The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพระพุทธศาสนา 5.doc

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kik.jirapa.2013, 2021-04-19 00:31:11

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพระพุทธศาสนา 5.doc

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาพระพุทธศาสนา 5.doc

9. การวัดและประเมนิ ผล

วธิ ีการวดั และ เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล

ประเมนิ ผล

ด้านความรู้ ประเมนิ ความรู้ เรือ่ งพระพทุ ธศาสนา 4 = ดมี าก ถูกตอ้ ง 80%ขน้ึ ไป

กบั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 = ดี ถกู ต้อง 70-79%ขึ้นไป
และการพฒั นาอย่างยั่งยนื (K) ด้วย 2 = พอใช้ ถกู ต้อง 60-69%ขน้ึ ไป
แบบทดสอบ
1 = ปรบั ปรงุ ถกู ตอ้ งต่ำกวา่ 60%ข้นึ ไป

ด้านทักษะ / ประเมินกระบวนการทำงานกลุ่ม (P) 4 = ดีมาก หมายถงึ ปฏิบัติคุณลักษณะนน้ั ๆเด่นชดั มาก
กระบวนการ ด้วยแบบประเมิน
ประเมนิ ชิ้นงาน เรือ่ ง ท่ีสดุ
พระพทุ ธศาสนากับปรชั ญาของ 3 = ดี หมายถึง ปฏบิ ัติคุณลักษณะนั้นๆเด่นชดั ทสี่ ุด
เศรษฐกจิ พอเพียง (P) ด้วยแบบ 2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลกั ษณะนั้นๆปานกลาง
1 = ปรับปรงุ หมายถึง ปฏิบตั ิคณุ ลักษณะนัน้ ๆนอ้ ย

ประเมิน

ดา้ นเจตคติ และ ประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 4 = ดมี าก หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลักษณะนัน้ ๆเด่นชัดมาก
คณุ ลกั ษณะ ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ใฝ่เรียนรู้ ที่สุด
(A) ด้วยแบบประเมิน
3 = ดี หมายถึง ปฏิบตั คิ ุณลักษณะนน้ั ๆเดน่ ชดั ทส่ี ดุ
2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลกั ษณะนัน้ ๆปานกลาง
1 = ปรับปรุง หมายถงึ ปฏบิ ตั ิคุณลักษณะนั้นๆนอ้ ย

ชิน้ งานเรื่อง พระพุทธศาสนากบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
นักเรียนเลือกหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนาและเสนอวธิ ีปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง 2 หลักธรรม วิเคราะหผ์ ลทีไ่ ด้จากการปฏบิ ัติตามลงในแผนภาพความคิด
(ตัวอยา่ งคำตอบ)

หลกั ธรรม (ทฏิ ฐธมั มิกตั ถะ) ผลทไ่ี ดจ้ ากการปฏบิ ตั ติ น
การนำไปใชใ้ นชวี ิต
(รู้จักขยนั ในการทำงานเมอ่ื ไดเ้ งนิ หรอื (ตัวอย่างคำตอบ ทำให้รจู้ กั ขยนั ทำมาหากนิ
ทรพั ยม์ าก็ต้องรู้จักเกบ็ รกั ษานำมาเลีย้ ง มรี ายได้เลยี้ งชีพและรจู้ กั เก็บทรพั ยส์ นิ
ชพี แต่พอด)ี เงินทองทีไ่ ดม้ า เพอื่ เปน็ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง
ในอนาคต รจู้ กั วางแผนการใช้จา่ ย
หลักธรรม (โภควิภาค 4) เพอ่ื ไม่ให้เปน็ หน้หี รอื ลำบากในอนาคต)
การนำไปใช้ในชวี ิต
(การจัดสรรทรัพย์ เพอ่ื ใช้เลยี้ งตนเอง
ไว้ลงทุนกจิ การต่าง ๆ และเก็บไวย้ าม
จำเป็นหรือเจ็บป่วย)

บันทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้

1. สรปุ ผลการเรยี นรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทักษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คณุ ธรรม จริยธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปัญหา อุปสรรคและข้อคน้ พบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงชื่อ)……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจิราภา สำฤทธ์ิ)

วันที่ …………..เดอื น……………..พ.ศ……….….

(ลงชื่อ)………………………………………… (ลงชื่อ)…………………………………………
(นายถาวร สุขนา)
(วา่ ที่รอ้ ยตรีหญงิ มทุ ติ า เอีย่ มทพิ ย์)
หัวหน้ากลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ รองผูอ้ ำนวยกาปฏิบตั ริ าชการแทน
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนหนองรปี ระชานิมิต

แผนการจัดการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษาฯ รายวชิ า พระพทุ ธศาสนา5 รหัสวิชา ส23103 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 3
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรื่อง พุทธประวตั จิ ากพระพทุ ธรปู ปางต่าง ๆ และสรปุ พุทธประวตั ิ จำนวน 2 ชว่ั โมง

แผนการเรียนรูท้ ่ี 1 เรื่อง ศึกษาพุทธประวตั จิ ากพระพทุ ธรูปปางตา่ ง ๆ : ปางมารวิชยั

ปางปฐมเทศนา ปางลลี า ปางประจำวันเกดิ จำนวน 1 ชั่วโมง

1. มาตรฐานตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา

ทตี่ นนับถอื และศาสนาอ่นื มศี รทั ธาที่ถกู ต้อง ยึดม่ัน และปฏิบัตติ ามหลักธรรม

เพอ่ื อยู่รว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข

ตัวชวี้ ัด
ส 1.1 ม.3/4 วิเคราะห์พุทธประวตั จิ ากพระพุทธรปู ปางต่าง ๆ หรอื ประวตั ศิ าสดาทต่ี นนบั ถอื

ตามท่ีกำหนด

2. สาระสำคัญ
การศกึ ษาพทุ ธประวตั จิ ากพระพุทธรูปปางตา่ ง ๆ ทำให้ทราบลกั ษณะสัญลกั ษณข์ องพระพทุ ธรูป

ในอิรยิ าบถต่าง ๆ แสดงให้เหน็ ถึงพทุ ธจริยวัตรวา่ ครง้ั นนั้ หรือสมยั นนั้ พระพทุ ธเจ้าทรงทำอะไร

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความสำคญั ของการสรา้ งพระพุทธรูปในพระพุทธศาสนา (K)

2. วเิ คราะหพ์ ุทธประวตั ิจากพระพทุ ธรปู ปางตา่ ง ๆ : ปางมารวิชัย ปางปฐมเทศนา ปางลลี า

ปางประจำวันเกิด (P)

3. เหน็ ความสำคัญในการศึกษาพุทธประวัตจิ ากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ (A)

4. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์

2. ใฝ่เรียนรู้

5. สมรรถนะสำคัญของนักเรยี น
1. ความสามารถในการสื่อสาร

2. ความสามารถในการคิด

3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ

6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
7. กจิ กรรมการเรียนรู้ ด้วยวิธีสอนแบบร่วมมือ

7.1 ขน้ั นำ
1. นกั เรียนสงั เกตภาพพระพทุ ธรูปท่กี ำหนด จากน้นั รว่ มกนั สนทนาเกี่ยวกบั ความสำคัญ

โดยการตอบคำถาม ดังน้ี

• จากภาพคอื พระพุทธรปู ปางใด
(พระพุทธรูปปางสมาธิ พระพทุ ธรูปปางประทานอภัย)
• พระพุทธรปู มคี วามสำคญั ตอ่ พระพุทธศาสนาอยา่ งไรบา้ ง
(ตวั อย่างคำตอบ เปรียบเสมอื นตัวแทนของพระพทุ ธเจา้ และเปน็ สิ่งเตอื นสติใหผ้ ู้ท่ีเคารพนบั ถือ
ตง้ั มั่นในความดี ละอายตอ่ การทำบาป)
• นักเรียนคิดวา่ การสรา้ งพระพทุ ธรูปมีวัตถุประสงคอ์ ะไร
(ตัวอยา่ งคำตอบ เพ่อื แสดงความเล่อื มใส ศรัทธาในพระพุทธศาสนา และเปน็ การสรา้ งบญุ กุศล
ใหก้ ับตนเอง)
• นักเรียนคดิ ว่าเพราะเหตใุ ดชาวพุทธจงึ มกี ารสร้างพระพทุ ธรูปปางท่แี ตกต่างกนั
(ตัวอย่างคำตอบ เพราะมกี ารสรา้ งตามเร่อื งราวที่เกดิ ขึ้นในพทุ ธประวตั ใิ นตอนนนั้ ๆ)
2. นักเรยี นศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับพุทธประวตั จิ ากพระพุทธรปู ปางต่าง ๆ : ปางมารวชิ ัย ปางปฐม
เทศนา ปางลีลา ปางประจำวันเกิด จากหนังสือเรยี นและแหลง่ การเรยี นร้อู นื่ ๆ เพม่ิ เติม
7.2 ขั้นสอน
1. นกั เรียนร่วมกนั วเิ คราะหเ์ ก่ียวกับพระพุทธรปู ปางตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นในแต่ละสมัย โดยสรปุ คำตอบ
ของนกั เรยี นเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตวั อย่าง

สมยั คนั ธาระ ปางสมาธิ ปางมารวิชยั ปางปฐมเทศนา ปางอ้มุ บาตร
ปางประทานอภัย ปางประทานพร ปางมหาปาฏิหาริย์
ปางนพิ พาน ปางลีลา

พระพทุ ธรูปปางต่าง ๆ สมยั ทวารวดี ปางเทศนา ปางสมาธิ ปางมารวิชยั ปางมหาปาฏิหารยิ ์
ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในแต่ละสมัย สมยั ศรีวิชยั ปางปาลิไลยก์ ปางบรรทม ปางเสดจ็ ลงจากดาวดงึ ส์
สมัยลพบุรี ปางประทานอภัย ปางประทานพร ปางโปรดสตั ว์

ปางมารวชิ ัย ปางสมาธิ ปางนาคปรก ปางปรนิ ิพพาน
ปางประทานอภยั ปางเสด็จลงจากดาวดึงส์

ปางนาคปรก ปางมารวชิ ยั ปางสมาธิ ปางปรนิ พิ พาน
ปางเสดจ็ ลงจากดาวดงึ ส์ ปางประทานพร
ปางประทานอภัย

สมยั เชยี งแสน ปางมารวิชยั ปางสมาธิ ปางอุ้มบาตร ปางประดิษฐาน-
รอยพระบาท ปางไสยาสน์ ปางน่งั หอ้ ยพระบาท
ปางลลี า ปางเปดิ โลก ปางประทับยืน ปางถวายเนตร

สมัยสโุ ขทยั ปางไสยาสน์ ปางลีลา ปางประทานอภัย ปางมารวิชยั
ปางถวายเนตร ปางสมาธิ ปางประทานพร
ปางประทบั ยืน

สมยั อยธุ ยา ปางไสยาสน์ ปางมารวิชยั ปางสมาธิ ปางประทานอภยั
ปางปาลิไลยก์ ปางลีลา ปางประทับยนื

สมยั รัตนโกสินทร์ ปางมารวชิ ัย ปางสมาธิ ปางประทานอภัย ปางไสยาสน์

ตอนต้น ปางขอฝน

2. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม 4 กลุ่ม โดยเลอื กตวั แทนออกมาจับสลาก เพื่อศึกษาพระพทุ ธรูปปางตา่ ง ๆ

ดงั น้ี

• กลมุ่ ท่ี 1 ศึกษาพระพุทธรปู ปางมารวชิ ัย ปางสมาธิ

• กล่มุ ท่ี 2 ศึกษาพระพทุ ธรปู ปางปฐมเทศนา ปางอุ้มบาตร

• กลุ่มท่ี 3 ศึกษาพระพทุ ธรปู ปางลีลา ปางไสยาสน์

• กลมุ่ ที่ 4 ศึกษาพระพทุ ธรปู ปางประจำวันเกิด (ยกตัวอย่างมา 2 วัน)

แลว้ วิเคราะห์ลกั ษณะพระพุทธรปู ประวัติความเป็นมา และขอ้ คดิ ที่ไดจ้ ากการศกึ ษาพระพุทธรปู
โดยนำเสนอข้อมลู โดยใชแ้ ผนภาพความคิด ดงั ตัวอย่าง

พระพทุ ธรูปปางหา้ มญาติ

ลักษณะพระพุทธรปู
เป็นพระพุทธรปู อยใู่ นพระอริ ยิ าบถยืน ยกพระหัตถข์ น้ึ เสมอ
พระอุระ (อก) ตั้งฝา่ พระหัตถย์ ่ืนออกไปขา้ งหนา้
เปน็ กริ ยิ าห้าม เปน็ ปางเดยี วกันกบั ปางหา้ มสมุทร
ตา่ งกนั ตรงทป่ี างหา้ มญาติจะยกมือขวาขึ้นห้ามเพยี งมือเดยี ว

ประวัติความเปน็ มา
เกดิ ขน้ึ เนือ่ งจากพระญาตฝิ ่ายพทุ ธบดิ า คอื กรุงกบิลพสั ด์ุ
และพระญาติฝ่ายพทุ ธมารดา คือ กรุงเทวทหะ ซ่ึงอาศัยอยู่
คนละฝั่งของแม่น้ำโรหิณี เกิดทะเลาะวิวาทแยง่ นำ้
เพอ่ื ไปเพาะปลูก ถึงขนาดยกทพั ทำสงคราม พระพทุ ธเจ้า
จึงเสดจ็ ไปเจรจาห้ามทัพ

ขอ้ คิดท่ีได้จากการศกึ ษาพระพทุ ธรปู
เปน็ ส่งิ เตอื นใจไม่ใหท้ ะเลาะเบาะแวง้ กนั
และให้มีความสามัคคีกัน

3 นกั เรียนคิดประเมนิ เพ่อื เพ่มิ คุณค่า แล้วสรปุ เป็นความคดิ รวบยอด โดยการตอบคำถาม ดังน้ี
• การศึกษาพระพุทธรปู ปางต่าง ๆ นกั เรียนได้ประโยชนอ์ ย่างไร
(ตวั อย่างคำตอบ ไดท้ ราบถึงประวัตคิ วามเป็นมา และได้ข้อคิดไปปรับใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ )

7.3 ขัน้ ฝึกฝน
1. นกั เรยี นวาดภาพหรือตดิ ภาพพระพทุ ธรูปประจำวนั เกิดของตน แลว้ สรปุ ลกั ษณะสำคญั

ลงในแบบบันทึกในชนิ้ งาน เรอ่ื ง พระพุทธรูปประจำวนั เกดิ
2. นกั เรยี นตรวจสอบความถกู ต้องและความเรยี บรอ้ ยของชิ้นงาน หากพบขอ้ ผิดพลาดควรปรบั ปรุงแกไ้ ขให้

ถูกต้อง

7.4 ขัน้ สรปุ
1. นักเรียนรว่ มกนั สรุปส่ิงทเี่ ขา้ ใจเป็นความรรู้ ว่ มกนั ดังน้ี

การศึกษาพทุ ธประวตั ิจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ทำให้ทราบลกั ษณะสัญลักษณข์ องพระพทุ ธรปู

ในอริ ิยาบถต่าง ๆ แสดงให้เห็นถงึ พุทธจรยิ วตั รว่าครง้ั นัน้ หรือสมัยนน้ั พระพุทธเจ้าทรงทำอะไร

8. สอ่ื การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ของสถาบันพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)

2. ภาพพระพุทธรปู

3. แหล่งการเรยี นรู้ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น

9. การวัดและประเมินผล เครื่องมอื เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
วธิ ีการวดั และประเมินผล
ประเมนิ ความรู้ เร่อื ง ศึกษา 4 = ดีมาก ถูกตอ้ ง 80%ขนึ้ ไป
ดา้ นความรู้
พทุ ธประวตั ิจากพระพทุ ธรูป 3 = ดี ถกู ต้อง 70-79%ข้นึ ไป
ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ 2 = พอใช้
ปางต่าง ๆ : ปางมารวชิ ัย ปาง 1 = ปรับปรงุ ถูกต้อง 60-69%ข้ึนไป
ด้านเจตคติ และคุณลักษณะ ปฐมเทศนา ปางลีลา ปาง ถกู ตอ้ งตำ่ กวา่ 60%ขึ้นไป

ประจำวนั เกดิ (K) ด้วย

แบบทดสอบ

ประเมนิ กระบวนการทำงาน 4 = ดีมาก หมายถงึ ปฏบิ ัติคุณลักษณะนนั้ ๆ

กลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน เด่นชัดมากที่สดุ
3 = ดี หมายถึง ปฏิบตั คิ ุณลกั ษณะนั้นๆ
ประเมนิ ชิ้นงาน เร่อื ง
พระพุทธรูปประจำวนั เกดิ (P) เดน่ ชดั ท่ีสดุ
2 = พอใช้ หมายถึง ปฏบิ ัตคิ ุณลักษณะน้นั ๆ
ด้วยแบบประเมนิ
ปานกลาง

1 = ปรับปรงุ หมายถงึ ปฏิบตั ิคณุ ลกั ษณะ

นน้ั ๆนอ้ ย

ประเมินคุณลกั ษณะอนั พึง 4 = ดมี าก หมายถึง ปฏบิ ัติคุณลกั ษณะนั้นๆ

ประสงค์ ด้านรักชาติ ศาสน์ เดน่ ชดั มากท่ีสุด
กษตั ริย์ ใฝเ่ รยี นรู้ (A) ดว้ ย 3 = ดี หมายถึง ปฏบิ ัตคิ ุณลักษณะนั้นๆ
แบบประเมิน
เดน่ ชดั ท่ีสุด
2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏบิ ัตคิ ุณลกั ษณะน้นั ๆ

ปานกลาง

1 = ปรบั ปรงุ หมายถึง ปฏิบัติคณุ ลกั ษณะ

น้นั ๆน้อย

ชิ้นงานเรื่อง พระพทุ ธรปู ประจำวันเกดิ
นกั เรียนวาดภาพหรอื ตดิ ภาพพระพทุ ธรูปประจำวนั เกิดของตน แลว้ สรุปลักษณะสำคญั
ลงในแบบบันทึก

แบบบนั ทกึ พระพทุ ธรูปประจำวันเกดิ ของตน

• เกิดวัน
• พระพทุ ธรปู ปาง
• ลกั ษณะสำคญั
• เกยี่ วข้องกบั พทุ ธประวตั ิ

บนั ทึกผลหลงั การจัดการเรียนรู้

1. สรุปผลการเรียนรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทักษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คุณธรรม จริยธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปญั หา อุปสรรคและข้อค้นพบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแกไ้ ข และผลการแกไ้ ข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงชื่อ)……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจริ าภา สำฤทธ์ิ)

วันที่ …………..เดอื น……………..พ.ศ……….….

(ลงชอื่ )………………………………………… (ลงช่ือ)…………………………………………
(นายถาวร สขุ นา)
(วา่ ทีร่ อ้ ยตรีหญงิ มทุ ติ า เอ่ียมทพิ ย์)
หัวหน้ากลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ รองผอู้ ำนวยกาปฏิบตั ิราชการแทน
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นหนองรีประชานมิ ิต

แผนการจัดการเรยี นรู้
สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษาฯ รายวชิ า พระพุทธศาสนา5 รหัสวิชา ส23103 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4 เรือ่ ง พุทธประวตั ิจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ และสรุปพทุ ธประวัติ จำนวน 2 ชวั่ โมง
แผนการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง สรปุ และวิเคราะห์พุทธประวตั ิ (ตอนปฐมเทศนา โอวาทปาตโิ มกข์) จำนวน 1
ชว่ั โมง

1. มาตรฐานตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 1.1 ร้แู ละเข้าใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนบั ถอื และศาสนาอื่น มศี รทั ธาที่ถกู ตอ้ ง ยดึ มั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพ่ืออยู่ร่วมกนั อยา่ งสันติสขุ
ตัวชว้ี ัด
ส 1.1 ม.3/4 วิเคราะหพ์ ทุ ธประวัติจากพระพทุ ธรปู ปางต่าง ๆ หรอื ประวัติศาสดาทีต่ นนับถือ
ตามทกี่ ำหนด

2. สาระสำคัญ
การศึกษาพุทธประวัติจะทำใหพ้ ุทธศาสนิกชนเกิดความเลอื่ มใสศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา

สามารถนำหลักธรรมและโอวาทต่าง ๆ มาประยกุ ต์ใช้ในการพัฒนาชวี ิตและสงั คมใหเ้ จริญขน้ึ
3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1. อธิบายเก่ียวกบั พุทธประวตั ิ : ตอนปฐมเทศนา โอวาทปาตโิ มกข์ (K)
2. วเิ คราะหแ์ ละสรปุ พทุ ธประวัติ : ตอนปฐมเทศนา โอวาทปาตโิ มกข์ (P)
3. เหน็ ความสำคญั ของการศกึ ษาพุทธประวตั ิ เพอ่ื นำหลกั ธรรมและขอ้ คิดที่ได้ไปปรบั ใชใ้ นการดำเนินชีวิต (A)
4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ใฝเ่ รียนรู้
5. สมรรถนะสำคญั ของนักเรยี น
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
6. ช้นิ งาน/ภาระงาน ชน้ิ งานเรอื่ ง วิเคราะห์การแก้ปัญหาด้วยข้อคดิ จากพทุ ธประวัติ
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ ด้วยวิธีสอนแบบ CIPPA MODEL

7.1 ขน้ั นำ
1. นกั เรยี นสงั เกตภาพเกี่ยวกบั พทุ ธประวัติ จากนั้นรว่ มกันสนทนา โดยการตอบคำถาม ดังน้ี

• จากภาพคอื พทุ ธประวัติตอนใด
(ตอนปฐมเทศนา ตอนโอวาทปาตโิ มกข์)
• เหตุการณ์สำคญั ในภาพตรงกับวนั สำคญั ใดในพระพุทธศาสนา
(ตอนปฐมเทศนาตรงกับวนั อาสาฬหบูชา ตอนโอวาทปาติโมกข์ตรงกบั วนั มาฆบูชา)
• นักเรียนทราบหรอื ไม่ว่าพุทธประวตั ิตอนปฐมเทศนา และตอนโอวาทปาตโิ มกข์
มีเหตุการณ์สำคัญใดเกิดขน้ึ
(ตวั อยา่ งคำตอบ ตอนปฐมเทศนา ทำให้เกิดพระรัตนตรัยครบ 3 ประการ คือ พระพทุ ธ
พระธรรม พระสงฆ)์
2. นกั เรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกีย่ วกับพทุ ธประวัติ : ตอนปฐมเทศนา โอวาทปาติโมกข์
จากหนงั สอื เรียนและแหลง่ การเรยี นรอู้ น่ื ๆ เพ่ิมเติม
7.2 ขัน้ สอน
1. นักเรยี นร่วมกนั วิเคราะห์และสรปุ เกย่ี วกบั พุทธประวัติ ตอนปฐมเทศนา และตอนโอวาทปาติโมกข์
โดยการนำเสนอหลักธรรมที่เกยี่ วขอ้ ง แลว้ นำเสนอข้อคดิ ที่ได้รบั และแนวทางการนำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิต
โดยบนั ทกึ คำตอบของนักเรยี นเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตวั อย่าง

• ตอนปฐมเทศนา หลกั ธรรมที่เกย่ี วข้อง
ธมั มจักรกัปปวัตนสูตร ประกอบด้วย
ตอนปฐมเทศนา อรยิ มรรค 8 มัชฌิมาปฏปิ ทา
พระพุทธเจา้ เสดจ็ ไปโปรดเวไนยสตั ว์ โดยแสดงปฐมเทศนา
คอื ธมั มจักรกัปปวัตนสูตรใหก้ ับปญั จวัคคีย์ ซงึ่ โกณฑัญญะ ข้อคิดท่ีได้จากการศึกษา
เป็นผู้ดวงตาเห็นธรรมเปน็ บคุ คลแรก พระพทุ ธเจา้ จงึ ได้ การปฏิบัติตนตามหลกั ทางสายกลาง
ประทานอปุ สมบทให้ ซงึ่ ถอื เป็นพระสาวกองคแ์ รก และการพิจารณาทกุ ส่ิงอย่างมีเหตผุ ล
ในพระพุทธศาสนา วนั นน้ั จึงมีพระรัตนตรัย จะทำให้การดำเนนิ ชวี ิตมแี ต่ความสุข
ครบ 3 ประการ คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์
แนวทางการนำไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ
• ตอนโอวาทปาตโิ มกข์ ทำดี พดู ดี คิดดี ประกอบอาชีพสจุ รติ
เพยี รพยายามทำในส่ิงตา่ ง ๆ ให้สำเร็จ มีสติ
ตอนโอวาทปาติโมกข์ และต้ังใจทำใหบ้ รรลุผล
ในวันขึ้น 15 คำ่ เดือน 3 พระสงฆ์สาวก 1,250 องค์
มาเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าที่วดั เวฬวุ นั โดยมิไดน้ ัดหมาย หลักธรรมท่เี ก่ยี วข้อง
ลว้ นแต่เปน็ เอหิภกิ ขุอุปสัมปทา (พระภิกษทุ ่ีพระพทุ ธเจา้ โอวาทปาติโมกข์
ทรงอปุ สมบทให้) และเป็นพระอรหนั ต์ท้ังหมด
พระพุทธองค์ทรงเหน็ การประชุมของสงฆ์ ประกอบดว้ ย ข้อคดิ ท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษา
องค์ 4 (จาตรุ งคสันนิบาต) จงึ ทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ การเป็นผูป้ ฏบิ ัติดีอย่างแทจ้ ริงน้ันย่อมมผี ู้นับถอื
หรอื พระโอวาทสำคญั ซงึ่ เปน็ คำสอน อนั เปน็ หวั ใจ และระลกึ ถึงคำสอน เพอ่ื นำไปเผยแผ่
ของพระพทุ ธศาสนา และปฏบิ ตั ติ าม

แนวทางการนำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ
ละเวน้ จากการประพฤติชว่ั กระทำแตค่ วามดี
และทำจิตใจใหบ้ รสิ ุทธิ์

3. นกั เรียนรว่ มกนั สรปุ เกย่ี วกบั ความสำคัญของพุทธประวัติ ตอนปฐมเทศนา และตอนโอวาทปาตโิ มกข์
แลว้ สรปุ ประโยชนท์ เี่ กดิ ข้นึ ต่อพทุ ธศาสนิกชน โดยบันทกึ คำตอบของนักเรียนเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน
ดังตัวอย่าง

สรปุ ความสำคัญของพุทธประวัติ ตอนปฐมเทศนา
และตอนโอวาทปาติโมกข์

พุทธประวตั ติ อนปฐมเทศนาและโอวาทปาติโมกข์
เปน็ การแสดงหลักธรรมของพระพุทธเจา้ ท่ีมีต่อสาวก
ซงึ่ แต่ละเหตกุ ารณ์เม่อื วเิ คราะห์ดูแล้วจะแฝงขอ้ คิด
และหลกั ธรรมตา่ ง ๆ ท่ีสามารถนำไปประยุกต์ใชไ้ ดจ้ รงิ

ประโยชน์ท่เี กดิ ขนึ้ ตอ่ พทุ ธศาสนิกชน
ทำให้มขี ้อคิดและหลักธรรมท่ีไดร้ ับจากการศึกษา
พุทธประวัติไปปฏบิ ตั ิในการดำเนนิ ชวี ิต เพ่ือใหเ้ กิดความสุข
แก่ตนเองและผ้อู ่ืน

4. นักเรยี นคดิ ประเมินเพอื่ เพิ่มคุณค่า แล้วสรุปเป็นความคิดรวบยอด โดยการตอบคำถาม ดังน้ี
• ในฐานะทีน่ กั เรียนเปน็ พุทธศาสนกิ ชน ถา้ นกั เรียนจะเปรียบเทียบพุทธประวัตกิ ับอวัยวะในร่างกายของ

ตนเอง นักเรียนจะเปรยี บกบั อวยั วะใด เพราะเหตใุ ด
(ตัวอย่างคำตอบ สมองและหวั ใจ เพราะอวยั วะทง้ั สองจะคอยสั่งใหเ้ ราคิดและปฏบิ ัติในทุกวนั

ของการดำเนินชีวติ )
7.3 ขั้นฝึกฝน

6. นักเรยี นยกตวั อย่างเหตกุ ารณห์ รือปัญหาที่เกิดขึน้ ในชีวติ ประจำวันมา 1 อย่าง แล้วนำขอ้ คดิ
จากการศึกษาพทุ ธประวตั มิ าวิเคราะหก์ ารแก้ปัญหา ลงในช้นิ งานเรื่อง วิเคราะห์การแกป้ ญั หาดว้ ยขอ้ คดิ
จากพุทธประวัติ

7. นักเรียนตรวจสอบความถูกตอ้ งและความเรียบร้อยของช้นิ งาน หากพบขอ้ ผิดพลาดควรปรบั ปรุงแกไ้ ขให้
ถกู ตอ้ ง
7.4 ข้นั สรปุ

1. นักเรียนร่วมกนั สรุปสิ่งท่ีเข้าใจเปน็ ความรู้รว่ มกนั ดงั นี้
การศกึ ษาพทุ ธประวัตจิ ะทำให้พทุ ธศาสนกิ ชนเกดิ ความเลอื่ มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา

สามารถนำหลกั ธรรมและโอวาทต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาชีวิตและสงั คมให้เจริญข้ึน

8. สอื่ การเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้
1. หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐาน พระพทุ ธศาสนา ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ของสถาบันพฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.)

2. ภาพพุทธประวัติ

3. แหล่งการเรียนรู้ท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น

9. การวัดและประเมินผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
วธิ ีการวัดและประเมินผล
ด้านความรู้ ประเมินความรู้ เรอื่ ง สรปุ และ 4 = ดมี าก ถูกต้อง 80%ขน้ึ ไป

วเิ คราะหพ์ ทุ ธประวตั ิ (ตอนปฐม 3 = ดี ถูกตอ้ ง 70-79%ขน้ึ ไป
2 = พอใช้
เทศนา โอวาทปาตโิ มกข์) (K) 1 = ปรับปรงุ ถกู ต้อง 60-69%ขน้ึ ไป
ดว้ ยแบบทดสอบ ถูกต้องตำ่ กว่า 60%ขนึ้ ไป

ดา้ นทักษะ / กระบวนการ ประเมินชนิ้ งาน เรือ่ ง วิเคราะห์ 4 = ดมี าก หมายถึง ปฏิบัตคิ ุณลักษณะนนั้ ๆ
การแกป้ ัญหาด้วยขอ้ คิดจาก เดน่ ชัดมากที่สุด
ด้านเจตคติ และ พุทธประวตั ิ (P) ด้วยแบบ 3 = ดี หมายถึง ปฏบิ ัตคิ ุณลกั ษณะน้ันๆ
คุณลักษณะ ประเมนิ เด่นชัดท่ีสดุ
2 = พอใช้ หมายถึง ปฏิบัติคุณลกั ษณะน้นั ๆ
ประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ปานกลาง
ประสงค์ ดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ 1 = ปรบั ปรุง หมายถงึ ปฏบิ ัติคุณลักษณะ
กษัตริย์ ใฝเ่ รียนรู้ (A) ดว้ ยแบบ นน้ั ๆนอ้ ย
ประเมนิ
4 = ดีมาก หมายถึง ปฏบิ ัตคิ ุณลักษณะนนั้ ๆ
เดน่ ชัดมากที่สุด
3 = ดี หมายถึง ปฏบิ ัติคุณลกั ษณะนั้นๆ
เดน่ ชัดท่ีสุด
2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลักษณะนั้นๆ
ปานกลาง
1 = ปรบั ปรงุ หมายถงึ ปฏิบัติคณุ ลกั ษณะ
นั้นๆนอ้ ย

ช้ินงานเร่อื ง วเิ คราะหก์ ารแกป้ ญั หาดว้ ยขอ้ คดิ จากพทุ ธประวัติ

วนั ท่ี________เดือน_______________พ.ศ.___________
ช่ือ_____________________________เลขที่______ชั้น__________

นกั เรียนยกตัวอย่างเหตุการณ์หรอื ปัญหาทเ่ี กดิ ข้ึนในชวี ติ ประจำวันมา 1 อยา่ ง แล้วนำข้อคดิ
จากการศึกษาพทุ ธประวัตมิ าวิเคราะหก์ ารแกป้ ญั หาลงในแผนภาพความคิด

(มีพืน้ ฐานการเรยี น • ปญั หา • ผลกระทบทเ่ี กิดขน้ึ
วิชานนั้ ไม่ดีอย่แู ลว้ ) (เรียนไม่ทนั เพราะอาจารย์ (เรียนไม่รเู้ ร่ือง ทำให้ท้อ
สอนเนื้อหาเร็วมาก ไมอ่ ยากเรยี นวชิ าน้ัน
สาเหตุ ไมเ่ ขา้ ใจเนอื้ หาวชิ านน้ั ) และอาจจะสอบตกในวชิ าน้นั )
• ปญั หาน้ีเก่ียวขอ้ งกบั
(ไมเ่ ข้าใจเน้ือหา (อาจารยส์ อนเรว็ พทุ ธประวตั ิตอน
วชิ าน้นั ) อธิบายเขา้ ใจยาก) (ปฐมเทศนา
ดอกบวั 3 เหลา่ )

• แนวทางการแก้ปัญหา
(ยกมือข้ึนถาม หรือให้อาจารย์อธบิ ายใหม่ และหม่นั ฝกึ
ทบทวนในเน้อื หาวิชานั้น ๆ)

บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้

1. สรปุ ผลการเรียนรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คุณธรรม จริยธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปัญหา อุปสรรคและข้อคน้ พบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงชื่อ)……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจิราภา สำฤทธ์ิ)

วันที่ …………..เดือน……………..พ.ศ……….….

(ลงชอื่ )………………………………………… (ลงชอ่ื )…………………………………………
(นายถาวร สขุ นา)
(ว่าทีร่ ้อยตรีหญิงมทุ ิตา เอี่ยมทพิ ย)์
หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยกาปฏบิ ตั ิราชการแทน
ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองรปี ระชานมิ ิต

แผนการจดั การเรียนรู้

สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษาฯ รายวิชา พระพทุ ธศาสนา5 รหสั วชิ า ส23103 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรื่อง พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ชาดก และพทุ ธศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง จำนวน 4 ช่วั โมง

แผนการเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง พุทธสาวก จำนวน 1 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา
ท่ตี นนบั ถอื และศาสนาอน่ื มศี รัทธาท่ถี ูกตอ้ ง ยดึ มั่น และปฏบิ ัติตามหลักธรรม

เพือ่ อยรู่ ่วมกันอย่างสันติสขุ
ตัวชว้ี ัด
ส 1.1 ม.3/5 วเิ คราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชวี ติ และข้อคดิ จากประวัติสาวก

ชาดก เร่ืองเล่า และศาสนิกชนตวั อย่างตามท่ีกำหนด
2. สาระสำคัญ

พทุ ธสาวก คือ สาวกของพระพุทธเจ้า ได้แก่ ภิกษุ ภิกษุณี อบุ าสก อบุ าสกิ า เป็นผู้นบั ถือพระพุทธเจ้า
และคำส่งั สอนของพระพทุ ธเจ้า การศกึ ษาประวตั ิพุทธสาวกทำให้ทราบถงึ ประวัตขิ องบคุ คลเหลา่ นั้น

และสามารถนำแบบอยา่ งทีด่ ีมาปรับใช้ในการดำเนินชวี ติ ได้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธบิ ายความหมายและความสำคัญของพุทธสาวก (K)
2. วเิ คราะหค์ ณุ ธรรมทคี่ วรถอื เป็นแบบอยา่ งจากการศกึ ษาพุทธสาวก (P)

3. นำเสนอแนวทางการปฏิบัติตนตามแบบอยา่ งทด่ี ขี องพทุ ธสาวก (P)
4. เหน็ คุณค่าและความสำคัญของการศกึ ษาประวตั พิ ุทธสาวก เพ่ือนำแบบอย่างที่ดมี าปฏิบัติตน

เพอ่ื ให้เกดิ ความสขุ แกต่ นเอง ผูอ้ น่ื และประเทศชาติ (A)
4. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ใฝ่เรียนรู้
5. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
6. ช้ินงาน/ภาระงาน วาดภาพ
7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดว้ ยวิธสี อนแบบ (Committee Work Method)

7.1 ขั้นนำ
1. นกั เรียนร่วมกนั สนทนาเกยี่ วกบั พุทธสาวก โดยการตอบคำถาม ดงั น้ี

• นกั เรียนรู้จกั หรอื เคยเห็นพุทธสาวกหรือไม่
(ตัวอย่างคำตอบ รู้จัก)
• พุทธสาวกท่ีนักเรยี นร้จู ักหรอื เคยเห็นหมายถงึ บคุ คลใด
(ตวั อยา่ งคำตอบ พระภิกษ)ุ
• พทุ ธสาวกดังกล่าวเก่ยี วข้องกบั พระพทุ ธศาสนาอย่างไร
(ตัวอยา่ งคำตอบ เป็นผ้นู บั ถอื พระพุทธเจ้าและปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมคำสอน รวมไปถงึ การเผยแผ่
หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจา้ ใหก้ ับพุทธศาสนกิ ชนไดป้ ระพฤตปิ ฏิบัติตาม)
จากนนั้ อธิบายสรปุ เกี่ยวกับความหมายและความสำคญั เกย่ี วกับพุทธสาวกใหน้ ักเรยี นฟงั เพมิ่ เติมวา่ พุทธสาวก
คือ สาวกของพระพทุ ธเจ้าทีเ่ ป็นเพศชาย ได้แก่ ภิกษุ อบุ าสก ทีเ่ ปน็ เพศหญงิ ไดแ้ ก่ ภิกษุณี
อุบาสิกา เป็นผูท้ ีน่ ับถือพระพทุ ธเจา้ และคำสั่งสอนของพระพทุ ธเจา้ จัดอยใู่ นพุทธบริษทั 4 และเป็นผู้เผยแผ่
หลกั ธรรมคำสอนของพระพุทธเจา้ รวมไปถงึ การสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยตู่ อ่ ไป
2. นกั เรยี นศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกบั ประวตั ิพทุ ธสาวก : พระอัญญาโกณฑัญญะ
พระเจ้าปเสนทโิ กศล จากหนงั สอื เรียนและแหลง่ การเรียนรอู้ ่นื ๆ เพมิ่ เติม
7.2 ข้นั สอน
1. นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปประวัตพิ ทุ ธสาวก : พระอญั ญาโกณฑญั ญะ พระเจ้าปเสนทิโกศล
ในประเดน็ ต่อไปน้ี
• พทุ ธสาวกคอื ใคร
• พทุ ธสาวกเกยี่ วข้องกบั พระพุทธศาสนาอย่างไร
โดยบนั ทึกคำตอบของนกั เรียนเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดาน ดงั ตัวอย่าง
• พระอญั ญาโกณฑัญญะ

พทุ ธสาวกคือใคร

เป็นบุตรของพราหมณใ์ นหมบู่ ้านโทณวตั ถุ ใกล้เมืองกบลิ พสั ด์ุ
เปน็ หนึ่งในพราหมณ์ 108 คนทไี่ ด้รับเชิญให้เข้าร่วมพธิ ถี วาย
พระนามเจ้าชายสทิ ธตั ถะ และเป็นหนง่ึ ในพราหมณ์ 8 คน
ท่ไี ด้ทำนายพระลักษณะของเจ้าชายสิทธัตถะ

เกย่ี วข้องกบั พระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร

ท่านอญั ญาโกณฑัญญะเป็นหน่ึงในปญั จวคั คีย์ท้งั 5 ท่ีเคยปรนนบิ ัติเจ้าชายสทิ ธัตถะ
เมอื่ ครง้ั บำเพญ็ ทุกรกริ ิยากอ่ นตรัสร้เู ป็นพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า และทรงเปน็ พระสงฆ์
รูปแรกในพระพุทธศาสนาจากการฟงั ธรรมทพี่ ระพุทธเจ้าทรงแสดง เรยี กวา่
ธมั มจกั กปั ปวัตนสตู ร โกณฑัญญะก็เกิดความรู้แจ้งและไดด้ วงตาเหน็ ธรรม บรรลุ
โสดาปัตติผล เป็นพระโสดาบัน และขออปุ สมบทจากพระพทุ ธเจา้

• พระเจา้ ปเสนทิโกศล

พุทธสาวกคอื ใคร
เปน็ พระราชโอรสของพระเจา้ มหาโกศล กษัตรยิ เ์ มอื งสาวัตถี
แควน้ โกศล พระองคน์ ับถือพวกนิครนถ์ และเช่อื ในการบูชายัญ

เกยี่ วข้องกบั พระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร

เนื่องดว้ ยพระองคท์ รงมีกลั ยาณมิตรทดี่ ี และมีพระมเหสีทมี่ คี วามเฉลียวฉลาด
สามารถใหค้ ำปรกึ ษาใหค้ ำแนะนำในด้านตา่ ง ๆ ได้เป็นอยา่ งดี ทั้งในเรอ่ื งการปกครอง
ศาสนา รวมถึงเร่ืองการบุญการกศุ ล ทำให้พระองค์เป็นกษัตริยผ์ มู้ ีทศพิธราชธรรม
ครั้งหนึง่ พระองค์ได้รับฟงั พระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจา้ ทำใหพ้ ระองคท์ รงยกเลิก
การบูชายญั และทรงปฏญิ าณตนเปน็ อบุ าสก นับถือพระพทุ ธศาสนา และทรงให้
การอุปถัมภพ์ ระพทุ ธศาสนาต้ังแต่ตอนนัน้ เปน็ ต้นมา

2. นกั เรยี นร่วมกนั วิเคราะห์เกยี่ วกับคุณธรรมทค่ี วรนำมาเปน็ แบบอย่างของพระอญั ญาโกณฑัญญะ และพระ
เจ้าปเสนทิโกศล โดยบันทกึ คำตอบของนักเรยี นเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอย่าง

• พระอัญญาโกณฑัญญะ

เป็นผู้มีประสบการณม์ าก คุณธรรมท่คี วรนำมา เปน็ ผ้มู คี วามสนั โดษ พอใจใน
มีความรอบรหู้ ลายด้าน ซึ่งเกดิ จาก เป็นแบบอย่าง สงิ่ ทตี่ นมีอยู่
การศกึ ษาเล่าเรยี นและนำวชิ า
ความรมู้ าประยกุ ต์ใช้ในการ เป็นผู้มเี หตุผลในการดำเนนิ ชวี ิต
ดำเนินชีวติ ไมค่ ลอ้ ยตามบุคคลอ่นื งา่ ย ๆ
มีการคิดทบทวนถงึ เหตุและผล
เป็นผมู้ ปี ญั ญาแก่กลา้ เม่อื ได้รับฟัง ของเหตกุ ารณน์ น้ั ๆ อยา่ งถี่ถว้ น
พระธรรมเทศนาท่ีพระพทุ ธเจา้
ตรสั แสดงโปรดคร้งั แรก
กส็ ามารถรธู้ รรมได้อย่างฉับพลัน

เปน็ ผทู้ ว่ี างตนอยา่ งเหมาะสม
ไม่หลงกับคำพดู สรรเสริญเยินยอ
ตระหนกั ถึงการควรมคิ วรอย่เู สมอ

• พระเจ้าปเสนทิโกศล คุณธรรมทค่ี วรนำมา เป็นผทู้ ่ยี อมรับฟังความคดิ เห็น
เปน็ ผู้ทร่ี ู้จกั คบหาบัณฑติ เปน็ แบบอย่าง ของผอู้ ื่น

เป็นผู้ทม่ี คี วามเลอ่ื มใส เป็นผู้ทีม่ คี วามเคารพพระพุทธเจา้
ในพระรัตนตรัยอย่างยิ่ง อยา่ งยิง่

3. นกั เรยี นยกตวั อย่างคุณธรรมที่ควรนำมาเปน็ แบบอยา่ งของพระอญั ญาโกณฑญั ญะ
และพระเจา้ ปเสนทิโกศลมา 1 ตัวอยา่ ง และเสนอแนวทางการนำแบบอยา่ งทด่ี มี าปฏบิ ัติ แลว้ สรุปผลที่เกิดขึ้น
ลงในแผนภาพความคดิ ดงั ตัวอยา่ ง

คุณธรรมท่ีควรนำมาเป็นแบบอย่าง คณุ ธรรมที่ควรนำมาเปน็ แบบอยา่ ง
ของพระอัญญาโกณฑญั ญะ ของพระเจ้าปเสนทโิ กศล

เปน็ ผู้มีเหตุผลในการดำเนนิ ชีวิต เป็นผทู้ ี่รจู้ ักคบบณั ฑติ
ไมค่ ลอ้ ยตามบุคคลอนื่ งา่ ย ๆ

แนวทางการนำแบบอย่างทีด่ มี าปฏบิ ตั ิ แนวทางการนำแบบอย่างทด่ี ีมาปฏิบัติ

ไม่เอาแตใ่ จตนเอง ยอมรบั ฟังความคิดเห็น รจู้ กั คบเพ่ือนทคี่ อยสอนและตกั เตอื นเรา
ของผอู้ ่ืน มีการคดิ อย่างรอบคอบ ไปในทางที่ดี ไมค่ บเพ่ือนท่ีคอยชวน
ก่อนการตัดสนิ ใจทำอะไร ไม่เช่อื คำพูด ไปทำในสงิ่ ท่ไี มด่ ี ซึ่งอาจทำใหเ้ กดิ ผลเสยี
ของคนอืน่ โดยไม่ได้พิสจู น์หาความจริง ตามมาได้
ด้วยตนเอง

ผลที่เกิดขึน้ ผลท่เี กิดขนึ้

ทำใหเ้ กิดความรอบคอบในการดำเนนิ ชีวติ ทำให้ชีวติ พบเจอแต่ความสขุ
จากการรู้จกั คดิ พิจารณาหาเหตแุ ละผล และประสบความสำเร็จในชวี ิต
ทจ่ี ะเกดิ ขึน้ นำมาซง่ึ ความสขุ

4. นักเรียนคดิ ประเมินเพ่ือเพม่ิ คณุ ค่า แล้วสรุปเปน็ ความคิดรวบยอด โดยการตอบคำถาม ดงั นี้
• การนำแบบอยา่ งทดี่ ขี องพทุ ธสาวกมาเป็นแนวทางการปฏิบัติในการดำเนนิ ชวี ติ ส่งผลดีตอ่ ตนเอง

ครอบครวั และประเทศชาตอิ ย่างไร
(ตวั อย่างคำตอบ ต่อตนเอง : เปน็ คนดี มีเหตุผล คิดกอ่ นทำ ทำให้ประสบความสำเรจ็ ในชีวิต
(ตัวอยา่ งคำตอบ ต่อครอบครัว : สมาชิกในครอบครวั อยู่ร่วมกันอยา่ งมีความสุข มเี หตุมผี ล

ไมเ่ กดิ การทะเลาะเบาะแว้งกัน
(ตวั อยา่ งคำตอบ ต่อประเทศชาติ : เกิดความสงบสขุ ในสงั คม ปราศจากความขัดแย้ง)

7.3 ข้นั ฝกึ ฝน
1. นักเรียนแบง่ กลมุ่ ยกตวั อย่างการปฏบิ ตั ติ นท่ีสอดคล้องกับแบบอย่างทด่ี ีของพุทธสาวกที่ตนสนใจ

โดยการวาดภาพระบายสมี า 1 ตัวอย่าง แลว้ ตอบคำถามในประเดน็ ทีก่ ำหนดตอ่ ไปนี้
• ภาพดงั กล่าวคอื ภาพอะไร
• ภาพดังกลา่ วสอดคล้องกบั พทุ ธสาวกบุคคลใด
• ภาพดงั กล่าวสอดคล้องกบั แบบอย่างที่ดีของพุทธสาวกอยา่ งไร
• การนำแบบอย่างที่ดีของพทุ ธสาวกมาปฏิบตั คิ วรทำอย่างไร
• ผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้นึ จากการปฏิบตั ิตนตามแบบอย่างท่ีดเี ป็นอย่างไร
• นกั เรียนจะแนะนำแบบอย่างทด่ี ขี องพทุ ธสาวกแก่เพอ่ื นหรอื บุคคลอ่ืนใหป้ ฏิบตั ิตามอย่างไร

2. นักเรียนตรวจสอบความถกู ต้องและความเรียบร้อยของผลงาน หากพบข้อผิดพลาดควรปรับปรุงแก้ไขให้
ถูกต้อง
7.4 ข้ันสรปุ

1. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปสง่ิ ทีเ่ ข้าใจเปน็ ความรู้ร่วมกัน ดงั น้ี
พุทธสาวก คือ สาวกของพระพุทธเจ้า ไดแ้ ก่ ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อุบาสกิ า เป็นผูน้ ับถือพระพุทธเจ้า

และคำสงั่ สอนของพระพทุ ธเจ้า การศกึ ษาประวตั ิพทุ ธสาวกทำใหท้ ราบถงึ ประวัติของบคุ คลเหลา่ น้ัน
และสามารถนำแบบอย่างทด่ี ีมาปรบั ใช้ในการดำเนินชีวติ ได้
8. สอ่ื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรียนรู้

1. หนงั สือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐาน พระพุทธศาสนา ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถาบนั พฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แหล่งการเรยี นรทู้ งั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น

9. การวัดและประเมนิ ผล เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารวัดและประเมนิ ผล
วธิ กี ารวัดและประเมินผล ประเมนิ ความรู้ เรือ่ ง พุทธ 4 = ดีมาก ถูกตอ้ ง 80%ข้ึนไป
สาวก : พระอัญญาโกณ 3 = ดี ถกู ตอ้ ง 70-79%ขน้ึ ไป
ดา้ นความรู้ ฑญั ญะ พระเจา้ ปเสนทิโกศล 2 = พอใช้ ถกู ต้อง 60-69%ขนึ้ ไป
(K) ดว้ ยแบบทดสอบ 1 = ปรบั ปรงุ ถูกตอ้ งต่ำกว่า 60%ขนึ้ ไป
ด้านทกั ษะ / กระบวนการ ประเมินกระบวนการทำงาน
กลุม่ (P) ดว้ ยแบบประเมนิ 4 = ดมี าก หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลกั ษณะนน้ั ๆ
ดา้ นเจตคติ และคุณลักษณะ เดน่ ชดั มากที่สุด
ประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ 3 = ดี หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลักษณะน้ันๆ
ประสงค์ ด้านรกั ชาติ ศาสน์ เด่นชัดที่สดุ
กษัตรยิ ์ ใฝเ่ รยี นรู้ (A) ดว้ ย 2 = พอใช้ หมายถึง ปฏิบัติคุณลกั ษณะนั้นๆ
แบบประเมนิ ปานกลาง
1 = ปรบั ปรุง หมายถึง ปฏบิ ัติคณุ ลักษณะ
นัน้ ๆน้อย
4 = ดมี าก หมายถึง ปฏบิ ัติคุณลกั ษณะน้ันๆ
เดน่ ชดั มากท่ีสดุ
3 = ดี หมายถงึ ปฏบิ ัติคุณลกั ษณะนัน้ ๆ
เด่นชดั ท่ีสดุ
2 = พอใช้ หมายถึง ปฏบิ ัตคิ ุณลักษณะนัน้ ๆ
ปานกลาง
1 = ปรับปรงุ หมายถงึ ปฏิบตั ิคุณลักษณะ
นั้นๆน้อย

บันทกึ ผลหลังการจัดการเรยี นรู้

1. สรุปผลการเรยี นรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทักษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คุณธรรม จริยธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปัญหา อุปสรรคและขอ้ ค้นพบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงชือ่ )……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจริ าภา สำฤทธ์ิ)

วันท่ี …………..เดือน……………..พ.ศ……….….

(ลงชื่อ)………………………………………… (ลงชอ่ื )…………………………………………
(นายถาวร สขุ นา)
(ว่าท่รี อ้ ยตรีหญงิ มทุ ิตา เอยี่ มทพิ ย์)
หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวชิ าการ รองผูอ้ ำนวยกาปฏบิ ตั ิราชการแทน
ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นหนองรปี ระชานิมิต

แผนการจดั การเรยี นรู้

สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษาฯ รายวชิ า พระพทุ ธศาสนา5 รหัสวชิ า ส23103 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เร่อื ง พทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ชาดก และพุทธศาสนกิ ชนตัวอย่าง จำนวน 4 ชวั่ โมง

แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรอื่ ง พุทธสาวิกา จำนวน 1 ช่วั โมง

1. มาตรฐานตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรอื ศาสนา
ท่ีตนนบั ถอื และศาสนาอืน่ มีศรทั ธาท่ีถกู ต้อง ยึดมั่น และปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรม
เพ่อื อยู่รว่ มกันอยา่ งสันตสิ ขุ
ตัวชีว้ ัด
ส 1.1 ม.3/5 วเิ คราะห์และประพฤตติ นตามแบบอย่างการดำเนินชวี ิตและข้อคิดจากประวัตสิ าวก
ชาดก เรือ่ งเล่า และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามทก่ี ำหนด

2. สาระสำคัญ
พุทธสาวกิ า คือ สาวกของพระพุทธเจ้าที่เป็นเพศหญงิ ไดแ้ ก่ ภกิ ษณุ ี และอุบาสิกา เป็นผู้ทนี่ บั ถือพระพทุ ธเจา้

และคำส่ังสอนของพระพุทธเจา้ จัดอยู่ในพุทธบริษัท 4 เชน่ เดียวกับพทุ ธสาวก การศกึ ษาพุทธสาวกิ า ทำให้ทราบ
ถึงประวตั ขิ องบุคคลเหล่านั้น และสามารถนำแบบอยา่ งท่ดี มี าปรับใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตได้

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและความสำคญั ของพุทธสาวกิ า (K)
2. วิเคราะหค์ ุณธรรมท่ีควรถอื เป็นแบบอย่างจากการศกึ ษาพุทธสาวิกา (P)
3. นำเสนอแนวทางการปฏบิ ตั ติ นตามแบบอย่างทด่ี ขี องพทุ ธสาวกิ า (P)
4. เห็นคุณค่าและความสำคัญของการศกึ ษาประวัติพทุ ธสาวกิ า เพอ่ื นำแบบอย่างที่ดมี าปฏิบัตติ น
เพ่ือใหเ้ กดิ ความสขุ แกต่ นเอง ผอู้ ื่น และประเทศชาติ (A)

4. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ใฝ่เรยี นรู้

5. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. ช้นิ งาน/ภาระงาน แบบบนั ทกึ
7. กิจกรรมการเรียนรู้ ดว้ ยวิธีสอนแบบ (Questioning Method) (Committee Work Method)

7.1 ขน้ั นำ
1. นักเรียนร่วมกนั สนทนาเกยี่ วกับความหมายและความสำคญั ของพทุ ธสาวิกา โดยการตอบคำถาม ดังน้ี
• นักเรียนรู้หรือไม่วา่ พทุ ธสาวกิ าหมายถงึ บคุ คลใด
(ตวั อย่างคำตอบ รู้ หมายถงึ ภิกษุณี และอุบาสิกา)
• ภกิ ษณุ แี ละอบุ าสิกาคือใคร
(ตัวอยา่ งคำตอบ สาวกของพระพทุ ธเจ้าท่ีเป็นเพศหญงิ )
• ภิกษุณแี ละอบุ าสิกามคี วามสำคัญตอ่ พระพทุ ธศาสนาอย่างไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ เป็นผู้ทน่ี บั ถือพระพทุ ธเจ้าและคำสัง่ สอนของพระพุทธเจา้ พรอ้ มกบั นำหลกั ธรรมคำสอน

ของพระพทุ ธเจ้ามาสัง่ สอนให้ผอู้ นื่ ปฏิบัติตาม เพือ่ ให้เกิดความสุขในการดำเนินชีวิต)
2. นกั เรยี นศึกษาและรวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับพุทธสาวิกา : พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี

พระเขมาเถรี จากหนังสือเรียนและแหลง่ การเรยี นรอู้ ่นื ๆ เพิ่มเติม
7.2 ขัน้ สอน

1. นักเรียนรว่ มกนั สรุปประวตั ิพทุ ธสาวิกา : พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี พระเขมาเถรี
ในประเดน็ ต่อไปน้ี

• พทุ ธสาวิกาคือใคร
• พทุ ธสาวิกาเก่ียวขอ้ งกับพระพุทธศาสนาอย่างไร
โดยบนั ทกึ คำตอบของนักเรยี นเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดาน ดงั ตัวอยา่ ง
• พระมหาปชาบดโี คตมีเถรี

พทุ ธสาวิกาคอื ใคร

เป็นพระราชธดิ าของพระเจ้าอัญชนะกบั พระนางยโสธรา แห่งโกลยิ วงศ์
เป็นพระกนิษฐภคนิ ี (น้องสาว) ของพระนางสิริมหามายา ทรงเป็น
พระมาตุจฉา (นา้ นาง) ของพระพุทธเจ้า พระนางมหาปชาบดโี คตมี
ไดร้ บั การแต่งตงั้ เปน็ อคั รมเหสแี ละเปน็ ผู้เลี้ยงดูเจ้าชายสิทธตั ถะ
หลังพระนางสิรมิ หามายาสน้ิ พระชนม์

เกย่ี วขอ้ งกับพระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร

พระมหาปชาบดีโคตมีทรงมีความเลอื่ มใสศรัทธาในพระพทุ ธศาสนาเป็นอย่างมาก
และทรงตงั้ พระทัยมนั่ ในการทลู ขออุปสมบทจากพระพทุ ธเจา้ เมื่อครง้ั พระพุทธเจ้า
เสดจ็ มาโปรดพระบิดาและพระประยรู ญาติ จนได้รบั การอปุ สมบทเป็นภกิ ษุณี นับเปน็ คร้งั แรก
ท่ีไดม้ ีภิกษณุ เี กดิ ข้ึนในพระพทุ ธศาสนา และทรงบำเพญ็ เพียรจนสำเรจ็ เป็นพระอรหันต์
และทรงได้รับการยกย่องจากพระพุทธเจ้าวา่ เป็นเอตทัคคะ คอื เป็นเลศิ กว่าภิกษุณที ้งั หลาย

• พระเขมาเถรี

พทุ ธสาวกิ าคอื ใคร

เปน็ พระราชธดิ าของกษตั ริย์เมอื งสาคละ แคว้นมัททะ
ทรงมสี ิรโิ ฉมงดงาม เมือ่ เจริญวัยได้อภิเษกเปน็ พระมเหสอี งค์หนงึ่
ของพระเจา้ พิมพิสาร แห่งเมอื งราชคฤห์

เกยี่ วขอ้ งกับพระพทุ ธศาสนาอย่างไร

พระเขมาเถรีได้รบั การยกย่องจากพระพทุ ธเจ้าว่าเปน็ ภกิ ษุณที ่ีเปน็ เลิศในทางปัญญา
และเป็นอัครสาวิกาเบ้ืองขวาของพระพุทธเจ้า เช่นเดียวกับพระสารบี ุตรท่ีเปน็ อคั รสาวก
เบอื้ งขวา อันเนือ่ งมาจากเมอ่ื ครัง้ ท่ไี ดร้ ับฟังพระธรรมเทศนาจากพระพุทธเจา้
ทำใหพ้ ระเขมาเถรีทรงทูลขอพระบรมราชานุญาตจากพระเจ้าพมิ พิสารอุปสมบทเปน็ ภกิ ษุณี
และได้บำเพญ็ กิจท่ีเป็นประโยชนแ์ กพ่ ระพทุ ธศาสนาเป็นอันมาก

2. นักเรยี นรว่ มกนั คิดวิเคราะห์เกี่ยวกับคณุ ธรรมที่ควรนำมาเปน็ แบบอยา่ งของพระมหาปชาบดโี คตมเี ถรี พระ
เขมาเถรี โดยบนั ทกึ คำตอบของนกั เรียนเป็นแผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอยา่ ง

• พระมหาปชาบดีโคตมเี ถรี

เปน็ ผ้เู พียบพร้อมด้วยคุณสมบตั ิ เป็นผ้ทู ่ีมคี วามตัง้ ใจแน่วแน่ :
ของแมท่ ีด่ ี : พระมหาปชาบดโี คตมี ซึง่ พระนางมีความเพยี รพยายาม
ทรงเล้ียงดเู จา้ ชายสิทธตั ถะ ในการอุปสมบท
พร้อมด้วยพระราชโอรส
และพระราชธดิ าอย่างดยี ่งิ คณุ ธรรมทค่ี วรนำมา
เป็นแบบอยา่ ง

เปน็ ผทู้ ่มี ีความอ่อนน้อมอย่างยง่ิ : ถงึ แมพ้ ระนางจะมฐี านะ
เป็นถงึ พระมารดาเลีย้ งของพระพุทธเจ้า แต่กไ็ ม่ทรงเยอ่ หยงิ่
ถอื พระองค์แตป่ ระการใด กลับอ่อนนอ้ มและปฏิบตั ิตาม
หลกั คำสอนอยา่ งวา่ งา่ ย

• พระเขมาเถรี เป็นผู้มปี ัญญามาก : พระเขมาเถรี
ได้รบั การยกย่องว่าเป็นภกิ ษณุ ี
เปน็ ผ้มู ปี ฏภิ าณ : พระเขมาเถรี ท่เี ป็นเลิศทางปัญญาคอื สามารถ
เปน็ กำลังสำคัญในการเผยแผ่ ตรัสรู้จากการฟังธรรมเทศนา
พระพทุ ธศาสนาฝ่ายภกิ ษุณี ได้อยา่ งรวดเรว็
มีความสามารถในการแสดงธรรม
มปี ฏิภาณไหวพรบิ ในการโตต้ อบ
ฉบั ไว และแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้ดี

เป็นผู้ทีม่ เี หตผุ ล : โดยพจิ ารณา
สงิ่ ทงั้ หลายด้วยปัญญา

4. นักเรียนยกตวั อย่างคณุ ธรรมทีค่ วรนำมาเปน็ แบบอยา่ งของพระมหาปชาบดโี คตมเี ถรี
และพระเขมาเถรมี า 1 ตวั อยา่ ง และเสนอแนวทางการนำแบบอยา่ งทดี่ ีมาปฏบิ ัติ แล้วสรุปผลท่ีเกิดข้นึ
ลงในแผนภาพความคิด ดงั ตัวอยา่ ง

คณุ ธรรมท่คี วรนำมาเปน็ แบบอย่าง คณุ ธรรมท่คี วรนำมาเป็นแบบอยา่ ง
ของพระมหาปชาบดโี คตมีเถรี ของพระเขมาเถรี

เป็นผู้ท่มี จี ิตใจแน่วแน่ ซ่งึ พระนางมคี วาม เป็นผทู้ ม่ี ีเหตผุ ล โดยพจิ ารณาสงิ่ ทง้ั หลาย
เพยี รพยายามในการอุปสมบท ดว้ ยปัญญา

แนวทางการนำแบบอยา่ งทด่ี มี าปฏิบตั ิ แนวทางการนำแบบอยา่ งทีด่ ีมาปฏิบตั ิ

ต้งั ใจเรียนหนงั สือ และมคี วามเพียรพยายาม ก่อนคดิ หรือตดั สินใจทำอะไรต้องต้ังอยบู่ น
อดทนต่ออปุ สรรคต่าง ๆ ในชวี ติ พ้นื ฐานของเหตุและผล ไม่เอาอารมณ์
เปน็ ทต่ี ง้ั

ผลท่ีเกิดข้ึน ผลที่เกิดข้ึน

ทำใหป้ ระสบความสำเร็จในชีวิต ไม่ทำให้เกดิ ความประมาทในการดำเนินชวี ิต
และดำเนินชีวติ อยา่ งมีความสุข ทำให้ชวี ติ พบเจอแตค่ วามสุข

ถ. นักเรยี นคิดประเมนิ เพ่อื เพิ่มคุณค่า แล้วสรุปเปน็ ความคดิ รวบยอด โดยการตอบคำถาม ดงั นี้

• นักเรียนจะนำแบบอย่างท่ดี ขี องพุทธสาวิกาไปปฏิบตั แิ ละแนะนำใหผ้ อู้ ืน่ ปฏบิ ัติ
เพ่อื ให้เกิดความสขุ ในการดำเนินชีวติ ไดอ้ ย่างไร

(ตัวอย่างคำตอบ ดำเนนิ ชวี ติ ตั้งอยู่บนพ้นื ฐานของเหตุและผล ไม่ประมาท มีความออ่ นนอ้ มถ่อมตน ไมด่ ู
หมน่ิ หรือดถู กู คนอ่นื ปฏบิ ตั ติ นเป็นคนดี และการท่จี ะแนะนำใหผ้ อู้ ่นื ประพฤตดิ ี ตัวเราเองตอ้ งปฏบิ ัติตน
เปน็ แบบอย่างให้ผู้อืน่ ไดป้ ฏิบัตติ าม หรือแนะนำวา่ เม่อื ปฏบิ ัตแิ ล้วจะส่งผลดีอยา่ งไร)

7.3 ขั้นฝกึ ฝน
1. นกั เรียนแบง่ กลุม่ เลอื กศกึ ษาพุทธสาวิกาทต่ี นสนใจมา 1 ตัวอย่าง พร้อมตดิ ภาพ แล้วตอบคำถาม

ลงในแบบบนั ทึก เร่ือง ประวัตพิ ุทธสาวิกา ดงั ตัวอย่าง

แบบบันทกึ เรอื่ ง ประวัติพทุ ธสาวกิ า

ภาพ พระกสี าโคตมเี ถรี

• พุทธสาวกิ าในภาพมพี ระนามว่าอะไร (พระกสี าโคตมีเถร)ี
• พุทธสาวกิ าในภาพคือใคร (พระกีสาโคตมเี ถรี เป็นธิดาของตระกูลทเ่ี ก่าแกต่ ระกูลหนง่ึ ในกรงุ สาวตั ถี

มีรูปร่างผอมบาง)
• พทุ ธสาวิกาเก่ยี วขอ้ งกับพระพทุ ธศาสนาอย่างไร

(ตวั อยา่ งคำตอบ พระกีสาโคตมเี ถรีได้รับยกย่องจากพระพุทธเจา้ ว่าเป็นเอตทัคคะ คือ ความเป็นเลศิ
กว่าผู้อน่ื เน่ืองมาจากเม่ือคร้งั ท่ีพระกสี าโคตมีเถรีไดอ้ ุ้มศพบตุ รชายของตนไปเข้าเฝ้าพระพทุ ธเจา้
ซึ่งประทบั อยู่ท่พี ระวิหารเชตวนั เพือ่ ให้พระองค์ช่วยรกั ษาบตุ รชายทตี่ ายใหฟ้ ื้นคืนชพี พระองค์จงึ ตรัส
ให้นางไปเอาเมล็ดพันธุ์ผกั กาดมาสักกำมือหนง่ึ และเมล็ดพันธ์ผุ ักกาดนัน้ จะต้องเอามาจากบ้านเรือน
ท่ีไมม่ ใี ครตาย เม่ือไดม้ าแลว้ พระองคจ์ ะทำยาให้ นางกีสาโคตมีเถรีก็อมุ้ ลูกน้อยสอบถามจากชาวบ้าน
แตก่ ็ไมม่ ีแมแ้ ตเ่ มล็ดเดยี ว เนอ่ื งจากแต่ละครอบครัวกม็ ีคนตายมาแล้วท้ังส้ิน จนในท่สี ุดนางจึงคิดไดว้ ่า
ความตายเป็นสัจจะแห่งชีวิต สิง่ ใดเกิดขน้ึ สง่ิ นั้นกม็ แี ตกดับไปในท่ีสุด นางจงึ จัดการเผาศพลูกชายตนเอง
และพระพุทธเจา้ ก็ได้แสดงพระธรรมเทศนาให้นางไดฟ้ งั จนบรรลุโสดาปัตติผลกราบทูลขออุปสมบท
เป็นพระภกิ ษณุ ี เปน็ ผถู้ อื ธดุ งควตั รเคร่งครดั มีความเรยี บงา่ ย)
• คุณธรรมท่คี วรถอื เปน็ แบบอย่างของพทุ ธสาวกิ ามอี ะไรบา้ ง
(ตวั อย่างคำตอบ
1. เป็นผู้หนั หนา้ เผชิญกบั ความทกุ ข์ รับรู้ความจรงิ วา่ ทุกขเ์ กิดจากอะไร แลว้ พยายามแกไ้ ขท่ีตน้ เหตุ
2. ได้รบั การยกย่องจากพระพุทธเจา้ วา่ เป็นเอตทัคคะในทางทรงจีวรเศรา้ หมอง เป็นผ้ถู ือธดุ งควตั ร

อย่างเคร่งครดั มีความเป็นอย่เู รียบง่าย)

แบบบนั ทึก เรอื่ ง ประวัตพิ ุทธสาวิกา

• นกั เรยี นจะนำแบบอย่างทีด่ ขี องพทุ ธสาวิกามาเปน็ แนวทางการปฏิบตั ิตนในการดำเนินชวี ิตอย่างไร
(ตัวอย่างคำตอบ ใช้ชวี ิตอยา่ งมีสติ มเี หตุผล เมื่อใดท่ีเกดิ ปัญหา หรอื มอี ุปสรรคต่าง ๆ เข้ามาในชวี ิต
ถ้าเป็นปญั หาเล็กนอ้ ยกแ็ ก้ไขด้วยความรอบคอบ ถ้าปญั หาใดทไี่ ม่สามารถแก้ไขหรอื หาทางออกได้
ก็นำปัญหาดงั กล่าวไปปรกึ ษาผใู้ หญห่ รือผู้ท่ีสามารถใหค้ ำปรกึ ษาได้ เพื่อไม่ใหเ้ กดิ ความผดิ พลาด
ในการดำเนนิ ชวี ติ )

• การนำแบบอย่างทด่ี ขี องพทุ ธสาวิกามาเปน็ แนวทางการปฏิบัติตนสง่ ผลดีตอ่ นกั เรียนอยา่ งไร
(ตัวอยา่ งคำตอบ ทำใหไ้ มเ่ กิดความเครยี ดเมือ่ เจอปญั หาหรืออุปสรรคตา่ ง ๆ ทีเ่ ข้ามา
และไม่เกดิ ความประมาทในการดำเนนิ ชวี ิต มสี ติอย่ตู ลอดเวลา)

2. นกั เรียนตรวจสอบความถูกตอ้ งและความเรยี บร้อยของผลงาน หากพบขอ้ ผิดพลาดควรปรับปรุงแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ ง
7.4 ข้ันสรุป

1. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปส่งิ ที่เขา้ ใจเปน็ ความรู้ร่วมกนั ดงั นี้
พทุ ธสาวิกา คอื สาวกของพระพทุ ธเจา้ ทเ่ี ปน็ เพศหญิง ไดแ้ ก่ ภิกษุณี และอบุ าสิกา เป็นผู้ท่นี ับถอื พระพทุ ธเจ้า

และคำสง่ั สอนของพระพุทธเจ้า จัดอยู่ในพทุ ธบรษิ ัท 4 เช่นเดียวกบั พุทธสาวก การศกึ ษาพุทธสาวกิ า
ทำให้ทราบถึงประวตั ิของบคุ คลเหล่านน้ั และสามารถนำแบบอยา่ งทด่ี มี าปรับใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ ได้
8. ส่ือการเรียนรู้ / แหล่งการเรยี นรู้

1. หนงั สอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน พระพุทธศาสนา ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ของสถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
2. แหล่งการเรียนรู้ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น

9. การวัดและประเมนิ ผล เครือ่ งมอื เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
วิธกี ารวัดและประเมินผล ประเมนิ ความรู้ เร่อื ง พุทธ 4 = ดีมาก ถูกต้อง 80%ขน้ึ ไป
สาวิกา : พระมหาปชาบดโี คต 3 = ดี ถกู ตอ้ ง 70-79%ข้ึนไป
ดา้ นความรู้ มีเถรี พระเขมาเถรี (K) ดว้ ย 2 = พอใช้ ถกู ต้อง 60-69%ขึ้นไป
แบบทดสอบ 1 = ปรบั ปรุง ถกู ตอ้ งต่ำกว่า 60%ขึ้นไป
ด้านทกั ษะ / กระบวนการ ประเมินกระบวนการทำงาน
กลุ่ม (P) ด้วยแบบประเมิน 4 = ดมี าก หมายถึง ปฏิบัตคิ ุณลักษณะนัน้ ๆ
ด้านเจตคติ และคณุ ลักษณะ เดน่ ชดั มากท่ีสดุ
ประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ 3 = ดี หมายถึง ปฏิบัติคุณลักษณะนัน้ ๆ
ประสงค์ ดา้ นรกั ชาติ ศาสน์ เด่นชดั ที่สุด
กษตั ริย์ ใฝ่เรียนรู้ (A) ดว้ ย 2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏบิ ัตคิ ุณลักษณะนน้ั ๆ
แบบประเมนิ ปานกลาง
1 = ปรบั ปรุง หมายถึง ปฏิบตั ิคณุ ลักษณะ
น้นั ๆน้อย
4 = ดมี าก หมายถึง ปฏิบัติคุณลักษณะนนั้ ๆ
เด่นชัดมากที่สุด
3 = ดี หมายถงึ ปฏบิ ตั ิคุณลักษณะนน้ั ๆ
เดน่ ชดั ที่สุด
2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏิบัติคุณลกั ษณะน้นั ๆ
ปานกลาง
1 = ปรบั ปรงุ หมายถึง ปฏบิ ัติคณุ ลกั ษณะ
นัน้ ๆน้อย

บนั ทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้

1. สรุปผลการเรียนรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทักษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คุณธรรม จริยธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปัญหา อปุ สรรคและขอ้ คน้ พบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข และผลการแก้ไข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงช่ือ)……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจริ าภา สำฤทธ์ิ)

วนั ที่ …………..เดือน……………..พ.ศ……….….

(ลงช่ือ)………………………………………… (ลงชือ่ )…………………………………………
(นายถาวร สุขนา)
(วา่ ท่รี อ้ ยตรีหญิงมทุ ิตา เอย่ี มทพิ ย์)
หวั หนา้ กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ รองผูอ้ ำนวยกาปฏิบัตริ าชการแทน
ผอู้ ำนวยการโรงเรียนหนองรีประชานมิ ิต

แผนการจดั การเรยี นรู้

สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษาฯ รายวชิ า พระพทุ ธศาสนา5 รหัสวชิ า ส23103 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่ือง พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ชาดก และพุทธศาสนกิ ชนตัวอย่าง จำนวน 4 ชว่ั โมง

แผนการเรยี นรู้ท่ี 3 เรื่อง พทุ ธศาสนิกชนตวั อยา่ ง จำนวน 1 ชัว่ โมง

1. มาตรฐานตัวช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 1.1 รูแ้ ละเขา้ ใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอ่นื มีศรทั ธาท่ถี กู ตอ้ ง ยึดม่ัน และปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรม

เพอ่ื อยู่ร่วมกนั อย่างสันติสขุ
ตัวชีว้ ัด
ส 1.1 ม.3/5 วเิ คราะหแ์ ละประพฤตติ นตามแบบอย่างการดำเนนิ ชีวิตและขอ้ คดิ จากประวตั ิสาวก

ชาดก เรอ่ื งเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด

2. สาระสำคญั
พทุ ธศาสนิกชนตัวอย่าง หมายถึง คนท่ยี นิ ดที ่จี ะปฏิบตั ิตามหลักคำสอนของพระพทุ ธศาสนาเตม็ ใจที่จะปฏิบตั ิ

ตามหลกั ธรรม คือ เว้นจากการทำความชวั่ ทำแต่ความดี และทำจิตใจให้ปราศจากกิเลส ดว้ ยการบำเพญ็ บุญใน
พระพทุ ธศาสนา เชน่ ให้ทาน รกั ษาศีล และเจริญภาวนา เพอ่ื ขัดเกลา อบรม บ่มเพาะกาย วาจา ใจให้งดงาม

เรยี บร้อย สงบน่งิ และพน้ จากความเศร้าหมองตา่ ง ๆ
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

1. อธิบายความหมายและความสำคัญของพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง (K)

2. วิเคราะหค์ ณุ ธรรมทคี่ วรถอื เปน็ แบบอย่างของพุทธศาสนิกชนตัวอยา่ ง (P)
3. นำเสนอแนวทางการปฏบิ ัติตนตามแบบอยา่ งที่ดขี องพทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่าง (P)

4. เหน็ คุณค่าและความสำคัญของการศึกษาพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง เพ่อื นำแบบอยา่ งท่ีดมี าปฏบิ ัตติ น

เพ่ือใหเ้ กิดความสขุ ในการดำเนินชวี ติ (A)

4. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์

2. ใฝ่เรยี นรู้
5. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. ชิ้นงาน/ภาระงาน แบบบนั ทกึ ประวัติพทุ ธศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดว้ ยวธิ สี อนแบบ (Questioning Method) (Committee Work Method)

7.1 ขน้ั นำ
1. นักเรียนร่วมกนั สนทนาเกย่ี วกับความหมายและความสำคญั ของพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง

โดยการตอบคำถาม ดังน้ี
• นกั เรยี นทราบหรือไมว่ า่ พุทธศาสนกิ ชนตัวอยา่ งหมายถึงบุคคลที่มีลักษณะอย่างไร
(ตัวอยา่ งคำตอบ ทราบ พุทธศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง หมายถงึ บุคคลที่ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ธรรมคำสอน

ของพระพุทธศาสนา ด้วยจติ ใจอันบริสทุ ธ์ิ ประพฤติตนเป็นคนดี ละเวน้ จากการกระทำความช่วั ท้งั ปวง)
• ชมุ ชนของนกั เรียนมบี คุ คลท่ีถอื ไดว้ ่าเป็นพุทธศาสนกิ ชนตวั อยา่ งหรอื ไม่ อย่างไร
(ตัวอย่างคำตอบ มี คือ คณุ ตาคำยอด ดวงด)ี
• เพราะเหตุใดบุคคลดังกลา่ วจงึ ถอื ไดว้ ่าเปน็ พทุ ธศาสนิกชนตวั อยา่ ง
(ตวั อย่างคำตอบ เพราะคณุ ตาคำยอด ดวงดี ท่านเป็นบุคคลที่เครง่ ครัดในการปฏิบตั นิ

ตามหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนา และทา่ นก็คอยส่ังสอนคนอ่ืน ๆ ในชุมชนให้ประพฤติตนอยู่ในศลี ในธรรม
ประพฤติตนเป็นคนดี ทำให้ท่านเป็นที่เคารพของผู้คนในชมุ ชน)

• นกั เรยี นคิดวา่ พุทธศาสนิกชนตวั อย่างสำคัญต่อพระพุทธศาสนาอยา่ งไร
(ตวั อย่างคำตอบ พทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่าง คือ ผู้ท่ีมีความเล่ือมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา
เป็นผู้ปฏบิ ัติตนตามหลกั ธรรมคำสอนอย่างเคร่งครัด และสัง่ สอนให้ผอู้ น่ื ปฏิบตั ติ ามเพอื่ ให้เกิดความสุข
ในการดำเนนิ ชีวิต เปน็ การสืบทอดพระพุทธศาสนาให้คงอยูต่ ่อไป)
2. นักเรยี นศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกบั พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง : หม่อมเจ้าหญิงพนู พศิ มยั ดิศกุล
ศาสตราจารยส์ ัญญา ธรรมศกั ดิ์ จากหนังสอื เรยี นและแหล่งการเรียนร้อู ่ืน ๆ เพ่ิมเตมิ
7.2 ขนั้ สอน
1. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปประวัตพิ ทุ ธศาสนกิ ชนตวั อย่าง : หมอ่ มเจา้ หญงิ พูนพศิ มัย ดิศกลุ
ศาสตราจารย์สญั ญา ธรรมศกั ดิ์ ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
• พทุ ธศาสนิกชนตวั อยา่ งคือใคร
• พทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่างเกย่ี วขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนาอยา่ งไร
โดยบนั ทกึ คำตอบของนกั เรยี นเป็นแผนภาพความคดิ บนกระดาน ดังตัวอย่าง

• หม่อมเจา้ หญงิ พูนพิศมยั ดิศกลุ

พุทธศาสนิกชนตวั อย่างคอื ใคร

เปน็ ธดิ าของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานภุ าพ
กับหม่อมเฉอ่ื ย ดิศกลุ ประสูตเิ มอ่ื วันท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2438
เมอื่ ทรงพระเยาว์ได้ตามเสด็จพระบดิ าไปตรวจราชการ ได้ทรงรบั รู้
เก่ยี วกบั บ้านเมือง ขนบธรรมเนียมประเพณีตา่ ง ๆ เป็นอย่างดี

เกยี่ วขอ้ งกบั พระพทุ ธศาสนาอย่างไร

ทรงสนพระทัยและมีความเชีย่ วชาญในด้านพระพุทธศาสนา
ทรงบำเพญ็ กรณยี กิจเกยี่ วกบั พระพุทธศาสนามากมาย เช่น ทรงเป็นวิทยากรบรรยาย
พระพทุ ธศาสนา เปน็ ท่ปี รกึ ษาของกลุ่มพทุ ธศาสน์ ทรงนพิ นธห์ นังสอื เกย่ี วกับ
พระพทุ ธศาสนาที่สำคญั คือ ศาสนคุณ
ทรงเป็นกรรมการบริหารและอปุ นายกของพทุ ธสมาคมแห่งประเทศไทยหลายสมยั
ทรงร่วมกบั คณะผ้แู ทนไทยไปประชมุ กอ่ ตงั้ องคก์ ารพุทธศาสนกิ สมั พันธ์แห่งโลก
ท่ีกรุงโคลัมโบ ประเทศศรลี ังกา และไดร้ ับเลอื กเป็นประธานองค์การ

• ศาสตราจารย์สญั ญา ธรรมศกั ด์ิ

พุทธศาสนิกชนตัวอยา่ งคือใคร

เป็นบุตรของมหาอำมาตย์ตรพี ระยาธรรมสารเวทยว์ ิเศษภักดี
(ทองดี ธรรมศักด)ิ์ และคุณหญิงชนื้ ธรรมศักด์ิ
เกดิ เม่ือวนั ท่ี 5 เมษายน พ.ศ. 2450

เกยี่ วข้องกบั พระพุทธศาสนาอยา่ งไร

ก่อนจะเดินทางไปศกึ ษาตอ่ ทีต่ ่างประเทศไดอ้ ุปสมบทท่ีวดั เบญจมบพิตรเป็นเวลา
1 พรรษา ระหว่างนไ้ี ดศ้ ึกษาธรรมและสามารถสอบไดน้ กั ธรรมช้ันตรี
รับราชการเปน็ ผ้พู พิ ากษาในกระทรวงยุตธิ รรม จนไดร้ ับพระบรมราชโองการ
โปรดเกลา้ ฯ แตง่ ตัง้ ใหเ้ ป็นศาสตราจารย์ พ.ศ. 2511
เป็นเลขานกุ ารศาลฎีกา ผูช้ ว่ ยผพู้ ิพากษาศาลฎีกา ผพู้ พิ ากษาศาลอุทธรณ์
ขา้ หลวงยตุ ธิ รรม ปลดั กระทรวงยุติธรรม ผพู้ ิพากษาหัวหนา้ คณะในศาลฎกี า
อธิบดผี ู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ และประธานศาลฎกี า
ดำรงตำแหนง่ เป็นคณบดีคณะนติ ิศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
และเป็นอธิการบดีมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ได้รบั การยกยอ่ งจากสภามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ให้ดำรงตำแหน่ง
“ธรรมศาสตราจารย์” เน่ืองจากเปน็ ผู้ทมี่ คี วามเสียสละ ซ่ือสตั ย์สจุ ริต
เป็นผทู้ ่สี นใจธรรมะ มคี วามเลอ่ื มใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างย่งิ
และได้ศึกษาพระพทุ ธศาสนาอย่างจรงิ จงั
เป็นผทู้ ไี่ ดร้ ว่ มกอ่ ตงั้ พทุ ธสมาคมแห่งประเทศไทย และไดด้ ำรงตำแหนง่ เปน็
นายกพทุ ธสมาคมฯ หลายสมัย
ไดร้ ับคดั เลือกให้เปน็ ประธานองค์การพุทธศาสนกิ สัมพันธ์แห่งโลก ซงึ่ ดำรงตำแหนง่
ยาวนานถึง 14 ปี

2. นักเรยี นร่วมกนั วเิ คราะหเ์ กี่ยวกบั คุณธรรมทคี่ วรนำมาเปน็ แบบอย่างของหม่อมเจ้าหญิงพนู พิศมยั ดศิ กุล
และศาสตราจารย์สญั ญา ธรรมศกั ดิ์ โดยบันทกึ คำตอบของนักเรียนเปน็ แผนภาพความคดิ บนกระดาน
ดังตัวอยา่ ง

• หมอ่ มเจ้าหญงิ พนู พศิ มัย ดิศกลุ

เป็นผทู้ ใ่ี ฝ่เรียนรู้ : ทรงศกึ ษาความรู้ คณุ ธรรมท่ีควรนำมา เป็นผู้ทเ่ี อาพระทัยใส่ในพระพทุ ธศาสนา
หลากหลายดา้ น ทำใหไ้ ดร้ บั ความรู้ เปน็ แบบอย่าง อยา่ งแท้จริง ทรงสนพระทยั และศกึ ษา
และประสบการณ์ต่าง ๆ มากมาย อยา่ งจริงจงั และประกอบกรณยี กจิ
และทรงนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์ ที่เป็นคณุ ประโยชนอ์ ย่างมากมาย

• ศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์

เปน็ ผู้ทใ่ี ฝเ่ รียนรูแ้ ละมคี วามขยันหมน่ั เพียร คณุ ธรรมทคี่ วรนำมา เปน็ ผูท้ ีท่ รงคุณธรรม ท่านดำรงอยใู่ น
สามารถสอบแข่งขันจนไดร้ บั ทนุ เล่าเรียน เป็นแบบอย่าง ศีลธรรม ทั้งในการประกอบอาชพี
ไปศึกษาตอ่ ทป่ี ระเทศองั กฤษ และการดำเนินชีวิต จะเหน็ ได้ว่าทา่ น
และเมอ่ื อปุ สมบทท่านกส็ ามารถสอบได้ มีความเสยี สละ มีความซ่ือสัตยส์ ุจริต
นกั ธรรมช้นั ตรี และมีความเป็นธรรม

3. นักเรียนยกตวั อย่างคณุ ธรรมที่ควรนำมาเป็นแบบอยา่ งของหมอ่ มเจ้าหญิงพนู พศิ มยั ดศิ กลุ
และศาสตราจารย์สญั ญา ธรรมศกั ด์ิ มา 1 ตัวอย่าง และเสนอแนวทางการนำแบบอยา่ งทีด่ ีมาปฏิบตั ิ
แล้วสรุปผลที่เกดิ ขน้ึ ลงในแผนภาพความคดิ ดังตวั อย่าง

คณุ ธรรมท่คี วรนำมาเป็นแบบอย่าง คณุ ธรรมที่ควรนำมาเปน็ แบบอย่าง
ของหมอ่ มเจ้าหญิงพูนพศิ มยั ดิศกลุ ของศาสตราจารยส์ ัญญา ธรรมศักดิ์

เป็นผู้ทใี่ ฝ่เรยี นรู้ เปน็ ผู้ทที่ รงคุณธรรม มคี วามเสยี สละ
มีความซ่อื สตั ยส์ ุจริต และมคี วามเปน็ ธรรม

แนวทางการนำแบบอย่างท่ีดมี าปฏบิ ตั ิ แนวทางการนำแบบอยา่ งท่ีดมี าปฏบิ ัติ
ตง้ั ใจเรียนและต้งั ใจศึกษาหาความรอู้ ยู่เสมอ
ปฏิบตั ติ นเปน็ คนดี ช่วยเหลือสงั คม
เห็นแกป่ ระโยชน์สว่ นรวมมากกว่าประโยชน์
ส่วนตน และไมเ่ อารัดเอาเปรียบผูอ้ น่ื

ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ผลท่ีเกดิ ขึ้น

4แท.ลำใะนหสัก้ปาเรมรียะานรสถบคนิดคำปวคารวมะาสเมมำนิรเร้ทูเ็จพไี่ ใดื่อน้เเลกพ่าาิ่มเรครดยีุณำนเคนมา่ ินาใแชชลีว้ ว้ติ สรปุ เปน็ คจทวาำากใมหบคเุ้คปิดค็นรลวททบ่ีร่ีพยกั อบขดเอหงโ็นทดแุกยลคกะนาครแนตลอระอบไบคดขำ้รถ้าบั งาคมำชดื่นงั นชี้ม
ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้

• นักเรียนไดร้ ับประโยชนจ์ ากการศึกษาพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่างอย่างไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ ได้ขอ้ คดิ ไดค้ ณุ ธรรมที่เปน็ แบบอยา่ งทีด่ ีไปปรบั ใช้ เพอ่ื ใหเ้ กิดความสงบสขุ
ในการดำเนินชีวิต)
7.3 ขั้นฝึกฝน
1. นักเรียนแบ่งกล่มุ เลือกศึกษาประวัติพทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่างทต่ี นสนใจมา 1 ตัวอย่าง
พร้อมตดิ ภาพ แล้วตอบคำถามลงในแบบบันทกึ ดังตัวอยา่ ง

แบบบันทกึ ประวตั ิพุทธศาสนกิ ชนตัวอย่าง

• บคุ คลในภาพคอื ใคร (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั )
• บุคคลในภาพมปี ระวัตอิ ย่างไร (อธบิ ายโดยสงั เขป)

(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 4 ประสูติเม่อื วนั ท่ี 20 กันยายน พ.ศ. 2396)

• เพราะเหตุใดบุคคลในภาพจึงได้ชอื่ ว่าเปน็ พุทธศาสนิกชนตวั อย่าง
(ตัวอยา่ งคำตอบ พระองค์ทรงบำเพ็ญพระราชกรณยี กิจมากมายนานปั การทเี่ ปน็ คุณประโยชน์
แก่ประเทศชาตแิ ละพระพทุ ธศาสนา เชน่ โปรดให้ยกเลกิ ประเพณีหมอบคลานและกราบ
โดยให้ใช้การยืนและคำนบั แทน โปรดใหเ้ ลกิ ทาส ต้ังโรงเรยี นหลวงสอนทัง้ ภาษาไทยและองั กฤษ
ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม โปรดให้จัดการในเร่ืองการสุขาภบิ าล การบำรงุ ทอ้ งท่ี การไฟฟา้ รถไฟ
และกจิ การในด้านการศาลยุติธรรมให้เกดิ ความเป็นธรรมและท่ัวถงึ มกี ารปรบั ปรุงบา้ นเมอื งให้ทนั สมยั
ในทกุ ด้าน รวมไปถึงการทำนบุ ำรงุ พระพุทธศาสนาให้ทันตอ่ สภาวะความเจรญิ ของบา้ นเมือง
ได้มกี ารชำระและการพมิ พพ์ ระไตรปฎิ กเป็นอกั ษรไทย มกี ารสร้างวัด สง่ เสรมิ ใหว้ ดั เป็นศูนย์การศึกษา)

แบบบนั ทึกประวตั ิพทุ ธศาสนิกชนตัวอย่าง

• คุณธรรมหรือแบบอย่างทดี่ ขี องพทุ ธศาสนิกชนตัวอยา่ งมอี ะไรบ้าง
(ตัวอย่างคำตอบ
1. เปน็ ศาสนูปถมั ภก คอื เปน็ ผ้อู ุปถัมภ์พระพทุ ธศาสนาโดยทำนบุ ำรงุ พระพุทธศาสนาใหเ้ จริญรุ่งเรอื ง
2. ดำรงตนอยู่ในพทุ ธธรรม โดยนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใชใ้ นการปกครองบา้ นเมือง
จนได้รบั การขนานนามวา่ “พระปิยมหาราช”)

• นกั เรยี นจะแนะนำใหผ้ ้อู น่ื ปฏบิ ตั ติ ามคุณธรรมหรอื แบบอยา่ งทด่ี ขี องพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง
ได้โดยวิธีใดบา้ ง จงอธิบาย
(ตัวอยา่ งคำตอบ
1. บอกหรืออธบิ ายใหผ้ ู้อ่ืนเห็นวา่ คุณธรรมดังกล่าวเม่ือนำไปปฏบิ ัตแิ ล้วจะส่งผลดอี ย่างไรบา้ ง
2. ปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่างใหผ้ ูอ้ ืน่ ไดป้ ฏิบตั ิตาม)

2. นกั เรยี นตรวจสอบความถูกต้องและความเรียบรอ้ ยของผลงาน หากพบขอ้ ผิดพลาดควรปรบั ปรุงแกไ้ ขให้
ถูกต้อง
7.4 ข้ันสรุป

1. นักเรียนรว่ มกนั สรุปสง่ิ ทเี่ ขา้ ใจเป็นความรู้ร่วมกนั ดงั นี้
พุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง หมายถงึ คนท่ียนิ ดที ี่จะปฏบิ ตั ติ ามหลักคำสอนของพระพุทธศาสนาเตม็ ใจที่จะ

ปฏิบัติตามหลักธรรม คือ เว้นจากการทำความชว่ั ทำแต่ความดี และทำจิตใจใหป้ ราศจากกิเลสด้วยการบำเพญ็ บุญใน
พระพุทธศาสนา เช่น ให้ทาน รักษาศีล และเจริญภาวนา เพอ่ื ขัดเกลา อบรม บ่มเพาะกาย วาจา ใจให้งดงาม
เรียบรอ้ ย สงบน่งิ และพน้ จากความเศร้าหมองตา่ ง ๆ
8. ส่อื การเรยี นรู้ / แหล่งการเรยี นรู้

1. หนงั สือเรียนรายวิชาพนื้ ฐาน พระพุทธศาสนา ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 ของสถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.)
2. แหล่งการเรียนรทู้ ั้งภายในและภายนอกโรงเรียน

9. การวดั และประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารวัดและประเมินผล
วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
ประเมินความรู้ เรื่องศาสนกิ ชน 4 = ดมี าก ถกู ตอ้ ง 80%ขนึ้ ไป
ดา้ นความรู้
: หม่อมเจ้าหญิงพนู พสิ มัย 3 = ดี ถูกต้อง 70-79%ขึน้ ไป
ดา้ นทกั ษะ / กระบวนการ ดศิ กุล และศาสตราจารย์
สัญญา ธรรมศกั ดิ์ (K) ด้วย 2 = พอใช้ ถูกต้อง 60-69%ขน้ึ ไป
ด้านเจตคติ และคุณลักษณะ 1 = ปรับปรงุ ถกู ตอ้ งต่ำกวา่ 60%ขน้ึ ไป

แบบทดสอบ

ประเมนิ กระบวนการทำงาน 4 = ดมี าก หมายถงึ ปฏบิ ัติคุณลักษณะนั้นๆ
กลุ่ม (P) ดว้ ยแบบประเมิน เดน่ ชดั มากที่สดุ
3 = ดี หมายถึง ปฏิบตั คิ ุณลกั ษณะนั้นๆ
ประเมินคุณลักษณะอนั พงึ เด่นชัดท่ีสดุ
ประสงค์ ด้านรกั ชาติ ศาสน์ 2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลกั ษณะนน้ั ๆ
กษตั ริย์ ใฝ่เรียนรู้ (A) ดว้ ย ปานกลาง
แบบประเมนิ 1 = ปรบั ปรุง หมายถึง ปฏบิ ตั ิคุณลักษณะ
นัน้ ๆน้อย

4 = ดมี าก หมายถึง ปฏบิ ัติคุณลกั ษณะนัน้ ๆ
เดน่ ชดั มากท่ีสุด
3 = ดี หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลักษณะน้ันๆ
เดน่ ชดั ท่ีสดุ
2 = พอใช้ หมายถึง ปฏิบัติคุณลกั ษณะนน้ั ๆ
ปานกลาง
1 = ปรับปรุง หมายถงึ ปฏิบตั ิคณุ ลกั ษณะ
นน้ั ๆนอ้ ย

บนั ทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้

1. สรปุ ผลการเรียนรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทักษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปญั หา อปุ สรรคและข้อคน้ พบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ข้อเสนอแนะ แนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงช่ือ)……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจิราภา สำฤทธิ์)

วันที่ …………..เดอื น……………..พ.ศ……….….

(ลงช่อื )………………………………………… (ลงชือ่ )…………………………………………
(นายถาวร สขุ นา)
(วา่ ท่รี อ้ ยตรหี ญิงมทุ ติ า เอย่ี มทพิ ย์)
หัวหนา้ กลมุ่ บริหารงานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยกาปฏบิ ัติราชการแทน
ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองรปี ระชานมิ ิต

แผนการจดั การเรียนรู้

สาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษาฯ รายวชิ า พระพทุ ธศาสนา5 รหสั วิชา ส23103 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 เรอ่ื ง พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดก และพทุ ธศาสนกิ ชนตัวอย่าง จำนวน 4 ช่วั โมง

แผนการเรียนรทู้ ่ี 4 เร่อื ง ชาดก จำนวน 1 ช่วั โมง

1. มาตรฐานตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
มาตรฐาน ส 1.1 รู้และเข้าใจประวตั ิ ความสำคญั ศาสดา หลักธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา

ทีต่ นนับถอื และศาสนาอืน่ มศี รทั ธาท่ีถกู ตอ้ ง ยดึ ม่ัน และปฏบิ ตั ติ ามหลักธรรม

เพอ่ื อยรู่ ่วมกนั อย่างสนั ติสุข
ตัวช้วี ัด
ส 1.1 ม.3/5 วิเคราะหแ์ ละประพฤติตนตามแบบอย่างการดำเนินชีวติ และขอ้ คดิ จากประวตั ิสาวก

ชาดก เร่อื งเล่า และศาสนกิ ชนตัวอยา่ งตามทีก่ ำหนด
2. สาระสำคัญ

ชาดก คอื เรือ่ งราวตา่ ง ๆ ในอดีตชาตขิ องพระพุทธเจ้าเมื่อครง้ั ยงั เป็นพระโพธสิ ตั วบ์ ำเพ็ญบารมีเป็นเรื่องราวทม่ี ที ั้ง

ความเพลิดเพลินและแฝงขอ้ คิด คติเตือนใจใหแ้ กผ่ ู้ศึกษาได้นำไปปรบั ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ เพ่ือใหเ้ กิดความสุขแก่ตนเอง

ตอ่ ไป
3. จุดประสงค์การเรยี นรู้

1. อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของชาดก (K)

2. วเิ คราะหข์ อ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากการศึกษาชาดก : นันทิวสิ าลชาดก สวุ ัณณหงั สชาดก (P)

3. นำข้อคดิ ที่ได้รับจากการศกึ ษาชาดก : นนั ทิวสิ าลชาดก สุวัณณหงั สชาดก ไปปรบั ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวิต (P)

4. เห็นคณุ ค่าและความสำคญั ของการศกึ ษาชาดก เพอ่ื นำข้อคิดทีไ่ ด้มาปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต (A)

4. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์

2. ใฝ่เรยี นรู้
5. สมรรถนะสำคัญของนักเรียน

1. ความสามารถในการส่อื สาร

2. ความสามารถในการคดิ

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา

4. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. ชนิ้ งาน/ภาระงาน แบบบันทึกประวตั ิพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ ด้วยวธิ ีสอนแบบ (Questioning Method) (Committee Work Method)

7.1 ขัน้ นำ
1. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเกีย่ วกบั ความหมายและความสำคัญของชาดก โดยการตอบคำถาม ดังน้ี
• นกั เรียนทราบหรอื ไม่วา่ ชาดกคือเร่ืองราวเกี่ยวกบั อะไร
(ตัวอย่างคำตอบ ทราบ ชาดกเป็นเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ในอดีตชาติของพระพทุ ธเจา้ เมือ่ คร้ังยังเป็น

พระโพธิสัตว์บำเพ็ญบารมี เพอื่ เป็นพ้นื ฐานนำไปสกู่ ารตรัสรเู้ ป็นพระพุทธเจ้า)
• นกั เรยี นเคยอา่ นหรือฟงั เร่ืองราวเกีย่ วกับชาดกหรือไม่ อยา่ งไร
(ตวั อยา่ งคำตอบ เคยอ่าน เรอ่ื ง พระมหาชนก)
• ชาดกเร่ืองดงั กล่าว เป็นเรือ่ งราวเกยี่ วกับอะไร
(ตัวอยา่ งคำตอบ เป็นเรื่องราวแสดงถงึ ความเพยี รพยายามของพระมหาชนกในการอดทนวา่ ยน้ำ

ในมหาสมุทร 7 วัน 7 คนื จนไดพ้ บกับนางมณเี มขลา)
• นกั เรยี นคดิ ว่าการศึกษาชาดกมีความสำคญั อยา่ งไร
(ตวั อย่างคำตอบ ทำให้ทราบเกี่ยวกับเรอ่ื งราวตา่ ง ๆ ในอดีตชาตขิ องพระพทุ ธเจ้าเม่อื ครัง้ ยังเปน็

พระโพธสิ ตั วบ์ ำเพญ็ บารมี และทำใหไ้ ดข้ อ้ คดิ ดี ๆ มาเปน็ แนวทางในการดำเนินชวี ติ )
2. นักเรียนศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ยี วกบั ชาดก : นันทิวิสาลชาดก สวุ ัณณหงั สชาดก

จากหนังสือเรยี นและแหล่งการเรียนรู้อนื่ ๆ เพ่ิมเตมิ
7.2 ข้ันสอน

1. นกั เรียนรว่ มกนั สรุปเก่ียวกับชาดก เร่ือง นันทิวิสาลชาดก สวุ ัณณหังสชาดก ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
• นันทวิ สิ าลชาดก สุวณั ณหงั สชาดก เปน็ เรอื่ งราวเก่ยี วกับอะไร
• นนั ทวิ สิ าลชาดก สุวัณณหงั สชาดก ให้ขอ้ คิดในเร่อื งใด
โดยบันทึกคำตอบของนกั เรยี นเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดาน ดังตัวอยา่ ง
• นนั ทิวสิ าลชาดก

ชาดก เรอ่ื ง นันทิวิสาลชาดก
เป็นเร่ืองราวทช่ี ใี้ หเ้ ห็นโทษของคำหยาบว่าแม้แตส่ ัตวเ์ ดรัจฉานก็ยังไมช่ อบคำหยาบ
ชาดกเรอ่ื งนีเ้ ปน็ เร่อื งราวเกี่ยวกบั พราหมณแ์ ละโคช่ือว่า โคนันทวิ ิสาล ครงั้ หนง่ึ ได้มกี าร
ท้าแข่งลากเกวียน 100 เล่ม ทีผ่ กู ติดกันใหเ้ คลอื่ นท่ีไปได้ โดยมกี ารเดมิ พันด้วยทรัพย์
พราหมณ์ผ้เู ป็นเจา้ ของโคนนั ทวิ สิ าลเหน็ ผู้คนสนใจมาดกู ารแขง่ ขันมาก จึงคิดโอ้อวดว่า
โคของตนมกี ำลังมาก จึงตวาดด้วยเสียงดังว่า “เจ้าโคโกง เจ้าโคข้ีโกง จงลากเกวยี นไป
จงลากเกวียนไปเด๋ยี วน้ี” ทำให้โคนนั ทิวสิ าลเกิดความรสู้ ึกนอ้ ยใจ เสียใจ และยืนนิง่
ไม่ยอมลากเกวยี นไปทำให้พราหมณ์แพพ้ นนั เสียเงินไปและเศรา้ โศกเสียใจ
โคนนั ทิวสิ าลกเ็ กิดความสงสารจงึ เขา้ ไปปลอบและบอกกบั พราหมณ์วา่ ไมอ่ ยากให้พราหมณ์
พดู ไม่ดกี ับตน หลังจากนั้นก็ให้พราหมณไ์ ปทา้ แขง่ ลากเกวยี นอีกครง้ั พราหมณ์จึงใชว้ าจา
สภุ าพต่อโคนันทวิ ิสาล จงึ ทำให้ชนะการแขง่ ขนั ในคร้ังนี้ และไดร้ บั เงินเดิมพนั สองพนั
กหาปนะ

ชาดกเรือ่ งน้ีให้ขอ้ คิดเกยี่ วกับอะไร

1. เรื่องการพดู ซึ่งการจะพดู จากบั ใครควรละเวน้ คำพูดที่เปน็ วจีทจุ รติ คือ การพดู เท็จ
พดู คำหยาบ พดู ส่อเสยี ด และพูดเพ้อเจ้อ ควรพดู ดว้ ยถ้อยคำทีไ่ พเราะ ออ่ นหวาน
และสภุ าพเรียบร้อย

2. เร่ืองการพนนั เปน็ สง่ิ ทไี่ มด่ ีและควรหลกี เล่ียง เพราะเปน็ หนทางที่จะนำไปสู่
ความเสือ่ ม คือ เสียทรพั ย์

• สุวณั ณหงั สชาดก

ชาดก เรื่อง สุวัณณหังสชาดก

เปน็ ชาดกท่ีเล่าถงึ ผลของความโลภ ไมร่ ้จู ักพอในสิ่งที่ตนมอี ยู่ เรื่องราวมอี ยวู่ า่
มคี รอบครวั หน่ึงประกอบดว้ ยพราหมณ์ ภรรยา และบุตรสาว 3 คน เมอ่ื เจรญิ วัยบุตรสาว
ทงั้ สามได้ออกเรอื น มีครอบครัวกนั หมด ต่อมาพราหมณเ์ สียชีวติ ลงไปเกดิ เปน็ หงส์ทอง
และระลึกชาตไิ ดจ้ ึงกลับมาเยีย่ มบา้ น พบวา่ นางพราหมณีพรอ้ มด้วยบตุ รสาว
มคี วามเปน็ อย่อู ย่างยากลำบาก ทำใหเ้ กิดความสงสาร จึงชว่ ยเหลือด้วยการสลดั ขนทอง
ใหว้ ันละ 1 อัน นางพราหมณจี งึ นำไปขายจนฐานะทางครอบครัวดขี น้ึ แตด่ ว้ ยความโลภ
ของนางพราหมณีท่ีอยากมเี งนิ ทองมากมาย จงึ คิดท่จี ะถอนขนของหงส์ทองไว้ท้งั หมด
วันหนึง่ ขณะท่ีหงส์ทองบินมาสลัดขน นางพราหมณีจึงจบั หงส์ทองถอนขนจนหมด
ดว้ ยหวงั ว่าจะนำไปขายไดเ้ งนิ จำนวนมาก แตน่ างตอ้ งผดิ หวัง เพราะขนท้ังหมดกลายเปน็
ขนธรรมดา นางพราหมณีจึงต้องเล้ียงดเู พอ่ื หวังว่าขนท่ีงอกออกมาจะเปน็ ขนทองอกี คร้งั
แตแ่ ล้วเมื่อหงส์ทองมีขนใหมง่ อกออกมากบ็ ินหนีไปไมก่ ลบั มาอีกเลย

ชาดกเรอื่ งนีใ้ ห้ขอ้ คิดเกยี่ วกบั อะไร

1. การรูจ้ ักบุญคุณของผู้ที่ใหค้ วามชว่ ยเหลือแกเ่ รา เรากค็ วรคดิ ท่จี ะตอบแทนบุญคณุ
ไม่ควรคิดรา้ ยตอ่ ผู้ทมี่ ีบญุ คณุ กบั เรา

2. เรื่องความไมร่ จู้ ักพอ มักจะนำมาซึง่ ความสญู เสีย

2. นักเรียนยกตวั อย่างการนำข้อคิดที่ไดร้ ับจากการศึกษาชาดกเรอื่ ง นนั ทิวสิ าลชาดก
และสวุ ัณณหังสชาดก ไปปรับใช้ในการดำเนนิ ชีวติ แลว้ วิเคราะห์ผลที่เกิดขึน้ โดยสรุปคำตอบเป็นแผนภาพความคดิ ดัง
ตัวอย่าง

การนำขอ้ คิดจากชาดกเรอื่ ง การนำข้อคดิ จากชาดกเรอ่ื ง
นนั ทิวิสาลชาดก มาปรบั ใช้ในการดำเนินชีวติ สวุ ัณณหงั สชาดก มาปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชีวิต

พดู จาสุภาพ อ่อนหวาน คิดก่อนพดู ไม่อยากได้ของคนอนื่ มาเป็นของตนเอง
และพดู จาให้เกยี รตคิ นอน่ื ดำเนินชีวิตแบบพอเพียง มธั ยสั ถ์ อดออม
พอใจในสง่ิ ท่ีตนมอี ยู่ ไมโ่ ลภมาก

ผลทเ่ี กดิ ขนึ้ ผลทเี่ กดิ ข้นึ
ทำให้ชวี ติ ดำเนนิ ไปอยา่ งมีความสขุ
เปน็ ท่รี ักของทุกคน และมีแต่คนอยาก
ท่ีจะพดู หรอื สนทนาด้วย

3. นักเรียนวิเคราะหป์ ระโยชน์ที่ได้รบั จากการศึกษาพทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า พทุ ธศาสนกิ ชนตัวอยา่ ง
และชาดกมาคนละ 1 ขอ้ จากนน้ั บนั ทึกคำตอบของนกั เรียนเปน็ แผนภาพความคิดบนกระดาน ดงั ตวั อยา่ ง

ได้รู้วา่ เมอื่ ใดก็ตามที่ปฏบิ ตั ดิ ี ไดค้ ณุ ธรรมแบบอย่างทีด่ แี ละขอ้ คดิ
ปฏิบตั ิชอบ ชวี ติ จะเจอแต่สิ่งทด่ี ี ๆ ไปเป็นแนวทางในการดำเนินชวี ิต

สามารถบอกเลา่ เร่ืองราวพุทธสาวก ประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับ ทราบถงึ ประวตั ิพุทธสาวก
พุทธสาวกิ า พทุ ธศาสนิกชนตวั อย่าง จากการศกึ ษาพุทธสาวก พุทธสาวิกา พทุ ธศาสนิกชนตัวอยา่ ง
และชาดกใหแ้ ก่ผ้อู ื่นได้ และเรื่องราวของชาดก
พทุ ธสาวิกา
พุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง

และชาดก

4. นกั เรียนคิดประเมินเพอ่ื เพิ่มคุณคา่ แล้วสรุปเป็นความคดิ รวบยอด โดยการตอบคำถาม ดังนี้
• นกั เรียนมีความคิดเหน็ อย่างไรกับคำกล่าวทีว่ า่ “ทำดไี ด้ดี ทำช่ัวได้ชวั่ ”
(ตัวอยา่ งคำตอบ การประพฤติตนในสง่ิ ท่ดี ี ๆ จะทำให้ชวี ติ เจอสิ่งท่ีดี แตถ่ ้าเมือ่ ใดกต็ าม

ทเ่ี ราประพฤตติ นไม่ดีหรือประพฤติช่ัว ชวี ติ กจ็ ะเจอแตเ่ รือ่ งที่ไมด่ ีหรือทำใหเ้ ดือดรอ้ นตลอดเวลา)

7.3 ขนั้ ฝึกฝน
1. นักเรียนเลือกศกึ ษาประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก และพทุ ธศาสนิกชนตัวอย่างทสี่ นใจ

มา 1 เรื่อง สรปุ ข้อมูลโดยสงั เขป แล้ววเิ คราะหข์ ้อคิดเพ่อื นำมาเปน็ แนวทางปฏิบัติ และอธบิ ายผลที่เกดิ ข้ึน

จากการปฏบิ ัติลงในชนิ้ งาน เรอ่ื ง ประวตั พิ ทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ชาดก และพุทธศาสนิกชนตัวอย่าง
2. นักเรียนตรวจสอบความถูกตอ้ งและความเรียบร้อยของชิน้ งาน หากพบขอ้ ผิดพลาดควรปรับปรุงแก้ไขให้

ถกู ตอ้ ง
7.4 ข้ันสรุป

1. นกั เรยี นร่วมกนั สรุปสงิ่ ท่เี ขา้ ใจเปน็ ความรู้รว่ มกัน ดังน้ี

ชาดก คือ เรือ่ งราวตา่ ง ๆ ในอดีตชาตขิ องพระพุทธเจา้ เมือ่ คร้ังยงั เป็นพระโพธิสตั วบ์ ำเพ็ญบารมเี ป็นเร่อื งราว
ท่มี ีทัง้ ความเพลิดเพลินและแฝงขอ้ คดิ คติเตอื นใจให้แกผ่ ู้ศกึ ษาได้นำไปปรบั ใชใ้ นการดำเนินชีวิต เพ่อื ใหเ้ กิดความสขุ แก่

ตนเองต่อไป
8. สือ่ การเรยี นรู้ / แหลง่ การเรียนรู้

1. หนังสือเรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน พระพทุ ธศาสนา ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ของสถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.)
2. แหลง่ การเรียนรทู้ ้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น

9. การวัดและประเมนิ ผล เครือ่ งมอื เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผล
วิธีการวัดและประเมนิ ผล ประเมนิ ความรู้ เร่อื ง ชาดก :
4 = ดีมาก ถูกตอ้ ง 80%ขนึ้ ไป
ด้านความรู้ นันทิวิสาลชาดก สวุ ณั ณหัง 3 = ดี ถูกตอ้ ง 70-79%ขนึ้ ไป
2 = พอใช้ ถูกตอ้ ง 60-69%ข้นึ ไป
สชาดก (K) ด้วยแบบทดสอบ 1 = ปรบั ปรงุ ถูกตอ้ งต่ำกวา่ 60%ขึน้ ไป

ดา้ นทักษะ / กระบวนการ ประเมนิ ช้ินงาน เร่ือง ประวัติ 4 = ดีมาก หมายถึง ปฏิบัตคิ ุณลกั ษณะน้นั ๆ
ดา้ นเจตคติ และคุณลักษณะ พุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดก เดน่ ชัดมากท่ีสุด
และพุทธศาสนกิ ชนตวั อย่าง 3 = ดี หมายถึง ปฏบิ ัติคุณลกั ษณะนั้นๆ
(P) ดว้ ยแบบประเมนิ เดน่ ชัดท่ีสดุ
2 = พอใช้ หมายถึง ปฏิบัตคิ ุณลกั ษณะนัน้ ๆ
ประเมินคณุ ลักษณะอนั พึง ปานกลาง
ประสงค์ ด้านรักชาติ ศาสน์ 1 = ปรับปรุง หมายถึง ปฏิบัติคุณลักษณะ
กษัตรยิ ์ ใฝเ่ รียนรู้ (A) ดว้ ย นัน้ ๆน้อย
แบบประเมิน
4 = ดมี าก หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลักษณะนน้ั ๆ
เดน่ ชัดมากที่สดุ
3 = ดี หมายถงึ ปฏิบัตคิ ุณลักษณะนัน้ ๆ
เดน่ ชัดที่สดุ
2 = พอใช้ หมายถงึ ปฏิบัติคุณลกั ษณะน้นั ๆ
ปานกลาง
1 = ปรบั ปรงุ หมายถึง ปฏิบตั ิคุณลักษณะ
น้นั ๆนอ้ ย

ช้นิ งานเร่อื ง ประวัติพุทธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดก และพทุ ธศาสนกิ ชนตวั อย่าง

นกั เรียนเลอื กศกึ ษาประวตั ิพทุ ธสาวก พทุ ธสาวิกา ชาดก และพุทธศาสนกิ ชนตัวอย่างทสี่ นใจ
มา 1 เรือ่ ง สรปุ ข้อมูลโดยสังเขป แล้ววิเคราะหข์ ้อคิดเพอื่ นำมาเปน็ แนวทางปฏบิ ัติ และอธิบายผลที่เกิดขึน้
จากการปฏิบตั ิลงในแผนภาพ

พระอัญญาโกณฑญั ญะ พระเจ้าปเสนทิโกศล พระเขมาเถรี สวุ ัณณหงั สชาดก

นนั ทวิ สิ าลชาดก หมอ่ มเจ้าหญิงพนู พิศมัย ดิศกุล ศาสตราจารยส์ ญั ญา ธรรมศกั ด์ิ

พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดก ข้อคิดเพ่ือนำมาเปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิ ผลทเี่ กดิ ขน้ึ จากการปฏิบตั ิ
และพุทธศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสังคมโลก
ต่อตนเอง (ทำใหเ้ ป็นผู้มีความรู้มาก
(พระอัญญาโกณฑัญญะเป็นหนึง่ ใน (การเป็นผใู้ ฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น รอบรู้ ฉลาด และมีเหตุผลพร้อม
ปญั จวัคคยี ท์ ี่พระพทุ ธเจา้ ในสิง่ ตา่ ง ๆ มเี หตุผลพจิ ารณา ท่จี ะถ่ายทอดความรทู้ ่ีมีอยูใ่ หแ้ ก่
ทรงแสดงธรรมจนได้ดวงตาเห็นธรรม สงิ่ ต่าง ๆ อย่างเข้าใจ) ผูอ้ นื่ )
บรรลุเป็นพระโสดาบนั เปน็ องค์แรก ต่อสงั คม (สงั คมเกิดการพฒั นา
เป็นพระสงฆ์รูปแรก เพราะบคุ คลมีคุณภาพและมคี วามรู)้
ในพระพุทธศาสนา และเปน็ ผไู้ ด้รับ ต่อโลก (โลกเจรญิ กา้ วหนา้
การยกย่องว่าเป็นเลิศทางรตั ตญั ญู เพราะคนบนโลกเป็นผ้มู ีความรู้
คือ เป็นผมู้ ปี ระสบการณม์ าก) และเกดิ ความสงบสขุ ไมเ่ กดิ การ
ขัดแยง้ กัน)

บันทกึ ผลหลังการจัดการเรียนรู้

1. สรปุ ผลการเรียนรู้

1.1 ความรู้ (K : Knowledge)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.2 ทกั ษะ / กระบวนการ (P: Process)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

1.3 คุณธรรม จริยธรรม (A: Attitude)
………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ปัญหา อุปสรรคและข้อคน้ พบ

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………….………………………………………………………………………

3. ขอ้ เสนอแนะ แนวทางแก้ไข และผลการแกไ้ ข

………………………………………………………………….………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………….

(ลงชื่อ)……………………………………..ผู้สอน
(นางสาวจิราภา สำฤทธ์ิ)

วันที่ …………..เดือน……………..พ.ศ……….….

(ลงชอื่ )………………………………………… (ลงชอ่ื )…………………………………………
(นายถาวร สขุ นา)
(ว่าทีร่ ้อยตรีหญิงมทุ ิตา เอี่ยมทพิ ย)์
หวั หนา้ กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยกาปฏบิ ตั ิราชการแทน
ผู้อำนวยการโรงเรียนหนองรปี ระชานมิ ิต

แผนการจดั การเรียนรู้

สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษาฯ รายวิชา พระพทุ ธศาสนา5 รหัสวชิ า ส23103 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3

หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เร่ือง สังฆคณุ กบั ขอ้ ธรรมสำคัญในกรอบอรยิ สจั 4 จำนวน 4 ช่ัวโมง

แผนการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่ือง พระรัตนตรัย : สงั ฆคุณ 9 จำนวน 1 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้
มาตรฐาน ส 1.1 ร้แู ละเขา้ ใจประวัติ ความสำคญั ศาสดา หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาหรือศาสนา
ทีต่ นนบั ถอื และศาสนาอ่ืน มศี รัทธาท่ีถกู ต้อง ยึดม่ัน และปฏบิ ตั ติ ามหลกั ธรรม

เพอื่ อยรู่ ว่ มกนั อย่างสนั ตสิ ุข
ตัวชี้วัด
ส 1.1 ม.3/6 อธบิ ายสงั ฆคณุ และข้อธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรอื หลักธรรมของศาสนาท่ตี น

นบั ถอื ตามทก่ี ำหนด
2. สาระสำคัญ

สงั ฆคณุ 9 คือ คุณของพระสงฆ์ มี 9 ประการ การศึกษาสังฆคณุ 9 ทำใหร้ ูแ้ ละเข้าใจคุณลักษณะของพระสงฆ์

อันเป็นเหตใุ หเ้ กิดความศรัทธาเลือ่ มใส และนำไปสู่การประพฤติปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธบิ ายความหมายและความสำคญั ของพระรัตนตรยั (K)
2. วเิ คราะหเ์ กี่ยวกบั คุณของพระสงฆ์ 9 ประการ (P)

3. เห็นความสำคญั ของการศึกษาสงั ฆคณุ 9 เพ่อื ให้เขา้ ใจคุณลักษณะของพระสงฆ์อันนำไปสู่การ
ประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นต่อพระสงฆอ์ ย่างถูกต้องเหมาะสม (A)

4. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์
2. ใฝ่เรียนรู้

5. สมรรถนะสำคญั ของนักเรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร

2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน แผนภาพความคิด
7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ดว้ ยวธิ ีสอนแบบ CIPPA MODEL
7.1 ข้ันนำ

1. นักเรียนรว่ มกนั สนทนาเกีย่ วกับความหมายและความสำคญั ของพระรตั นตรยั โดยการตอบคำถาม
ดังน้ี

 นักเรยี นทราบหรอื ไม่ว่าพระรัตนตรยั หมายถงึ อะไร

(ตัวอยา่ งคำตอบ ทราบ พระรตั นตรัย หมายถงึ แกว้ อนั ประเสรฐิ 3 ประการ)


Click to View FlipBook Version