอักษร

นางดวงทพิ ย แกวประเสริฐ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื

นางสาวกมลธรรม ชื่นพนั ธุ ครูชํานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนือ

นางณชิ ากร เมตาภรณ ครชู าํ นาญการพิเศษ สถาบนั กศน.ภาคเหนอื

นางแกว ตา ธรี ะกุลพศิ ุทธิ์ ครชู าํ นาญการ สถาบัน กศน.ภาคเหนอื

ผูอ อกแบบปก

นายศภุ โชค ศรีรัตนศลิ ป กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัย

81


Click to View FlipBook Version