The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผ้าซิ่นตีนจก ( อำเภอลอง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khantarak, 2021-03-26 02:46:02

ผ้าซิ่นตีนจก ( อำเภอลอง)

ผ้าซิ่นตีนจก ( อำเภอลอง)





คำนำ

หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (EBOOK) เล่มน้ีเป็นสว่ นหนง่ึ ของการฝึกสหกจิ ศกึ ษา จัดทาขนึ้ เพื่อเป็น
ส่อื การเรียนรู้เก่ียวกับผา้ ซิน่ ตนี จก ผจู้ ดั ไดร้ วบรวมข้อมลู เกยี่ วกบั ผา้ ซน่ิ ตนี จก ลวดลายผ้าซนิ่ ตีนจก
(ลวดลายเพยี งบางสว่ น) อาเภอลอง จงั หวัดแพร่ ใชเ้ ป็นแนวทางในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

ผจู้ ัดทาหวงั เป็นอย่างย่ิงวา่ หนงั สืออิเลก็ ทรอนิกส์ (EBOOK) เร่อื ง โครงการจัดทาสื่อรณรงค์
สง่ เสริมการแต่งกายนงุ่ ผา้ ซน่ิ ไมน่ งุ่ สัน้ (ผา้ ซิน่ ตีนจก) หนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (EBOOK) เล่มน้ี จะเปน็
ประโยชน์ต่อผทู้ ส่ี นใจได้ไม่มากก็นอ้ ย

คณะผจู้ ดั ทา

สำรบญั ค

คานา หน้ำ
สารบัญ
สารบญั ภาพ ก
สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ข
สารบัญภาพ (ต่อ) ค
สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ง
ผ้าไทย จ
ผ้าซิน่ ตีนจกเมืองลอง จงั หวดั แพร่ ฉ
กรรมวิธีการทอผ้าแบบโบราณ 1
อุปกรณก์ ารทาเสน้ ด้าย ๒
อปุ กรณก์ ารทอผา้ จก ๓
กระบวนการ/ข้ันตอนการทาเสน้ ฝา้ ย (ดา้ ย) ๔
กระบวนการ/ข้ันตอนการทอผ้าจกเมอื งลอง ๗
องคป์ ระกอบของผา้ ซิน่ ตนี จก ๑๒
ลายผ้าซน่ิ ตนี จก อาเภอลอง จงั หวดั แพร่ 1๖
ลายผ้าซนิ่ ตีนจกจากศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแห่งชาติ) 2๒
พิพธิ ภัณฑโ์ กมลผา้ โบราณ 2๓
ประวัตสิ ่วนตวั ๕๒
๗๘
๘๕

สำรบัญภำพ ง

ภำพประกอบที่ หน้ำ
๑. ดอกฝ้าย 3
๒. อีดฝา้ ย 4
4
๓. เผย่ี น ป่นั ฝ้าย ๕
๔. กะลมุ ยิงฝ้าย ๕
๕. แป้นปน่ั หางสาลี ๖

๖. ไมเ้ ป่ียฝา้ ย ๗
๗. มะกวกั (หางเหน) ๗
๘. ก่ีทอผา้ ๘
8
๙. ตะกอลาย ๙
๑๐. ตะกอเหยยี บ ๙
๑๑. ฟนั หวี (ฟืม) ๑๐
๑๐
๑๒. กระสวยใสห่ ลอดดา้ ยพุ่ง (ด้ายต่าหรอื ดา้ ยดอก) ๑๑
๑๓. ไม้ดาบ ๑๑
๑๔. ขนเม่น (ใช้สาหรบั จกเส้นด้ายให้เกดิ ลวดลาย) ๑๒
๑๒
๑๕. หลอดเส้นดา้ ยพ่งุ สตี ่าง ๑๓
๑๖. เผ่ียน (อปุ กรณ์ในกอดา้ ย) ๑๓
๑๗. ผืนผา้ จกท่ที อเสร็จแล้ว ๑๔
๑๔
๑๘. การอดี ฝา้ ย ๑๕
๑๙. การดีดฝ้าย ๑๕
๒๐. การป่นั หางสาลี ๑๖
๑๖
๒๑. การปัน่ ฝ้าย ๑๗
๒๒. การเปยี่ ฝา้ ย ๑๗
๒๓. การกวกั ฝ้าย ๑๘
๑๘
๒๔. การโว้นผูก ๑๙
๒๕. การทอผ้าตีนจกหรอื การทอหกู 19
๒๖. การกรอดา้ ย ๒๐
๒๑
๒๗. การโวน้ 2๒
๒๘. การมัดเขาเหยียบ
๒๙. การป่วนฟนั ฟืม (การรอ้ ยฟันหวี)

๓๐. การสบื เครอื
๓๑. การแกะลายหรอื การเกบ็ ลาย
๓๒. การมัดเขา

๓๓. การทอผา้
๓๔. การตรวจสอบคณุ ภาพ
๓๕. องค์ประกอบของผาตนี จก

๓๖. ลายขอหวั ใจ

สำรบัญภำพ (ต่อ) จ

ภำพประกอบท่ี หน้ำ

๓๗.ลายขามดสม้ ๒๓
๓๘.ลายขอผักกูด ๒๔
๓๙. ลายงหู ้อยส้าว ๒๕
๒๖
๔๐. ลายโกง้ เก้งซ้อนนก ๒๗
๔๑. ลายเจียงแสน ๒๘
๔๒. ลายสาเภาลอยนา้ ๒๙
๓๐
๔๓. ลายราชบุรี ๓๑
๔๔. ลายสรอ้ ยกาบหมาก ๓๒
๔๕. ลายชอ่ นอ้ ยตงุ ชยั ๓๓
๓๔
๔๖. ลายแมงโบง้ เลน ๓๕
๔๗. ลายเจยี งแสนหงส์ดา ๓๖
๔๘. ลายนกนอน ๓๗
๓๘
๔๙. ลายหม่าขนัด ๓๙
๕๐. ลายขันดอก ๔๐
๕๑. ลายขอลอ้ มนก ๔๑
๔๒
๕๒. ลายขนั ดอกหมู่ ๔๓
๕๓. ลายสาเภาลอยน้า ๔๔
๕๔. ลายขอกาบ ๔๕
๔๖
๕๕. ลายหลังเตา่ ๔๗
๕๖. ลายกหุ ลาบเวียงพงิ ค์ ๔๘
๕๗. ลายดอกเชยี หรอื ลายภพู งิ ค์ ๔๙
๕๐
๕๘. ลายจีด้ อกมะโอ ๕๑
๕๙. ลายดอกผักแวน่ ๕๒
๖๐. ลายนกกนิ นา้ รว่ มตน้ ๕๓
๕๔
๖๑. ลายขอลอ้ มดาว ๕๕
๖๒. ลายโก้งเก้งซอ่ นนก ๕๖
๖๓. ลายเจยี งแสง ๕๗
๕๘
๖๔. ลายแมงกาป้งุ
๖๕. ลายเขาวงกรด
๖๖. ลายต่อมเครือ

๖๗. ลายฟนั เลือ่ ย
๖๘. ลายหงสค์ ู่ กาบหมาก
๖๙. ลายขามดแดงกาบหมาก

๗๐. ลายหัวนาค
๗๑. ลายโคมชอ่ ตงุ น้อย
๗๒. ลายกาแล นกคุม้



สำรบญั ภำพ (ต่อ)

ภำพประกอบที่ หน้ำ

๗๓. ลายเชียงแสน หงส์ดา ๕๙

๗๔. ลายสร้อยกาบหมาก ๖๐

๗๕. ลายกาบป่าวนกคุม้ ๖๑

๗๖. ลายบงุ้ เลน ๖๒

๗๗. ลายขอใหญ่เขยี้ วหมา ๖๓

๗๘. ลายดอกจนั ทร์แปดกลบี ๖๔

๗๙. ลายสาเภาลอยน้าหัวนาค ๖๕

๘๐. ลายขามดแดง ๖๖

๘๑. ลายผักกูด ๖๗

๘๒. ลายขนั ดอก ๖๘

๘๓. ลายกาแล ๖๙

๘๔. ลายสาเภาลอยน้า ๗๐

๘๕. ลายงูหอ้ ยส้าว ๗๑

๘๖. ลายผกั แวน่ ๗๒

๘๗. ลายนกนอน ๗๓

๘๘. ลายขอกุญแจ ๗๔

๘๙. ลายหงส์คกู่ ินนา้ ร่วมตน้ ๗๕

๙๐. ลายนกกินนา้ ร่วมต้นหวั นาค ๗๖

๙๑. ศึกษาข้อมลู ผ้าซิ่นตีนจก ศนู ย์การเรียนรู้ผ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภัณฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาติ) ๗๗

๙๒. ศกึ ษาขอ้ มูลผา้ ซ่ินตีนจก ศูนย์การเรียนรู้ผา้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ ๗๗

๙๓. ภาพจิตกรรมสีฝุ่นบนแผน่ ไม้หลายแผน่ ทปี่ ระกอบเปน็ ฝาผนงั ของชา่ งพืน้ บ้านในอดตี ๗๘

๙๔. ภาพจติ กรรมสีฝุ่นบนแผน่ ไมห้ ลายแผ่น ท่ีประกอบเปน็ ฝาผนงั ของชา่ งพนื้ บา้ นในอดีต ๗๘

๙๕. ตัวอยา่ งผาซิน่ ตีนจกของแต่ละจังหวดั ๗๙

๙๖. ศึกษาผา้ โบราณ ๒๐๐ ปี ๗๙

๙๗. ผ้ากลมุ่ ไทพวนหรอื ลาวพวน ๘๐

๙๘. ผา้ ซิน่ ตนี จกโบราณเมอื งลอง ประมาณ ปี พ.ศ. ๒๓๑๐ ๘๐

๙๙. ผา้ ซนิ่ ลาย จหี้ มา่ โอในเครอื ดอกตอ่ ม ๘๑

๑๐๐. ผ้าซ่ินลาย สะเปาลอย ๘๑

๑๐๑. ลายสะเปาลอย ๘๒

๑๐๒. ซ่ินเชียงแสน ๘๓

๑๐๓. พญาซ่นิ ๘๓

๑๐๔. ศกึ ษาข้อมลู ผ้าซนิ่ ตนี จก พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น โกมลโบราณ 83



ผำ้ ไทย

"ผา้ ไทย" เป็นมรดกทางวฒั นธรรมท่ีล้าค่าที่บรรพบุรุษได้สืบสาน
มรดก ภมู ิปญั ญาจากรนุ่ สู่ร่นุ จนถึงปจั จุบัน ทีแ่ สดงถึงความเป็นตัวตนของ
ชุมชน ลวดลาย ต่าง ๆ บนผืนผ้าส่ือความหมายให้ทราบถึง
ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อ ฯลฯ ของแต่ละท้องถิ่นท่ีมีความ
แตกต่างกนั และผ้าไทยเป็นเคร่ืองบ่งบอกเอกลักษณ์ ความเป็นไทยด้าน
เครอื่ งนุง่ ห่ม ซ่ึงสามารถสะท้อนวถิ ีชีวติ ศิลปวฒั นธรรม และภูมิปัญญาใน
แตล่ ะภูมิภาคได้เป็นอยา่ งดี ท้ังน้ี ในอดตี ที่ผ่านมาไดพ้ บหลักฐาน ว่าคนใน
ยุคก่อนประวัติศาสตร์รู้จักทอผ้าใช้แล้วเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๓,๐๐๐ ปี
ตลอดระยะเวลาอนั ยาวนานนไ้ี ด้มีการค้นพบหลักฐานต่างๆ เก่ียวกับการ
ใช้ผ้าทั้งที่มีการ สั่งซ้ือจากต่างประเทศและท่ีมีการทอใช้เอง ซ่ึงใน
สมัยก่อนเสอ้ื ผ้าเครอ่ื งนงุ่ ห่ม เป็นเครอื่ งบง่ บอกฐานะด้วย โดยเจ้าแผ่นดิน
เจา้ นายและขนุ นาง สว่ นใหญ่ใชผ้ า้ ชนดิ ต่าง ๆ ท่ีสงั่ จากตา่ งประเทศ ส่วน
สามัญชนส่วนใหญ่ใชผ้ ้าพืน้ เมือง ซง่ึ ทอใช้กัน อย่ทู ว่ั ทุกภมู ิภาค

เฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ที่
ทรงเป็นผูร้ เิ ริ่มในกรอนุรักษ์และเผยแพรผ้าไทย และตอบสนองนโยบาย
นายกรฐั มนตรีในการส่งเสริมและรณรงค์ให้ประชาชนสวมใส่ผ้าไทย ตลอดจน เป็นการสนับสนุนให้ประชาชน
สามารถสรา้ งอาชีพ สร้างรายได้ใหก้ ับตนเอง และครอบครัว จึงได้มกี ารจดั กกิ รรมเพ่ือกระตุ้นให้เกิดความสนใจ
และสรา้ งค่านิยมในการใช้ผา้ ไทยมาอย่างตอ่ เนอื่ ง และได้มแี ผนการดาเนินงานเพอื่ รณรงคส์ ง่ เสริม การใช้ผ้าไทย
ให้เกดิ กระแสการรบั รู้และเหน็ ผลอยา่ งเปน็ รปู ธรรม
ความสาคญั ของผา้ ไทย ไม่ใชเ่ ปน็ เพยี งปัจจยั หนึ่งในการดารงชีวิตเทา่ นัน้ แต่ผ้าไทยยังเป็นท่ีรวมของ

มรดกภมู ปิ ญั ญาซง่ึ บรรพบุรุษได้ประดิษฐ์ คิดค้นข้ึนเป็นเวลานาน
หากไม่มีผู้สืบทอดภูมิปัญญาต่าง ๆ ท่ีถักทอออกมา เป็นลายผ้าก็จะสูญ
หายไปอย่างไม่มีวันย้อนกลับมาได้อีก เน่ืองจากปัจจุบันผู้สืบทอด และ
ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการทอผ้ากาลังลดน้อยลง และลูกหลานหรือผู้สืบ
ทอด ตา่ งหนั ไปประกอบอาชีพอื่น อีกท้ังในยุคปัจจุบันประชาชนนิยมสวม
ใส่ผา้ ทอ จากอุตสาหกรรมมากกว่าผ้าทอมือฝีมือคนไทยอันเป็นอัตลักษณ์
แห่งความเปน็ ไทย และการสงวนรกั ษามรดกภมู ิปญั ญาผ้าไทย จาเป็นอย่าง
ย่ิงท่ีต้องให้ผู้ขายผ้า หรือผู้ประกอบการเกี่ยวกับผ้ามีรายได้เพ่ิมมากข้ึน
ดังน้ัน จึงต้องดาเนินการ ไปพร้อม ๆ กัน ท้ังด้านการส่งเสริมให้เห็น
ความสาคญั ของภูมิปัญญาด้านผา้ ไทยและสง่ เสรมิ ให้เกิดรายได้ ซึ่งเป็นการ
เจรญิ รอยตามพระยคุ ลบาท สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ติ ์ิ พระบรมราชนนี าถ ท่ี
ไดท้ รงปพู ้นื ฐานไว้กอ่ นแล้ว

จงั หวดั แพร่ เป็นแหลง่ กาเนิดของผ้า มผี ้าฝ้ายทีใ่ หญแ่ ละมีชื่อเสียง
ท่ีสุดในจังหวัดแพร่ มวี ฒั นธรรมการทอผา้ และย้อมสีใบหอ้ มยอ้ มดว้ ยผา้ ฝา้ ย
เพื่อทาใหไ้ ดค้ รามสนี ้าเงิน การยอ้ มสีแบบดั้งเดิม แนวคดิ จากวฒั นธรรมและ
ความเช่ือ นาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาออกแบบเส้ือผ้าหม้อห้อมให้มีความ
สวยงามร่วมสมยั สร้างความแตกต่างจากรปู แบบดง้ั เดิม



มุ่งเน้นความเป็นธรรมชาติโดยใชส้ ีย้อมวัสดุจากธรรมชาติ เพ่อื สรา้ งลวดลายผา้ และพืน้ ผิวบนผา้ ด้วยการ
ตดั เย็บปกั เพอ่ื ใหม้ ีความสวยงามและนา่ สนใจสาหรบั ผบู้ รโิ ภค"

จังหวัดแพร่มีแหลง่ ผลติ ภัณฑท์ ่ีเปน็ เอกลกั ษณแ์ ละลกั ษณะทโี่ ดด
เดน่ คอื การทอผา้ ตีนจกเมืองลอง เป็นแหล่งผลิตผ้าซิ่นตีนจกที่สาคัญ
ของจงั หวดั แพร่ ถือเปน็ หัตถกรรมทีล่ กู หลานเมืองลองมีความภาคภูมิใจ
ที่ได้เปน็ ผ้สู ืบทอดรูปแบบลวดลาย สีสันท่ีวิจิตรสวยงามที่ปรากฏบนผืน
ผา้ และได้มกี ารพัฒนาผืนผ้าใหม้ คี วามหลากหลาย สวยงาม มีประโยชน์
การใช้สอยสูง ทาให้ผ้าทอตีนจกของเมืองลิงในปัจจุบันมีความ
หลากหลายแปลกตา และยงั เป็นท่ีนยิ มในหมใู่ ชผ้ ้าไทยในปัจจุบนั

ผำ้ ซิ่นตนี จกเมอื งลอง จงั หวัดแพร่

ประวัตคิ วามเป็นมาผา้ ซน่ิ ตีนจกเมอื งลอง

เมอื งลองในอดตี เปน็ เมืองหน้าด่านสาคัญเมืองหนึ่งทาง
ทศิ ใตข้ องอาณาจกั รล้านนา เป็นเมืองของชาวไทยยวนหรือชาว
ไทยโยนก ซึ่งมีเทคนิคและศิลปะในการทอผ้าในรูปแบบของ
ตนเอง ผู้หญิงไทยวนนยิ มแตง่ กายดว้ ยผา้ ซน่ิ ทอชนดิ ตา่ งๆ และ
ผ้าซ่ินตีนจกเป็นผา้ ซ่ินทีท่ าขึ้นเพอื่ ใชใ้ นโอกาสพิเศษ โดยวัสดุท่ี
ใชใ้ นการทอมที ้งั ที่เป็นผา้ ไหม ดิ้นเงิน ด้นิ ทอง ทอเป็นลวดลาย
สวยงาม

การทอผา้ ตีนจกของชาวเมืองลอง เรม่ิ ข้นึ มานานเพียงใด
ไม่ปรากฏหลกั ฐาน แต่สันนิษฐานว่าความรุ่งเรอื งของเมืองลอง
มีมานานกวา่ ๒๐๐ ปี จากหลักฐานภาพถ่ายเจ้านายฝ่ายหญิง
ของเมืองแพร่ในสมยั ก่อน พ.ศ ๒๔๔๕ พบว่า ถ้าผ้าซิ่นใช้สวม
ใส่จะมีเชงิ ซิ่นเปน็ ตีนจก ซึง่ นา่ จะเป็นซนิ่ ตีนจกทท่ี อข้ึนโดยช่าง
ทอผ้าชาวเมืองลอง นอกจากน้ีหลักฐานการใช้ผ้าตีนจกเมือง
ลองในการแตง่ กายของชาวเมืองลองยงั ปรากฏมานานนับร้อยปี
หลักฐาน คือ ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่ วดั เวียงตา้ ตาบลเวียงต้า
อาเภอลอง เป็นภาพวิถีชีวิต ความเชื่อ การแต่งกายของ
ชาวบ้านเวยี งตา้ ซงึ่ เป็นคนเมอื งลองในยคุ นน้ั ผู้หญิงในภาพใช้สวมใสเ่ ป็นซนิ่ ตีนจก
ผ้าจกเมอื งลองเป็นผา้ ทอท่มี ลี วดลายและสีท่สี วยงาม ในอดีตส่วนใหญ่เป็นการทอเพ่ือนามาต่อกับผ้าถุง
หรอื ท่ีเรียกว่าซิน่ เป็นเชงิ ตนี ซน่ิ เรียกว่า ซ่ินตนี จกและมีการสืบทอดวฒั นธรรมการทอผ้าตนี จกมาจนถึงปัจจุบัน
ทม่ี ีความสวยงามบอกถึงฐานะและสงั คมของผู้สวมใส่ การแตง่ กายเป็นสิง่ สาคัญสิ่งหนึ่งท่ีบ่งบอกเอกลักษณ์ของ
คนแต่ละพ้ืนถ่ิน ตัวซ่ินลายทางต้ังเป็นซิ่นแบบลาวไม่ควรนามาต่อกับตีนจกไทยวน นอกจากนี้การโพกผ้ายัง
สามารถเปน็ ตวั บง่ ชสี้ ถานภาพของผูห้ ญงิ อกี ดว้ ย
ตนี จก มาจากคาว่า ตนี และ จก คาว่า ตีน มาจากคาว่าตีนซ่ิน คือชายผ้าถุง ส่วนคาว่าจก หมายถึงการ
ลว้ ง การทอผ้าชนดิ นี้ ของชายไทยวนจะทอลวดลายบนผืนผ้าด้วยการใช้ขนเม่นหรอื ไมแ้ หลมจกหรอื ลว้ งเส้นด้าย
สีตา่ งๆ ให้เปน็ ลวดลายตามทกี่ าหนดไว้ ผ้าจก ส่วนใหญ่ทอเพื่อนาไปต่อเป็นเชิงผ้าถุง ชาวบ้านจึงนิยมเรียกผ้า
ชนดิ น้วี า่ ผา้ ตีนจก



การทอผ้าตีนจก ในจังหวัดแพร่มีเพียงแห่งเดียวคือ ที่อาเภอลองหรือเมืองลอง ผ้าตีนจกเมืองลอง
เป็นมรดกทางวัฒนธรรมของคนไทยญวนหรือชาวไทยโยนกซึ่งเป็นกลุม่ ใหญข่ องภาคเหนือ ในอดตี ผ้าตีนจกเมือง
ลอง เปน็ เคร่ืองแสดงฐานะทางเศรษฐกิจและสงั คมของผ้สู วมใส่ ผใู้ ช้ผ้าทอตนี จกจะเปน็ ผทู้ ่ีมีฐานะดีหรอื อาจเป็น
เชอ้ื สายของเจ้าเมือง เน่ืองจากเป็นผ้าท่ีต้องความประณีตและใช้เวลาทานาน จึงทาให้มีราคาสูงเม่ือเทียบกับ
ผา้ ซนิ่ ชนิดอ่นื ผ้าตนี จกฝีมอื ชา่ งทอผ้าเมอื งลองในอดีตมีความกว้างประมาณ ๑๐ น้ิว มีลายจกยาวประมาณ ๒
ใน ๓ ของตนี ซ่ิน

ชนิดของผ้าจกเมืองลอง มีทง้ั ตนี จก ใช้ตอ่ เชิงผ้าถงุ หรือตีนเสน้ , ผา้ สไบหรอื ผ้าสะหว้านบ่า เป็นผ้าจกหนา้
แคบนิยมใช้เมอ่ื แตง่ กายแบบพืน้ เมอื งภาคเหนอื , ผ้าคลุมไหล่, ผ้าเทป เป็นผ้าทอจกทั้งผืนโดยใช้ลวดลายซ้ากัน
เป็นผ้าที่พัฒนาขน้ึ มาภายหลังเพื่อนาไปตัดเย็บตกแต่งกับผ้าพ้ืน ผ้าเทปยังสามารถนาไปเป็นผลิตภัณฑ์อ่ืนเช่น
กระเป๋าถอื ซองใสแ่ ว่น กลอ่ งใสก่ ระดาษชาระ เปน็ ตน้

ลวดลายผา้ จกท่ีตกทอดถงึ ปัจจบุ นั นม้ี ีนบั ร้อยลาย ตัวอย่างลวดลายโบราณทยี่ ังนยิ มใชอ้ ยู่เช่นลายผักแว่น,
ลายนกกนิ น้าร่วมต้น, ลายขอไล่, ลายวงน้าคุ, ลายสาเภาลอยน้า, ลายงูห้อยขา้ ว, ลายตอ่ มเครอื , เป็นต้น ลายสว่ น
ใหญ่จะได้มาจากการสังเกตสภาพธรรมชาติแล้วนามาลอกเลียนแบบ การทอผ้าตีนจกแบบด้ังเดิมมักจะใช้ลาย
หลักประมาณ ๑ หรือ ๒ ลายในการทอผ้าแต่ละผืน ปัจจุบันช่างทอผ้าเมืองลองยังคงใช้สีย้อมจากธรรมชาติ
ทาใหผ้ า้ มคี ณุ คา่ มากขึ้นตลอดจนสามารถนาไปตกแตง่ กบั ผา้ อนื่ ๆ ได้ง่าย

กรรมวธิ ีกำรทอผำ้ แบบโบรำณ

การทอผ้าแบบโบราณ แต่เดิมจะปลูกฝ้าย และนาฝ้ายมาปั่นด้วยมือ เรียกว่า ฝ้ายเข็มและย้อมสี
ธรรมชาติในการทอผ้า สีที่ใช้ในการทอผ้าส่วนมากจะเป็นสีแหล้ (สีเข้ม) ซ่ึงปัจจุบันการเข็นฝ้ายน้ันหาดูยาก
เพราะส่วนใหญจ่ ะใชฝ้ า้ ยจากโรงงาน ทาให้กระบวนการบางอย่างในการทอผา้ ค่อยๆหายไป ดังนัน้ เปน็ ผสู้ ืบทอด
ภมู ปิ ัญญา ควรจะอนรุ ักษ์ไวซ้ ึ่งกรรมวธิ กี ารทอผา้ แบบเดิม

อปุ กรณก์ ำรทำเสน้ ดำ้ ย

๑. ดอกฝา้ ย

รูปภาพท่ี ๑ ดอกฝา้ ย
ท่ีมา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ



๒. อดี ฝ้าย

รปู ภาพที่ ๒ อดี ฝ้าย
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แห่งชาติ)

๓. เผี่ยน ปั่นฝา้ ย

รปู ภาพท่ี ๓ เผ่ยี น ปนั่ ฝา้ ย
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ



๔. กะลุมยงิ ฝา้ ย

รูปภาพท่ี ๔ กะลุมยงิ ฝ้าย
ทม่ี า : ศนู ย์การเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)
๕. แปน้ ปั่นหางสาลี

รปู ภาพท่ี ๕ แปน้ ป่ันหางสาลี
ทม่ี า : ศูนย์การเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)



๖. ไมเ้ ปี่ยฝา้ ย

รปู ภาพที่ ๖ ไม้เปยี่ ฝา้ ย
ที่มา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ

๗. มะกวัก ( หางเหน)

รูปภาพท่ี ๗ มะกวัก (หางเหน)
ท่ีมา : ศูนยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปินแห่งชาต)ิ



อุปกรณก์ ำรทอผ้ำจก

๑. กี่ทอผ้า

รูปภาพท่ี ๘ กท่ี อผา้
ทม่ี า : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปนิ แห่งชาติ)
๒. ตะกอลาย (เขาลาย)

รปู ภาพท่ี ๙ ตะกอลาย (เขาลาย)
ท่มี า : ศูนยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภัณฑ์บ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ



๓. ตะกอเหยียบ (เขาเหยยี บ)

รูปภาพที่ ๑๐ ตะกอเหยียบ (เขาเหยยี บ)
ทม่ี า : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

๔. ฟันทวี (ฟืม)

รปู ภาพที่ ๑๑ ฟนั หวี (ฟืม)
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรผู้ า้ จกเมืองลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปินแห่งชาต)ิ



๕. กระสวยใสห่ ลอดดา้ ยพงุ่ (ดา้ ยต่า หรอื ด้ายดอก)

รปู ภาพท่ี ๑๒ กระสวยใสห่ ลอดดา้ ยพุ่ง (ดา้ ยตา่ หรอื ดา้ ยดอก)
ทมี่ า : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)
๖. ไม้ดาบ

รปู ภาพที่ ๑๓ ไม้ดาบ
ทมี่ า : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภัณฑบ์ า้ นศลิ ปินแห่งชาติ)

๑๐

๗. ขนเมน่ (ใชส้ าหรับจกเส้นด้ายใหเ้ กดิ ลวดลาย)

รูปภาพท่ี ๑๔ ขนเมน่ (ใช้สาหรบั จกเสน้ ด้ายใหเ้ กิดลวดลาย)
ทม่ี า : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภัณฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)
๘. หลอดเส้นดา้ ยพงุ่ สีตา่ งๆ

รูปภาพที่ ๑๕ หลอดเส้นดา้ ยพุ่งสีต่างๆ
ท่มี า : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

๑๑

๙. เผีย่ น

รูปภาพที่ ๑๖ เผีย่ น (อปุ กรณใ์ นกอดา้ ย)
ท่ีมา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาต)ิ
๑๐. ผืนผา้ จกท่ีทอเสรจ็ แล้ว

รปู ภาพที่ ๑๗ ผืนผา้ จกที่ทอเสรจ็ แลว้
ท่ีมา : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภัณฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ

๑๒

กระบวนกำร/ขน้ั ตอนกำรทำเสน้ ฝ้ำย (ดำ้ ย)

๑. การอีดฝ้าย

รปู ภาพท่ี ๑๘ เปน็ การเอาเมลด็ ฝา้ ยออกจากดอกฝา้ ย เพอื่ จะนาไปยิงฝ้ายในขัน้ ตอนต่อไป
ทีม่ า : ศนู ย์การเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ

๒. การดดี ฝา้ ย

รูปภาพท่ี ๑๙ เปน็ การนาฝา้ ยทีอ่ ดี แลว้ มาดดี ในตะลุมและก๋ง
ที่มา : ศนู ยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

๑๓

๓. การปัน่ หางสาลี

รูปภาพท่ี ๒๐ เปน็ การนาฝา้ ยฟมู าม้วนเปน็ หางสาลี เพอ่ื จะนาไปปั่นเปน็ เส้นฝา้ ยต่อไป
ท่ีมา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ

๔. การปน่ั ฝ้าย

รูปภาพท่ี ๒๑ เป็นการนาฝ้ายที่เปน็ หางสาลี มาปนั่ ใหเ้ ป็นเส้นดา้ ยเพอ่ื ทีจ่ ะนาไป ยอ้ มเป็นสตี า่ งๆ
ที่มา : ศนู ยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

๑๔

๕. การเป๋ยี ฝ้าย

รปู ภาพที่ ๒๒ เปน็ การเอาฝ้ายที่ปนั่ แลว้ ออกจากเหลก็ ใน เพอื่ ใหเ้ สน้ ด้ายเปน็ ใจ
ที่มา : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)
๖. การกวักฝา้ ย

รปู ภาพท่ี ๒๓ การกวักฝา้ ยเปน็ การนาดา้ ยสี เคมี หรอื สธี รรมชาติ ตามท่ีต้องการ นามากวกั เพอื่ นาไป
โวน้ ต่อไป

ท่ีมา : ศูนย์การเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

๑๕

๗. การโว้นผูก

รูปภาพที่ ๒๔ การโวน้ ผกู เป็นการนาด้ายทก่ี วักแล้ว นาไปเครือหูกเพ่ือนาไปทอต่อไป
ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรผู้ า้ จกเมืองลอง (พิพิธภัณฑบ์ า้ นศลิ ปินแห่งชาต)ิ
๘. การทอผา้ ตนี จกหรอื การทอหูก

รูปภาพที่ ๒๕ การทอผ้าตนี จกหรอื การทอหกู เป็นกระบวนการข้นั สุดท้ายของการทอผา้
ทีม่ า : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นศิลปินแหง่ ชาต)ิ

๑๖

กระบวนกำร/ขนั้ ตอนกำรทอผำ้ จกเมอื งลอง

๑. การกรอดา้ ย

รปู ภาพที่ ๒๖ การกรอด้าย เป็นการเตรียมดา้ ยสาหรบั การนาไปใช้เป็นดา้ ยยืนและดา้ ยพงุ่ โดยมี
อปุ กรณใ์ นการกรอดา้ ย คอื โกวง้ กวา้ ง มะกวกั หลอดดา้ ย

ท่มี า : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑ์บ้านศิลปินแหง่ ชาติ)
๒. การโวน้

รปู ภาพที่ ๒๗ การโวน้ เป็นการเดินเส้นดา้ ยเสน้ ยนื ใหไ้ ด้ความยาวและกวา้ งตามจานวนทีต่ อ้ งการเพือ่ นาไปสบื
เขา้ กับฟืมและเขาเหยียบ

ที่มา : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาต)ิ

๑๗

๓. การมดั เขาเหยยี บ

รูปภาพที่ ๒๘ การมัดเขาเหยียบ เป็นการกรอด้ายโดยการโวน้ ให้ไดจ้ านวนทตี่ ้องการ เช่น ฟมื ๘ จะ
ต้องโว้นด้าย ๘ หลบ หนงึ่ หลบมี ๑๐ หน่ึงอา่ นมี ๔ ช่อง ๆ ละ ๒ เส้น ใช้ดา้ ย ๘ เส้น การเก็บเขาจะ
เก็บทีล่ ะเส้น ขา้ งบน ๑ ลา่ ง ๑ เส้น สลบั กนั จะได้ ๔ จบั การทาเชน่ น้เี พ่ือใหส้ อดดา้ ยพงุ่ ได้

ทม่ี า : ศนู ย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ
๔. การปว่ นฟนั ฟมื (การรอ้ ยฟนั หว)ี

รูปภาพที่ ๒๙ การป่วนฟนั ฟมื (การรอ้ ยฟันหวี) เป็นการนาฝ้ายตน้ เขาเหยยี บมาใสใ่ นฟันฟืม แลว้
นาเอาไปสบื ตอ่ เขา้ กบั ด้ายยนื การสอดดา้ ยเขา้ ฟนั ฟมื สมัยกอ่ น ใชไ้ ม้บางๆ ในการปอ้ นฟืมปจั จุบัน
ใช้โครเช/ตะใบเลก็ การสอดด้ายเขา้ ฟันฟืมดา้ ยเขาชอ่ งละ ๒ เสน้

ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาติ)

๑๘

๕. การสบื เครือ

รูปภาพท่ี ๓๐ การสบื เครอื เปน็ การนาด้ายทโ่ี ว้นไวม้ ากางในกี่ เอาฟืมทท่ี อมาสบื กันเครอื ท่ีเรากาง
ไวใ้ นกี่ ตัดดา้ ยแลว้ มาทาบกันและตอ่ ดา้ ยหมนุ เกลยี วให้แนน่

ที่มา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ิธภณั ฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)
๖. การแกะลาย หรอื การเก็บลาย

รปู ภาพที่ ๓๑ การแกะลาย หรอื การเก็บลาย เปน็ การนาลายทีอ่ อกแบบไวห้ รอื แม่ลายเดมิ มาจกล้วง
เสน้ ยนื เพอื่ การมดั เขาโดยการใช้ขนเม่นหรือไม้ไผ่ ปลายเหลาใหแ้ บนๆ จกเส้นด้ายใหพ้ ร้อมทจ่ี ะสอดด้ายให้

พรอ้ มทจ่ี ะสอดด้ายใหไ้ ดต้ ามแมล่ ายที่ตอ้ งการ
ท่ีมา : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)

๑๙

๗. การมัดเขา ( การเกบ็ ตะกรอ)

รูปภาพที่ ๓๒ การมดั เขา ( การเก็บตะกรอ) เป็นวธิ ีการท่ีทาให้การทอสะดวกและรวดเรว็ ในการสอดดา้ ย
ใหเ้ กิดลายจกทกี่ าหนด แตเ่ ดิมใชว้ ธิ ีจกล้วงเส้นทลี ะเส้น แตก่ ารยกเขาครั้งเดียวสามารถสอดดา้ ย ทั้งแนว การมดั
เขาจะทาไว้เพยี งคร่งึ ดอก การทอผ้าจกใหเ้ กดิ ลวดลายตอ้ งยกเขาเที่ยวไป เที่ยวกลบั ๒ เท่ยี ว เกิดลวดลาย ๑ ดอก

ทม่ี า : ศนู ย์การเรยี นรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภัณฑ์บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

๘. การทอผา้

รูปภาพท่ี ๓๓ การทอผา้
ท่ีมา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาต)ิ

๒๐

๑. เมื่อเตรยี มด้ายพงุ่ และยนื เรียบรอ้ ยแล้ว นาเอาด้ายยนื สบื ตอ่ ในเขาและฟนั หวแี ละกางกี่หรอื หกู
เสรจ็ แลว้ ทาการพงุ่

๒. การพงุ่ ขนั้ แรกเอาหลอดดา้ ยเข้ากระสวยโดยรอ้ ยด้ายในหลอดทางรขู องกระสวย
๓. ใชเ้ ทา้ เหยยี บไมเ้ หยียบขา้ งใดขา้ งหน่ึงผกู มันติดกบั ไมเ้ หยยี บดา้ ยทอ่ี ยู่ในระหวา่ งเขากจ็ ะสลับข้ึน

ลงและมชี อ่ งวา่ งตรงกลางจะกวา้ งหรือแคบก็แลว้ แตก่ ารเหยยี บไมเ้ หยยี บ
๔. ใช้มอื ข้างใดข้างหนงึ่ จับด้ามกระสวยพรอ้ มทง้ั เงอ่ื นดว้ ย ส่วนมอื อกี ขา้ งหน่งึ จับฟมื หรอื ฟันหวใี ห้

อา้ กวา้ งออกไป แล้วสอดกระสวยเข้าไปในช่องว่างงของเสน้ ดา้ ยน้ัน แต้ต้องผลกั ให้พ้นขอบด้าย
อกี ขา้ งหนง่ึ ดว้ ยสว่ นเงอื่ นด้วยท่ีจบั ไวอ้ กี ขา้ งหนึง่ ก็คงเช่นเดมิ ดา้ ยในกระสวยกจ็ ะคลายออกมา
เองตามความกวา้ งของขอบผา้ และฟันหวี เสรจ็ แลว้ จงึ ดงึ กระสวยออกจากขอบผ้านามาวางไว้
ก่อน เอามือไปจับฟนั หวหี รือฟมื ตัดอัดกระแทกขา้ มาหาตวั เองจนกวา่ จะ เหน็ วา่ เข้าทห่ี รือแนน่
ดแี ล้วจงึ เปลี่ยนเทา้ เหยยี บใหมอ่ กี ข้างหน่ึง ซงึ่ จะสลบั กบั คราวท่ีแลว้ ในขณะที่ฟืมสลบั หันนน้ั ผู้
เหยยี บกจ็ ะสอดกระสวยข้าไปอีกทาดง้ั นีไ้ ปเร่อื ยๆ จนได้ขนาดตามที่กาหนด หรอื ยกขาสอดเอา
ไมด้ าบใสแ่ ลว้ เอา กระสวยพงุ่ จับขอบฟมื กระแทกให้แน่น แล้วยกขาดอกเกบ็ ลายสแี ลว้
กระแทก ให้จนแน่น ตามด้วยเหยยี บไมเ่ หยียบแลว้ เอากระสวยพุ่งตาม ทาไปเรอื่ ยๆ จนได้
ขนาดตามทตี่ ้องการ

๙. การตรวจสอบคณุ ภาพ

รปู ภาพท่ี ๓๔ เป็นการตรวจสอบความถกู ต้องของความประนีต ความสวยงาม รวมทงั้ คุณภาพ หากพบ
ขอ้ บกพรอ่ งจะได้ทาการแกไ้ ขหรอื ปรบั ปรุงให้ได้คุณภาพ

ท่มี า : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

องค์ประกอบของผำ้ ซน่ิ ตีนจก ๒๑

ส่วนหัวซ่ิน

รปู ภาพที่ ๓๕ องค์ประกอบของผ้าซิ่น ส่วนตวั ซน่ิ
ส่วนตนี ซิ่น

รปู ภาพท่ี ๓๕ องคป์ ระกอบของผ้าซิ่นตีนจก

ลวดลายในผา้ จก
การทอผา้ จกในอดตี นยิ มทอกนั เพยี งไม่กีล่ ายในผ้าจกผนื เดียวกนั อยา่ งมากกม็ ีเพยี ง ๔ แถวเท่าน้ัน เป็น
อยา่ งมาก การทอผา้ จกในปัจจบุ ัน (ข้อมลู ปี พ.ศ. ๒๕๔๒) เป็นการเอาใจตลาดหรือกลุ่มพอ่ คา้ แมข่ ายผา้ พืน้ เมือง
จะมีการผกู ลายข้ึนมากมายจนไม่สามารถทีจ่ ะแยกว่าตรงไหนเป็นลายหลกั ตรงไหนเป็นลายประกอบ

ลำยผำ้ ซ่นิ ตนี จก อำเภอลอง จังหวดั แพร่ ๒๒

จมุ หวั ใจ นกกินนา้ รว่ มเต้า/นกกินนา้ ร่วมตน้
ขอกญุ แจหรอื ขอปะเจ
เชิงสะเปา เครอื ขอ

รปู ภาพที่ ๓๖ ลายขอหัวใจ
ที่มา : รา้ นเวียงเหนือ ผ้าตีนจก

ขามดส้ม ๒๓
เชงิ นกคู่
นกกินน้ารว่ มต้น
นกกินน้าร่วมตน้

รูปภาพที่ ๓๗ ลายขามดส้ม
ทีม่ า : ร้านเวยี งเหนอื ผ้าตนี จก

โก้งเก้งซอ่ นนก ๒๔
เชิงคู่
เครอื ดอกหมาก
ขอผกั กดู

รูปภาพที่ ๓๘ ลายขอผกั กดู
ท่มี า : ร้านเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

หงส์คู่ ๒๕
เถาในเลือย
งหู อ้ ยสา้ ว
นกกินน้ารว่ มตน้
เชงิ นกคู่

รปู ภาพที่ ๓๙ ลายงหู อ้ ยส้าว
ทม่ี า : ร้านเวียงเหนอื ผา้ ตนี จก

๒๖

โคมหลวง โกง้ เกง้ ซอ่ นนก
เชิงสะเปา นกนอ้ ยบนิ จร

รปู ภาพที่ ๔๐ ลายโกง้ เก้งซอ้ นนก
ทีม่ า : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

๒๗

เขียวหมา นกซอ้ น
เชิงสะเปา หงส์คู่

รปู ภาพที่ ๔๑ ลายเจยี งแสน
ท่ีมา : รา้ นเวยี งเหนือ ผ้าตีนจก

นกกนิ นา้ รว่ มต้น ๒๘
นกคู่
สา้ เภาลอยนา้
เชิงคู่ ขอจมุ หวั ใจ
เขยี วหมา

รปู ภาพที่ ๔๒ ลายสาเภาลอยน้า
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

ขอกาบนกคู่ ๒๙

เถาใบเลือย

ฟนั ปลา

รปู ภาพที่ ๔๓ ลายราชบุรี
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนือ ผ้าตนี จก

๓๐

สะเปานกคู่ สร้อยกาบหมาก

รปู ภาพที่ ๔๔ ลายสร้อยกาบหมาก
ทมี่ า : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

๓๑

ตงุ ไชย เครือขอดาว
นกกนิ น้ารว่ มตน้ โคมโบราณ

เชิงสะเปา

รปู ภาพท่ี ๔๕ ลายโคมช่อน้อยตงุ ชยั
ที่มา : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

๓๒

นกกนิ นา้ รว่ มต้น
นกคู่

แมงโบ้งเลน

รปู ภาพที่ ๔๖ ลายแมงโบ้งเลน
ทม่ี า : ร้านเวียงเหนอื ผ้าตนี จก

๓๓

นกกินนา้ ร่วมต้น
หงส์ดา้

รูปภาพท่ี ๔๗ ลายเชยี งแสนหงสด์ า
ทีม่ า : รา้ นเวยี งเหนือ ผา้ ตีนจก

ดอกผักแวน่ ๓๔
ขอสามเหลีย่ ม
มะลเิ ลือย
รปู ภาพท่ี ๔๘ ลายนกนอน
ท่ีมา : ร้านเวยี งเหนือ ผา้ ตนี จก นกนอน
เครือขอ
ดาว
ดอกผกั แวน่

๓๕

สบั ปะรด ลกู โซ่
เชงิ สะเปา
ขอสามเหล่ยี ม

รปู ภาพท่ี ๔๙ ลายหม่าขนัด
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนือ ผา้ ตีนจก

นกกินน้ารว่ มตน้ ๓๖
ขนั ดอก
เถาไมเ้ ลือย
หงส์คู่

เชิงนกคู่
รปู ภาพท่ี ๕๐ ลายขนั ดอก
ทมี่ า : ร้านเวียงเหนือ ผา้ ตนี จก

๓๗

นกน้อย นกกนิ นา้ รว่ มตน้
นกกินนา้ ร่วมต้น ขอลอ้ ม
เชิงสะเปา
นกนอ้ ย

รปู ภาพท่ี ๕๑ ลายขอล้อมนก
ทม่ี า : ร้านเวยี งเหนอื ผา้ ตนี จก

๓๘

ขันดอกหมู่

นกกนิ นา้ ร่วมตน้

รปู ภาพที่ ๕๒ ลายขันดอกหมู่
ทมี่ า : ร้านเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

สา้ เภาลอยนา้ ๓๙
สะเปา
นกกินน้ารว่ มตน้

ลายขอ
รปู ภาพที่ ๕๓ ลายสาเภาลอยน้า
ทม่ี า : รา้ นเวยี งเหนอื ผา้ ตีนจก

๔๐

งวงนา้ คใุ นฟันปลา นกคู่
เถาไม้เลอื ย ขอกาบ

สะเปา

รูปภาพที่ ๕๔ ลายขอกาบ
ที่มา : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

หลงั เต่า ๔๑
เชิงสะเปา
ดอกต่อม
พานดอก

รปู ภาพท่ี ๕๕ ลายหลงั เต่า
ท่ีมา : รา้ นเวียงเหนอื ผา้ ตีนจก

๔๒

กุหลาบเวยี งพงิ ค์

ดอกไม้ ๕ หย่อม

เชงิ ใบสน

รูปภาพที่ ๕๖ ลายกหุ ลาบเวยี งพงิ ค์
ทม่ี า : ร้านเวียงเหนอื ผ้าตนี จก

๔๓

สะเปาลอยนา้

เครอื ขอดาว ดอกเซีย
นกกินนา้ ร่วมต้น ลูกโซ่

รปู ภาพท่ี ๕๗ ลายดอกเซียหรอื ลายภูพงิ ค์
ทมี่ า : รา้ นเวยี งเหนือ ผา้ ตีนจก

๔๔

จดี อกมาโอ

เชิงคู่

รปู ภาพท่ี ๕๘ ลายจมี้ ะโอ
ทีม่ า : รา้ นเวียงเหนอื ผ้าตีนจก


Click to View FlipBook Version