The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิเคราะห์ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำปี พ.ศ. 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orawan_nana, 2022-03-16 22:53:37

รายงานการวิเคราะห์ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำปี พ.ศ. 64

รายงานการวิเคราะห์ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำปี พ.ศ. 64

จ ะ ยั ง ไ ม่ ใ ช้ เก่ี ย ว กั บ ธุ ร ก ร ร ม ท า ง ค ร อ บ ค รั ว ห รื อ ม ร ด ก
แต่ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางมีความเห็นว่าการลง
ล า ย มื อ ช่ื อ ใน สั ญ ญ า ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม ย อ ม ค ว า ม เกี่ ย ว กั บ
คดีครอบครัวหรือคดีมรดกสามารถทําได้ หากเป็นการทํายอม
ในศาล

3) รับทราบแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการพิจารณาคดี
ทางอิเล็กทรอนิกส์ ตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม ด่วนที่สุด
ที่ ศย 016/ ว 1130 ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2564 และ
ข้อเสนอแนะ ดงั น้ี

3.1) คดีจัดการพิเศษ ในส่วนของการนัดไกล่เกล่ียให้
ดําเนินการโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก โดยให้
คํานึงถึงความพร้อมของคู่ความประกอบด้วย หากไม่พร้อมให้
ใช้ วิธีป ก ติ เห็ น ค วรให้ ผู้ พิ พ าก ษ าหั วห น้ าศ าล จัด ให้
ผู้ประนีประนอมมีการไกล่เกล่ียออนไลน์ โดยจัดเป็นเวร
ไกลเ่ กล่ียประจําทุกวันตามสมควร

3.2) คดีจัดการพิเศษให้นัดได้ทุกวันทําการในปริมาณ
ที่พอเหมาะไม่มากจนเกินไปเพื่อลดความแออัด วิธีการนี้ให้นัด
ได้ไม่เกินเดือนธันวาคม 2564 หากไม่มีวันนัดเพียงพอให้นัด
ในเดือนถัดไป จากน้ันได้ให้นัดเฉพาะในวันนัดคดีจัดการพิเศษ
ตามปกติของศาล และเหน็ ควรให้นัดคดีสถาบันการเงินทโี่ จทก์
รายเดียวกันในนัดเดียวกัน เพ่ือใช้ช่องสัญญาณในช่องเดียวกัน
เรียงลําดับเวลาโดยเจ้าหน้าที่งานรับฟ้องอาจขอความร่วมมือ
จากท น ายความของสถาบั น การเงิน ให้ เตรียมพ ยาน
มาให้พร้อมสืบในนัดแรกด้วย เพื่อไม่ให้มีการเลื่อนคดี
กรณีต้องสืบพยานฝา่ ยเดยี ว

3.3) ในกรณีท่ีต้องส่งคําคู่ความหรือเอกสารเป็นการ
เร่งด่วน ศาลอาจมีคําสั่งย่นระยะเวลาการมีผลกรณีปิดหมาย
ให้น้อยกว่า 15 วัน หรือให้มผี ลทันทีได้ตามความจําเป็นแก่กรณี
เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว เห็นควรให้คู่ความ
ดําเนินการตามแนวทางของระเบียบราชการฝ่ายตุลาการ
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยการดําเนินคดีแพ่งระหว่างที่มีการแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564
ขอ้ 10 วรรคสอง ทั้งน้ี เมื่อคู่ความอ้างเอกสารโดยได้ส่งสาํ เนา
ให้ศาลและคู่ความอีกฝ่ายแล้ว ให้นําต้นฉบับให้เจ้าหน้าท่ีศาล
ตรวจสอบในวันย่ืนฟ้องหรือยื่นคําร้องให้การหรือก่อนวันนัด
แ ล ะ ใ ห้ ทํ า บั น ทึ ก ก า ร ต ร ว จ ส อ บ เส น อ ศ า ล ร ว ม สํ า เน า ไ ว้

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 48 

 

เพ่ือความสะดวกในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดตี อ่ ไป
ท้ังนี้ หากศาลใดมีข้อเสนอแนะขอให้แจ้งสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 8 เพื่อจะได้แจ้งให้ศาลอ่ืนๆ ทราบและนําไป
ปรบั ใช้เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติงาน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวปฏิบัติตาม
ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เร่ือง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ
เง่ือนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณ าทางอิเล็กทรอนิกส์
ในการดาํ เนินคดอี าญา และคดแี พ่ง ดังน้ี

1) คดีอาญา ให้ดําเนนิ กระบวนพิจารณาคดีโดยวธิ ีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ หากคดีที่โจทก์ไม่พร้อมที่จะใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์ ให้เลื่อนคดีออกไปก่อนถึงวันนัด เว้นแต่ศาล
เห็นว่าจะทําให้จําเลยได้รับความเสียหายเกินควร ก็ให้ดําเนิน
กระบวนพิจารณาต่อไปโดยอาจใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
กบั คู่ความฝา่ ยที่มีความพรอ้ ม

2) คดีแพ่ง กรณีคู่ความยื่นคําฟ้องเป็นลักษณะกระดาษ
ขอพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส์ ต้องดําเนินกระบวนการ
พิจารณาคดีผ่านระบบ CIOS ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ
เงื่อนไขกับการใช้วิธีพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยสามารถ
รับรองสําเนาเอกสารคําฟ้องได้ 2 วิธี คือ 1) ให้คู่ความมาส่ง
เอกสารที่เจ้าหน้าที่แล้วรับไว้เพื่อตรวจสอบ 2) ใช้วิธีดูผ่าน
หนา้ จอแล้วรับรองเอกสารในรายงานกระบวนพจิ ารณา
และเห็นควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลบริหารจัดการคดี
ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และมาตรการต่างๆ ของสํานักงาน
ศาลยุติธรรมกําหนดทั้งในการเล่ือนคดีและการนําเอาวิธี
พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ ส่วนโปรแกรมแอปพลิเคชัน
สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดให้ใช้ได้ 3 แอปพลิเคชัน คือ
Cisco Webex, Google Meet และ Zoom แต่แนะนําว่า
ค วรใช้ Google Meet เป็ น ห ลั ก เนื่ อ งจ าก สํ านั ก งาน
ศาลยุติธรรมได้ทําข้อตกลงกับบริษัทกูเกิลแล้วว่าระบบจะเก็บ
ขอ้ มูลเป็นความลบั
6) แนวทางการบรหิ ารจัดการคดีและการพิจารณาคดคี ้างนาน
ของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผพู้ พิ ากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รบั ทราบสถิตคิ ดีของศาลในเขต
อาํ นาจอธิบดีผ้พู ิพากษาภาค 1 และขอให้ผ้พู ิพากษาหัวหน้าศาล
บริหารจัดการคดีภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 49 

 

และมาตรการต่างๆ ตามคําแนะนําของประธานศาลฎีกาและ
สาํ นักงานศาลยุติธรรม หากเห็นว่าสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เบาบางลงแล้ว ก็ให้ศาล
เร่งรัดบริหารจัดการคดีท่ีค้างเกิน 1 - 2 ปี และคดีอาญาที่มี
จําเลยต้องขังเกิน 1 ปีให้หมดไปโดยเร็ว โดยการพิจารณาคดี
และสืบ พ ยาน ท างจอ ภ าพ VDO CONFERENCE ใน ค ดี
ที่สามารถดําเนินการได้ตามแนวทางในการบริหารจัดการคดีฯ
ของศาลยุติธรรม ทั้งนี้ ให้คํานึงถึงความปลอดภัยของทุกฝ่าย
ที่เก่ียวข้องด้วย นอกจากนี้ ในส่วนของการเขียนคําพิพากษา
ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลกําชับผู้พิพากษาในศาลให้เขียน
คําพิพากษาด้วยความละเอียดรอบคอบมากขึ้น เพื่อลดปัญหา
ศ า ล อุ ท ธ ร ณ์ แ ล ะ ศ า ล ฎี ก า พิ พ า ก ษ า แ ก้ / ก ลั บ คํ า พิ พ า ก ษ า
ของศาลชั้นต้นในหลายเร่ือง โดยเฉพาะคดีในที่ไม่ต้องส่งภาค
ตรวจ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รบั ทราบสถิตคิ ดีของศาลในเขต
อํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 3 และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้า
ศ า ล บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ค ดี ใน ส ถ าน การณ์ ก ารแ พ ร่ ระบ าด ข อ ง
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
มาตรการของสํานักงานศาลยตุ ิธรรมอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะ
คดีท่ีจําเลยต้องขังเกิน 6 เดือน ให้พิจารณ าว่าอยู่ใน
หลักเกณฑ์การปล่อยชั่วคราวได้หรือไม่ หากเห็นว่าปล่อยได้
ให้แจ้งจําเลยยื่นคําร้องใบเดียว แล้วอนุญาตให้ปล่อยช่ัวคราว
โดยใช้วิธีการท่ีเหมาะสมและควบคุมไม่ให้มีคดีค้างเกิน 1 ปี
ส่วนศาลท่ีมีคดีค้างเกิน 2 ปีให้ศาลจัดหมวดหมู่พยานและ
สืบพยานเท่าที่จําเป็น เพ่ือให้การสืบพยานรวดเร็วข้ึน
และเมื่อสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคเบาบางลงแล้ว
ขอให้ศาลเร่งพิจารณาคดีที่ค้างนานและคดีที่จําเลยต้องขัง
เกิน 6 โดยคํานึงถึงความปลอดภัยของบุคลากรและ
ผเู้ กย่ี วข้องทุกฝ่ายทเ่ี กีย่ วข้องดว้ ย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8
1) รับทราบผลการดําเนินงานด้านคดีของศาล ประจําปี
พ.ศ. 2563 โดยในภาพรวมศาลในเขตอํานาจอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 8 สามารถพิจารณาคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สําหรับคดีท่ีค้างพิจารณาได้กําหนดให้พิจารณาพิพากษาคดี
ในศาลจังหวัดให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี และศาลแขวงให้แล้ว
เสร็จภายใน 6 เดือน ส่วนคดีท่ีจําเลยต้องขังระหว่างพิจารณา

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 50 

 

ให้พิจารณาโดยเร็ว ทั้งนี้ต้องไม่กระทบต่อความปลอดภัย
ของทุกฝ่าย

2) รับทราบผลการดําเนินงานด้านคดีของศาลในเขต
อํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 ซ่ึงส่วนใหญ่สามารถบริหาร
จัดการคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเห็นควรกําหนด
เป้าหมายการพิจารณาคดี ประจําปี พ.ศ. 2564 โดยให้ศาล
ในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๘ มีคดีแล้วเสร็จไม่ต่ํากว่า
ร้อยละ ๙๐ แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) อาจทําให้
ผลสัมฤทธ์ิของคดีแล้วเสร็จไม่เป็นไปตามเป้าหมาย จึงขอให้
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลบริหารจัดการคดีให้มีผลสัมฤทธ์ิ
ตามเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ อีกท้ังสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 8 ได้กําหนดแนวทางการพิจารณาคดีเร่งด่วนและจําเป็น
ตามแนวปฏิบัติเกี่ยวการบริหารจัดการคดีในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพ่ือให้ศาล
ในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 ปฏิบัติเป็นไปใน
แนวทางเดียวกนั
7) แนวทางการบริหารจัดการคดีในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
สํารวจข้อมูลคดีค้างพิจารณาในแต่ละช่วงเวลา โดยแบ่งตาม
ลักษณะและประเภทคดี อัตราการเล่ือนคดี สาเหตุแห่งการ
เล่ือนคดี แล้วนําข้อมูลมาวิเคราะห์และประเมินผลเพื่อ
วางแผนบริหารจัดการคดีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยให้
ความสําคัญกับคดีที่จําเลยต้องขัง คดีจัดการพิเศษ คดตี ่อเน่ือง
ท่ีค้างพิจารณาเกิน 2 ปี และเน้นการนําวิธีพิจารณาคดี
อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในคดีแพ่งและคดีผู้บริโภคเพ่ือลดจํานวน
ประชาชนและคู่ความทจ่ี ะมาศาลดว้ ย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2
1) รับทราบปัญหาข้อขัดข้องของศาลในเขตอํานาจอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 2 เช่น ในเรือนจําหลายแห่งมีผู้ต้องขังติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา 2019 จํานวนมากและเข้ารักษาตัวใน
โรงพยาบาล ประกอบกับผู้ต้องขังบางส่วนยังไม่ได้รับวัคซีน
ทําให้เกิดปัญหาด้านความปลอดภัยในการเคลื่อนย้ายข้ามแดน
หรือจากสถานท่ีคุมขังไปยังห้องสืบพยานหรือฝากขัง รวมท้ัง
ระบบการสื่อสารไม่ค่อยชัดเจน ทําให้การพิจารณาคดีทาง

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 51 

 

อิเล็กทรอนิกส์ทําได้ช้า และอนุกรรมการขอให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลบริหารจัดการคดี ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และ
มาตรการต่างๆ ของประธานศาลฎีกาและสํานักงาน
ศาลยุติธรรมกําหนดทั้งในการเลื่อนคดีและการนําเอาวิธี
พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ รวมถึงการไกล่เกล่ีย
ออนไลน์โดยคํานึงถึงความปลอดภัยของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
และหากศาลใดมีคดีมาตรา 112 ให้แจ้งไปยังสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 2 และเลขาธิการประธานศาลฎีกาด้วย
นอกจากนี้ ขอความร่วมมือให้บุคลากรในศาลและครอบครัว
ไปรบั การฉีดวคั ซีนใหค้ รบถว้ นทุกคน

2) รับทราบผลการบริหารจัดการคดีของศาลในเขต
อํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 ในช่วงการแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
บริหารจัดการคดี ให้เป็นไปตามคําแนะนําของประธานศาลฎีกา
และสํานักงานศาลยุติธรรม โดยให้ศาลใช้ช่องทางการ
พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์และการไกล่เกล่ียออนไลน์
เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อทุกฝ่าย และเพ่ือให้การพิจารณา
ค ดี ส า ม า ร ถ ดํ า เนิ น ก า ร ไ ป ไ ด้ ใน ช่ ว ง ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ท้ังนี้เม่ือสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคเบาบางแล้ว ขอให้ศาลพิจารณาคดีทุกประเภท
ให้แล้วเสร็จโดยเร็วต่อไป

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบแนวปฏิบัติเก่ียวกับ
การบริหารจัดการคดีในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนาตามแนวทางของสํานักงานศาลยุติธรรม เช่น
การคัดกรองและตรวจสอบบุคคลกลุ่มเสี่ยง การวางมาตรการ
ป้องกันภายในศาล การจัดระบบการติดต่อราชการให้มีการ
เว้นระยะห่างทางสังคม และการให้บริการด้วยระบบ One
stop service การผัดฟอ้ งฝากขังกับเรือนจาํ ผ่านระบบประชุม
ทางจอภาพ ตลอดจนการบริหารจัดการคดีและการเลื่อนคดี
ให้เป็นไปตามแนวทางที่กําหนด เพื่อลดความเสี่ยงในการ
ติดต่อของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และขอให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลดําเนินการตามมาตรการและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ
การบริหารจัดการคดีในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติด เชื้อ ไวรัส โค โรน า 2 0 1 9 ต าม ห นั งสือ สํ านั กงาน
ศาลยุติธรรม ด่วนท่ีสุด ที่ ศย 016/ว 497 เร่ือง มาตรการ
ลดการคุมขังและการเคลื่อนย้ายผู้ต้องขังในสถานการณ์

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 52 

 

การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และฉบับอ่ืนๆ
โดยเคร่งครัด เพ่ือป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดภายในศาล
รวมถึงการเลื่อนคดีด้วย หากมีข้อขัดข้องขอให้หารือไปยัง
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 3 และขอให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลดําเนินการตามมาตรการและแนวปฏิบัติเก่ียวกับ
การบริหารจัดการคดีในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเคร่งครัด ท้ังในส่วนคดีแพ่ง
และคดีอาญา โดยคดีที่ศาลสามารถพิจารณาคดีได้จะต้องเป็น
คดีที่สามารถพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส์เท่านั้น ส่วนการ
พิจารณาคดีอาญาซึ่งมีผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของจําเลย
ผู้ต้องขัง และประชาชน จะต้องดําเนินการด้วยความรอบคอบ
โดยไม่ฝา่ ฝนื กฎหมายหรือไม่ขดั ต่อกฎหมาย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบหนังสือจากเรือนจํา
กลางเชียงใหม่เกี่ยวกับเรื่องการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 ในเรือนจํากลางเชียงใหม่ ซ่ึงมีผู้ต้องหา
หรือจําเลยติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เป็นจํานวนมาก
จึงไม่สามารถเคล่ือนย้ายผู้ต้องหาหรือจําเลยข้ามแดนได้
ทําให้ศาลไม่สามารถดําเนินกระบวนพิจารณาคดีผ่านการ
ประชุมทางจอภาพได้ ดังน้ันขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
ปฏิบัติตามมาตรการลดการคุมขังตามหนังสือสํานักงาน
ศาลยุติธรรม โดยในสถานการณ์ท่ีสถานท่ีคุมขังมีเหตุจําเป็น
เพ่ือควบคุมการเคล่ือนย้ายผู้ต้องขังและการจํากัดวงการแพร่
ระบาดของโรคให้อยู่ในพื้นท่ีท่ีทางสถานที่คุมขังกําหนด
ทํ าให้ ไม่ สาม ารถเบิ กตั วผู้ต้ อ งขังข้าม แด น ม าดําเนิ น
กระบวนการพิจารณาคดีในลักษณะการประชุมทางจอภาพ
Video Conference ได้ กรณีน้ีอาจจําเป็นต้องเล่ือนการ
ดําเนินกระบวนการพิจารณาดังกล่าวไปก่อน และคํานึงถึง
ความปลอดภัยเปน็ หลัก

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8
1) รับทราบรายละเอียดของแนวปฏิบัติเก่ียวกับการบริหาร
จัดการคดีท่ีเลื่อนการพิจารณาเนื่องจากสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งให้ผู้พิพากษาในศาล
ปฏิบัติตามคําแนะนําของประธานศาลฎีกาและแนวทาง
การบ ริห ารจัดการคดีท่ี เลื่อน การพิ จารณ าเน่ื องจาก
ส ถ า น ก า ร ณ์ ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง โร ค ติ ด เชื้ อ ไว รั ส โค โร น า

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 53 

 

2019 (COVID-19) ที่ให้ศาลชั้นต้นเลื่อนคดีจัดการพิเศษ
คดีสามัญ และคดีสามัญพิเศษทุกคดีที่นัดพิจารณาระหว่าง
วันท่ี 1 – 28 กุมภาพันธ์ 2564 โดยไม่ต้องกําหนดนัดใหม่
ส่ ว น ค ดี ท่ี จํ า เล ย ต้ อ ง ขั ง ร ะ ห ว่ า ง พิ จ า ร ณ า ค ดี ให้ คํ า นึ ง ถึ ง
ความพร้อมของระบบการประชุมทางจอภาพระหว่างศาลกับ
เรือนจํา ส่วนคดีอื่นท่ีๆ ท่ีคู่ความพร้อมและต้องการสืบพยาน
หรือคดีท่ีเจ้าของสํานวนและองค์คณะพิจารณาเห็นว่าสามารถ
ดําเนินกระบวนพิจารณาได้ และคดีท่ีคู่ความหรือทนายความ
เดินทางมาจากพ้ืนท่ีท่ีมีความเสี่ยงสูง ขอให้พิจารณาก่อนคดี
อืน่ ๆ

2) รับทราบแนวทางปฏิบัติการบริหารจัดการคดีภายใต้
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรคไวรัสโคโรนา 2019
ดังนี้

2.1) การพิจารณาคดีแพ่งและคดีผู้บริโภคให้พิจารณา
คดีทางอิเลก็ ทรอนิกส์ผา่ นแอปพลเิ คชนั (ออนไลน์)

2.2) การพิจารณาคดีอาญา มี 2 ส่วน ส่วนที่ 1 ช้ัน
ผัดฟ้องฝากขัง หากจําเลยไม่คัดค้านให้ดําเนินการได้ ส่วนที่ 2
การพิจารณาการต้ังทนายความ การอ่านและอธิบายฟ้องให้
จําเลยฟัง สอบคําให้การและตรวจพยานหลักฐาน หากจําเลย
ยินยอมดําเนินการโดยวิธีถ่ายทอดภาพและเสียงในลักษณะ
การประชุมทางไกลผ่านจอภาพและให้มีการบันทึกภาพ
และเสยี งไว้

2.3) การสืบพยาน กรณีจําเลยให้การรับสารภาพตาม
ฟ้อง ถ้าจําเลยให้ความยินยอมและในกรณี ท่ีจําเลยมี
ทนายความ ทนายความน้ันสามารถทําหน้าท่ีว่าความให้แก่
จําเลยได้ หากเห็นว่าการดาํ เนนิ การเช่นนนั้ จะไมเ่ ป็นที่เสียหาย
หรือก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรมแก่จําเลย และให้มีการ
บันทึกภาพและเสียง ให้ศาลจะดําเนินการโดยวิธีถา่ ยทอดภาพ
และเสียงในลกั ษณะการประชุมทางไกลผ่านจอภาพได้

2.4) การผัดฟ้อง ฝากขัง ควรจดในรายงานกระบวน
พิจารณาว่า “จําเลยไม่คัดค้าน” ส่วนการสืบพยานใช้คําว่า
“จาํ เลยยนิ ยอม”

2.5) การป้องกนั บุคลากรของหน่วยงาน ขอให้ทกุ ศาล
มี ม า ต ร ก า ร คั ด ค ร อ ง บุ ค ค ล แ ล ะ ติ ด ตั้ ง เค ร่ื อ ง อ บ ฆ่ า เชื้ อ
เมอื่ คู่ความยื่นเอกสารให้ใส่ในกล่องและอบฆา่ เชอื้ กอ่ นจึงนาํ ไป
แจกจา่ ยใหก้ ับส่วนงานตา่ งๆ

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 54 

 

2.6) คดีที่มีวันนัดระหว่างวันที่ 16 กันยายน 2564
ถึง 31 ตุลาคม 2564 ให้ ดําเนิ นการโดยวิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์เป็นหลัก โดยประสานงานสอบถามและ
ให้คู่ความเตรียมความพร้อมทุกคดีก่อนถึงวันนัด ถ้าโจทก์
ไม่พร้อมให้ดําเนินการตามปกติแต่ต้องปฏิบัติตามมาตรการ
ป้องกันการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสในห้องพิจารณ า
อย่างเคร่งครัด

2.7) คดีสามญั หรือคดีสามัญพิเศษ ถ้าคู่ความไม่พรอ้ ม
ให้ดําเนินคดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ถ้าฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ไม่พร้อมให้ดําเนินการตามปกติ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
เท่าทท่ี ําได้

2.8) คดีท่ีนัดไกล่เกล่ีย ให้ดําเนินการโดยวิธีการทาง
อิเลก็ ทรอนกิ ส์เทา่ นัน้

2.9) คดีนัดฟังคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลชั้นต้น
และศาลสูง ให้คงวันนัดเดิมไว้และดําเนินการโดยวิธีการ
ทางอิเล็กทรอนิกส์ วิธีการดําเนินคดีให้ปฏิบัติตามระเบียบ
ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการดําเนินคดีแพ่ง
ระหว่างที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
พ.ศ. ๒๕๖๔ และแนวปฏิบัตทิ เ่ี กี่ยวข้อง
นอกจากน้ี ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลและผู้อํานวยการ
กํากับดูแลเจ้าหน้าที่ไม่ให้เดินทางไปในพื้นที่เส่ียง หรือหากมี
ความจําเป็นต้องไปอยู่ในพื้นท่ีเส่ียง เม่ือกลับมาแล้วต้องกักตัว
และแจ้งให้หน่วยงานทราบ และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
จัดบุคลากรมาปฏิบัติงานที่ศาลหรือหน่วยงานโดยกําหนด
จํานวนเท่าท่ีจําเป็นกับปริมาณคดีและปริมาณงาน และ
พิจารณาให้บุคลากรในหน่วยงานท่ีเหลือปฏิบัติหน้าท่ีนอก
สถานที่ตั้งของหน่วยงาน เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 ภายในสถานท่ีทํางาน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวปฏิบัติตาม
ประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง แนวทางการบริหาร
จัดการคดีในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 ฉบับท่ี 17 ลงวันที่ 23 กรกฎาคม 2564
และแนวทางการปฏิบัติเกี่ยวกับการย่ืนฟ้องคดีของศาลแขวง
กรณีผู้ต้องหาหรือจําเลยถูกคุมขังอยู่ท่ีสถานีตํารวจ พนักงาน
อัยการสามารถยื่นฟ้องด้วยตนเองได้ และไม่ต้องนําตัว
ผู้ต้องหาหรือจําเลยมาศาล โดยใช้วิธีพิจารณาพิพากษาคดี

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 55 

 

ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ทั้ง 3 ฝ่าย แต่ถ้าผู้ต้องหาหรือจําเลย
ได้รับการปล่อยตัวช่ัวคราวไปแล้วในชั้นสอบสวนของตํารวจ
กรณีน้ีให้พาผู้ต้องหาหรือจําเลยมาฟ้องท่ีศาลเท่านั้น และ
ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลดําเนินการตามมาตรการและ
แนวปฏิบัติเก่ียวกับการบริหารจัดการคดีในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยเคร่งครัด
และขอให้ทุกศาลศึกษาและเรียนรู้การใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์
ส่วนเรอื่ งห้องพิจารณาคดีทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หากศาลใดมีห้อง
ไม่เพียงพอขอให้ทําคําของบประมาณไปยังสํานักงานอธิบดี
ผพู้ พิ ากษาภาค 9 อีกครัง้
8) แนวทางการออกคําสั่งตามคมู่ ือตลุ าการ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รบั ทราบปัญหาเกีย่ วกบั รูปแบบ
ก า ร อ อ ก คํ า ส่ั ง ต า ม คู่ มื อ ตุ ล า ก า ร ใ น ค ดี แ พ่ ง ท่ี ป ร ะ ช า ช น
มีข้อพิพาทกนั หรือต้องการใชส้ ิทธิฟอ้ งคดีทศี่ าลและขอใชส้ ทิ ธิ
ทางศาล พบว่าผู้พิพากษาบางคนออกคําสั่งเกี่ยวกับการยื่น
คําร้องขอให้จดชื่อบริษัทคืนสู่ทะเบียนไม่ถูกต้อง ทําให้ผู้ร้อง
ต้องย่ืนคําแถลงต่อศาลเพ่ือขอออกคําสั่งใหม่ให้ถูกต้อง จาก
ก ร ณี ดั ง ล่ า ว ข อ ให้ ผู้ พิ พ า ก ษ า หั ว ห น้ า ศ า ล แ จ้ ง ผู้ พิ พ า ก ษ า
ป ฏิ บั ติตามประมวลกฎหมายวิธีพิ จารณ าความแพ่ ง
และรูปแบบตามคู่มือตุลาการ ส่วนกรณีการออกคําสั่งการ
ขอใช้สิทธิทางศาลต้องออกคําสั่งในนามพระปรมาภิไธย
พระมหากษัตรยิ ์ไมใ่ ช่ออกคําส่ังในรายงานกระบวนพิจารณา
9) การตรวจร่างคําพิพากษาหรือคําสั่งด้วยระบบทาง
อเิ ล็กทรอนิกส์ (ECRM)

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6
1) รับทราบข้อมูลเก่ียวกับระบบการตรวจสํานวนคดี
ทางอิเล็กทรอนิกส์ และขั้นตอนการทํางานของระบบ ซึ่งจะใช้
ในการตรวจสํานวนคดีท่ีไม่ยุ่งยากซับซ้อน และคดีที่มีสํานวน
ไม่มากนัก เช่น คดีไต่สวนชันสูตรพลิกศพ หรือคดีที่จําเลย
ให้ ก า ร รั บ ส า ร ภ า พ แ ล ะ ค ดี ที่ มี โท ษ ตามท่ี สํ านั กงานอธิ บดี
ผู้พิพากษาภาค 6 กําหนด โดยกําหนดให้ศาลจังหวัดสุโขทัย
ศาลจังหวัดพิษณุโลก และศาลจังหวัดพิจิตรเป็นศาลนําร่อง
ทดลองใช้งาน และขอให้ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 6 ใช้งานพร้อมกันตั้งแต่เดือนเมษายน 2564 โดยปฏิบัติ
ตามแนวปฏิบัติการใช้งานระบบการจัดทําสารบบและสํานวน
ความอิเล็กทรอนิกส์ และตั้งช่ือไฟล์เอกสารให้ถูกต้องครบถ้วน

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 56 

 

เพอ่ื ให้สามารถแกไ้ ขและตรวจสอบเอกสารไดโ้ ดยงา่ ย
2) รับทราบข้อมูลความคืบหน้าของระบบการตรวจ

สํานวนคดีทางอิเล็กทรอนิกส์และปัญหาข้อขัดข้องในการใช้
งานระบบดังกล่าว จากศาลนําร่องทั้ง 3 แห่ง ซ่ึงพบปัญหา
เก่ียวกับรูปแบบตัวอักษรของระบบ ซึ่งเกิดจากเวอร์ช่ันของ
คอมพิ วเต อ ร์ ท่ี แ ต ก ต่ า ง กั น แ ล ะ ปั ญ ห า คํ า พิ พ า ก ษ า ท่ี ท า ง
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาแก้ไขแล้ว แต่ศาลไม่ทราบว่ามีการ
แก้ไขตรงจุดใดบ้าง กรณีน้ีให้แก้ไขโดยขอให้ใช้วิธีหมายเหตุไว้
ข้างท้ายว่าแก้ไขจุดใด เช่น แก้ไขหน้า 8 บรรทัดท่ี 2 เป็นต้น
ทั้งน้ีจะมีคณะวิจัยจะเข้าไปสัมภาษณ์เพื่อนําปัญหาข้อขัดข้อง
ต่างๆ ไปพิจารณาปรับปรุงแก้ไข เพ่ือพัฒนาระบบรูปแบบ
การใชง้ านใหส้ มบูรณ์ต่อไป

3) รับทราบแนวปฏิบัติการจัดส่งสํานวนคดีและร่าง
คาํ พิพากษาหรือคําสง่ั ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ของศาลในเขตอํานาจ
ของอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 ให้ผู้พิพากษาส่งคําพิพากษา
หรือคําส่ังทางอิเล็กทรอนิกส์ เพียง 2 ประเภทคดี ได้แก่
1.คดไี ต่สวนชันสูตรพลกิ ศพ 2.คดีอาญาที่มีการสบื พยานโจทก์
ประกอบคํารับสารภาพของจําเลย เว้นแต่คดีนั้นมีเอกสาร
นับต้ังแต่คําฟ้องจนถึงเอกสารฉบับสุดท้ายรวมเอกสารแยก
เก็บเกินกว่า 150 หน้าให้ส่งวิธีปกติ ส่วนคดีแพ่งท้ังหมดให้ส่ง
ทางวิธีปกติเช่นเดิม และให้ผู้พิพากษาส่งไฟล์ร่างคําพิพากษา
ห รื อ คํ า สั่ ง ท้ั ง แ บ บ ไฟ ล์ Word แ ล ะ ไฟ ล์ PDF ด้ ว ย
และสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 ได้ต้ังเป้าหมายภาย
ในไตรมาสท่ี 4 ของปีงบประมาณ 2564 ศาลในเขตอํานาจ
อธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 จะส่งร่างคําพิพากษาหรือหรือคําส่ัง
ในระบบทั้งหมด เพ่ือลดความเสี่ยงในช่วงสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 และลดค่าใช้จ่ายในการ
จดั สง่ สาํ นวนคดี

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7
1) รับทราบรายละเอียดเก่ียวกับระบบการตรวจสํานวนคดี
ทางอิเล็กทรอนิกส์และผลการดําเนินงานของศาลจังหวัด
สมุทรสาครซ่ึงเป็นศาลนําร่องเก่ียวกับระบบการตรวจร่าง
คําพิพากษาอิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) โดยในระยะแรกจะใช้กับ
คดีอาญ าท่ีจําเลยรับสารภาพ และสืบพยานประกอบ
ซ่ึงได้ดําเนินการเสร็จแล้ว 4 คดี และได้จัดส่งคู่มือการ
ปฏิบัติงานไปยังศาลต่างๆ สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 57 

 

ให้ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 นําระบบ ECRM
ไปใช้งาน ซึ่งทุกศาลมีความพร้อมท่ีจะดําเนินการส่งสํานวน
แ ล ะ ร่ า ง คํ า พิ พ า ก ษ า เพื่ อ ต ร ว จ ด้ ว ย ร ะ บ บ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
ส่วนประเด็นปัญ หาข้อขัดข้องต่างๆ สํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค ๗ ได้ทําหนังสือสอบถามปัญหาข้อขัดข้องไป
ยังศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค ๗ และสรุปปัญหา
ทัง้ หมดแจ้งไปยงั สาํ นกั งานศาลยตุ ิธรรมแลว้

2) รับทราบปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานเก่ียวกับ
ก ารส่ งร่างคํ าพิ พ าก ษ าห รือ คํ าส่ั งม าเพ่ื อ ต รวจ ท าง
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น การส่งไฟล์เอกสารไม่ครบถ้วน เอกสารไม่
ชัดเจน เลือกชื่อไฟล์เอกสารแนบผิด ไม่ระบุวันต้องขังหรือ
วันประกันตัวของผู้ต้องหาหรือจําเลย การรายงานคดีอาญา
และคดีแพ่งที่ไม่เข้าเกณฑ์การส่งตรวจทางระบบ ผู้พิพากษา
แนบไฟล์เอกสารเสร็จแล้ว เจ้าหน้าที่ไม่กดส่งสํานวนในระบบ
และการไม่เข้าไปดูรายงานคดีที่สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 7 ตรวจแล้วมีการแก้ไข เป็นต้น และขอให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลและผู้อํานวยการกํากับดูแลเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ
ให้ปฏิบัติงานอย่างละเอียดรอบคอบและให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
แจ้งให้ผู้พิพากษาในศาลทราบ กรณีการส่งร่างคําพิพากษา
อิเล็กทรอนิกส์ให้สแกนเอกสารตามที่ร่างคําพิพากษาอ้างอิง
ส่งมาพร้อมร่างคําพิพากษา ส่วนเอกสารท่ีเป็นแผ่นซีดี ไฟล์ภาพ
หรือเอกสารท่ีมีจํานวนมากหรือเป็นกล่องที่ไม่สามารถสแกน
ได้ให้ส่งไปรษณีย์ไปยังสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7
เพ่ือให้ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ปฏิบัติงาน
เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกัน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ
โปรแกรมการรายงานและการบริหารสํานวนคดีด้วยระบบทาง
อิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) และข้ันตอนการทํางานของระบบ
ซึ่งจะนํามาปรับใช้สําหรับการรายงานคดีที่มีเอกสารจํานวน
มาก โดยกําหนดให้ศาลจังหวัดสุราษฎร์ธานีและศาลแขวง
สุราษฎร์ธานีเป็นศาลนําร่องทดลองใช้งาน และให้ทุกศาลใช้
งานพร้อมกันตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2564 ซ่ึงในเบื้องต้นขอให้
ผู้ พิ พ า ก ษ า หั ว ห น้ า ศ า ล ม อ บ ห ม า ย เจ้ า ห น้ า ท่ี ล ง ท ะ เบี ย น
ผู้มีสิทธิใช้ในศาล และให้ผู้พิพากษาท่ีมีความรู้ด้านเทคโนโลยี
ช่วยขับเคล่ือนการใช้ระบบ ECRM ด้วย สําหรับการอ่าน
คําพิพากษาผ่าน Video Conference ขอให้ผู้พิพากษา

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 58 

 

หัวหน้าศาลจดั ห้องเฉพาะสาํ หรบั อา่ นคาํ พิพากษาด้วย
แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบข้อมูลเกี่ยวกับ

โป ร แ ก ร ม ก า ร ร า ย ง า น แ ล ะ บ ริ ห า ร สํ า น ว น ค ดี ด้ ว ย ร ะ บ บ
อิเล็กทรอนิกส์ (ECRM) โดยมอบหมายนายนวพงษ์ บุณสิทธ์ิ
รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 และนายวิสุทธิ์ อํานวยกิจ
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจําสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 9 เป็นผู้ดําเนินการ และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
แต่งตั้งคณะทํางานเพื่อทําหน้าท่ีร่วมกัน ซึ่งเป็นระบบการ
จัดส่งรายงานคดีผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
และรองอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 สามารถตรวจสํานวนคดี
จากระบบ และเบ้ืองต้นจะใช้ในคดีสืบประกอบคํารับสารภาพ
โดยมีศาลจังหวัดสงขลา ศาลแขวงสงขลา ศาลเยาวชนและ
ครอบครัวจังหวัดสงขลา และศาลจังหวัดนาทวีเป็นศาลนําร่อง
ทดลองใช้งาน หากปฏิบัติแล้วไม่มีปัญหาข้อขัดข้องจะขยายไป
ยังศาลในเขตอํานาจอธิบดผี พู้ พิ ากษาภาค 9 ตอ่ ไป
10) การลดค่าใช้จ่ายของคู่ความในการดําเนินคดี
จัดการมรดก

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 แจ้งแนวทางปฏิบัติเกย่ี วกับการ
ลดค่าใช้จ่ายในการดําเนินคดีจัดการมรดกให้ประกาศคําร้อง
ลงระบบ e-Notice เพียงอย่างเดียว ไม่ต้องปิดประกาศ
ณ ภูมิลําเนาเจ้ามรดกหรือภูมิลําเนาผู้ร้อง เว้นแต่เป็นความ
ประสงค์ของผู้ร้องที่ขอให้ประกาศภูมิลําเนา สําหรับคดีร้อง
ขอรับรองบุตร ถ้าบุตรมีทะเบียนบา้ นอยู่ทีเ่ ดียวกบั ผูร้ ้องไม่ตอ้ ง
ส่งคําคู่ความแจ้งไปยังภูมิลําเนาผู้ร้อง เว้นแต่บุตรกับผู้ร้อง
อยคู่ นละที่
11) การตรวจร่างคําพิพากษาและนัดอ่านคําพิพากษาก่อน
โยกยา้ ย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
เกี่ยวกับการตรวจร่างคําพิพากษาและการนัดอ่านคําพิพากษา
พบว่าก่อนผู้พิพากษาโยกย้ายในบางศาลจะมีคดีท่ีต้องส่ง
ร่างคําพิพากษาให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 ตรวจ
และหากมีการเลื่อนคดีเน่ืองจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 อาจทําให้ไม่สามารถ
นัดอ่านคําพิพากษาได้ในขณะดํารงตําแหน่งอยู่ อนุกรรมการ
เห็นควรให้ผู้พิพากษาปฏิบัติตามแนวทาง 2 วิธีแล้วแต่กรณี
คือ 1.ให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 ออกไปให้

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 59 

 

คํ าแ น ะนํ าก รณี ท่ี ต้ อ งมี คํ าแ น ะนํ าหรือปรึกษา หรือ
2.ให้พนักงานขับรถยนต์ของศาลนําสํานวนคดีไปยังสํานักงาน
อธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 เพื่อให้รองอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6
และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจําสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 6 ตรวจ โดยขอใหน้ ดั หมายลว่ งหนา้
12) แนวทางการจัดทํางานสารบบและสํานวนความ
อิเลก็ ทรอนิกส์

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
ทุกศาลใช้ระบบการส่งสํานวนความอิเล็กทรอนิกส์ในการส่ง
และรับสํานวนคดีท่ีมีการอุทธรณ์ไปยังศาลสูง โดยให้มีการ
จัดเก็บเอกสารและจัดทําสารบบและสํานวนคดีให้เป็นไปตาม
แนวทางตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 025/ว 9
(ป) ลงวันท่ี 13 มกราคม 2564 และ ท่ี ศย 025/ว 71 (ป)
ลงวันท่ี 19 พฤษภาคม 2564 พร้อมท้ังกําชับเจ้าหน้าท่ีงาน
อุทธรณ์หรือฎีกาปฏิบัติงานให้ครบถ้วนถูกต้อง ส่วนปัญหา
ระบบท่ีขัดข้อง ขอให้นักวิชาการคอมพิวเตอร์ประสานไปยัง
สํานักงานศาลยุตธิ รรมเพอ่ื แก้ไข

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
ปฏิบัติตามข้อกําหนดประธานศาลฎีกา ว่าด้วยการจัดทํา
สารบบความ สารบบคําพิพากษาและการรวบรวมเก็บรักษา
เอกสารในสํานวนความในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ. 2562 และหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม ด่วนท่ีสุด
ที่ ศย 025/ว 223 (ป) ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2563
เกี่ ย ว กั บ แ น ว ป ฏิ บั ติ ก า ร ใ ช้ ง า น ร ะ บ บ ก า ร จั ด ทํ า ส า ร บ บ
และสํานวนความอิเล็กทรอนิกส์ หากเจ้าหน้าท่ีท่ีรับผิดชอบ
มี ปั ญ ห า ข้ อ ข้ อ ง ให้ ป รึ ก ษ า นั ก วิ ช า ก า ร ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ข อ ง
สาํ นกั อธิบดผี พู้ ิพากษาภาค 6
13) การนําส่ือเทคโนโลยีมาใช้ในราชการเพ่ืออํานวย
ความสะดวกแกป่ ระชาชน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบข้อมูลการนํา
นวัตกรรม LINE CHATBOT ของศาลจังหวัดราชบุรีมา
ประยุกต์ใช้ร่วมกับการทํางาน โดยเปิดให้บริการออนไลน์
ตอบคําถามตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งปัจจุบันเพ่ิมข้อมูลเก่ียวกับ
การคุ้มครองสิทธิผู้เสียหาย และหมายเรียกพยานผ่าน
ระบบ QR CODE และขอให้ทุกศาลนํา LINE CHATBOT
ไปใช้งาน เพ่ือเพ่ิมช่องทางให้ประชาชนสามารถติดต่อ

รายงานการศกึ ษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 60 

 

ส อ บ ถ าม ค วาม เค ลื่ อ น ไห วห รือ ส อ บ ถ าม สิ ท ธิต่ างๆ
ของผู้เสียหาย พยานและจําเลย เมื่อดําเนินการเสร็จแล้ว
ให้รายงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ทราบ โดยสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 7 จะช่วยประชาสัมพันธ์อีกทางหนึ่ง
ส่วนปัญหาการใช้งานตู้อัจฉริยะ ขอให้ทุกศาลนําตู้อัจฉริยะ
ม าใช้งาน ให้ เต็ ม ขีด ค วาม ส าม ารถ แ ล ะเชื่ อ ม ต่ อ ลิ งค์
ของสํานักงานศาลยุติธรรมให้ครบถ้วน เม่ือดําเนินการเสร็จแล้ว
ให้รายงานอธิบดผี พู้ พิ ากษาภาค 7 ทราบ
14) ปัญหาเกี่ยวกับการขอค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา
44/1

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบปัญหาเก่ียวกับ
การขอค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 44/1 กรณีความผิด
เก่ียวกับเพศในความผิดฐานพรากผู้เยาว์ โดยปกติจะต้อง
มีผู้เสียหาย 2 คน คนแรกคือบิดาหรือมารดาเป็นผู้เสียหาย
ท่ี 1 และตัวเด็กเป็นผู้เสียหายท่ี 2 แต่ปรากฎว่าในการเขียน
คําร้องยื่นขอค่าสินไหมทดแทนผู้เสียหายมักลงลายมือช่ือ
ไมค่ รบถว้ นและขอคา่ เสียหายรวมกันโดยไม่แยกเป็นรายบุคคล
ทําให้เกิดปัญหาเม่ือมีการอุทธรณ์หรือฎีกา อนุกรรมการขอให้
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งให้ผู้พิพากษาตรวจสอบคําร้องยื่น
ขอค่าสินไหมทดแทนตามมาตรา 44/1 เมื่อรับสํานวนคดี
ค ว า ม ผิ ด เกี่ ย ว กั บ ค ว า ม ผิ ด ฐ า น พ ร า ก ผู้ เย า ว์ ให้ ถู ก ต้ อ ง
และให้ผอู้ ํานวยการประจาํ ศาลกํากับดูแลนิติกรใหเ้ ขียนคําร้อง
ให้ถูกต้องครบถ้วนตามข้อกฎหมายและตามแนวคําพิพากษา
ศาลฎกี า
15) การแต่งตั้งผกู้ ํากับดแู ลในการปลอ่ ยชว่ั คราว

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบผลการขับเคล่ือน
น โ ย บ า ย ข อ ง ป ร ะ ธ า น ศ า ล ฎี ก า ใ น เรื่ อ ง ก า ร ล ด ก า ร คุ ม ขั ง
ท่ีไม่จําเป็น ในส่วนของการต้ังผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อยช่ัวคราว
ของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 โดยศาลมี
ขอ้ สงั เกต เชน่

1) การรายงานตัวผู้ต้องหาเป็นภาระของผู้กํากับดูแล
ทีจ่ ะตอ้ งเดินทางมาศาล

2) ปัญ หาประชากรแฝง ซึ่งอาจเป็นนักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติ หรือบุคคลที่มาทํางานชั่วคราว อาจทําให้ไม่
สามารถตง้ั ผกู้ าํ กับดูแลได้

3) ผู้ตอ้ งหาหรือจําเลยไมต่ ้องการใช้บริการผ้กู ํากบั ดแู ล

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 61 

 

4) ผู้กํากับดูแลได้ผลตอบแทนน้อย ไม่คุ้มกับภาระหน้าที่
ทต่ี ้องรับผิดชอบ

5) ผู้พิพากษาบางส่วนไม่กล้าใช้วิธีการตั้งผู้กํากับดูแล
เพราะไมม่ ีหลักประกนั ในการใช้
และอนุกรรมการเห็นควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจัดทําบัญชี
รายชื่ อ แ ล ะรายละเอี ยด ขอ งผู้ กํ ากั บ ดู แ ล ใน ทุ กศ าล
แ ล ะ ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ผู้ พิ พ า ก ษ า มี ค ว า ม มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ใ ช้ วิ ธี
ก า ร แ ต่ ง ต้ั ง ผู้ กํ า กั บ ดู แ ล ผู้ ถู ก ป ล่ อ ย ช่ั ว ค ร า ว ใ ห้ ม า ก ข้ึ น
ทงั้ น้ี การแต่งตั้งผ้กู ํากบั ดูแลฯ ให้เปน็ ดุลพินจิ ของผู้พพิ ากษา

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7
1) รับทราบผลการดําเนินการเก่ียวกับการแต่งต้ังผู้กํากับ
ดู แ ล ใน ก า ร ป ล่ อ ย ชั่ ว ค ร า ว ข อ ง ศ า ล ใ น เข ต อํ า น า จ อ ธิ บ ดี
ผู้พิพากษาภาค 7 โดยศาลส่วนใหญ่ได้ดําเนินการแต่งตั้ง
ผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวแล้ว และขอให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลแจ้งให้ผู้พิพากษาใช้วิธีการแต่งต้ังผู้กํากับดูแลผู้ถูก
ปล่อยช่ัวคราวให้มากข้ึน อีกท้ังประสานงานให้ผู้กํากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยช่ัวคราวมาเบิกค่าตอบแทนภายในเวลาท่ีกําหนด
ส่วนปัญหาข้อขัดข้องของ ศาลจังหวัดกาญจนบุรี กรณี
บุคลากรที่มีหน้าที่โทรติดต่อประสานงานกับผู้กํากับดูแลผู้ถูก
ปล่อยชั่วคราวมีไม่เพียงพอ ทําใหเ้ จ้าหนา้ ที่ไม่สามารถประเมิน
ความเส่ียงได้ทุกคดี ประกอบกับมีโทรศัพท์มือถือเพียง 1
เคร่ืองซึ่งไม่เพียงพอต่อปริมาณคดีท่ีมาก สํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 7 จะนําเร่ืองเสนอสํานักงานศาลยุติธรรม
พิจารณาต่อไป และสํานักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
ได้แจ้งเรื่องดังกล่าวไปยังหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง คือ
สํานักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม และสํานักบริหาร
ทรัพย์สนิ เพ่ือพิจารณาแกไ้ ขปญั หาให้แกศ่ าลอกี ทางหน่งึ
2) รับทราบปัญหาข้อขัดข้องและขอให้ผู้พิพากษาปฏิบัติ
ตามคําแนะนําของอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ในกรณีต้ังผู้กํากับ
ดูแลผู้ถูกปล่อยชั่วคราวในช่วงท่ีมีการแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และคําแนะนําของประธาน
ศาลฎีกา ว่าด้วยการใช้มาตรการการกํากับดูแลในระหว่างถูก
ปล่อยชัว่ คราว พ.ศ. 2564 และขอใหศ้ าลในเขตอํานาจอธิบดี
ผูพ้ ิพากษาภาค 7 ออกเงื่อนไขเพ่ิมเติม โดยใหผ้ ู้พิพากษาส่ังใน
คําสั่งขอปล่อยช่ัวคราวตาม ป.วิ อาญา มาตรา 108 วรรค 3
ให้ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวสามารถรายงานตัวหรือขอคําปรึกษา

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 62 

 

จากผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อยช่ัวคราวผ่านส่ืออิเล็กทรอนิกส์ได้
หากมีเหตุขัดข้องผู้ถูกปล่อยชั่วคราวไม่สามารถรายงานตัวต่อ
ผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อยช่ัวคราว ผู้ถูกปล่อยช่ัวคราวสามารถ
รายงานตัวกับเจ้าหน้าท่ีประชาสัมพันธ์ของศาลได้ พร้อมทั้ง
ข อ ใ ห้ ศ า ล แ ต่ ง ต้ั ง ผู้ กํ า กั บ ผู้ ถู ก ป ล่ อ ย ชั่ ว ค ร า ว ใ ห้ ม า ก ข้ึ น
โดยหลีกเลี่ยงการเรียกหลักประกัน หรือหากจําเป็นเรียก
หลักประกันกใ็ ห้เรียกลดลง

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
แจ้งผู้พิพากษาในศาลปฏิบัติตามคําแนะนําของประธาน
ศาลฎีกา ว่าด้วยการใช้มาตรการกํากับดูแลในระหว่างปล่อย
ช่ัวคราว พ.ศ. 2564 และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการขอรับ
ค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายของผู้กํากับดูแลผู้ปล่อยชั่วคราว
ตามระเบียบ ก.บ.ศ. ว่าด้วยคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม
การแต่งต้ังและการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อย
ชั่วคราว การจ่ายค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายของผู้กํากับดูแล
ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ค่าพาหนะแก่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่ยากไร้
เงินสินบนแก่ผู้แจ้งความนําจับ และเงินรางวัลแก่เจ้าหน้าท่ี
ผูจ้ ับผู้ถูกปล่อยชัว่ คราวโดยศาลท่ีหลบหนี พ.ศ. 2561 เพอ่ื ให้
การเบิกจ่ายถูกต้องและเป็นไปตามระเบียบ ทั้งน้ีสํานักงาน
อธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 ได้มีหนังสือแจ้งเวียนส่งไปยังศาล
ในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 เพอื่ ให้เจ้าหน้าท่ีการเงิน
และผทู้ เี่ กี่ยวข้องนาํ ไปถือปฏิบัติใหเ้ ป็นแนวทางเดียวกัน
16) แนวทางการปฏิบตั หิ น้าท่ีของเจ้าพนักงานตาํ รวจศาล

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 พิจารณ าข้อหารือกรณี
ที่เจ้าพนักงานตํารวจศาลเป็นผู้จับกุมผู้ต้องหาหรือจําเลย
ที่หลบหนีการปล่อยช่ัวคราวโดยศาล จะสามารถขอรับเงิน
รางวัลตามพระราชบัญญัติมาตรการกํากับและติดตามจับกุม
ผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาล พ.ศ. 2560 ได้หรือไม่
อนุกรรมการเห็นว่ากรณีเจ้าพนักงานตํารวจศาลเป็นผู้จับกุม
ผตู้ ้องหาหรอื จําเลยที่หลบหนีการปล่อยช่ัวคราวโดยศาลมีสิทธิ
ได้ รั บ เงิ น ร า ง วั ล ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ม า ต ร ก า ร กํ า กั บ แ ล ะ
ติ ด ต าม จับ กุม ผู้ห ลบ ห นี การป ล่ อยช่ั วค ราวโด ยศ าล
พ.ศ. 2560 มาตรา 7 เน่ืองจากพระราชบัญญัติเจ้าพนักงาน
ตํารวจศาล พ.ศ. 2562 มาตรา 10 บัญญัติให้เจ้าพนักงาน
ตํารวจศาลเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มีอํานาจและหน้าท่ีเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือ

รายงานการศกึ ษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 63 

 

ตาํ รวจตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา
แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 พิจารณาข้อหารือเกี่ยวกับ

เงินสินบนนําจับ กรณีเจ้าพนักงานตํารวจศาลเป็นผู้แจ้ง
เบาะแส จะถือว่าเป็นผู้แจ้งความนําจับซึ่งมีสิทธิจะขอรับเงิน
สินบนได้หรือไม่ อนุกรรมการขอให้พิพากษาหัวหน้าศาล
ปฏิบัติตามคู่มือปฏิบัติงานเกี่ยวกับพระราชบัญญัติมาตรการ
การกํากับติดตามจับกุมผู้หลบหนีการปล่อยช่ัวคราวโดยศาล
พ.ศ. 2560 ซึ่งกรณีดงั กล่าวเจ้าพนกั งานตํารวจศาลถือว่าเป็น
เจ้าหน้าที่ผู้จับไม่อาจอยู่ในฐานะผู้แจ้งความนําจับ จึงไม่มีสิทธิ
ได้รับ เงินสิน บ น ตามหนั งสือสํานักงาน ศาลยุติธรรม
ท่ี ศย 016/12753ลงวันที่ 7 กันยายน 2564 และ
ที่ ศย 016/ว 987 ลงวันท่ี 15 กนั ยายน 2564

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7
1) ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งให้เจ้าพนักงาน
ตํารวจศาลทราบ ในกรณีเจ้าพนักงานตํารวจศาลจะขอ
อัตรากําลังเสริมจากสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7
เพ่ือไปช่วยในการติดตามจับกุมผู้หลบหนีตามหมายจับไม่ต้อง
ทําหนังสือถึงผู้พิพากษาหัวหน้าศาลให้เจ้าพนักงานตํารวจศาล
แต่ละศาลประสานงานโดยตรงไปยังเจ้าพนักงานตํารวจศาล
ของสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 แล้วให้เจ้าพนักงาน
ตํารวจศาลของสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ทําหนังสือ
ถึงอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ในการขออนุญาตใช้ยานพาหนะ
ไปร่วมจับกุม กรณีหากเจอผู้หลบหนีตามหมายจับสามารถ
จับกุมได้ทันทีโดยไม่ต้องขออนุญาต เนื่องจากเป็นอํานาจ
หน้าท่ีของเจ้าพนักงานตํารวจศาลอยู่แล้ว ในส่วนการเข้าถึง
ข้อมูลทะเบียนราษฎร์ให้เจ้าพนักงานตํารวจศาลทําบันทึก
ขอให้ผู้อาํ นวยการเป็นผู้ดาํ เนินการและอนุญาตให้เจ้าพนักงาน
ตํารวจศาลสามารถนํารถของงานบังคับคดีไปปฏิบัติหน้าท่ี
ในการติดตามจับกุมได้ รวมถึงให้จัดทํารายงานผลการ
ปฏิบัติงานในด้านการจับกุมในแต่ละเดือนแจ้งไปยังสํานักงาน
อธบิ ดีผพู้ พิ ากษาภาค 7
2) พิจารณาข้อหารือการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน
ตํารวจศาล ในกรณีท่ีมีจําเลยหลบหนีไม่มาศาลตามนัดและ
ศาลได้ออกหมายจับหากเจ้าพนักงานตํารวจศาลไปดําเนินการ
จับกุมจําเลยด้วยตัวเอง และกรณีท่ีเจ้าพนักงานตํารวจศาลได้
ประสานงานเป็นผู้ชี้ช่องไปยังเจ้าหน้าท่ีตํารวจท้องที่และ

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 64 

 

มีการจบั กุมจําเลยได้ ลักษณะเช่นนจี้ ะสามารถเบิกจา่ ยเงินสินบน
แ ล ะ เงิ น รางวั ล ให้ แ ก่ เจ้ า พ นั ก ง า น ตํ า ร ว จ ศ า ล ไ ด้ ห รื อ ไ ม่
อนุกรรมการเห็นควรให้ผพู้ ิพากษาหัวหน้าศาลเป็นผู้สั่งจ่ายเงิน
สินบนและเงินรางวัลให้แก่เจ้าพนักงานตํารวจศาลในการ
ดําเนินการจับกุมตามหมายจับของหมายศาลไม่ว่าจะเป็น
การจับกุมจําเลยด้วยตนเองหรือเป็นผู้ช้ีช่องให้เจ้าหน้าท่ีตํารวจ
ท้องที่ในการจับกุมจําเลยได้นั้น เพ่ือให้เป็นกําลังใจให้กับ
เจ้าพนักงานตํารวจศาลในการทํางาน และให้ปฏิบัติตาม
ระเบียบ ก.บ.ศ. ว่าด้วยคุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม การแต่งตั้ง
และการปฏิบัติหน้าที่ของผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อยช่ัวคราว
การจ่ายค่าตอบแทนและค่าใช้จ่ายของผู้กํากับดูแลผู้ถูกปล่อย
ช่ัวคราว ค่าพาหนะแก่ผู้ถูกปล่อยชั่วคราวที่ยากไร้ เงินสินบน
แก่ผู้แจ้งความนําจับ และเงินรางวัลแก่เจ้าหน้าที่ผู้จับผู้ถูก
ปล่อยชัว่ คราวโดยศาลทห่ี ลบหนี พ.ศ. 2561

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 พิจารณ าข้อหารือกรณี
เจ้าพนักงานตํารวจเป็นผู้ช้ีช่องให้จับกุมผู้หลบหนีท่ีได้รับ
การปล่อยตัวช่ัวคราว พบว่าเจ้าพนักงานตํารวจศาลขอคัดถ่าย
สําเนาคําฟ้องและหมายจับเพ่ือให้เจ้าพนักงานตํารวจในพื้นที่
ไปจับกุมผู้ต้องหาหรือจําเลยหลบหนีประกัน และขอเบิก
ค่าตอบแทนในฐานะผู้ชี้ช่องหรือผู้แจ้งความนําจับสามารถเบิก
ค่าตอบแทนในส่วนนี้ได้หรือไม่ อนุกรรมการเบื้องต้นเห็นควร
ให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 ทําหนังสือหารือกรณี
การจ่ายเงินเจ้าพนักงานตํารวจกรณีชี้ช่องให้จับกุมผู้หลบหนี
ที่ได้รับการปล่อยตัวช่ัวคราวไปยังสํานักกฎหมายและวิชาการ
ศาลยุติธรรม โดยเสนอผ่านนายเอนก อารยะญาณ รองอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 9 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลประจํา
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 และแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ในการประชุมคร้งั ต่อไป
17) ปัญหาข้อขัดข้องเก่ียวกับการปฏิบัติงานศาลในเขต
อํานาจอธิบดผี พู้ ิพากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบข้อสังเกตเกี่ยวกับ
การปฏิบตั งิ านและแจ้งแนวปฏิบตั ิเพื่อให้ศาลดําเนินการ ดังน้ี

1) การตรวจสอบสํานวนที่มีการอุทธรณ์ ฎีกา สํานักงาน
อธบิ ดีผูพ้ ิพากษาภาค 1 ได้มีแจง้ ให้ศาลตรวจสอบว่ามีสํานวนท่ี
ค้างส่งศาลในชั้นอุทธรณ์หรือศาลฎีกาเป็นเวลานาน หรือไม่ได้
ส่งภายในระยะเวลาที่กําหนดหรือไม่ พบว่ามีบางคดีอยู่ระหว่าง

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 65 

 

รอผลการส่งหมาย ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลกําชับเจ้าหน้าท่ี
ให้ติดตามผลแล้วรีบส่งสํานวนไปยังศาลสูงเพื่อพิจารณาโดยเร็ว
โดยเฉพาะคดีทจี่ ําเลยตอ้ งขัง

2) การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงานคดีของศาล ขอให้
ผู้พิ พ ากษ าหั วห น้ าศ าล กํากั บ ดู แลการป ฏิ บั ติ ห น้ าท่ี
เพ่อื สนับสนุนการพจิ ารณาคดขี องผู้พพิ ากษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ
สูงสุด

3) การบริหารจัดการคดีในช่วงสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ทําให้ผลการ
พิจารณาคดีระหว่างเดือนมกราคม – มิถุนายน 2564
ในหลายศาลมีคดีแล้วเสร็จน้อยมาก หากสถานการณ์คล่ีคลายแล้ว
ขอใหศ้ าลเร่งรดั พจิ ารณาคดใี หแ้ ลว้ เสร็จโดยเร็ว

4) การเล่ือนพิจารณาคดีและบุคลากรติดเช้ือไวรัสโคโรนา
2019 ส่งผลกระทบต่อการพิจารณาคดีของศาลมาก ขอให้
ศาลจัดให้มกี ารหมุนเวยี นงานของบุคลากร หรือจัดทําคมู่ ือการ
ปฏบิ ัติงาน เพื่อใหป้ ฏิบตั งิ านทดแทนกนั ได้

5) การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ พบว่าคู่ความท่ีอยู่
นอกศาลใช้พ้ืนท่ีสาธารณะหรือไม่ไดใ้ ช้พ้ืนที่ปิดที่ไม่มีบุคคลอื่น
ในระหว่างการพิจารณาคดี ขอให้ทุกศาลศึกษารายละเอียด
ตามประกาศสํานักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ
และเงื่อนไขเก่ียวกับใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์
ลงวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป
อย่างถูกต้อง และแจ้งคู่ความให้ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ระหว่าง
การพิจารณาคดี

6) การตรวจสํานวนความประจําวันของผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลให้ความสําคัญในการตรวจสอบ
ความถูกต้องของกระบวนพิจารณาคดี การออกหมายจําคุก
กักขัง หรือหมายอื่นๆ ตลอดจนการกําหนดประเด็นข้อพิพาท
ในคดีแพ่ง การเล่ือนพิจารณาคดี การนับโทษต่อเนื่อง และ
การหักวันต้องขัง เป็นต้น เพ่ือลดความผิดพลาดและทําให้การ
ปฏิบัตงิ านเป็นไปอยา่ งถกู ต้อง

7) การอนุญาตให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์หรือฎีกา
เป็นเวลานานหลายเดือน ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
พิจารณาเหตุผลความจําเป็นในการอนุญาตให้ขยายระยะเวลา
อุทธรณ์หรือฎีกาว่าอาจทําให้จําเลยได้รับความเสียหายหรือไม่
และกําชบั ใหผ้ ูพ้ ิพากษาให้ใชด้ ุลพนิ ิจอยา่ งเหมาะสม

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 66 

 

8) การเล่ือนการอ่านคําพิพากษาออกไปอาจทําให้จําเลย
ไม่ได้รับประโยชน์จากพระราชกฤษฎีกาพระราชทานอภัยโทษ
ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลพิจารณาว่ามีเหตุสมควรท่ีจะ
เลื่อนการอ่านออกไปหรือไม่ และกําชับผู้พิพากษาว่ากรณีที่จะ
พิจารณาให้เล่ือนการอ่านคําพิพากษาจะต้องมิให้กระทบต่อ
สทิ ธขิ องจาํ เลย

9) การตรวจสอบและการรายงานคดีถึงท่ีสุดในคดี
ที่ลงโทษประหารชีวิตไปยังสํานักงานศาลยุติธรรม ขอให้
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลกําชับเจ้าหน้าท่ีให้ตรวจสอบอย่าง
รอบคอบว่าคดีถึงที่สุดแล้วทั้งตรวจสอบจากสํานวนคดี
และตรวจสอบไปยังเรือนจําที่จําเลยถูกคุมขังว่ามีการยื่น
คําร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์หรือฎีกาหรือไม่ กรณีมีโทษ
ประหารชีวิตหรือจําคุกตลอดชีวิตให้ดําเนินการตามประมวล
กฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา มาตรา 245 ด้วย
และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลปฏิบัติตามข้อสังเกตและ
คําแนะนําของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจํา
ภาค 1 ตลอดจนกําชับผู้พิพากษาและเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงาน
ให้ใช้ความระมัดระวังในการปฏิบัติงาน เพ่ือไม่ให้เกิดความ
ผิดพลาดหรือกระทบสิทธิของผู้ต้องหาหรือจําเลย และเพื่อให้
กระบวนการพจิ ารณาคดีของศาลเปน็ ไปอยา่ งถกู ตอ้ ง

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบปัญหาข้อขัดข้องของ
ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 และแจ้งแนวทาง
ปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

1) การกําหนดจํานวนพยานและนัดสืบพยาน พบว่าศาล
บางแห่งนัดสืบพยาน จํานวน 20 นัด แต่สืบพยานจริง
เพียง 10 นัด ซึ่งจากจํานวนวันนัดที่กําหนดกับจํานวนวันนัด
ท่ีจะสืบพยานน่าจะใกล้เคียงกัน และกําหนดวันนัดสืบพยาน
กั บ จํ า น ว น วั น สื บ พ ย า น ห่ า ง กั น ม า ก เกิ น ไ ป ทํ า ใ ห้ จํ า เล ย
ถูกคุมขังเกิน 6 เดือน ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลกํากับดูแล
ผู้พิพากษาในการตรวจสอบพยานหลักฐานและกําหนดวันนัด
สืบพยานกับจํานวนสืบพยานให้เหมาะสม ส่วนการประชุมคดี
ให้ ผู้ พิ พ า ก ษ า เจ้ า ข อ ง สํ า น ว น ส อ บ ถ า ม พ นั ก ง า น อั ย ก า ร
ว่าควรสืบพยานจะใชเ้ วลาเท่าไร

2) การออกหมายจับ พบว่าเจ้าหน้าที่ธุรการไม่ดําเนินการ
เพิกถอนหมายจับ ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลตรวจสอบ
การออกหมายจับว่าได้มีเพิกถอนหมายจับหรือยัง และกรณี

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 67 

 

ศาลส่ังจําหน่ายคดีชั่วคราว ขอให้ตรวจสอบสํานวนคดีใดบ้าง
ที่ มี สั่ ง จํ า ห น่ า ย ค ดี ชั่ ว ค ร า ว แ ล ะ ไ ม่ มี ก า ร ดํ า เนิ น ก า ร ใ ด ๆ
ให้จัดทําหนังสือแจ้งโจทก์ให้มาแถลงภายในวันที่กําหนด
หากไม่มาแถลงให้คดถี ึงท่สี ดุ

3) การประกันตัวออนไลน์ พบว่าจําเลยและญาติจําเลย
ซ่ึงเป็นผู้ย่ืนประกันไม่รู้วิธีการลงทะเบียนแสดงตัวตนในระบบ
เพ่ือให้ศาลเช่ือถือและรับประกันจําเลยโดยแสดงหลักประกัน
ทางออนไลน์ได้ ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลจัดทําขั้นตอน
วิ ธี ก า ร แ ส ด ง ตั ว ต น ห รื อ วิ ธี ล ง ท ะ เบี ย น ใน ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์
ใหแ้ ก่ญาติของจาํ เลย โดยมอบใหแ้ ตล่ ะสถานตี ํารวจดว้ ย

4) การออกหมายจับในคดีสั่งจําหน่ายคดีชั่วคราว
ก ร ณี นํ า ค ดี ม า ฟ้ อ ง โด ย จํ า เล ย อ้ า ง ว่ า ฟ้ อ ง ซํ้ า แ ล ะ ค ดี เก่ า
มีอายุความเกิน 10 ปี ในคดีฟ้องขับไล่และจําเลยไม่ยอมออก
จากที่พิพาท เจ้าหน้าท่ีบังคับคดีจึงขอให้ศาลออกหมายจับ
ศาลจึงออกหมายจับโดยมีอายุความ 10 ปี และโจทก์แถลง
ต่อเจ้าพนักงานบังคับคดีให้ทําหน้าท่ีบังคับคดีแล้ว อายุความ
ในการบังคับคดีจึงไม่มีแล้วกรณีน้ีขอให้ผู้พิพากษานัดพร้อม
และออกหมายจับตามระยะเวลานัดพร้อม โดยไม่ควร
มปี ระเดน็ กาํ หนดอายุความ

5) การจัดอัตรากําลังผู้พิพากษาในศาล ขอให้ผู้พิพากษา
หวั หนา้ ศาลตรวจสอบการสืบพยาน หากศาลใดมีการสืบพยาน
จํ า น ว น ม า ก ก็ จ ะ ง่ า ย ต่ อ ก า ร ข อ อั ต ร า กํ า ลั ง ผู้ พิ พ า ก ษ า
จากสํานักงานศาลยุติธรรมได้ และรวบรวมข้อมูลดังกล่าว
แจง้ ไปยงั สาํ นักงานอธบิ ดผี พู้ ิพากษาภาค 8
18) การเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์
ของผพู้ ิพากษา ดะโตะ๊ ยตุ ิธรรม และผพู้ พิ ากษาสมทบ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบแนวทางการเสนอ
ขอพระราชทานเคร่อื งราชอิสรยิ าภรณ์ และการตรวจสอบสิทธิ
ของผู้พิพากษา ดะโต๊ะยุติธรรม และพิพากษาสมทบ
และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลปฏิบัติตามหนังสือสํานักงาน
ศาลยุติธรรม ท่ี ศย 023/ ว 248 (ป) ลงวันที่ 18 ธันวาคม
2563 เรื่องแนวทางการเสนอขอพระราชทานเครื่องราช
อิ ส ริย าภ รณ์ ส่ วน ก รณี ก ารข อ เค รื่อ งพ ระ ราช ท าน

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 68 

 

เค รื่ อ ง ร า ช อิ ส ริ ย า ภ ร ณ์ คู่ ส ม ร ส ข อ ง ผู้ พิ พ า ก ษ า ศ า ล แ ข ว ง
และศาลเยาวชนและครอบครัว ให้ศาลเยาวชนและครอบครัว
จังหวัดนราธิวาสแจ้งประเด็นข้อหารือดังกล่าวไปยังสํานักงาน
ศาลยุติธรรม และส่งสําเนาหนังสือไปยังสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 9 ด้วย กรณีน้ีสํานักคณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญ หาข้อขัดข้องไปยังหน่วยงาน
ท่ีรับผิดชอบโดยตรง คือสํานักคณ ะกรรมการตุลาการ
ศาลยุติธรรม เพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาแก้ไขปัญหา
ใหแ้ กศ่ าลอีกทางหนึ่ง
19) ข้อหารือเร่ืองสิทธิประโยชน์ของบุคลากรศาลยุติธรรม
ทปี่ ฏิบตั งิ านในพ้นื ทีส่ ามจังหวดั ชายแดนภาคใต้

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 พิจารณาข้อหารือเก่ียวกับ
สิทธิประโยชน์ของบุคลากรศาลยุติธรรมที่ปฏิบัติงานในพื้นท่ี
สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กรณีขอปรับอัตราเพ่ิมค่าเส่ียงภัย
จากเดิม 2,500 บาท เป็น 4,500 บาท อนุกรรรมการ
เห็ น ค วรให้ ศาลเยาวชน และครอบ ครัวจังห วัดยะลา
ทําหนังสือถึงคณ ะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมหารือ
เรื่องสิทธิประโยชน์ของบุคลากรศาลยุติธรรมที่ปฏิบัติงาน
ในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และส่งสําเนาหนังสือ
ไปยงั สาํ นักงานอธบิ ดีผพู้ ิพากษาภาค 9 ดว้ ย
20) ข้อหารือการชําระค่าขึ้นศาลของศาลเยาวชนและ
ครอบครวั ในเขตอํานาจอธิบดผี พู้ ิพากษาภาค 9

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 พิจารณาข้อหารือเกี่ยวกับ
การชาํ ระค่าข้นึ ศาลของศาลเยาวชนและครอบครัว กรณียืน่ ฟอ้ ง
ห ย่ าแ ล ะ ข อ ใ ช้ อํ า น า จ ป ก ค ร อ ง บุ ต ร ใ น คํ า ฟ้ อ ง เดี ย ว กั น
และกรณียื่นคําร้องขอตั้งผู้จัดการมรดก 2 คนในคําร้อง
เดียวกัน พบว่าศาลเยาวชนและครอบครัวในเขตอํานาจอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 9 เก็บค่าขึ้นศาลแตกต่างกัน เพราะบางศาล
ถือว่าเป็นสํานวนเดียวกันและบางศาลถือว่าเป็นคนละสํานวน
ควรเก็บค่าขึ้นศาลอย่างไร ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
เยาวชนและครอบครัวในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9
ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1520
กรณีคดีฟ้องหย่าเป็นคดีไมม่ ีทุนทรัพย์ หากมคี ําขอเรื่องอํานาจ

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 69 

 

ปกครองบุตรหรือตัดอํานาจปกครองบุตรและการยื่นคําร้อง

ขอตั้งผู้จัดการมรดก 2 คน ถือว่าเป็นเรื่องเดียวเก่ียวพันกัน

ให้เกบ็ ค่าขึน้ ศาล 200 บาท

21) ข้อหารือหลักเกณฑ์และการเบิกจ่ายเบี้ยประชุมและ

ค่าตอบแทนในการพจิ ารณาและวนิ จิ ฉยั คดีเลอื กตั้ง

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 เห็นควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้า
ศาลปฏิบัติตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม ท่ี ศย 015/ว
18 (ป) ลงวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 เร่ืองหลักเกณฑ์
และการเบิกจ่ายงบประมาณตามระเบียบ ก.บ.ศ. ว่าด้วย
เบ้ียประชุมและค่าตอบแทนในการพิจารณาและวินิจฉัยคดี
เก่ียวกับสิทธิสมัครรับเลือกต้ัง และการเพิกถอนสิทธิสมัครรับ
เลือกตั้งหรือสิทธิเลือกต้ังในการเลือกต้ังสมาชิกสภาท้องถ่ิน
หรือผู้บริหารท้องถ่ิน พ.ศ. 2562 ส่วนกรณีการคุมขัง
ผู้ต้องหาหรือจําเลยวันท่ีถูกคุมขัง ในวันท่ีถูกจับกุมและวันที่
ปล่อยตัว สามารถนําวันคุมขังมาหักแทนค่าปรับได้หรือไม่
ขอให้ผู้พิพากษาปฏิบัติตามกฎหมายกําหนดว่าวันเร่ิมกักขัง
แทนค่าปรับ หรือวันเร่ิมจําคุกให้นับวันเริ่มเป็น 1 วันเต็ม
โดยไม่ต้องคํานึงถึงจํานวนช่ัวโมง ส่วนวันอื่นๆ ต้องนับ 24
ช่ัวโมงเป็น 1 วัน หากจําเลยถูกคุมขังไม่ครบวันจึงไม่สามารถ
นํามาหักวันคุมขังได้ สําหรับคดีท่ีศาลสั่งจําหน่ายคดีจําเลย
บ า ง ค น ใ น ค ดี ฟ้ อ ง จํ า เล ย ห ล า ย ค น ใ น ร ะ ห ว่ า ง นั้ น จํ า เล ย
มีพฤติกรรมหลบหนี ศาลสามารถออกหมายจับเฉพาะจําเลย
ที่หลบหนีได้หรือไม่ ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเพิกถอน
กระบวนพิจารณาท่ีออกหมายจับและปรับนายประกันและ
ออกหมายเรียกจําเลยมาศาลใหม่ แล้วค่อยออกหมายจับปรับ
นายประกันใหม่ แต่หากปฏิบัติไปแล้วน้ัน ไม่ต้องเพิกถอน
หมายจับและสั่งปรบั นายประกันใหม่ การสงั่ ออกหมายจบั และ
ปรบั นายประกนั ครง้ั ก่อนถูกต้องและใช้ไดแ้ ลว้
22) การนั่งพิจารณาคดีและการดําเนินกระบวนพิจารณา
คดคี รบองคค์ ณะ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบข้อมูลการร้องเรียน
จากสํานักงานผู้ตรวจการแผ่นดินเก่ียวข้องกับการพิจารณาคดี
และการดําเนินกระบวนพิจารณาคดีไม่ครบองค์คณะของ
ผู้พิพากษา และแจ้งให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลในเขตอํานาจ
อธิบดีผู้พิพากษาภาค 5 ทุกศาลกํากับดูแลและกําชับ

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 70 

 

ผู้พิพากษาในศาลเก่ียวกับการนั่งพิจารณาคดีและการดําเนิน
กระบวนพิจารณาคดีครบองค์คณะให้เป็นไปอย่างเคร่งครัด
เพ่อื ไม่ให้เกดิ ปญั หาข้อรอ้ งเรียน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
เกี่ยวกับการนั่งพิจารณาพิพากษาคดีครบองค์คณะ พบว่าบาง
ศาลยังมีการนั่งพิจารณาคดีไม่ครบองค์คณะ และแจ้งให้
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6
ทุกศาลถือปฏิบัติตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรมเกี่ยวกับการ
พิจารณาคดีครบองค์คณะอย่างเคร่งครัด เพื่อไม่ให้เกิดปัญหา
ข้อร้องเรียนและเพ่อื อํานวยความยตุ ิธรรมใหแ้ กค่ ูค่ วาม
23) ข้อสังเกตจากการตรวจราชการและนิเทศงานธุรการ
ของศาลในเขตอํานาจอธิบดผี ู้พพิ ากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบนโยบายประธาน
ศาลฎีกาและข้อเสนอแนะของประธานศาลฎีกาเก่ียวกับ
การพิจารณ าคดีและปฏิบัติงานภายในศาล และขอให้
ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลเร่งปฏิบัติตามข้อเสนอแนะฯ เช่น
ในศาลจังหวัดและศาลแขวงที่มีคดีจัดการพิเศษจํานวนมาก
ให้ศาลเพ่ิมวันนัดพิจารณาคดีจัดการพิเศษเพิ่มเติมในวันอื่นๆ
นอกจากวันจันทร์โดยพิจารณาจากปริมาณคดี รวมถึงบริหาร
จัดการระบบการยื่นฟ้องแบบ e-filling ให้สอดคล้องกับการ
บริหารจัดการคดีจัดการพิเศษด้วย เพื่อให้การนัดพิจารณาคดี
ไม่ยาวเกินไปและไม่ให้ล่าช้ากว่าคดีปกติ ส่วนการอนุญาต
ข ย า ย ร ะ ย ะ เว ล า อุ ท ธ ร ณ์ ห รื อ ฎี ก า จ ะ ต้ อ ง คํ า นึ งถึ ง จํ า เล ย
ผู้ต้องขังด้วย โดยให้ผู้พิพากษาเจ้าของสํานวนเป็นผู้พิจารณา
ส่ัง ส่วนในคดีผู้บริโภคขอให้เจ้าพนักงานคดีต้องให้ความเห็น
และตรวจสอบความถูกต้องของคาํ ร้องด้วย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 รับทราบประเด็นปัญหา
ข้อขัดข้องของศาลจังหวัดนครพนมและศาลแขวงขอนแก่น
และแจ้งแนวทางปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

1) การบริหารจัดการคดีในคดีจัดการพิเศษ หากมีคดีมาก
ให้ศาลกําหนดนัดคดีจัดการพิเศษในวันจันทร์และวันอังคาร
ของทุกสัปดาห์ ส่วนวันพุธถึงวันศุกร์ให้นัดพิจารณาคดีต่อเน่ือง
หรือศาลอาจปรับให้เหมาะสมโดยเพิ่มจํานวนวันนัดคดีจัดการ
พิเศษในแต่ละสัปดาห์หรือทุกวันบางสัปดาห์ เพื่อมิให้การนัด
พิจารณาคดจี ัดการพเิ ศษนานเกินไป

๒) การบริหารจัดการคดีในช่วงสถานการณ์การแพร่

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมิภาค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 71 

 

ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ให้ศาลปฏิบัติ
ตามคําแนะนําของคณะอนุกรรมการศึกษาติดตามและแก้ไข
ปัญหาการบริหารจัดการคดีภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาด
ของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019

๓) การไกล่เกลี่ยก่อนฟ้อง ศาลควรใช้วิธีการไกล่เกลี่ย
ก่อนฟ้องให้มากข้ึนและการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มบุคคลที่เป็น
ลูกหน้ีทราบ และให้ผู้พิพากษาพิจารณาให้ความเป็นธรรม
ระหว่างคู่กรณี และหลีกเลี่ยงค่าธรรมเนียมศาล โดยเฉพาะ
คู่กรณีย่ืนคําร้องขอให้ศาลมีคําพิพากษาตามข้อตกลงหรือ
สัญญาประนีประนอมยอมความให้พิจารณาตามข้อกําหนด
ของป ระธาน ศาลฎี กาว่าด้วยการไกล่เกล่ียก่อน ฟ้ อง
พ.ศ. ๒๕๖๓ ข้อ ๑๔ และ ข้อ ๑๕ ประกอบทกุ ครั้ง

๔) การพิจารณาส่ังคําร้องขอขยายระยะเวลาอุทธรณ์ฎีกา
ให้ ผู้ พิ พ า ก ษ า ใช้ ดุ ล พิ นิ จ ให้ เห ม า ะ ส ม ใน แ ต่ ล ะ ค ดี ไ ม่ ค ว ร
เกิน ๓ คร้ัง โดยเฉพาะคดีอาญาท่ีจําเลยถูกคุมขัง และให้
ผู้พิพากษาเจ้าของสํานวนหรือองค์คณะเป็นผู้พิจารณาสั่งด้วย
ตนเอง

๕) การเก็บข้อมูลสถิติคดีและการบันทึกข้อมูลคดี
ควรตรวจสอบให้ถูกต้องและบันทึกในระบบฐานข้อมูลคดี
ทุกครั้งท่ีมีการเปล่ียนแปลง เพ่ือให้สามารถพัฒนาปรับปรุง
การทํางานของศาลและบริหารจัดการคดีได้อย่างเหมาะสม

๖) การจัดเก็บสํานวนความและเอกสารต่างๆ ขอให้ศาล
ปฏิบัติตามระเบียบ ก.บ.ศ. ว่าด้วยงานธุรการเก่ียวกับสํานวน
ความและเอกสาร พ .ศ. ๒๕๕๗ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
แ ล ะ ข้ อ กํ า ห น ด ข อ ง ป ร ะ ธ า น ศ า ล ฎี ก า ว่ า ด้ ว ย ก า ร จั ด ทํ า
สารบบความ สารบบคําพิพากษาและการรวบรวมเก็บรักษา
เอกสารในสํานวนความในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒
โดยเฉพาะเอกสารสําคัญ ในสํานวนให้เก็บรักษาไว้ใน
ทีป่ ลอดภยั

๗) การกําหนดองค์คณะผู้พิพากษารับผิดชอบในการ
กําหนดวันนัดสืบพยานท้ังคดีแพ่งและคดีอาญาให้มีองค์คณะ
ผู้พิพากษาคณะเดียวเป็นคดีแพ่ง ๑ คณะ คดีอาญา ๑ คณะ
เพื่อให้รูปแบบเป็นมาตรฐานเดียว และมีความรัดกุมเหมาะสม
ในแต่ละคดี

๘) การคุ้มครองสทิ ธขิ องผูต้ ้องหาหรือจําเลย ให้ผ้พู ิพากษา
พิจารณาปล่อยชั่วคราวด้วยวิธีต่างๆ ที่กฎหมายบัญญัติ

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 72 

 

ประกอบคําแนะนําประธานศาลฎีกาว่าด้วยการขยายโอกาส
ในการเข้าถึงสิทธิท่ีจะได้รับการปล่อยชั่วคราว พ.ศ. ๒๕๖๒
ให้ปล่อยชั่วคราวโดยไม่มีประกันหรือมีประกัน แต่ไม่มี
หลักประกันให้ มากข้ึน รวมถึงการใช้คําร้องใบเดียว
การประเมินความเสี่ยง การกําหนดเงื่อนไขและการต้ังผู้กํากับ
ดูแล และให้ศาลสํารวจข้อมูลคดีท่ีผู้ต้องหาหรือจําเลยต้องขัง
ระหว่างสอบสวนหรือระหว่างพิจารณาท่ีไม่เคยย่ืนคําร้อง
ขอปล่อยช่ัวคราว และอยูใ่ นเกณฑ์ทอ่ี นุญาตให้ปล่อยช่ัวคราวได้
ให้ยื่นคําร้องขอปล่อยชั่วคราวเพื่อลดการคุมขังที่ไม่จําเป็น
และการคุ้มครองสิทธิผู้เสียหายโดยให้จัดต้ังศูนย์คุ้มครอง
ผเู้ สยี หาย

๙) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่บุคลากรของศาล ขอให้
ศาลจัดให้เจ้าหน้าที่เรียนรู้งานซ่ึงกันและกัน เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติหน้าที่แทนกันได้ในกรณีท่ีคนใดคนหน่ึงไม่สามารถมา
ปฏิบัติหน้าท่ีได้ รวมทั้งจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการอยู่เวร
ในวันหยุดแก่เจ้าหน้าทก่ี ่อนการจดั ใหอ้ ย่เู วรด้วย

๑๐) การรับฟ้องทางระบบ e-filing เน่ืองจากสถานการณ์
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโควิค 19 ทําให้มีการฟ้องคดี
ทางระบบ e-filing เพ่ิมมากขึ้น ขอให้ศาลพิจารณากําหนด
จาํ นวนคดที ่ีย่ืนทางระบบ e-filing ในวันนัดคดีให้เหมาะสมกับ
ปรมิ าณคดใี นแตล่ ะชว่ งเวลา

๑๑) การมอบหมายงานแก่เจ้าพนักงานคดี ให้คํานึงถึง
กรอบอํานาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานคดีตามพระราชบัญญัติวิธี
พิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบข้อกําหนดของ
ประธานศาลฎีกาว่าด้วยการดําเนินกระบวนพิจารณาและการ
ปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าพนักงานคดีในคดีผู้บริโภค พ.ศ. ๒๕๕๑
และให้ประชาสัมพันธ์อํานาจหน้าท่ีของเจ้าพนักงานคดี
ใหป้ ระชาชนทราบ
และแจ้งแนวทางการปฏิบตั ิงานเพื่อใหศ้ าลในเขตอํานาจอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 4 ปฏิบตั ิงานให้เป็นไปตามระเบียบที่เก่ียวข้อง
และเปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
ของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 และแจ้ง
แนวทางปฏิบัติ ดงั น้ี

1) การรายงานคดี ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้ง
ผู้พิพากษาปฏิบัติตามระเบียบของสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 73 

 

ภาค 6 ซ่ึงระบุไว้ในหมวด 2 ข้อ 7 (3) คดีอาญา คดีทุก
ประเภทที่อัตราโทษจําคุกเกิน 10 ปีข้นึ ไปต้องรายงาน เว้นแต่
คดีท่ีจําเลยให้การรบั สารภาพโดยไม่ตอ้ งฟังพยานโจทก์ประกับ
คํารับสารภาพ ฉะนั้นแล้ว แม้คดีขึ้นสูงเกนิ 10 ปี แต่โทษขั้นต่ํา
ไ ม่ ต้ อ ง สื บ ป ร ะ ก อ บ ไ ม่ ต้ อ ง ร า ย ง า น ค ดี แ ล ะ ไ ม่ ต้ อ ง ส่ ง ใ ห้
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 ตรวจ สําหรับคดีความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 277 ให้ดูว่าเหตุแห่งคดี
เกิดก่อนหรือหลังวันที่ 28 พฤษภาคม 2562 หากเกิดก่อน
ให้ใช้กฎหมายเดิมก่อนแก้ไขโทษจําคุก ต้องระวางโทษต้ังแต่
4 - 20 ปี โดยไม่สืบประกอบคํารับสารภาพ ดังนั้นไม่ต้อง
รายงานคดีและไม่ต้องส่งให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6
ตรวจ

2) การพิจารณาคดีในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
มอบหมายให้เจ้าหน้าท่ีโทรศัพท์ไปแจ้งเตือนหรือสอบถาม
ผู้ต้องหาหรือจําเลยก่อนวันนัดพิจารณาคดี หากติดต่อ
สอบถามแล้วไม่สามารถเดินทางมาศาลได้ ขอให้ผู้พิพากษา
เลื่อนคดีไปก่อน และลงนัดใหม่แล้วแจ้งให้ผู้ต้องหาหรือจําเลย
ทราบ แต่ถ้าติดต่อไม่ได้หรือมาไม่ได้เพราะต้ังใจไม่มา
ผู้พิพากษาอาจพจิ ารณาพพิ ากษาฝ่ายเดียว
และเห็นควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งผู้พิพากษาและ
เจ้าหน้าที่ที่เก่ียวข้องดําเนินการตามข้อสังเกตจากการตรวจ
ราชการและนิเท ศงาน เพื่ อให้ศาลปฏิบัติงานให้เป็น
ไปดว้ ยความถูกต้องและเปน็ ไปในแนวทางเดยี วกัน
24) ข้อสังเกตจากการตรวจร่างคําพิพากษาของศาลในเขต
อํานาจอธิบดผี พู้ ิพากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบข้อสังเกตและแนวทาง
การแก้ไขปัญหาข้อขัดข้อง ดังนี้

1) บางศาลมีคดีที่มีข้อเท็จจริงหรือคดีลักษณะเดียวกัน
แต่มีการกําหนดโทษต่างกัน มีการลงโทษเกินบัญชีมาตรฐาน
โทษของภาค รวมถึงไม่ได้สั่งลงโทษในบางข้อหา ขอให้ผู้พิพากษา
หวั หน้าศาลตรวจสอบและให้คําปรึกษาเพื่อให้เกิดความถูกต้อง
และเป็นไปในแนวทางเดยี วกัน

2) การพิจารณาว่าจะริบหรือไม่ริบของกลางตามที่มี
คําขอท้ายฟ้อง ผู้พิพากษาจะต้องระบุเหตุผลในการริบหรือไม่ริบ
ของกลางไว้ดว้ ย

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 74 

 

3) การรายงานผลการอ่านคําพิพากษา ขอให้ตรวจสอบ
และรายงานไปยงั สํานักงานอธบิ ดผี ูพ้ ิพากษาภาคตามกําหนด

4) การอนุญาตให้ขยายระยะเวลาอุทธรณ์ ให้ผู้พิพากษา
พิจารณาเหตุผลและอนุญาตใหข้ ยายเทา่ ท่จี าํ เป็นเท่านน้ั

5) ร่างคําพิพากษามีการพิมพ์ผิดจํานวนมาก ขอให้
ตรวจทานความถูกต้องของการพิมพ์ รวมถึงการลงลายมือช่ือ
ใหค้ รบถ้วน
แ ล ะ ข อ ให้ ผู้ พิ พ า ก ษ า หั ว ห น้ า ศ า ล กํ า กั บ ดู แ ล แ ล ะ แ จ้ ง ให้
ผู้ พิ พ า ก ษ า ใ ช้ ค ว า ม ล ะ เอี ย ด ร อ บ ค อ บ ใน ก า ร ล ง โ ท ษ แ ล ะ
การจัดทําคําพิพากษา โดยให้ใช้บัญชีมาตรฐานโทษของ
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 ประกอบการใช้ดุลพินิจ
กําหนดโทษเพ่ือให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน นอกจากน้ี ขอให้
ศาลตรวจสอบร่างคําพิพากษาก่อนส่งไปให้สํานักงานอธิบดี
ผพู้ ิพากษาภาคตรวจดว้ ย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบข้อสังเกตจากการ
ตรวจรา่ งคําพพิ ากษาและแจ้งแนวทางใหศ้ าลดําเนนิ การ ดังน้ี

1) คดีผู้บริโภคในช้ันอุทธรณ์ พบว่าศาลช้ันต้นส่งสํานวน
คดีให้แก่ศาลอุทธรณ์ โดยมีข้อเท็จจริงท่ีสําคัญและจําเป็น
ไม่เพียงพอต่อการพิจารณา ทําให้ศาลอุทธรณ์ภาค 8 วินิจฉัย
คดีไม่ได้ขอให้ผู้พิพากษาเขียนคําพิพากษาให้ชัดเจนและระบุ
รายละเอียด เช่น วันท่ีลูกหน้ีผิดนัด วันท่ีจําเลยชําระหน้ี
คร้ังสุดท้าย รวมถึงจํานวนเงินที่ชําระ จํานวนเงินต้นและ
ดอกเบี้ยท่ีคงเหลือจากการชําระหนี้ครั้งหลังสุด อัตราดอกเบ้ีย
ที่โจทก์คิดจากจําเลย การบอกกล่าวเมื่อลูกพนี้ผิดนัดต่อลูกหนี้
และผู้คําประกัน (ถ้ามี) รวมท้ังหลักฐานต่างๆ ให้ครบถ้วน
เพื่อให้ศาลอุทธรณ์ภาค 8 มีข้อมูลในการพิจารณาได้อย่าง
ถกู ต้อง

2) คดีอาญาสิ่งแวดล้อม กรณีพนักงานอัยการสั่งให้ชดใช้
ค่าเสียหาย พบว่าศาลช้ันต้นพิพากษาคดีส่วนแพ่งโดยไม่ได้
สอบคําให้การของจําเลย เป็นเหตุให้กระบวนการพิจารณา
และพิพากษาคดีในส่วนแพ่งโดยมิชอบ ดังน้ันขอให้ผู้พิพากษา
สอบคําให้การจําเลยในคดสี ่วนแพง่ ในส่วนค่าเสียหายด้วย
และให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งให้ผู้พิพากษาจัดทําสาํ นวนคดี
และร่างคําพิพากษาให้มีรายละเอียดท่ีครบถ้วนเป็นไปตาม
กฎหมายท่ีเก่ียวข้อง และเป็นไปตามแนวทางที่สํานักงาน
อธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 กําหนด เพ่ือให้การจัดทําสํานวนคดี

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 75 

 

และร่างคําพิพากษาเป็นไปอย่างถูกต้องและเป็นไปในแนวทาง
เดียวกนั
25) การรายงานคดีสําคัญ การรายงานคดี และการตรวจ
สาํ นวนคดใี นสาํ นักงานอธบิ ดีผพู้ ิพากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบแนวทางเกี่ยวกับการ
รายงานคดีและการตรวจสํานวนคดีของสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 2 ตามระเบียบสํานักงานอธิบดีพิพากษาภาค 2
ว่าด้วยการรายงานคดีสําคัญ การรายงานคดี และการตรวจ
สํานวนคดีในสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 พ.ศ. 2563
มีสาระสําคัญเกี่ยวกับการกําหนดประเภทคดีท่ีต้องรายงาน
และกําหนดระยะเวลาการรายงาน รวมถึงการส่งสํานวนให้
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 ตรวจก่อนอ่านคําพิพากษา
และให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลกํากับดูแลการปฏิบัติงานและ
แจง้ ให้ผู้พิพากษาและเจ้าหน้าท่ีศาลศกึ ษารายละเอียดเก่ยี วกับ
การรายงานคดีและการส่งสํานวนคดีฯ ไปยังสํานักงานอธิบดี
ผูพ้ ิพากษาภาค 2 เพ่ือนาํ ไปใช้ประกอบการปฏิบตั ิงานได้อย่าง
ถูกต้องเป็นไปตามระยะเวลาที่กําหนด และเป็นแนวทาง
เดียวกันทุกศาล
26) การนําวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ใน
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบแนวทางการนําวิธี
พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ซ่ึงปัจจุบัน
สํานักงานศาลยุติธรรมได้ออกหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
เก่ียวกับการใช้วิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ รวมถึง
ข้อกําหนดของประธานศาลฎีกาว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีทาง
อิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563 และให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
นําหลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณา
คดีทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ และไปใช้ในคดีท่ีกําหนด เช่น
คดีจัดการมรดก คดีจัดการพิเศษ คดีแพ่งท่ีไม่ยุ่งยากซับซ้อน
คดีขอให้มีคําส่ังเป็นคนสาบสูญ ฯลฯ โดยปฏิบัติตามประกาศ
สํานักงานศาลยุตธิ รรม รวมถึงข้อกําหนดของประธานศาลฎีกา
อยา่ งเคร่งครัด

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
และแนวทางแก้ไขเกี่ยวกับการพิจารณาคดีโดยวิธีการทาง
อิเลก็ ทรอนิกส์ ดังน้ี

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 76 

 

1) การพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ ให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลปฏิบัติตามประกาศสํานักงานยุติธรรมเรื่อง
หลักเกณฑ์ วิธีการ และเง่ือนไขเกี่ยวกับการใช้วิธีพิจารณาคดี
ทางอิเล็กทรอนิกส์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค
ไวรัสโคโรนา 2019 ทั้ง 4 ฉบับ การไต่สวนคําร้องท่ีไม่มี
ผู้คัดค้าน คดผี ู้บริโภค คดีมโนสาเร่ คดไี ม่มขี ้อยุ่งยาก คาํ ร้องใน
คดีแพ่งและคดีแพ่งทุกประเภท สามารถใช้แอปพลิเคชันใดก็ได้
เช่น CISCO WEBEX, GOOGLE MEET, LINE, ZOOM MEETING
เป็นต้น ยกเว้นคดีที่จําเลยมีการให้การหรือต่อสู้คดีให้ใช้
แอปพลิเคชันใดในการน่ังพิจารณาคดีเฉพาะ CISCO WEBEX
และ GOOGLE MEET เท่านัน้

2) ระบบอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร ซึ่งเป็นระบบสําคัญ
ในการพิจารณาคดีโดยวิธีอิเล็กทรอนิกส์ ขอให้ผู้พิพากษา
หั ว ห น้ า ศ า ล ป ฏิ บั ติ ต า ม ห นั ง สื อ สํ า นั ก ง า น ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม
ดว่ นที่สุด ศย 015/ว 67 (ป) ลงวันท่ี 12 พฤษภาคม 2564
ให้เบิกจ่ายค่าวัสดุอุปกรณ์คงถาวรมีราคาต่อชุดไม่เกิน 5,000 บาท
เพื่อให้การทํางานเกิดเสถียรภาพ หากมีปัญหาเก่ียวกับการ
เบกิ คา่ ใช้จ่ายใหป้ รึกษาสํานกั แผนงานและงบประมาณ

3) การปรับปรุงห้องพิจารณาคดี เพื่อความปลอดภัย
ระหว่างการพิจารณาคดี เน่ืองจากสํานักงานศาลยุติธรรมจะมี
งบ ป ระ ม าณ ใน ก ารป รั บ ป รุ งแ ล ะ ซ่ อ ม แ ซ ม อ าค ารท่ี ไม่ เกิ น
50,000 บาท ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลสามารถเบิกจ่าย
งบประมาณเพื่อปรับปรุงในส่วนน้ีได้ หากมีปัญหาข้อขัดข้อง
ให้ปรึกษาไปยงั สํานกั งานอธิบดีผพู้ ิพากษาภาค 7

4) การพิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกส์ของคดีผู้บริโภคเก่ียวกับ
การทําสัญญาประนีประนอมยอมความ ขอให้ผู้พิพากษาสอบ
ยืนยันตัวตนของโจทก์ว่าเป็นโจทก์จริงแล้วลงลายมือชื่อใน
สัญญาประนีประนอมยอมความต่อหน้าทางอิเล็กทรอนิกส์
และส่งเข้าระบบ จากน้ันอ่านให้คู่ความฟังยืนยันความถูกต้อง
และจดในรายงานกระบวนพิจารณาให้ละเอียดว่าส่งสัญญา
ประนีประนอมยอมมาอยา่ งไรโดยวธิ กี ารใดใหช้ ัดเจน

5) รับทราบปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะในการ
พิจารณาคดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ในคดีแพ่งและ
คดีอาญาของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ที่ยัง
มีการพิจารณาคดีโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ค่อนข้างน้อย
เพ่ือหาทางแก้ไขปัญหาต่างๆ และอํานวยความยุติธรรมให้แก่

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 77 

 

ประชาชนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
พิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์ให้มากขึ้น และกําชับผู้พิพากษา
ให้ปฏิบัติตามระเบียบท่ีเก่ียวข้อง รวมถึงประชาสัมพันธ์
ให้คู่ความใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในกระบวนการพิจารณาคดี
ให้มากขึ้น ส่วนปัญหาระบบอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร ขอให้
ผู้พิ พ าก ษ าต รวจสอ บ ระบ บ ก ารใช้งาน อิน เท อ ร์เน็ ต
ผ่านสัญญาณระบบเครือข่ายระบบ LAN ในห้องพิจารณาคดี
ทุกห้อง รวมถึงการติดตั้งจุด LAN ว่าเพียงพ อหรือไม่
เม่ื อ ได้ รั บ จั ด ส ร ร ง บ ป ร ะ ม า ณ เกี่ ย ว กั บ ก า ร ป รั บ ป รุ ง ห้ อ ง
พิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกส์ ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลติดต้ัง
สาย LAN ในห้องพิจารณาคดีก่อน เพื่อให้การทํางานเกิด
เสถียรภาพ หากศาลใดมีงบประมาณไม่เพียงพอสามารถ
ขอประมาณเพ่ิมเติมได้ กรณีมีปัญหาข้อขัดข้องให้ปรึกษา
ไปยงั สาํ นักงานอธบิ ดผี ู้พิพากษาภาค 7
27) แนวทางการรอการกําหนดโทษของศาลในเขตอํานาจ
อธบิ ดผี พู้ ิพากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบรายละเอียดเก่ียวกับ
แนวทางปฏิบัติในการรอการกําหนดโทษของสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 6 และคําแนะนําของประธานศาลฎีกา
เก่ียวกับวิธีรอการกําหนดโทษ การรอการลงโทษและ
การกําหนดเงื่อนไขเพื่อควบคุมความประพฤติ พ.ศ. ๒๕๕๙
และคําแนะนําของสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6
แ ล ะ ข อ ให้ ผู้ พิ พ า ก ษ า หั ว ห น้ า ศ า ล แ จ้ ง ผู้ พิ พ า ก ษ า ป ฏิ บั ติ
ตามคําแนะนําดังกล่าวข้างต้น เพ่ือให้การกําหนดโทษเป็นไป
อย่างเหมาะสมอันเป็นการคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาหรือ
จาํ เลยและเปน็ แนวทางเดียวกนั
28) ขอ้ หารือการขอประกนั ตัวกอ่ นวนั นดั สอบคําใหก้ ารจําเลย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 แจ้งแนวทางการปฏบิ ัติเกีย่ วกับ
การปล่อยตัวชั่วคราวในคดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ก่อนวันนัดสอบ
คําใหก้ าร ดงั นี้

1) เม่ือจําเลยมาย่ืนคําร้องขอปล่อยช่ัวคราวก่อนวันนัด
สอบคําให้การ ในระหว่างรอศาลพิจารณาคําร้องดังกล่าว
ไม่ควรจดั ให้จําเลยอยู่ในหอ้ งรอประกนั หรอื หอ้ งควบคุม

2) จาํ เลยไม่จําต้องยนื่ คําร้องขอมอบตัว
3) ในกรณีที่ศาลพิจารณาแล้วไม่อนุญาตให้ปล่อยชั่วคราว

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 78 

 

ในระหว่างพิจารณาคดี ซ่ึงจําเลยมีสิทธิย่ืนคําร้องขอปล่อย
ชั่วคราวหรือย่ืนคําร้องอุทธรณ์คําส่ังนั้นได้ตามกฎหมาย ดังนั้น
จําเลยจึงอาจได้รับการปล่อยช่ัวคราวประกอบกับยังไม่ถึงวัน
นัดสอบคําให้การจําเลย จึงไม่ควรส่ังควบคุมตัวจําเลยก่อนวันนัด
เพ่ือให้ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 ปฏิบัติงาน
เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกัน
29) แนวทางการกําหนดบัญชีมาตรฐานการกําหนดโทษ
การใช้ดุลพินิจในการรอการกําหนดโทษ ตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๕๖ หรือยกโทษจําคุกตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๕๕

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบประเด็นปัญหา
เกี่ยวกับ การกําหนดบัญชีมาตรฐานการกําหนดโทษ กรณีการ
ใช้ดุลพินิจในการรอการกําหนดโทษตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๕๖ หรือยกโทษจําคุกตามประมวลกฎหมาย
อาญา มาตรา ๕๕ พบว่าศาลมีแนวทางกําหนดโทษแตกต่างกัน
ดังนั้นขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลให้คําแนะนําแก่ผู้พิพากษา
ใน ศ า ล ใ น ก า ร ใช้ ดุ ล พิ นิ จ ใ น ก า ร ร อ ก า ร กํ า ห น ด โท ษ ห รื อ
ก า ร ย ก โท ษ จํ า คุ ก ให้ ศ า ล พิ จ า ร ณ า ป ฏิ บั ติ ต า ม คํ า แ น ะ นํ า
ของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยแนวทางการใช้โทษทางอาญา
พ.ศ. 2563 ประกอบการสั่งรอการกําหนดโทษหรือ
การยกโทษจําคกุ ประกอบดว้ ย
30) ปัญหาข้อขัดข้องในการใช้งานระบบ CIOS และ
ระบบ e-filing

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
เกี่ยวกบั การใช้งานระบบ CIOS และระบบ e-filing ดังนี้

1) การใช้ระบบ CIOS พบปัญหาข้อขัดข้องกรณีหน่วยงาน
ร า ช ก า ร ไ ม่ ส า ม า ร ถ ยื น ยั น ตั ว ต น ผ่ า น ร ะ บ บ ด้ ว ย เล ข บั ต ร
ประจําตัวประชาชน เนื่องจากระบบหน่วยงานราชการจะต้อง
สมัครใช้งานโปรแกรมแบบตัวแทนหน่วยงานโดยมอบหมาย
ให้เจ้าหน้าท่ีคนใดคนหน่ึงมาสมัครใช้งานระบบตัวแทน
หน่วยงาน ซึ่งจะต้องกรอกข้อมูลส่วนตัวของบุคคลนั้นๆ
และการยืนยันเพ่ือเข้าใช้ระบบต้องใช้บัตรประจําตัวของ
บคุ คลน้ันเท่าน้ัน รวมท้งั ข้อมูลทผ่ี ูกคดจี ะติดกับตัวบุคคลน้ันดว้ ย
หากมีการโยกย้ายและมีบุคคลใหม่มาทําหน้าที่แทนหรือ
มอบหมายให้คนใหม่เข้ามาทํางาน ศาลจะต้องยกเลิกการผูกคดี
กับบุคคลเดิมและไปผูกคดีใหม่กับบุคคลใหม่ ซึ่งเป็นการ

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 79 

 

ทํางานทซี่ าํ้ ซ้อน
2) การใช้ระบบ e-filing พบว่าระบบ e-filing ยังไม่

สามารถเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างศาลชั้นต้นกับศาลช้ันอุทธรณ์
ได้ โดยปัจจุบันศาลอุทธรณ์ไม่สามารถพิมพ์คําพิพากษาหรือ
สํานวนคดีท่ีมีการอุทธรณ์ไปศาลอุทธรณ์ได้ ทําให้ศาลชั้นต้น
ต้องถ่ายสํานวนโดยใช้กระดาษไม่ว่าจะเป็น ตัวคําฟ้อง
คําให้การ หรือเอกสารท้ายฟ้องต่างๆ เพ่ือส่งไปยังศาลอุทธรณ์
ภาค 5
โดยสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 5 จะได้นําเร่ืองเสนอ
สํ านั ก งาน ศ าล ยุ ติ ธรรม พิ จ ารณ าต่ อ ไป แ ล ะ สํ านั ก
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญหาข้อขัดข้อง
ดังกล่าวไปยังหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง คือ สํานัก
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพิจารณาดําเนินการในส่วนท่ี
เก่ยี วขอ้ งอีกทางหนึ่ง

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
เก่ียวกบั การใช้งานระบบ e-filing ดังนี้

1) การยื่นฟ้องผ่านระบบ e-filing ซ่ึงให้คู่ความสามารถ
ยื่นฟ้องได้ตลอดเวลา เช่นทนายความยื่นฟ้องในเวลากลางคืน
เม่ือระบบมีปัญหาหรือมีข้อขัดข้อง ทนายความจะโทร
สอบถามเจ้าหน้าท่ีศาล ทําให้เจ้าหน้าท่ีต้องคอยรับโทรศัพท์
นอกเวลาราชการ ส่งผลกระทบต่อชีวิตสว่ นตวั

2) เคร่ืองสแกนเนอร์ไม่เพียงพอต่อการใช้งาน บางศาล
มีเพียง 1 หรือ 2 เครื่องและมีประสิทธิภาพไม่สูงต้องใช้
เวลานานในการสแกนแต่ละสาํ นวนแต่ละครั้ง

3) เจ้าพนักงานคอมพิวเตอร์มีจํานวนจํากัด ซ่ึงปัจจุบัน
ไม่มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในการพิจารณาทางอิเล็กทรอนิกส์
หรือ e-filing โดยเฉพาะ ทําให้เจ้าหน้าท่ีหน้าบัลลังก์ต้องทํา
ท้ังประสานจัดเตรียมคดี แก้ไขข้อขัดข้องในการพิจารณาคดี
ตลอดจนทาํ หน้าทหี่ นา้ บลั ลังก์ระหวา่ งพิจารณาดว้ ย
โดยสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 จะได้นําเรื่องเสนอ
สํ านั ก งาน ศ าล ยุ ติ ธรรม พิ จ ารณ าต่ อ ไป แ ล ะ สํ านั ก
คณ ะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งเรื่องปัญ หา
ข้อขัดข้องดังกล่าวไปยังหน่วยงานท่ีรับผิดชอบโดยตรง คือ
สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือพิจารณาดําเนินการในส่วนที่
เก่ียวข้องอกี ทางหนงึ่

รายงานการศกึ ษาวิเคราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมิภาค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 80 

 

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
กรณีศาลอุทธรณ์ภาค 9 มีหนังสือถึงศาลช้ันต้นแจ้งว่าหาก
คู่ความมีการอุทธรณ์คําพิพากษา ขอให้เจ้าหน้าท่ีศาลชั้นต้น
ดําเนินการถ่ายเอกสารหรือแปลงไฟล์จากระบบ e-filing
เป็นไฟล์พีดีเอฟก่อนส่งไปยังศาลอุทธรณ์ภาค 9 ซึ่งกรณี
ดังกล่าวศาลชั้นต้นจะต้องถ่ายสํานวนเพื่อส่งควบคู่กับสํานวน
อิเล็กทรอนิกส์ (e-filing) ซึ่งเป็นการเพ่ิมภาระงานมากขึ้น
และขอให้ผู้อํานวยการสํานักศาลยุติธรรมประจําภาค 9 และ
เลขานุการศาลยุติธรรมประจําภาค 9 ประสานงานกับ
สํานักงานศาลยุติธรรมแจ้งข้อขัดข้องดังกล่าวเพื่อให้เปิดระบบ
สิทธิการเข้าถึงการดูสํานวนในระบบ e-filing ให้แก่ผู้พิพากษา
ศาลอุทธรณ์ ภาค 9 ให้สามารถอ่านสํานวนทางระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ได้ โดยระหว่างท่ียังไม่ทราบแนวทางที่ชัดเจน
ขอให้ศาลช้ันต้นพิมพ์สํานวนให้กับศาลอุทธรณ์ภาค 9
เพ่ื อ ไ ม่ ใ ห้ ง า น ข า ด ต อ น ห รื อ ไ ม่ ใ ห้ เกิ ด ข้ อ ขั ด ข้ อ ง ใ น ก า ร
ปฏิบัติงานของศาลอุทธรณภ์ าค 9 อีกทั้ง สํานักคณะกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งเร่ืองดังกล่าวไปยังหน่วยงาน
ท่ีรับผิดชอบโดยตรง คือ สํานักส่งเสริมงานตลุ าการ และสํานัก
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อพิจารณาดําเนินการในส่วนท่ี
เก่ยี วข้องอีกทางหน่ึง
31) การจัดส่งคําร้องขอปล่อยช่ัวคราวและเอกสาร
ประกอบการพจิ ารณาไปยงั ศาลฎกี า

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบกรณีสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 6 ได้รับหนังสือศาลฎีกา ที่ ศย 100/2499
ลงวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 เรื่องการจัดส่งคําร้องขอปล่อย
ชั่วคราวและเอกสารประกอบการพิจารณาไปยังศาลฎีกา
ในกรณีท่ีมีการขอให้ปล่อยช่ัวคราวไปยังศาลฎีกา ซ่ึงขอให้
ศาลชั้นต้นย่อสํานวนความ สรุปเน้ือหา ข้อเท็จจริง หรือ
รายละเอียดต่างๆ ในคดีเบื้องต้น โดยให้ระบุว่ามีการติด
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ EM หรือมีการใช้มาตรการผู้กํากับดูแล
เพ่ือประกอบการพิจารณาคําร้องขอปล่อยชั่วคราว ตามระเบียบ
ราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการขอปล่อยช่ัวคราว
พ.ศ. 2564 และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งให้
ผู้พิพากษาปฏิบัติตามหนังสือศาลฎีกา ที่ ศย 100/2499
ลงวันท่ี 14 กรกฎาคม 2564 เรื่องการจัดส่งคําร้อง
ขอปล่อยช่ัวคราวและเอกสารประกอบการพิจารณาไปยัง

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 81 

 

ศาลฎีกา โดยเคร่งครัด เพ่ือให้การพิจารณาคดีสะดวกรวดเร็ว
ย่งิ ข้นึ และลดจํานวนเอกสารทีต่ อ้ งสง่ ไปยงั ศาลฎีกา
32) ปัญหาข้อขัดข้องในการพิจารณาคดีอาญาและ
การเบิกตัวจาํ เลยมาศาล

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
ในการพิจารณาคดีอาญาและการเบิกตัวจําเลยมาศาลกรณี
การนัดพิจารณาคดีต่อเน่ือง ซ่ึงกฎหมายกําหนดให้ผู้พิพากษา
นั่ งค ร บ อ งค์ ค ณ ะ แ ล ะ ต้ อ ง มี เจ้ า ห น้ า ที่ ห น้ า บั ล ลั งก์ อ ยู่ ด้ ว ย
อีกท้ังให้ทนายความ คู่ความหรือพยานแยกออกจากศาล
ทําให้เกิดการรวมกลุ่มท่ีสํานักงานทนายความ และเกิดการ
รวมตัวที่ห้องพิจารณาคดี ทําให้เสี่ยงต่อการติดเช้ือไวรัส
โคโรน า 2 0 1 9 จึงมีข้อเสน อแน ะว่าห ากสํานั กงาน
ศาลยุติธรรมหารือร่วมกับรัฐบาลว่าเป็นไปได้หรือไม่ที่จะออก
พระราชกําหนดให้อายุความสะดุดหยุดลง หรือออกมาตรการ
ให้ชะลอการพิจารณาคดี โดยสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 6 จะนําปัญหาข้อขัดข้องท่ีเกิดข้ึนในการนัดพิจารณาคดี
ต่อเน่ืองและข้อเสนอแนะไปชี้แจงและหารือกับสํานักประธาน
ศาลฎกี าหากมกี ารประชุมร่วมกนั คร้งั ตอ่ ไป
33) แนวทางการพิจารณาสั่งคําร้องขอปล่อยชั่วคราว
(ลาํ ดับการเรียกหลกั ประกัน)

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
แจ้งให้ผู้พิพากษาในศาลปฏิบัติตามระเบียบราชการฝ่าย
ตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการปล่อยช่ัวคราว (ฉบับที่ 3)
พ.ศ. 2564 ข้อบงั คับของประธานศาลฎีกา ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์
วิธีการ และเง่ือนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือหลักประกัน
ในการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจําเลยในคดีอาญา (ฉบับที่ 2)
พ.ศ. 2562 และข้อบังคับของประธานศาลฎีกา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขเกี่ยวกับการเรียกประกันหรือ
ห ลั ก ป ร ะ กั น ใ น ก า ร ป ล่ อ ย ช่ั ว ค ร า ว ผู้ ต้ อ ง ห า ห รื อ จํ า เล ย
ในคดีอาญา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2562 อีกทั้งสํานักงานอธิบดี
ผู้พิพากษาภาค 7 จะจัดทําคู่มือเกี่ยวกับการสั่งประกัน
ท่ีรวบรวมกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและคําแนะนําของ
ประธานศาลฎีกาที่เก่ียวข้องท้ังหมดและส่งไปยังศาลในเขต
อํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 เพื่อให้ทุกศาลใช้เป็นแนวทาง
และมาตรฐานเดียวกันต่อไป

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 82 

 

34) แนวทางการบังคับคดีกับทรัพย์หลักประกันประเภท
เงินสดท่นี ํามาวางต่อศาลในการขอปล่อยช่ัวคราว

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 1 รับทราบแนวทางการบังคับคดี
กับทรัพย์หลักประกันประเภทเงินสดท่ีนํามาวางต่อศาลในการ
ขอปล่อยช่ัวคราวตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม ด่วนที่สุด
ท่ี ศย 024/ว 139(ป) ลงวนั ท่ี 10 กันยายน 2564 ดงั นี้

1) เม่ือศาลมีคําส่ังปรับผู้ประกัน ให้เจ้าพนักงานศาล
ที่ได้รับการแต่งตั้งลงสารบบคุม กรณีผิดสัญญาประกัน เพื่อให้
เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบจดแจ้งการดําเนินการภายหลังจากศาล
มคี าํ สัง่ ปรบั แลว้

2) กรณีท่ีผู้ประกันวางเงินสดเป็นหลักประกัน ซ่ึงไม่ต้องมี
การบังคับคดียึดทรัพย์ออกขายทอดตลาด เมื่อผู้ประกันผิด
สัญญาประกันต่อศาล ให้เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายจัดทํา
รายงานเสนอต่อศาลเพ่ือขอให้มคี ําสั่งปรบั ผู้ประกันตามสัญญา
ออกหมายจับ และขอให้ถอนเงินหลักประกันนํามาชําระ
ค่าปรับและให้แจ้งเจ้าหน้าที่การเงินดําเนินการถอนเงิน
หลักประกนั นาํ มาชําระคา่ ปรับตามคาํ ส่ังศาล

3) กรณีการบังคับคดีกับทรัพย์หลักประกันท่ีเป็นเงินสด
และมีหลักประกันอื่นท่ีนํามาวางต่อศาลในคดีเดียวกันด้วย
หากศาลมีคําส่ังยึดเงินสดแล้วยังไม่เพียงพอชําระค่าปรับ
ให้เจ้าพนักงานศาลท่ีได้รับแต่งตั้งตรวจสอบว่าผู้ประกันได้รับ
ทราบคําสั่งศาลหรือไม่ หากผู้ประกันยังไม่ทราบ ให้จัดทํา
รายงานเจ้าหน้าท่ีเสนอต่อศาลเพื่อขอให้ศาลออกคําบังคับแจ้ง
ให้ผู้ประกันทราบคําส่ัง หากพ้นกําหนดเวลาแล้วผู้ประกันยัง
ไม่ชําระค่าปรับส่วนท่ีเหลือ ให้จัดทํารายงานเจ้าหน้าท่ี
เพอ่ื ขอให้ออกหมายบังคบั คดี

4) ให้ดําเนินการรายงานข้อมูลเข้าสู่ระบบสํานวน
การบังคบั คดผี ู้ประกันในคดอี าญา

5) ให้รายงานผลการบังคับคดีและสืบหาหลักทรัพย์
หรือทรัพย์สินของลูกหน้ีตามคําพิพากษาผ่านระบบงานและ
บูรณาการฐานขอ้ มลู การบงั คบั คดรี ะบบใหม่
และเห็นควรให้ผพู้ ิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งแนวทางตามหนังสือ
สํานักงานศาลยุติธรรมดังกล่าวให้ผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่
ผู้เกีย่ วขอ้ งทราบและนาํ ไปปฏิบัติงานใหถ้ กู ตอ้ ง

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 83 

 

35) การดําเนินคดีอาญาตามระเบียบราชการฝ่ายตุลาการ
ศาลยุติธรรม ว่าด้วยการดําเนินคดีอาญาในระหว่างที่มี
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบสาระสําคัญของ
ระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม ว่าด้วยการดําเนิน
คดีอาญาในระหว่างที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 มีสาระสําคัญเก่ียวกับการ
นําระบบวิธีพิจารณาคดีทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้กับกระบวน
พิจารณาต่างๆ ในคดีอาญา และพบปัญหาข้อขัดข้องในทาง
ปฏิบัติ เช่น ในคดีที่จําเลยต้องการทนายความและศาล
ได้ต้ังทนายขอแรงให้แก่จําเลยแล้ว แต่ทนายไม่สามารถ
ไปพบกับจําเลยท่ีต้องขังอยู่ในเรือนจํา จึงไม่มีการลงช่ือ
ในใบแต่งทนายความ ทําให้สํานวนคดีไม่สมบูรณ์ และเห็นควร
ให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแจ้งผู้พิพากษาว่า ในการจดรายงาน
กระบวนพิจารณาคดี ศาลจะต้องแจ้งให้ทนายความขอแรงยื่น
ใบแต่งทนายความ เพื่อรับเป็นทนายความให้แก่จําเลยที่ศาล
ขอแรงไว้เป็นหลักฐานและเก็บไว้ในสํานวนด้วยทุกคร้ัง
เพ่ือให้เกดิ ความสมบูรณ์และถกู ต้อง
36) แนวทางการนั่งพิจารณ าคดีโดยใช้วิธีการทาง
อิเล็กทรอนิกส์นอกท่ีทําการและการอ่านคําพิพากษาหรือ
คําสั่งของศาลสูงในคดีอาญาและคดีแพ่งที่ศาลสูงท่ีจัดให้มี
การถา่ ยทอดภาพและเสยี งผ่านสอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบแนวทางการน่ัง
พิจารณาคดีโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์นอกที่ทําการ
และแนวปฏบิ ัติเก่ยี วกับการอ่านคาํ พิพากษาหรือคําสงั่ ของศาล
สูงฯ สาํ หรบั ศาลท่ีตง้ั อยใู่ นพน้ื ท่ีสีแดงเข้ม 29 จงั หวัดท่จี ะตอ้ ง
นําวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์นอกที่ทําการมาใช้ เพ่ือไม่ให้เกิด
ความเสียหายแก่บุคคลผู้มีอรรถคดีและเกิดความปลอดภัย
ต่อทุกฝ่าย และเห็นควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลท่ีอยู่ในเขต
พื้ น ท่ี สี แ ด ง ดํ า เนิ น ก า ร ต า ม ป ร ะ ม ว ล ก ฎ ห ม า ย วิ ธี พิ จ า ร ณ า
ความแพ่ง มาตรา 35 ท่ีให้ศาลสามารถส่ังให้พิจารณาคดี
นอกสถานที่ ส่วนการอ่านคําพิพากษาศาลสูงท่ีจัดให้มีการ
ถ่ายทอดภาพและเสียงผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ขอให้ทุกศาล
จัดเตรียมความพร้อมสถานที่ อุปกรณ์ พร้อมประสานงานกับ
ฝ่ายต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพื่อไม่ให้เกิดข้อขัดข้องในการรับฟัง
คําพิพากษาของศาลสูง

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 84 

 

37) แนวทางการส่ังคําร้องขอปล่อยชั่วคราวในกรณีคดี
ถึงทส่ี ุด

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบแนวทางการสั่งคําร้อง
ขอปล่อยช่ัวคราวในกรณีคดีถึงที่สุด กรณีที่จําเลยถูกตัดสินคดี
ถึงที่สุดแล้วแต่ย่ืนคําร้องขอปล่อย ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
แจ้งผู้พิพากษาให้สั่งคําร้องโดยอาศัยอํานาจตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งมาตรา 18 และประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 106 ในการตรวจ
คําร้องว่าคดีท่ีถึงท่ีสุดแล้ว กรณีดังกล่าวจําเลยไม่มีสิทธิย่ืน
คําร้องขอปล่อยช่ัวคราว ผู้พิพากษาสามารถสั่งยกคําร้องได้
หากแต่จําเลยไม่พอใจผลการพิจารณาคําร้องของศาลชั้นต้น
ก็สามารถอุทธรณ์คําส่ังของศาลชั้นต้นได้ นอกจากนี้ ขอให้
ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ต้องหาหรือจําเลยที่คดีถึงที่สุดแล้วทราบว่า
ไม่มีสิทธยิ นื่ คํารอ้ งขอปล่อยช่วั คราวได้
38) การใช้ดุลพินิจในการส่ังให้ริบทรัพย์หรือไม่ริบทรัพย์
ของจําเลยตามคําขอท้ายฟ้องของพนักงานอัยการโจทย์
ตามมาตรา 35 แห่งพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ
พ.ศ. 2507

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 ร่วมกันพิจารณาแนวทาง
การใช้ดุลพินิจในการส่งั ให้รบิ ทรัพย์หรือไม่ริบทรพั ย์ของจําเลย
ตามคําขอท้ายฟ้องของพนักงานอัยการโจทย์ตามมาตรา 35
แห่ งพ ระราชบั ญ ญั ติป่ าสงวน แห่ งชาติ พ .ศ. 2 5 0 7
ก ร ณี จํ า เล ย รั บ ฟั ง ได้ ว่ า จํ า เล ย ข า ด เจ ต น า ก ร ะ ทํ า ค ว า ม ผิ ด
ตามพระราชบัญญัติป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 มาตรา 35
บญั ญัตวิ ่าบรรดาไม้ ของป่า อุปกรณ์ เคร่อื งมือ เคร่ืองใช้ อาวุธ
สัตว์พาหนะ ยานพาหนะหรือเครื่องจักรกลใดๆ ที่บุคคลได้มา
หรือได้ใช้ในการกระทําความผิด หรือไม่มีไว้เพื่อใช้ในการ
กระทําความผิด หรือได้ใช้เป็นอุปกรณ์ให้ได้รับผลในการ
กระทําความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้ริบทรัพย์เสียทั้งส้ิน
ไ ม่ ว่ า จ ะ มี ผู้ ถู ก ล ง โ ท ษ ต า ม คํ า พิ พ า ก ษ า ข อ ง ศ า ล ห รื อ ไ ม่
ให้รบิ ทรัพย์ตามมาตรา 35 วรรคหนึ่ง เวน้ แต่เจ้าของพิสูจน์ได้
ว่าตนไม่มีโอกาสทราบ ไม่มเี หตุอันควรสงสยั ว่าจะมีการกระทํา
ความผิด หรือจะมีการนําทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในการกระทํา
ความผิดตามมาตรา 35 วรรคสาม และขอให้ผู้พิพากษา
หัวหน้าศาลแจ้งให้ผู้พิพากษาปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
ป่าสงวนแหง่ ชาติ พ.ศ. 2507 ตามมาตรา 35 โดยเครง่ ครดั

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 85 

 

39) การสอบคําให้การคดีความผิดเก่ียวกับพระราชบัญญัติ
ป่าสงวนแห่งชาติ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
และพระราชบญั ญตั อิ ทุ ยานแหง่ ชาติ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 ขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
แจ้งแนวทางปฏิบัติให้ผู้พิพากษาทราบว่า กรณีคดีเวรช้ีที่โจทก์
ขอให้จําเลยชดใช้ค่าเสียหายตามพระราชบัญญัติป่าสงวน
แห่งชาติ พ ระราชบัญ ญั ติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า
และพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติผู้พิพากษาจะต้องมีการ
สอบคําให้การและสืบพยานในส่วนค่าเสียหายด้วย และให้
พิจารณาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา
141 (4) (5) ประกอบประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา 195 (2) ประกอบมาตรา 225 คําพิพากษา
ศาลฎีกาที่ 1726/2562 และคําพิพากษาศาลฎีกา
ท่ี 863/2563 เปน็ แนวทางในการพิจารณา
40) จํานวนผ้ปู ระนีประนอมประจําศาลในเขตอาํ นาจอธบิ ดี
ผพู้ ิพากษาภาค

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รบั ทราบรายละเอยี ดขอ้ กําหนด
ของประธานศาลฎีกาว่าด้วยการไกล่เกล่ีย พ.ศ. 2554
ข้อ 59 และข้อ 60 ที่กําหนดให้เลขาธิการสํานักงาน
ศาลยุติธรรมมีอํานาจพิจารณาจําหน่ายชื่อผู้ประนีประนอม
ออกจากท ะเบี ยน ผู้ป ระนี ป ระน อ ม แต่ ใน ปั จจุบั น มี
ผู้ประนีประนอมท่ีข้ึนทะเบียนกับสํานักงานศาลยุติธรรมเป็น
จํานวนมาก เลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรมจึงอาศัยอํานาจ
ตามระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วย
การมอบอาํ นาจของเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2545
ข้อ 4 วรรคแรก มอบอํานาจให้อธิบดีผู้พิพากษาภาคเป็น
ผู้พิจารณาเหตใุ นการจาํ หน่ายชอื่ ผู้ประนปี ระนอมในแตล่ ะภาค
เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการตรวจสอบคุณสมบัติ ลักษณะ
ต้องห้าม และการฝ่าฝืนจริยธรรมของผู้ประนีประนอม
และขอให้ผู้อํานวยการดําเนินการตรวจสอบว่าหากมีกรณี
ท่ีเห็นว่ามีเหตุให้ต้องจําหน่ายชอื่ ของผู้ประนีประนอมออกจาก
ทะเบียนผู้ประนีประนอมให้เสนอเร่ืองต่อผู้พิพากษาหัวหน้าศาล
และให้ ผู้พิ พ ากษ าหั วห น้าศาลต้องส่งความเห็ นห รือ
เรื่องดังกล่าวไปยังสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค เพ่ือให้
อธิบดีผู้พิพากษาภาคเป็นผู้มีคําสั่งว่าจะจําหน่ายช่ือผู้ประนีประนอม
ออกจากทะเบียนหรือไม่ และอธิบดีผู้พิพากษาภาคจะแจ้ง

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 86 

 

คาํ สงั่ ดงั กลา่ วไปยังสํานักงานศาลยุติธรรมตอ่ ไป
แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบข้อมูลการขึ้นทะเบียน

ผู้ประนีประนอมของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9
ทั้งท่ีขึ้นทะเบียนและยังไม่ขึ้นทะเบียนของแต่ละศาล รวมถึง
สถิติคดีที่ผู้ประนีประนอมไกล่เกลี่ยสําเร็จ โดยในภาพรวมศาล
ในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 ได้ดําเนินการข้ึน
ทะเบียนผู้ประนีประนอม และสามารถดําเนินการไกล่เกลี่ย
ทั้ งใน ระ บ บ อ อ น ไล น์ แ ล ะ ป ก ติ แ ต่ ใน บ างศ าล ยั งมี
ผู้ ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม ท่ี ข้ึ น ท ะ เบี ย น น้ อ ย ไ ม่ เพี ย ง พ อ ต่ อ ก า ร
ปฏิบัติงาน และขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลดําเนินการขึ้น
ทะเบียนผู้ประนีประนอมให้ครบถ้วนเพ่ือให้มีผู้ประนีประนอม
เพียงพอต่อการไกล่เกล่ีย และรายงานผลการปฏิบัติงานของ
ผู้ประนีประนอมให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 9 ทราบ
นอกจากน้ี ขอให้ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดยะลา
ข้ึนทะเบียนผู้ประนีประนอมคดีครอบครัวเพ่ือรองรับการไป
ปฏิบตั งิ านที่ศาลจงั หวดั เบตงด้วย
41) ข้อหารือเกี่ยวกับการขอภาพในกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
ระหว่างพจิ ารณาพิพากษาคดศี าล

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 พิจารณาข้อหารือกรณีสถานี
ตํารวจภูธรจังหวัดกาฬสินธุ์ขอภาพในกล้องโทรทัศน์วงจรปิด
ที่บันทึกไว้ในระหว่างศาลนั่งพิจารณาคดี เพื่อนําไปใช้
ประกอบสํานวนการสอบสวน กรณีดังกล่าวศาลสามารถ
ส่งมอบภาพในกล้องวงจรปดิ ให้กับเจ้าหน้าที่ตํารวจตามคําร้อง
ขอได้หรือไม่ อนุกรรมการพิจารณาแล้วเห็นว่ากรณีการขอ
ภาพจากกล้อง โทรทัศน์วงจรปิดที่มีการบันทึกภาพระหว่างท่ี
ศาลออกนั่งพิจารณาคดี เช่น สืบพยาน ไต่สวน ฟังคําขอต่างๆ
เป็นข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการพิจารณาคดี ไม่อยู่ภายใต้บังคับ
แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
และระเบียบคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม ว่าด้วยข้อมูล
ข่าวสารของสํานักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2555 ประกอบกับ
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 36 (2) (ก)
(ข) ให้อํานาจแก่ศาลในการพิจารณาความเหมาะสมในการ
เปิดเผยข้อมูล ดังนั้น การเปิดเผยภาพจากกล้องโทรทัศน์
วงจรปิดในระหว่างการพิจารณาคดีจึงเป็นดุลพินิจของศาล
ท่ีจะอนุญาตหรือไม่อนุญาต โดยคํานึงถึงความเหมาะสมหรือ
การคุ้มครองสาธารณประโยชนต์ ามบทบัญญตั ิของกฎหมาย

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 87 

 

๔. พิจารณ าให้ความเห็นในการ 1) การปรบั ปรุงบญั ชีมาตรฐานการลงโทษกรณกี ารเผาปา่

แก้ไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบการปรับปรุงบัญชี

วิธีปฏิบัติท่ีเกิดข้อขัดข้องในการ มาตรฐานการลงโทษ กรณี การเผาป่าที่จัดทําข้ึนใหม่

ปฏิบัติราชการของผู้พิพากษาและ ให้สอดคล้องกับกฎหมายท่ีมีการปรับอัตราโทษตาม พ.ร.บ.

ข้าราชการศาลยุติธรรมในศาลในเขต ป่าไม้ พ.ร.บ. ป่าสงวน พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ และ พ.ร.บ.

อํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พร้อมท้ังรับฟังความคิดเห็น

ต่อสํานักงานศาลยุติธรรมและคณะ ของศาลต่างๆ และจะนําไปปรบั ปรุงบัญชีมาตรฐานการลงโทษ

กรรมการบริหารศาลยุติธรรมเพ่ือ กรณีการเผาป่าก่อนให้ศาลนําบัญชีฯที่จัดทําข้ึนไปปฏิบัติ

ดําเนนิ การต่อไป เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและใช้เป็นมาตรฐาน

เดียวกันของศาลในเขตอาํ นาจอธิบดีผู้พพิ ากษาภาค 5

2) การปรบั ปรุงบญั ชมี าตรฐานการลงโทษคดียาเสพตดิ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 รับทราบความคืบหน้าการ

ปรับปรุงบัญชีมาตรฐานการลงโทษ ซึ่งสํานักงานอธิบดี

ผู้พิพากษาภาค 5 ได้ดําเนินการปรับปรุงบัญชีมาตรฐาน

การลงโทษในส่วนที่เก่ียวกับคดียาเสพติด เพื่อให้สอดคล้องกับ

พระราชบัญญัติให้ใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พ.ศ. 2564

และใช้เป็นมาตรฐานเดียวกันของศาลในเขตอํานาจอธิบดี

ผู้พิพากษาภาค 5 และเห็นสมควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล

นําบัญชีมาตรฐานการลงโทษของสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา

ภาค 5 ท่ีปรับปรุงใหม่ไปใช้ประกอบการกําหนดโทษในส่วนที่

เก่ี ย ว กั บ ค ดี ย า เส พ ติ ด ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ให้ ใช้ ป ร ะ ม ว ล

กฎหมายยาเสพติด และส่วนกฎหมายใหม่ท่ีอยู่ระหว่างรอ

ประกาศใช้ ทางสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 5 จะได้

ปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหมเ่ พมิ่ เติมอกี ครง้ั

3) ข้อหารือแนวทางการลงโทษตามบัญชีมาตรฐานการ

ลงโทษของแต่ละศาลท่แี ตกตา่ งกนั

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 5 ร่วมกันพจิ ารณาแนวทางการใช้

บั ญ ชี ม า ต ร ฐ า น ก า ร ล ง โท ษ ข อ ง ศ า ล ใน เข ต อํ า น า จ อ ธิ บ ดี

ผู้พิพากษาภาค 5 เน่ืองจากศาลบางแห่งมีบัญชีมาตรฐานการ

ลงโทษในฐานความผิดบางฐานที่มีแตกต่างกับบัญชีมาตรฐาน

โทษของสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 5 อนุกรรมการ

เห็นสมควรให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 5 และ

ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลปรับปรุงบัญชีมาตรฐานการลงโทษ

ของแต่ละศาลให้สอดคล้องกับกฎหมายที่มีการแก้ไขใหม่

ส่วนการลงโทษให้มีความแตกต่างกันได้ เน่ืองจากสภาพของ

ภมู ปิ ระเทศหรอื รายไดข้ องประชาชนจงั หวดั แตล่ ะที่ไมเ่ หมือนกนั

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 88 

 

5. พิจารณาให้ความเห็นในการจัดทํา 1) ปญั หาการปฏบิ ัติงานด้านการเงนิ และการบญั ชีของศาล

งบประมาณรายจ่ายประจําปีในการ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบกรณีสํานักงานอธิบดี

บริหารราชการของศาล สํานักศาล ผู้พิพากษาภาค 2 ได้รับหนังสือ เร่ือง การตรวจสอบภายใน

ยุตธิ รรมประจาํ ภาค สํานักอาํ นวยการ ของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 เก่ียวกับ

ประจําศาล และสํานักงานประจําศาล ความคืบหน้าในการปฏิบัติตามข้อทักท้วงและข้อเสนอแนะ

ในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษา ของผู้ตรวจสอบภายในท่ีเข้าตรวจสอบศาลในด้านการเงิน

ภาค เพื่อเสนอสํานักงานศาลยุติธรรม และการบัญชีว่าการดําเนินการมีความคืบหน้าค่อนข้างน้อย

ดําเนินการตอ่ ไป ทําให้ศาลต้องขออนุมัติต่อเลขาธิการสํานักงานศาลยุติธรรม

เพื่อขอขยายระยะเวลาในการปฏิบัติตามข้อทักท้วงฯ ออกไป

เร่ือยๆ นอกจากนี้ พบว่าศาลบางส่วนจัดทํางบกระทบยอดเงิน

ฝากธนาคารในระบบ Corporate Online ในไตรมาสที่ 1

คลาดเคลื่อน รวมถึงมีเช็คค้างจ่ายในงบกระทบยอดที่ต้อง

นําส่งเป็นรายได้แผ่นดินเกิน 1 ปี อนุกรรมการเห็นควร

ใ ห้ ผู้ พิ พ า ก ษ า หั ว ห น้ า ศ า ล แ ล ะ ผู้ อํ า น ว ย ก า ร กํ า กั บ ดู แ ล

แ ล ะ ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ดํ า เนิ น ก า ร ด้ า น ก า ร เงิ น แ ล ะ ก า ร บั ญ ชี

ตามที่ได้รับการทักท้วงและตามข้อเสนอแนะจากหน่วย

ตรวจสอบภายในให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว รวมถึงการจัดทํา

งบกระทบยอดและเช็คค้างจ่ายท้ังหมดให้เป็นไปอย่างถูกต้อง

และเสรจ็ สนิ้ ภายในเดือนมกราคม 2564 โดยสํานกั งานอธบิ ดี

ผู้พิพากษาภาค 2 ได้มีหนังสือแจ้งให้ศาลตรวจสอบความ

ถูกต้องก่อนจัดส่งไปยังสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2

ภายในวนั ท่ี 15 กุมภาพันธ์ 2564

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง

ด้านการเงินและบัญชีของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษา

ภาค 6 พบว่าศาลจัดทํารายงานการเงินประจําเดือน และ

รายงานงบกระทบยอดเงินฝากธนาคารไม่ถูกต้อง โดยรายงาน

การเงินประจําเดือนต้องส่งให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค

6 ภายในวันท่ี 10 ของเดือนถัดไป และรายงานงบกระทบ

ยอดเงินฝากธนาคารรายไตรมาสต้องส่งให้สํานักงานอธิบดี

ผู้พิพากษาภาค 6 ภายในวันที่ 15 ของไตรมาสถัดไป

และให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลและผู้อํานวยการกํากับดูแลและ

ตรวจสอบความถูกต้องของรายงานการเงินประจําเดือน

และรายงานงบกระทบยอดเงินฝากธนาคารรายไตรมาสก่อน

ส่งไปยังสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 6 ตามระยะเวลา

ท่ี กํ า ห น ด ห า ก มี ปั ญ ห า ข้ อ ขั ด ข้ อ ง ห รื อ ข้ อ ส ง สั ย ส า ม า ร ถ

สอบถามทสี่ ่วนคลงั ของสาํ นกั งานอธิบดผี พู้ ิพากษาภาค 6 ได้

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบริหารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 89 

 

2) ข้อสังเกตเก่ียวกับการเงินและบัญชีของศาลในเขต
อํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค และการปฏิบัติตามมาตรการ
เร่งรัดการแก้ไขข้อสังเกตตามรายงานผลการตรวจสอบ
ภายใน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบรายงานผลเก่ียวกับ
การจัดทํางบการเงินของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 2 พบว่ามีการรายงานงบการเงินไปยังสํานักงาน
ศาลยุติธรรมครบถ้วนตามกําหนด มีการแก้ไขปัญหาการรับ
และจ่ายคืนเงินกลางของศาล (รอบ 6 เดือน) ครบทุกศาล
ส่วนกรณีการปฏิบัติตามมาตรการเร่งรัดแก้ไขข้อสังเกตตาม
รายงานการตรวจสอบภายในพบว่ายังมีศาลท่ีอยู่ระหว่าง
ดําเนินการจํานวน 3 ศาล โดยได้มีการขอขยายระยะเวลาการ
ดําเนินการออกไป ดังน้ันขอให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลและ
ผู้อํานวยการของศาลที่ขอขยายระยะเวลาดําเนินการเร่งรัด
และตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีให้เป็นไปตาม
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะของตรวจสอบภายในให้เสร็จส้ิน
ตามกําหนด และเป็นไปตามหนังสือสํานักงานศาลยุติธรรม
ที่ ศย 018/ว 108(ป) ลงวันที่ 7 พฤษภาคม 2563 เรื่อง
ม า ต ร ก า ร เร่ ง รั ด ก า ร แ ก้ ไ ข ข้ อ สั ง เก ต ต า ม ร า ย ง า น ผ ล ก า ร
ตรวจสอบภายใน
3) การบริหารงานงบประมาณ ประจําปี พ.ศ. 2564 งานประจํา
และโครงการ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบข้อสังเกตและแจ้ง
แนวทางการบริหารงานงบประมาณแกศ่ าล ดังน้ี

1) การของบประมาณเพ่ิมเติมระหว่างปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 ของไตรมาสท่ี 4 ขอให้ศาลดําเนินการภายใน
วันท่ี 25 กรกฎาคม 2564 โดยตรวจรายละเอียดและกรอก
ข้อมูลให้ครบถ้วน พร้อมจัดทําบัญชีครุภัณฑ์ให้เป็นปัจจุบัน
หากมีครุภัณฑ์ท่ีจะขอรับการจัดสรรให้ศาลขอมาในคราว
เดยี วกนั

2) โครงการเปิดทําการศาลนอกเวลาราชการเพ่ือเร่งรัด
การพิจารณาพิพากษาคดี ขอให้ทุกศาลพิจารณาคดีนอกเวลา
ราชการให้แล้วเสร็จไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 และเบิกจ่าย
งบประมาณตามโครงการเปิดทําการศาลนอกเวลาราชการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 โดยคํานึงถึงกรอบปริมาณ คดี
และต้นทนุ คดดี ว้ ย

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 90 

 

3) การรายงานผลการดําเนินงานต่างๆ ให้ดําเนินการ
ให้แลว้ เสรจ็ ใหท้ นั ตามกาํ หนด

4) เร่งรัดบริหารโครงการที่ได้รับจัดสรรให้เป็นไปตาม
มาตรการเร่งรัดการดําเนินงานและการเบิกจ่ายงบประมาณ
ของสาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรม
อนุกรรมการเห็นควรให้ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 2 ตรวจสอบการปฏิบัติงานและดําเนินการตามข้อสังเกต
แ ล ะ แ น ว ท า ง เกี่ ย ว กั บ ก า ร บ ริ ห า ร ง บ ป ร ะ ม า ณ ให้ เป็ น ไป
ตามท่ีสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา 2 แจ้งภายในกรอบระยะเวลา
เพื่อให้การดําเนินการเป็นไปอย่างถูกต้องตามท่ีสํานักงาน
ศาลยุติธรรมกําหนด
4) แนวทางการแก้ไขปัญหาการรับและการจ่ายเงินกลาง
ของศาล

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบข้อสังเกตและปัญหา
ข้อขัดข้องกรณีศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 บาง
ศาลจัดทํารายงานการตรวจสอบเงินกลางค้างจ่ายไม่ตรงกัน
ร ว ม ถึ งก าร จั ด ทํ า งบ ก ร ะ ท บ ย อ ด เงิน ฝ า ก ธ น า ค า ร
มีความคลาดเคลื่อน อนุกรรมการเห็นควรให้ผู้พิพากษา
หั ว ห น้ า ศ า ล แ ล ะ ผู้ อํ า น ว ย ก า ร ต ร ว จ ส อ บ แ ล ะ กํ า กั บ ดู แ ล
ให้ เจ้ า ห น้ า ที่ ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ ง ป ฏิ บั ติ ต า ม ห นั ง สื อ สํ า นั ก ง า น
ศาลยุติธรรม ที่ ศย 012/ว 156(ป) ลงวันที่ 7 ตุลาคม
2564 เร่ือง การติดตามมาตรการแก้ไขปัญหารับและ
ก า ร จ่ า ย คื น เงิ น ก ล า ง ข อ ง ศ า ล ที่ กํ า ห น ด ใ ห้ ร า ย ง า น ไ ป ยั ง
ศาลยุติธรรมประจําภาค และให้ภาครายงานต่อสํานักงาน
ศาลยุติธรรมผ่านระบบ QR-Code รวมถึงภาคได้แจ้ง
รายละเอียดข้อสังเกตและประเด็นข้อคลาดเคลื่อนที่ยังไม่ได้
รับการแก้ไขข้อผิดพลาดและปรับปรุงบัญชีไปยังศาลทาง
จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์แลว้ ขอให้ศาลปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ถกู ต้อง
แล้วรายงานให้ภาคทราบภายในวนั ที่ 20 พฤศจกิ ายน 2564
5) ปัญหาข้อขัดข้องเก่ียวกับการจ้างพนักงานจ้างเหมา
บรกิ ารโครงการบังคบั คดีผปู้ ระกัน

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
เกี่ยวกับการจ้างพนักงานจ้างเหมาบริการโครงการบังคับคดี
ผู้ประกันท่ีปกติจะใช้งบประมาณในการจ้างปีละประมาณสอง
ร้อยล้านบาท แต่ปรากฏว่าปีน้ีงบประมาณในการจ้างเหลือ
เพียงหน่ึงร้อยล้านบาท ทําให้ในปีต่อไปสํานักงานศาลยุติธรรม

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรมในสว่ นภูมิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 91 

 

จะมีงบประมาณไม่เพียงพอในการจัดจ้างลูกจ้างโครงการ

ดังกล่าวได้ อาจกระทบต่อการบังคับคดีของศาลยุติธรรม

อนุกรรมการเห็นควรให้ผู้พิพากษาหัวหน้าศาลดําเนินการ

เร่งรัดการบังคับคดีผู้ประกัน โดยการบังคับคดีผู้ประกันหลักๆ

มี 2 ประเภทคือ 1) การใช้ที่ดินเป็นหลักประกัน ให้นิติกร

บั งคั บ ค ดี ผู้ ป ระ กั น ป ระ ส าน กั บ เจ้ าห น้ าท่ี บั งคั บ ค ดี

เพื่อดําเนินการยึดที่ดิน 2) การใช้ตําแหน่งเป็นหลักประกัน

ให้นิติกรบังคับคดีผู้ประกันทําการสืบทรัพย์ โดยเฉพาะอย่างย่ิง

ทีด่ ินของนายประกันและบัญชีเงินฝากทกุ ธนาคารทีอ่ ยู่ในพื้นท่ี

เพ่ือทําการอายัดเงินฝากในบัญชี ซ่ึงท้ังสองอย่างน้ีสามารถ

ดําเนินการได้โดยไม่ต้องออกไปดําเนินการเอง เพื่อให้สามารถ

ดําเนินการบังคับคดีได้มากข้ึน และเพื่อให้ศาลในเขตอํานาจ

อธบิ ดีผู้พพิ ากษาภาค 6 ปฏิบัติเป็นไปในแนวทางเดียวกัน

6. เสนอแนะการบริหารจัดการและ 1) การจดั หาท่ีดนิ เพือ่ ใช้ในการก่อสรา้ งศาลแขวงระยอง

ให้ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการโอนและ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 2 รับทราบความคืบหน้ากรณี

การเปล่ียนแปลงรายการงบประมาณ สํานักงานศาลยุติธรรมได้แจ้งการอนุมัติงบประมาณสําหรับ

ประจําปีและการพัสดุที่ศาล สํานัก ก่อสร้างอาคารท่ีทําการศาลแขวงระยอง ขนาด 10 บัลลังก์

ศาลยุติธรรม ป ระจําภ าค สํานั ก งบประมาณ 185 ล้านบาท ซึ่งเดิมได้มีการขอใช้พ้ืนที่

อาํ นวยการประจาํ ศาล และสํานักงาน ศูนย์ราชการจังหวัดระยองเพื่อก่อสร้างไปยังกรมธนารักษ์แล้ว

ประจําศาลในเขตอํานาจของอธิบดี แต่ได้รับแจง้ ว่าท่ีดินบริเวณดังกล่าวไม่สามารถใช้ดําเนินการได้

ผู้พิพากษาภาคได้รับการจัดสรรจาก และให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 2 ประสานงานไปยัง

สํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อให้การ สํานกั งานศาลยุติธรรมเพ่ือติดตามผลการพิจารณาในเรื่องท่ีดิน

ดําเนินการอํานวยความยุติธรรม สําหรับก่อสร้างดังกล่าว เนื่องจากเป็นโครงการที่ได้รับ

แก่ประชาชนของศาลในเขตอํานาจ งบประมาณในการก่อสร้างแล้ว จึงจําเป็นต้องเร่ิมดําเนินการ

ข อ งอ ธิบ ดี ผู้ พิ พ าก ษ าภ าค เกิ ด โดยเร็วหรือภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และสํานัก

ผลสัมฤทธ์สิ ูงสุด คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญหาดังกล่าวไปยัง

หน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สํานักบริหารงานออกแบบ

และก่อสร้างและสํานักบริหารทรัพย์สิน เพ่ือเป็นข้อมูล

ประกอบการพิจารณาดว้ ยอกี ทางหนึ่ง

2) ความคืบหน้าการจัดหาท่ีดินสําหรับก่อสร้างอาคาร

ทีท่ าํ การศาลแขวงยะลา

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 9 รับทราบความคืบหน้าการ

จัดหาท่ีดินสําหรับก่อสร้างอาคารที่ทําการศาลแขวงยะลา

โดยได้ขอใช้พ้ืนท่ีของเทศบาลนครยะลา จํานวน 20 ไร่ ต้ังอยู่

ติดถนนสาย 4082 ยะลา – วังพญา หา่ งจากตัวเมอื งเทศบาล

นครยะลาประมาณ 3 กิโลเมตร และเทศบาลนครยะลามีมติ

รายงานการศกึ ษาวิเคราะห์การบริหารราชการศาลยตุ ิธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 92 

 

อนุญาตให้สํานักงานศาลยุติธรรมใช้ที่ดินดังกล่าว แต่มีเง่ือนไข
ต้องใช้ภายในระยะเวลา 3 ปี เนื่องจากเกรงว่าเม่ือได้ที่ดินไป
แลว้ ศาลจะไม่ดาํ เนนิ การใดๆ หรอื ไมม่ ีการพฒั นา
3) การเตรียมความพร้อมการยกฐานะศาลแขวงนครไทย
เปน็ ศาลจงั หวัดนครไทย

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบข้อมูลความคืบหน้า
การยกฐานะศาลแขวงนครไทยเป็นศาลจังหวัดนครไทย
มีเขต ท้ องที่ อําเภ อชาติตระการและอําเภ อน ครไท ย
จังหวัดพิษณุโลก โดยจะเปิดทําการเป็นศาลจังหวัดนครไทย
เมื่อใดให้ประกาศโดยพระราชกฤษฎีกาในระหว่างท่ียังไม่
เปิดทําการเป็นศาลจังหวัดนครไทย ให้ศาลจังหวัดพิษณุโลก
มีเขตอํานาจตลอดท้องที่อําเภอชาติตระการและอําเภอนครไทย
ด้วย ส่วนความคืบหน้าการก่อสร้างอาคารท่ีทําศาลหลังใหม่
หากได้รับแจ้งจากสํานักงานศาลยุติธรรมแล้วมีความคืบหน้า
เป็นประการใดจะรายงานให้สาํ นักงานอธบิ ดีผูพ้ ิพากษาภาค 6
ทราบ

7. เสนอแนะการบริหารงานบุคคล 1) ขอ้ หารอื การพจิ ารณากําหนดกรอบอตั รากําลงั ทหี่ มาะสม
ของข้าราชการศาลยุติธรรมและ แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 4 พิจารณาหารือเก่ียวกับการ
ลูกจ้างที่ปฏิบัติหน้าที่ในสํานักศาล กําหนดกรอบอัตรากําลังผู้พิพากษาและเจ้าหน้าที่สําหรับศาล
ยุติธรรมภาค สํานกั อํานวยการประจํา ในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 4 โดยในศาลจังหวัดที่ไม่มี
ศาล และสํานักงานประจําศาลในเขต ศาลแขวง ศาลแขวง และศาลเยาวชนและครอบครัว
อํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค ประสบปัญหาขาดอัตรากําลังข้าราชการศาลยุติธรรมหรือ
เพื่ อ ให้ ก ารป ฏิ บั ติ ห น้ าที่ ใน ก าร อัตรากําลังมีสัดส่วนไม่สอดคล้องกับจํานวนผู้พิพากษาและ
สนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี ปรมิ าณงานท่ีมีจํานวนมาก อนุกรรมการเห็นควรให้ผู้พิพากษา
ของผูพ้ ิพากษามีประสิทธิภาพสงู สุด หัวหน้าศาลพิจารณาตามกรอบผู้พิพากษาในศาลจังหวัด

500 คดีต่อท่าน ศาลแขวง 1,000 คดีต่อท่าน ส่วนการนัดคดี
ให้นับแต่ละคดีเป็น 1 คดีเท่ากัน และให้เปรียบเทียบ
อัตรากําลังของผู้พิพากษากับข้าราชการศาลยุติธรรม เช่น
เจ้ า ห น้ า ท่ี ห น้ า บั ล ลั ง ก์ ให้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั น ต า ม ป ริ ม า ณ ง า น
ท่ีมีอยู่แต่ละศาล กรณีปัญหาขาดอัตรากําลังข้าราชการ
ศาลยุติธรรมในด้านต่างๆ สํานักคณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญหาดังกล่าวไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบ
โดยตรง คือ สํานักคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรม และ
สํานักการเจ้าหน้าที่ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาด้วย
อีกทางหนึ่ง

รายงานการศึกษาวิเคราะห์การบริหารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 93 

 

2) ปัญหาอตั รากําลงั ข้าราชการศาลยตุ ิธรรม
แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง

ในการปฏิบัติงานของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 3 พบว่าส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านบุคลากร เช่น ขาด
อัตรากําลังเจ้าหน้าท่ีด้านแผนงานและงบประมาณ เจ้าหน้าที่
การเงินและบัญชี และเจ้าหน้าท่ีกลุ่มงานไกล่เกลี่ยและ
ประนอมขอ้ พิพาทไม่เพียงพอ ปัญหาความไม่ชัดเจนของกรอบ
อํานาจหน้าท่ีความรับผิดชอบของเจ้าพนักงานตํารวจศาล
รวมถึงศาลบางแห่งให้นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน
ไม่ตรงตามมาตรฐานกําหนดตําแหน่ง เป็นต้น อนุกรรมการ
เห็นควรให้คณะผู้ตรวจราชการสรุปรายละเอียด และปัญหา
ท่ีพบจากศาลต่างๆ รายงานไปยังสํานักงานศาลยุติธรรมทราบ
และดําเนินการแก้ไขต่อไปอย่างไรก็ตาม เพื่อให้ปัญหาได้รับ
การแก้ไขด้วยความรวดเร็ว สํานักคณะกรรมการบริหาร
ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม ได้ แ จ้ ง ปั ญ ห า ข้ อ ขั ด ข้ อ ง เก่ี ย ว กั บ บุ ค ล า ก ร
ไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบ ได้แก่ สํานักคณะกรรมการ
ข้าราชการศาลยุติธรรม และสํานักการเจ้าหน้าท่ี เพ่ือเป็น
ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณาด้วยอกี ทางหน่ึง

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 6 รับทราบปัญหาอัตรากําลังและ
ค่ า ต อ บ แ ท น ข อ ง ตํ า แ ห น่ ง นั ก วิ ช า ก า ร ค อ ม พิ ว เต อ ร์ แ ล ะ
นักวิชาการพัสดุ โดยมรี ายละเอียด ดงั น้ี

นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์
1) อัตรากําลังตําแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ในแต่ละ
ศาลมีเพียง 1 อัตรา ซ่ึงไม่สมดุลกับปริมาณงานท่ีรับผิดชอบ
จึงเห็นควรเพิ่มกรอบอัตรากําลังในตําแหน่งนักวิชาการ
คอมพวิ เตอร์
2) นักวิชาการคอมพิวเตอร์เป็นตําแหน่งท่ีต้องใช้ความรู้
ความสามารถเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการปฏิบัติงาน จึงเห็น
ควรพิจารณาเงินประจําตําแหน่งต้ังแต่ระดับปฏิบัติการเป็นต้น
ไป เพือ่ เปน็ ขวัญกาํ ลังใจในการปฏิบตั งิ าน
นักวิชาการพัสดุ
1) อัตรากําลังตําแหน่งนักวิชาการพัสดุในศาลจังหวัดและ
ศาลแขวงมีเพียง 1 อัตรา ซึ่งไม่สมดุลกับปริมาณงานท่ี
รับผิดชอบ ทําให้การดูแลรักษาและบริหารจัดการพัสดุ
ครุภัณฑ์ไม่ทั่วถึง และมีการโอกาสเกิดความผิดพลาดในการ
ปฏิบตั งิ านได้สงู

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 94 

 

2) ศาลเยาวชนและครอบครัวไม่มีกรอบอัตรากําลัง
ตําแหน่งนักวิชาการพัสดุ ทําให้ต้องเกลี่ยอัตรากําลังเจ้าหน้าท่ี
ในกลุ่มงานอื่นมาช่วยปฏิบัติงานด้านพัสดุ ซึ่งส่งผลกระทบกับ
กลุ่มงานเดิม และเจ้าหน้าที่ที่มาช่วยปฏิบัติด้านพัสดุไม่ใช่
เจ้าหน้าท่ีพัสดุโดยตรง อาจเกิดความล่าช้าหรือความผิดพลาด
ในการปฏบิ ตั ิงาน
แ ล ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร เห็ น ค ว ร ส นั บ ส นุ น ผ ลั ก ดั น ใ ห้ จั ด ส ร ร
อั ต ร า กํ า ลั ง นั ก วิ ช า ก า ร ค อ ม พิ ว เต อ ร์ เพิ่ ม เติ ม ใ ห้ แ ก่ ศ า ล
ท่ัวประเทศ รวมถึงขอให้พิจารณาค่าตอบแทนของนักวิชาการ
คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับภาระหน้าท่ี เพ่ือเป็นขวัญกําลังใจ
ในการปฏิบัติงาน และเห็นควรสนับสนุนให้จัดสรรอัตรากําลัง
นักวิชาการพัสดุให้แก่ศาลเยาวชนและครอบครัว และจัดสรร
อัตรากําลังเพิ่มเติมให้แก่ศาลจังหวัดและศาลแขวงหรือ
ศาลขนาดใหญ่ เพื่อลดภาระการทํางานและเพื่อให้มีการ
ป ฏิ บั ติ ง า น ท ด แ ท น กั น ไ ด้ ข อ ง เจ้ า ห น้ า ที่ ทั้ ง ส อ ง ตํ า แ ห น่ ง
และสํานักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญหา
ดังกล่าวไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือสํานัก
คณะกรรมการข้าราชการศาลยตุ ิธรรมและสํานักการเจ้าหน้าที่
ทราบเพ่ือเปน็ ข้อมูลประกอบการพจิ ารณาดว้ ยอีกทางหน่งึ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 7 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
ด้านอัตรากําลังของศาลในสังกัดสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษา
ภาค 7 พบว่าศาลส่วนใหญ่ประสบปัญหาขาดอัตรากําลัง
ข้าราชการศาลยุติธรรมหรือกรอบอัตรากําลังข้าราชการ
ศาลยตุ ธิ รรมไม่สอดคล้องกับปรมิ าณงาน และศาลเยาวชนและ
ครอบครัว ส่วนใหญ่มีนักจิตวิทยาเพียง ๑ อัตรา ทําให้ไม่
สามารถรองรบั นโยบายประธานศาลฎีกาและอธิบดีผู้พิพากษา
ศาลเยาวชนและครอบครัวกลางได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
รวมถึงศาลบ างแห่ งได้รับ การจัดสรรพ นั กงาน รักษ า
ความปลอดภัยและพนักงานทําความสะอาดจากสํานักงาน
ศาลยุติธรรมไม่เพียงพอ ทําให้ไม่สามารถดูแลรักษาความ
ปลอดภัยและความสะอาดอาคารได้อย่างท่ัวถึง โดยให้
สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 นําเร่ืองเสนอสํานักงาน
ศาลยุติธรรมและสํานักประธานศาลฎีกาต่อไป ส่วนประเด็น
ปัญหาเก่ียวกับนักจิตวิทยาของศาลเยาวชนและครอบครัว
ให้สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาค 7 แจ้งปัญหาข้อขัดข้องไป
ยังอธิบดีผู้พิพากษาศาลเยาวชนและครอบครัวกลางด้วย และ

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 95 

 

สํานักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญหาดังกล่าว
ไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สํานักคณะกรรมการ
ขา้ ราชการศาลยุติธรรมและสํานกั การเจ้าหนา้ ท่ที ราบ เพื่อเป็น
ข้อมลู ประกอบการพิจารณาดว้ ยอีกทางหน่งึ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 8 รับทราบปัญหาข้อขัดข้อง
ของศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 โดยมีรายละเอียด
ดังนี้

1) ศาลจังหวัดทุ่งสง ตามมติคณะกรรมการข้าราชการ
ศาลยุติธรรม ให้ตัดโอนกรอบอัตรากําลังข้าราชการ
ศาลยุติธรรมตําแหน่งเจ้าหน้าท่ีศาลยุติธรรม จํานวน 3 อัตรา
ไปปฏิบัติงานที่ศาลแขวงทุ่งสง ทําให้ศาลจังหวัดทุ่งสง
ขาดบุคลากรในการปฏิบัติงาน เห็นควรจัดสรรบุคลากร
ให้สอดคล้องกบั ปรมิ าณงานและปรมิ าณคดี

2) ศาลจังหวัดปากพนัง ตําแหน่งผู้อํานวยการสํานักงาน
ประจําศาล เห็นควรปรับเพิ่มค่าตอบแทนพิเศษ เนื่องจาก
อยู่ในประเภทตําแหน่งอํานวยการ มีภาระหน้าท่ีงานความ
รับผิดชอบสูง โดยปัจจุบันได้รับค่าตอบแทนพิเศษเท่ากับ
ประเภทตําแหนง่ วชิ าการ ระดบั ชํานาญการพเิ ศษ

3) ศาลจังหวัดพังงา ขาดอัตรากําลังในส่วนงานบริการ
ประชาชนและประชาสัมพันธ์ และด้วยปัจจุบันศาลยุติธรรม
ท่ัวประเทศมีภารกิจและข้ันตอนในการปฏิบัติงานในเร่ืองการ
คุ้ ม ค รอ งสิ ท ธิ แ ล ะ เส รีภ าพ ต ล อ ด จ น ก ารเผ ย แ พ ร่
ประชาสัมพันธ์เพิ่มข้ึน ซ่ึงศาลจังหวัดพังงามีอัตรากําลัง
ข้าราชการศาลยุติธรรมเพียง 1 อัตรา เห็นควรเพิ่มอัตรากําลัง
ตาํ แหนง่ นติ กิ ร จํานวน 1 อัตรา

4) ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดนครศรีธรรมราช
ขาดอัตรากําลังนักวิชาการพัสดุ โดยการปฏิบัติงานพัสดุ
จะต้องมีเจ้าหน้าท่ีท่ีมีความชํานาญ เห็นควรขอเพ่ิมอัตรากําลัง
ตาํ แหน่งนกั วิชาการพสั ดุจํานวน 1 อัตรา

5) ศาลจังหวัดภูเก็ต มีการมีการโยกย้ายข้าราชการ
ศาลยุติธรรมเป็นจํานวนมากในแต่ละรอบ เห็นควรเสนอ
ให้พิจารณาการโยกย้ายควรคํานึงถึงบุคลากรที่มาทดแทน
ให้ ครบ ตามกรอบอัตรากําลังที่ ย้ายออกไปและไม่ควร
ให้ข้าราชการท่ีบรรจุใหม่มาทดแทน เน่ืองจากขาดความชํานาญ
อาจสง่ ผลตอ่ การปฏบิ ัตหิ น้าที่ล่าช้าและเกิดความผิดพลาดได้

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 96 

 

6) ศาลในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาค 8 หลายศาล
ข า ด อั ต ร า กํ า ลั ง ตํ า แ ห น่ ง นั ก วิ ช าก ารค อ ม พิ ว เต อ ร์ ห รื อ
มีแต่ไม่เพียงพอ เน่ืองจากศาลใช้วิธีการพิจารณาคดีทาง
อิเล็กทรอนิกส์มากข้ึน จึงเห็นควรเพิ่มอัตรากําลังนักวิชาการ
คอมพิวเตอร์และให้มีอัตรากําลังด้านเทคโนโลยีอย่างน้อย
ศาลละ 2 อัตรา ในศาลจังหวัดท่ีมีปริมาณคดีสูงควรมีส่วนงาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ และให้นักวิชาการคอมพิวเตอร์ที่ครอง
ตําแหน่งชํานาญการเป็นเวลานานสามารถประเมินผลงาน
เพ่ือเล่ือนระดับสูงข้ึน รวมท้ังพิจารณาปรับอัตราค่าตอบแทน
พเิ ศษในส่วนท่ียังไม่เคยได้รบั จัดสรร
และสํานักคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมได้แจ้งปัญหา
ดังกล่าวไปยังหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง คือ สํานัก
คณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมและสํานักการเจ้าหน้าท่ี
ทราบ เพ่ือเป็นขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณาด้วยอกี ทางหนึง่
3) การมอบอํานาจส่ังอนุญาตให้ข้าราชการการศาลยุติธรรม
ลูกจ้างประจํา ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานราชการ
ศาลยุติธรรมช่วยราชการ

แนวทาง อ.ก.บ.ศ. ภาค 3 รับทราบหลักเกณฑ์การช่วย
ราชการ การเดินทางไปราชการ และการผัดการเดินทางไปรับ
ราชการของข้าราชการศาลยุติธรรม ตามหนังสือสํานักงาน
ศาลยุติธรรม ที่ ศย 023/ว 174 (ป) ลงวันท่ี 27 ตุลาคม
2564 โดยมีสาระสําคัญคือ อธิบดีผู้พิพากษามีอํานาจอนุญาต
ให้ข้าราชการศาลยุติธรรมประเภทวิชาการ ระดับชํานาญการ
ระดับปฏิบัติการ และประเภททั่วไป ระดับชํานาญงาน ไปช่วย
ราชการเฉพาะส่วนราชการในภาคเดียวกันคร้ังเดียวหรือหลาย
คร้ังรวมกันไม่เกิน 180 วัน โดยส่วนราชการใดอนุญาต
ให้ข้าราชการไปช่วยราชการแล้ว จะไม่สามารถร้องขอให้
สํานักงานศาลยุติธรรมส่งบุคลากรไปปฏิบัติราชการแทน
ข้าราชการท่ีขอไปช่วยราชการได้ และเห็นว่าหากศาลใดมี
ความจําเป็นต้องให้ข้าราชการไปช่วยราชการจะต้องปฏิบัติ
ตามหลักเกณฑ์ดังกล่าวและพิจารณาเหตุผลความจําเป็น
ในการไปช่วยราชการ เพื่อไม่ให้กระทบต่ออัตรากําลังและ
การปฏิบัติราชการของศาลต้นสังกัด และเม่ือได้รับอนุญาต
จ า ก อ ธิ บ ดี ผู้ พิ พ า ก ษ า ภ า ค แ ล้ ว ให้ ส่ ง คํ า สั่ ง อ นุ ญ า ต ให้ ช่ ว ย
ราชการไปยังสาํ นักงานศาลยุติธรรมโดยเร็ว

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภมู ภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 97 

 


Click to View FlipBook Version