The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kritsaya.pu, 2022-05-05 14:08:23

คู่มือนักเรียนโรงเรียนสตรีภูเก็ต ปีการศึกษา 2565

คู่มือนักเรียน

¹ÒÂà¡ÉÁ Ç²Ñ ¹ªÂÑ ¼Ùéº¹Ñ ·¡Ö

»Õ ¾.È.2564 à»ç¹»Õ·Õèâš༪ԭ˹éҡѺ¤ÇÒÁ·éÒ·Ò·ÕèÊӤѭÂÔè§ ÁռšÃзº
ÁÒ¡ÁÒµèÍàÈÃÉ°¡Ô¨ Êѧ¤Á áÅÐÊÔè§áÇ´ÅéÍÁ·ÑèÇâÅ¡ â´ÂÁÕ¼ÙéµÔ´àª×éÍáÅÐàÊÕªÕÇÔµ¨Ò¡
Çԡĵ¡Òóì¡ÒÃá¾ÃèÃкҴ¢Í§äÇÃÑÊâ¤ÇÔ´ – 19 ¨Ó¹Ç¹ÁÒ¡ «Öè§Ê觼ŵèÍ¡ÒúÃÔËÒÃ
¨Ñ´¡ÒÃʶҹÈÖ¡ÉÒâ´ÂµÃ§ à¾×èͤÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑ¢ͧ¢éÒÃÒª¡ÒäÃÙáÅкؤÅҡ÷ҧ¡ÒÃ
ÈÖ¡ÉÒ ¹Ñ¡àÃÕ¹ ¼Ù黡¤Ãͧ áÅмÙéÁÕÊǹä´éÊèǹàÊÕ¡Ѻ¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¹Ñé¹
¡ÒúÃÔËÒèѴ¡ÒÃʶҹÈÖ¡ÉÒãËéÁդسÀÒ¾¨Ö§äÁèãªèàÃ×èͧ§èÒ ¨Óà»ç¹µéͧÇҧἹÍÂèÒ§
“ÃÑ´¡ÁØ Ãͺ¤Íº ÃÐÁ´Ñ ÃÐÇ§Ñ ”

ã¹âÅ¡áË觡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Íѹà¹×èͧÁÒ¨Ò¡Çԡĵ¡Òóì ÃٻẺ¡ÒúÃÔËÒÃ
¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ºÃËÔ ÒÃËÅѡʵ٠à ºÃÔËÒáÒèѴ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙé ¡ÒþѲ¹Òà¾Í×è ¡ÃдºÑ ¤Ø³ÀÒ¾
Ê×èÍ ¹Çѵ¡ÃÃÁµèÒ§æ ¡ÒûÃѺà»ÅÕ蹡ÒÃÇÑ´¼Å»ÃÐàÁÔ¹¼Å·ÕèËÅÒ¡ËÅÒ à»ç¹ÊèÔ§
·éÒ·Ò¢ͧ¢Í§¡ÒúÃÔËÒÃÂؤ¹Õéà»ç¹ÍÂèÒ§ÂÔè§ âçàÃÕ¹ÁÕÃٻẺá¹Ç·Ò§ã¹¡ÒúÃÔËÒÃ
¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ·ÕèªÑ´à¨¹ â´Âà¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃÁÕÊèǹÃèÇÁ¢Í§·Ø¡ÀÒ¤Êèǹ ¨¹·ÓãËé¹Ñ¡àÃÕ¹
ÁÕ Ç¹Ô ÂÑ ã½Ãè éÙ ã½àè ÃÂÕ ¹ ÁÕ¤ÇÒÁÃºÑ ¼Ô´ªÍº ÁàÕ »éÒËÁÒÂ㹪ÇÕ µÔ

¼Å¡Ãзº¢Í§Çԡĵ¡Òóì´éÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨¡ç¹Ñºà»ç¹»Ñ¨¨Ñ·ÕèÊ觼ÅãËéÁÕ¡ÒÃÂéÒÂ
¶Ôè¹°Ò¹¢Í§¼Ù黡¤ÃͧÁÒ¡¢Öé¹ «Öè§à˵ػѨ¨Ñ´ѧ¡ÅèÒǹÕé à»ç¹»Ñ¨¨Ñ·ÕèäÁèÊÒÁÒö¤Çº¤ØÁä´é
ã¹¹ÒÁâçàÃÕ¹ʵÃÕÀÙà¡çµ ·ÕèÁÕÃٻẺ “Ãкº´ÙáŪèÇÂàËÅ×͹ѡàÃÕ¹” ÍÂèÒ§à»ç¹Ãкº
¹Ñé¹ àÃÒÁշع¡ÒÃÈÖ¡ÉÒãËé¼ÙéàÃÕ¹ÍÂèÒ§ËÅÒ¡ËÅÒ ÁÕ¡ÒêèÇÂàËÅ×ͼÙ黡¤Ãͧ㹡ÒÃ
»ÃѺ Å´ ¤èÒ㪨é èÒÂãËéÍ¡Õ ËÅÒ·ҧ

¤ÙèÁÍ× ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹©ºÑº¹Õé ¨Ðà»ç¹á¹Ç·Ò§ãËéÅ¡Ù ÊÀ¡. ·¡Ø ¤¹ ä´´é Óà¹Ô¹ªÇÕ ÔµáÅÐ
»¯ÔºÑµµÔ ¹ÍÂèÒ§ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢µÅÍ´ÃÐÂÐàÇÅÒ·èÍÕ ÂÙèÃèÇÁ¡¹Ñ ã¹ÃéÇÑ ¢ÒÇ-¹éÓà§Ô¹
áË§è ¹Õé áÅÐËÇ§Ñ à»¹ç ÍÂèҧ§èÔ ÇèÒ¨Ðä´éÃѺ¤ÇÒÁÃèÇÁÁÍ× ¨Ò¡¼Ù黡¤Ãͧ
㹡ÒÃÃèÇÁ¡¹Ñ ´áÙ ÅáÅоѲ¹Ò¤³Ø ÀÒ¾¼àÙé ÃÕ¹µèÍä»

¹Ò»­Ñ ­Ò 资 ¶Ô
¼éÙÍӹǡÒÃâçàÃÂÕ ¹ÊµÃÕÀàÙ ¡çµ

ÊÒú­Ñ CONTENS

ขอ# มลู โรงเรียน 3
โครงสรา# งการบริหาร 18
คณะผ#ูบริหารและครโู รงเรียนสตรีภเู ก็ต 19

กลมุB บรหิ ารวชิ าการ 31
หน#าท่ีของกลมBุ บรหิ ารวิชาการ 33
การวดั และประเมนิ ผล 36

เกณฑLการจบหลกั สตู ร 37
การสร#างหลักสตู ร 38
ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธิการวBาดว# ยการปฏบิ ตั ขิ องผ#ูเข#าสอบ พ.ศ. 2548 39

การจดั กจิ กรรมพัฒนาผเู# รียน 43
โครงการนานาชาติ 47
งานทะเบียน 54

งานแนะแนว 57
งานหอ# งสมดุ 58
กลุBมบรหิ ารงานบคุ คลและงบประมาณ 60

กลุมB บริหารงานบคุ คล 62
กลBมุ บรหิ ารงบประมาณ 65
กลBมุ การเงนิ – บัญชี 65

คาB ใชจ# Bายและรายละเอียดการเกบ็ เงินบำรุงการศึกษา ป_การศกึ ษา 2565 66
รายละเอียดคBาใชจ# Bายทใี่ ชเ# งินบำรุงการศกึ ษาโดยการระดมทรัพยากรจากผูป# กครองนกั เรยี น 67
กลมBุ บริหารกจิ การนักเรียน 68

ระเบยี บข#อบังคบั โรงเรยี นสตรีภเู กต็ 70
กลBมุ บรหิ ารทว่ั ไป 107
งานโภชนาการ 109

งานอนามัยโรงเรยี น 111
งานสหกรณโL รงเรยี น 115
อาคารภายในโรงเรียนสตรีภเู ก็ต 116

หมายเลขโทรศัพทภL ายในโรงเรียน 119
แผนผงั โรงเรยี น 120

3

ชื่อโรงเรยี น โรงเรยี นสตรีภูเก็ต

สถานที่ต้งั เลขท่ี 1 ถนนดำรง ตำบลตลาดใหญ5 อำเภอเมอื ง จงั หวดั ภเู กต็ 83000
โทรศัพท1 0 – 7621 - 1034, 0 – 7622 – 2368
โทรสาร 0 – 7621 – 9522
Website http://www.satreephuket.ac.th
E-mail [email protected]
พ้นื ที่ 28 ไร5 68 ตารางวา
วันก@อตั้ง 29 เมษายน 2452
ผูดD ำรกิ @อตั้ง พระยารษั ฎานปุ ระดษิ ฐjมหศิ รภกั ดี
ผูบD รหิ ารคนแรก นายคmอ ฤกษถj ลาง
ผDูบริหารคนปจM จุบัน นายปoญญา หัตถิ
อักษรยอ@ ส.ภ.ก.

ตราสญั ลกั ษณป1 ระจำโรงเรยี น “ตราความเรืองปญo ญา”
เปนs อักษรยอ5 ส.ภ.ก. เปล5งรัศมีขจรขจาย

ปรชั ญาโรงเรยี น ความรmู คู5ความดี มีสขุ ภาพ

สีประจำโรงเรียน สีขาว – น้ำเงนิ
หมายถงึ สะอาด สวา5 ง สงบ

ดอกไมสD ัญลักษณ1โรงเรียน ดอกชงโค

4

เพลงประจำโรงเรยี น

เพลงมาร1ช ส.ภ.ก.
คำรmอง อาจารยjเย็นจติ ณ ตะก่วั ทุ5ง ทำนอง One Hundred Song

เราสตรี / มีช่อื / เดน5 บนั ลือ / สมนาม /
สง5างาม / สถาน / การศกึ ษา / - /
ส5งเสรมิ / มวลศษิ ยj / อบรมเนือง / นิตยjมา /
ศาสตรjและศิลป• / วิทยา / ปรีชาชาญ / - /
รักชาตไิ ทย / ย่ิงชวี า / พระศาสนา / มหากษตั ริยj /
รกั ระเบียบ / เกยี รติประวัติ / รกั ช่ือเสียง / ทุกดmาน /
นักกฬี า / พลานามัย / ใจอาจหาญ / -
ชำนาญ / - / มชี ัยทกุ ที / - /
นำ้ เงินขาว / ร5วมจิต / ร5วมชีวติ / ขวญั ใจ /
เทิดธง / เราไวm / เปนs สกั ขี / - /
เราสมาน / เราสมคั ร / รว5 มกันสา / มัคคี /
สรmางสรรคj / ความดี / ธรรม / จรรยา /
ส.ภ.ก. / ส.ภ.ก. / นามนีข้ อ / เชิดชู /
ใหmดำรง / คงอยู5 / ถาวรยิง่ / ยืนหลmา /
ส.ภ.ก. / เจริญรุ5งเรือง / เล่ืองลอื ชา / - /
คู5ฟƒา / - / ชัว่ นิรนั ดร / - /

วสิ ัยทศั น9 (Vision)

ผเูm รยี นมคี วามรmคู 5คู ุณธรรม กmาวทันเทคโนโลยี สมู5 าตรฐานสากล บนวิถพี อเพียง

พันธกิจ (Mission)

1. ส5งเสรมิ และพัฒนาใหผm เูm รียนเปนs บุคคลแหง5 การเรียนรmู ควบคูค5 ณุ ธรรมบนวถิ ีพอเพยี ง
2. ส5งเสริมและพัฒนาครู บุคลากรใหmจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานสากลและสามารถใชmสื่อเทคโนโลยีใน

การจดั การเรียนรmู
3. สง5 เสริมและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการดวm ยระบบคุณภาพตามหลักธรรมาภิบาล
4. สง5 เสรมิ ใหชm มุ ชนและหน5วยงานภายนอกเขmามามสี ว5 นร5วมในการจดั การศึกษา

5

เป#าประสงค* (Purpose)

1. ผูmเรยี นมีความรmู มีทักษะ มคี ุณธรรมและคุณลักษณะอันพงึ ประสงคj
2. ครูและบุคลากรมีการพัฒนาความรูm เจตคติ สามารถใชmเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรmู

ไดอm ย5างมีคุณภาพ
3. มรี ะบบประกันคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล
4. มีเครอื ขา5 ยสนับสนนุ จากสถาบันการศกึ ษาและหน5วยงานอ่นื ท้งั ในประเทศและในระดบั นานาชาติ

อตั ลักษณ*ของสถานศึกษา (Identity)

“เปนs เลศิ ทางภาษา สอ่ื สารความเปนs ภูเกต็ ”

เอกลกั ษณ*ของสถานศกึ ษา (Uniqueness)

“ยิม้ งา5 ย ไหวmสวย มจี ติ สาธารณะ”

กลยทุ ธ* (Strategy)

1. ยกระดบั คุณภาพผูเm รยี นใหmเปนs บคุ คลแหง5 การเรียนรูm และมีคุณธรรม
2.พัฒนาครูและบุคลากรใหmมีสมรรถนะในการใชmเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการจัดการเรียนรูm

ในศตวรรษท่ี 21
3. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการดวm ยระบบคุณภาพตามมาตรฐานสากล
4. สรmางเครือข5ายความรว5 มมือเพอื่ พัฒนาการจดั การศึกษาท้งั ในประเทศและในระดบั นานาชาติ

นโยบายโรงเรยี นสตรีภูเก็ต

1. ยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งกลักสูตร คุณภาพครูผูmสอน/บุคลากร คุณภาพผูmเรียน และเครือข5ายเขmามามีส5วน
รว5 มในการจัดการศกึ ษา

2. สง5 เสริมใหmผเูm รยี นมคี ณุ ลักษณะในศตวรรษท่ี 21 โดยเนนm การวิจยั นวตั กรรม ส5คู วามเปsนพลเมืองโลก
3. สรmางโอกาสความเสมอภาค และความเท5าเทียมทางการศึกษาโดยใชmเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสรmางสังคม

แหง5 การเรียนรูm
4. พัฒนาระบบบรหิ ารจัดการศกึ ษาใหมm ีประสิทธภิ าพ ภายใตแm นวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
5. เสริมสราm งการจดั การศกึ ษาเพือ่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ทกั ษะอาชพี และเปsนมิตรกบั สงิ่ แวดลอm ม

6

จุดเนXน โรงเรียนสตรีภูเก็ต

1. ผูmเรียนมีทักษะการใชmภาษา สามารถใชmเทคโนโลยีดิจิทัลสรmางเครือข5ายทางสังคมและอยู5ในประชาคมโลกไดm
อยา5 งมีความสุข

2. ยกระดบั คุณภาพผูเm รยี นตามมาตรฐานสากลโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
3. บูรณาการการจัดการเรียนการสอน เพื่อใหmผูmเรียนแสดงออกถึงสุนทรียภาพทางดmานศิลปะ ดนตรี กีฬา สุขภาพ

และสือ่ สารความเปsนภเู ก็ต
4. การบรหิ ารจัดการศึกษาภายใตm 10 ระบบ เพื่อพฒั นาผเูm รียนไปสูค5 ุณภาพตามมาตรฐานสากล
5. พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษาใหmเปนs ไปตามเปƒาหมายทก่ี ำหนด
6. มรี ะบบนิเทศตดิ ตามรายงานผลเพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาใหมm ปี ระสทิ ธิภาพทีย่ ่งั ยนื
7. ป†แหง5 ความคุmมครองเดก็ ตามระบบดูแลชว5 ยเหลือนกั เรยี น ครอบคลุมทกุ มิติ
8. เปsนศนู ยjกลางพฒั นาศักยภาพบคุ คล เพื่อความเปนs เลศิ ทางภาษาและดิจิทัล (HCEC)

ยุทธศาสตรช* าติ

1. การจดั การศึกษาเพอื่ ความมนั่ คงของสงั คมและประเทศชาติ
2. การผลติ และพัฒนากำลงั คน การวจิ ยั และนวตั กรรม เพ่อื สรmางขดี ความสามารถในการแขง5 ขนั ของประเทศ
3. การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชว5 งวัย และการสราm งสงั คมแหง5 การเรยี นรmู
4. การสรmางโอกาส ความเสมอภาค และความเท5าเทยี มทางการศกึ ษา
5. การจดั การศึกษาเพ่อื สรmางเสรมิ คณุ ภาพชีวิตที่เปsนมิตรกับสิง่ แวดลmอม
6. การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต* ามหลักสตู ร

1. รักชาติ ศาสนj กษัตรยิ j
2. ซื่อสัตยj สุจรติ
3. มีวินัย
4. ใฝเ• รียนรmู
5. อยูอ5 ยา5 งพอเพยี ง
6. มุง5 ม่นั ในการทำงาน
7. รกั ความเปนs ไทย
8. มีจิตสาธารณะ

7

วัฒนธรรมแหงa คุณภาพโรงเรียนสตรภี ูเก็ต

1. ตmองใหmความสนใจกล5มุ เปาƒ หมาย
2. สนใจในเรื่องความพึงพอใจของผูปm กครองและชมุ ชน
3. ผูmปฏิบัตงิ านมีความเขmาใจในงานทป่ี ฏิบัติ
4. เนmนการทำงานเปนs ทีม
5. มกี ารปรบั ปรุงและพัฒนางานอยา5 งตอ5 เนอ่ื ง
6. ใหmความสำคัญกับขmอมูลและความเปนs จริง
7. ม5งุ การปฏิบัติงานในเชงิ รุก
8. การมีส5วนรว5 มทว่ั ทง้ั องคjกร
9. การบริหารระบบคุณภาพแบบองคjรวม
10. การมง5ุ เนmนท่กี ระบวนการ

8

ประวตั โิ รงเรียน

โรงเรียนสตรีภูเก็ตตั้งขึ้นโดยพระยารัษฎานุประดิษฐjมหิศรภักดี สมุหเทศาภิบาลมณฑลภูเก็ต ร5วมกับ
คณะกรรมการสตรีไดmจัดหาเงินเพื่อสรmางโรงเรียนสำหรับสตรีขึ้น ณ สถานที่บริเวณ ถนนสตูล เชิงเขารัง เมื่อ พ.ศ.2452
โดยไดmวางศิลาฤกษjจารึกไวmว5า “โรงเรียนษัตรี สรmางป† 127” และในขณะที่อาคารเรียนยังก5อสรmางไม5แลmวเสร็จ ไดmสรmาง
เรือนไมmชั่วคราวขึ้นในบริเวณวัดมงคลนิมิตรเพื่อใหmนักเรียนไดmใชmเรียน เป•ดสอนเฉพาะระดับประถมศึกษา สมเด็จพระบรม
โอรสาธิราชเจmาฟƒามหาวชิราวุธสยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเป•ดอาคาร และพระราชทานนามโรงเรียนว5า
“ปลูกปoญญา” เมื่อวันที่ 29 เมษายน พ.ศ.2452 มีครูใหญ5คนแรกคือ นายคmอ ฤกษjถลาง ต5อมาขยายชั้นเรียนถึงระดับ
มัธยมศึกษา มีนักเรียนเพิ่มขึ้น พระพิทักษjชินประชา (นายตันมmาเสียง ตัณฑวนิช) ไดmสรmางอาคารเรียนใหม5ที่วัดมงคลนิมิต
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลmาเจmาอยู5หัว เสด็จพระราชดำเนินทางเป•ดอาคารเมื่อ พ.ศ.2460 และพระราชทานนามว5า
โรงเรียนสตรีประจำมณฑลภูเก็ต “ตัณฑวนิชวิทยาคม” เมื่อเวลาผ5านไปหลายป†เกิดปoญหาสถานที่เรียนคับแคบไม5เพียงพอ
กับนักเรียน พ.ศ.2492 นางเย็นจิต ณ ตะกั่งทุ5ง ผูmอำนวยการโรงเรียนในสมัยนั้น จึงขยายพื้นที่โดบขอแลกเปลี่ยนที่ดิน
กับเทศบาลนครภูเก็ต ยmายโรงเรียนมาตั้งที่สถานที่ปoจจุบัน คือ ถนนดำรง ตำบลตลาดใหญ5 อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต มี
ที่ดิน 15 ไร5 เมื่อ พ.ศ. 2494 เปลี่ยนชื่อโรงเรียนตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเปsน “โรงเรียนสตรีภูเก็ต” ต5อมาไดm
ขยายเน้อื ทโี่ รงเรียนไปจรดถนนเชงิ คีรีทำใหมm พี ื้นท่รี วม 28 ไร5 68 ตารางวา
พ.ศ. 2471 พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลmาเจmาอยหู5 วั และสมเด็จพระนางเจาm รำไพพรรณีพระบรมราชนิ ี เสด็จเลียบ

มณฑลภเู กต็ ไดเm สด็จพระราชดำเนินเย่ยี มโรงเรียน
พ.ศ. 2528 อธิบดีกรมสามัญศีกษา (ดร.เอกวิทยj ณ ถลาง) เปsนประธานในพิธีเชิญพระพุทธรูปขึ้นสู5ที่ประดิษฐาน

และเป•ดปาƒ ยโรงเรยี นมาตรฐาน
พ.ศ. 2543 สมเดจ็ พระเทพรัตนรj าชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไดเm สด็จพระราชดำเนนิ ทอดพระเนตร

“สวนพฤกษศาสตรjโรงเรียน” เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2543 จาการกราบบังคมทูลเชิญของ
ผูmอำนวยการราณี วสิ ตู รธนาวิทยj
พ.ศ.2546 เป•ดโครงการหลักสูตรภาษาอังกฤษ (EP) และโครงการส5งเสริมความสามารถพิเศษดmานวิทยาศาสตรj
และคณติ ศาสตรj (SMP)
พ.ศ. 2548 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงนำคณะกรรมการนานาชาติ
มูลนิธิเจmาฟƒามหิดล จำนวน 30 คน เยี่ยมชมสวนพฤกษศาสตรjโรงเรียนเปsนการส5วนพระองคjไดm
พระราชทานเงนิ พรอm มพระรูปสมเด็จพระบรมราชชนกแก5โรงเรยี น เมอื่ วันท่ี 14 พฤศจกิ ายน 2548

9

พ.ศ. 2549 สมเด็จพระราชาธิบดีคารjลที่ 16 กุสตาฟแห5งสวีเดนและสมเด็จพระราชินีซิลเวียแห5งสวีเดนเสด็จพระราช
พ.ศ. 2550 ดำเนินเปsนการส5วนพระองคjเพื่อทรงเยี่ยมและพระราชทานทุนการศึกษาแก5นักเรียนผูmประสบภัยสึนามิ
พ.ศ. 2551 เม่ือวันท่ี 19 มถิ นุ ายน 2549
พระเจmาหลานเธอพระองคjเจmาพัชรกิติยาภา เสด็จเยือนศูนยjขmอมูลสารสนเทศสึนามิและพิพิธภัณฑj
พ.ศ. 2552 พชื แหงm พรmอมคณะอยั การผmชู 5วยร5ุนที่ 39 เมื่อวนั ที่ 19 มกราคม 2550
พ.ศ. 2553 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินปฏิบัติพระราชกรณียกิจ
ณ จังหวัดภูเก็ตและใกลmเคียง ทรงพระกรุณาโปรดเกลmาฯ เสด็จพระราชดำเนินทรงเป•ดปƒายอาคาร
พ.ศ. 2554 ซึ่งไดmรับพระราชทานนามว5า “อาคารฉลองราชกุมารี เฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา” และทรงวางศิลา
พ.ศ. 2555 ฤกษกj อ5 สราm ง “อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550” เมือ่ วันท่ี 11 มนี าคม 2551
พ.ศ. 2556 จัดงานเฉลิมฉลอง “รmอยใจ รmอยไมตรี ๑๐๐ ป† สตรีภูเก็ต” เมื่อวันที่ 9 – 11 ธันวาคม 2552 และ
พ.ศ.2560 คณะรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการกลุม5 ประเทศอาเซยี น เยีย่ มชมศกึ ษาดูงานโรงเรยี นสตรภี เู ก็ต
l กำหนดใชmหลักสูตรโรงเรียนสตรีภูเก็ต พุทธศักราช 2553 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ภายใตmหลักการของโรงเรียน “มุ5งสู5สากล บนฐานไทยตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง”
l เป•ดหmองเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตรj (SSP) เพ่ือพฒั นาใหmนักเรยี นเปนs นกั วิทยาศาสตรตj ามนโยบายของรฐั
l ปรับหลักสตู รภาคภาษาองั กฤษในช้นั มัธยมศึกษาปท† ่ี 1 เปนs International Program: IP
ปรับหลักสตู รภาคภาษาองั กฤษในชั้นมัธยมศึกษาปท† ี่ 4 เปsน Intensive English Program: IEP
เป•ดอาคาร “หลวงพ5อแช5ม ๑๐๐ ป† สตรีภูเก็ต” ซึ่งเปsนอาคารเอนกประสงคjทรงชิโนโปรตุกีส 2 ช้ัน
สรmางดmวยงบประมาณจากรายไดmการจัดสรmางวัตถุมงคล รูปเหมือนหลวงพ5แช5ม 100 ป†สตรีภูเก็ต
เมอ่ื วันท่ี 23 พฤศจิกายน 2555
สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเป•ด
“อาคารเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธนั วาคม ๒๕๕๐” เมอื่ วันที่ 29 กรกฎาคม 2556
ทูลกระหม5อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ทรงเป•ดศูนยjเพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE
ของโรงเรียนสตรีภูเก็ต เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2560 โดยมีผูmอำนวยการเสถียร พลเยี่ยม คณะครู
บคุ ลากรและนักเรยี นรับเสด็จ

10

พ.ศ.2562 จัดสรmางเสาธงโรงเรียนที่เปsนไปตามขmอกำหนดของสพฐ. มีส5วนสูงไม5เกิน 18 เมตร โดยไดmรับการ
ปจo จุบนั สนับสนุนงบประมาณจำนวน 700,000 บาท จัดสรmางโดยคุณธำรง งานทวี ในนามบริษัท งานทวี จำกัด
และวันที่ 29 เมษายน 2562 ผูmอำนวยการเสถียร พลเยี่ยม ไดmประกอบพิธีบวงสรวงตั้งเสาธง
โดยมคี รแู ละบคุ ลากรร5วมพิธี
โรงเรียนสตรีภูเก็ตดำเนินงานบริหารจัดการตามเกณฑjมาตรฐานสากลยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงภายใตกm ารบรหิ ารงานโดย นายปญo ญา หตั ถิ ผmอู ำนวยการโรงเรยี นสตรีภเู ก็ต
ตง้ั แตว5 ันที่ 28 ตุลาคม 2562

ผลงานโรงเรียนสตรภี เู กต็

กระทรวงศึกษาธิการคัดเลือกโรงเรยี นในแต5ละเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา เพ่อื เขmารับรางวลั พระราชทาน
ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน และโรงเรียนสตรภี เู ก็ตไดรm บั คัดเลอื กใหmเขmารบั รางวัลโรงเรยี นพระราชทาน
ในป† พ.ศ.2523, 2525, 2526, 2527, 2536, 2540, 2544, 2548, 2552, 2556 และ 2560 รวม 11 ครัง้

และโล5ทองโรงเรียนพระราชทาน 3 ปซ† อm น รวม 3 คร้ัง

พ.ศ.2523 – 2527 พ.ศ.2521 – พ.ศ.2530 ผDูอำนวยการสว@าง ปานมนั่
พ.ศ.2528
l โรงเรียนสตรีภเู กต็ ไดmรับคัดเลอื กจากกระทรวงศึกษาธกิ ารไดmรบั รางวัลพระราชทาน
พ.ศ.2531 ระดับมธั ยมศกึ ษา ขนาดใหญ5 ประจำป†พ.ศ.2523, 2525, 2526 และ 2527 รวม 4 ครัง้
พ.ศ.2535 และรับโล5ทองโรงเรยี นพระราชทาน ครงั้ ที่ 1

l รบั โล5รางวัลประเภทการจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตรj ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตนm ดเี ดน5
จากสถาบนั สง5 เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรjและเทคโนโลยี

พ.ศ.2530 – พ.ศ.2535 ผDอู ำนวยการสุภางค1 เขยี วหวาน

l ไดmรบั คัดเลอื กเปนs โรงเรยี นท่จี ดั กิจกรรมการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรดj ีเดน5
ระดับจงั หวดั และระดบั เขต

l ไดรm บั โล5รางวัลสถานศกึ ษาทจ่ี ดั จริยธรรมศึกษาดเี ดน5

11

พ.ศ.2536 พ.ศ.2535 – พ.ศ.2540 ผูอD ำนวยการสรุ างค1 บุญฮก

พ.ศ.2540 l โรงเรยี นสตรีภูเก็ตไดmรบั การคดั เลอื กจากกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดmรับรางวัลพระราชทาน
ระดบั มัธยมศึกษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2536 ครั้งท่ี 5
พ.ศ.2541
พ.ศ.2544 พ.ศ.2540 – พ.ศ.2545 ผูอD ำนวยการรานี วสิ ตู รธนาวิทย1

พ.ศ. 2546 l รบั โล5พระราชทานปƒาย “สวนพฤกษศาสตรjโรงเรียน” ซ่งึ เปsนส5วนหนงึ่ ใน
พ.ศ. 2547 โครงการอนรุ กั ษพj นั ธกุ รรมพชื อันเนือ่ งมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ
สยามบรมราชกมุ ารี
พ.ศ. 2548
พ.ศ. 2551 l โรงเรยี นสตรีภูเกต็ ไดmรับคดั เลอื กจากกระทรวงศึกษาธกิ ารไดรm ับรางวลั พระราชทาน
พ.ศ. 2552 ระดับมัธยมศึกษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2540 ครั้งท่ี 6

l ไดรm ับการคัดเลือกจากกรมสามญั ศึกษาใหmเปนs 1 ใน 13 โรงเรยี นสงั กดั กรมสามัญศกึ ษา
ท่เี ขmาโครงการนำร5องจัดการระบบสิ่งแวดลอm มในโรงเรยี น เขาm สมู5 าตรฐาน ISO 14001

l โรงเรยี นสตรภี เู ก็ตไดmรับคัดเลอื กจากกระทรวงศึกษาธกิ ารไดmรับรางวัลพระราชทาน
ระดบั มัธยมศึกษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2544 คร้งั ที่ 7 และรบั โลท5 องพระราชทาน ครงั้ ที่ 2

พ.ศ.2545 – พ.ศ.2547 ผอูD ำนวยการผ@องศรี เรืองดิษฐ1

l รบั เกยี รติบัตรเพ่อื แสดงวmาไดรm ับการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส5งเสรมิ สุขภาพระดบั ทอง
l ไดรm บั คดั เลือกเปsนสถานศึกษาทจ่ี ดั กิจกรรมดีเด5นดาm นการดแู ลชว5 ยเหลอื นกั เรยี น

พ.ศ.2547 – พ.ศ.2554 ผDอู ำนวยการเกยี รตศิ ักดิ์ ปลi วาสน1

l โรงเรียนสตรภี เู ก็ตไดmรบั คัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธกิ ารไดmรับรางวลั พระราชทาน
ระดบั มัธยมศึกษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2548 ครง้ั ที่ 8

l หนงั สือ “ภูเก็ต” ตามโครงการตำราและสอื่ โรงเรยี นสตรีภเู ก็ต ไดรm บั รางวัลเหรียญเงิน
ในการประกวดผลงานนวตั กรรม ประเภทสือ่ ของครุ ุสภา

l โรงเรียนสตรภี ูเกต็ ไดรm ับคดั เลอื กจากกระทรวงศกึ ษาธิการไดmรับรางวลั พระราชทาน
ระดบั มัธยมศกึ ษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2552 ครัง้ ที่ 9

12

พ.ศ.2553 l ไดmรับคัดเลือกเปsนตัวแทนโรงเรียนมัธยมศึกษาจัดนักเรียนนำเสนองานการบริหารจัด
พ.ศ.2554 การศึกษาจัดเลี้ยงรับรอง และนำชมแหล5งเรียนรmู ณ โรงเรียนสตรีภูเก็ต แก5รัฐมนตรี
พ.ศ.2555 กระทรวงศกึ ษาธกิ าร อาเซยี นทม่ี าประชมุ กลมุ5 อาเซยี น ณ โรงแรมเชอราตนั จงั หวดั ภูเก็ต

l ไดรm ับคดั เลอื กเปนs โรงเรยี นกระจายอำนาจ ประเภทที่ 1 ลำดบั ท่ี 1 ของสำนักงานเขตพ้นื ที่
การศึกษาภเู ก็ต

l ไดmรับการคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใหmเปsนโรงเรียน
มธั ยมศึกษาแห5งเดยี วในจังหวดั ภเู กต็ ที่เปนs หน5วยเบิกจา5 ยโดยตรงกับคลังในระบบ GFMIS

l รับปาƒ ย “สถานศึกษาพอเพยี ง 2552” จากกระทรวงศกึ ษาธิการ
l รับเกียรติบัตรรางวัลเหรียญทองนวัตกรรม ประเภทการบริหารจัดการ ชื่อ “รูปแบบการ

บริหารปoจจัยเสี่ยงเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสตรีภูเก็ต” จากการประกวดใน
งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับภาคใตm
l รับรางวัลโรงเรยี นเพยี รเพมิ่ ผลผลติ ยอดเยย่ี มระดับมธั ยมศกึ ษาจากสถาบนั เพมิ่ ผลผลิตแห5งชาติ
l ไดmรับคัดเลือกจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
เปsน 1 ใน 500 โรงเรียน และ Education Hub 1 ใน 14 แห5งของประเทศและเปsนตัวแทน
สพม. 14 นำเสนอผลงานโรงเรียนมาตรฐานสากล ไดmรับเกียรติบัตรระดับเหรียญทองของ
ภาคใตm
l ไดmรับการรับรองมาตรฐานโรงเรียนส5งเสริมสุขภาพระดับทอง สำนักงานสาธารณสุข
จังหวดั ภเู กต็
l โครงการยุวชนอาสาพฒั นาชุมชน ไดmรับรางวัลชนะเลิศระดบั มธั ยมศกึ ษาตามโครงการ
“โรงเรียนของพอ5 เลา5 เรอ่ื งของพอเพียง รmอยเรียงคณุ ภาพ”
l ผ5านการประเมินเปsนสถานศึกษาแบบอย5างในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชm
ในสถานศึกษา จาก สพม.14
l ผา5 นการประเมนิ ระบบประกนั คณุ ภาพภายนอกจากสำนกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศึกษา (องคjการมหาชน) รอบ 3

พ.ศ.2554 – พ.ศ.2556 ผูDอำนวยการปรชี า หนนู อD ย

l ไดmรับคัดเลือกจากสำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานใหmเปsนโรงเรียน 1 ใน 62 โรงเรียนแรกของประเทศเขmาโครงการพัฒนาศักยภาพการ
บริหารสถานศึกษาสู5สากล (High Performing Schools) เปsนโรงเรียนแกนนำพัฒนาการศึกษา
มัธยมศกึ ษาจังหวดั ภเู ก็ต จาก สพม.14

13

พ.ศ.2556 l เปsนโรงเรียนประชาธิปไตยตัวอย5าง จากสำนักงานเสริมสรmางเอกลักษณjของชาติ สำนักงานปลัด
สำนกั นายกรัฐมนตรี
พ.ศ.2557 l โครงการประหยัดพลังงานไฟฟƒาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนสตรีภูเก็ต
พ.ศ.2558 ไดmรับการยกย5องเชิดชูเกียรติในฐานะเปsนผูmที่มีผลงานในการนำเสนอความรูmทางวิทยาศาสตรjและ
เทคโนโลยีเพอ่ื สรmางสรรคjประโยชนjต5อสังคม จาก วุฒิสภา
l รางวัลผลงานนวัตกรรมระดับเขตพื้นที่การศึกษา เรื่อง ศูนยjสืบคmนและเผยแพร5ขmอมูลบาบ¥าภูเก็ต
จาก สำนักงานเลขาธิการครุ สุ ภา
l รางวัลโรงเรียนที่ส5งเสริมและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย โครงการรักษjภาษาไทย จาก
สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ.

พ.ศ.2556 – พ.ศ.2557 ผDูอำนวยการอุเทน จติ ตส1 ำรวย

l โรงเรียนสตรีภูเก็ตไดmรับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการไดmรับรางวัลพระราชทานระดับ
มธั ยมศกึ ษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2556 คร้งั ท่ี 10และรับโลท5 องพระราชทาน ครั้งที่ 3
l รางวลั Best Practice Award การประกวดกจิ กรรมโครงการสราm งค5านยิ มใหม5 เยาวชนรว5 มใจ
ตาm นภยั ทจุ รติ จากคณะสงั คมศาสตรแj ละมนุษยศาสตรj มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล และสำนกั งาน
คณะกรรมการปอƒ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตในภาครฐั
l เปนs โรงเรยี นประชาธิปไตยตัวอยา5 งรักษาสภาพ จากสำนักงานเสรมิ สรmางเอกลกั ษณjของชาติ
สำนกั งานปลดั สำนักนายกรฐั มนตรี
l สถานศึกษาดีเด5น การฝ§กนกั ศึกษาวิชาทหาร จาก ศนู ยกj ารฝ§กนักศึกษาวชิ าทหาร มณฑล
ทหารบกที่ 41
l รางวลั โรงเรยี นประชาธปิ ไตยตวั อยา5 ง ประเภทรักษามาตรฐาน จาก สำนักงานเสรมิ สรmาง
เอกลักษณขj องชาติ สำนักงานปลดั สำนกั นายกรัฐมนตรี

พ.ศ.2557 – พ.ศ.2559 ผDอู ำนวยการโกศล ใสขาว

l รางวัล “โครงการรักษjภาษาไทย” เนื่องในวันภาษาไทยแห5งชาติ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสเฉลิมพระชนมายุครบ 5 รอบ จากสำนัก
วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
l สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานไดmประกาศรับรองคุณภาพ OBECQA โรงเรียนสตรี
ภเู กต็ ซึ่งมที งั้ หมด 62 โรงเรยี นท่วั ประเทศ

14

พ.ศ.2560 พ.ศ.2559
พ.ศ.2561 l ไดmรับปƒายโรงเรียนสุจริตและผลงานวิจัยโรงเรียนตmนแบบโครงการโรงเรียนสุจริต จาก สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
l รับโล5รางวัลคุณภาพแห5งสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน OBECQA ป† 2558จาก
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
l รับโล5สถานศึกษาดีเด5น การฝ§กนักศึกษาวิชาทหาร จาก ศูนยjการฝ§กนักศึกษาวิชาทหาร มณฑล
ทหารบกที่ 41

พ.ศ.2559 – พ.ศ.2562 ผอDู ำนวยการเสถยี ร พลเยี่ยม

l โรงเรียนสตรีภูเก็ตไดmรับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการไดmรับรางวัลพระราชทาน ระดับ
มัธยมศกึ ษา ขนาดใหญ5 ประจำปพ† .ศ.2560 คร้ังที่ 11
l รางวัลโรงเรียนที่มีผลการปฏิบัติที่เปsนเลิศระดับประเทศ ดmานพัฒนาการเรียนรูmตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงจาก ศูนยjสถานศึกษาพอเพยี ง มลู นิธยิ วุ สถิรคณุ
l รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 “โรงเรียนที่มีระบบดูแลช5วยเหลือดีเด5น ประจำป† 2560” ระดับเขต
พนื้ ที่การศึกษา จัดโดย สพม.14
l รางวัลชมเชย สายสามัญศึกษา การประกวดธนาคารโรงเรียน กิจกรรมส5งเสริมการออม ประจำป†
2560 จดั โดย ธนาคารออมสิน
l รางวัล OBEC AWARD ชนะเลิศ ระดับภาคใตm ดmานการบริหารจัดการ โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาด
ใหญ5 และรางวัล OBEC AWARD รองชนะเลิศระดับเหรียญทอง ดmานการบริหารจัดการ โรงเรียน
มัธยมศึกษาขนาดใหญ5 จาก สพฐ.
l โล5เกียรติคุณโรงเรียนแบบอย5างดmานการพัฒนาและส5งเสริมคุณธรรม จริยธรรมใหmนักเรียน เปsนผูm
มีจิตสาธารณะร5วมแบ5งปoนช5วยเหลือเด็กในครอบครัวยากไรm ฝ•ายโครงการ “The Heart of
Giving” โดย มลู นธิ ิศุภนิมติ แห5งประเทศไทย
l รบั โลป5 ระกาศเกียรติคณุ สถานศึกษาทีส่ 5งเสริมการยกระดบั ผลสัมฤทธิข์ องนักเรียน จดั โดย
โครงการประเมนิ และพัฒนาสู5ความเปsนเลศิ ทางคณติ ศาสตรแj ละวิทยาศาสตรj (TEDET)
l รับเกยี รตบิ ตั รสถานศกึ ษาท่มี รี ะบบและกลไกการบรหิ ารจดั การคณุ ภาพและมาตรฐานการศกึ ษา
เพ่ือการประกันคณุ ภาพ ระดับดีเดน5 ประเภทสถานศึกษา ขนาดใหญพ5 เิ ศษ ระดับเขตพ้นื ท่ี
การศึกษา ประจำป† 2561
l รบั เกยี รติบตั รเขาm รว5 มนำเสนอนทิ รรศการผลงานการบรหิ ารจัดการดวm ยระบบคณุ ภาพของ
โรงเรียนมาตรฐานสากล (Intensive School) งานนทิ รรศการและเวทีศกั ยภาพโรงเรยี น
มาตรฐานสากล ระดับชาติ ป†การศกึ ษา 2561 ภาคใตm (World – Class Standard School Symposium)

15

พ.ศ.2562 l รับรางวลั MOE AWARD ปก† ารศึกษา 2559 ผลงานระดับดีเดน5 ประเภทสถานศึกษา สาขาหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง กระทรวงศึกษาธกิ าร
พ.ศ.2562 l โลร5 างวลั ชมเชยการคดั เลอื กการดำเนินงานทสี่ 5งเสรมิ คุณภาพและมาตรฐานการศกึ ษาประสบ
พ.ศ.2563 ผลสำเร็จดาm นการสง5 เสรมิ นสิ ยั รักการอ5านและพฒั นาหอm งสมดุ ประจำป† พ.ศ.2561 จดั โดย สพฐ.
l รับรางวัล IQA AWARD ปก† ารศกึ ษา 2561 ผลงานดีเด5น ระดบั เขตพื้นที่การศกึ ษา ประเภท
สถานศึกษา ขนาดใหญ5พเิ ศษ สพฐ.
l รางวัลทรงคณุ คา5 สพฐ. OBEC AWARDS ระดับภาคใตm ชนะเลิศเหรียญทองและระดับชาติ รอง
ชนะเลศิ ระดบั เหรียญทอง สถานศึกษายอดเยย่ี มประเภทมธั ยมศกึ ษาขนาดใหญ5 ดาm นบรหิ าร
จดั การ จดั โดยสำนกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
l โรงเรียนสตรภี เู ก็ตไดmรับประกาศเกียรตคิ ณุ ในการประชมุ ใหญ5สามญั ประจำป† 2561 ของสมาคม
กรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานแหง5 ประเทศไทย ณ โรงแรมไดมอนดพj ลาซา5 จังหวดั สรุ าษฎรj
ธานี เมอื่ วนั เสารjท่ี 27 เมษายน 2562
l รับมอบสารตราตั้งการจดั ตง้ั ศนู ยjเพือ่ การสบื สานศาสตรjพระราชาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง เปsนศนู ยjครอบครัวพอเพยี ง ลำดบั ท่ี 112 จากมูลนธิ ิครอบครวั พอเพยี ง

พ.ศ.2562 – ปMจจุบัน ผDูอำนวยการปญM ญา หัตถิ

l รับโลป5 ระกาศเกยี รติคุณสถานศกึ ษาทส่ี ง5 เสริมการยกระดบั ผลสัมฤทธิข์ องนกั เรียน และร5วม
อบรมสอ่ื การเรยี นการสอน จัดโดย โครงการประเมนิ และพัฒนาสู5ความเปsนเลศิ ทางคณิตศาสตรj
และวทิ ยาศาสตรj (TEDET)
l รางวลั ทรงคุณคา5 สพฐ. OBEC AWARDS ภาคใตm ชนะเลศิ เหรียญทอง และระดบั ประเทศ
รางวัลเหรยี ญทอง ผูอm ำนวยการสถานศกึ ษายอดเยย่ี มระดับมธั ยมศึกษาขนาดใหญด5 าm นบรหิ าร
จดั การ
l นายสรายทุ ธ มัลลัม ประธานกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานโรงเรียนสตรภี เู ก็ต ไดรm ับพจิ ารณา
คดั เลือกเปนs “ประธานกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานดีเด5น” และผูmอำนวยการปoญญา หัตถิ
ไดรm บั พิจารณาคัดเลอื กเปนs “กรรมการและเลขานุการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ดีเด5น” ประจำป†
2562 จากสมาคมกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานแหง5 ประเทศไทย
l รบั โล5รางวัล ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (O-NET) เฉลยี่ รวมสูงกว5าระดบั ประเทศ ชนั้ มัธยมศึกษาปท† ี่
3 และช้นั มธั ยมศึกษาป†ที่ 6 ปก† ารศึกษา 2561 และการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (O-
NET) บรรลเุ ปาƒ หมายรอm ยละ 5 กลมุ5 สาระการเรยี นรภmู าษาไทย ระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ชั้น
มธั ยมศึกษาป†ที่ 3 ปก† ารศกึ ษา 2561 จดั โดย สพม.14

16

พ.ศ.2564 l รับโลก5 ารยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน O –NET บรรลเุ ปาƒ หมาย รmอยละ 5 กลุ5มสาระการ
เรียนรูmภาษาไทย ระดับเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ชนั้ มธั ยมศึกษาป†ท่ี 3 ปก† ารศกึ ษา 2561 จัดโดย สพม.
14
l รบั เกียรตบิ ตั รสถานศกึ ษาส5งเสรมิ โครงการคดั เลือกเยาวชนตนm แบบดาm นดนตรีไทย สงั กดั
กระทรวงวฒั นธรรม
l รับโลเ5 กียรตคิ ุณโรงเรยี นแบบอยา5 งดmานการพฒั นาและสง5 เสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม ใหmนกั เรยี น
เปนs ผมูm ีจิตสาธารณะร5วมแบง5 ปoนชว5 ยเหลือเด็ก ในครอบครัวยากไรm ฝา• ยโครงการ “The Heart of
Giving” โดยมลู นิธศิ ุภมิตรแหง5 ประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็
l รับเกยี รตบิ ตั ร โรงเรียนสตรีภเู ก็ตรว5 มเช่ือมโยงการจัดการศึกษาข้นั พน้ื ฐานกับอาชีวศกึ ษา การ
จดั การอาชีวศึกษายกกำลังสอง ปก† ารศึกษา 2563 โดยสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
l รบั โลป5 ระกาศเกียรตคิ ณุ สถานศึกษาทส่ี 5งเสริมการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ของนกั เรยี นใน โครงการ
ประเมินและพฒั นาสูค5 วามเปsนเลศิ ทางคณิตศาสตรแj ละวิทยาศาสตรj (TEDET)
l รบั เกยี รติบตั รเปนs เครอื ขา5 ยอำเภอ TO BE NUMBER ONE อำเภอเมืองภูเกต็ โครงการรณรงคj
ปƒองกนั และแกไm ขปoญหายาเสพตดิ โดยอำเภอเมอื งภูเกต็ จังหวดั ภเู ก็ต
l รบั รางวัลเกยี รติบตั รระดบั เงนิ อันดบั 1 ระบบการดูแลช5วยเหลือนกั เรียน สถานศกึ ษาขนาดใหญ5
ประจำป†การศกึ ษา 2564 ระดบั สำนักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาพงั งา ภเู กต็ ระนอง
l รางวลั ทรงคุณค5า สพฐ. OBEC AWARDS ภาคใตm ชนะเลิศเหรียญทอง สถานศกึ ษายอดเยย่ี ม
ประเภทมัธยมศกึ ษาขนาดใหญ5 ดmานวชิ าการ จัดโดย สพฐ.
l รบั โล5เกยี รตคิ ุณโรงเรยี นแบบอย5างดmานการพัฒนาและสง5 เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ใหนm ักเรยี น
เปsนผมmู ีจิตสาธารณะรว5 มแบง5 ปนo ชว5 ยเหลือเด็ก ในครอบครัวยากไรm ฝ•ายโครงการ “The Heart of
Giving” โดยมูลนธิ ิศุภมติ รแหง5 ประเทศไทยจังหวดั ภูเก็ต
l นายปoญญา หตั ถิ ผmูอำนวยการโรงเรียนสตรีภูเกต็ ไดรm ับการคดั เลือกผลงาน “รปู แบบการนเิ ทศ
ออนไลนj การจัดการเรยี นการสอนโรงเรียนสตรภี เู ก็ต” ระดับคุณภาพ ยอดเย่ียม วธิ ปี ฏบิ ตั ิ
ที่เปsนเลศิ (Best Practice) ทีส่ ามารถยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามธั ยมศึกษาพงั งา ภเู กต็ ระนอง
l โรงเรยี นสตรภี เู กต็ ผา5 นการประเมนิ สถานศกึ ษาเพ่อื รับรางวัลพระราชทานระดบั การศึกษาขั้น
พนื้ ฐาน ประจำปก† ารศึกษา 2564 ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประเภทสถานศึกษาขนาดใหญ5

17

ผ#บู ริหารโรงเรยี นสตรภี เู ก็ต
อดีต – ปจ9 จบุ นั

ปทm ่ีดำรงตำแหนง@ ผDูบริหาร ตำแหน@ง

2452 – 2455 นายคmอ ฤกษjถลาง ครใู หญ5
ครใู หญ5
2456 – 2459 นายโส สรุ ตั ครใู หญ5
2460 – 2465 นางพนิ จิ ธนากร (ทรัพยj ยุกตะนนั ท)j ครูใหญ5
2465 – 2466 นางเรอื นแกวm สนุ นั ทโกษา ครใู หญ5
ครใู หญ5
2467 – 2471 นายนว้ั (นวิ ัตร) เกษตรกิ ะ ครใู หญ5
2468 – 2471 นางบริหารสิกขกิจ (จินดา สนิ ธวานนท)j ครใู หญ5
ครูใหญ5
2472 – 2474 นางสาวภเู ก็ต ณ นคร (นางอาจอนามยั ) ครูใหญ5
2475 – 2476 นายนั้ว (นวิ ตั ร) เกษตริกะ ผูmอำนวยการ
ผอmู ำนวยการ
2477 – 2480 นางสาวอนงคj สคุ นธรส ผmอู ำนวยการ
2480 – 2487 นางสาวประดบั ณ ถลาง (นางนงรตั นj บญุ ยกจิ ) ผูmอำนวยการ
2487 – 2521 นางเย็นจติ ณ ตะกว่ั ท5งุ ผอmู ำนวยการ
ผอmู ำนวยการ
2521 – 2530 นางสว5าง ปานมั่น ผูmอำนวยการ
2530 – 2535 นางสาวสภุ างคj เขยี วหวาน ผmูอำนวยการ
ผอmู ำนวยการ
2535 – 2540 นางสาวสุรางคj บญุ ฮก ผอmู ำนวยการ
2540 – 2545 นางสาวรานี วิสตู รธนาวิทยj ผอmู ำนวยการ
2545 – 2547 นางสาวผ5องศรี เรืองดิษฐj ผูmอำนวยการ

2547 – 2554 นายเกียรตศิ กั ด์ิ ป•ลวาสนj
2554 – 2556 นายปรชี า หนูนอm ย

2556 – 2557 นายอุเทน จิตตสj ำรวย
2557 – 2559 นายโกศล ใสขาว

2559 – 2562 นายเสถยี ร พลเยีย่ ม
2562 – ปจo จุบัน นายปญo ญา หัตถิ

18

â¤Ã§ÊÃÒé §¡ÒúÃÔËÒÃâçàÃÕ¹

โครงสรXางการบรหิ ารโรงเรยี น

โรงเรียนสตรีภูเก็ตจัดโครงสรmางสายงานการบริหารออกเปsน 4 กลุ5ม คือ กลุ5มบริหารวิชาการ, กลุ5มบริหารงาน
บุคคล, กลุ5มบริหารงบประมาณ และกลุ5มบริหารทั่วไป จัดการศึกษาตามกรอบนโยบายของสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการปฏิรูปการเรียนรูmการประกันคุณภาพการศึกษาและการบริหาร
โรงเรียนโดยใชmโรเงรียนเปsนฐาน (SBM) และการบริหารจัดการประกันคุณภาพมาตรฐานสากล โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และความร5วมมือของสมาคมผูmปกครองและครูโรงเรียนสตรีภูเก็ต สมาคมศิษยjเก5า
สตรีภเู ก็ต รวมทง้ั หน5วยงานทง้ั ภาครบั และภาคเอกชนในทmองถิ่น

คณะองค&กรพฒั นาการศกึ ษาโรงเรยี นสตรีภเู กต็

นายสรายุทธ มลั ลมั
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานโรงเรยี นสตรภี เู ก็ต

นายกติ ตวิ งค+ จนั ทรส+ ทั ธรรม นายชยั พทิ ักษ+ องึ๋ สนิ คา9 ตระกูล นางสมใจ คงคณุ ากร
นายกสมาคมศษิ ย+เกาC สตรภี เู ก็ต
นายกสมาคมผป9ู กครองและครู ประธานมลู นธิ ิชวC ยเหลือนักเรียนขาดแคลน
โรงเรียนสตรีภูเก็ต โรงเรียนสตรภี ูเกต็

¤³Ð¼ÙéºÃÔËÒÃáÅФÃÙ 19

คณะผบ<ู รหิ ารโรงเรียนสตรีภเู กต็

นายปMญญา หตั ถิ
ผDูอำนวยการโรงเรยี นสตรีภเู ก็ต

นางสาวพีรปภา เลิศสกุล นายสันติ วงค6ไชยา นางสาวสุกญั ญา น่ิมมโน นางสาวร=งุ นภา เลอ่ื มใส
รองผอCู ำนวยการ รองผCูอำนวยการ รองผCูอำนวยการ รองผอCู ำนวยการ
กลุม= บรหิ ารท่ัวไป กล=มุ บริหารวิชาการ
กล=ุมบรหิ ารกิจการนกั เรียน กล=มุ บรหิ ารงานบุคคลและงบประมาณ

¤³Ð¼ºÙé ÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 20

งานแนะแนว

นางสาวปรรนภคั ใจสุภาพ นางสาวอำภา รอดเกล้ียง นางณัฐกลุ ก่งิ แกว> นางสาวพฒั ณ@ณรี สงเทพ

กลุ*มสาระการเรยี นรภ2ู าษาไทย

นายลขิ ิต หลา> แหลEง นางสาวณรี นชุ รักษาราษฎร@ นางสาวปIทมน กอตระกูลสิน นางสาวนสิ านาถ สงรักษ@

นางสาวรัตนา ประหยัดทรพั ย@ นางสจุ นิ ต@ แผลงเดชา นางสาวเยน็ ใจ ทองภญิ โญชยั นายสนั ติราษฎร@ ศรีหะรญั

.

นางสาวกาญจนา ทองตะโก นางสาวอุษา ศรีสวสั ด์ิ นางกลุ วรา จิมาร

นางสาวสโรชา หยีสอดี นายเจรญิ ศักด์ิ ทองสกลุ

¤³Ð¼ºÙé ÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 21

กลุม* สาระการเรียนรวู2 ิทยาศาสตรแ: ละเทคโนโลยี

นางสาวนิสา พันละภะ นางสุจิตรา ชลธาร นางสาวอลสิ า มุสกิ รกั ษ@ นางขนษิ ฐา โถวรงEุ เรือง

นางสาวญาดานันท@ เกตแุ กว> นายเทียนชยั ทองวล นางสาววนิดา ลำพล นางสาวปราณี อนิ สุทน

นางสาวพรศรี ณ นคร นางสาวจฑุ ามาศ รวE มจิตร นางวลัยลักษณ@ หนสู วสั ดิ์ น.ส.ระวีวรรณ เตชะรัตนมณี

นางสาวณฐกมล นธิ วิ ฒั นโ@ รจนกลุ นางสาวขนิษฐา โตทวี นายอภิวฒั น@ หิรัญ นายเฉลิมวุฒิ สพุ ัฒธี

นายชาตรี ไทยดำ นางสาวเบญจพร จันทร@เพญ็ นางสาวกัญน@ณนฏั ตล@ โสะพันธ@ นายตรสี วสั ด์ิ รกั หาบ

¤³Ð¼ÙéºÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 22

กลุ*มสาระการเรยี นร2วู ทิ ยาศาสตรแ: ละเทคโนโลยี (ต*อ)

นางธนัญญา ศิริวฒั น@ นายณรงค@ศกั ดิ์ ขนุ นะ นางแก>วตา ชกู ลิน่ นางสาววาสนา กุณฑลเบญ็ จะ

นายทวิชชยั พนังนุวงศ@ นางจไุ รรตั น@ เครือสุวรรณ@ นางสาวนุชนาฏ จารุรัตนวบิ ลู ย@

กลุ*มสาระการเรียนรสู2 ุขศกึ ษาและพลศึกษา

นางจรัสศรี มณีรวม นางสาวอมั พริ า ศรีวรรณ นางสาวปาริชาติ ประทมุ รัตน@ นายสนั ตสิ ขุ ท่งั กลาง

นายกายสทิ ธิ์ วสิ ทุ ธิไมตรี นางสาวลภสั กร พลกลุ

¤³Ð¼Ùºé ÃÔËÒÃáÅФÃÙ 23

กลมุ* สาระการเรียนรค2ู ณิตศาสตร:

นางอุรัยนา นิลสมทุ ร นางสาวมณั ฑนา มซู อ นายยวดยิง่ ด>วงสุข นายวิชาญ โสมณวฒั น@

นางสาวพรรณทภิ า ทองนวล นายวิทวสั พาหล นางปย\ ะลักษณ@ พรผล นางสาววชิ ญาดา ดอกกะฐนิ

นางสาวเณรศิ า พรหมวลิ ยั นายนันทพล แซหE ลมิ นางจรัสศรี โต]ะเตะ] นางสาววรรณพร ชEวยสุด

นางสาวสธุ าสนิ ี ศริ วิ ัฒน@ นางสาวหน่งึ ฤทยั ชยั ศริ ิ นายเอกพจน@ เทศพันธ@ุ นางสาวเนตรนภา จับปรั่ง
นางสาวศิวตั มกิ า บญุ ชวู งค@ นางสาวภมุ ริน ทสั นะเมธี นางพรรณทพิ า ชงั อินทร@ นางสาวกฤษยา เผือกแดง นางสาวจันทร@จิรา พานชิ ย@

¤³Ð¼éºÙ ÃÔËÒÃáÅФÃÙ 24

วิชานาฏศลิ ปq กลุ*มสาระการเรยี นรู2ศิลปะ

นางสาวจินตนา มังคะลา นางเบญจมาภรณ@ พุมE ไสว นางสาวสกุ ญั ญา ผวิ ขำ นางสาววรรณศิ า ดำนEุน
วชิ าทศั นศลิ ปq

นางราณี วันดาว นายตนั ติกร เพ็ชรอEอน
วิชาดนตรี

นายสมปอง พรหมทอง นายสญั ญา สัจจากลุ นางสาวอิสรยี @ ศรงี าม นางณรศิ า เกตุแกว>

¤³Ð¼ºéÙ ÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 25

กล*ุมสาระการเรยี นรูส2 ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม

นางนนั ทา แพEงประสิทธิ์ นางสาวกนกวรรณ พบสถาน นางพรรณี ยางทอง นางขวัญตา คชรนิ ทร@
นางทิพย@วรรณ ลีลาอรยิ ะ นายวชั รศิ ร@ ปญI ญาพฒุ นิ ันท@ นางสาวพสิ มยั โอยสวสั ด์ิ นางชญาณี มณีพงษ@

นายเดนE นวลปาน นายวทิ ยา พรหมแกว> นางสาวเสาวรส สวยสนุ
นางสาวนำ้ ฝน โพธ์สิ งิ ห@ นางสาวจีรณา พมิ านพรหม

¤³Ð¼Ùºé ÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 26

ภาษาองั กฤษ กลุม* สาระการเรียนรูภ2 าษาต*างประเทศ

นายอำนวย ปุพเพตะนันท@ นางสาวทพิ ยธ5 ิดา จงประสานเกียรติ นายรัชพล มาลาศลิ ปa นางภคั พิชา สทุ นิ นะ

นางพรทพิ ย@ มนิ ทราเวช นางสาวรตั ติยา พูลผล นางจไุ รรัตน@ ลยุ จันทร@ นางสาวสพุ ัตรา อยทูE องอEอน

นายอลิ มี มะกูวงิ นางสาวณัฐนิชา ลิ่มวงศเ@ สรี นางสาวธารารัตน@ คงปลอด นางสาวดารกิ า เย็นใจ

นางสาวอทษิ า จารพุ ันธ@ นางสาวเบญจภรณ@ หยตEู ง>ุ

Mr. Enow Taku Ayuk Mr. Roderick Glase
Mr. Eoin Cahill Ms. Jucyl Surdao
Mr. Thomas David Muller Ms. Kimberly C Quince
Mr. Oladapo Brown

¤³Ð¼ºÙé ÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 27

ภาษาฝร่ังเศส ภาษาเยอรมนั

นางสาวสุภลคั น@ พลู สวสั ดิ์ นางสาวนนั ทยิ า กล>าหาญ นางสาวมาลยั ฮกู ซาม นางสาวปย\ วรรณ ทองจนั ทร@
ภาษาญ่ปี ุ7น

นางสาวนิตยา ดวงมณี นางนชิ าภา วงคว@ ิ่ง Ms. Yuka Sugiyama
ภาษาจีน

นางสาวชนกภทั ร@ อังอัจฉะรยิ ะ นางอรวรรณ สังขะไชย นางสาวพมิ ภา ชูชุม

นางสาวกรรณกิ า คงทอง นางสาวณิชกานต@ ฉันทธำรงศิริ
Mr. Wang Hui

¤³Ð¼Ùºé ÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 28

โครงการหลักสูตรนานาชาติ IP & IPC

ผศ.ดร.ดรณุ ี บุญยอุดมศาสตร@ นายภูวิศ พลรงค@ นางทศั สิรี ฉายขจร นางสาวจรุ ีพรรณ พลู ศรี

นายกานท@ เรอื งพมิ าน นายวรวฒุ ิ สรี ะยา นางสาวมิลฟะห@ แวะสะมะ นางสาววารุณี แสงสีจันทร@

นางสาวอภสิ รา สงิ ห@หะ นางสาวศิราณี แกว> ต้ัง นางสาวศุภางค@ เอยี่ งผดงุ นางสาวทิพยส@ ุคนธ@ มาทอง

นางสาวภทั ราพร จนั สดุ นางอาภรณ@ ทรงคณุ นางสาวสกุ านดา ประชา นางสาวกัลยส@ ดุ า ศรีดี

นางสาวกญั ญารตั น@ ภูมิภถู าวร นายณัฐนนท@ เขยี นเอ่ยี ม

¤³Ð¼Ùºé ÃÔËÒÃáÅФÃÙ 29

Mr. David Mark Notter ครชู าวต5างประเทศโครงการ IP
Miss. Mary Grace Liwanag
Miss. Kristyn Jane Dichoso Anabo Miss. Irish Porte Verzo

Miss. Vladislava Novisova Mr. Bryan Tahil
Mr. Jenrique Refazo Saliendra Mrs. Romaville Martin
Miss. Mary Rose Sennido Mr. Gauttier II T. Concepcion

Mr. Pierre De Klerk Miss. Mansi Anand
Mr. Sir Dan Odi Gutierrez Mr. Noorhalim Sheng Cai Bin Khamzah

ครชู าวตา5 งประเทศโครงการ IPC
Miss. Bethany Juanita Young Mr. Stephen Mark D’Cruze

Mr. Jeffrey Ephrim Villegas Miss. April Gravette Rovin Miralles
Mr. Peter Gathorne Nicholson Mr. Hassan Faisal Hamood
Mr. Eric Madison Norcross Mr. Luisito Jr Marcial

กล*ุมสาระการเรียนร2กู ารงานอาชพี และเทคโนโลยี

นายจารวุ ฒั น@ จนั ทรเ@ ส>ง นางสาวดวงรัตน@ เจษฎาพพิ ัฒน@ นางณชิ าภา ไพนุจติ รj นางสาววราภรณj ผลเกดิ

พนกั งานราชการ

นายรชั ภมู ิ โถวร5ุงเรือง

¤³Ð¼ÙéºÃËÔ ÒÃáÅФÃÙ 30

บคุ ลากรประจำสำนกั งาน

1. นางสาวธญั กช พัฒนดกี ุล หอm งกจิ การนักเรยี น
2. นายณรงคศj ลิ ป• ขนุ นะ หอm งกิจการนักเรยี น
3. นางสาวกฤติกา ณะวงศj หอm งกิจกรรมพัฒนาผเูm รยี น
หmองวชิ าการ
4. นางสาวอทยั รตั นj สังขงj าม งานสารบรรณ
5. นางสาวณฐั ชยา อารมยjเพียร หmองการเงนิ
6. นางสาววภิ ารตั นj สปุ นo ตี หmองการเงนิ
หmองการเงิน
7. นางสาวอลยิ า เรอื งฤทธ์ิ หอm งประชาสัมพันธj
8. นางสาวพลอยไพลนิ กองพลสวัสด์ิ หmองเอกสาร-การพมิ พj
9. นางสาวเมธาวี ณ ถลาง หอm งเอกสาร-การพมิ พj
หmองนโยบายและแผน
10. นายวนิ ยั เกวียนยนตj หอm งพสั ดุ
11. นายวสนั ตj เกวยี นยนตj หmองพสั ดุ
12. นางสาวสายใจ สำโรง หอm งพยาบาล
หอm งทะเบียน
13. นางสาวสภุ มาส สรรพมังคลากร งานบคุ คล
14. นางสาววรญั ญา สุขล้มิ หmองคอมพิวเตอรj
15. นางสาวขวัญฤทยั ศิริเพชร

16. นายชเู จริญ นิติสารกลุ
17. นางสาวปรีดาภรณj บุญสม
18. นายวิชญj แสวงวทิ ยj

31

32

33

กลมุ% บริหารวิชาการ

หน#าทีข่ องกลุ.มบรหิ ารวิชาการ

กลุ%มบริหารวิชาการ มีหน0าที่สำคัญ 3 ประการ คือ จัดการเรียนการสอน จัดการวัดประเมินผล และจัดกิจกรรม
ส%งเสริมการเรียนการสอน ซึ่งถือว%าเปGนงานหลักของโรงเรียน จึงต0องมีการจัดแบ%งการทำงานออกเปGนงานย%อย ๆ ตาม
โครงสรา0 งการบริหาร เพ่อื ใหง0 านในหน0าทขี่ องกล%มุ บรหิ ารวชิ าการเปGนไปอยา% งมีประสิทธิภาพ

การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ปTการศึกษา 2565 โรงเรียนได0มีการกำหนดวิสัยทัศนX เปYาหมาย พันธกิจของ
โรงเรียนให0มีความสอดคล0องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห%งชาติ ฉบับที่ 12 เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพคนตาม
ช%วงวัย พัฒนาการเรียนรู0อย%างมีคุณภาพ มีทักษะการคิดวิเคราะหXอย%างเปGนระบบ มีความคิดสร0างสรรคX เพื่อให0ผู0เรียนมี
ทักษะแห%งศตวรรษที่ 21

แผนการเรียนทีจ่ ดั ให#เรยี น
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน#

1. ห0องเรียนปกติในระดับชั้นมัธยมศึกษาปTที่ 1 จัดให0เรียนเหมือนกันทุกห0องเพื่อสำรวจความถนัด
และความสนใจ จากนั้นใช0ผลการเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปTที่ 1 ทั้งสองภาคเรียน จัดแบ%งนักเรียนใน
ชั้นมัธยมศึกษาปTที่ 2 ตามความถนัดและความสนใจ ให0เรียนในแผนการเรียนวิทยาศาสตรX – คณิตศาสตรX, แผนการเรียน
วิทยาศาสตรX – คณิตศาสตรX – คอมพิวเตอรX ,แผนการเรียนภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตรX – ภาษาจีน, และแผนการเรียน
ภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตรX – ภาษาเลือก

2. หอ0 งเรียนพเิ ศษ
2.1 โครงการหอ0 งเรยี นพิเศษวิทยาศาสตรX คณติ ศาสตรX เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอ0 ม (SMTE)
2.2 โครงการนานาชาติ (IP และ IPC)
- เปnดสอนหลกั สูตรนานาชาติ International Program
- เปnดสอนหลักสตู ร Cambridge

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จัดเปGนแผนการเรยี น ดังน้ี

1. โครงการหอ0 งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตรX คณิตศาสตรX เทคโนโลยี และส่งิ แวดล0อม (SMTE)
2. แผนการเรียนวทิ ยาศาสตรX – คณติ ศาสตรX
3. แผนการเรียนภาษาอังกฤษ – คณิตศาสตรX
4. แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ – ภาษาฝรง่ั เศส
5. แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ – ภาษาเยอรมัน
6. แผนการเรยี นภาษาอังกฤษ – ภาษาจนี
7. แผนการเรยี นภาษาองั กฤษ – ภาษาญีป่ นุ~
8. โครงการนานาชาติ (IP และ IPC)

- เปnดสอนหลกั สูตรนานาชาติ International Program
- เปnดสอนหลักสตู ร Cambridge

34

หนา# ท่ีของกล.ุมบรหิ ารวิชาการ

1. นักเรียนมีความรู0 ความสามารถ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานฯ และโรงเรียนมาตรฐานสากล
ได0แก%

1.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และค%านิยมที่พึงประสงคX เห็นคุณค%าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถือ ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1.2 มีความรู0อันเปGนสากล และมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก0ปƒญหา การใช0เทคโนโลยี
และมีทกั ษะชวี ติ

1.3 มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสขุ นิสยั และการออกกำลังกาย
1.4 มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเปGนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครอง
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริยXทรงเปGนประมุข
1.5 มีจิตสำนึกในการอนุรักษXวัฒนธรรมและภูมิปƒญญาไทย สื่อสารความเปGนภูเก็ต การอนุรักษXและ
พัฒนาส่งิ แวดลอ0 ม มีจิตสาธารณะทม่ี ุ%งทำประโยชนXและสรา0 งสง่ิ ท่ดี ีงามในสงั คม และอย%ูร%วมกันในสังคมอยา% งมีความสุข
2. สมรรถนะสำคัญของผ0ูเรียน
2.1 ความสามารถในการส่อื สาร
2.2 ความสามารถในการคดิ
2.3 ความสามารถในการแกป0 ƒญหา
2.4 ความสามารถในการใชท0 กั ษะชีวิต
2.5 ความสามารถในการใชเ0 ทคโนโลยี
3. นกั เรยี นมคี ณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงคX ดังน้ี
3.1 รกั ชาติ ศาสนX กษัตริยX
3.2 ซอ่ื สัตยX สุจริต
3.3 มวี นิ ยั
3.4 ใฝ~เรียนร0ู
3.5 อยู%อยา% งพอเพยี ง
3.6 มุง% ม่ันในการทำงาน
3.7 รักความเปGนไทย
3.8 มีจติ สาธารณะ
4. นักเรยี นมีความรแู0 ละส่อื สารความเปนG ภูเกต็ ได0

35

การจดั การเรยี นการสอนสาระมาตรฐานสากล

โรงเรียนไดจ0 ัดรายวชิ าทสี่ อดคลอ0 งกบั โรงเรียนมาตรฐานสากลไว0ให0นกั เรียนในแผนการเรียนต%าง ๆ เพม่ิ เติม ดังน้ี
1. การศกึ ษาค0นคว0าและสร0างองคคX วามร0ู (Research and Knowledge Formation) IS1
2. การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) IS2
3. การนำองคคX วามร0ไู ปใชบ0 ริการสงั คม (Social Service Activity) IS3
4. ภาษาอังกฤษ จัดให0นักเรียนทุกห0องได0เรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารกับเจ0าของภาษา เพื่อเตรียมนักเรียน
ใหพ0 รอ0 มเขา0 สูป% ระชาคมอาเซยี น
5. ภาษาต%างประเทศที่ 2 จัดให0นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต0นและตอนปลาย ได0เรียนภาษาต%างประเทศที่ 2
เพม่ิ เติม ได0แก% ภาษาจนี ภาษาญี่ปุ~น ภาษาพม%า ภาษารสั เซยี ภาษาเยอรมนั ภาษาฝรง่ั เศส และภาษาเกาหลี
6. นกั เรยี นจะตอ0 งได0ผลการเรยี น IS1 – IS3 “ผ%าน” จงึ จะจบหลักสูตร

แนวทางการจัดการเรยี นการสอน

1. จัดสื่ออุปกรณXทุกห0องให0มีความพร0อมสำหรับครูเพื่อใช0ในการสอน ส%งเสริมให0ครูใช0แหล%งเรียนร0ู
ในท0องถิ่นและแหล%งการเรียนรู0ในโรงเรียน เช%น ห0องหลวงพ%อวัดฉลอง ห0องสมุดเฉลิมพระเกียรติ ห0องคอมพิวเตอรX ศูนยX
พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเปGนเลิศ (HCEC) ศูนยXสืบค0นและเผยแพร%ข0อมูลบาบ’าภูเก็ต ห0องวิถีแห%งปราชญX ห0อง
ศกั ด์ศิ รีสตรีภเู กต็

2. ใชว0 ธิ กี ารวดั และประเมนิ ผลตามสภาพจริงใหส0 อดคลอ0 งกับธรรมชาติของวิชา
3. ส%งเสริมให0ครจู ัดการเรียนรู0เชิงรุกโดยใช0บันได 5 ขั้น (CO 5 Steps) ให0สอดคล0องกับแนวทางการจัดการเรียน
ในโรงเรยี นมาตรฐานสากล ไดแ0 ก%

3.1 การตั้งประเด็นคำถาม / สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) เปGนการฝ—กให0ผู0เรียนรู0จักคิด
สังเกต ตั้งข0อสงสัย ตง้ั คำถามอย%างมเี หตผุ ล

3.2 การสืบค0นความรู0จากแหล%งเรียนรู0และสารสนเทศ (Searching for Information) เปGนการฝ—ก
แสวงหาความรู0 ข0อมูล และสารสนเทศ จากแหล%งเรียนรู0อย%างหลากหลาย เช%น ห0องสมุด อินเตอรXเน็ต หรือจากการฝ—ก
ปฏบิ ตั ิทดลอง เปGนต0น

3.3 การสรุปองคXความรู0 (Knowledge Formation) เปGนการฝ—กให0นำความรู0และสารสนเทศ หรือ
ข0อมลู ทีไ่ ดจ0 ากการอภปิ ราย การทดลอง มาคิดวเิ คราะหX สงั เคราะหX และสรุปเปGนองคคX วามร0ู

3 . 4 ก า ร ส ื ่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น ำ เ ส น อ อ ย % า ง ม ี ป ร ะ ส ิ ท ธ ิ ภ า พ (Effective Communication)
เปนG การฝ—กใหค0 วามรทู0 ไี่ ด0มานำเสนอและสอ่ื สารอยา% งมีประสทิ ธภิ าพให0เกิดความเข0าใจ

3.5 การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) เปGนการนำความรู0สู%การปฏิบัติ
ซึ่งผู0เรียนจะต0องมีความรู0ในบริบทรอบตัวและบริบทโลกตามวุฒิภาวะที่เหมาะสม โดยจะนำองคXความรู0ไปใช0ให0เกิด
ประโยชนอX ยา% งสร0างสรรคX

36

ขอ# ควรระวงั ในสว. นของการเรียน

1. นกั เรยี นจะตอ0 งมเี วลาเรยี นครบ 80 % ของเวลาเรยี นทง้ั หมดตามหลกั สตู ร
2. ตัง้ ใจเรียนใหส0 มำ่ เสมอ ทำงาน หรือภาระงานให0ครบถ0วนตามทีค่ ุณครูไดม0 อบหมาย
3. ปฏิบัติตนให0ได0ตามคุณลักษณะอันพึงประสงคX เพราะเปGนส%วนที่ทำให0นักเรียนเปGนมนุษยX
โดยสมบูรณX และครูทุกวิชามีหน0าที่ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคXทุกข0อ นักเรียนจะต0องได0รับผล
การประเมินผ%านเกณฑทX ุกข0อจึงจะจบหลกั สูตร
4. การสอบทั้งกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน เปGนสิ่งสำคัญที่นักเรียนจะต0องสอบตาม
ทก่ี ล%ุมบริหารวิชาการกำหนด
5. กรณีนักเรียนมีผลการเรียนเปGน “0” “ร” “มส” และสอบแก0 “0” “ร” “มส” ครบ 2 ครั้งแล0ว
“ไม%ผ%าน” นักเรียนต0องเรียนซ้ำในรายวิชานั้นตลอดทั้งภาคเรียน หากนักเรียนปล%อยปละละเลยให0มีผลการเรียนเปGน “0”
“ร” “มส” ไมว% า% ในรายวิชาใดๆ จะมผี ลต%อการจบการศึกษาในชน้ั มัธยมศกึ ษาปTที่ 3 และชั้นมธั ยมศึกษาปTท่ี 6

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู#

การวัดและประเมินผลการเรียนรู0เปGนกระบวนการที่ให0ผู0สอนพัฒนาคุณภาพผู0เรียน เพราะจะช%วยให0ได0ข0อมูลข%าว
สารสนเทศที่แสดงการพัฒนาการ ความก0าวหน0า และความสำเร็จทางการเรียนของผู0เรียนรวม
ทง้ั ขอ0 มลู ท่จี ะเปGนประโยชนตX %อการส%งเสรมิ ใหผ0 0ูเรียนเกดิ การพัฒนาและเรยี นรูอ0 ย%างเต็มศักยภาพ

การวดั และประเมินผลมี 4 ระดับคือ
1. การประเมินระดบั ชน้ั เรียน
2. การประเมินระดับสถานศกึ ษา
3. การประเมินระดบั เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
4. การประเมนิ ระดับชาติ

1. การประเมนิ ระดบั ช้นั เรียน
การประเมนิ ระดบั ชัน้ เรียนเปGนการตรวจสอบวา% ผเ0ู รยี นมพี ัฒนาการความก0าวหน0าในการเรียนร0ูอันเปGนผลมาจาก

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม%และมากน0อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต0องได0รับการพัฒนาปรับปรุงและส%งเสริมในด0าน
ใด นอกจากนี้ยังเปGนข0อมูลให0ผู0สอนใช0ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด0วยทั้งนี้โดยให0สอดคล0องกับมาตรฐานการ
เรยี นรู0และตัวชว้ี ดั

2. การประเมนิ ระดบั สถานศึกษา
เปGนการตรวจสอบผลการเรียนของผู0เรียนเปGนรายปT/รายภาค ผลการประเมินการอ%าน คิดวิเคราะหXและเขียน

คุณลักษณะอันพึงประสงคXและกิจกรรมพัฒนาผู0เรียน และเปGนการประเมินเพื่อให0ได0ข0อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษาว%าส%งผลต%อการเรียนรู0ของผู0เรียนตามเปYาหมายหรือไม% ผู0เรียนมีสิ่งที่ต0องได0รับการพัฒนาในด0านใด รวมทั้ง

37

สามารถนำผลการเรียนของผู0เรียนในสถานศึกษาและการรายงานผลการจัดการศึกษาต%อคณะกรรมการสถานศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ผป0ู กครองและชุมชน

3. การประเมินระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา
เปGนการประเมินคุณภาพผู0เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตามมาตรฐานการเรียนรู0ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช0เปGนข0อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาตามภาระความ
รับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดยประเมินคุณภาพของผู0เรียนด0วยวิธีการและเครื่องมือที่เปGนมาตรฐานที่จัดทำและ
ดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด0วยความร%วมมือกับหน%วยงานต0นสังกัดและหรือหน%วยงานที่เกี่ยวข0องหรือจาก
การตรวจสอบข0อมูลจากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา

4. การประเมินระดบั ชาติ (O-Net)
เปGนการประเมินคุณภาพผู0เรียนในระดับชาติ ตามมาตรฐานการเรียนรู0ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา

สถานศึกษาต0องจัดให0ผู0เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นมัธยมศึกษาปTที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปTที่ 6
เข0ารับการประเมินผลจากการประเมินใช0เปGนข0อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต%างๆ เพื่อนำไปใช0ในการ
วางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเปGนข0อมูลสนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศและท่ี
สำคญั

เกณฑKการจบการศึกษาหลกั สตู รการศึกษาภาคบงั คับ ( ชน้ั มธั ยมศึกษาปOท่ี 3 )

ผเู0 รียนมีผลการเรยี นตลอดหลกั สูตร ดงั นี้
1) ผเู0 รยี นเรียนรายวชิ าพน้ื ฐานและเพมิ่ เตมิ โดยเปGนวชิ าพื้นฐาน 66 หนว% ยกติ และรายวิชาเพิม่ เติมตามท่ี

สถานศึกษากำหนด
2) ผเู0 รยี นตอ0 งไดห0 น%วยกิตตลอดหลักสตู รไม%น0อยกวา% 77 หน%วยกิต โดยเปGนรายวชิ าพนื้ ฐาน 66

หนว% ยกิต และรายวิชาเพ่ิมเตมิ ไมน% 0อยกว%า 11 หนว% ยกิต
3) ผ0เู รยี นมีผลการประเมิน การอ%าน คิดวิเคราะหแX ละเขียน ในระดับ “ดีเย่ียม” “ดี” หรือ “ผ%าน”
4) ผเู0 รียนมีผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคX ในระดับ “ดีเย่ยี ม” “ดี” หรือ “ผ%าน”
5) ผู0เรียนเข0าร%วมกิจกรรมพัฒนาผูเ0 รยี นและมีผลการประเมนิ ในระดับ “ผ%าน” ทุกกจิ กรรม

38

เกณฑKการจบการศึกษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน ( ชนั้ มธั ยมศึกษาปOท่ี 6 )

ผูเ0 รยี นมผี ลการเรียนตลอดหลกั สูตร ดงั นี้
1) ผูเ0 รยี นเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและเพ่ิมเตมิ โดยเปนG รายวิชาพน้ื ฐาน 41 หน%วยกิต และรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ตามท่ี

สถานศกึ ษากำหนด
2) ผเ0ู รยี นต0องไดห0 นว% ยกิต ตลอดหลกั สูตรไม%น0อยกวา% 77 หน%วยกติ โดยเปนG รายวิชาพ้นื ฐาน 41 หน%วยกติ

และรายวชิ าเพิ่มเติมไม%น0อยกว%า 36 หนว% ยกิต
3) ผู0เรยี นมผี ลการประเมิน การอ%าน คดิ วิเคราะหแX ละเขยี น ในระดบั “ดีเยย่ี ม” “ดี” หรอื “ผา% น”
4) ผเ0ู รียนมผี ลการประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคX ในระดับ “ดเี ยย่ี ม” “ดี” หรอื “ผ%าน”
5) ผู0เรยี นเข0ารว% มกจิ กรรมพฒั นาผู0เรียนและมผี ลการประเมนิ ในระดบั “ผ%าน” ทกุ กิจกรรม
การอนมุ ตั ิการจบหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 นกั เรียนทจี่ บชั้นมธั ยมศึกษาปTที่ 3

อนมุ ตั ิใหจ0 บการศึกษาภาคบังคับและนกั เรียนที่จบชนั้ มธั ยมศึกษาปTท่ี 6 อนมุ ัตใิ ห0จบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน
นักเรียนไม%ได0เข0ารับการประเมนิ ผลปลายภาคเพราะเหตุจำเปGนหรอื เหตุสุดวิสัย โรงเรยี นอาจจดั ให0เขา0 รับการ

ประเมินผลปลายภาค ภายหลงั ได0

หากนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปTท่ี 3 และชน้ั มธั ยมศึกษาปTท่ี 6 ปกT ารศึกษาปVจจุบัน
ยังมผี ลการเรยี นเปนX “0” “ร” “มส” ในบางรายวชิ า

ให\นกั เรยี นสอบแกต\ ัว / เรียนซ้ำในวชิ านน้ั ๆ ให\เสร็จสิ้นภายในภาคเรียนท่ี 1 ปTการศกึ ษาถดั ไปเทาd นน้ั
ถ\านักเรียนสอบแกต\ วั / เรียนซำ้ ไมdผาd น

โรงเรียนจะดำเนนิ การจำหนาd ยนักเรยี นให\พน\ สภาพการเปXนนกั เรยี น

การทุจรติ ในการสอบ
นักเรยี นทท่ี ุจริตในการสอบ ให0คะแนน “0” ในการสอบครั้งน้ัน และปรบั ให0 “ไม%ผา% น” คณุ ลกั ษณะ

ทพี่ งึ ประสงคX

โครงสร#างหลกั สตู ร ปOการศึกษา 2564

39

ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา. ด#วยการปฏบิ ัติของผเ#ู ข#าสอบ พ.ศ. 2548

โดยท่ีเหน็ สมควรปรบั ปรงุ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว%าดว0 ยการปฏบิ ัตขิ องผ0ูเข0าสอบให0เหมาะสมยิ่งขึ้นอาศัย
อำนาจตามความในมาตรา 12 แหง% พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบรหิ ารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546
รัฐมนตรวี า% การกระทรวงศึกษาธิการจึงวางระเบียบไว0 ดังตอ% ไปน้ี

ขอ0 1 ระเบยี บน้เี รยี กวา% “ระเบยี บกระทรวงศกึ ษาธิการวา% ดว0 ยการปฏิบัตขิ องผ0เู ขา0 สอบ พ.ศ.2548”
ข0อ 2 ระเบียบนี้ให0ใช0บงั คบั ตัง้ แตว% นั ถัดจากวนั ประกาศเปGนต0นไป
ขอ0 3 ใหย0 กเลกิ ระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ ารวา% ดว0 ยการปฏิบัติของผเ0ู ข0าสอบ พ.ศ.2506
ระเบยี บน้ใี ห0ใช0บังคบั แก%ผเ0ู ขา0 สอบสำหรบั การสอบทกุ ประเภทในสว% นราชการ และสถานศกึ ษาสงั กัด
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และให0หมายความรวมถึงผเ0ู ข0าสอบในสถานศกึ ษาทอี่ ยใู% นกำกับดแู ลหรอื สถานศึกษาทอ่ี ย%ูในความ
ควบคุมของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ยกเว0นสถาบันอดุ มศึกษาของรฐั และสถาบันอุดมศกึ ษาเอกชน
ขอ0 4 ผู0เข0าสอบต0องปฏิบตั ิ ดังตอ% ไปน้ี

4.1 การแตง% กาย ถ0าเปGนนกั เรยี นหรอื นักศกึ ษาตอ0 งแต%งเครอื่ งแบบนักเรียนหรือนักศกึ ษา แลว0 แตก% รณี
ถ0าเปนG ผู0สมคั รสอบตอ0 งแต%งใหส0 ุภาพเรียบร0อยตามประเพณนี ิยม

4.2 ผเู0 ขา0 สอบจะตอ0 งถือเปนG หนา0 ที่ที่จะต0องตรวจสอบใหท0 ราบวา% สถานทส่ี อบอย%ู ณ ทใี่ ด หอ0 งใด
4.3 ไปถงึ สถานทสี่ อบกอ% นเวลาเริม่ สอบตามสมควร ผูใ0 ดไมท% ันเวลาลงมอื สอบวิชาใด ไมม% ีสิทธเิ์ ขา0 สอบ
วชิ านัน้ แต%สำหรบั การสอบวชิ าแรกในตอนเช0าของแตล% ะวัน ผ0ูใดเข0าห0องสอบหลังจากเวลาลงมอื สอบแลว0 15 นาที จะ
ไม%ไดอ0 นญุ าตใหส0 อบวชิ านั้น เวน0 แตม% เี หตคุ วามจำเปนG ให0อยใู% นดลุ พินจิ ของประธานดำเนนิ การสอบพจิ ารณาอนญุ าต
4.4 ไม%เขา0 หอ0 งสอบก%อนไดร0 ับอนุญาต
4.5 ไม%นำเอกสาร เคร่อื งอเิ ล็กทรอนิกสหX รอื เครื่องส่ือสารใด ๆ เข0าไปในหอ0 งสอบ
4.6 นงั่ ตามท่ีกำหนดให0 จะเปล่ียนที่น่ังก%อนได0รบั อนุญาตไม%ได0
4.7 ปฏบิ ัตติ ามระเบียบเกย่ี วกับการสอบและคำส่ังของผก0ู ำกบั ของผ0ูกำกบั การสอบโดยไม%ทจุ ริตในการ
สอบ
4.8 มิให0ผเ0ู ขา0 สอบคนอน่ื คดั ลอกคำตอบของตน รวมท้งั ไมพ% ดู คุยกบั ผู0ใดในเวลาสอบ เมอ่ื มขี 0อสงสยั หรอื
มีเหตุความจำเปนG ใหแ0 จ0งต%อผก0ู ำกบั การสอบ
4.9 ประพฤติตนเปนG สภุ าพชน
4.10 ผูใ0 ดสอบเสร็จก%อน ผ0ูนนั้ ต0องออกไปหา% งจากห0องสอบ และไม%กระทำการใด ๆ อนั เปนG การรบกวน
แก%ผ0ทู ย่ี งั สอบอยู% แต%ทง้ั น้ผี 0เู ข0าสอบทกุ คนจะออกจากหอ0 งสอบก%อนเวลา 20 นาที หลงั จากเร่ิมสอบวชิ านัน้ ไม%ได0
4.11 ไมน% ำกระดาษสำหรับเขยี นคำตอบทผ่ี 0กู ำกับการสอบแจกให0ออกไปจากหอ0 งสอบ

40

ขอ0 5 ผู0เข0าสอบผใ0ู ดกระทำการฝา~ ฝ•นระเบยี บขอ0 4 หรอื พยายามกระทำการทจุ ริตในการสอบวชิ าใด
ใหผ0 ก0ู ำกบั การสอบวา% กลา% วตกั เตือนถ0าการกระทำดังกล%าวในวรรคแรกเข0าลักษณะรา0 ยแรง เม่ือได0สอบสวนแลว0 ประธาน
กรรมการหรอื ผู0มอี ำนาจหน0าท่ีในการจัดการสอบมอี ำนาจสั่งไม%ให0ผูน0 ั้นเขา0 สอบวิชานน้ั หรือส่ังไมต% รวจคำตอบวิชาน้นั ของผู0
นัน้ โดยถือว%าสอบไม%ผ%านเฉพาะวิชาก็ได0

ขอ0 6 ผเู0 ข0าสอบผ0ใู ดกระทำการทจุ ริตในการสอบวิชาใด เมอื่ ได0สอบสวนแล0วใหป0 ระธานกรรมการหรอื มผี ูม0 ี
อำนาจหนา0 ท่ใี นการจดั การสอบ สัง่ ไม%ตรวจคำตอบและถือวา% ผ0ูน้นั สอบไมผ% %านวชิ านั้นในการสอบคราวน้นั

ข0อ 7 ในกรณีทุจรติ ในการสอบดว0 ยวธิ คี ัดลอกคำตอบระหวา% งผเ0ู ขา0 สอบดว0 ยกนั ใหส0 นั นษิ ฐานไวก0 อ% นว%าผ0เู ขา0 สอบ
น้นั ไดส0 บคบกนั กระทำการทจุ รติ

ข0อ 8 ให0ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารรกั ษาการใหเ0 ปนG ไปตามระเบยี บนี้
ประกาศ ณ วนั ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2548
นายจาตุรนตX ฉายแสง
รัฐมนตรวี %าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

41

การเปล่ียนผลการเรียน

1. วิธกี ารเปลย่ี นผลการเรยี น “0”
1.1 นักเรียนทไ่ี ด0 “0” จะต0องย่นื คำรอ0 งขอสอบแก0ตัวตามที่กลมุ% บรหิ ารวิชาการกำหนด
1.2 เมอ่ื นักเรยี นยนื่ คำรอ0 งเรยี บร0อยแล0ว ใหร0 ีบตดิ ตอ% ครูประจำวิชาเพอ่ื เรยี นรู0เพ่มิ เตมิ

และสอบวดั ผลใหม%
1.3 นักเรยี นจะไดร0 บั โอกาสใหส0 อบแก0 “0” ไดไ0 ม%เกนิ 2 ครัง้
1.4 เมอ่ื นักเรยี นสอบแก0 “0” ครบ 2 ครงั้ ไม%ผา% น กลุ%มบรหิ ารวิชาการจะจดั ใหน0 ักเรียนได0

เรยี นซ้ำตามหลกั สตู ร
2. วิธกี ารเปลย่ี นผลการเรยี น “ร”
2.1 นักเรียนทไ่ี ด0 “ร” จะตอ0 งยื่นคำร0องขอสอบแก0ตวั ตามที่กลม%ุ บริหารวชิ าการกำหนด
2.2 เมอ่ื ย่ืนคำรอ0 งแล0ว ใหร0 ีบติดตอ% คณุ ครปู ระจำวิชาเพ่ือดำเนนิ การใหแ0 ลว0 เสรจ็ ตามกำหนด
2.3 ผลการแก0 “ร” จะแยกเปGน 2 กรณี
กรณีที่ 1 นกั เรียนทไ่ี ด0 “ร” เน่ืองจากเหตุสดุ วิสัยโดยมหี ลกั ฐานชัดเจน เชน%

เกดิ อุบตั เิ หตุตอ0 งนอนโรงพยาบาล ฯลฯ ผ0ูเรยี นแก0 “ร” แล0วเสร็จ มสี ิทธิ์ได0รับผลการเรียน “0 – 4”
กรณที ่ี 2 นกั เรยี นทไ่ี ด0 “ร” ที่ไมใ% ชเ% หตุสดุ วิสยั เมอ่ื แก0 “ร” แลว0 เสรจ็ มีสิทธ์ิไดร0 บั

ผลการเรยี นไม%เกิน “1”
3. วิธีการเปลี่ยนผลการเรียน “มส”
3.1 นกั เรียนท่ีได0 “มส” จะต0องย่ืนคำร0องขอแกต0 ัวตามทกี่ ลม%ุ บรหิ ารวชิ าการกำหนด
3.2 เม่ือยืน่ คำรอ0 งแลว0 ใหน0 ักเรียนรีบตดิ ต%อคณุ ครปู ระจำวชิ าเพือ่ ดำเนินการให0แล0วเสร็จ

ตามกำหนด
3.3 การเปลีย่ นผลการเรยี น “มส” แยกเปGน 2 กรณี
กรณีที่ 1 ผ0ูเรยี นมเี วลาเรยี นไม%ถงึ ร0อยละ 80 แตไ% มน% 0อยกว%ารอ0 ยละ 60 ให0เรียน

ซอ% มเสริมในสว% นทข่ี าดไป เมือ่ มีเวลาครบแลว0 จึงดำเนนิ การประเมินผล แกแ0 ล0วไดผ0 ลไมเ% กิน “1”
กรณที ่ี 2 ผูเ0 รยี นมีเวลาเรยี นไม%ถงึ รอ0 ยละ 60 ของเวลาเรียนท้งั หมดตามหลักสูตร นกั เรยี น

จะต0องเรยี นซ้ำตามทกี่ ลม%ุ บริหารวชิ าการกำหนด
4. วิธีการเปลี่ยนผลการเรยี น “มผ”
4.1 นักเรียนทไ่ี ด0 “มผ” จะตอ0 งยนื่ คำรอ0 งขอแกต0 ัวตามท่กี ล%มุ กิจกรรมพัฒนาผ0ูเรียนกำหนด
4.2 ให0นักเรียนทำกิจกรรมจนครบตามเวลาที่กำหนด หรือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณลักษณะที่ต0อง

ปรับปรุง แกไ0 ขแล0ว จึงจะไดร0 ับการเปลี่ยน “มผ” เปGน “ผ” ตามท่กี ลุ%มกิจกรรมพฒั นาผ0เู รียนกำหนด
5. วธิ ีเปลยี่ นผลการประเมนิ “ไม%ผา% น”
5.1 นักเรยี นทไ่ี ด0 “ไมผ% %าน” จะตอ0 งย่นื คำร0องขอแก0ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะ

อันพงึ ประสงคX หรอื การประเมินอา% นคดิ วิเคราะหX

42

5.2 เมอ่ื ยน่ื คำรอ0 งแล0ว ใหน0 กั เรยี นรีบติดตอ% คณุ ครทู เ่ี กยี่ วข0อง เพอ่ื ดำเนนิ การแก0ไขใหแ0 ล0วเสรจ็ ภายใน
เวลาทก่ี ลุม% บริหารวิชาการกำหนด

5.3 ผลการแก0ไข นกั เรียนจะได0ผลการประเมินเปนG “1” หรือ “2” หรือ “3”

การเรียนซ้ำช้ันมี 2 กรณี

1. ผู0เรียนไดร0 ะดบั ผลการเรยี นเฉลย่ี ในปTการศึกษานั้นตำ่ กว%า 1.00 จะตอ0 งเรยี นซ้ำในระดับชั้นนนั้ ๆ
2. ผ0เู รียนได0ผลการเรียน “0”, “ร” และ“มส” เกินครึง่ หน่ึงของรายวิชาทล่ี งทะเบียนเรียนในปT
การศกึ ษานน้ั
3. คณะกรรมการบริหารงานวิชาการ และหลกั สูตรพจิ ารณาแล0วเห็นสมควรให0เรยี นซ้ำชน้ั

การเพ่ิมผลสมั ฤทธิ์

1. ตอ0 งผ%านเกณฑXตวั ชวี้ ัดหรือผลการเรียนร0อยละ 50 ในคะแนนระหวา% งภาค
2. สำหรับการประเมินผลกลางภาค คณะกรรมการวชิ าการได0พจิ ารณาเปnดโอกาสให0นักเรียนท่ไี ดค0 ะแนนไมถ% ึง
70 % มโี อกาสเรยี นรู0เพ่ิมเตมิ และรบั การประเมินใหม%ให0ได0คะแนนไมเ% กิน 70 %

การจำหนา. ยนักเรยี นใหพ# #นสภาพการเป`นนักเรียน มี 5 กรณี

1. นกั เรียนย0ายโรงเรียน
2. นกั เรยี นถึงแกก% รรม
3. นักเรียนหยดุ เรียนเปนG ติดต%อกันเปGนเวลานาน และไมม% ตี ัวตนอย%ใู นพนื้ ที่
4. นกั เรียนอายุพน0 เกณฑXการศึกษาภาคบงั คบั
5. นกั เรยี นเรียนจบการศกึ ษาชน้ั มัธยมศกึ ษาปทT ่ี 3 และชนั้ มธั ยมศึกษาปทT ่ี 6

บทบาทหน#าที่ครผู สู# อน

1. ทำการสอนในรายวิชาทไี่ ด0รับมอบหมาย เมื่อรวมคาบกิจกรรมและซอ% มเสริมแล0ว ไมต% ่ำกวา% 20 คาบ ต%อสปั ดาหX
2. รับผดิ ชอบงานการสอน การอบรมคณุ ธรรม จริยธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม
3. จัดทำโครงสร0างการสอน แผนการจดั การเรยี นร0ู แผนการวัดการประเมินรายวิชาท่ีได0รับมอบหมายให0ทำการสอน
4. ทำการสอน สำรวจเวลาเรยี นของนกั เรียนทุกคาบของการสอน
5. บันทึกหลังการสอนตามแบบที่กำหนด นำส%งหัวหนา0 กล%ุมสาระการเรยี นรแ0ู ละส%งตอ% กลุม% บริหารวิชาการทุกสน้ิ

เดือน
6. ดำเนนิ การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียน ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ เพ่อื ปรบั ปรงุ การเรียนของนักเรียน

การสอนของตนเอง และให0ระดบั ผลการเรียนแกน% กั เรียน

43

7. จดั สอนซ%อมเสรมิ ใหน0 กั เรียน และทำการสอนแทนเมือ่ ได0รับมอบหมายจากหวั หนา0 กลม%ุ สาระการเรียนรู0 หรือกล%มุ
บริหารวชิ าการ

8. จดั สอนนกั เรียนเรียนซ้ำตามทไี่ ดร0 ับมอบหมาย
9. จัดวิเคราะหขX อ0 สอบในรายวชิ าที่ทำการสอน เพอ่ื ให0มกี ารปรบั ปรงุ พฒั นาการเรียนการสอน
10. จัดบรรยากาศสง% เสรมิ การเรียนการสอนในคาบเรยี น
11. ทำการสอนเตม็ เวลา เตม็ ความสามารถ ไม%ละทิ้งหอ0 งสอน และคมุ นกั เรยี นทำการสอนในคาบ
12. พฒั นาตนเองดา0 นวิชาการอยา% งสมำ่ เสมอ
13. ทำการผลติ สอ่ื การสอน หรอื ปรับปรุงพฒั นาการสอน โดยนำเทคโนโลยมี าใช0ในการสอนให0เกิดประสิทธภิ าพ
14. รว% มกบั หัวหนา0 กลุ%มสาระการเรียนรู0 จัดทำแผนปฏบิ ัติการ และโครงการของกล%ุมสาระฯ
15. ศกึ ษาวิเคราะหผX ลจากการสอน หาแนวทางวิธีการแก0ไขปƒญหา และปรบั ปรุงพฒั นาการเรยี นการสอน
16. จัดทำวจิ ัยในชั้นเรียนภาคเรยี นละ 1 เร่อื ง
17. ให0บริการชมุ ชนดา0 นวชิ าการ รว% มกบั กลุ%มสาระการเรยี นรแ0ู ละกล%มุ บรหิ ารวชิ าการ
18. ประพฤตติ นเปGนแบบอย%างท่ดี แี ก%นกั เรียน และเปนG ทศ่ี รทั ธาของผู0ปกครอง และประชาชนทั่วไป
19. ไม%ใชอ0 ารมณใX นการสอน หรอื ลงโทษนักเรียนรุนแรงเกินกว%าสิทธทิ ี่พงึ มี
20. สง% เอกสารต%างๆ ตามทก่ี ล%ุมบรหิ ารวิชาการกำหนด
21. ปฏบิ ตั หิ น0าทีอ่ ืน่ ทไี่ ด0รับมอบหมาย

การจัดกิจกรรมพฒั นาผ/เู รยี น

โรงเรียนสตรีภูเก็ต จัดกิจกรรมพัฒนาผู0เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เพื่อมุ%งพัฒนาผู0เรียนให0มีพัฒนาเต็มตามศักยภาพและรอบด0าน เพื่อความเปGนมนุษยXที่สมบูรณXทั้งร%างกาย สติปƒญญา
อารมณX และสังคม ตลอดถึงมีการเสริมสร0างให0ผู0เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ และสามารถ
ปรับตัวให0อยู%ในสังคมแห%งการเปลี่ยนแปลงได0อย%างมีความสุข โดยมีการน0อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข0ามา
บูรณาการในการจัดกจิ กรรมพัฒนาผ0เู รียนอีกด0วย

กิจกรรมพัฒนาผ0ูเรียน โรงเรียนสตรภี เู กต็ ประกอบดว0 ยกจิ กรรม 3 กจิ กรรม ดังนี้
1. กจิ กรรมแนะแนว

เปGนกิจกรรมที่ส%งเสริมและพัฒนาให0ผู0เรียนรู0จักตนเอง รู0รักษXสิ่งแวดล0อม สามารถคิดและตัดสินใจ คิด
แก0ปƒญหา กำหนดเปYาหมาย วางแผนชีวิตทั้งด0านการเรียนและการประกอบอาชีพ สามารถปรับตนได0อย%างเหมาะสม
นอกจากนี้ยังช%วยให0ครูรู0จักและเข0าใจผู0เรียน ท้ังยังเปGนกิจกรรมที่ช%วยเหลือและให0คำปรึกษาแก%ผู0ปกครองในการมีส%วน
ร%วมพัฒนาผู0เรียน โดยเรียน 1 คาบ /สัปดาหX /ภาคเรียน ซึ่งนักเรียนจะต0องเข0าร%วมกิจกรรมไม%น0อยกว%า 80 % ของเวลา
เรยี นทง้ั หมด และได0รบั การประเมนิ ผล “ผ%าน”

44

2. กิจกรรมนกั เรียน
เปGนกิจกรรมที่มุ%งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเปGนผู0นำและผู0ตามที่ดี ความรับผิดชอบการทำงานร%วมกัน การรู0จัก

แก0ปƒญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช%วยเหลือแบ%งปƒน เอื้ออาทรและสมานฉันทX โดยจัดให0สอดคล0องกับ
ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู0เรียน ให0ได0ปฏิบัติด0วยตนเองในทุกขั้นตอน ได0แก% การศึกษาวิเคราะหX
วางแผน และปฏิบัติตามแผน มีการประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน0นการทำงานร%วมกันเปGนกลุ%มตามความเหมาะสม
และสอดคลอ0 งกับวฒุ ภิ าวะของนกั เรยี น บริบทของสถานศกึ ษาและทอ0 งถ่ิน โดยจดั กิจกรรมนักเรยี นมีดังนี้

2.1 กจิ กรรมลกู เสือ – เนตรนาร/ี ยุวกาชาด
- เปGนกิจกรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต0น โดยให0เลือกเรียนกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึง

เท%านั้น จำนวน 1 คาบ/สัปดาหX/ภาคเรียน ซึ่งนักเรียนจะต0องเข0าร%วมกิจกรรมไม%น0อยกว%า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด
และไดร0 บั การประเมินผล “ผา% น”

2.2 กิจกรรมชมุ นุม
- เปGนกิจกรรมที่จัดให0นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต0นและมัธยมศึกษาตอนปลาย เลือกเรียนตามความ

สนใจหนึ่งกิจกรรม จำนวน 1 คาบ/สัปดาหX/ภาคเรียน/ปTการศึกษา ซึ่งนักเรียนจะต0องเข0าร%วมกิจกรรมไม%น0อยกว%า 80%
ของเวลาเรียนทั้งหมด และได0รบั การประเมินผล “ผา% น”

2.3 กจิ กรรมนักศกึ ษาวิชาทหาร
- เปGนกิจกรรมสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนต0องผ%านการคัดเลือกจากหน%วย

บญั ชาการกำลงั สำรองกองทพั บก กระทรวงกลาโหม
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนA

เปGนกิจกรรมที่ส%งเสริมให0ผู0เรียนบำเพ็ญประโยชนXต%อสังคม ชุมชน และท0องถิ่นตามความสนใจในลักษณะ
อาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต%อสังคม มีจิตสาธารณะ เช%น กิจกรรมอาสาพัฒนา
ต%าง ๆ กิจกรรมสร0างสรรคXสังคม การทำกิจกรรมไม%ต0องจัดเวลาเฉพาะสอดแทรกในเวลาของการเรียนการสอนกลุ%มสาระ
ต%าง ๆ กิจกรรมพฒั นาผ0ูเรียนต%าง ๆ หรือกจิ กรรมหรือโครงการต%าง ๆ ทท่ี างโรงเรยี นกำหนดขึ้น โดยกิจกรรมดังนี้

- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชนX (Social Service Activity : IS 3) เปGนหนึ่งในรายวิชา
การศึกษาอิสระ (Independent Study : IS) ซึ่งเปGนรายวิชาเพิ่มเติมในหลักสูตรของโรงเรียนมาตรฐานสากล โดยเปGน
กิจกรรมที่มุ%งเน0นให0ผู0เรียนนำความรู0หรือประยุกตXใช0ความรู0จากสิ่งที่ศึกษาค0นคว0า จากรายวิชาการศึกษาค0นคว0าและสร0าง
อ ง ค X ค ว า ม ร ู 0 (Research and Knowledge Formation : IS1) แ ล ะ ร า ย ว ิ ช า ก า ร ส ื ่ อ ส า ร แ ล ะ ก า ร น ำ เ ส น อ
(Communication and Presentation : IS2) กระบวนการจัดกิจกรรมมุ%งเน0นให0ผู0เรียนปฏิบัติด0วยโครงงานหรือโครงการ
ต%าง ๆ ที่ก%อให0เกิดประโยชนXและเปGนการบริการสังคม ชุมชน ประเทศ หรือสังคมโลก มีการกำหนดเปYาหมาย
วัตถุประสงคX วางแผนการทำงาน และตรวจสอบความก0าวหน0า มีการวิเคราะหXและวิจารณXผลที่ได0จากการปฏิบัติ
กิจกรรมโดยอาศัยกระบวนการกลุ%มในการปฏิบัติงานร%วมกัน ในการจัดกิจกรรมทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนต0นและ
มธั ยมศึกษาตอนปลายในการบรู ณาการร%วมกับคาบโฮมรมู

45

- กิจกรรมอื่น ๆ ตามที่โรงเรียนกำหนด เช%น กิจกรรมวันเฉลิมพระชนมพรรษา กิจกรรมวันสำคัญทาง
ศาสนา กิจกรรมกรีฑาจังหวัด กิจกรรมเกี่ยวกับประเพณีท0องถิ่น กิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษX และกิจกรรมอื่น ๆ
ตามทีโ่ รงเรยี นกำหนด

- ผู0เรียนต0องเข0าร%วมกิจกรรมตามที่โรงเรียนกำหนด และได0รับการประเมินผล “ผ%าน” ผู0เรียนจะต0อง
ได0รับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู0เรียนและผ%านเกณฑXตามที่สถานศึกษากำหนด โดยกำหนดเกณฑXในการประเมินอย%าง
เหมาะสม ดังน้ี

รายการประเมนิ ผลการประเมิน
การประเมินผลรายกจิ กรรม
ผาd น ไมdผาd น
การประเมินผลรายภาค / รายปT
ผูเ0 รียนมีเวลาเข0ารว% มกจิ กรรม ผู0เรยี นมีเวลาเขา0 รว% มกิจกรรม
การประเมินผลเพ่ือจบระดบั การศกึ ษา “ครบ” ตามเกณฑX ปฏิบตั ิ “ไมdครบ” ตามเกณฑX ปฏบิ ตั ิ

กจิ กรรม และมีผลงาน / กิจกรรม และมีผลงาน/ช้ินงาน/
ชิน้ งาน /คณุ ลักษณะตามเกณฑX คุณลักษณะตามเกณฑXที่
ทส่ี ถานศกึ ษากำหนด สถานศึกษากำหนด

ผู0เรียนมผี ลการประเมินระดบั ผเู0 รยี นมีผลการประเมนิ ระดับ
“ผาd น” ในกิจกรรมสำคัญ “ไมdผdาน” ในกิจกรรมสำคัญ
กิจกรรมใดกิจกรรมหน่งึ จาก 3 กจิ กรรมใดกิจกรรมหนึง่ จาก 3

กิจกรรม คอื กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรม คือ กจิ กรรมแนะแนว
กจิ กรรมนักเรยี น กจิ กรรมเพ่อื กจิ กรรมนกั เรยี น กิจกรรมเพื่อ
สงั คมและสาธารณประโยชนX สงั คมและสาธารณประโยชนX

ผู0เรยี นมผี ลการประเมนิ ระดบั ผู0เรยี นมผี ลการประเมนิ ระดับ
“ผาd น” ทุกชนั้ ปกT ารศกึ ษาน้ัน “ไมผd dาน” บางชัน้ ปใT นระดบั

การศกึ ษานั้นบางชัน้ ปTในระดับ
การศกึ ษาน้ั

46

โครงสร#างการจดั กจิ กรรมพฒั นาผูเ# รียน

ประเภทกิจกรรม ระดับ / จำนวนชั่วโมงเรยี น
ม.1 ม.2 ม.3 ม.4 ม.5 ม.6
1. แนะแนว
2. กจิ กรรมนกั เรยี น 40 40 40 40 40 40

2.1 กิจกรรมใน 40 40 40 - --
เครื่องแบบ เรียนคาบ 9 เรยี นคาบ 9 เรยี นคาบ 9
40 40 40
(ลกู เสอื - เนตรนารี / วันพุธ วันพุธ วันพธุ เรยี นคาบ 8 เรียนคาบ 8 เรยี นคาบ 8
ยุวกาชาด) - - -
วันศกุ รX วนั ศกุ รX วันศกุ รX
2.2 กจิ กรรมชมุ นุม 15 15 15 40 40 40
(นศท.) บรู ณาการ บรู ณาการ บูรณาการ
บรู ณาการ บูรณาการ บูรณาการ
3. กิจกรรมเพอ่ื สงั คม IS3 IS3 IS3 IS3 IS3 IS3
และสาธารณประโยชนi คาบโฮมรมู คาบโฮมรูม คาบโฮมรูม
คาบโฮมรูม คาบโฮมรมู คาบโฮมรมู
80+15+ 80+15+ 80+15+ 120+อ่ืนๆ 120+อื่นๆ 120+อื่นๆ
อน่ื ๆ อน่ื ๆ อ่ืนๆ
240 + 45 + อนื่ ๆ 360+ อ่ืนๆ

- โดยบรหิ ารให0นักเรียนไดร0 ับการพัฒนาและปฏิบัติทัง้ 3 กจิ กรรมอย%างตอ% เนื่องทุกปT
- อืน่ ๆ หมายถึง นักเรยี นบางคนมกี ารทำกจิ กรรมเสริม เชน% ร%วมกจิ กรรมวันสำคัญของชาติ, ศาสนา,

พระมหากษัตรยิ X, วฒั นธรรม, กฎหมาย, สงิ่ แวดลอ0 ม ฯลฯ

47

โครงการนานาชาติ

International Program (IP)

ความเปนX มา
โรงเรียนสตรีภูเก็ต เปnดโครงการห0องเรียนพิเศษจัดการเรียนการสอนเปGนภาษาอังกฤษตามหลักสูตรของ

กระทรวงศึกษาธิการตั้งแต%ปTการศึกษา 2546 ในปTการศึกษา 2551 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ คัดเลือกโรงเรียนให0เข0าร%วมโครงการ Education Hub ของกระทรวงศึกษาธิการ
มีวัตถุประสงคXเพื่อพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนสู%มาตรฐานสากล ให0โรงเรียนเปnด
ห0องเรียนพิเศษที่จัดการเรียนการสอนโดยใช0หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสตรีภูเก็ต โปรแกรมนานาชาติ (International
Program) ในปTการศึกษา 2558 โรงเรียนผ%านการประเมินจากมหาวิทยาลัย Cambridge เปGน Cambridge
International School อนุมัติให0ใช0หลักสูตร Cambridge จัดการเรียนการสอนในปTการศึกษา 2559 และเปGน
Cambridge International Examinations Center

อัตลักษณiของนกั เรยี นโครงการนานาชาติ (IP)
มีความเชีย่ วชาญในภาษาตา% งประเทศ

ปรชั ญา
ความร0ู ค%ูภาษา ลำ้ หน0าดว0 ยหลกั คดิ มจี ิตอาสา นำพาส%สู ากล

วสิ ัยทศั นi
โครงการนานาชาติ (IP) โรงเรยี นสตรีภเู ก็ต เปนG ผ0ูนำดา0 นภาษาต%างประเทศ ภายใตก0 ระบวนการ

พัฒนาบนพื้นฐานของความเปนG เลิศ

พนั ธกิจ
โครงการนานาชาติ (IP) โรงเรียนสตรีภเู ก็ต เปGนโครงการจัดการเรียนรู0ท่ีมง%ุ เนน0 ทางด0านภาษา

ตา% งประเทศส%งเสรมิ กระบวนการเรียนรูท0 ัง้ ครแู ละนกั เรียนนำพาส%ูการวจิ ัย สรา0 งนวตั กรรม รวมทง้ั ให0บรกิ ารทางการ
ศกึ ษา มีความรบั ผดิ ชอบต%อท0องถิน่ และสังคมโลก

เจตจำนง
โครงการนานาชาติ (IP) โรงเรียนสตรภี ูเกต็ ม%ุงหวังใหน0 กั เรียนและบุคลากรของโครงการมีหลักคิดตาม

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มีสติ มีวินัยในตนเอง รู0จักหน0าที่ มคี วามรับผิดชอบ สามารถค0นหาตวั ตนของตนเอง
เพ่อื การพฒั นาให0เตม็ ศักยภาพ เข0าใจพหุวฒั นธรรมและนำไปปรบั ใช0อยา% งเหมาะสม พร0อมทงั้ สามารถใชเ0 ทคโนโลยอี ยา% ง
ชาญฉลาดและรบั ผดิ ชอบ

48

คาd นยิ มรวd มของนกั เรยี นโครงการนานาชาติ (IP)
นกั เรยี นโครงการนานาชาติโรงเรียนสตรีภเู ก็ต มคี ุณลักษณะ SMART ดงั น้ี
S = Study Skills หมายถงึ มีทกั ษะการเรียนรู0 สามารถเรียนรเ0ู ปGนผ0นู ำทางด0านภาษาตา% งประเทศ

มีทักษะชีวิต ทักษะวชิ าชพี และมที กั ษะในการอยร%ู %วมกนั ในสังคมโลกอยา% งสันตสิ ุข
M = Morality & Mannerหมายถึง มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม มสี ติ มีวินยั ในตนเอง มีบุคลกิ ภาพทด่ี ี

และมีมารยาททางสังคม
A = Attitude +หมายถงึ มีหลกั คิดเชงิ บวกอย%างสรา0 งสรรคXตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
R = Respect & Responsibilityหมายถึง มีความเคารพและรบั ผดิ ชอบต%อตนเองและสงั คม
T = Technology & Communicationหมายถึง ใชเ0 ทคโนโลยอี ยา% งชาญฉลาดและมีภูมคิ ม0ุ กนั

ในการสอ่ื สาร

จดุ มdุงหมาย
1. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาส%ูมาตรฐานสากล
1.1 ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 5 กลุ%มสาระหลักเพิ่มขนึ้ อยา% งนอ0 ยร0อยละ 3
1.2 เพิ่มศักยภาพนักเรียนด0านเทคโนโลยี และด0านภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมพร0อมสู%ประชาคมอาเซียนและ

ประชาคมโลก
1.3 นักเรยี นสามารถสื่อสารโดยใช0ภาษาองั กฤษไดอ0 ย%างคลอ% งแคล%ว
1.4 โครงการผ%านการรับรองจากการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกในระดบั สากล

2. ครู มีศักยภาพสงู ด0านการจัดการเรยี นรู0 และคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชพี
3. ผูบ0 รหิ ารโครงการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา0 ทอ่ี ย%างเข็มแข็ง

3.1 มีการนเิ ทศตดิ ตามงานภายในโครงการอยา% งเปนG ระบบ
3.2 บริหารจัดการด0วยระบบคุณภาพแบบมีส%วนร%วมตามหลักธรรมาภิบาลเปnดโอกาสให0ผู0ปกครองชุมชน และ
องคXกรตา% ง ๆ เข0ามามีสว% นรว% มในการจดั การเรียนร0ู ดแู ลชว% ยเหลือ และพฒั นาผ0ูเรยี นอยา% งเปGนองคXรวมรว% มกบั โครงการ
3.3 ใชข0 0อมลู สารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษา


Click to View FlipBook Version