The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thitikornLanakham, 2022-04-04 09:57:22

Unit8

Unit8

-7-

57. กฎหมายสิ่งแวดล้อมท่เี กี่ยวข้องกบั การเลย้ี งสกุ รจะมผี ล 59. หน่วยงานใดที่ขึ้นตรงกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

บงั คับใชใ้ นเร่ืองใด และส่งิ แวดล้อม

ก. น้าเสยี ก. กรมควบคมุ มลพษิ

ข. กลนิ่ ข. กรมชลประทาน

ค. เสยี ง ค. กรมปศุสัตว์

ง. แมลงวัน ง. กรมการขนสง่

58. กฎหมายส่ิงแวดล้อมท่ีเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป 60. กรมปศสุ ตั ว์ สังกัดอยู่ในกระทรวงใด

ผู้ฝา่ ฝนื มโี ทษอยา่ งไร ก. กระทรวงกลาโหม

ก. จาคุกไม่เกนิ 1 เดอื น หรอื ปรบั ไมเ่ กิน 4,000 บาท ข. กระทรวงศกึ ษาธิการ

หรอื ท้งั จาทัง้ ปรบั ค. กระทรวงมหาดไทย

ข. จาคกุ ไมเ่ กิน 2 เดอื น หรอื ปรบั ไม่เกิน 6,000 บาท ง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หรอื ทั้งจาท้งั ปรับ

ค. จาคกุ ไม่เกนิ 4 เดือน หรอื ปรับไม่เกิน 8,000 บาท

หรือท้ังจาทัง้ ปรบั

ง. จาคกุ ไมเ่ กิน 6 เดอื น หรือปรบั ไมเ่ กนิ 10,000 บาท

หรือทัง้ จาทั้งปรับ

ตอนที่ 2 ข้อสอบมีทงั้ หมด 10 ข้อ จงตอบคาถามให้ได้ใจความสมบูรณ์ (ใหน้ กั ศึกษาเขยี นโจทย์ทุกข้อ)

51. ของเสียทีเ่ กดิ จากฟาร์มสัตวเ์ ล้ียง หมายถงึ
52. มลพษิ ในฟาร์มสตั วเ์ ลยี้ งสามารถแบง่ ได้เป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง
53. จงอธบิ ายวธิ ีการจัดการของเสยี ในฟาร์มสัตว์เลยี้ ง (ยกตัวอย่างมา 1 ชนิด)
54. ปริมาณและลักษณะของส่ิงขับถา่ ยของสตั ว์เลยี้ งมากหรอื น้อยข้ึนอยู่กับอะไรบ้าง
55. แนวทางการใช้ประโยชนจ์ ากของเสียในฟารม์ สตั ว์เล้ยี งมแี นวทางการปฏิบัติอยา่ งไร
56. การเพ่ิมมลู คา่ ของเสียจากการผลติ สตั วม์ ีแนวทางหรือวิธกี ารอยา่ งไร
57. การเพม่ิ มลู คา่ ของเสียจากการผลติ สัตว์ “การผลติ ป๋ยุ ” มีวิธกี ารอยา่ งไร
58. การเพ่ิมมูลค่าของเสียจากการผลติ สตั ว์ “การผลิตอาหารสตั ว์” มีวิธีการอยา่ งไร
59. การเพิม่ มูลคา่ ของเสยี จากการผลติ สตั ว์ “การผลิตก๊าซชวี ภาพ” มวี ิธีการอย่างไร
60. หน่วยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การจดั การสิง่ แวดล้อมในการผลติ สัตวม์ หี น่วยงานใดบ้าง และมีหนา้ ที่อย่างไร

-1-

ชื่อ-สกลุ ......................................................................................... เลขท.ี่ ............. ระดบั ช้นั ............................................

ตอนที่ 2 จงตอบคาถามใหไ้ ด้ใจความสมบรู ณ์

51. ของเสียที่เกิดจากฟาร์มสัตว์เลี้ยง หมายถึง

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

52. มลพิษในฟารม์ สัตว์เลยี้ งสามารถแบง่ ไดเ้ ป็นกีป่ ระเภท อะไรบ้าง

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

53. จงอธิบายวิธีการจดั การของเสียในฟารม์ สตั ว์เลีย้ ง (ยกตวั อย่างมา 1 ชนิด)

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

-2-

ชื่อ-สกุล................................................................................ เลขท่ี.............. ระดับช้ัน.......................................................

54. ปรมิ าณและลกั ษณะของส่งิ ขับถา่ ยของสัตว์เลยี้ งมากหรอื น้อยข้นึ อยู่กบั อะไรบ้าง

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

55. แนวทางการใชป้ ระโยชน์จากของเสยี ในฟาร์มสตั ว์เลีย้ งมีแนวทางการปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

56. การเพมิ่ มูลคา่ ของเสยี จากการผลติ สัตวม์ ีแนวทางหรือวธิ กี ารอย่างไร

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

-3-

ช่อื -สกลุ ................................................................................ เลขที่.............. ระดับช้นั .......................................................

57. การเพม่ิ มลู คา่ ของเสียจากการผลิตสตั ว์ “การผลิตปยุ๋ ” มวี ิธกี ารอย่างไร

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

58. การเพิ่มมูลค่าของเสียจากการผลติ สตั ว์ “การผลติ อาหารสตั ว์” มีวิธกี ารอยา่ งไร

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

-4-

59. การเพ่ิมมลู ค่าของเสียจากการผลติ สัตว์ “การผลติ กา๊ ซชวี ภาพ” มวี ิธีการอยา่ งไร

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

60. หน่วยงานที่เกยี่ วข้องกับการจดั การส่งิ แวดล้อมในการผลติ สตั วม์ ีหน่วยงานใดบา้ ง และมีหนา้ ท่ีอย่างไร

................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................................

เฉลยข้อสอบปลายภาค การจดั การสง่ิ แวดล้อมฯ 2/2561

ขอ้ คาตอบ ขอ้ คาตอบ
1 ก 26 ข
2 ง 27 ง
3 ง 28 ค
4 ง 29 ง
5 ก 30 ก
6 ง 31 ง
7 ก 32 ก
8 ง 33 ก
9 ง 34 ข
10 ค 35 ค
11 ก 36 ค
12 ค 37 ข
13 ก 38 ง
14 ข 39 ก
15 ค 40 ข
16 ง 41 ง
17 ง 42 ก
18 ง 43 ค
19 ง 44 ง
20 ก 45 ง
21 ค 46 ก
22 ก 47 ง
23 ง 48 ก
24 ก 49 ง
25 ค 50 ข

1.6 ศึกษา วเิ คราะห์ และสังเคราะห์
เพอื่ แก้ปญั หาหรือพฒั นาการเรียนรู้

Au :s a s 4 au rat{ rvr :1
u
?vtu1a u rnua?$au rvr [u [a

am9!ljnanr:?rn:T sr,{frlBsu:'ruunna :rffaisr z5a3-zaor doic,r nr:i'finr:errurndaulur,{T iu*'n'ird'm rinriau:u6'u &u {m.tlz

nduar:gnr:ritrutivrera'grnufl:uasuiln1uta6asrfirrvr:r n:Srq.iaou urr6o?sr ucf;iari
IU

meuvinr:rj:cffiu rirrafiEr 1.00-1.49 urLrtrfir riiu.i:r : rirrafiu 1.50-1.99 urrafrr ilrunars : riruafiu 2.00-3.00 r,rrlufis 6

av'dluvl :1 EJ n',t q [a :1 dtd [:t u il4fl1:?^tn:1sfi9d{t[d58U a:rJara
U
:',t vl,tr{g x a?'t3.t14lt1CJ
a drunar.r r.Jiur.lr.r

1 6ruaruias rllrdllr'r:fi Bavri:vaunr:ni 38.89 72.22 0.00 2.61 n

1.L Fr?1xs.l#:flufi1u 50.00 83.33 0.00 3.17 o

1.2 rrx1l.Ja1il'r:a"lunr:urirJrur,lr 33.33 66.67 0.00 2.33 pI

t.3 n:rrau"Lo/alrBnr:uiuut 33.33 66.67 0.00 2.33 o
88.89 0.00 2.11 q
, il aq 11 11 100.00 0.00 2.00 o
2 a't'13i11:ail0'lufi 9t1.J 6qru!flJ'l
0.00
2. 1 a?tilFlFt:r:}.J4:'tnfi ::Fl

2.2 nr,tufirumrua 0.00 100.00 0.00 2.00 o

2. 3 Pr?r1.r a 1il'r :n"lunr:rBuui 33.33 66.67 0.00 2.33 fl
27.78 72.22 0.00 2.28 a
3 n ?'1ltY{ vv qAn T:Xr 50.00 50.00 0.00 2.50 ft
TO:Jfi1ulit

3.i nl:ttaf]{oofl

3.2 n'l:n?uFtilar:uni 0.00 100.00 0.00 2.00 F]
33-35 66.67 0.00 2.33
3. 3 n: urirfutrriuvriu rfi u : ft

4 nm uvriau dru{r r nr s ua sfi nta 66.67 33.33 0.00 2.67 fi

4. 1 a9t{nrvrdrsnluaxJu:6f 100.00 0.00 0.00 3.00 9l
Fl
4.2 nr:rtiqlifiulmauiu 100.00 0.00 0.00 3.00

4.3 6'ruaunruim 0.00 100.00 0.00 2.00 o
77.78 22-22 0-00 3.00
9t ff

5 n?1ilfi:ail91Ud{AXr

5. 1 n1:U:1JF]? L?l al1lr,rOU r00.00 0.00 0.00 3.00 Fl
U 33.33 66.67 0.00 3.00 tfl
dq'd 100.00 0.00 0.00 3.00
a
5.2 nllrAUAAs Liltl4u$nq?

5--. J idl:u d au tnl:V,1fl il nn fl 1

LUUU?UU

taaaS?3t 44-74 57.02 0.00 2.53 9t

o1nfl1:1{r6r:rjzuanr:irn:rvdsirtuu #u ilm.ttZ si'luau 6 au
9g

v{u'irrinrEuudruurnrarrlariaaas..........finaT uinruarur:nuavdivdun'r:rri n?'rilr,rioil#'rua6f,ryryr

n?''rsrvrioildluv{qAn5::J n?1ililfa:Jeiluil{fl'rurrasQnta eruufau6'ru#{nil oEq,i"[u:v6'u.....fi.....

;vf!r'aoutd'rir{or!uanr:itrr:'tv:,i#{Guu ur{'rruilsn6rilr$i'riuu oonu{lu : nrriu lpreilntr:rurqrninruq4 nmr{nrruarur:auay!:sfiunr:ni
u

nmLxsouptuafiflrurur nruflfoud'ruuqnn::r n:r:Lllfouri'ru*rrnruiraufinlr *aurr:rulrfoupirrfr'qnl n-rfi

a*JYurJ:quri'l$ ,inu

0..................... ....!... ..........

(.....u*rYoi'r',,rii^,,

n:,.iaau

A glauu tnufi E4* n Lu ta oa rvt :'l
?fl TttasLvr
g au[t{l

d:9dUgt9{9an1:arn:rsrifrrEsu:rgunna :#aim 35o3-zao3 daim nr:rjYurj:.:fiurffr'n'5 finl6au:s6"uqiu d'td.t/z

ner iilar:snr:rEtruiivvrsT d's nue :rau ru:rryr frTuTaE av rfi q a:r1aau ur.: n'oBeT uc f, iad
tg

rnruEinr:r-l:vffiu rirrofia 1.00-i.49 vrrufir rlYurl:c: nirrafiu 1.50-1.99 vrrufir ilrunarr: ririaf;u 2.Oo4.ao vurufit 6

9i1UVt :'t a tatl d9d a 6vd a:tlrua
9
EJnl:? sl{ffr tStju ,{a n 1:? rn518149,r r:tJU
I x a?11J14lt'lel

a drunarr rliutJ:.:

1 druar,tu$n:1lJd'lrJ1:nuavrj:vaunr:aj 22.22 88.89 0.00 2.44 I
U

1.t nruifiuoru 0.00 733.33 0.00 2.67 fl

1.2 -ntuarilr:a'lunr:uurifl rutrr 33.33 66.67 0.00 2.33 pl

Fr

1.3 nrr!au"Lq/aurBnr:riuui 33.33 66.67 0.00 2.33 a
11.11 66.67 22.22 r.89
il* 0.00 66.67 33.33 t.67 drunarr

2 n?1ilT{:OXJft1UdfluQryt tJrunarq
2. 1 n?1:.JFtFl:tiila:1{ai:Fr

2.2 nrrrfirvnzua 0.00 100.00 0.00 2.00 Fl

2. 3 a?rxrdr!'r:a"lunr:rtuu# 33.33 3).33 33.33 2.00 fl
2 R?1 lril:avvrJ o'ruv{ q n n :5il 27.78 72.22 0.00 2.28
50.00 50.00 0.00 2.50 B
3.1 nl5*a9|{oon
fi

3.2 n1:Ft'luplxJa'r ::r rri 0.00 100.00 0.00 2.00 Ft
33.33 66.57 0.00 2.33 pl
3. 3 nr:r:L:jr:riut #uvriurfi I : 56.67 33.33 0.00 2.67
100.00 0.00 0.00 3.00 q
gvraq
9l
4 a?1ilvr5ail9r']u51 {fl 1 u ttasafl [o

tq.. atnrv,rirrn: uarur::ai

+.2 nr:rotqrfiulrlailiEr 100.00 0.00 0.00 3.00 fl

4.3 d'ruaclnrvlin 0.00 100.00 0.00 2.00 fl

5 n:rrui,r$oudru#qau 71.78 22.22 0.00 3.00 0
100.00 0.00 0.00 3.00
yvu4 66.67 0.00 3.00 F]
,J.J.) 9l
5. 1 frl:1J5uFl'lL1J1 fl UPa,l0U

5.2 nr:lf; uaavtri ufr u*rid":

s. e fl :vrfl uuitiurnr:ungnfi nr 100.00 0.00 0.00 3.00 FI
42.11 54.97 4.68 2.46
d 9t
raauS?lr

a1na.H1.16trg:dzuanr:irn:rvri#rBau ilu illr'.ttZ;fT u:u 5 nu

flu'irrinrEuudruurnrarfrariasas..........fioarug iamuarurinuasdrsdunl:ai n'r1rJ?,rtoildrua6flaqrurur
vu a
n?'llj?r:e03luJ9drr'tuui:r1r{nfllluururaauuaan nttoo fff??'1'l}ilrilvia{i:la6'irluo#'r{unial {ads"[u:v6'r.r.....6.....
n't1&ril:a3rfi''rulrqfln:tx.r

t;ari'aeuteirirriou! nnr:irn:rvr.ifrurBuu ilr{'prrir-isn6ii:rrui'utuu oonr{lu : n;Iir lnurfiqr:ru'rornrnruei n:.ttlintruarrLr:autnvil:vaunr:ni
!

nrrurfo:16'ruafrflruryr n':ruvrfou6'rur,'rqfra::r n:rruia:Lpiru{rrnruuavinls utavfltruvriorfirua-rn:L d'rd

fficudnrflJ:sdu a1u'tu :a$a, j
nailm{ 5
0 100,00 DVLtl\r
a 0 0.00
0.00 a........,..............:......:.............
nrixrJrunarr 6 100.00
I (.......urrfroiur rvfriad.......)

n{ufifra.rdiur.J;rufflt n:fr'aou

udd9u

5?ilU n [: EUvr tlj 1 tu n'] 5u ts rtiu

วิจยั ในช้นั เรียน

เรือ่ ง

การศึกษาพฤติกรรมการไมส่ ่งงานของนกั ศกึ ษา
ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสูง ปที ่ี 1/2 สาขาวชิ าสัตวศาสตร์

วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา

ผวู้ จิ ยั
ครคู ธั รียา มะลิวลั ย์

แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา
สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 3

สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

วิจัยในชน้ั เรียน

เรือ่ ง

การศึกษาพฤติกรรมการไมส่ ่งงานของนักศึกษา
ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชน้ั สูง ปที ี่ 1/2 สาขาวิชาสตั วศาสตร์

วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา

ครคู ัธรยี า มะลวิ ลั ย์

แผนกวชิ าสตั วศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชงิ เทรา
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ



วจิ ัยในชน้ั เรยี น

เรื่อง

การศกึ ษาพฤติกรรมการไมส่ ่งงานของนกั ศกึ ษา
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชัน้ สูง ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา

ชอื่ งานวิจัย การศึกษาพฤติกรรมการไมส่ ง่ งานของนกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู
ชือ่ ผู้วิจัย ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสตั วศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชงิ เทรา

นางคัธรียา มะลวิ ลั ย์

บทคดั ย่อ

การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ฉะเชิงเทรา จานวน 6 คน จากการเรียนในรายวิชาทส่ี อน 4 วิชา ได้แก่ จลุ ชวี วทิ ยา การปรับปรงุ พันธุ์
สัตว์ การจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง และสถิติและการวางแผนการทดลองทางการเกษตร
จากการวิจัยพบว่าการศึกษาและวิเคราะห์แบบ สอบถามความคิด เห็น ถึงสาเหตุที่ไม่ส่งงานตาม
กาหนดเวลา ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง(ปวส.) ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา แสดงให้เห็นว่าสาเหตุท่ีไม่ส่งงานตามกาหนด โดยทาการ
เรียงลาดับจากสาเหตุท่ี นักเรียนคิดว่าเป็นสาเหตุที่สาคัญท่ีสุดจนถึงสาเหตุท่ีน้อยที่สุด 3 อันดับ
ดังต่อไปนี้ ลาดับท่ี 1 งานท่ีได้รับมอบหมายมากเกินไป จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ลาดับท่ี 2
งานที่ได้รับมอบหมายมากเกินไป จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 ลาดับท่ี 3 งานท่ีได้รับ
มอบหมายยาก ทาไม่ได้ จานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 66.67



คานา

รายงานวิจัยในช้ันเรียนฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของผลงานทางวิชาการที่ผู้วิจัยไดทาการวิจัย
เพ่ือแก้ปัญหาในการไม่ส่งงาน/การบ้านของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ปีท่ี 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ที่ศึกษารายวิชาจุลชีววิทยา
การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การจัดการสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง และสถิติและการวางแผนการทดลอง
ทางการเกษตร โดยศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษาโดยการนาเอาผลการศึกษาของ
นักเรียน นามาสูการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษา และปรับวิธีการเรียนการสอน ซ่ึงเป็นการ
บูรณาการดา้ นวิชาการสูการปฏบิ ตั ิจริงในวิทยาลัยฯ ทาให้นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ขึ้น

คธั รียา มะลิวลั ย์
ผ้วู จิ ยั

สารบญั ค

บทคดั ย่อ หน้า
คานา ก
สารบญั ข
บทที่ 1 บทนา ค
1
1.1 ความสาคัญและทม่ี า 1
1.2 วตั ถุประสงค์ของงานวิจยั 2
1.3 ขอบเขตงานวจิ ยั 2
1.4 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 2
1.5 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 2
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง 3
2.1 ทักษะการเรียนรู้ 4
2.2 ทกั ษะปฏิบัติ 6
2.3 งานวจิ ยั ที่เกย่ี วขอ้ ง 9
บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการวิจัย 11
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 11
3.2 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย 11
3.3 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ 11
3.4 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 11
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 13
4.1 ผลการศกึ ษาความคิดเห็นของนักศึกษาท่ีไม่สง่ งานตามกาหนด 13
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 15
5.1 สรปุ ผล 15
5.2 อภิปรายผล 15
5.3 ข้อเสนอแนะ 15
บรรณานุกรม 16
ภาคผนวก 17

1

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ควำมสำคญั และที่มำ
กระทรวงศึกษาธิการมีหน้าที่หลักในการจัดการศึกษาที่จะต้องพัฒนากาลังคนให้มีขีด

ความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันบนเวทีโลกจึงได้มีแผนการปฏิรูปการศึกษาท้ังระบบ (พ.ศ.
2550-2564) มีแผนการผลิตและพัฒนากาลังคน เพ่ือเพ่ิมศักยภาพการแข่งขัน ซ่ึงสอดคล้องกับ
นโยบายของชาติ (พ.ศ.2557) ท่ีให้ความสาคัญในการพัฒนาคนอย่างยั่งยืน และจากแนวโน้มการ
ปฏิรูป การศึกษาในหลายประเทศได้ให้ความสาคัญอย่างมากกับ “ทักษะ” (Skill) หรือความชานาญ
ในการ ปฏิบัติมากยิ่งกว่าเนื้อหาตามตารา (Content) ซ่ึงองค์การยูเนสโกได้แนะนาว่า ผู้เรียนควรมี
ทักษะท่ี ครอบคลุม 3 กลุ่ม ได้แก่ ทักษะพื้นฐาน คือ ทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น อ่านออก
เขียนได้ คิด เลขเป็น ทักษะเพ่ือการทางาน คือ ทักษะพ้ืนฐานในการท างานของทุกอาชีพ ได้แก่
เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิดวิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์ การท างานเป็นทีม และการสื่อสาร ทักษะ
เฉพาะอาชพี คอื ทกั ษะ เบ้ืองตน้ ของอาชีพที่สนใจ

การเรียนการสอนในรายวิชาจุลชีววิทยา การปรับปรุงพันธุ์สัตว์ การจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ฟาร์มสัตว์เลี้ยง และสถิติและการวางแผนการทดลองทางการเกษตร ของนักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ฉะเชิงเทรา แบ่งคะแนนออกเป็น 2 ส่วน คือ คะแนนที่ได้จากกระบวนการเรียนการสอน ซึ่งคิดเป็น
ร้อยละ 80 ของคะแนนทั้งหมด โดยในร้อยละ 80 ได้จากการเก็บคะแนนโดยการทดสอบเป็น
รายหน่วยการเรียนรู้ และงานที่มอบหมายให้นักเรียนทาส่ง เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติและ
ทบทวนบทเรียน ทีผ่ ่านมาครผู สู้ อนได้กาหนดงานให้นักเรยี นทาในคาบเรียนหรอื ฝึกทาหลังจากท่ีเรียน
เนื้อหาน้ันๆเสร็จ แล้ว ซึ่งเป็นส่วนที่สาคัญมากในกระบวนการเรียนการสอน เพราะนอกจากจะมี
คะแนนในส่วนงานท่ี มอบหมายแล้ว ยังมีผลต่อการเรียนการสอนในคาบถัดไปด้วย เน่ืองจากงานที่
มอบหมายให้ทาจะเป็นการ ประเมินความรู้ความเข้าใจในบทเรียนของนักเรียนว่ามีมากหรือน้อย
เพียงใด อกี ทงั้ ยังเป็นการวัดพฤตกิ รรมความรบั ผิดชอบของนักเรียนไดอ้ ีกทางหนงึ่ ถ้าหากนักเรียนไมไ่ ด้
ทาใบงานท่ีครูผู้สอนมอบหมายให้นักเรียนกจ็ ะขาดคะแนนเกบ็ ในสว่ นนั้นและครูจะไม่สามารถประเมิน
ความรู้ความเข้าใจของ นักเรียนได้ ซึ่งครูผู้สอนสังเกตและพบว่า มีนักศึกษาระดับชั้น ปวส. ปี่ท่ี 1/2
สาขาสัตวศาสตร์ ท่ีไม่สง่ งานทีม่ อบหมายหรือสง่ ไม่ตรงตามเวลาทก่ี าหนด

2

จากสาเหตุดังกล่าวทาให้ผู้วิจัยสนใจท่ีจะศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาของการไม่ส่งงาน
ของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส. ปี่ที่ 1/2 สาขาสัตวศาสตร์ท่ีเรียนรายวิชาจุลชีววิทยา การปรับปรุงพันธุ์
สัตว์ การจัดการส่ิงแวดล้อมในฟาร์มสัตว์เลี้ยง และสถิติและการวางแผนการทดลองทางการเกษตร
เพื่อ พัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมส่งเสริมความรับผิดชอบการจัดกระบวนการเรียนการสอน ให้การ
เรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพและมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงขึน้

1.2 วัตถุประสงคข์ องกำรวิจยั
1. เพ่ือศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับชน้ั ปวส. ป่ีท่ี 1/2 สาขาสัตวศาสตร์

วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา
2. เพื่อรวบรวมข้อมูลสาหรับแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับช้ัน ปวส. ปี่ที่ 1/2

สาขาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชงิ เทรา

1.3 ขอบเขตของกำรวจิ ัย
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็นนักศึกษาระดับ

ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปีท่ี 1/2 สาขาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ฉะเชิงเทรา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 ทัง้ หมดจานวน 6 คน

2. วิธกี ารศึกษาค้นคว้าในการวจิ ยั คร้ังน้ีครูผูส้ อนใช้วธิ ีการวิจัยแบบกง่ึ ทดลอง
3. ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการทดลอง ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2561 ใช้ระยะเวลา 72 ชวั่ โมง

1.4 ประโยชน์ทีค่ ำดว่ำจะไดร้ ับ
1. ทราบถึงพฤติกรรมและสาเหตุของการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร

วิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1/2 สาขาสตั วศาสตร์ วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยฉี ะเชิงเทรา
2. ได้แนวทางในการแก้ปัญหาการเรยี นการสอน

1.4 นิยำมศพั ท์เฉพำะ
งาน หมายถึง แบบฝึกหัดท่ีครูให้ในช่ัวโมงเรียน แบบฝึกหัดที่ครูให้เป็นการบ้าน ใบงาน

รวมถงึ การทางานเป็นกลุม่ และช้ินงาน
พฤติกรรม หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโต้ตอบเม่ือเผชิญกับสถานการณ์

ต่าง ๆ อาการแสดงออกต่าง ๆ เหล่านั้น อาจเป็นการเคลื่อนไหวท่ีสังเกตได้หรือวัดได้ เช่น การเดิน
การพดู การเขยี น การคดิ

3

บทท่ี 2

เอกสำรและงำนวจิ ัยทีเ่ ก่ียวข้อง

ในการศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของ
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ช้ันปีท่ี 1/2 สาขาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยีฉะเชิงเทราผู้วิจัยได้ศึกษา ตารา เอกสาร และงานวิจัยที่เก่ียวข้อง โดยนาเสนอเนื้อหา
แยกตามลาดับ ดังรายละเอียดนี้

2.1 ทักษะการเรียนรู้
2.2 ทักษะปฏิบัติ
2.3 งานวิจัยทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

2.1 ทักษะกำรเรียนรู้
ทกั ษะการเรียนรมู้ ีความสาคัญต่อผเู้ รียนและมหี ลายประเภทดังน้ี
2.1.1 ความสาคัญของทักษะการเรียนรู้ ทักษะการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถในการ

แสวงหาความรู้ และเลือกใช้ แหล่งข้อมูลด้วยวิธี การต่างๆ ได้เหมาะสมกับท่ีต้องการ สามารถ
ประมวลและสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง ตามกรอบการเรียนรู้ และมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาของประเทศไทยเป็นการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมท่ีนักศึกษา
พฒั นาขึ้นในตนเอง จากประสบการณท์ ่ี ได้รบั ระหวา่ งศึกษา กรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอดุ มศึกษา
แห่งชาตกิ าหนดผลการเรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ให้บณั ฑติ มีอย่างน้อย 5 ด้าน ดังน้ี

2.1.1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics and Moral) หมายถึง การพัฒนานิสัยใน
การประพฤติ อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม และด้วยความรับผิดชอบท้ังในส่วนตนและส่วนรวม
ความสามารถในการปรับวิถี ชีวิตในความขัดแย้งทางค่านิยม การพัฒนานิสัยและการปฏิบัติตนตาม
ศีลธรรม ทง้ั ในเรือ่ งสว่ นตวั และ สังคม

2.1.1.2 ด้านความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความสามารถในการเข้าใจ การนึกคิด
และการนาเสนอข้อมูล การวิเคราะห์และจาแนกข้อเท็จจริงในหลักการ ทฤษฎีตลอดจนกระบวนการ
ตา่ งๆ และ สามารถเรียนรดู้ ว้ ยตนเองได้

2.1.1.3 ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive Skills) หมายถึง ความสามารถในการ
วเิ คราะห์ สถานการณแ์ ละใช้ความรู้ ความเขา้ ใจในแนวคิด หลักการ ทฤษฎีและกระบวนการตา่ งๆ ใน
การคดิ วิเคราะห์และการแกป้ ญั หา เมอื่ ต้องเผชิญกับสถานการณใ์ หม่ๆ ที่ไม่ไดค้ าดคิดมาก่อน

2.1.1.4 ด้ าน ทั ก ษ ะค ว าม สั ม พั น ธ์ระ ห ว่างบุ ค ค ล แ ล ะ ค ว าม รับ ผิ ด ช อ บ
(Interpersonal Skills and Responsibility) หมายถึง ความสามารถในการทางานเป็นกลุ่ม
การแสดงถึงภาวะผู้นาความ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ความสามารถในการวางแผนและ
รบั ผดิ ชอบในการเรยี นรขู้ องตนเอง

4

2.1.1.5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารส น เท ศ (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
หมายถึง ความสามารถในการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข ความสามารถในการใชเ้ ทคนิคทางคณิตศาสตรแ์ ละ
สถิติ ความสามารถ ในการส่ือสารท้ังการพูด การเขียน และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากผล
การเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านนี้ บางสาขาวิชาต้องการทักษะทางกายภาพสูง เช่น การเต้นรา ดนตรี
การวาดภาพ การแกะสลัก พลศึกษา การแพทย์และวิทยาศาสตร์การแพทย์จึงต้องเพิ่มการเรียนรู้
ทางด้านทักษะพิสัย (Domain of Psychomotor Skill) มาตรฐานผลการเรียนรู้ คือ ข้อกาหนด
เฉพาะซึง่ เปน็ ผลทีม่ งุ่ หวงั ใหผ้ ู้เรยี นพัฒนาข้ึน จากการเรียนร้ทู ั้ง 5 ด้านท่ีไดร้ ับการพฒั นาดงั กลา่ ว และ
แสดงออกถึงความรู้ความเข้าใจและความสามารถ จากการเรียนรู้เหล่าน้ันได้อย่างเป็นที่เช่ือถือเม่ือ
เรียนจบในรายวิชาหรอื หลักสูตรนน้ั แล้ว

มาตรฐานผลการเรียนรู้ซึ่งมีอย่างน้อย 5 ด้าน ดังกล่าวข้างต้น เป็นมาตรฐานผลการเรียนรู้
ของ บัณฑิตทุกคนในทุกระดับคุณวุฒิโดยแต่ละด้านจะมีระดับความซับซ้อนเพ่ิมข้ึน เมื่อระดับคุณวุฒิ
สูงข้ึน ทักษะและความรู้จะเป็นการสะสมจากระดับคุณวุฒิที่ต่ากว่าสู่ระดับท่ีสูงขึ้น ดังน้ัน มาตรฐาน
ผลการเรียนรู้ ของระดับคุณวุฒิใดคุณวุฒิหน่ึงจะรวมมาตรฐานผลการเรียนรู้ในสาขา /สาขาวิชา
เดียวกันของระดับคุณวุฒิ ที่ต่ากว่าด้วย มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ใช้กับ
นักศึกษาทุกคน แม้ว่าบางสาขา/สาขา วิชานักศึกษาจาเป็นต้องพัฒนาเป็นการเฉพาะ เช่น
จรรยาบรรณของแพทย์ นักบัญชี และ นักกฎหมาย เป็นต้น มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านความรู้ และ
ด้านทักษะทางปัญญา จะเกี่ยวข้อง โดยตรงกับสาขา/ สาขาวิชาท่ีเรียน ซ่ึงต้องระบุรายละเอียดของ
ความรู้และทักษะของสาขา /สาขาวิชา ท่ีเหมาะสมกับระดับ คุณวุฒิไว้ในรายละเอียดของหลักสูตร
และรายละเอียดของรายวิชา มาตรฐานผล การเรียนรู้ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรบั ผิดชอบมุ่งหวงั ใหน้ กั ศกึ ษาทุกคนไมว่ า่ จะเปน็ ระดบั คณุ วฒุ ิและ สาขา/สาขาวิชาใด ต้องบรรลุ
มาตรฐานผลการเรียนรู้ด้านเหล่าน้ี มาตรฐาน ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การ
ส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มุ่งหวัง ให้นักศึกษาทุกคนไม่ว่าจะเป็น ระดับคุณวุฒิสาขา/
สาขาวิชาใด ต้องบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรู้ด้าน น้ี แต่สาหรับนักศกึ ษาท่ีเรียนใน สาขา /สาขาวิชา
ท่ีเก่ียวข้องโดยตรงกับมาตรฐานผลการเรียนรู้นี้ จะต้องเน้นให้มีความชานาญมากกว่า นักศึกษาสาขา
/สาขาวิชาอ่ืนๆ เช่นนกั ศกึ ษาทเ่ี รียนสาขาวชิ าเทคโนโลยีสารสนเทศ จะต้องมคี วามชานาญ และทกั ษะ
ตามมาตรฐานผลการเรยี นรดู้ า้ นความรู้และดา้ นทักษะทางปัญญาเกย่ี วกับเทคโนโลยสี ารสนเทศ

ทางด้านหลักสูตรข้ันพ้ืนฐาน ทักษะการเรียนรู้เป็นสาระการเรียนรู้ที่เก่ียวกับการพัฒนา
ทักษะ การเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ด้วยตนเอง การใช้แหล่งเรียนรู้ การจัดการความรู้
การคิดเป็น และ การวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถกาหนดเป้าหมาย
วางแผนการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง สามารถเข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ โดยใช้
กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจ อย่างมีเหตุผล เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการชี้นาตนเองในการ
เรียนรู้ได้อย่างต่อเน่อื งตลอดชีวติ

5

จะเห็นได้ว่าทักษะการเรียนรูม้ ีความสาคัญกบั คนเราอยา่ งมากจึงควรมีการส่งเสริมทักษะการ
เรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียนและเรียนรู้อย่างมีความหมาย สามารถนาไป
ประยกุ ต์ใช้ ในชวี ิตประจาวนั ได้

2.1.2 ประเภทของทักษะการเรียนรู้ ตามจุดมุ่งหมายของชุดวิชาอาหารและอนามัยสาหรับ
เด็กปฐมวัยนั้น มีจุดมุ่งหมาย เพ่ือให้ นักศึกษามีความรู้และเข้าใจแนวคิดหลกั การและทฤษฎีเก่ียวกับ
อนามัยโภชนาการและสุขภาพรู้และเข้าใจ ในหลักโภชนาการและการจัดบริการอาหารสาหรับเด็ก
ปฐมวัย ตระหนักถึงคุณค่าและความสาคัญของ สุขอนามัยของแม่และเด็กที่มีต่อพัฒนาการของเด็ก
ปฐมวัย จัดโครงงานบริการอาหารให้แก่เด็กปฐมวยั และ กิจกรรมเพ่ือพัฒนาสขุ ภาพและอนามัยให้แก่
แม่และเด็กปฐมวัย ซึ่งทักษะการเรียนรู้ดังกล่าวสอดคล้องกับเป้าหมาย หลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่ กาหนดผลการเรียนรู้ที่คาดหวังท่ีเป็นข้อกาหนด
เป้าหมายการเรียนรู้ โดยมีรายละเอียดเป้าหมายการเรียนรู้ในแต่ละระดับ การศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนมี
ทกั ษะการเรยี นรู้ของดังนี้

2.1.2.1 การเรียนรู้ด้วยตนเองสามารถประมวลความรู้ และสรุปเป็นสารสนเทศ
ทางานบนฐานข้อมูลด้วยการแสวงหาความรู้จนเป็นลักษณะนิสัยมีความชานาญในทักษะการอ่าน
ทกั ษะ การฟัง และ ทักษะการจดบนั ทึก อยา่ งคลอ่ งแคลว่ รวดเร็ว

2.1.2.2 การใช้แหล่งเรียนรู้ สามารถวางแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ตามความต้องการ
จาเป็นของแต่ละบุคคลใช้แหล่งเรียนรู้ตามความต้องการจาเป็นจนเป็นกิจนิสัย และใช้แหล่งเรียนรู้
อย่างแคล่วคล่องจน เปน็ นิสยั สว่ นตวั

2.1.2.3 การจัดการความรู้ สามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ สร้างสูตร สรุปองค์ความรู้
ใหมข่ องขอบเขตความรูป้ ระพฤตติ นเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้สร้างสรรคส์ งั คมอุดมปัญญา

2.1.2.4 การคิดเป็นสามารถวางแผนการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบแก้ปัญหาโดยใช้
กระบวนการ คิดเป็น จนเป็นลักษณะนิสัยและปฏิบัติการใช้กระบวนการคิดเป็นการแก้ปัญหาอย่าง
แคล่วคล่อง

2.1.2.5 การวิจัยอย่างง่าย สามารถออกแบบการวิจัย เพื่อค้นหาความรู้ความจริงท่ี
ต้องการคาตอบใช้กระบวนการวิจัยเป็นเครื่องมือในการดาเนินชีวิตจนเป็นลักษณะนิสัยดาเนินการ
ตามแบบแผนการวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปสารสนเทศความรู้ และความจริงที่ต้องการคาตอบ
อย่างแคล่วคล่อง จะเห็นได้ว่าทักษะการเรียนรู้มีหลายประการและมีความสาคัญต่อการเรียนรู้เป็น
อย่างยิง่ ทักษะการเรยี นรู้ เหลา่ นี้ต้องอาศัยการฝกึ ฝน กระทาอยา่ งต่อเนือ่ งจนเป็นนิสัย

6

2.2 ทักษะปฏิบตั ิ
ทกั ษะปฏิบัติมคี วามหมายและประเภทตามรายละเอยี ดดังน้ีคือ
2.2.1 ความหมายของทักษะปฏิบัติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2544) ได้ให้

ความหมายของทักษะปฏิบัติไว้ว่า ทักษะปฏิบัติ (performance) เป็นการประเมินพฤติกรรมของ
ผู้เรียนในการประยุกต์ความรู้และทักษะต่างๆ มาใช้ในการ ปฏิบัติงานโดยการประเมินตามสภาพจริง
เป็นการประเมินความสามารถของผู้เรียนจากงานที่ให้ปฏิบัติจริง หรือในสภาพท่ีเป็นจริง
เพ่ือพิจารณาว่าผเู้ รียนสามารถปฏิบัติงานท่ีกาหนดได้ดีเพียงใด และปฏิบัติได้ อย่างไร นอกจากน้ีควร
มีการประเมินจากแฟ้มสะสมงานเป็นการประเมินที่เน้นความสาเร็จของผู้เรียนจาก ผลงานที่ผู้เรียน
เก็บรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบในแฟ้ม กล่องหรือกระเป๋าแล้วแต่ลักษณะของงาน เพื่อแสดงให้เห็นถึง
ความสามารถ เจตคติ ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียนของผเู้ รียนในเนื้อหาวิชาต่างๆ

ซมิ พ์ซัน (Simpson : 1972) กลา่ วว่า ทกั ษะปฏบิ ตั ิน้ีสามารถพัฒนาได้ด้วยการฝึกฝน ซ่ึงหาก
ได้รับการฝึกฝนดีแล้ว จะเกิดความถูกต้อง ความคล่องแคล่ว ความเช่ียวชาญ ชานาญการ และความ
คงทน ผลของพฤติกรรมหรือการกระทาสามารถสังเกตได้จากความรวดเร็ว ความแม่นยา ความแรง
หรือความ ราบร่ืนในการจัดการ ซ่ึงกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบน้ีมี ทั้งหมด 7 ขั้น คือ

1. ขั้นการรับรู้ ( Perception) เป็นข้ันการให้ผู้เรียนรับรู้ในสิ่งที่จะทาโดยการให้ผู้เรียน
สังเกตการทางานนัน้ อย่างตงั้ ใจ

2. ข้ันการเตรียมความพร้อม (Readiness) เป็นขั้นการปรับตัวให้พร้อมเพื่อการทางานหรือ
แสดงพฤติกรรมน้ัน ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์โดยการปรับตัวให้พร้อมที่จะทาการ
เคล่ือนไหว หรือแสดงทักษะนั้นๆ และมีจิตใจและสภาวะอารมณ์ที่ดีต่อการท่ีจะทาหรือแสดงทักษะ
นั้น ๆ

3. ขั้นการสนองตอบภายใต้การควบคุม (Guided Response) เป็นข้ันท่ีให้โอกาสแก่ผู้เรียน
ใน การตอบสนองต่อส่ิงที่รับรู้ ซ่ึงอาจใช้วิธีการให้ผู้เรียน เลียนแบบการกระทา หรือการแสดงทักษะ
น้นั หรอื อาจใช้วธิ ีการใหผ้ ู้เรยี นลองผิดลองถูก (Trial and Error) จนกระท่ังสามารถตอบสนองไดอ้ ย่าง
ถูกต้อง

4. ขัน้ การให้ลงมอื กระทาจนกลายเป็นกลไกทส่ี ามารถกระทาได้เอง (Mechanism) เป็นข้ันที่
ชว่ ยให้ผู้เรยี นประสบผลสาเรจ็ ในการปฏิบัตแิ ละเกิดความเช่อื ม่นั ในการทาสง่ิ นัน้ ๆ

5. ขั้นการกระทาอย่างชานาญ ( Complex Overt Response) เป็นขั้นท่ีช่วยให้ผู้เรียนได้
ฝกึ ฝน การกระทาน้ันๆ จนผ้เู รียนสามารถทาได้อย่างคล่องแคลว่ ชานาญเป็นไปโดยอัตโนมัติและด้วย
ความเชอื่ มัน่ ในตนเอง

6. ขั้นการปรับปรุงและประยกุ ต์ใช้ (Adaptation) เป็นขั้นที่ชว่ ยให้ผ้เู รียนปรบั ปรุงทกั ษะหรือ
การปฏบิ ตั ิของตนใหด้ ีย่ิงขนึ้ และประยกุ ต์ใชท้ กั ษะทต่ี นไดร้ บั การพฒั นาในสถานการณ์ต่างๆ

7. ขั้นการคิดริเร่ิม (Origination) เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติหรือกระทาสิ่งใดส่ิงหน่ึงอย่าง
ชานาญ และสามารถประยกุ ต์ใชใ้ นสถานการณ์ท่ีหลากหลายแล้วผูป้ ฏิบัติจะเร่มิ เกดิ ความคิดใหม่ๆ

7

ในการกระทาหรือปรับการกระทาน้ันให้เป็นไปตามท่ีตนต้องการจากความหมายของทักษะปฏิบัติ
สามารถสรุปได้ วา่ ทกั ษะปฏิบตั เิ ป็นพฤติกรรมที่เกิดขนึ้ จากการประยุกตใ์ ชค้ วามรจู้ ากการเรียนรู้

2.2.2 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะปฏิบัติ รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะ
ปฏบิ ตั ิ นัน้ มีหลายรปู แบบและมขี ้นั ตอนทแ่ี ตกต่างกันดังน้ี

2.2.2.1 รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร์โรว์ ( Harrow. 1972: 96-99) ได้จัดลาดับขั้น
ของ การเรียนรู้ทางด้านทักษะปฏิบัติโดยเร่ิมจากระดับท่ีซับซ้อนน้อยไปจนถึงระดับที่มีความซับซ้อน
มาก ซ่งึ กระบวนการเรยี นการสอนของรูปแบบมที ้งั หมด 5 ขั้น คอื

1) ข้ันการเลียนแบบ เป็นข้ันที่ให้ผู้เรียนสังเกตการกระทาท่ีต้องการให้ผู้เรียนทาได้ซึ่งผู้เรียน
ย่อมจะรับรู้หรือสังเกตเห็นรายละเอียดต่างๆ ได้ไม่ครบถ้วนแต่อย่างน้อยผู้เรียนจะสามารถบอกได้ว่า
ข้ันตอนหลกั ของการกระทานนั้ ๆ มอี ะไรบา้ ง

2) ข้ันการลงมือกระทาตามคาส่ัง เมอ่ื ผู้เรยี นไดเ้ ห็นและสามารถบอกขนั้ ตอนของการกระทาท่ี
ตอ้ งการเรียนรูแ้ ล้วให้ผู้เรียนลงมือทาโดยไมม่ ีแบบอยา่ งใหเ้ ห็นผ้เู รียนอาจลงมือทาตามคาสั่งของผู้สอน
หรือทาตามคาสั่งที่ผู้สอนเขียนไว้ในคู่มือก็ได้ การลงมือปฏิบัติตามคาสั่งนี้ แม้ผู้เรียนจะยังไม่สามารถ
ทาได้อย่าง สมบูรณ์ แต่อย่างน้อยผู้เรียนก็ได้ประสบการณ์ในการลงมือทาและค้นพบปัญหาต่างๆ ซ่ึง
ชว่ ยให้เกิดการ เรยี นรู้ และการปรบั การกระทาใหถ้ ูกต้องสมบูรณ์ขึ้น

3) ข้ันการกระทาอย่างถูกต้องสมบูรณ์ (Precision) ข้ันน้ีเป็นขั้นท่ีผู้เรียนจะต้องฝึกฝนจน
สามารถ ทาส่ิงน้ันๆ ได้อย่างถูกต้องสมบูรณ์โดยไม่จาเป็นต้องมีแบบอย่างหรือมีคาส่ังนาทางการ
กระทาการกระทาท่ีถูกต้อง แม่นยา เท่ียงตรง พอดี สมบูรณ์แบบ เป็นสิ่งที่ผู้เรียนจะต้อง สามารถทา
ได้ในข้นั น้ี

4) ขนั้ การแสดงออก (Articulation) ขั้นน้ีเป็นข้ันท่ีผเู้ รียนมีโอกาสได้ฝึกฝนมากข้ึน จนกระท่ัง
สามารถกระทาส่ิงนั้นได้ถูกต้องสมบูรณ์แบบอย่างคล่องแคล่ว รวดเร็ว ราบร่ืน และด้วยความม่ันใจ

5) ขน้ั การกระทาอย่างเปน็ ธรรมชาติ (Naturalization) ขั้นนี้เป็นขัน้ ทีผ่ ู้เรียน สามารถกระทา
ส่ิง น้ันๆ อย่างสบายเป็นไปอย่างอัตโนมัติโดยไม่รู้สึกว่าต้องใช้ความพยายามเป็นพิเศษ ซ่ึงต้องอาศัย
การปฏบิ ตั ิ บอ่ ยๆ ในสถานการณ์ตา่ งๆ ทหี่ ลากหลาย

2.2.2.2 รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ( Davies. 1971: 50-56) ได้ให้แนวคิด
เกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติว่าทักษะส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยทักษะย่อย ๆ จานวนมากดังน้ัน
ควรฝึกให้ ผู้เรยี นสามารถทาทักษะย่อยๆ เหล่านั้นได้ก่อน แล้วค่อยเช่ือมโยงต่อกันเป็นทักษะใหญ่จะ
ช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จได้ดีและรวดเร็วขึ้น ซ่ึงกระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบนี้มี
ท้งั หมด 5 ขัน้ คอื

1) ขัน้ สาธิตทักษะหรอื การกระทาเป็นข้นั ท่ีใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ หน็ ทักษะหรือการกระทาทต่ี ้องการให้
ผู้เรียนทาไดใ้ นภาพรวม โดยการสาธิตให้ผูเ้ รยี นดูท้งั หมดตั้งแต่ต้นจนจบ ทกั ษะหรือการกระทาที่สาธิต
ให้ผู้เรียนดูนั้นจะต้องเป็นการกระทาในลักษณะที่เป็นธรรมชาติไม่ช้า หรือเร็วเกินปกติก่อนการสาธิต
ครูควรให้คาแนะนาแก่ผู้เรียนในการสังเกต ควรช้ีแนะจุดสาคัญที่ควรให้ความสนใจเป็นพิเศษในการ

8

สงั เกต
2) ข้ันสาธิตและให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย เมื่อผู้เรียนได้เห็นภาพรวมของการกระทาหรือ

ทกั ษะท้ังหมดแล้ว ผู้สอนควรจะแตกทกั ษะท้ังหมดให้เป็นทักษะยอ่ ย ๆ หรอื แบ่งสง่ิ ท่ี กระทาออกเป็น
สว่ นย่อย ๆ และสาธติ สว่ นย่อยแต่ละส่วนใหผ้ ้เู รียนสงั เกตและทาตามไปทีละส่วนอยา่ งช้า ๆ

3) ข้ันให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะย่อยโดยไม่มีการสาธิตหรือมี
แบบอย่างให้ดูหากติดขัดจุดใดผู้สอนควรให้คาช้ีแนะ และช่วยแก้ไขจนผู้เรียนทาได้ เม่ือได้แล้วผู้สอน
จึงเริ่มสาธิตทักษะย่อยส่วนต่อไป และให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยน้ันจนทาได้ ทาเช่นน้ีเร่ือยไป
จนกระทั่งครบทกุ สว่ น

4) ข้ันให้เทคนิควิธีการ เมื่อผู้เรียนปฏิบัติได้แล้วผู้สอนอาจแนะนาเทคนิควิธีการที่จะช่วยให้
ผู้เรียนสามารถทางานนั้นได้ดีข้ึน เช่น ทาได้ประณีตสวยงามขึ้นทาได้รวดเร็วขึ้น ทาได้ง่ายข้ึน หรือ
สน้ิ เปลอื งน้อยลง เปน็ ตน้

5) ขั้นให้ผู้เรียนเช่ือมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะท่ีสมบูรณ์ เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติแต่ละ
ส่วนได้แล้ว จึงให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยๆ ต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ และฝึกปฏิบัติหลายๆ คร้ัง
จนกระทงั่ สามารถปฏิบัติทักษะทสี่ มบูรณไ์ ด้อยา่ งท่ชี านาญ

2.2.2.3 รูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นทักษะปฏิบัติของนวลจิตต์ เชาวกีรติพงศ์ (2535)
เปน็ ผพู้ ัฒนารูปแบบน้ีข้ึนรูปแบบการเรียนการสอน ประกอบด้วยยุทธวิธี 3 ยุทธวธิ ใี หผ้ ู้สอนได้เลอื กใช้
ให้เหมาะสม เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับงานท่ีทาและเกิดทักษะในการทางานนั้นได้
อย่างชานาญตามเกณฑ์รวมท้ังมีเจตคติที่ดีและลักษณะนิสัยที่ดีในการทางานด้วย ได้แก่

ยุทธวิธีท่ี 1 การสอนทฤษฏีก่อนสอนงานปฏิบัติเหมาะสาหรับการสอน เน้ือหาปฏิบัติที่มี
ลักษณะ ซับซ้อน เสี่ยงอันตราย และเน้ือหาสามารถแยกส่วนภาคทฤษฏีและปฏิบัติ ได้ชัดเจน มี
ขั้นตอนดงั นค้ี อื

1) ขั้นนา แนะนางาน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และเห็นคุณค่าใน งานน้ัน
2) ขัน้ ใหค้ วามรู้ ใหค้ วามรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั งานทจี่ ะทา
3) ข้ันฝึกปฏบิ ัติ ผู้เรียนลงมือทางาน ทาตามแบบหรือเลยี นแบบ หรือลองผิดลองถูก
ก่อนแล้วลองทาเอง ครูคอยสังเกตให้ข้อมูลย้อนกลับเป็นระยะๆ จนทาได้ถูกต้องฝึกหลายคร้ังจน
ชานาญ
4) ข้ันประเมินผล ผู้เรียนได้รับการประเมินทักษะปฏิบัติ และลักษะนิสัยในการ
ทางาน และความ ยงั่ ยนื คงทน โดยดคู วามชานาญ ถ้าชานาญกจ็ ะจาได้ดแี ละนาน
ยุทธวิธที ่ี 2 การสอนงานปฏิบัติก่อนสอนทฤษฏี เหมาะสาหรับเน้ือหางาน ปฏิบัติที่มีลักษณะ
ไม่ซับซ้อนหรือเป็นงานปฏิบัติที่ผู้เรียนเคยมีประสบการณ์มาบ้างแล้วเป็นงานเสี่ยงต่อชีวิตน้อย
มีข้ันตอน ดังนคี้ อื
1) ขน้ั นา แนะนางาน กระตนุ้ ความสนใจ และเห็นคุณค่า
2) ขั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติ และสังเกตการณ์ ผู้เรียนมีการปฏิบัติ สังเกต และจดบันทึก

9

3) ข้ันวิเคราะห์การปฏิบัติและสังเกตการณ์ ร่วมกันวิเคราะห์พฤติกรรมการปฏิบัติ
และอภปิ รายผล

4) ขั้นเสริมความรู้ จากผลการวิเคราะห์และอภิปรายการปฏิบัติผสู้ อนเสริมความรู้ที่
เป็นประโยชน์

5) ข้ันใหผ้ ้เู รยี นปฏิบัตงิ านใหม่ เพื่อปรับปรงุ แกไ้ ขข้อบกพรอ่ ง
6) ขน้ั ประเมินผล ประเมินทักษะปฏิบตั ิ ลักษณะนสิ ัยและความคงทนของการเรยี นรู้
จากความชานาญ
ยทุ ธวธิ ีท่ี 3 การสอนทฤษฏีและปฏิบัติไปพร้อมๆ กัน เหมาะสาหรับบทเรียนท่ีมีลักษณะของ
เนื้อหาภาคทฤษฏีและปฏิบัติ ที่ไม่สามารถแยกจากกันไดเ้ ดด็ ขาด
1) ข้ันนา แนะนางาน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ และเห็นคุณค่าในงานนั้น
2) ขน้ั ให้ความรู้ ใหป้ ฏบิ ตั ิ และให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลบั ไปพร้อม ๆ กัน
3) ขัน้ ใหป้ ฏบิ ตั ิงานตามลาพัง
4) ข้ันประเมินผล นักเรียนได้รับการประเมินทักษะปฏิบัติ ลักษณะนิสัยในการ
ทางาน และความย่ังยืน คงทน โดยดูความชานาญ การสอนทักษะปฏิบัติท้ัง 3 ลักษณะ ได้แก่
การสอนทฤษฎีก่อนปฏิบัติการ สอนปฏิบัติก่อน สอนทฤษฎีและการสอนทฤษฎีและปฏิบัติไปพรอ้ มๆ
กัน สามารถเลือกใช้ตามเง่ือนไขหรือสถานการณ์ท่ีเหมาะสมตามเกณฑ์เสนอแนะในรูปแบบลักษณะ
ดังกล่าว ทาให้รูปแบบและมีความยืดหยุ่น และใช้ได้ครอบคลุมกับการสอนทักษะปฏิบัติในสายอาชีพ
สายต่างๆ
สรปุ ได้วา่ รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติมีหลายรูปแบบสามารถเลือกใชไ้ ดต้ ามความเหมาะสม
กับ ลักษณะการเรียนการสอน ซ่ึงทิศนา แขมมณี (2547 : 103-106) กล่าวว่าการเรียนการสอนวิชา
อาชีพส่วน ใหญ่จะเน้นทักษะปฏิบัติ โดยอาศัยแนวคิดและหลักการเก่ียวกับการพัฒนาทักษะ ปฏิบัติ
การพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดทักษะปฏิบัติท่ีดีนั้น ผู้สอนควรเร่ิมต้ังแต่การวิเคราะห์งานที่จะให้ ผู้เรียนทา
โดยแบ่งงานออกเป็น ส่วนย่อยๆ และลาดับงานจากง่ายไปหายาก แล้วให้ผู้เรียนได้ฝึกทางานย่อย ๆ
มคี วามรู้เขา้ ใจงานทจี่ ะทาเรยี นร้ลู ักษณะนิสัยทีด่ ใี นการทางาน ฝกึ ทางานในสถานการณ์ใกลเ้ คียง

2.3 งำนวิจัยท่ีเก่ยี วขอ้ ง
ยุวลี สายสังข์ (2556) ทาวิจัยในช้ันเรียนเรื่องการศึกษาพฤติกรรมเร่ืองการไม่ส่งงาน/

การบ้านของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยี
ไทยบริหารธุรกิจ การศึกษาวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนช้ัน
ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3/8 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ ผู้วิจัยได้
จัดทาแบบสอบถามเพื่อศึกษาสาเหตุการ ไม่ส่งงาน/การบ้านตามลาดับที่มากท่ีสุดจนถึงน้อยที่สุด
จากลาดับ 1-13 และได้นาผลของแต่ละสาเหตุมาหาค่าร้อยละ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และ
หาข้อสรุปพร้อมทั้งนาเสนอในรูปของตารางประกอบคาบรรยายเพ่ือศึกษาพฤติกรรมของนักเรียนใน
เร่ืองการไม่ส่งงาน/การบ้าน ผลการศึกษาปรากฏว่า จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามเพื่อ

10

ศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน/การบ้าน ของนักเรียนช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 3/8 สาขา
คอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจ แสดงให้เห็นว่า สาเหตุ ของการไม่ส่งงาน/การบ้าน
ลาดับท่ี 1 คือ ลืมทา โดยคิดจากนักเรียน 38 คน ที่เลือกสาเหตุอันดับท่ี 1 จานวน 9 คน คิดเป็น
ร้อยละ 23.68

ปรารถนา เชาวน์เสฏฐกุล (2556) ทาวิจัยในชั้นเรียน เร่ืองการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของ
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการเลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง
รายวิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน รหัสวิชา 3207-2009 เป็นการวิจัยเชิงพรรณ นา
มีวัตถุประสงค์เพื่อ แก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ป วส.)
ปีท่ี 2 สาขาวิชาการ เลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง วิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน รหัสวิชา
3207-2009 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือประชากรเป็นนักศึกษาในระดับ ปวส. ปีท่ี 2 สาขาวิชา
การเลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง ท่ีศึกษารายวิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน รหัสวิชา
3207-2009 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 เคร่ืองมือที่ ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเพื่อ
ศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษา มีข้อคาถามจานวน 15 ข้อโดยให้นักศึกษาเลือกลาดับ
สาเหตุของการไม่ส่งงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์สรุปพร้อมท้ัง
นาเสนอในรูปของตารางประกอบคาบรรยาย เพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษา ข้อมูลท่ีใช้ใน
การวิจัยเป็นข้อมูลที่ได้จากการใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีท่ี 2
สาขาวิชาการเลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง ท่ีศึกษาวิชาการประเมินผลการปฏิบัติงาน รหัสวิชา
3207- 2009 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 ผลการวิจัยพบว่าจากการศึกษาและวิเคราะห์
แบบสอบถามเพื่อแก้ปัญหาการไม่ส่งงานของนักศึกษาของนักศึกษาระดับ ปวส. ปีท่ี 2 สาขาวิชา
การ เลขานุการ วิทยาลัยเทคนิคตรัง แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของการไม่งาน ลาดับที่ 1 คือ แบบฝึกหัด
ยากทาไม่ได้ และติดงานในรายวิชาอ่ืนๆ โดยคิดจากนักศึกษา 5 คน ท่ีเลือกเป็นสาเหตุอันดับที่ 1
จานวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100

11

บทที่ 3

วธิ ีดำเนนิ กำรวิจยั

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนดของนักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ฉะเชงิ เทรา โดยใช้แบบสอบถามเพื่อหาสาเหตขุ องการไม่ส่งงานหรือส่งงานไมต่ รงตามที่กาหนด ผู้วจิ ัย
ได้วางแผนการดาเนินการศึกษา สร้างแบบสอบถาม โดยใช้ข้อความท่ีคาดว่าจะเป็นสาเหตุของการไม่
ส่งงานหรอื สง่ งานไมต่ รงตามทีก่ าหนด และไดด้ าเนินการซึง่ มีรายละเอียดเปน็ ขัน้ ตอนดงั น้ี

1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
2. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวิจัย
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
4. การวเิ คราะห์ข้อมลู
5. สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู

3.1 ประชำกรและกลมุ่ ตวั อยำ่ ง
ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้เป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)

ปีท่ี 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา
2561 ท้ังหมดจานวน 6 คน

3.2 เคร่อื งมือทใ่ี ช้ในกำรวจิ ัย
- แบบสอบถาม

3.3 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การดาเนนิ การวิจัยและเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผู้วจิ ยั ไดท้ าตามข้นั ตอน ดังน้ี
1. นาแบบสอบถามเพ่ือศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนดของนักศึกษา

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ปีท่ี 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ท้ังหมดจานวน 6 คน เพ่ือหาสาเหตุของการ
ไม่สง่ งานหรือส่งงานไมต่ รงตามที่กาหนด และทาการบนั ทกึ คะแนน

2. ดาเนนิ การหาค่าร้อยละของแตล่ ะข้อสาเหตุ

3.4 กำรวิเครำะห์ข้อมลู
- วิเคราะห์จากคะแนนทีไ่ ดจ้ ากการท าแบบสอบถามเพ่อื ศกึ ษาพฤตกิ รรม

12

3.5 สถิติท่ใี ชใ้ นกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล
- ร้อยละ (Percentage)

คา่ ร้อยละ = X X 100
N

เม่ือ X = คะแนนทไ่ี ด้
N = จานวนนกั เรียนทงั้ หมด

13

บทท่ี 4

ผลกำรวจิ ัย

จากการศึกษาวิจัย ใน ชั้น เรียน ครั้ งนี้ มีวัตถุป ระส งค์เพื่อศึกษ าพ ฤติกรรมการไม่ส่ งงาน /
การบ้าน ตามกาหนดของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีท่ี 1/2 สาขาวิชา
สัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา เพ่ือนาผลการวิจัยมาเก็บเป็นข้อมูลเพื่อหา
สาเหตุและนาไปแก้ไขปัญหาในการเรียนการสอนและเพื่อให้นักเรียนเห็นความสาคัญของการส่งงาน
และการบ้าน โดยใช้แบบสอบถามเพ่ือศึกษาพฤติกรรมจานวน 10 ข้อ โดยกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็น
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีที่ 1/2 สาขาวิชา สัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 จานวน 6 คน โดยสามารถวิเคราะห์
ผลไดด้ งั น้ี

4.1 ผลกำรศึกษำขอ้ มลู ทวั่ ไป
การศึกษาข้อมูลท่ัวไปของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ปีที่ 1/2

สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา ประกอบด้วย เพศ ดังแสดงในตาราง
ท่ี 4.1

ตำรำงที่ 4.1 ข้อมลู ทวั่ ไป

เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ

ชาย 4 66.67

หญิง 2 33.33

รวม 6 100

จากตารางที่ 4.1 เป็นการศึกษาข้อมูลพนื้ ฐานของนักเรยี น จานวน 6 คน พบว่า เป็นเพศชาย
จานวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 66.67 เปน็ เพศหญงิ จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 33.33

4.2 ผลการศกึ ษาความคดิ เหน็ ของนกั เรยี นที่ไมส่ ่งงาน/การบ้านตามกาหนด
จากการเก็บข้อมูลของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีท่ี 1/2

สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา จานวน 6 คน โดยใช้แบบสอบถาม
ความคดิ เหน็ ท่ี นกั เรยี นไม่ส่งงานตามกาหนด ดังแสดงในตารางที่ 4.2

14

ตำรำงท่ี 4.2 ผลการประเมินแบบสอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาถึงสาเหตุที่ผู้เรียนไม่ส่งงาน/
การบา้ นตามกาหนด

สำเหตุของกำรไมส่ ง่ งำน / กำรบ้ำน จำนวน(คน) ร้อยละ ลำดบั ท่ี
1. งานทไ่ี ด้รับมอบหมายมากเกินไป 5 83.33 2
2. งานท่ีไดร้ บั มอบหมายยาก ทาไม่ได้ 4 66.67 3
3. งานท่ีได้รับมอบหมายไม่น่าสนใจ - -
4. ใหเ้ วลานอ้ ยเกนิ ไป 2 - 5
5. ครอู ธบิ ายเร็วจนเกินไป - 33.33 -
6. ไม่เขา้ ใจคาสัง่ - -
7. งานหาย ไม่ได้บนั ทกึ 1 - 6
8. ไมม่ ีคอมพิวเตอร์ในการทางาน 4 - 3
9. ตดิ งานในรายวชิ าอน่ื ๆ 6 16.67 1
10.ติดเกม 3 66.67 4
100
50

จากตารางท่ี 4.2 แสดงใหเ้ หน็ ว่าการตอบแบบสอบถามของนักเรียนในเร่ืองสาเหตุของการไม่
ส่งงาน/การบ้าน โดยทาการเรียงลาดับจากสาเหตุท่ีนักเรียนท่ีนักเรียนคิดว่าเป็นสาเหตุท่ีสาคัญที่สุด
จนถึงสาเหตุท่ีน้อยท่ีสุด 3 อันดับดังต่อไปนี้ ลาดับที่ 1 ติดงานในรายวิชาอ่ืนๆ จานวน 6 คน คิดเป็น
ร้อยละ 100 ลาดับที่ 2 งานท่ีได้รับมอบหมายมากเกินไป จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33
ลาดับท่ี 3 งานท่ีได้รับมอบหมายยาก ทาไม่ได้และไม่มีคอมพิวเตอร์ในการทางาน จานวน 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 50

15

บทท่ี 5

สรปุ ผล อภปิ รำยผล และขอ้ เสนอแนะ

จากการศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับ ประกาศนี ยบัตรวิชาชีพช้ันสู ง
(ปวส.) ปีท่ี 1/2 สาขาวชิ าสัตวศาสตร์ วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรา เพื่อนาผลการวิจยั มา
เก็บเป็นข้อมูลเพ่ือหาสาเหตุและนาไปแก้ไขปัญหาในการเรียนการสอนและเพื่อให้นักเรียนเห็น
ความสาคญั ของการสง่ งานและการบา้ น สรุปได้ดงั นี้

5.1 สรุปผลกำรศึกษำวจิ ยั
จากการศึกษาและวิเคราะห์แบบสอบถามความคิดเห็นถึงสาเหตุท่ีไม่ส่งงานของนักศึกษา

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ปีที่ 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีฉะเชิงเทรา จานวน 6 คน แสดงให้เห็นว่าสาเหตุของการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนด
โดยทาการเรียงลาดับจากสาเหตุที่นักเรยี นที่นักเรียนคิดวา่ เป็นสาเหตุท่ีสาคัญที่สุดจนถึงสาเหตุท่ีน้อย
ที่สุด 3 อันดับดังต่อไปนี้ ลาดับท่ี 1 ติดงานในรายวิชาอ่ืนๆ จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ลาดับท่ี 2 งานที่ได้รับมอบหมายมากเกินไป จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 83.33 และลาดับที่ 3
งานที่ได้รับมอบหมายยาก ทาไม่ได้และไม่มีคอมพิวเตอร์ในการทางาน จานวน 3 คน คิดเป็น
ร้อยละ 50

5.2 อภิปรำยผลกำรศกึ ษำวิจยั
จากการสร้างแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน /การบ้านตามกาหนด ของ

นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ปีท่ี 1/2 สาขาวิชาสัตวศาสตร์ ในครั้งนี้พบว่า
แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ปีท่ี 1/2
สาขาวิชาสัตวศาสตร์ ในเร่ืองการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนด ได้ทาให้ทราบถงึ สาเหตุที่สาคัญมาก
ท่ีสุด จนถึงสาเหตุท่ีน้อยที่สุด ในการไม่สง่ งาน/การบ้านตามกาหนด คือ ติดงานในรายวิชาอ่ืนๆ งาน
ทไ่ี ดร้ ับมอบหมายมากเกินไป งานทีไ่ ด้รับมอบหมายยาก ทาไม่ได้และไมม่ ีคอมพวิ เตอรใ์ นการทางาน

5.3 ข้อเสนอแนะ
1. ในการสร้างแบบสอบถามเพ่ือศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงาน/การบ้านตามกาหนด

อาจจัดทากับนักศึกษาทุกระดับช้ันที่เรียนสาขาวชิ าสัตวศาสตร์ เพ่ือเป็นการศึกษาในภาพรวม เพราะ
การวิจัยคร้ังนี้กลุ่มตัวอย่างเป็นเพียงนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) ปีท่ี 1/2
สาขาวิชาสัตวศาสตร์ เทา่ น้นั ซึง่ อาจจะไดผ้ ลการวจิ ยั ทแ่ี ตกตา่ งกันกไ็ ด้

2. ในการวิจัยครั้งต่อไปอาจเจาะจงทาการวิจัยกลุ่มนักเรียนในระดับช้ันอื่นๆ ต่อไป และ
อาจแยกหัวข้อเป็นรายวิชาต่างๆ เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดขึ้น ซึ่งจะได้นาผลการทดลองที่ได้ไปแก้ไข
ปัญหาในการไม่ส่งงาน/การบา้ นตามกาหนดของนักเรียนต่อไป

16

บรรณำนุกรม

ทัศนีย์ กิติวินติ . 2540 . ปจั จยั ที่ท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อความรบั ผิดชอบในการทางานของพนกั งาน.
กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บัณฑิตย์.

ปรารถนา เชาวน์เสฏฐกลุ . 2556. วจิ ยั ในชัน้ เรียน เรื่องการแก้ปญั หาการไม่ส่งงานของนักศึกษา
ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง ปีที่ 2 สาขาวิชาการเลขานกุ าร วิทยาลัยเทคนิคตรัง
รายวิชาการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน รหสั วชิ า 3207-2009.

พรพมิ ล พิสุทธพ์ นั ธ์พงศ์ . 2538. ความสมั พันธร์ ะหว่างการอบรมเล้ยี งดูกับความพร้อมทาง
สติปญั ญาของนักเรียน ชั้นอนุบาลปที ่ี 1 จงั หวัดเชยี งใหม่ : บณั ฑติ วิทยาลัย
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

พวงทอง ป้องภัย. 2540. พฤตกิ รรมศาสตรเ์ บอ้ื งต้น, ภาควิชาพลศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี.

ยุวลี สายสังข.์ 2556. วจิ ัยในช้นั เรียน เรื่องการศึกษาพฤติกรรมเรื่องการไม่ส่งงาน/การบ้าน
ของนักเรียนชัน้ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ปที ่ี 3/8 สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยเทคโนโลยี
ไทยบริหารธุรกจิ .

ศิริวฒั น์ สงวนหม.ู่ 2533. พฤติกรรมการเรียนรทู้ ี่สง่ เสริมผลสมั ฤทธ์ิในการเรยี นฟสิ กิ สต์ ามการ
เรยี นรู้ของนักเรยี นมธั ยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพ : บณั ฑิตวิทยาลัย จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลยั .

17

ภำคผนวก

18

แบบสอบถำมเพ่อื ศึกษำพฤตกิ รรมของนกั ศกึ ษำ ระดับชนั้ ...............................................................
วทิ ยำลยั เกษตรและเทคโนโลยีฉะเชิงเทรำ ในเร่ืองกำรไมส่ ง่ งำน/กำรบำ้ น

คำชี้แจง
1. แบบสอบถามฉบับน้ีสรา้ งขึน้ เพือ่ ใหท้ ราบถงึ สาเหตุทผ่ี ้เู รยี นไมส่ ่งงาน/การบ้าน
2. แบบสอบถามฉบบั น้ี มี 2 ตอน
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบ
ตอนที่ 2 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั สาเหตทุ ไ่ี มส่ ่งงาน/การบ้านของผู้เรยี น

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบ
เพศ …………………อายุ ……………..…….ปี ผลการเรยี นเฉลีย่ (GPA) …………………….

ตอนท่ี 2 ควำมคิดเห็นของผู้ตอบที่มีต่อกำรไม่สง่ งำน/กำรบำ้ น
คำชี้แจง แบบสอบถำมนี้ จัดทำขึน้ เพอื่ สอบถำมสำเหตขุ องกำรไม่ส่งงำน/กำรบำ้ นของผู้เรียน
โปรดอ่านข้อความด้วยความรอบคอบและใส่หมายเลขตามหัวข้อท่ีนักเรียนคิดว่าเป็นสาเหตุของการไม่ส่งงาน
การบ้าน โดยใหก้ รอกหมายเลข 1-10 ลงในชอ่ งที่ตรงกบั ระดับความพึงพอใจ จากสาเหตุที่สาคญั ทสี่ ุดจนถึงสาเหตุท่ี
สาคัญนอ้ ยทสี่ ุด

สำเหตขุ องกำรไม่สง่ งำน/กำรบ้ำน ลำดบั ที่

1. งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายมากเกนิ ไป
2. งานท่ไี ด้รบั มอบหมายยาก ทาไม่ได้
3. งานท่ีได้รับมอบหมายไม่น่าสนใจ
4. ใหเ้ วลานอ้ ยเกินไป
5. ครอู ธิบายเร็วจนเกนิ ไป
6. ไม่เขา้ ใจคาสั่ง
7. งานหาย ไมไ่ ด้บนั ทกึ
8. ไม่มคี อมพิวเตอร์ในการทางาน
9. ตดิ งานในรายวชิ าอน่ื ๆ
10.ติดเกม

ข้อเสนอแนะ

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………………………….

1.7 จัดบรรยากาศที่สง่ เสรมิ และพฒั นาผู้เรยี น

re ffil

q ffi'*ffiru ffi#.ii-ri,. :'/;tgn',#i-:&nr+r.',']Tw
- i:
:,.. ir,;' . ri;"$i''

* *v1: $,. ,
- .r ".,.+riz.:!+: ;i"+r.'r,i
ru',e. *L1, il?*rlir.r
r-'{i:;.r.1i 'ij1
li.^*- i&-, r"$,f!fHi
t,
*,f1ffiffi
. j:'

1.8 อบรมและพฒั นาคณุ ลักษณะที่ดขี องผู้เรยี น

A 0 n r:iltl Tsfl ou n'l 16lou

n1?\ln





ดา้ นท่ี 2 ด้านการส่งเสริมและสนบั สนุน
การจัดการเรียนรู้

2.1 จัดทาข้อมลู สารสนเทศของผู้เรียนและรายวชิ า

alac.th. user/ind-x.!r\p?id =2 s

n -116'o n 1 :fi o ru: o ai'a u tuv,lr fr.r #or f ud scJ (rJ a a. ) : or?6,6-t u-r

Dashboard :ruizrriouuo r,i:'tri Envrronnrental Managenient . rInr5sulraErrjdutr

unt5etuttavr{6Iu ta tr- 5arr[+suu andu

No filrers applied @ 3J ait{lrfi ure&oirtir{6:u (q;Hi

w 1"1 l[,:iL1 !] i nra]iaii]ilfr,trl
trq545 Z?:/: l6iJnr5arifl lialiil
ia l@ Tuvw x Yz na a{ r t az u* (Fs6flrA !:isiRn)
ABCDEF6HIJXLMNOPQRS a*a fr{*,iF:*m{ila6i:*rfr86

uryralsqAa E o. h 6 u ! rJ !r r",tl'{ ord*{lrdad

s@t y r n r a 9 n a a EU* iltilrlu-urrdrurnsur56rs'i/
A B C D E F G H I ] K L N1 N O P Q R S I u vwx dcaGlduiidtrs i : a5Es3!a
E,.v a rl 3 elcxo d (d s n 6 u ! r rr d w i'l n!urArdB(r!r{ad tt I.5s311 (das.i r*lB5s_ideii
.ior6rdsri : aJdEEaa

f, 1 lrinalrer!**^rrl^E*r/nr5
s{ifsilede,, l*ar,t : 6!S5'i$r

te i:!ofi ! {rJ*'runr:d1!rdn)

rt r?daliE€qasEri {dx.} r hSd6i

,i'ddrlori 6'u rinllsu ,, inuflltiulri 177 lu 22 rlrr* GEEO* :oi *aliitaYnrnro!!dunaff oaor
25l1U5SU3 6
karlkwdngo64@grnarl-conr trNEeX 171 Ju 18 r1t'l!r 11rrftEftaa5 {ilaa-} : A5a-61ef,
@oc
!:i rirgEu tfiorild Kwanyean25346rgnrail.corh r+!E!6u\i lll )U1-El{J L? *$iemowirnearfifiu (drF.) :
trs6q! & cS6aiar
rinrllu Jt riuuourlulu t 70 iu 2-) fttur
, j ntrorr rnado{j [iar!fia5355LagnEi!-caili *hrteu d, (!ian! @fi oc r"l latro::l.ierdolAn irj:t-) - a:
@oe d6Bn
aarrsai. 6jil:ir$ r_aunuriu"ll
il$ond-! & q;f ar:rdauiiciilft (ilr!.): al66i
flu:n d,
-, @ 6-56'c-5ul !i6 krukufth*\rag.(scat a<-th iiArge, 13!6uriulE i,r nqu:r:udr*erJri\s:{s:ruarSo,i
iad utorqu (il:d-) : a?d'6Esr
*aGau ,a /. , :eflr-lls rrJad-l : $:riiEtfr
i_ i {sBntuci 6sln rtseusEriulu alEi€l*
iinridu , *tiJne* f,: d1iH6il'tnrija (rJa6.) : e:;d'68
p.r&@!,ao?ai]8laErralt.cqml tn.,f,e@, a
r+ilunu6ulu
nJd

, QB autlNg nag ctrdnopo!1E,i!.{.s€a.-i(,(lx alcos l'*l h:f6e6@1qtE i:-trft i: fl5Gstu1
9;? 156 lr8-.nriqm iuRiid j
r{lo 6 iJ1fi.\: G:riEis-
lo" nlu5srftuxft:F6#!lDpfaouii6lr
L , eilssor{ arcs chamFi^dy'tr 9q66,gurail.co$ @oc (thd.) i a:ri66!1
6
&;:c:r^d1ur*:1i4roh1er;6:oir5lr*iodi6aira! luYFlf!
i I ar'isfie diaud! savekabl993@lgDlall-coEr t-5uuf,uriulD TULRU @os
l.: nrtiliurlloriur!:iili (rla(.) : n:
a dE-iua
a6i :crsirc iio3 q6ii$unar]5
a rliEIa lrffNqr [email protected] rfnlluu !, rlamui'u"lri 173 iu 22 ?iilro l!@or (62ai5mii uviaad)
uwnf,il 39 Ju 22 riifu!
t9'&srlu1* :b t[ 5 &aro a *timri+u*q .-.
ItuJnQ! lU7 -r q hlilr t-
oliSnr !!ltt nlou.rjlltranke2H4i€0grnail.aonr r:iriou /f s o(}
rlryoNriulr
,i I oisEor trdrdf rh.r(hdakasikha{grgfiEil-(ilti linrqau df qNnip ,IEto$
6
rtulmriutil
EileEiuli rud hdai'1dc.!4Ils*nErl.(om *at_5uu JP uuniQu croo
6

rrdr.q.oorur rr)'o Erao:[email protected]!!r nnrtsuu r+0lslduliluri{ llrau @or*
nQu
t &

6{5ssBr aruulF iinsuDailsn l S$'Silidtt.(otrt :tiuu tSuui!nu t!!tuJ f6 iu 21 dilun t!@os
NaNl:u hdiu{\5(U [email protected]
rint}uu I5gUf,TflU UII!J 48 iu 5 iltfu! 6
J 271 -iu 9 ftl*!
as! 72 i'u 4 iihtN @6+
arlryer 1{riatrao Wongs.rrrrong??J1 @g,rr,al.conr }tfu '
Itgufitnu tuuH fr
aliu H6?lu6 +rrrreng((yJ rt-ac-!h rinlt,u n6i! G@O A
I 0
t5dEfl!6U (DltUJ
@oc

rfi

r({a{ 25 iiirrlo

fiudlniinfirdan

(Fae F
(F

tt

a I!6

#

'nF F

e"

F a

Fti JG :

! :-q

iF

i
I

9t

{u uu,r'rvr t qir
Lo n ffi "-r x rB
%'r".!

pir:r/ra n ar :il :vn ou n r:a a u

firtdJofll: Olyflrn

$

l|d-tO{Iral ,!u

na9da{oafl::flu
9

Bacf*rsB
v

onanoa$T.:9tudg {

o{ ttu1611:LLUU [tU?:1U

_--
hiffi

elJS{F

.-**: '',".'..:'

2.2 ดำเนนิ กำรตำมระบบชว่ ยเหลือผ้เู รยี น




Click to View FlipBook Version