The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ผ้าซิ่นตีนจก ( อำเภอลอง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khantarak, 2021-03-26 02:46:02

ผ้าซิ่นตีนจก ( อำเภอลอง)

ผ้าซิ่นตีนจก ( อำเภอลอง)

๔๕

ดอกผักแวน่

เชงิ ใบสน
รูปภาพที่ ๕๙ ลายดอกผกั แว่น
ทีม่ า : ร้านเวยี งเหนือ ผา้ ตนี จก

หงส์คู่ ๔๖
เชิงนกคู่
นกคู่
โกง้ เกง้ ซ้อนนก

รูปภาพที่ ๖๐ ลายนกกินนา้ ร่วมต้น
ทมี่ า : ร้านเวียงเหนือ ผา้ ตีนจก

๔๗

ดอกตะลอ่ ม นกกินน้ารว่ มตน้
ดอกดาว ขอลอ้ ม

เครอื ขอดาว เครอื สะเปา

รปู ภาพท่ี ๖๑ ลายขอลอ้ มดาว
ทม่ี า : ร้านเวยี งเหนอื ผา้ ตนี จก

๔๘

โกง้ เกง้ ซอ้ นนก

เชงิ สะเปา

รปู ภาพที่ ๖๒ ลายโกง้ เก้งซอ้ นนก
ท่มี า : รา้ นเวียงเหนือ ผา้ ตีนจก

ฟันเร่ือย ๔๙
เชิงสะเปา
นกกินนา้ รว่ มตน้
หงสค์ ู่

รูปภาพท่ี ๖๓ ลายเจยี งแสน
ท่มี า : รา้ นเวียงเหนือ ผา้ ตีนจก

๕๐

แมงมมุ หรอื แมงกา้ ป้งุ

งวงน้าคฟุ นั ปลา

รูปภาพท่ี ๖๔ ลายแมงกาปงุ้
ที่มา : ร้านเวียงเหนอื ผ้าตีนจก

๕๑

เขาวงกต

เชิงสะเปา

รูปภาพท่ี ๖๕ ลายเขาวงกรด
ที่มา : ร้านเวียงเหนือ ผา้ ตีนจก

๕๒

ลำยผำ้ ซ่ินตีนจกจำกศนู ย์กำรเรียนรผู้ ำ้ จกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑ์บ้ำนศลิ ปนิ แหง่ ชำต)ิ
ลายตอ่ มเครอื

ลายเครอื นกค้มุ ลายเครอื ก้างปลา
ลายดอกตอ่ ม

ลายขอคุหางสะเปา

ดอกต่อม

รปู ภาพที่ ๖๖ ลายตอ่ มเครอื
ท่มี า : ศนู ย์การเรียนรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บา้ นศิลปินแห่งชาติ)
ลายหลัก
๑. ลายดอกตอ่ ม ดอกต่อม หมายถึง กระดุม

ลาย ประกอบ

๑. ลายขอเครอื มาจากขอคุ คอื ตะขอทเ่ี กี่ยวถังน้า มีลกั ษณะเปน็ ตะขอวงกลมท่ีใช้เกี่ยวข้างถัง
นา้ ทั้งสองข้างเพื่อใชถ้ อื โดยในผา้ ลายขอเครือ คือ การลายขอทต่ี ่อกันยาวๆ เป็นเครือ

๒. ลายเครอื ก้างปลา ลกั ษณะของลายกา้ งปลามาจากก้างของปลาทผ่ี ู้ทอเห็นแล้วนามาทอเป็น
ลวดลายบนผา้

๓. ลายเครือนกคุม้ ลกั ษณะเป็นรปู แบบนกสองตัวหนั หนา้ เข้าหากันต่อกันเป็นเครือ
๔. ลายขอคหุ างสะเปาดอกต่อม มาจากขอคุ คือตะขอทเ่ี กยี่ วถังนา้ มีลกั ษณะเปน็ ตะขอวงกลม

ทใ่ี ชเ้ กยี่ วข้างถังนา้ ท้งั สองข้างเพอ่ื ใช้ถือหางสะเปาดอกต่อม ลายหางสะเปาดอกต่อม หาง
สะเปา คอื หางสาเภาหรอื สะเปา และ ดอกตอ่ ม หมายถึง กระดุม ลายสะเปาหาดอกต่อม
จึงมีลกั ษณะคลา้ ยกระดมุ ทรงส่เี หล่ยี มข้าวหลามตดั และมีหางสะเปาห้อยตอ่ ลงมา

ลายฟนั เล่ือย ๕๓
ลายฟันเลอื่ ย
ลายนกกินน้ารว่ ม

ตน้

ลายสะเปาหางสน

รปู ภาพที่ ๖๗ ลายฟันเลอ่ื ย
ที่มา : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑ์บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

ลายหลัก
๑. ลายฟนั เลอ่ื ย รปู แบบของลายมาจากใบเลื่อย ที่คนในท้องถ่ินที่ใช้ในการตัดหรือเล่ือย
ไม้ส่วนใหญ่ ลายฟันเล่ือยจะเปน็ ทีน่ ิยมของผ้ชู าย

ลายประกอบ
๑. ลายนกกินน้าร่วมต้น เป็นลายท่ีมีนกสองตัวหันหน้าเข้าหากัน เหมือนกาลังกินน้า
รว่ มกันเปน็ ลายที่แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสมัครสมานสามัคคี เปรียบเสมือนนกสองตัวกิน
น้าร่วมต้นเดยี วกนั
๒. ลายสะเปาหางสน รูปแบบของลวดลายจากใบของตน้ สน ผสมกับลายสะเปา

ลายหงสค์ ู่ กาบหมาก ๕๔
ลายกาบพรา้ วกาบ
ลายหงสค์ ู่กินน้า
ลายขอคหุ าง
รว่ มกนั
สะเปาดอกตอ่ ม
ลายขอคุหางสะเปาดอกต่อม

รปู ภาพท่ี ๖๘ ลายหงสค์ ู่ กาบหมาก
ทีม่ า : ศนู ย์การเรยี นรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ิธภัณฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

ลายหลัก
๑. ลายหงส์คกู่ ินนา้ ร่วมกนั คอื หงส์สองตัวหันหน้าเข้าหากันซึ่งหงส์มีการอยู่ร่วมกันเป็น
กลุ่มก้อน ซ่ึงแสดงได้ถึงการบ่งบอกถึงความสามัคคีของคนในชุมชนที่มีการทางาน
รวมกัน เหมอื นกบั หงส์ ท่ีร่วมกันกินน้ารว่ มกนั จากน้าต้น (คนโทใส่น้าด่ืม) ได้โดยไม่มี
ปญั หาการทะเลาะกนั
๒. ลายกาบพรา้ วกาบหมาก มาจากกาบของต้นมะพร้าวและกาบของต้นหมาก

ลายประกอบ

๑. ลายขอคุหางสะเปาดอกตอ่ ม ซึ่งขอคคุ ือตะขอถงั นา้ หางสะเปา คือ หางเรอื สาเภาและ
ดอกต่อม คือ กระดุม ดงั น้นั ลายขอคุหางสะเปาเป็นการผสมผสานของตะขอที่เก่ียว
หางสะเปายาวลงมาและดอกตะตอ่ มเปน้ ส่วนประกอบเรียงๆกันอยู่ขา้ งบน

ลายขามดแดงกาบหมาก ๕๕
ลายตนี มด
ลายสร้อยกาบ
สม้
หมาก
ลายหางสะเปาดอกต่อม

รปู ภาพที่ ๖๙ ลายขามดแดงกาบหมาก

ที่มา : ศูนย์การเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

ลายหลัก

๑. ลายตนี มดสม้ มาจากขาของมดแดงที่ช่างทอไดพ้ บเจอตามธรรมชาติ แล้วนามาทาเป็นลาย
ผ้าซิ่นตีนจก

๒. ลายสร้อยกาบหมาก กาบหมาก คอื กาบของต้นหมาก ส่วนคาว่า สร้อย คนในภาคเหนือจะ
เรยี กสง่ิ ท่ีตอ่ กันเปน็ เส้นยาวๆ วา่ สร้อย ดังน้ัน ลายสร้อยกาบหมากที่มีลักษณะต่อเรียกกัน
เปน็ เสน้ ยาวๆ

ลายประกอบ
1. ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม หางสะเปา คอื หางสาเภาหรอื สะเปา ส่วนคาว่า ดอกต่อม หมายถึง
กระดมุ ลายสะเปาหางดอกตอ่ มจงึ มีลกั ษณะคล้ายกระดุมสเ่ี หลยี่ มขนมเปยี กปูน

ลายหัวนาค ๕๖
ลายหัวนาค
ลายเครอื ดอกตะลอ่ ม
ลายหางสะเปาไขป่ ลา หางสะเปา ลายนกกินนา้ รว่ ม
ตน้

รปู ภาพท่ี ๗๐ ลายหัวนาค
ที่มา : ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑ์บา้ นศลิ ปินแห่งชาต)ิ
ลายหลกั
๑. ลายหัวนาค มาจากหวั ของพญานาค นามาทาลวดลายบนผืนผา้

ลายประกอบ

๑. ลายเครือดอกตะลอ่ ม ดอกตอ่ ม คือ กระดมุ ลายเครือดอกต่อม มีลักษณะเป็นส่ีเหลี่ยมข้าว
หลามเรียงตอ่ กัน

๒. ลายนกกินน้าร่วมตน้ ลักษณะเปน็ รูปนกสองตัวหันหนา้ เข้าหากัน กินนา้ ร่วมต้น คือ ลักษณะ
ของนกท้ังสองตวั เหมอื นกินนา้ ในคนโดด้วยกนั ทาให้เหน็ ถึงความสามคั คี

๓. ลายขอคุ มาจากขอคุ คอื ตะขอท่ีเกย่ี วกบั ถังน้า มลี กั ษณะเป็นตะขอวงกลมท่ีใช้เก่ียวข้างถัง
นา้

๔. ลายหางสะเปาไข่ปลา หางสะเปา หมายถึง หางเรือสาเภา,ไขป่ ลา หมายถงึ ลักษณะจากจก
ลายท่คี ลา้ ยจดุ ไข่ปลา จงึ เรยี กวา่ สะเปาไขป่ ลา

๕๗

ลายโคมชอ่ ตงุ น้อย

ลายโคม

ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม

หางสะปา

รูปภาพที่ ๗๑ ลายโคมช่อตงุ น้อย
ท่ีมา : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภัณฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)
ลายหลกั
๑. ลายโคม เปน็ ลายท่ีนามาจากวัฒนธรรมของชมุ ชนทต่ี อ้ งมกี ารถวายโคมไฟ และตุงเพื่อเป็น
พุทธบชุ าให้กบั พระพทุ ธศาสนาซงึ่ เปน้ ความเชือ่ โบราณทวี่ า่ หากไดม้ กี ารถวายของเหลา่ นแี้ ล้ว
จะไดบ้ ญุ ใหญ่ ซง่ึ โคมและตงุ ถอื ว่าเปน็ สง่ิ ทีเ่ ปน็ มงคลกบั ชีวติ ของคนในชมุ ชนเป็นอย่างมาก
จึงได้มกี ารจาลองนามาใสผ่ า้ ซนิ่ ตนี จก เพอ่ื ให้เกิดความเป็นสริ ิมงคลกบั ตวั เอง และผ้ทู อดว้ ย
ลายประกอบ
๑. ลายหางสะเปาขอ หางสะเปา คอื หางสาเภาหรือหางสะเปาส่วน ขอ คือ ตะขอดังนั้นลาย
หางสะเปาขอ จึงมีลักษณะโค้งเหมือนตะขอ ต่อด้วยดอกต่อมท่ีมีลักษณะสี่เหล่ียมข้าว
หลามตัด และมหี างสะเปาห้อยต่อลงมา ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม
๒. ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะปา หรือ หางสะเภาหรือสะเปาและดอกต่อม หมายถึง
กระดมุ ลายสะเปาหางดอกต่อมจงึ มีลกั ษณะคลา้ ยกระดุมทรงสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดและมี
หางสะเปาหอ้ ยตอ่ ลงมา

ลายกาแล นกคุ้ม ๕๘
ลายเครอื นกคมุ้
ลายนกค้มุ ในตนี มดสม้ สาเภา
ลายขอคุหาวสะเปาดอกต่อม
ลอยนา้

รูปภาพท่ี ๗๒ ลายกาแล นกคมุ้

ทม่ี า : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ

ลายหลัก

๑. ลายนกคุ้มในตนี มดสม้ สาเภาลอยนา้ นกคุ้มมาจากลักษณะของนกคุม้ ตนี มดส้มมาจากขามด
แดง สาเภาลอยน้า มาจากเรือสาเภาทลี่ อยน้า ดังน้นั ลายนกคุ้มในตีนมดส้มสาเภาลอยน้า
จึงเป็นลายทม่ี ลี กั ษณะผสมผสานของลายนกคุมที่ล้อมด้วยลายตีนมดส้ม และมีลายสะเปา
ลอยนา้ อยูต่ รงกลาง

ลายประกอบ

๑. ลายขอคุหาวสะเปาดอกต่อม มาจากขอคคุ อื ตะขอทเ่ี กย่ี วถังนา้ มีลักษณะเป็นตะขอวงกลม
ที่ใช้เกยี่ วข้างถังนา้ ทงั้ สองขา้ ง เพอ่ื ใชถ้ อื หางสะเปาดอกตอ่ ม ลายหางสะเปาดอกต่อม หาง
สะเปา คอื หางสาเภาหรือสะเปา และ ดอกต่อม หมายถงึ กระดมุ ลายสะเปาหางดอกต่อม
จึงมีลักษณะคลา้ ยกระดมุ ส่ีเหล่ียมข้าวหลามตดั และมีหางสะเปาหอ้ ยต่อลงมา

ลายเชียงแสนหงสด์ า ๕๙
ลายเข้ยี วหมาฟนั เล่อื ย
ลายหางสะเปา (ลายใหม)่ ลายหงสด์ า

รปู ภาพท่ี ๗๓ ลายเชียงแสนหงส์ดา

ทีม่ า : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาต)ิ

ลายหลัก

๑. ลายหงส์ดา หมายถึง หงสส์ ีดา มลี กั ษณะเปน็ หงสส์ ดี าและสว่ นหัวเป็นสีฟา้ หันหน้าเขา้ หากนั
สองตัวอยใู่ นสเ่ี หลยี มขา้ วหลามตัด

ลายประกอบ

๑. ลายน้าต้น หมายถึง คนโทใส่น้า จะมีลักษณะอยู่ระหว่างหงส์สองตัวท่ีหันหน้าเข้าหากัน
เปรยี บเสมือนคันโทโดยมีท้ังหมด ๕ โทดว้ ยกันอยู่ในสี่เหลีย่ มขา้ วหลามตดั รว่ มกับหงส์ดา

๒. ลายเข้ียวหมาฟันเลื่อย เขี้ยวหมา หมายถึง ฟันหมา, ฟันเลื่อย หมายถึง ชี่ของใบเลื่อย
มลี กั ษณะเปน็ สามเหลยี่ มขา้ วหลามตดั อยู่ ๆ หงส์ดา

๓. ลายหางสะเปา หมายถงึ หางสะเภา ท่ีเป็นลวดลายใหม่แตกต่างไปจากลวดลายเดิมตรงท่ี
ลวดลายใหมจ่ ะมลี ักษณะเปน็ สเ่ี หลย่ี มพ้ืนผา้ และมสี ามเหลยี่ มอยู่ขา้ งใน จะมีเป็นสีดา สีขาว
สคี รมี สีฟา้ และสีชมพคู ละสกี ัน ใหเ้ กิดความสวยงาม

ลายส้อยกาบหมาก ๖๐

ลายเครอื กาบหมาก

ลายหางสะเปา

ดอกตอ่ ม

รูปภาพท่ี ๗๔ ลายส้อยกาบหมาก
ทมี่ า : ศูนยก์ ารเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปนิ แห่งชาต)ิ
ลายหลัก
๑. ลายเครือกาบหมาก หมายถึง ดอกหมาก มีลักษณะเป็นลายดอกหมาก ท่ีอยู่ด้วยกันเป็น
เครอื หลาย ๆ เครือ
ลายประกอบ
๑. ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะเปา หมายถึง หางสาเภา, ดอกต่อม หมายถึง กระดุม
ลายหางสะเปาดอกต่อมจึงหมายถึงลายท่ีมีลักษณะท่ีเป็นหางสาเภาท่ีลอยในน้าและมี
ลกั ษณะคลา้ ยดอกตอ่ มทเี่ ปรียบเสมือนกระดุมทอต่อกนั จนเกอื บสดุ ตนี ซนิ่

๖๑

ลายกาบป้าวนกคมุ้

ลายนกคกู่ ินน้ารว่ ม ลายนกคมุ้ ในเครือกาบหมาก

ตน้

ลายขอคหุ างสะเปาไข่

ปลา

รปู ภาพที่ ๗๕ ลายกาบป้าวนกคุ้ม

ท่ีมา : ศูนย์การเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑบ์ า้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

ลายหลัก

๑. ลายนกคุ้มในเครอื กาบหมาก นกคมุ้ มาจากลักษณะของนกคุ้ม กาบหมาก คือ กาบของต้น
หมาก ดงั นน้ั ลายเครอื กาบหมาก คอื ลายกาบหมาก ท่ีมีลักษณะตอ่ กันเปน็ เครอื

ลายหลัก

๑. ลายนกคู่กนิ นา้ รว่ มต้น เป็นลายท่ีมีนกสองตัวหันหน้าเข้าหากันเหมือนกาลังกินน้าร่วมกัน
เป็นลายที่แสดงให้เหน็ ถงึ ความสมคั รสมานสามัคคี เปรียบเสมือนนกสองตัวกินนา้ ร่วมกนั

๒. ลายขอคุหางสะเปาไขป่ ลา ขอคุ มาจากตะขอทเ่ี ก่ียวถังน้า มีลักษณะเป็นตะขอวงกลมที่ใช้
เก่ียวข้างถงั น้า ทัง้ สองขา้ ง เพ่ือใช้ถอื หางสะเปา คอื หางสาเภาหรือหางสะเปา ไข่ปลา คือ
ลักษณะจดุ ไข่ปลา ดังนั้นลายขอคหุ างสะเปาไขป่ ลามลี กั ษณะเหมือนตะขอของถงั นา้ ต่อด้วย
ลายหางสะเปาทมี่ ลี ักษณะลายเปน็ จดุ ไข่ปลา

ลายบงุ้ เลน ๖๒
ลายนกกินนา้ ร่วมต้น
ลายแมงบุ้งเลน

ลายขอคุ
ลายหางสะเปาดอกตอ่ มหาง

สะเปา

รูปภาพท่ี ๗๖ ลายบุง้ เลน
ท่ีมา : ศูนย์การเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภัณฑ์บ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)
ลายหลกั
๑. ลายแมงบงุ้ เลน มาจากสตั วต์ ามธรรมชาติ คอื หนอนบ้งุ ท่ีมีขนปยุ สีดา
ลายประกอบ
๑. ลายนกกินน้าร่วมต้น คอื การท่นี กสองตัวหนั หนา้ เขา้ หากนั
๒. ลายขอคุ ขอคุ คอื ตะขอถงั น้า
๓. ลายหางสะเปาดอกตอ่ มหางสะเปา คือ หางเรอื สาเภาและดอกตอ่ ม คอื กระดมุ ดังน้ัน ลาย
ประกอบทั้งสามนี้ มนี กสองตวั หนั หนา้ เข้าหากันแลว้ ยังมคี อคุหางสะเปาเป็นตะขอเก่ียวยาว
ลงและมดี อกต่อมเป็นสว่ นประกอบเรียงต่อ ๆ กันอยขู่ า้ งบน

๖๓

ลายขอใหญเ่ ข้ียวหมา

ลายเขย้ี วหมา ลายผสมใหม่
ลายนกคู่กนิ น้ารว่ มตน้

ลายสะเปาหาง

สน

รูปภาพท่ี ๗๗ ลายขอใหญเ่ ขย้ี วหมา
ทมี่ า : ศนู ย์การเรยี นรผู้ า้ จกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาติ)
ลายหลกั
๑. ลายนกค่กู ินน้ารว่ มตน้ มาจากนกสองตวั หันหนา้ เขา้ หากัน
๒. ลายเขยี้ วหมา เขย้ี วหมา คือ ฟนั หมา ดงั นน้ั นกคูส่ องตวั ทห่ี ันหนา้ เขา้ หากัน จะถกู ล้อมรอบ
ดว้ ยฟันหมาทงั้ หมด
ลายประกอบ
๑. ลายสะเปาหางสน สะเปา คือ หางสาเภาและสน คือ ใบสน ดังนั้น รูปแบบของลวดลายมา
จากใบของตน้ สนผสมกบั ลายหางสะเปา

ลายดอกจนั ทรแ์ ปดกลีบ ๖๔
ลายงหู อ้ ย
ลายดอกจนั ทร์แปด
ซา้ ว
กลบี
ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม

รูปภาพท่ี ๗๘ ลายดอกจนั ทร์แปดกลบี

ท่ีมา : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ิธภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปนิ แห่งชาติ)

ลายหลัก

๑. ลายดอกจันทรแ์ ปดกลบี หมายถึง ดอกของตน้ จัน มลี กั ษณะเปน็ ดอกจนั ทอ่ี ยู่ในสเี่ หล่ยี มขา้ ว
หลามตัด ประกอบไปด้วยสองดอก ดอกหนึง่ มี ๘ กลบี ด้วยกัน

ลายประกอบ

๑. ลายงูห้อยซ้าว หมายถึง งูท่ีพันอยู่กับไม้สอยผลไม้ จากการพบเห็นของคนในท้องถ่ินแล้ว
นามาทอเป็นลาย ประกอบตกแต่ง

๒. ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะเปา หมายถึง หางสาเภา ดอกต่อม หมายถึง กระดุม
มีลักษณะลายหางสะเปาดอกตอ่ มจงึ มีลกั ษณะคล้ายกระดมุ ทรงสเ่ี หลย่ี มขนมเปียกปนู ท่หี อ้ ย
ลงมาต่อจากลายงูห้อยซา้ วจนเกอื บสุดตนี ซ่ิน

ลายสาเภาลอยนา้ หวั นาค ๖๕
ลายเครอื กาบหมากงหู ้อยสา้ ว
ลายสาเภาลอยนา้
ลายหางสะเปาดอกต่อม

ลายหางสะเปาขอ

รูปภาพท่ี ๗๙ ลายสาเภาลอยนา้ หัวนาค

ท่ีมา : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

ลายหลัก

๑. ลายสาเภาลอยนา้ มาจาก เรือสาเภาลอบน้า ลักษณะของลายสาเภาลอยนา้
๒. ลายเครือกาบหมากงูหอ้ ยส้าว ลายเครือกาบหมาก มาจากกาบของต้นหมาก ในภาคเหนือ

คาว่า เครอื เปน็ คาที่ใช้อธิบายลกั ษณะของสิ่งใดสิ่งหน่ึงท่ีมีลักษณะต่อฟันกันเหมือนเถาไม้
ยาว และงูห้อยส้าว มาจากงที่พันกับไม้ส้าว มาจากงูที่พันกับไม้สอยผลไม้ท่ีช่างทอ
สงั เกตเห็นในธรรมชาติแล้วนามาเป็นลวดลาย ดังน้ัน ลายเครือกาบหมากงูห้อยส้าว จึงมี
ลกั ษณะที่ผสมผสานท้งั ลายเครอื กาบหมากและลายงหู ้อยสา้ วเปน้ เครือตอ่ กนั ยาว

ลายประกอบ

๑. ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะเปา คือ หางสาเภาหรือสะเปา ส่วนคาว่า ดอกต่อม
หมายถึง กระดมุ ลายสะเปาหางดอกต่อม มลี ักษณะคลา้ ยกระดมุ ทรงส่เี หลีย่ มขนมเปียกปูน
ท่ีหอ้ ยลงมา

๒. ลายหางสะเปาขอ หางสะเปา คือ หางสาเภาหรอื สะเปาส่วน ขอ คือ ตะขอ ดังนั้นลายหาง
สะเปาขอ จงึ มลี ักษณะโคง้ เหมอื นตะขอ ตอ่ ด้วยดอกต่อมท่มี ีลักษณะเป็นสเี่ หลย่ี มขา้ วหลาม
ตดั มหี างสะเปาห้อยต่อลงมา

๖๖

ลายขามดแดง

ลายขามดแดง

ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม

รปู ภาพที่ ๘๐ ลายขามดแดง

ทมี่ า : ศนู ย์การเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาต)ิ

ลายหลกั

1. ลายขามดแดง มีลกั ษณะเปรยี บเหมือนขามดแดงทอี่ ยู่ในสเ่ี หลี่ยมข้าวหลามตดั สงั เกตไดจ้ าก
ขามดแดงจะมลี กั ษณะเหมอื นตวั อกั ษรภาษาอังกฤษ W

ลายประกอบ

1. ลายนกกนิ น้ารว่ มต้น หมายถงึ เปน็ ลายท่มี ีนกสองตัวหนั หนา้ เข้าหากัน เหมือนกาลังกินน้า
ร่วมกันเปน็ ลายท่แี สดงใหเ้ ห็นถึงความสมคั รสมานสามคั คีเปรียบเสมอื นนกสองตวั กินนา้ รว่ ม
ต้นเดียวกัน

2. ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม หางสะเปา หมายถงึ หางสาเภา, ดอกตอ่ ม หมายถงึ กรดุม ลาย
หางสะเปาดอกต่อมจึงมลี กั ษณะคลา้ ยกระดมุ ทรงส่เี หลี่ยมขนมเปียกปูนทหี่ อ้ ยลงมาตอ่ จาก
ลายงชู ้าวจนเกือบสดุ ตีนซิน่

ลายผกั กูด ๖๗
ลายขอคุ (แบบใหม)่
ลายนกกินน้ารว่ มต้นในขอผักกดู ลายเครอื กาบหมาก
ลายขอผักกดู
ลายหางสะเปาดอกต่อม

รูปภาพท่ี ๘๑ ลายผักกูด

ท่มี า : ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาติ)

ลายหลัก

1. ลายนกกนิ น้ารว่ มต้นในขอผกั กูด เปน็ การผสมผสานของลายที่มาจากมลี ายนกกินนา้ รว่ มต้น
ท่ีอย่กู ลาง

2. ลายขอผกั กดู ซ่งึ ลายขอผกั กดู คาวา่ ขอ หมายถงึ ตะขอ และผกั กดู มาจากลกั ษณะของใบ
ผกั กดู ลายขอผักกูดจึงเป็นการผสมผสานของลายทม่ี ลี กั ษณะเปน็ ใบผักกดู กับตะขอ

ลายประกอบ

1. ลายเครือกาบหมาก มาจากกาบของต้นหมาก นาคเหนือ คาว่า เครือเป็นคาที่ใช้อธิบาย
ลักษณะของส่งิ ใดส่งิ หน่งึ ที่มลี ักษณะต่อพนั กนั เหมอื นเถาไม้ยาวๆ ดงั น้ันลายเครอื กาบหมาก
จงึ เป็นลายที่มีลกั ษณะเปน็ กาบของตน้ หมากทีพ่ ันตอ่ กนั เปน็ เถายาวๆ

2. ลายขอคุ มาจากตะขอท่ีเก่ียวถังน้ามีลักษณะเป็นตะขอวงกลมที่ใช้เกี่ยวข้างถังน้า ทั้งสอง
ข้าง เพือ่ ถือ

3. ลายหางสะเปาดอกต่อม ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะเปา คือ หางสาเภาหรือสะเปา
ส่วนคาว่าดอกต่อม หมายถึง กระดุมลายสะเปาหางดอกต่อมจงึ มีลักษณะคล้ายกระดุมทรง
ส่เี หลย่ี มขนมเปยี กปนู

ลายขันดอก ๖๘
ลายหงส์คซู่ อ้ นนก ขนั ดอก
ลายหงสค์ ซู่ อ้ นนก

ลายขอคุ

หางสะเปาไข่ปลา

ลายหางสะเปานก

ลายหางสะเปาตอ่ ม

รูปภาพที่ ๘๒ ลายขนั ดอก

ทีม่ า : ศูนย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)

ลายหลัก

1. ลายขันดอก มาจากขนั ใสข่ องดอกไมท้ ่ีอยู่วัด

ลายประกอบ

1. ลายหงส์คู่ซ้อนนก คอื หงส์ทมี่ นี กซ้อนอย่ใู นลายเดียวกนั
2. ลายนกกินนา้ ร่วมตน้ ลกั ษณะเป็นรูปนกสองตัวหนั หนา้ เข้าหากนั กนิ น้ารว่ มตน้ คอื ลักษณะ

ของนกทั้งสองตัวเหมือนกาลงั กนิ น้าในโทนา้ ดว้ ยกันทาให้เห็นถึงความสามคั คี
3. ลายขอคุ มาจากขอคุ คอื ตะขอที่เกยี่ วกับถงั นา้ มลี ักษณะเป็นตะขอวงกลมที่ใช้เกี่ยวข้างถัง

นา้
4. ลายหางสะเปานก หางสะเปา หมายถงึ หางเรือสาเภา นก หมายถงึ นกคุ้ม
5. ลายหางสะเปาไข่ปลา หางสะเปา หมายถึง หางเรือสาเภา ไขป่ ลา หมายถึง ลักษณะจากจก

ลายทค่ี ลา้ ยจุดไขป่ ลา จงึ เรียกวา่ สะเปาหางไข่ปลา
6. ลายหางสะเปาต่อม หางสะเปา หมายถึง หางเรือสาเภา และดอกต่อม หมายถึง กระดุม

ลายสะเปาหางดอกตอ่ มจึงมลี กั ษณะคลา้ ยกระดุมทรงสเ่ี หล่ียมขา้ วหลามตดั แลมีหางสะเปา
ห้อยตอ่ ลงมา

๖๙

ลายกาแล
ลายกาแล

ลายขอผกั กูด

ลายหางสะเปาดอกต่อม

รูปภาพท่ี ๘๓ ลายกาแล

ทมี่ า : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปินแห่งชาต)ิ

ลายหลกั

1. ลายกาแล ลักษณะของกาแลของเรือนไทยในภาคเหนือ กาแล คือ ช่ือส่วนประดับอยู่บน
หลงั คาเรือน มีลักษณะเป็นไม้แบบเหลีย่ มแกะสลัก โดยไขว้ตดิ กนั

ลายประกอบ

1. ลายขอผกั กดู คาวา่ ขอ หมายถึง ตะขอ และผกั กูด มาจากลักษณะองใบผักกดู ลายขอผักกดู
จึงเปน็ การผสมผสานของลายท่มี ลี ักษณะเปน็ ใบผักกูดกับตะขอ

2. ลายหางสะเปาดอกต่อม มาจากหางสะเปา คอื หางสาเภาหรือสะเปา ส่วนคาว่า ดอกต่อม
หมายถงึ กระดุม

ลายสาเภาลอยนา้ ๗๐
ลายจนั ทร์แปดกลบี
ลายนกกนิ นา้ ร่วมตน้

ลายขอคุหางสะเปา

รปู ภาพท่ี ๘๔ ลายสาเภาลอยน้า

ท่ีมา : ศนู ยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ธิ ภณั ฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ

ลายหลัก

๑. ลายสะเปาลอยน้า สะเปาหรือสาเภาท่สี ามารถลอยน้า หรือเคร่ืองสักการะทางน้า ทาทาน
ใหก้ ับผทู้ ล่ี ว่ งลบั ตามความเชือ่ ของล้านนา

๒. ลายนกกนิ น้ารว่ มตน้ นกกินนา้ ร่วมตน้ มาจากลักษณะธรรมชาติของทอ้ งถ่ินท่ีมีนกอาศัยอยู่
เป็นจานวนมากมักมีการมีการอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อน ซ่ึงแสดงได้ถึงการบ่งบอกถึงความ
สามัคคกี นั ของคนในชุมชนทมี่ กี ารทางนรวมกนั เหมอื นกบั นกทร่ี ่วมกันกินนา้ ร่วมกันจากน้า
ต้น ได้โดยไมม่ ีปญั หาการกทะเลาะกัน

ลายประกอบ

1. ลายจนั ทรแ์ ปดกลบี จันทร์แปดกลีบหรือโป๊ยกั๊ก เปน็ พืชตระกูลดอกไม้ และยังเปน็ สมุนไพร
(โป๊ย แปลว่า "แปด" ส่วน กั๊ก แปลว่า "แฉก") ซึ่งสามารถนาดอกไม้ ชนิดน้ีมาทาเป็น
ลวดลายในผา้ ซิ่นตีนจก

2. ลายขอคหุ างสะเปา ขอคุ คือ ตะขอถังน้า หางสะเปา คอื หางเรอื สาเภา ดังน้ัน ลายขอคุ
หางสะเปา เป็นการผสมผสานของตะขอที่เกี่ยวหา่ งสะเปายาวลงมา

ลายงูหอ้ ยส้าว ๗๑

ลายเครอื นกคุม้ ลายงหู อ้ ยส้าว
ลายสะเปาลอย ลายขอคุหางสะเปาดอกตอ่ ม

รูปภาพที่ ๘๕ ลายงหู อ้ ยส้าว

ทมี่ า : ศูนย์การเรียนรผู้ า้ จกเมืองลอง (พิพิธภัณฑ์บ้านศลิ ปนิ แห่งชาต)ิ

ลายหลัก

1. ลายงูหอ้ ยส้าว มาจากการสังเกตของช่างทอท่ีเห็นงูที่พันกับไม้สอยผลไม้ จึงนามาทอเป็น
ลวดลายบนผ้า

2. ลายสะเปาลอย มาจากสะเปาหรอื สาเภาที่ลอยอยใู่ นน้า

ลายประกอบ

1. ลายเครอื นกค้มุ ลักษณะเปน็ รูปนกสองตัวตวั หนั หน้าเข้าหากันตอ่ กนั เป็นเครอื
2. ลายขอคุหางสะเปาดอกต่อม มาจากขอคุ คือตะขอท่ีเก่ียวกับถังน้า มีลักษณะเป็นตะขอ

วงกลมที่ใชเ้ ก่ยี วขา้ งถงั น้า ท้ังสองข้างเพ่ือใช้ถือ หางสะเปาดอกต่อม ลายหางสะเปาดอก
ต่อม หางสะเปา คือ หางสาเภาหรือสะเปา และดอกต่อม หมายถึง กระดุม ลายสะเปาหาง
ดอกตอ่ ม จึงมลี กั ษณะคล้ายกระดมุ ทรงส่เี หลยี่ มข้าวหลามตัดและมีหางสะเปาหอ้ ยลงมา

๗๒

ลายผกั แว่น

ลายผักแวน่

ลายขอคุหางสะเปาดอกต่อม

รูปภาพท่ี ๘๖ ลายผักแว่น
ท่มี า : ศูนย์การเรยี นรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นศลิ ปินแห่งชาต)ิ

ลายหลกั
1. ลายผักแว่น คือ ต้นกาเนิดลายมาจากพืช ดอกเล็กๆออกดอกสวยงามตามลาน้า เป็นผักที่
รบั ประทานไดร้ สชาติอรอ่ ย ด้วยความผูกผนั จงึ นาดอกผักแวน่ มาสร้างเป็นลายของผา้ ซน่ิ ตนี จก

ลายประกอบ
1. ลายขอคุหางสะเปาดอกต่อม ซ่ึงขอคุ คือ ตะขอถังน้า หางสะเปา คือหางเรือสาและดอก
ตอ่ ม คอื กรดมุ ดังน้ัน ลายขอคุหางสะเปาเป็นการผสมผสานของตะขอท่ีเก่ียวหางสะเปา
ยาวลงมาและมดี อกตอ่ มเปน็ สว่ นปรกอบเรียงตอ่ ๆกันอยขู่ า้ งบน

๗๓

ลายนกนอน

ลายนกแยงเงา

ลายขอคหุ างสะเปาดอกตอ่ ม

รปู ภาพท่ี ๘๗ ลายนกนอน

ทม่ี า : ศนู ย์การเรียนรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพิธภณั ฑ์บ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ

ลายหลกั

1. ลายนกแยงเงา ซงึ่ จะอยู่ในสเี่ หลีย่ มทรงข้าวหลามตัด หรอื เรยี กอกี อย่าวา่ นกสอ่ งกระจก

ลายประกอบ

๑. ลายขอคุหางสะเปาดอกต่อม ซ่ึงขอคุ คือ ตะขอถังน้า หางสะเปา คือหางเรือสาและดอก
ต่อม คอื กรดมุ ดังนนั้ ลายขอคุหางสะเปาเป็นการผสมผสานของตะขอท่ีเก่ียวหางสะเปา
ยาวลงมาและมีดอกต่อมเปน็ ส่วนประกอบเรยี งต่อๆกนั อย่ขู ้างบน

ลายขอกญุ แจ ๗๔
ลายเครอื ดอกต่อม
ลายขอกญุ แจ
ลายขอคุหางสะเปา

รปู ภาพที่ ๘๘ ลายขอกญุ แจ

ท่มี า : ศูนย์การเรียนรผู้ า้ จกเมอื งลอง (พิพธิ ภัณฑบ์ ้านศลิ ปินแหง่ ชาติ)

ลายหลัก

1. ลายขอกุญแจ ในรูปสเี่ หลย่ี มข้ามหลามตัดบนผา้ ซ่ินตรงกลางจะมีลวดลายที่เป็นทรงตะขอ
อยู่ คอื ขอกญุ แจ

2. ลายเครอื ดอกตอ่ ม คือ กรดมุ จานวน 4 เม็ดท่อี ยู่ในรปู ทรงสเ่ี หลี่ยมขา้ วหลามตดั

ลายประกอบ

1. ลายขอคุหางสะเปา ขอคุ คือ ตะขอถังน้า หางสะเปา คือ หางเรือสาเภา ดังน้ัน ลายขอคุ
หางสะเปาเปน็ การผสมผสานของตะขอทเ่ี ก่ียวหางสะเปายาวลงมา

๗๕

ลายหงส์ค่กู นิ น้าร่วมต้น

ลายนกกินน้าร่วมต้น ลายหงสค์ ู่ซอ้ นนก

ลายขอคุ
ลายหางสะเปาไข่ปลา
ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม

รปู ภาพที่ ๘๙ ลายหงสค์ กู่ ินน้ารว่ มตน้

ที่มา : ศูนย์การเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพิธภณั ฑบ์ ้านศลิ ปนิ แหง่ ชาติ)

ลายหลกั

1. ลายหงสค์ ู่ซ้อนนกกนิ ร่วมตน้ คอื หงส์ท่ีมนี กซอ้ นอยู่ในลายเดยี วกัน

ลายประกอบ

1. ลายนกกินน้าร่วมตน้ ลักษณะเปน็ รูปนกสองตัวหันหนา้ เข้าหากนั กินนา้ ร่วมตน้ คอื ลักษณะ
ของนกท้ังสองตวั เหมือนกาลังกินน้าในน้าโทนา้ ด้วยกัน ทาให้เห็นถึงความสามัคคี

2. ลายขอคุ มาจากขอคุ คือตะขอที่เกี่ยวกบั ถังนา้ มีลกั ษณะเปน็ ตะขอวงกลมทีใ่ ชเ้ ก่ียวข้างถังน้า
3. ลายหางสะเปาไข่ปลา หางสะเปา หมายถงึ หางเรือสาเภา,ไขป่ ลา หมายถึง ลักษณะจากจก

ลายที่คลา้ ยจดุ ไขป่ ลา จึงเรยี กว่าสะเปาไขห่ างปลา
4. ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะเปา คือ หางสาเภาหรือสะเปา และ ดอกต่อม หมายถึง

กระดุม ลายสะเปาหางดอกต่อมจงึ มีลักษณะคล้ายกระดุมทรงส่ีเหลี่ยมข้าวหลามตัดและมี
หางสะเปาหอ้ ยต่อลงมา

ลายนกกินนา้ ร่วมตน้ หวั นาค ๗๖
ลายโก้งเกง้ ซ้อนนก
ลายนกกนิ น้าร่วมตน้ หัวนาค
ลายขอคุ
ลายหางสะเปาดอกตอ่ ม

รปู ภาพที่ ๙๐ ลายนกกนิ นา้ รว่ มตน้ หัวนาค

ท่มี า : ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พพิ ิธภัณฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

ลายหลัก

1. ลายนกกินน้าร่วมตน้ หัวนาค ลักษณะเป็นรูปนกสองตวั หันหน้าเข้าหากันกินน้าร่วมต้น คือ
ลกั ษณะของนกทงั้ สองตัวเหมือนกาลังกินนา้ ในคนโทน้าดว้ ยกัน ทาให้เห็นถึงความสามัคคี
สว่ นหวั นาค มาจากหวั ของพญานาค

2. ลายโกง้ เก้งซ้อนนก โก้งเก้งมาจากไม้โก้งเก้งท่ีเป็นเคร่ืองเล่นพ้ืนบ้านของคนในภาคเหนือ
ลายโกง้ เกง้ ซ้อนนกเป็นลกั ษณะทมี่ ีการปรกอบกันของลายโกง้ เก้งกับลายนกคุ้มซอ้ นกัน

ลายประกอบ

1. ลายขอคุ มาจากขอคุ คอื ตะขอท่เี กย่ี วกบั ถงั น้า มีลักษณะเปน็ ตะขอวงกลมท่ใี ช้เกยี่ วขา้ งถงั นา้
2. ลายหางสะเปาดอกต่อม หางสะเปา คือ หางสาเภาหรือสะเปา และ ดอกต่อม หมายถึง

กระดุม ลายสะเปาหางดอกตอ่ มจึงมลี ักษณะคล้ายกระดุมทรงส่ีเหล่ียมข้าวหลามตัดและมี
หางสะเปาห้อยต่อลงมา

๗๗

รูปภาพที่ ๙๑ ศึกษาขอ้ มูลผา้ ซ่ินตีนจก ศนู ย์การเรยี นรู้ผ้าจกเมืองลอง (พพิ ธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปนิ แหง่ ชาต)ิ
ผู้สัมภาษณ์ นาวสาววลยั พร ขันทะรกั ษแ์ ละนางสาวนายา จันทร์วิเชียร
ผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ นางประนอม ทาแปง ศลิ ปินแห่งชาติ

รูปภาพที่ ๙๒ ศึกษาขอ้ มูลผ้าซน่ิ ตนี จก ศนู ยก์ ารเรยี นรผู้ ้าจกเมอื งลอง (พิพธิ ภัณฑ์บ้านศิลปินแหง่ ชาต)ิ
ผูส้ มั ภาษณ์ นาวสาววลยั พร ขนั ทะรกั ษ์และนางสาวนายา จันทรว์ เิ ชยี ร
ผู้ใหส้ มั ภาษณ์ นางประนอม ทาแปง ศลิ ปินแหง่ ชาติ

๗๘

พิพิธภัณฑ์โกมลผำ้ โบรำณ
พิพิธภัณฑ์โกมลผ้าโบราณ ริเริ่มโดยนายโกมล พานิชพันธ์ นักสะสมผ้าโบราณชาวอาเภอลอง ซ่ึงได้

สะสมผา้ โบราณชนิดตา่ งๆของ "เมอื งลอง" และผ้าโบราณของชุมชนใกล้เคียง จนกระทัง่ รว่ มมอื กบั ศนู ย์การศกึ ษา
นอกโรงเรียนจังหวัดแพร่ จัดตั้งศูนย์เทคโนโลยีพื้นบ้านสาขาส่ิงทอ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชนิ ีนาถ ในวโรกาสทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ เม่ือปี พ.ศ.2535 จากนั้นจึงได้เปิดเป็น
พพิ ิธภัณฑโ์ กมลผา้ โบราณให้บุคคลทั่วไปชมเมื่อวันท่ี 12 สงิ หาคม พ.ศ.2535
พพิ ธิ ภณั ฑโ์ กมลผำ้ โบรำณ แบง่ กำรจดั แสดงออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

สว่ นที่ 1 ว่าดว้ ยเรื่องจติ รกรรมเวยี งตา้ งานจติ รกรรมสีฝุ่นบนแผ่นไม้หลายแผ่นท่ีประกอบเป็นฝาผนัง
ของช่างพ้ืนบ้านในอดีต เดิมอยใู่ นวัดตา้ ม่อน อาเภอลอง จงั หวัดแพร่ ปัจจบุ นั ผาติกรรมไปเก็บไว้ท่ีไร่แม่ฟ้าหลวง
จังหวดั เชียงราย ลักษณะของภาพเขยี นเปน็ รูปแบบงานจติ รกรรมของสกุลช่างศิลป์เมืองน่าน แสดงถึงการแต่ง
กายของสตรี "เมอื งลอง" อยา่ งชดั เจน

รูปภาพท่ี ๙๓ ภาพจติ กรรมสีฝุ่นบนแผน่ ไมห้ ลายแผน่ ท่ปี ระกอบเปน้ ฝาผนงั ของชา่ งพ้นื บ้านในอดตี

รปู ภาพที่ ๙๔ ภาพจิตกรรมสฝี นุ่ บนแผ่นไมห้ ลายแผ่น ท่ีประกอบเป้นฝาผนงั ของชา่ งพื้นบ้านใน

๗๙

สว่ นที่ 2 ผา้ โบราณเมืองลอง จัดแสดงผา้ ซิน่ ตนี จกของกล่มุ ไทโยนก "เมืองลอง" ท่ีมีลวดลายเหมือนกับ
ภาพเขียนจิตรกรรมเวียงต้า ประวัติศาสตร์การทอผ้าจกของเมืองลอง ซ่ึงไม่สามารถจะหาหลักฐานอ้างอิง
ชัดเจนได้ นอกจากตานานการทอผ้าจากคนโบราณไดเ้ ล่าขานตอ่ มาว่า แม่น้ายมท่ไี หลผา่ นเมอื งลองในอดีต มีถ้า
อยู่ใต้นา้ เรยี กว่า วงั นา้ (อยู่แถวตาบลปากกาง) ไปถึงแหลมลี่ มคี นนา้ คนหนง่ึ ซึ่งชาวบา้ นเรยี กว่า "เงือก" ขึน้ มายืม
ฟืมทอผ้า (อปุ กรณ์ทอผา้ ทาดว้ ยไม้) เม่อื ทอผา้ เสรจ็ ไดม้ ีการเฉลมิ ฉลองด้วยการบรรเลงดนตรี แล้วเงือกก็เอาฟืม
มาคนื ชาวบา้ น ชาวบ้านสงั เกตเห็นลวดลายบนหัวฟืมทม่ี สี ีสลบั กันสวยงาม ชาวบ้านลองจึงเอาฟืมท่ีมีลายทอผ้า
มาต่อเน่อื งจนเกิดเปน็ ตนี ซิน่ เรยี กว่า "ซ่ินตนี จก" ทเ่ี ห็นกันในปัจจุบนั

รปู ภาพที่ ๙๕ ตวั อย่างผ้าซนิ่ ตนี จกของแตล่ ะจงั หวดั

รปู ภาพท่ี ๙๖ ศกึ ษาผ้าโบราณ ๒๐๐ ปี

๘๐

สว่ นท่ี 3 จัดแสดงผ้าซนิ่ ตนี จกจากแหล่งต่างๆ เพ่อื ทจ่ี ะใหเ้ กิดการพฒั นาของชมุ ชน ทางพพิ ิธภัณฑ์ได้
จดั แสดงผา้ จกจากแหลง่ ตา่ งๆในเชิงเปรียบเทียบ เพอื่ ใหค้ นในทอ้ งถิน่ ได้รแู้ ละเห็นถงึ ความแตกต่างกนั ของผา้ ตนี
จกจากแหลง่ อืน่ ๆ เชน่ ตนี จกแม่แจม่ , ตนี จกไหล่หิน , ตีนจกนาน้อย ตนี จกหาดเส้ียว , ตีนจกราชบรุ ี , ตนี จก
ลาวคร่ัง เปน็ ต้น

รูปภาพท่ี ๙๗ ผ้ากลมุ่ ไทพวนหรอื ลาวพวน

รูปภาพท่ี ๙๘ ผ้าซิ่นตีนจกโบราณเมอื งลอง ประมาณปี พ.ศ. ๒๓๑๐

๘๑

ส่วนที่ 4 แสดงวิธีการเกบ็ ผ้าโบราณ โดยอาศยั ภมู ิปญั ญาของคนโบราณทที่ าใหผ้ า้ สามารถอยู่ได้นานกวา่
200 ปี

ตวั ซิ่นตา๋ หมู่

ลายหลกั หมา่ โอในเครือดอกตอ่ ม

หางสะเปา ขอนา้ คุ เครอื ดอก
ต่อม

รูปภาพท่ี ๙๙ ผ้าซนิ่ ลาย จีห๋ มา่ โอในเครอื ดอกตอ่ ม

ตวั ซ่นิ ตา๋ หมู่

ลายประกอบ โกง้ เกง้ นกแยงเงา ลายหลกั สะเปาลอย
หางสะเปา ขอนา้ คุ เครอื ดอกต่อมไข่ปลา

รปู ภาพที่ ๑๐๐ ผ้าซิ่นลาย สะเปาลอย

ตัวซิ่นตา๋ หมู่ ๘๒
ลายประกอบ 1 บวั คว่าบวั หงาย
ลายประกอบ 2 นกคมุ้ ,ขอขนั ดอก
หางสะเปาขอนา้ คุ

รปู ภาพที่ ๑๐๑ ลายสะเปาลอย

รปู ภาพที่ ๑๐๒ ซนิ่ เชียงแสน

๘๓

รูปภาพท่ี ๑๐๓ พญาซิน่ เปน็ ผ้าซ่ินตระกลู เชียงแสน โดยใชเ่ ทคนคิ การท้อข้ันสงู มีเทคนคิ จก ยก ขดี และมัดหมี่
โดยใช้วสั ดุ เส้นไหมและฝ้าย

รปู ภาพที่ ๑๐๔ ศกึ ษาขอ้ มูลผา้ ซ่นิ ตนี จก พิพธิ ภัณฑท์ ้องถ่นิ โกมลผ้าโบราณ
ผู้สมั ภาษณ์ นาวสาววลัยพร ขนั ทะรักษ์และนางสาวนายา จันทร์วเิ ชียร
ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ นายโกมล พานิชพนั ธ์

๘๔

เมอื งลอง เป็นชุมชนโบราณ เปน็ อาเภอหนึ่งของจงั หวดั แพร่ เมืองลองในอดีตเป็นเมืองหน้าด่านสาคัญ
เมืองหนึง่ ของทิศใต้ของอาณาจักรล้านนา มีชาวไทยวนและชาวโยนก เป็นกลุ่มชนหน่ึงท่ีตั้งถ่ินท่ีอยู่อาศัยที่เมือง
ลอง ชาวไทยยวนเป็นกลมุ่ ชนท่ีมวี ฒั นธรรมตา่ ง ๆ รวมทงั้ ดา้ นการแต่งกายเป็นแบบเดียวกับชาวไทยวนหรือชาว
โยนกในอาณาจกั รลา้ นนาโดยทว่ั ไป การทอผ้าจกกถ็ อื เป็นเอกลักษณ์ของวัฒนธรรมร่วมของกลุ่มชนที่มีเช้ือสาย
ไทยวนโยนก ทส่ี บื ต่อกนั มาอยา่ งยาวนานผหู้ ญิงชาวไทยวนมีความสามารถในการทอผ้า เมื่อมีการอพยพต้ังถิ่น
ฐานอยู่ท่ีใดก็ได้นาภูมิปัญญาศิลปะการทอผ้าจกที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของชาวไทยวนเมืองเชียงแสนที่มีอยู่ใน
สายเลือดติดตัวมาด้วย ดังเช่น กลุ่มไทยวนท่ีเมืองลอง ก็ได้มีการสืบทอดวัฒนธรรมการทอผ้าจก โดยเฉพาะ
ผ้าซิ่นตีนจก ท่ีแสดงถึงเอกลักษณ์ทางศิลปวัฒนธรรมของชาวไทยวนมาอย่างยาวนาน จนทาให้ผ้าตีนจก
ทอี่ าเภอลอง เป็นผา้ ทอทม่ี ีชอ่ื เสียงเปน็ ทร่ี ้จู กั แพรห่ ลาย ของจงั หวัดแพรม่ าจนถงึ ปัจจุบนั

๘๕

ประวตั ิสว่ นตัว

วนั เดือน ปี เกดิ วนั พธุ ที่ ๒๖ เดอื น ธนั วาคม พ.ศ.๒๔๙๔
ภูมลิ ำเนำ
ทอ่ี ย่ปู ัจจุบัน อาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง
สถำนทีส่ ำงำน บ้านเลขท่ี ๑๕๗/๒ หมทู่ ี่ ๖ ตาบลหว้ ยออ้ อาเภอลอง จงั หวัดแพร่
พิพิธภณั ฑ์ท้องถ่นิ โกมลผา้ โบราณ เลขที่ ๑๕๗ หมทู่ ่ี ๒ ตาบลห้วยออ้ อาเภอลอง
โทรศัพท์
มอื ถอื จงั หวัดแพร่
โทรสำร ๐๕๔-๕๘๑๕๓๒
อเี มล ๐๘๑-๘๐๗๙๙๖๐

๐๕๔-๕๘๑๕๓๒
[email protected]

๘๖

ประวตั สิ ว่ นตัว

ช่ือ – นำมสกลุ นางประนอม ทาแปง (ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ดา้ นผ้าทอ)

วัน เดอื น ปี เกิด 1 สงิ หาคม พ.ศ. 2497
ท่อี ย่ปู ัจจุบัน บา้ นนามน ตาบลหวั ท่งุ อาเภอลอง จังหวดั แพร่
สถำนท่ีทำงำน ศูนยก์ ารเรยี นรผู้ ้าจกเมืองลอง (พิพธิ ภณั ฑ์บา้ นศลิ ปินแหง่ ชาติ)

นางประนอม ทาแปง จังหวัดแพร่ เปน็ ผ้มู ีความร้คู วามสามารถในการทอผา้ เปน็ เลศิ ทโ่ี ดดเดน่ เป็นพเิ ศษ
คือ การทอผ้าตีนจกที่สวยงาม มีชีวิตชีวา ตลอดระยะเวลา 28 ปี ได้อุทิศตนและเวลาให้กับการสร้างสรรค์

ผลงานศิลปะลายผา้ ดั้งเดิมทาใหผ้ ลงานมคี วามประณตี เชิงศลิ ป์อย่างลกึ ซง้ึ และสามารถคิดคน้ พฒั นาลวดลายใหม่
ได้อยา่ งประณตี งดงามเป็นที่ประจกั ษ์และได้รบั การยอมรับจากสาธารณชนทัว่ ไปจนได้รับการยกยอ่ งเชิดชเู กียรติ
เป็นผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป์ (ศิลปหัตถกรรม เคร่ืองถักทอ) จากสานักงาน

คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ และได้รบั เกียรตใิ ห้เป็นครูภมู ปิ ญั ญาไทยภาคเหนือ จากสานักงานเลขาธิการ
สภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ ในฐานะเป็นผู้อนรุ กั ษ์ สบื สาน และพฒั นาศลิ ปหตั ถกรรมพ้นื บ้านอย่างครบ
วงจร ต้งั แต่การปลูกฝา้ ย ปลูกคราม ทาเส้นฝ้าย ทอผ้า ย้อมสีธรรมชาติ รวมทั้งการออกแบบตัดเย็บ สามารถ

สรา้ งรายไดใ้ ห้แกช่ มุ ชนจนกลายเปน็ ชุมชนทเี่ ขม้ แขง็ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีสอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตามพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว

นางประนอม ทาแปง ได้เผยแพร่ผลงานผ้าทอตีนจกอันงดงามท้ังในประเทศและต่างประเทศและ

เล็งเห็นถึงคุณค่าของศิลปหัตถกรรมพื้นถ่ินที่ใกล้จะถูกลบเลือนด้วยกระแสของการพัฒนาชาติสู่ยุคสมัยใหม่
ตอ่ มาไดด้ ัดแปลงบ้านให้เป็นแหลง่ การเรียนรู้การศึกษาภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยได้ถ่ายทอดความรู้ภูมิปัญญาด้าน
การทอผา้ เชงิ อนรุ กั ษ์ลวดลายไทยโบราณและพฒั นาลวดลายผ้าให้สอดคล้องกับสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมใน

แต่ละยุค จงึ นบั ว่านางประนอม ทาแปง เป็นต้นแบบของช่างฝมี ือพื้นบ้านท่ียังคงทาหน้าท่ีเป็นผู้อนุรักษ์และสืบ
ทอดมรดกภมู ปิ ัญญาอันทรงคณุ ค่าของไทยสืบต่อไป นบั เป็นผูม้ ีคุณูปการตอ่ งานหตั ถศิลปไ์ ทย

๘๗

อ้ำงองิ

กระทวงวฒั นธรรม การรณรงคส์ ง่ เสรมิ การใชผ้ ้าไทย มรดกภมู ปิ ญั ญาทางวัฒนธรรม, พมิ พ์คร้งั ที่ ๒, ๘,๐๐๐ เล่ม ,
สานกั งานกจิ การโรงพมิ พ์ องคก์ ารสงเคราะหท์ หารผ่านศึก ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ : ๒๕๕๙ : ๕ - ๖

รายงานผลการคัดเลือกสินค้าและบริการด้านวัฒนธรรม (CPOT) จังหวัดแพร่ เขตตรวจราชการกระทรวง
วัฒนธรรม เขตที่ ๑๖ สานักงานวฒั นธรรมจังหวัดแพร่ กระทรวงวัฒนธรรม

ประนอม ทาแปง ศูนยก์ ารเรียนรผู้ ้าจกเมอื งลอง ( พิพธิ ภณั ฑ์บา้ นศิลปนิ แห่งชาติ) ท่อี ยู่ 97/2 หมู่ 9 ตาบลหวั ทงุ่
อาเภอลอง จงั หวัดแพร่

สภุ าภรณ์ ยงย่วน รา้ นเวียงเหนือ ผา้ ตีนจก 119/3 หมู่ 1 ตาบลสงู เม่น อาเภอสงู เม่น จงั หวดั แพร่
Amparwon Pichalct. ๒๕๖๐

https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=10155903760527220&id=67710721
9&sfnsn=mo . ๒๕ มกราคม ๒๕๖๔ (ออนไลน์)
ไทยโพสต์ https://www.thaipost.net/main/detail/2699 ๑๖ มนี าคม ๒๕๖๔ (ออนไลน์)
นางประนอม ทาแปง สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั แพร่
https://www.mculture.go.th/phrae/ewt_news.php?nid=981&filename=index (ออนไลน)์

๘๘

ผำ้ ซนิ่ ตนี จก (อำเภอลอง)

โครงการจัดทาสือ่ รณรงคส์ ง่ เสรมิ การแตง่ กายนุ่งผา้ ซิน่ ไม่น่งุ สัน้ ( ผา้ ซนิ่ ตีนจก)
สานักงานวัฒนธรรมจงั หวดั แพร่ ร่วมกบั นกั ศกึ ษาปฏิบตั งิ านสหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภฏั อุตรดิตถ์

ท่ปี รึกษำ

นางจติ รา สิทธนานวุ ฒั น์ วัฒนธรรมจังหวดั แพร่
นกั วิชาการวฒั นธรรมชานาญการพเิ ศษ
นางรัตนา สนั ตกจิ
นกั วิชาการวัฒนธรรมชานาญการ
นางสางวภิ ากรณ์ ราชฟู นักวชิ าการวัฒนธรรมชานาญการ
นักวชิ าการวฒั นธรรมปฏิบัติการ
นายราเชนน์ ชทู องรัตน์
นักวชิ าการวฒั นธรรมปฏบิ ัติการ
นางสาวพชรพรรณ ผาทอง นักวชิ าการวัฒนธรรมปฏิบัติการ
นักวิชาการวัฒนธรรมปฏิบัตกิ าร
นายทศพล กนั ทะวงศ์

นายอานนท์ พลแหลม

นายธรรมทรรศ์ ภกั ดี

กองบรรณำธกิ ำร อาสาวัฒนธรรม
นายฉตั รชาย ยอดเรอื น
นกั ศึกษาปฏิบตั ิงานสหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุตรดติ ถ์
นางสาววลยั พร ขนั ทะรักษ์ นักศึกษาปฏิบตั ิงานสหกจิ ศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดติ ถ์
นางสาวนาตยา จนั ทรว์ เิ ชียร

๘๙


Click to View FlipBook Version