The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitikornLanakham, 2019-10-03 03:11:17

Unit 2

Unit 2

หนว่ ยท่ี 2

ปจั จัยพืน้ ฐานและ
การวางแผนการผลิต

18

หวั ข้อเร่ือง
1. ปจั จยั พื้นฐานท่สี าคญั ในการผลติ สัตวป์ กี
2. การวางแผนการผลติ สัตว์ปีก

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกปจั จยั พ้นื ฐานทีส่ าคัญในการผลิตสัตว์ปกี ได้
2. วเิ คราะหข์ ้อมูลและวางแผนการผลิตสตั วป์ ีกเชงิ ธรุ กิจได้

เน้อื หาการสอน
ปัจจัยพ้ืนฐานในการผลิตสัตว์ปีกได้แก่ พันธุ์สัตว์ปีก อาหาร เวชภัณฑ์ โรงเรือนและอุปกรณ์ต่างๆ

ผูเ้ ลย้ี งสตั วป์ กี จะตอ้ งมคี วามรู้และความเขา้ ใจในการเลือกใชป้ ัจจยั พ้ืนฐานเหล่าน้ีให้สอดคล้องและเหมาะสมกับ
การผลติ สัตวป์ กี ของตนเอง และเป็นการเตรยี มความพรอ้ มสาหรบั การวางแผนการผลิตไกเ่ นื้อต่อไป

1. ปัจจยั พืน้ ฐานท่ีสาคญั ในการผลิตสัตว์ปกี
1.1 พนั ธุ์สตั ว์ปีก
พันธ์ุสัตว์ปีกนับเป็นปัจจัยท่ีสาคัญในการผลิตสัตว์ปีก ผู้เลี้ยงจะต้องเลือกพันธุ์สัตว์ปีกให้สอดคล้องกับ

วัตถุประสงค์ของการทาฟาร์ม เช่น เลือกไก่สายพันธ์ุไข่เพ่ือการผลิตไข่ หรือเลือกเป็ดสายพันธุ์เน้ือเพื่อผลิต
เป็ดเนือ้ สาหรับจาหน่าย ปจั จบุ ันพันธุ์สัตว์ปีกมีหลายชนิด แต่จะสามารถแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ประเภทหลกั ๆ คือ

1) สัตว์ปกี พนั ธแุ์ ท้ (pure breed) คือ สตั ว์ปีกท่ไี ด้รับการคัดเลือกและปรับปรงุ พันธุม์ าอย่าง
ตอ่ เนือ่ งและมี ลกั ษณะประจาพันธทุ์ ่ีคงท่ี โดยสตั วป์ ีกในรุ่นลกู หลานจะมลี ักษณะเช่นเดียวกบั รุ่นพอ่ และแม่พันธ์ุ

2) สัตว์ปีกลูกผสม (hybrid breed) คือ สัตว์ปีกท่ีได้รับการปรับปรุงพันธ์ุให้มีประสิทธิภาพ
การผลิตท่ีสูงขึ้น มากกว่ารุ่นพ่อแม่พันธ์ุ สัตว์ปีกลูกผสมเกิดจากการนาเอาสัตว์ปีกรุ่นพ่อพันธ์ุและแม่พันธ์ุแท้
ตั้งแต่สองพันธ์ุมาผสม ร่วมกัน ซ่ึงลักษณะท่ีแสดงออกของพันธุกรรมท่ีได้ในรุ่นลูกน้ี อาจจะมีลักษณะท่ีเหมือน
หรือแตกต่างจากรุ่นพ่อแม่ พันธ์ุได้ แต่โดยปกติรุ่นลูกผสมท่ีเกิดขึ้นจะได้ลักษณะที่ดีจากพ่อและแม่พันธ์ุรวมกัน
รวมท้งั มีลกั ษณะทแ่ี ตกตา่ งโดด เด่นกวา่ รุ่นพอ่ แมพ่ ันธ์ุ ลักษณะดงั กล่าวนี้ เรยี กว่า Hybrid vigor

1.2 การสร้างสายพนั ธุ์สตั ว์ปกี ในเชิงการค้า
ในปัจจุบันสัตว์ปีกลูกผสมนับว่าเป็นท่ีนิยมสาหรับการเล้ียงในทางการค้าเป็นอย่างมาก ท้ังสัตว์ปีก
ลูกผสม สายพันธ์ุให้เนื้อและสายพันธ์ุให้ไข่ การสร้างสายพันธ์ุสัตว์ปีกจะทาการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์เพื่อ
วัตถุประสงค์ ของการให้ผลผลิตเนื้อและการให้ผลผลิตไข่เป็นสาคัญ ท้ังน้ีการผลิตสัตว์ปีกสายพันธ์ุลูกผสมจะ
นิยมทาในไกเ่ น้อื และไก่ไข่ รวมท้งั เปด็ เนื้อและเป็ดไข่ก็นิยมผลติ เป็นสายพันธลุ์ ูกผสมเชน่ กนั แตย่ งั คงมีการเล้ียง
เป็ดเนื้อและเป็ดไข่ทั้ง แบบพันธุ์แท้และพันธ์ุลูกผสมร่วมด้วย ดังน้ัน ในเร่ืองนี้จะขอกล่าวถึงการสร้างสายพันธ์ุ
ไก่เนื้อและไกไ่ ขใ่ นเชิงการค้า

19

1) สายพันธุ์ไก่เนื้อลูกผสมในเชิงการค้า การสร้างสายพันธ์ุไก่เน้ือลูกผสมในเชิงการค้า
มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตสายพันธุ์ไก่ท่ีให้ปริมาณเน้ือมากและมี อัตราการเจริญเติบโตรวดเร็ว ทั้งนี้ลักษณะของ
การให้เนื้อและการให้ไข่มีความสัมพันธ์ในเชิงผกผันกัน ทาให้การปรับปรุงพันธุ์เพื่อสรา้ งสายพันธไ์ุ ก่ทางการคา้
จึงไม่สามารถสร้างสายพันธุ์ไก่ที่ให้ท้ังเน้ือมากและไข่ดกพร้อมกันได้ ดังน้ันในการที่จะผสมพันธ์ุจึงต้องคัดเลือก
สายพันธ์ุไก่เนื้อเพศเมียหรือสายแม่ และสายพันธ์ุไก่เน้ือเพศผู้หรือสายพ่อ ที่มีคุณลักษณะพิเศษแตกต่างกัน
ดงั นี้

สายแม่ เป็นสายพนั ธุไ์ ก่ท่ีมีอัตราการเจรญิ เติบโตทร่ี วดเร็ว ใหผ้ ลผลติ ไข่ดก ขนาดตัวใหญ่ และ
มีอัตราการ ฟักออกสูง พันธุ์ไก่ท่ีนิยมใช้เป็นสายแม่ เช่น พันธุ์ไวท์พลีมัทรอค พันธุ์โรดไอส์แลนด์เรด และพันธุ์
นวิ แฮมเชยี ร์ เป็นต้น

สายพ่อ เป็นสายพันธุ์ไก่ท่ีมีการเจริญเติบโตเร็ว ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหารเป็นเน้ือดี
ขนาดตัวใหญ่ มี ปริมาณเนื้อสูง ในขณะที่ให้ผลผลิตไข่ที่มีปริมาณน้อยและอัตราการฟักออกไม่ดี ดังน้ันจึงต้อง
นาไปใช้สาหรับการผสมข้ามพันธุ์กับสายแม่ที่มีลักษณะเด่นในด้านการให้ผลผลิตไข่สูงและอัตราการฟักออกท่ี
ดกี ว่า พนั ธ์ุไก่ทน่ี ยิ มใช้เป็นสายพอ่ เชน่ พนั ธุไ์ ลทซ์ ัสเซก พันธค์ุ อร์นิช และพนั ธุ์บาร์ พลมี ทั รอค เปน็ ต้น

2) สายพันธ์ุไก่ไข่ลูกผสมในเชิงการค้า การสร้างสายพันธ์ุไก่ไข่ลูกผสมในเชิงการค้า
มีวัตถุประสงค์เพ่ือผลิตสายพันธุ์ไก่ที่ให้ปริมาณไข่มาก คุณภาพ เปลือกไข่ได้ ไข่ฟองโต มีประสิทธิภาพการใช้
อาหารดี อายเุ มือ่ ถึงวัยเจริญพันธุเ์ ร็ว อัตราการเลย้ี งรอดในระยะ เจริญเติบโตและระยะใหไ้ ข่สงู ในการทจ่ี ะผสม
พนั ธุ์เพอ่ื สรา้ งสายพันธุ์ไก่ไข่ทางการค้าต้องคัดเลือกสายพนั ธ์ุไก่ไข่ เพศเมยี หรือสายแม่ และสายพนั ธไ์ุ ก่ไข่เพศผู้
หรือสายพ่อท่มี คี ณุ ลกั ษณะ ดังนี้

สายแม่ เป็นสายพันธ์ุไก่ท่ีมีการให้ผลผลิตไข่สูง คุณภาพของเปลือกไข่และคุณภาพของไข่ดี
พนั ธไุ์ ก่ทน่ี ิยมใช้ เปน็ สายแม่ เชน่ พันธุ์เล็กฮอรน์ และพันธบุ์ าร์พลมี ัทรอค เป็นตน้

สายพ่อ เป็นสายพันธ์ุไก่ท่ีมีลาตัวขนาดใหญ่ ให้ผลผลิตไข่ขนาดฟองโตและมีอัตราการเลี้ยง
รอดสงู พนั ธ์ไุ ก่ท่ี นิยมใชเ้ ป็นสายพ่อ เช่น พนั ธโ์ุ รดไอสแ์ ลนด์เรด เป็นตน้

ในการสร้างสายพนั ธ์ไุ กเ่ น้ือและสายพันธุ์ไกไ่ ข่ลูกผสมน้ัน เกดิ จากการผสมขา้ มพนั ธ์ุ (cross breeding)
ระหว่างสายแม่และสายพ่อต้ังแต่ 2 สายพันธ์ุข้ึนไป โดยเริ่มจากการสรา้ งสายพ่อและสายแม่ท่ีเกิดจากการผสม
พันธ์ุ แบบเลือดชิด (inbreeding) อย่างน้อย 3 ช่ัวอายุ จากน้ันจึงนาลูกไก่ที่ได้จากช่ัวอายุที่ 3 ของสายพ่อท้ัง
2 สายพันธุ์ มาผสมพันธุ์กัน เช่นเดียวกับสายแม่ และทาการคัดเลือกลูกไก่เพศผู้จากสายพ่อและลูกไก่เพศเมีย
จากสายแม่มาเพือ่ ผสมพนั ธ์ุผลติ เป็นไกล่ ูกผสม 4 สายพันธ์ุ

1.3 อาหารและเวชภณั ฑ์สตั ว์ปีก
ปัจจัยดา้ นอาหารและเวชภณั ฑ์สัตวป์ ีก มคี วามจาเปน็ ท่ผี ู้เลีย้ งต้องใหค้ วามสาคัญมาก เนอ่ื งจากมผี ลต่อ
ต้นทนุ การผลติ และสขุ ภาพของสตั วป์ กี ทีเ่ ล้ยี ง เมื่อสตั ว์ปีกได้รบั อาหารท่ดี ี มคี ณุ ค่าทางโภชนะเหมาะสม ร่วมกับ
มี การจัดการด้านเวชภัณฑ์ที่ถูกต้องก็จะทาให้สัตว์ปีกมีการเจริญเติบโตได้อย่างปกติและให้ผลผลิตเนื้อและไข่
ทดี่ ี

20

1) อาหารสัตว์ปีก จะต้องมีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วนตามความต้องการของสัตว์ปีกใน
ระยะต่าง ๆ และตรงกับลักษณะการให้ผลผลิตของสัตว์ปีก อาหารนับเป็นต้นทุนหลักในการผลิตสัตว์ ดังน้ันผู้
เลี้ยงสัตว์ปีกจึงต้องควรคานึงถึงคุณภาพของอาหาร โดยจัดหาอาหารท่ีมีคุณภาพเหมาะสมท้ังปริมาณและ
คุณภาพ เมื่อสัตว์กินแล้วสามารถให้ผลิตเน้ือหรือไข่ได้เป็นอย่างดี ใช้ระยะเวลาการเลี้ยงสั้น รวมท้ังมีต้นทุนใน
การผลิตต่าและให้ผลกาไรสูง นอกจากน้ีความปลอดภัยและความสะอาดของอาหารก็เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้อง
คานึงถึงเพราะการปนเป้ือนของจุลินทรีย์ท่ีมากับอาหารย่อมส่งผลต่อการให้ ผลผลิตของสัตว์ด้วยเช่นกัน
อาหารสัตว์ปีกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ อาหารสาเร็จรูปหรืออาหารผสมเสร็จ (complete ration
feeding) และอาหารผสมเอง โดยผู้เลี้ยงสัตว์ปีกควรจะเลือกใช้อาหารแต่ละประเภทให้เหมาะสมตามการ
จดั การเลี้ยงของแตล่ ะฟาร์ม

2) เวชภัณฑ์และชีวภัณฑ์สัตว์ปีก การจัดเตรียมด้านเวชภัณฑ์และชีวภัณฑ์สาหรับสัตว์ปีก
มีความสาคัญต่อประสิทธิภาพการผลิตสัตว์ปีกเช่นเดียวกับการเลือกพันธุ์สัตว์ปีกและการจัดการด้านอาหาร
สัตว์ปีก เพราะการเกิดโรคในสัตว์ปีกมีผลต่อการกินอาหาร การเจริญเติบโตและการให้ผลผลิตของสัตว์ปีก

- เวชภัณฑ์ หมายถึง ยา วัสดุ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ต่าง ๆ ท่ีใช้เพ่ือใช้ในการรักษา
สตั ว์ป่วย เชน่ ยาสตั ว์ปีก และยาฆา่ เชอ้ื เปน็ ต้น ผูเ้ ลย้ี งจาเป็นตอ้ งมีการจัดเตรียมเวชภัณฑท์ ี่ต้องใช้ในฟาร์มสัตว์
ปีก และตอ้ งมกี ารเก็บรกั ษาและการจดั การที่ดีท้งั ในเร่ืองของอุณหภมู ทิ ี่จัดเกบ็ บรรจุภัณฑ์และวนั เดอื นปีท่ีผลิต
เพราะมผี ลตอ่ ประสทิ ธิภาพของเวชภณั ฑ์และการจดั เก็บท่ีไม่เหมาะสมจะส่งผลใหเ้ วชภณั ฑ์เสอื่ มสภาพได้

- ชีวภัณฑ์ หมายถึง วัคซีน ที่ใช้ในการสร้างภูมิคุ้มกันใหแ้ ก่สัตวป์ ีก เป็นวิธีในการป้องกันก่อน
เกดิ โรค มใิ ชย่ าทรี่ ักษาเมอื่ เป็นโรคแล้ว โดยการท่จี ะปอ้ งกันโรคต่างๆของสัตว์ปีกไดน้ ัน้ จาเปน็ ต้องมีการจัดการ
ฟาร์มท่ีดีร่วมด้วย ได้แก่ มีมาตรการในการป้องกันควบคุมโรคที่อาจจะเข้าสู่ฟาร์มโดยคน พาหนะและอุปกรณ์
ตา่ ง ๆ และมีการจัดการของเสยี ที่เกิดจากในฟาร์ม ไดแ้ ก่ ขยะ มูลไก่ และวัสดรุ องพนื้ อย่างเหมาะสม เพอื่ เป็น
การป้องกันการสะสมและการแพร่ของเชื้อโรค อย่างไรก็ตามผู้เล้ียงจะต้องมีแผนการป้องกันโรคและการบาบัด
โรคตามคาแนะนาของสตั วแพทยผ์ คู้ วบคุมฟาร์มสตั ว์ปีกอย่างเคร่งครัด

1.4 โรงเรอื นและอปุ กรณ์
ประเทศไทยมีสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้น ประกอบกับการเลี้ยงสัตว์ปีกจะมีลักษณะการเล้ียงที่ต้อง
เลีย้ ง สตั ว์จานวนมากภายในโรงเรอื น ดังนน้ั การสร้างโรงเรอื นสาหรบั สัตวป์ ีกจึงต้องคานึงถึงสภาพแวดลอ้ มของ
พื้นที่ ภูมิ ประเทศ ภูมิอากาศ และสิ่งสาคัญคือ การระบายอากาศท่ีดีเพื่อให้มีการหมุนเวียนและถ่ายเทอากาศ
อย่างเหมาะสม ภายในโรงเรือนควรจะมีอุปกรณ์และวสั ดสุ าหรับการเล้ียงสตั ว์ปีกที่จาเป็น ได้แก่ อุปกรณ์ใหน้ ้า
อุปกรณ์ให้อาหาร อุปกรณ์กกลูกสัตว์ปีก กรงตับ รังไข่ และวัสดุรองพื้น นอกจากโรงเรือนเล้ียงสัตว์ปีกแล้ว
สาหรับฟาร์มสัตว์ปีกที่มีการเล้ียงสัตว์ปีกพ่อแม่พันธ์ุก็จะมีโรงฟักสาหรับ การฟักไข่สัตว์ปีกท่ีผลิตในฟาร์ม
ซ่ึงต้องมีการจัดเตรียมรูปแบบและขนาดของโรงฟักให้เหมาะสมกับการผลิต มีการวางแผนผังของโรงฟักให้
สามารถปฏิบัติงานได้อย่างสะดวก รวมท้ังมีการจัดเตรียมอุปกรณ์สาหรับโรงฟักไข่ท่ีสาคัญ ได้แก่ ตู้ฟักไข่และ
ตู้เกิด ซ่ึงในปัจจุบันมีการผลิตตู้ฟักไข่และตู้เกิดหลายยี่หอ้ ผู้ใช้งานสามารถเลือกซ้ือได้ตามความ เหมาะสมของ

21

พ้ืนที่ใช้งาน จานวนไข่ท่ีฟักและต้นทุนที่มีอยู่ ท้ังนี้ควรเลือกตู้ฟักที่สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก มีความ
แข็งแรง และมีบรกิ ารหลังการขายท่ดี ี

2. การเขยี นโครงการและการวางแผนการผลติ
2.1 การวางแผนการผลติ สตั วป์ ีก
การวางแผนการเลี้ยงสัตว์ปีก ผู้เลี้ยงสัตว์จะต้องพิจารณาหลักการวางแผนและวัตถุประสงค์ของการ

วางแผนเพ่ือจะใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการ นอกจากนี้ผู้เล้ียงต้องพิจารณาถึงปัจจัยในการวางแผน ได้แก่
ตลาด ทนุ ปจั จัยพ้นื ฐานตา่ งๆ เช่น การเลอื กสถานทีต่ ง้ั ฟาร์ม การจัดวางผงั ฟารม์ รูปแบบโรงเรอื นและอุปกรณ์
พันธุ์สัตว์ปีก อาหาร เวชภัณฑ์ และแรงงาน รวมทั้งการจดั การ สิ่งแวดล้อมภายในฟารม์ การทาประชาพิจารณ์
และความรู้ในการเลี้ยงสัตวป์ ีก

ขั้นตอนในการวางแผนการเลี้ยงสัตว์ปีก ได้แก่ การวางโครงการเลี้ยงหรือการผลิตล่วงหน้า
การตดิ ตามการผลติ และการวิเคราะห์ขอ้ มลู ผลการปฏบิ ัติงาน เม่ือผู้เลยี้ งสัตวป์ กี มขี น้ั ตอนการวางแผนที่ ชดั เจน
ก็จะสามารถมองเห็นภาพรวมของการผลิตและผลลัพธ์จะเกิดข้ึนได้ ซึ่งจะทาให้การเลี้ยงสัตว์ปีกประสบ
ความสาเรจ็ ได้

การบันทึกข้อมูลการเลี้ยงสัตว์ปีกตั้งแต่เริ่มต้นเล้ียง ระหว่างเลี้ยง และระยะส้ินสุดการเลี้ยงมี
ความสาคัญต่อการนาข้อมูลไปใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตของฟาร์มสัตว์ปีก ทั้งในด้านการ
เจริญเติบโต ด้านการใช้อาหาร ด้านสุขภาพ และด้านผลผลิต เพื่อผู้เลี้ยงสัตว์ปีกสามารถใช้เป็น ข้อมูลในการ
วางแผนการผลิตคร้ังต่อไป รวมทง้ั หากเกิดปัญหาในการผลิตกส็ ามารถตรวจสอบจาก ขอ้ มลู ทไี่ ดบ้ ันทึกไว้ได

1) หลักการและปจั จัยที่ใชใ้ นการวางแผนการเล้ียงสัตวป์ ีก
ในการเริ่มต้นเลี้ยงสัตว์ปีก ผู้เล้ยี งจะตอ้ งมีการวางแผนการเลย้ี งสัตว์ปีก เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการผลิต
มีแผนการเล้ียงสัตว์ปีกท่ีชัดเจนโดยคานึงถึงปัจจัยด้านต่าง ๆ ท้ังปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกฟาร์มที่
เกย่ี วข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเล้ยี งสัตวป์ ีก ให้มปี ระสทิ ธภิ าพและป้องกนั ความผิดพลาดที่อาจจะเกดิ ข้ึนได้
การทาแผนการเลี้ยงไก่เน้ือผู้เล้ียงจะต้องมีหลักการสาหรับการวางแผนในด้านต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องกับการเล้ียง
สัตว์ปีก โดยท่วั ไปผเู้ ลย้ี งควรพจิ ารณาหลกั การที่สาคัญ ดงั นี้

(1) ความต้องการของตลาดและความสม่าเสมอของผลผลิตในแต่ละรอบการผลิต เพ่ือใช้เป็น
แนวทางในการวางแผนการเล้ียงสัตวป์ ีกให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาด

(2) สถานท่ีต้ังฟาร์มและโรงฟัก ต้องเลือกโดยคานึงถึงด้านการป้องกันโรคและการขนส่งร่วม
ดว้ ย

(3) ประเภทของสัตว์ปีกที่ต้องการเล้ียง เพ่ือจะได้จัดเตรียมปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เลี้ยงสตั ว์ปกี ชนดิ นัน้ ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

(4) ลกู สตั ว์ปีกทนี่ ามาเล้ยี งตอ้ งมีคณุ ภาพและทราบแหล่งที่มา
(5) การแบง่ พ้นื ที่ในการเล้ียงสัตว์ปีกให้มีประสิทธภิ าพมากทส่ี ุด โดยไม่มีพืน้ ที่ว่างหรือใช้พื้นท่ี
มากจนเกนิ ไป ท้งั ในสว่ นของพ้นื ท่กี ารฟกั และพื้นที่ของโรงเรอื นเลยี้ งสัตวป์ กี

22

(6) ต้องใช้ข้อมูลท่ีถูกต้อง น่าเช่ือถือและมีความแม่นยามาใช้ในการวางแผนเล้ียงสตั ว์ปีก เช่น
ข้อมลู การเลยี้ งสัตว์ปกี และขอ้ มูลการตลาดสัตว์ปีก เป็นตน้ เพ่ือปอ้ งกันความผดิ พลาดท่จี ะเกิดขนึ้ ทั้งในดา้ นการ
ผลิตและการตลาด ท้ังนี้ในการวางแผนการผลิตสัตว์ปีก ทั้งการผลิตสัตว์ปีกให้เนื้อหรือการผลิตสัตว์ปีกให้ไข่
ผู้เลี้ยงจะต้อง คานึงถึงปัจจัยต่างๆท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตสัตว์ปีกท่ีสาคัญ ได้แก่ ตลาด ทุนในการดาเนินการ
และปัจจยั พ้นื ฐานตา่ งๆ เช่น การเลอื กสถานทต่ี ั้งฟาร์ม การจดั วางผงั ฟารม์ พันธุ์สัตว์ อาหาร เวชภณั ฑ์ แรงงาน
การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์ม การทาประชาพิจารณ์ในพ้ืนท่ี ๆ จะทาฟาร์ม รวมทั้งความรู้และ
ประสบการณ์ของผู้ที่ต้องการทาฟาร์มสัตวป์ ีกด้วย เพราะมีผลต่อประสิทธิภาพการผลิตและความสาเร็จในการ
เลย้ี งสตั วป์ ีก

2) การวางแผนดา้ นปัจจัยการผลติ สัตว์ปกี
วางแผนการเลี้ยงสัตว์ปีกจาเป็นตอ้ งมีการวางแผนเป็นลาดับข้ันตอนที่ชัดเจน เพ่ือผู้เลี้ยงจะสามารถใช้
เป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ ซ่ึงจะทาให้มองเห็นภาพรวมของการวางแผนและคาดการณ์ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น
รวมท้ังหากพบความผิดพลาดระหว่างการดาเนินการตามแผนการผลิต ผู้เลี้ยงสามารถที่จะย้อนกลับเพื่อ
ตรวจสอบความผิดพลาดได้ว่าเกิดจากสาเหตุใด ข้ันตอนในการวางแผนการเล้ียงสัตว์ปีก ประกอบด้วยขั้นตอน
หลัก ๆ ได้แก่

(1) การวางโครงการเลี้ยงหรือการผลิตล่วงหน้า เพ่ือเป็นแผนอนาคตว่าต้องการผลิตอะไร
โดยพิจารณาจากพ้ืนที่ ๆ มีอยู่โดยต้องวางโครงการเลี้ยงสัตว์ปีกให้สามารถใช้พ้ืนท่ี ๆ มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ
มากที่สุด รวมท้ังได้ปริมาณผลผลิตท่ีเหมาะสมกับการผลิตและตลาดที่รองรับผลผลิตน้ัน ๆ ในขั้นตอนนี้ผู้เล้ียง
จะต้องวางแผนในด้านพันธุส์ ตั ว์ และจานวนสตั วท์ ่ีจะนามาเล้ียง, การสร้างฟาร์ม, การสร้างโรงเรือน, การเลือก
อาหารสาหรับสัตว์ปีก, การจัดโปรแกรมยาและวัคซีน และการวางแผนด้านการจาหน่ายผลผลิต ซ่ึงผู้เล้ียง
จาตอ้ งทราบขอ้ มลู สาหรับใช้ในการวาง แผนการผลิตสตั ว์ปีกแตล่ ะชนิด โดยข้อมลู ที่นามาใชจ้ ะต้องเป็นข้อมูลที่
ถกู ตอ้ งและเช่อื ถอื ได้ ขอ้ มูลท่ีตอ้ งใช้ในการ วางแผนการผลิตสัตว์ปกี มี ดังนี้

ก. จานวนพ้ืนที่สาหรับเล้ียงสัตว์ปีก เช่น จานวนสัตว์ปีกท่ีสามารถเลี้ยงได้ในพื้นท่ี 1 ตาราง
เมตร

ข. ข้อมูลของฝูงสัตวป์ ีกที่เคยอยู่ในฟาร์ม กรณีฟาร์มท่ีเคยเลี้ยงสัตวป์ ีกมาแลว้ อาจจะใชข้ ้อมูล
เดมิ เพอื่ ช่วยในการวางแผน

ค. รอบการผลิตหรือระยะเวลาท่ีต้องใช้ในการเลี้ยงสัตว์ปีก 1 รอบการผลิต ได้แก่ ระยะเวลา
การเล้ยี งสตั ว์ปกี ในระยะรุ่น ระยะไขห่ รือระยะใหผ้ ลผลิต และระยะเวลาในการพักโรงเรือน หลังจากส้ินสุดการ
เล้ียงในแต่ละรอบการผลิต ซ่ึงปกติจะใช้เวลาพักประมาณ 14-21 วัน ทั้งน้ีขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ เช่น
โรคระบาด และฤดูกาลในช่วงเวลานนั้ ๆ

ง. มาตรฐานการเลี้ยงสัตวป์ ีกแต่ละชนิดต่อพ้นื ที่ในการเลีย้ ง
จ. การประมาณการณ์ผลผลิตที่คาดว่าจะผลิตได้ว่าจะมีค่าเป็นเท่าไรของค่ามาตรฐานของ
สตั วป์ ีกแต่ละพันธุ์ตามชว่ งฤดูกาล (Seasoning value หรือ SV) ในรูปของค่าร้อยละ
ฉ. แนวโน้มราคาขายผลผลิต ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์ ราคาลูกสัตว์ปีก รวมทั้งแนวโน้มด้าน

23

การตลาด
(2) การติดตามการผลิตและผลผลิต หลังจากท่ีผู้เลี้ยงได้เริ่มดาเนินการวางแผนการผลิต

เรียบร้อยแล้ว ผู้เลี้ยงจะต้องเตรียมติดตามการผลิตและผลผลิต โดยการบันทึกข้อมูลการผลิตต่าง ๆ เช่น
น้าหนกั ตวั เฉล่ียของสัตว์ปีก ปริมาณอาหารทกี่ นิ อตั ราการตาย และผลผลติ ไข่ เป็นตน้ ซงึ่ ข้อมูลเหลา่ นี้จะทาให้
ผู้เลี้ยงสัตว์ปีกทราบว่าการผลิตเป็นไปตามแผนที่วางไว้หรือไม่ และยังสามารถใช้ในการตรวจสอบผลผลิตของ
ฟาร์มได้เช่นกัน ดังน้ัน หากผู้เลี้ยงสัตว์ปกี ได้มีการติดตามผลการผลิตและผลิตสตั วป์ ีกของตนเองแลว้ ก็จะทาให้
มีขอ้ มลู สาหรบั ในการนาไปวเิ คราะหผ์ ลการปฏิบัติงานไดใ้ นลาดับต่อไป

(3) การวิเคราะห์ข้อมูลผลการปฏิบัติงาน เม่ือผู้เลี้ยงสัตว์ปีกได้ทาการเก็บข้อมูลการผลิตและ
ผลผลติ ตา่ งๆ แล้ว ผูเ้ ล้ยี งสตั ว์ปกี สามารถใชข้ ้อมูลที่ได้บันทกึ ไวจ้ ากการผลติ ทัง้ หมดมาคานวณเพ่ือหาคา่ ท่ีแสดง
ประสิทธิภาพการผลิต เช่น อัตราการเจริญเติบโต และประสิทธิภาพการใช้อาหารของสัตว์ปีก เป็นต้น เพ่ือนา
ผลการคานวณไปวิเคราะห์และสรุปผลการผลิต สาหรับใช้ในการวิเคราะห์การดาเนินงานและเป็นแนวทางใน
การวางแผนการผลิตต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ซ่ึงหากผู้เล้ียงสัตว์ปีกพบว่า ประสิทธิภาพการผลิตและ
ผลผลติ มีปญั หา ผู้เลยี้ งสัตว์ปีกกส็ ามารถไปตรวจดูข้อมูลยอ้ นหลงั ต่าง ๆ ท่ีทาการบันทึกไวไ้ ด้

3) ขอ้ มูลและการวิเคราะห์ขอ้ มูลในการผลติ สัตว์ปีก
การวางแผนการผลิตสัตว์ปีกจาเป็นต้องมีการบันทึกข้อมูล โดยมีจุดประสงค์เพ่ือให้ผู้เลี้ยงทราบข้อมูล
ต่าง ๆ ในการผลิตสัตว์ปีก เช่น ข้อมูลวันท่ีรับลูกสัตว์ปีกเข้าเล้ียง จานวนสัตว์ปีกท่ีเล้ียงท้ังหมด น้าหนักเม่ือ
เร่มิ ต้นเลยี้ ง นา้ หนกั ตลอดระยะเวลาการเลยี้ ง ปรมิ าณอาหารท่ีกนิ ในแต่ละวนั ราคาอาหาร จานวนและนา้ หนัก
สัตว์ปีกท้ังหมดที่ขาย เป็นต้น และนาข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ประกอบการคานวณวิเคราะห์ประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลของการทาฟาร์มสัตว์ปีก เช่น อัตราการเจริญเติบโตเฉล่ียต่อตัวต่อวัน และประสิทธิภาพการ
แลกเปลีย่ นอาหาร เป็นตน้ รวมทงั้ ใช้เปน็ แนวทางในการวางแผนการผลิตลว่ งหน้าของฟารม์ โดยผ้เู ลย้ี งจะต้อง
มีการทาบันทึกที่ชัดเจนและสมบูรณ์ เพ่ือท่ีจะได้นาข้อมูลมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การบันทึกข้อมูลควรมี
การจัดทามที งั้ ขอ้ มลู แบบรายวัน รายสปั ดาห์ หรอื รายเดอื นเพือ่ ทาสรปุ ตลอดระยะเวลาการเล้ยี งของสตั วป์ กี

ตัวอยา่ งการเขียนโครงการกจิ การไก่กระทง
เป้าหมาย ต้องการผลิตไก่กระทงส่งโรงงานชาแหละขนาดน้าหนักตัวเฉลี่ย 2.7 กิโลกรัม จานวน

100,000 ตัว/สัปดาห์ ดังน้ัน โครงการนี้สามารถผลิตได้เท่ากับ 270,000 กิโลกรัม (100,000 ตัว x 2.7 กก.)
ค่ามาตรฐานของสายพนั ธ์ุ (Cobb 500 ff Broiler Performance 2012)

- อายุ 41 วนั นา้ หนักตัวเฉลี่ยเท่ากับ 2.64 กโิ ลกรัม
- อายุ 42 วัน น้าหนกั ตวั เฉลีย่ เทา่ กบั 2.73 กิโลกรัม
- อายุ 43 วัน น้าหนักตวั เฉลยี่ เท่ากบั 2.83 กโิ ลกรัม
โรงเรอื นท่ีใช้ โรงเรือนระบบ Evap ขนาด 16 x 100 เมตร เท่ากบั 1,600 ตร.ม.
อัตราการเล้ยี ง กาหนดไวไ้ มเ่ กนิ 30 กโิ ลกรัม/ตร.ม.

24

- เมื่อคานวณเป็นจานวนตัว/ตร.ม. จะเท่ากับ 11.11 ตัว/ตร.ม. (30 ÷ 2.7) คิดเป็น
11 ตวั /ตร.ม.

- เม่อื คานวณเป็นจานวนตัวต่อโรงเรือนเท่ากับ 17,600 ตัว/โรงเรอื น (1,600 ตร.ม. x 11 ตัว)
จานวนโรงเรือนท่ีใช้ คานวณได้จาก ค่าประมาณการจานวนตัวที่ต้องการจะเล้ียง ÷ จานวนตัวที่
สามารถเล้ียงได้ต่อโรงเรอื น เท่ากับ 5.6 โรงเรอื น ปรบั เปน็ 6 โรงเรือน (100,000 ตัว ÷ 17,600 ตัว)
ตรวจสอบจานวนตัว/โรงเรือนและตอ่ พืน้ ท่กี ารเลย้ี งอีกคร้งั

- คานวณจานวนตัวท่ีจะต้องเลี้ยงต่อโรงเรือนจานวน 6 โรงเรือน เท่ากับ 16,666 ตัว
(100,000 ÷ 6)

- คานวณจานวนตัวต่อพื้นท่ีการผลิตเท่ากับ 10.41 ตัว/ตร.ม. (16,666 ตัว ÷ 1,600 ตร.ม.)
- คานวณนา้ หนกั ไก่ทจี่ ะผลิตได้/พื้นที่การเลยี้ งเท่ากับ 28.11 กก./ตร.ม.
การวางแผนการใชโ้ รงเรือน
- ระยะเวลาการเลี้ยงไก่ตลอด 1 รุ่น เท่ากับ ระยะเวลาเตรียมและพักเล้า + ระยะเวลาการ
เลยี้ ง เท่ากบั 14 วนั + 42 วนั = 56 วัน หรือ 8 สัปดาห์
- จานวนโรงเรือนท่ีจะต้องใช้ในกิจการเล้ียงไก่กระทงนี้ คานวณได้จากระยะเวลาเป็นสัปดาห์
ที่ใช้ โรงเรอื น x จานวนโรงเรือนทใี่ ชใ้ นแต่ละรุ่น เท่ากับ 48 หลงั (8 สัปดาห/์ รนุ่ x 6 หลงั /รุ่น)
- จัดทาแผนการใชโ้ รงเรือนโดยใช้ Gant chart จะทาให้สะดวกในการวางแผนการผลิต ดังน้ี

25


Click to View FlipBook Version