The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิเคราะห์ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำปี พ.ศ. 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by orawan_nana, 2022-03-16 22:53:37

รายงานการวิเคราะห์ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำปี พ.ศ. 64

รายงานการวิเคราะห์ อ.ก.บ.ศ. ภาค ประจำปี พ.ศ. 64

8. แต่งต้ังบุคคลหรือคณะบุคคลเพื่อ -
ดําเนินการใด ๆ ภายในกรอบอํานาจ -
หน้าท่ี

9. พิจารณาเรื่องอื่นๆ ตามที่ประธาน
ศาลฎีกา คณ ะกรรมการตุลาการ
ศาลยุติธรรม คณะกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรม หรือคณ ะกรรมการ
ข้าราชการศาลยุติธรรมมอบหมาย
และปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีกฎหมาย
ระเบียบ หรือประกาศกําหนดไว้
ให้เป็นอํานาจของ อ.ก.บ.ศ. ภาค

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะหก์ ารบริหารราชการศาลยุตธิ รรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 98 

 

บทสรุป

ส รุ ป ป ร ะ เด็ น เรื่ อ ง ท่ี เข้ า สู่ ก า ร ป ร ะ ชุ ม ข อ ง ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม
ประจําภาค (อ.ก.บ.ศ. ภาค) ทั้ง ๙ ภาค ในปี พ.ศ. ๒๕๖4 จํานวน 79 เร่ือง จําแนกตามอํานาจหน้าที่
ของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ทั้ง ๙ ขอ้ ได้ ดังน้ี

ข้อ ๑ ให้คําแนะนําและตอบข้อหารือทางวิชาการแก่ผู้พิพากษาของศาลในเขตอํานาจ
ของอธิบดีผู้พิพากษาภาค เช่น คดีที่มีผลกระทบต่อความม่ันคงของรัฐหรือเป็นที่สนใจของประชาชน
คดีท่ีเป็นความผิดอาญาร้ายแรงหรือคดีท่ีมีความสลับซับซ้อน คดีที่มีทุนทรัพย์สูง และคดีละเมิดอํานาจ
ศาล รวมทั้งข้อขัดข้องอื่นๆ เนื่องในการปฏิบัติหน้าท่ีของผู้พิพากษา ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนด
ในระเบียบราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมและเรือ่ งท่ี อ.ก.บ.ศ. ภาค กําหนด จํานวน 22 เรอ่ื ง

ข้อ ๒ เสนอความเห็นต่ออธิบดีผู้พิพากษาภาคในการสั่งให้ผู้พิพากษาคนใดคนหน่ึง
ในศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษา ไปช่วยทํางานช่ัวคราวในอีกศาลหนึ่งตามพระธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม มาตรา ๑๔ (๒) เรือ่ งที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พจิ ารณา จาํ นวน 2 เรอื่ ง

ข้อ ๓ วางระเบียบหรือมีมติในการบริหารงานธุรการของศาลเพ่ือสนับสนุนให้การ
พจิ ารณาคดีในเขตอํานาจอธิบดีผู้พิพากษาภาคมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้เกดิ ความสะดวก รวดเร็วและ
มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมท้ังจัดให้มีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตาม
แนวนโยบายของประธานศาลฎีกา เร่อื งที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา จํานวน 41 เร่อื ง

ข้อ ๔ พิจารณาให้ความเห็นในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติท่ีเกิด
ข้อขัดข้องในการปฏิบัติราชการของผู้พิพากษาและข้าราชการศาลยุติธรรมในศาลในเขตอํานาจ
ข อ ง อ ธิ บ ดี ผู้ พิ พ า ก ษ า ภ า ค ต่ อ สํ า นั ก ง า น ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม
เพ่อื ดาํ เนนิ การตอ่ ไป เรื่องที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา จาํ นวน 3 เรื่อง

ข้อ ๕ พิจารณาให้ความเห็นในการจัดทํางบประมาณรายจ่ายประจําปีในการบริหาร
ราชการของศาล สํานักศาลยุติธรรมประจําภาค สํานักอํานวยการประจําศาล และสํานักงานประจําศาล
ในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค เพื่อเสนอสํานักงานศาลยุติธรรมดําเนินการต่อไป
เรอ่ื งที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา จาํ นวน 5 เรือ่ ง

ข้อ ๖ เสนอแนะการบริหารจัดการและให้ความเห็นเก่ียวกับวิธีการโอนและ
การเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณประจําปีและการพัสดุท่ีศาล สํานักศาลยุติธรรมประจําภาค
สํานักอํานวยการประจําศาล และสํานักงานประจําศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาคได้รับ

รายงานการศึกษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 99 

 

การจัดสรรจากสํานักงานศาลยุติธรรม เพ่ือให้การดําเนินการอํานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน
ของศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาคเกิดผลสัมฤทธ์ิสูงสุด เรื่องที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา
จํานวน 3 เรอื่ ง

ข้อ ๗ เสนอแนะการบริหารงานบุคคลของข้าราชการศาลยุติธรรมและลูกจ้างที่ปฏิบัติ
หน้าท่ีในสํานักศาลยุติธรรมภาค สํานักอํานวยการประจําศาล และสํานักงานประจําศาลในเขตอํานาจ
ของอธิบดีผู้พิพากษาภาค เพื่อให้การปฏิบัติหน้าท่ีในการสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของ
ผ้พู พิ ากษามปี ระสิทธภิ าพสูงสุด เรื่องท่ี อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา จํานวน 3 เรอ่ื ง

ข้อ ๘ แต่งตั้งบุคคลหรือคณะบุคคลเพ่ือดําเนินการใด ๆ ภายในกรอบอํานาจหน้าท่ี
เรื่องที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค พจิ ารณา ข้อนไ้ี มม่ เี รื่องเพื่อพิจารณา

ข้อ ๙ พิจารณาเร่ืองอ่ืน ๆ ตามที่ประธานศาลฎีกา คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม หรือคณะกรรมการข้าราชการศาลยุติธรรมมอบหมาย และ
ปฏิบัติการอ่ืนใดตามที่กฎหมาย ระเบียบ หรือประกาศกําหนดไว้ให้เป็นอํานาจของ อ.ก.บ.ศ. ภาค
เร่ืองท่ี อ.ก.บ.ศ. ภาค พิจารณา ข้อน้ไี มม่ เี ร่ืองเพอ่ื พิจารณา

เร่อื งที่ อ.ก.บ.ศ. ภาค ทง้ั ๙ ภาค พิจารณาแบ่งตามอํานาจหน้าทขี่ อง อ.ก.บ.ศ. ภาค
ประจาํ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ท้ังหมด ๘๑ เร่อื ง

รายงานการศกึ ษาวิเคราะห์การบริหารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 100 

 

ตารางท่ี ๑ จํานวนเรื่องท่ีเข้าสู่การประชุมของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค
(อ.ก.บ.ศ. ภาค) ทัง้ ๙ ภาค ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖4 จําแนกตามอาํ นาจหนา้ ทีข่ อง อ.ก.บ.ศ. ภาค

ท่ี อํานาจหนา้ ทข่ี องคณะอนกุ รรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรมประจําภาค จํานวน รอ้ ยละ
เรอ่ื ง

1 ใหค้ ําแนะนําและตอบข้อหารือทางวิชาการแก่ผู้พิพากษาของศาลในเขตอํานาจ 22 27.85
ของอธิบดีผูพ้ ิพากษาภาค เช่น คดีท่ีมีผลกระทบตอ่ ความมั่นคงของรัฐหรือเปน็ ท่ี
สนใจของประชาชน คดีท่ีเป็นความผิดอาญารา้ ยแรง หรือคดีที่มีความสลับ
ซับซ้อน คดีที่มีทุนทรัพย์สูง และคดีละเมิดอํานาจศาล รวมทั้งขอ้ ขัดข้องอ่ืนๆ
เนื่องในการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษา ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดในระเบียบ
ราชการฝ่ายตลุ าการของศาลยตุ ิธรรม และที่ อ.ก.บ.ศ.ภาค กาํ หนด

2 เสนอความเห็นตอ่ อธิบดีผูพ้ ิพากษาภาคในการสั่งใหผ้ ู้พิพากษาคนใดคนหนึ่ง 2 2.53
ในศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค ไปชว่ ยทํางานช่ัวคราวในอีกศาลหนึ่ง
ตามพระธรรมนูญศาลยุตธิ รรม มาตรา ๑๔ (๒)

3 วางระเบียบหรือมีมติในการบริหารงานธุรการของศาลเพ่ือสนับสนุนใหก้ าร 41 51.89
พิจารณาพิพากษาคดีในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาคมีมาตรฐานเดียวกัน
เพ่ือใหเ้ กิดความสะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมท้ังจดั ให้มีระบบการ
ตดิ ตามและประเมินผลการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแนวนโยบายของประธานศาล
ฎีกา

4 พิจารณาใหค้ วามเห็นในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติ 3 3.80
ที่เกิดขอ้ ขัดข้องในการปฏิบัติราชการของผูพ้ ิพากษาและข้าราชการศาลยุติธรรม
ในศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพ้ ิพากษาภาคตอ่ สํานักงานศาลยุติธรรมและ
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเพื่อดาํ เนินการต่อไป

5 พิจารณาใหค้ วามเห็นในการจัดทํางบประมาณรายจา่ ยประจําปีในการบริหาร 5 6.33
ราชการของศาล สํานักศาลยุติธรรมประจําภาค สํานักอํานวยการประจําศาล
และสํานักงานประจําศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค เพื่อเสนอ
สาํ นกั งานศาลยตุ ิธรรมดาํ เนนิ การต่อไป

6 เสนอแนะการบริหารจัดการและใหค้ วามเห็นเก่ียวกับวิธีการโอนและการ 3 3.80
เปล่ียนแปลงรายการงบประมาณประจําปีและการพัสดุที่ศาล สํานักศาลยุติธรรม
ประจําภาค สํานักอํานวยการประจําศาล และสํานักงานประจําศาลในเขตอํานาจ
ของอธิบดีผู้พิพากษาภาคได้รับการจัดสรรจากสํานักงานศาลยุติธรรม เพื่อใหก้ าร
ดําเนินการอํานวยความยุติธรรมแกป่ ระชาชนของศาลในเขตอํานาจของอธิบดี
ผพู้ ิพากษาภาค เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิสูงสดุ

รายงานการศึกษาวิเคราะหก์ ารบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในส่วนภูมภิ าค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 101 

 

ตารางที่ ๑ จํานวนเร่ืองท่ีเข้าสู่การประชุมของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค
(อ.ก.บ.ศ. ภาค) ทง้ั ๙ ภาค ประจําปี พ.ศ. ๒๕๖4 จาํ แนกตามอาํ นาจหน้าท่ขี อง อ.ก.บ.ศ. ภาค (ตอ่ )

ที่ อาํ นาจหนา้ ที่ของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรมประจาํ ภาค จาํ นวน รอ้ ยละ
เรอ่ื ง

7 เสนอแนะการบริหารงานบุคคลของข้าราชการศาลยุติธรรมและลูกจ้างท่ีปฏิบัติ 3 3.80
หน้าท่ีในสํานักศาลยุติธรรมประจําภาค สํานักอํานวยการประจําศาล และ
สํานักงานประจําศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผู้พิพากษาภาค เพื่อใหก้ ารปฏิบัติ - -
หน้าท่ีในการสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีของผูพ้ ิพากษามีประสิทธิภาพ - -
สูงสดุ

8 แต่งตงั้ บคุ คลหรอื คณะบุคคลเพื่อดําเนินการใด ๆ ภายในกรอบอํานาจหน้าที่

9 พิจารณาเรื่องอ่ืน ๆ ตามท่ีประธานศาลฎีกา คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม หรือคณะกรรมการขา้ ราชการศาลยุติธรรม
มอบหมาย และปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีกฎหมาย ระเบียบ หรือประกาศกําหนดไว้
ใหเ้ ปน็ อํานาจของ อ.ก.บ.ศ.ภาค

รวม 79 100

รายงานการศกึ ษาวิเคราะหก์ ารบริหารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภมู ิภาค ประจาํ ปี พ.ศ. 2564 หน้า 102 

 

ขอ้ เสนอแนะ

จากการวิเคราะห์ข้อมูลการบริหารราชการของคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรม
ประจําภาค พบว่า ปัญหาข้อขัดข้องในการบริหารราชการ การบริหารจัดการคดี และงานธุรการศาล
ดงั กลา่ วสรุปได้ ดงั น้ี

1. ปัญหาที่เกิดจากการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบหรือแนวทางท่ีสํานักงาน
ศาลยุติธรรมหรือตามที่สํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาคได้วางไว้ ซึ่งอาจเกิดจากผู้ปฏิบัติงาน
ไม่ทราบหรือไม่ได้ศึกษาแนวทางที่คณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมวางไว้ มีการแก้ไข
ตัวบทกฎหมายใหม่ หรือมีความเข้าใจท่ีคลาดเคล่ือน ขาดความรอบคอบในการตรวจสอบข้อมูล
มีความเร่งรีบในการดําเนินการ เป็นต้น ซึ่งปัญหาดังกล่าวอยู่ในอํานาจหน้าท่ีของคณะอนุกรรมการ
บริหารศาลยุติธรรมประจํา ๑ – ๙ ที่จะสามารถดําเนินการแก้ไขได้ เช่น 1) การปรับปรุงแก้ไข
แนวทางการดําเนินการให้ชัดเจนย่ิงขึ้น และเป็นมาตรฐานเดียวกันภายในภาค 2) การจัดทําคู่มือ
การปฏิบัติงาน 3) การจัดอบรมหรือประชุมเชิงปฏิบัติการ 4) การออกหนังสือเวียนหรือซักซ้อม
ให้มีความรู้ความเข้าใจและวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน 5) การวางระเบียบบริหาร
ราชการภายในเพ่ือแก้ไขปัญหา 6) การวางระบบตรวจสอบกํากับดูแลการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ
และ 7) การตรวจราชการในกลุม่ ศาลที่มีปัญหาข้อขดั ขอ้ ง เป็นตน้

2. ปัญหาข้อขัดข้องท่ีอยู่นอกเหนืออํานาจหน้าที่ของคณะอนุกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรมประจําภาค ได้แก่ ปัญหาด้านบุคลากร ปัญหาด้านอาคารสถานที่และวัสดุครุภัณฑ์
ปัญหาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงเป็นปัญหาข้อขัดข้องในทางปฏิบัติของการบริหารองค์กร
ศาลยุติธรรม ในส่วนนี้ สํานักศาลยุติธรรมประจําภาค 1 – 9 สํานักอํานวยการประจําศาลและ
สํานักงานประจําศาลควรจะตรวจสอบและรวบรวมเพ่ือเสนอปัญหาข้อขัดข้องดังกล่าวไปยังสํานักงาน
ศาลยุติธรรม ตามแนวทางและกรอบระยะเวลาที่สํานักงานศาลยุติธรรมกําหนดให้ดําเนินการ
เช่น การจัดทํางบประมาณประจําปี การจัดทําแผนความต้องการครุภัณฑ์ประจําปี และการสํารวจ
อาคารสถานที่ เพ่ือปรับปรุงซ่อมแซม เป็นต้น เพ่ือให้ได้รับงบประมาณในการดําเนินการแก้ไข
อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ ศาลสามารถแจ้งปัญหาข้อขัดข้องไปยังสํานักศาลยุติธรรมประจําภาคได้
อีกทางหน่ึง โดยเฉพาะกรณีปัญหาเดียวกันเกิดขึ้นในหลายๆ ศาล สํานักศาลยุติธรรมประจําภาค
ซึ่งดูแลศาลในสังกัดควรรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์แนวทางแก้ไขและข้อเสนอในการแก้ไขปัญหาก่อน
แจ้งไปยงั สํานักงานศาลยุตธิ รรมเพือ่ ดาํ เนินการต่อไป

3. ปัญหาข้อขัดข้องเกี่ยวกับระเบียบวิธีปฏิบัติ การวางระเบียบในการบริหารราชการ
และงานธุรการของศาลซึ่งไม่สอดคล้องกับระเบียบการปฏิบัติงานของศาล คณะอนุกรรมการบริหาร
ศาลยุติธรรมประจําภาคควรนําเร่ืองดังกล่าว โดยระบุสภาพปัญหาพร้อมแนวทางหรือข้อเสนอแนะ
ในการแก้ไขปัญหาแล้วเสนอคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมพิจารณา เพื่อให้การบริหารราชการ
ศาลยุติธรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเป็นไปในแนวทางเดียวกัน สามารถอํานวยความยุติธรรม
ให้แกป่ ระชาชนไดอ้ ย่างเปน็ ธรรมและรวดเรว็ ยิ่งขนึ้

รายงานการศกึ ษาวเิ คราะห์การบรหิ ารราชการศาลยุติธรรมในสว่ นภูมภิ าค ประจําปี พ.ศ. 2564 หน้า 103 

 



ระเบยี บคณะกรรมการบรหิ ารศาลยุติธรรม
วา ดว ยการบริหารราชการศาลยตุ ิธรรมในสวนภมู ภิ าค

พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ มาตรา ๗ มาตรา ๙ มาตรา ๑๗ และมาตรา ๒๑
แหง พระราชบัญญัติระเบยี บบรหิ ารราชการศาลยตุ ิธรรม พ.ศ. ๒๕๔๓ คณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ิธรรม
โดยความเหน็ ชอบของประธานศาลฎกี าออกระเบยี บไว ดงั ตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ระเบยี บน้ีเรยี กวา “ระเบียบคณะกรรมการบรหิ ารศาลยตุ ธิ รรม วาดวยการบริหาร
ราชการศาลยุติธรรมในสว นภูมิภาค พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใ ชบ ังคบั ตงั้ แตว นั ประกาศเปนตนไป
๑ขอ ๓ ในสวนภูมิภาคใหมีคณะอนุกรรมการบริหารศาลยุติธรรมประจําภาค ภาคละ
หน่ึงคณะ เรียกชื่อโดยยอ วา อ.ก.บ.ศ.ภาค ประกอบดว ย
(๑) อธบิ ดผี ูพ ิพากษาภาคเปนประธานอนกุ รรมการ
(๒) รองอธิบดีผูพพิ ากษาภาคเปน อนกุ รรมการ
(๓) ผูพิพากษาหวั หนาศาลประจาํ สํานักงานอธิบดผี ูพิพากษาภาคเปน อนกุ รรมการ
(๔) ผูพิพากษาหัวหนาศาลทุกศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคเปน
อนกุ รรมการ
ใหเลขานุการศาลยุติธรรมประจําภาคเปนเลขานุการ และใหผูอํานวยการสํานัก
ศาลยุติธรรมประจาํ ภาคเปน ผูชว ยเลขานุการ”
๒ขอ ๔ การประชุมของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ใหประชุม ณ สถานที่ตั้งอธิบดีผูพิพากษาภาค
สองเดือนตอหนึ่งครั้ง และตองมีอนุกรรมการมาประชุมไมนอยกวาก่ึงหนึ่งของจํานวนอนุกรรมการ
ทง้ั หมด จงึ จะเปนองคประชุม
๓ในการประชุมของ อ.ก.บ.ศ.ภาค ถาประธานไมอยูในที่ประชุมหรือไมอาจมาประชุมได
ใหร องอธิบดีผูพิพากษาภาคท่ีมอี าวุโสสงู สุดท่ีมาประชุมเปนประธานในท่ีประชุม

๑ แกไ ขเพิม่ เตมิ โดยระเบียบฯ ฉบบั ที่ ๓ ลงวันที่ ๑๗ กันยายน ๒๕๕๕
๒ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยระเบยี บฯ ฉบบั ที่ ๔ ลงวันที่ ๒๑ กนั ยายน ๒๕๖๑
๓ แกไขเพิ่มเตมิ โดยระเบยี บฯ ฉบบั ที่ ๓ ลงวนั ท่ี ๑๗ กนั ยายน ๒๕๕๕



ในการประชุมของ อ.ก.บ.ศ.ภาค ถาอนุกรรมการผูใดมีสวนไดเสียในเร่ืองที่พิจารณา
หามมิใหผูนั้นรวมประชุมหรือลงมติในเร่ืองนั้น แตหากผนู ้ันเขา รวมประชุมอยกู อนแลวและการไมมี
สิทธริ วมประชมุ และลงมตนิ น้ั เปน การชวั่ คราว ก็ใหนับผูน น้ั เปน องคประชุมในเรอ่ื งนั้นดว ย

การวินิจฉยั ช้ีขาดของที่ประชุมใหถือเสยี งขางมาก อนุกรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหนึ่ง
เสียงในการลงคะแนน ถา มีคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในทีป่ ระชุมออกเสยี งเพ่มิ ขึ้นอกี เสียงหนึ่ง
เปนเสยี งชี้ขาด

ให อ.ก.บ.ศ.ภาค มีอํานาจวางระเบียบวาดว ยการประชมุ ได

๔ขอ ๔/๑ การประชุมของ อ.ก.บ.ศ. ภาค ใหสามารถใชวิธีการติดตอสื่อสาร
ดวยเทคโนโลยีท่ีสามารถถายทอดเสียงหรือท้ังภาพและเสียงไดอยางตอเน่ือง ซึ่งทําใหอนุกรรมการ
ไมจําเปนตองปรากฏตัวในที่ประชุมดวย โดยใหถือวาอนุกรรมการซึ่งใชวิธีการติดตอส่ือสารดวย
เทคโนโลยดี งั กลาวมาประชุม

ขอ ๕ อ.ก.บ.ศ.ภาค มีอํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลการบริหารราชการศาลยตุ ิธรรม
ทีเ่ กีย่ วกับงานบรหิ ารราชการและงานธรุ การของศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคใหเปน ไป
ตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนและประเพณีปฏิบัติของทางราชการศาลยุติธรรม โดยใหมีอํานาจ
หนา ที่ดังตอไปน้ี

(๑) ใหคําแนะนําและตอบขอหารือทางวิชาการแกผูพิพากษาของศาลในเขตอํานาจ
ของอธิบดีผูพพิ ากษาภาค เชน คดีท่ีมีผลกระทบตอความมั่นคงของรัฐหรือเปนทสี่ นใจของประชาชน
คดีท่ีเปนความผิดอาญารายแรง หรือคดีที่มีความสลับซับซอน คดีที่มีทุนทรัพยสูง และคดีละเมิด
อํานาจศาล รวมทั้งขอขัดของอ่ืน ๆ เนื่องในการปฏิบัติหนาท่ีของผูพิพากษา ท้ังน้ี ตามหลักเกณฑที่
กาํ หนดในระเบียบราชการฝายตุลาการของศาลยุติธรรม และที่ อ.ก.บ.ศ.ภาค กําหนด

(๒) เสนอความเห็นตออธิบดีผูพิพากษาภาคในการส่ังใหผูพิพากษาคนใดคนหน่ึงใน
ศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค ไปชวยทํางานชั่วคราวในอีกศาลหน่ึงตามพระธรรมนูญ
ศาลยตุ ธิ รรม มาตรา ๑๔ (๒)

(๓) วางระเบียบหรือมีมติในการบริหารงานธุรการของศาลเพื่อสนับสนุนใหการพิจารณา
พิพากษาคดีในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคมีมาตรฐานเดียวกัน เพ่ือใหเกิดความสะดวก
รวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งจัดใหมีระบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
ใหเปนไปตามแนวนโยบายของประธานศาลฎกี า

(๔) พิจารณาใหความเห็นในการแกไขปรับปรุงกฎหมายและระเบียบวิธีปฏิบัติที่เกิด
ขอขัดของในการปฏิบัติราชการของผูพิพากษาและขาราชการศาลยุติธรรมในศาลในเขตอํานาจของ
อธิบดีผพู ิพากษาภาคตอสาํ นักงานศาลยตุ ธิ รรมและคณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรมเพอื่ ดําเนินการ
ตอไป

๔ แกไขเพิม่ เติมโดยระเบยี บฯ ฉบบั ท่ี ๔ ลงวนั ท่ี ๒๑ กันยายน ๒๕๖๑

สาํ นกั คณะกรรมการบริหารศาลยตุ ธิ รรม



(๕) พิจารณาใหความเห็นในการจัดทํางบประมาณรายจายประจาํ ปในการบริหาร
ราชการของศาล สาํ นักศาลยุติธรรมประจําภาค สํานักอํานวยการประจาํ ศาล และสาํ นักงานประจํา
ศาลในเขตอาํ นาจของอธิบดผี พู พิ ากษาภาค เพอื่ เสนอสํานกั งานศาลยุตธิ รรมดาํ เนินการตอไป

(๖) เสนอแนะการบรหิ ารจดั การและใหความเห็นเก่ยี วกับวิธกี ารโอนและการเปลยี่ นแปลง
รายการงบประมาณประจําปและการพัสดุท่ีศาล สํานักศาลยุติธรรมประจําภาค สํานักอํานวยการ
ประจําศาล และสํานักงานประจําศาลในเขตอํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาคไดรับการจัดสรรจาก
สาํ นกั งานศาลยตุ ิธรรม เพื่อใหการดาํ เนินการอาํ นวยความยุตธิ รรมแกประชาชนของศาล ในเขตอาํ นาจ
ของอธบิ ดีผพู ิพากษาภาค เกิดผลสมั ฤทธ์ิสูงสดุ

(๗) เสนอแนะการบริหารงานบุคคลของขาราชการศาลยุติธรรมและลูกจางที่ปฏิบัติ
หนาท่ีในสํานักศาลยตุ ิธรรมประจําภาค สํานกั อาํ นวยการประจําศาล และสาํ นกั งานประจําศาลในเขต
อํานาจของอธิบดีผูพิพากษาภาค เพ่ือใหการปฏิบัติหนาที่ในการสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดี
ของผูพิพากษามีประสทิ ธิภาพสูงสดุ

(๘) แตงต้ังบคุ คลหรือคณะบุคคลเพื่อดําเนนิ การใด ๆ ภายในกรอบอาํ นาจหนาที่
(๙) พิจารณาเรื่องอ่ืน ๆ ตามท่ีประธานศาลฎีกา คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
คณะกรรมการบริหารศาลยุติธรรม หรือคณะกรรมการขาราชการศาลยุติธรรมมอบหมาย และ
ปฏบิ ัตกิ ารอนื่ ใดตามท่กี ฎหมาย ระเบียบ หรอื ประกาศกําหนดไวใ หเ ปนอาํ นาจของ อ.ก.บ.ศ.ภาค
ขอ ๖ ใหประธานศาลฎกี ารกั ษาการตามระเบยี บน้ี

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๘

(ลงชอ่ื ) ศุภชัย ภงู าม
(นายศุภชยั ภูงาม)

ประธานกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรม

สํานกั คณะกรรมการบริหารศาลยตุ ิธรรม


Click to View FlipBook Version