รายละเอยี ด
หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑิต
(หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2563)
มคอ.2
วิทยาลยั บัณฑิตศึกษาดา้ นการจัดการ
มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม บางเขน
วิทยาเขตชลบรุ ี
และวิทยาเขตขอนแกน่
มคอ.2 1
รายละเอียดของหลกั สูตร
หลกั สูตรบริหารธรุ กิจดษุ ฎีบณั ฑติ
หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ.2563
ช่ือสถาบนั อุดมศกึ ษา/วิทยาเขต มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ บางเขน วทิ ยาเขตชลบุรี และวิทยาเขตขอนแกน่
คณะ/สาขาวชิ า วทิ ยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ หลกั สูตรบริหารธรุ กจิ ดษุ ฎีบัณฑิต
หมวดท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไป
1. ช่ือหลกั สูตร : หลักสตู รบรหิ ารธรุ กจิ ดุษฎีบัณฑิต
ภาษาไทย : Doctor of Business Administration Program
ภาษาอังกฤษ
2. ชอ่ื ปรญิ ญาและสาขาวชิ า : บรหิ ารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต
ช่อื เตม็ (ไทย) : บธ.ด.
ชือ่ ยอ่ (ไทย) : Doctor of Business Administration
ชือ่ เตม็ (องั กฤษ) : D.B.A.
ชื่อย่อ (องั กฤษ)
3. วิชาเอก
ไม่มี
4. จำนวนหน่วยวชิ าทเ่ี รียนตลอดหลกั สตู ร
60 หน่วยกติ
5. รปู แบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลกั สูตรระดับปริญญาเอก
5.2 ภาษาท่ใี ช้
การเรียนการสอนเป็นภาษาไทย และ/หรือภาษาอังกฤษ และ/หรอื ภาษาจีน
5.3 การรบั เข้าศกึ ษา
รบั นกั ศึกษาไทย หรอื นักศึกษาตา่ งประเทศ
5.4 ความรว่ มมือกับสถาบันอืน่
เปน็ หลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5 การให้ปริญญาแกผ่ ูส้ ำเร็จการศึกษา
ใหป้ ริญญาเพียงสาขาวิชาเดยี ว
มคอ.2 2
6. สถานภาพของหลักสตู ร
หลกั สตู รปรบั ปรงุ พ.ศ.2563 เร่ิมใช้หลักสูตรน้ี ตั้งแต่ปกี ารศึกษา 2563
- คณะกรรมการมาตรฐานหลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ได้ให้ความเห็นชอบการปรับปรุง
หลกั สูตร เมอ่ื วนั ท่ี 14 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2563
- สภาวิชาการมหาวิทยาลยั ศรีปทุม ได้เห็นชอบหลักสูตร ในการประชมุ ครัง้ ท่ี 4 ปกี ารศกึ ษา 2562
เมื่อวันที่ 18 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563
- สภามหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้อนุมัติการปรับปรุงหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 2/2563 เมื่อ
วันที่ 10 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2563
7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลักสตู รทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐาน
คณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ปีการศึกษา 2565
8. อาชีพที่ประกอบไดห้ ลังสำเรจ็ การศึกษา
8.1 ผบู้ ริหารระดบั สงู หรอื พนกั งานผู้เชย่ี วชาญทางด้านบริหารธุรกจิ ทั้งภาครัฐและเอกชน
8.2 เจ้าของกจิ การ ผู้บรหิ ารระดบั สูงในองค์การระหว่างประเทศ องคก์ ารอสิ ระ
8.3 ข้าราชการหรือพนักงานรัฐวสิ าหกจิ ในระดบั ผู้เชี่ยวชาญข้ึนไป
8.4 อาจารย์ในมหาวิทยาลยั
8.5 นักวิจัย นักวิชาการ นักวชิ าชีพ ท่ีปรึกษา ผู้ประกอบอาชีพอิสระหรือผ้ปู ระกอบการที่คิดค้น
และใชน้ วตั กรรมทางดา้ นบริหารธรุ กจิ ฯลฯ
9. ช่ือ เลขประจำตัวบตั รประชาชน ตำแหนง่ และคณุ วฒุ ิการศึกษาของอาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตร
9.1 อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร
(1) มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม บางเขน
ลำดบั ชื่อ-สกุล/เลขประจำตวั บตั ร คณุ วุฒกิ ารศกึ ษา (สาขาวชิ า)/ สถาบันทส่ี ำเรจ็ การศึกษา
ประชาชน ปที ่ีสำเร็จ
1 รศ.ดร.วิชิต ออู่ ้น - D.I.B.A. (International Management), - Nova Southeastern University, U.S.A.
3-4099-0037X-XX-X 2003
- D.B.A. (Marketing), 1998 - University of Sarasota, U.S.A.
- วท.ม. (เศรษฐศาสตรเ์ กษตร), 2535 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 2532 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
2 ผศ.ดร.นลิ ุบล ศิวบวรวัฒนา - Ph.D. (Management of Technology), - Asian Institute of Technology,
3-3699-0001X-XX-X 2005 Thailand
- M.S. (Business Administration), 1997 - Strayer University Washington DC, U.S.A.
- B.S. (Business Administration), 1995 - Strayer University Washington DC, U.S.A.
มคอ.2 3
ลำดบั ช่ือ-สกลุ /เลขประจำตวั บัตร คุณวฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันทีส่ ำเรจ็ การศึกษา
ประชาชน ปที ี่สำเรจ็
- The University of Sarasota, U.S.A.
3 ผศ.ดร.สพุ นิ ฉายศริ ไิ พบลู ย์ - D.B.A. (International Business), 1998 - The University of Sarasota, U.S.A.
3-1001-0055X-XX-X - M.B.A. (Finance), 1996 - มหาวิทยาลัยอสั สัมชญั
- บธ.บ. (การตลาด), 2537
(2) มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขตชลบรุ ี
ลำดบั ชือ่ -สกลุ /เลขประจำตัวบัตร คุณวฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่สี ำเรจ็ การศึกษา
ประชาชน ปีทีส่ ำเร็จ
1 รศ.ดร.ชลธิศ ดาราวงษ์ - Ph.D. (Management), 2012 - Asian Institute of Technology, Thailand
3-1006-0229X-XX-X - M.B.A. (Marketing), 2000. - National Institute of Development
Administration, Thailand
- วท.บ. (พัฒนาผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมเกษตร), - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
2538
2 ดร.พเิ ชษฐ์ เบญจรงคร์ ัตน์ - D.B.A. (Management), 2016 - Asian Institute of Technology, Thailand
3-1201-0135X-XX-X - M.M. (Management), 1986 - Sasin Groduate Institue of Business
Administration of Chulalongkorn
University
- ค.อ.บ. (เครอ่ื งกล), 2520 - วทิ ยาลยั เทคโนโลยีและอาชวี ศกึ ษา
3 ดร.อนรุ ักษ์ เรืองรอบ - D.B.A. (Management), 2012 - Asian Institute of Technology, Thailand
3-3201-0065X-XX-X - บธ.ม. (การจัดการ), 2547 - จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
- ร.บ. (รฐั ศาสตร์), 2532 - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
(3) มหาวิทยาลัยศรีปทุม วทิ ยาเขตขอนแก่น
ลำดบั ชอ่ื -สกลุ /เลขประจำตัวบตั ร คณุ วุฒกิ ารศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันทีส่ ำเรจ็ การศึกษา
ประชาชน ปีทส่ี ำเร็จ - Nova Southeastern University, U.S..A.
1 ผศ.ดร.ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพนั ธ์ - D.B.A. (Business Administration - มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ
- มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
3-3505-0004X-XX-X Information Systems), 2001 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ
- บธ.ม., 2535 - มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์
- มหาวิทยาลัยรังสติ
- วท.บ. (สถติ ิ), 2532
2 ดร.นนทพิ ันธ์ุ ประยูรหงษ์ - บธ.ด. (ธุรกจิ การกฬี าและการบันเทงิ ),
3-1201-0044X-XX-X 2555
- นศ.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), 2548
- ศศ.บ. (การท่องเทย่ี ว), 2544
มคอ.2 4
ลำดับ ช่อื -สกลุ /เลขประจำตัวบตั ร คณุ วุฒิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันที่สำเรจ็ การศึกษา
ประชาชน ปีท่ีสำเร็จ
- California School of Professional
3 รศ.ดร.ประพนั ธ์ ชยั กิจอุราใจ -Psy.D. (Management), 1999 Psychology, Alliant International
3-1004-0038 X-XX-X University, U.S.A.
- บธ.ม., 2538 - มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ
- วท.บ. (วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี าร - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อาหาร), 2535
9.2 อาจารย์ประจำหลกั สตู ร มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม
(1) มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ บางเขน
ลำดบั ช่อื -สกลุ /เลขประจำตวั บตั ร คณุ วฒุ ิการศึกษา (สาขาวิชา)/ สถาบันทสี่ ำเรจ็ การศึกษา
ประชาชน ปที ่สี ำเร็จ
1 รศ.ดร.วิชติ อู่อ้น - D.I.B.A. (International Management), - Nova Southeastern University, U.S.A.
3-4099-0037X-XX-X 2003
- D.B.A. (Marketing), 1998 - University of Sarasota, U.S.A.
- วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 2535 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 2532 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
2 ผศ.ดร.นลิ ุบล ศิวบวรวัฒนา - Ph.D. (Management of Technology), - Asian Institute of Technology, Thailand
3-3699-0001X-XX-X 2005
- M.S. (Business Administration), 1997 - Strayer University Washington DC, U.S.A.
- B.S. (Business Administration), 1995 - Strayer University Washington DC, U.S.A.
3 ผศ.ดร.สพุ นิ ฉายศริ ิไพบลู ย์ - D.B.A. (International Business), 1998 - The University of Sarasota, U.S.A.
3-1001-0055X-XX-X - M.B.A. (Finance), 1996 - The University of Sarasota, U.S.A.
- บธ.บ. (การตลาด), 2537 - มหาวิทยาลัยอัสสมั ชญั
4 ผศ.ดร.ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพันธ์ - D.B.A. (Business Administration - Nova Southeastern University, U.S..A.
3-3505-0004X-XX-X Information Systems), 2001
- บธ.ม., 2535 - มหาวิทยาลยั ศรีปทุม
- วท.บ. (สถติ ิ), 2532 - มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
5 ดร.นนทิพนั ธุ์ ประยรู หงษ์ - บธ.ด. (ธรุ กิจการกีฬาและการบนั เทิง), 2555 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม
3-1201-0044X-XX-X - นศ.ม. (เทคโนโลยสี ารสนเทศ), 2548 - มหาวทิ ยาลัยธรุ กิจบัณฑติ ย์
- ศศ.บ. (การท่องเที่ยว), 2544 - มหาวทิ ยาลัยรงั สิต
6 รศ.ดร.ประพันธ์ ชัยกจิ อรุ าใจ - Psy.D. (Management), 1999 - California School of Professional
3-1004-0038 X-XX-X Psychology, Alliant International
University, U.S.A.
มคอ.2 5
ลำดบั ช่ือ-สกุล/เลขประจำตวั บัตร คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวชิ า)/ สถาบนั ท่ีสำเร็จการศึกษา
ประชาชน ปีที่สำเร็จ
- มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ
7 ผศ.ดร.อังกรู ลาภธเนศ - บธ.ม., 2538 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
3-1008-0052X-XX-X - วท.บ. (วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี าร
อาหาร), 2535 - Nottingham University, UK.
8 รศ.ดร.ปิยากร หวงั มหาพร - Ph.D. (Manufacturing Engineering and
3-1021-0171X-XX-X Operation Management), 2003 - Embry-Riddle Aeronautical
- M.S. (Human Factors and Systems University, U.S.A.
9 ผศ.ดร.กัลยารัตน์ ธีระธนชัยกลุ Engineering), 1999 - Embry-Riddle Aeronautical
3-1302-0057X-XX-X - B.S. (Aviation Maintenance University, U.S.A.
Management), 1997 - จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย
10 ผศ.ดร.ฐิตาภรณ์ สินจรญู ศักดิ์ - ร.ด. (รัฐศาสตร์), 2547 - สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร์
3-9106-0002x-xx-x - พบ.ม. (การคลังสาธารณะ), 2532 - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
- ร.บ. (ความสัมพันธ์ระหวา่ งประเทศ), 2530 - มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ
11 ดร.ชีวรรณ เจรญิ สขุ - กจ.ด., 2556 - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์
3-1409-0009X-XX-X - บธ.ม. (บรหิ ารธุรกจิ ), 2550 - มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์
- บธ.บ. (บริหารธุรกจิ ), 2542 - มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ปร.ด. (การบญั ชี), 2552 - Stamford International University,
- M.B.A. (International Business Thailand
Management), 2014 - มหาวิทยาลยั ศรีปทุม
- บธ.ม., 2542 - มหาวิทยาลยั เกริก
- บธ.บ. (การบัญช)ี , 2540 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ
- บธ.ด., 2560 - มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม
- บธ.ม., 2547 - มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสนุ นั ทา
- สถ.บ. (สถาปตั ยกรรม), 2545
(2) มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม วิทยาเขตชลบุรี
ลำดับ ช่ือ-สกลุ /เลขประจำตัวบัตร คุณวุฒิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
ประชาชน ปที ี่สำเร็จ
1 รศ.ดร.ชลธศิ ดาราวงษ์ - Ph.D. (Management), 2012 - Asian Institute of Technology, Thailand
3-1006-0229X-XX-X - M.B.A. (Marketing), 2000 - National Institute of Development
Administration, Thailand
- วท.บ. (พัฒนาผลิตภัณฑ์ อตุ สาหกรรมเกษตร), - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
2538
มคอ.2 6
ลำดบั ช่ือ-สกุล/เลขประจำตัวบตั ร คุณวฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา
ประชาชน ปที ีส่ ำเรจ็
- Asian Institute of Technology, Thailand
2 ดร.พเิ ชษฐ์ เบญจรงคร์ ัตน์ - D.B.A. (Management), 2016 - Sasin Groduate Institue of Business
3-1201-0135X-XX-X - M.M. (Management), 1986 Administration of Chulalongkorn
University
- ค.อ.บ. (เครอ่ื งกล), 2520 - วทิ ยาลยั เทคโนโลยแี ละอาชวี ศึกษา
- Asian Institute of Technology, Thailand
3 ดร.อนุรกั ษ์ เรืองรอบ - D.B.A. (Management), 2012 - จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั
- มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3-3201-0065X-XX-X - บธ.ม. (การจดั การ), 2547 - Victoria University, Australia
- ร.บ. (รฐั ศาสตร์), 2532 - มหาวทิ ยาลยั บูรพา
- มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
4 ดร.สายชล ปิน่ มณี - D.B.A. (Supply Chain and Logistics
- Victoria University, Australia
3-2401-0074X-XX-X Management), 2016
- มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
- บธ.ม. (บรหิ ารธุรกิจ), 2548 - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์
- Asian Institute of Technology, Thailand
- วท.บ. (วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีทางไม้), - สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2546 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
- มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
5 ผศ.ดร.จิราพร ระโหฐาน - Ed.D. (Human Resource and - มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสุรนารี
- Asian Institute of Technology, Thailand
3-2499-0010X-XX-X Professional Development), 2005 - มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
- มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- วท.ม. (เศรษฐศาสตร์), 2540
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์การเกษตร), 2538
6 ผศ.ดร.รวภิ า อคั รจินดานนท์ - Ph.D. (International Business), 2004
3-1014-0240X-XX-X - พบ.ม. (การตลาด), 2542
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 2532
7 ผศ.ดร.ธรินี มณศี รี - วศ.ด.(วศิ วกรรมอตุ สาหการ), 2552
3-2399-0001x-xx-x - วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ), 2546
- วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ), 2542
8 ดร.มุกดาฉาย แสนเมอื ง - D.B.A, 2016
3-6704-0011X-XX-X - บธ.ม. (บริหารธุรกจิ ), 2542
- บธ.บ. (บญั ช)ี , 2538
มคอ.2 7
(3) มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขตขอนแกน่
ลำดับ ช่ือ-สกลุ /เลขประจำตัวบัตร คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา
ประชาชน ปีทีส่ ำเรจ็
1 ผศ.ดร.ณฐั สพันธ์ เผา่ พันธ์ - D.B.A. (Business Administration - Nova Southeastern University, U.S..A.
3-3505-0004X-XX-X Information Systems), 2001
- บธ.ม., 2535 - มหาวิทยาลัยศรีปทมุ
- วท.บ. (สถิติ), 2532 - มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม
2 ดร.นนทพิ นั ธ์ุ ประยูรหงษ์ - บธ.ด. (ธุรกิจการกีฬาและการบนั เทงิ ), 2555 - มหาวิทยาลยั ศรีปทุม
3-1201-0044X-XX-X - นศ.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ), 2548 - มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์
- ศศ.บ. (การทอ่ งเท่ียว), 2544 - มหาวทิ ยาลยั รังสติ
3 รศ.ดร.ประพันธ์ ชยั กิจอุราใจ - Psy.D. (Management), 1999 - California School of Professional
3-1004-0038 X-XX-X Psychology, Alliant International
University, U.S.A.
- บธ.ม., 2538 - มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ
- วท.บ. (วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี าร - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
อาหาร), 2535
4 รศ.ดร.วิชติ อูอ่ ้น - D.I.B.A. (International Management), - Nova Southeastern University, U.S.A.
3-4099-0037X-XX-X 2003
- D.B.A. (Marketing), 1998 - University of Sarasota, U.S.A.
- วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 2535 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 2532 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
5 ผศ.ดร.นลิ ุบล ศิวบวรวัฒนา - Ph.D. (Management of Technology), - Asian Institute of Technology, Thailand
3-3699-0001X-XX-X 2005
- M.S. (Business Administration), 1997 - Strayer University Washington DC, U.S.A.
- B.S. (Business Administration), 1995 - Strayer University Washington DC, U.S.A.
6 ผศ.ดร.สุพนิ ฉายศิริไพบลู ย์ - D.B.A. (International Business), 1998 - The University of Sarasota, U.S.A.
3-1001-0055X-XX-X - M.B.A. (Finance), 1996 - The University of Sarasota, U.S.A.
- บธ.บ. (การตลาด), 2537 - มหาวิทยาลยั อัสสัมชญั
7 ผศ.ดร.อุทัยรัตน์ เมอื งแสน - D.B.A. (Business Administration), 2558 - วิทยาลัยพาณชิ ยศาสตร์ มหาวิทยาลยั บรู พา
3-6407-0053X-XX-X - M.B.A. (International Business), 2000 - Asian Institute of Technology, Thailand
- ศศ.บ. (การจดั การทว่ั ไป), 2535 - มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์
8 ดร.สุกัญญา ทพิ หา - บธ.ด. (ธุรกิจการกีฬาและการบันเทงิ ), 2558 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ
3-6303-0006X-XX-X - ศศ.ม. (การประชาสมั พนั ธ์ธรุ กิจ), 2552 - มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย
- ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ), 2549 - มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย
มคอ.2 8
ลำดับ ชือ่ -สกลุ /เลขประจำตวั บตั ร คุณวฒุ กิ ารศึกษา (สาขาวิชา)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
ประชาชน ปที ีส่ ำเรจ็
- มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม
9 ดร.กัญจน์นกิ ข์ กำเนดิ เพช็ ร์ - กจ.ด., 2554 - มหาวทิ ยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ
3-1022-0135X-XX-X - วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์),
2547 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10 ดร.อรอนงค์ ภู่เจริญ - นศ.ม. (นิเทศศาสตรพ์ ฒั นาการ), 2540 - มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช
3-1006-0043X-XX-X - น.บ., 2535 - มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- บธ.บ. (การเงนิ และการธนาคาร), 2523 - มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ
11 ผศ.ดร.อนพุ งศ์ อวริ ุทธา - บธ.ด., 2560 - มหาวิทยาลัยศรีปทมุ
3-1017-0238X-XX-X - นศ.ม., 2553 - มหาวิทยาลยั กรงุ เทพ
- นศ.บ. (การโฆษณา), 2548 - Argosy University, U.S.A
- D.B.A. (Strategic Management), 2006 - Oklahoma City University, U.S.A
- M.B.A. (Marketing), 2002 - มหาวทิ ยาลัยหอการค้าไทย
- บธ.บ. (การจัดการ), 2543
10. สถานทจ่ี ดั การเรยี นการสอน
จดั การเรียนการสอนที่ มหาวิทยาลยั ศรีปทุม บางเขน วทิ ยาเขตชลบรุ ี และวทิ ยาเขตขอนแกน่
11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพฒั นาที่จำเปน็ ตอ้ งนำมาพิจารณาในการวางแผนหลกั สตู ร
11.1 สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564) ซึ่งได้
จัดทำบนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579) อันเป็นแผนหลักของการพัฒนา
ประเทศ ที่มีเป้าหมายการพัฒนาแบบยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) รวมทั้งการ
ปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 การปรับเปลี่ยนธรุ กจิ ให้ก้าวไปสูย่ ุคดิจทิ ัล และ Digital
globalization การเปลีย่ นแปลงนี้ต้องอาศัยทั้งความเป็นผนู้ ำ วสิ ยั ทศั น์ และเปา้ หมาย ดังนั้น นักบริหาร
จงึ จำเปน็ ตอ้ งมีความรอบรเู้ กี่ยวกบั ศาสตร์และศิลป์ในดา้ นบริหารและการจดั การเป็นอย่างดจี งึ จะสามารถ
นำพาองคก์ รไปสคู่ วามสำเรจ็ ได้ และยังให้ความสำคัญกบั การมีส่วนรว่ มของภาคกี ารพัฒนาทุกภาคส่วนทั้ง
ในระดับกลุ่มอาชีพ ระดับภาค และ ระดับประเทศและต่อเนื่องเพื่อร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์และทิศ
ทางการพฒั นาประเทศ รวมทง้ั รว่ มจดั ทำรายละเอียดยุทธศาสตร์ของแผนฯ เพือ่ มงุ่ สู่ “ความมนั่ คง ม่ังค่ัง
และยั่งยืน โดยการปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศไทยไปสู่ “ระบบเศรษฐกิจที่เนน้ การ
สร้างมลู คา่ ” ทข่ี ับเคลอ่ื นด้วยนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสรา้ งสรรค์ ตอ้ งอาศยั ผูม้ สี ่วนรว่ มหลักทั้ง
ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจัยต่าง ๆ ในการร่วมขับเคลื่อนโมเดล
ประเทศไทย 4.0 เพอื่ นำไปสคู่ วามม่ังคง่ั ทางเศรษฐกิจ ความอย่ดู มี สี ขุ ทางสังคม การยกระดับคุณค่ามนุษย์
และการรักษ์สิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ยัง มีแรงขับเคลื่อนจากเทคโนโลยี ทั้งเรื่องของ Mobile Internet ท่ี
มคอ.2 9
ทำให้เกิดโอกาสทางธุรกิจขึ้นมากมาย รวมถึงความสามารถของ Big Data ที่ช่วยเพิม่ ขีดความสามารถใน
การสร้างสรรค์บริการใหม่ๆ ทำให้การพัฒนาการศึกษาเป็นแบบองค์รวม (Horistic education) โดย
มงุ่ เน้นการจดั การศกึ ษาเพื่อนําไปสูก่ ารสรา้ งความเข้มแขง็ ทางเศรษฐกิจและความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน
อย่างต่อเน่ืองและย่งั ยืน
การศกึ ษาในระดับบณั ฑติ ศกึ ษาจะสามารถสง่ เสริม ใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามรอบรู้ และสร้างองค์ความรู้
เฉพาะดา้ นทเ่ี น้นคุณภาพในระดับมาตรฐานสากลโดยประยุกต์ใช้ความรู้ใหมด่ ้านบรหิ ารธุรกิจมาใช้ในการ
บริหารองค์การพร้อมทั้งส่งเสริมให้มีการนำเสนอแนวคิด และวิพากษ์วิจารณ์เชิงวิชาการ เพื่อให้เกิดการ
พัฒนาเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในองค์การ และสร้างผลงานวิจัยทางบริหารธุรกิจที่มีคุณภาพในระดับสูงสู่
สังคมไทย และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันระดับสากล อีกทั้งจะต้องมีคุณธรรม จริยธรรม และ
ความมจี ติ สาธารณะ ทำให้มีความจำเป็นต้องพัฒนาและสร้างความมั่นใจแก่สังคมว่าสามารถผลิตและพัฒนา
บัณฑติ ทด่ี ที ม่ี คี วามสามารถสูงและตอบสนองตอ่ การพฒั นายทุ ธศาสตร์ของประเทศไทยอยา่ งย่ังยืนต่อไป
11.2 สถานการณ์หรอื การพัฒนาทางสงั คมและวฒั นธรรม
สภาพการแข่งขันในการดำเนินธุรกจิ ในปัจจุบัน ภายใต้การเปลีย่ นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม
สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อการอดุ มศึกษาและสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ โดยเฉพาะการเปิดเสรีทาง
การคา้ สง่ ผลตอ่ การปรบั ตัวของธุรกจิ ทำให้เกิดความต้องการมีการปรบั ตวั ด้านการศึกษาในสาขาบริหารธุรกิจ
ทัง้ ดา้ นการพฒั นาองค์ความรู้ ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี มคี วามจำเป็นต้องปรบั ปรุงให้สอดรับการ
สถานการณ์การเปล่ียนแปลง ไมว่ ่าจะเป็นดา้ นการบริหารธุรกิจ การจดั การผลิตและโซอ่ ุปทาน การตลาด
การเงนิ การบญั ชเี พอ่ื การจดั การ การจดั การองคก์ ารและการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ และสารสนเทศเพื่อ
การจัดการ เพื่อรองรับกับการแข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศ ในการบริหารทางธุรกิจต้องอาศัย
ความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ของผู้บริหาร ทั้งจากทฤษฎีและการปฏิบัติจริง รวมถึงงานวิจัยที่มี
คุณภาพ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเฉพาะด้าน และมีความเป็นสากลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้บริหาร
จะต้องให้ความสำคัญกับความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความผาสุกขององค์การและสังคม ดังนั้นจึงมีความ
จำเป็นที่ต้องมีการเตรียมความพร้อมทุกๆ ด้าน เพื่อเป็นผู้บริหารมืออาชีพที่มีความสามารถและขับเคลื่อน
องคก์ รใหป้ ระสบความสำเร็จ และเป็นผบู้ รหิ ารท่ปี ระพฤตดิ ที ่รี ่วมพัฒนาประเทศให้เกิดความยง่ั ยืน
12. ผลกระทบจากขอ้ 11 ตอ่ การพัฒนาหลักสูตรและความเกย่ี วขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของสถาบัน
12.1 การพฒั นาหลักสูตร
ในการปรบั ปรุงหลักสูตรได้การตระหนกั ถงึ ความสำคญั และความจำเป็นในการสรา้ งบุคลากรที่มี
ความรู้ความสามารถทางการบริหารธุรกิจที่มีศักยภาพ สามารถปรับเปลี่ยนตามวิวัฒนาการของการ
เปลี่ยนแปลงและผลกระทบ รองรับการปรบั เปล่ยี นธุรกิจให้กา้ วไปส่ยู ุคดจิ ิทัล และ Digital globalization
พฒั นาองค์ความร้ใู หผ้ ู้เรียนเป็นผ้รู ู้และมีประสบการณท์ ั้งในทางทฤษฎีและปฏิบัติ และมีความสามารถผลิต
ผลงานวิจยั ระดบั บัณฑิตศึกษาท่ีมีคุณภาพสูง โดยเนน้ การบูรณาการให้เกิดองค์ความรใู้ หม่สร้างความเป็น
สากล เน้นการสร้างนวัตกรรมทางบริหารธุรกิจ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยศรีปทุมมีการเตรียมพร้อม
ทางด้านการจัดหาอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในการเรียนการสอน กระบวนการจัดการเรียนการสอน ครุภัณฑ์
มคอ.2 10
และอุปกรณ์ เครื่องมือ และปัจจัยสนับสนุนการศึกษาและการจัดการองค์ความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตวั อย่างเช่น การเปน็ มหาวทิ ยาลัยทเ่ี ชีย่ วชาญทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร การสอนผ่าน
ระบบอเิ ลคทรอนกิ ส์ (e - Learning) และหนังสืออิเลคทรอนกิ ส์ (e – Book) เปน็ ตน้
12.2 ความเกย่ี วข้องกบั พันธกจิ ของสถาบนั
การปรบั ปรงุ หลกั สูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต ไดด้ ำเนนิ การให้สอดคล้องกับวิสยั ทัศน์ พันธกิจ
และอัตลักษณ์ของสถาบัน พัฒนามหาวิทยาลัยไปสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการ
ผลิตและพัฒนาบัณฑิตท่ีมีความทนั สมัย เปน็ ผู้ท่มี ี “ปญั ญา เชีย่ วชาญ เบิกบาน และคุณธรรม” ให้สมกับ
เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำสำหรับคนรุ่นใหม่อย่างแท้จริง ตลอดจนเป็นแหง่ สร้างมืออาชีพ มคี วามโดดเด่นด้าน
วิชาการ เทคโนโลยี และรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม ในการพัฒนาโครงสร้างการศึกษา เพ่ือการผลิตดุษฎีบัณฑิตที่
มีความรคู้ วามเช่ียวชาญระดับสูงในสาขาการบริหารธรุ กิจ สามารถผลิตงานวิจัยเชงิ บูรณาการทมี่ ีคุณภาพสูง
และสามารถนำไปประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ด้านบรหิ ารธุรกิจของประเทศ วิทยาลยั บณั ฑติ ศึกษาด้านการ
จดั การจึงได้ดำเนินการปรบั ปรุงหลักสตู รบริหารธุรกิจดุษฎบี ณั ฑติ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับพนั ธกิจดังกลา่ ว
13. ความสัมพนั ธก์ บั หลักสูตรอ่ืนในสถาบัน
13.1 กลมุ่ วิชา/รายวิชาในหลกั สูตรนีท้ ี่เปิดสอนโดยคณะ/สาขาวชิ า/หลกั สตู รอนื่
ไม่มี
13.2 รายวชิ าในหลกั สูตรท่ีเปดิ สอนใหส้ าขาวิชา/หลักสูตรอ่นื ตอ้ งมาเรียน
ไมม่ ี
13.3 การบรหิ ารจัดการ
ผู้อำนวยการและเลขานุการหลักสูตรบริหารจัดการหลักสูตรในด้านเนื้อหาสาระของหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอน การจัดตารางเรียนและตารางสอบ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนร้ขู อง
หลักสตู ร
หมวดท่ี 2 ขอ้ มูลเฉพาะของหลกั สูตร
1. ปรัชญา ความสำคญั และวัตถปุ ระสงค์ของหลักสตู ร
1.1 ปรชั ญาของหลักสตู ร
มุ่งผลิตบัณฑิตที่มีศักยภาพนำความรู้ไปใช้เพื่อตอบสนอง ความต้องก ารบุ คลากรที่ม ีคว า ม รู้
ความสามารถในการประยุกต์หลักทฤษฎีสู่การปฏิบัติจริง การเป็นผู้ประกอบธุรกิจสามารถวางแผนการ
จดั การ การวเิ คราะห์ และมคี วามรู้ในประเด็นเกยี่ วกับงานบรหิ ารธรุ กิจอย่างมีมจี รยิ ธรรม คณุ ธรรม รวมถึง
การพัฒนาทรัพยากรบุคลากรเพ่ือให้ทนั กับความต้องการของสังคมท่ีเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ข้อค้นพบ
จากงานวจิ ยั จะเป็นฐานข้อมลู สำคญั ในดา้ นธรุ กจิ ของประเทศชาตติ อ่ ไป
1.2 ความสำคญั ของหลกั สตู ร
ภาวการณ์เปลี่ยนแปลงของโลกอย่างรวดเร็วและรุนแรงจนกระทั่งเป็นวิกฤตการณ์ในทุกๆปี
รวมถึงสภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจของโลกท่ีมีความผันผวน อีกทั้งเกิดความรวมกลุ่มเพ่ือประโยชน์ในทาง
มคอ.2 11
เศรษฐกิจ โดยเฉพาะในประเทศไทยที่ประกาศเขา้ สู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 จึงเป็นความจำเป็นของภาคธุรกิจท่ี
จะต้องมกี ารบรหิ ารและการปรับตวั ทเ่ี หมาะสมกับสถานการณท์ เ่ี กิดขึน้
หลักสูตรบริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศรีปทุมเป็นหลักสูตรที่รองรับภาวะการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดยนอกจากการเรยี นการสอนปกติแล้วหลกั สูตรได้จัดการบรรยายโดยผู้เชี่ยวชาญ
จากภายนอก การฝึกอบรมสัมมนา การวิจัยและพัฒนา การร่วมนำเสนอบทความวิจัยและบทความทาง
วชิ าการในงานประชุมระดบั ชาตแิ ละนานาชาตทิ ัง้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ การรว่ มแขง่ ขนั กีฬาใน
ระดับตา่ งๆ การทำกจิ กรรมเพื่อสงั คมในหลายรปู แบบ เปน็ ตน้ จงึ เปน็ หลักสตู รทมี่ คี วามพร้อมและสามารถ
ผลิตและพัฒนานักบริหารธุรกิจยุคใหม่ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ. 2552 ตลอดจนเพอ่ื รองรบั ยคุ ไทยแลนด์ 4.0 และสอดคลอ้ งกับสถานการณท์ เ่ี ปลย่ี นแปลงไป
1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร
1.3.1 ผลิตบริหารธุรกิจดษุ ฏีบัณฑิตที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ เป็นมืออาชพี มีคุณธรรม และ
สามารถบรู ณาการองค์ความรตู้ ่างๆ ในด้านบรหิ ารธุรกิจและการจัดการได้อย่างมีประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผล
1.3.2 ผลิตผลงานวิจัยท้งั ในเชงิ วชิ าการ ปฏบิ ตั กิ าร และการบรหิ ารทมี่ ีคณุ ภาพเปน็ ทย่ี อมรับใน
ระดบั นานาชาติ และสามารถนำเอาไปประยุกตใ์ ชง้ านได้จรงิ
2. แผนพัฒนาปรับปรุง กลยทุ ธ์ หลกั ฐาน / ตัวบง่ ชี้
1. ติดตามประเมนิ หลกั สูตรอย่าง 1.1 เอกสารปรบั ปรุงหลกั สตู ร
แผนการพฒั นา / เปล่ียนแปลง สมำ่ เสมอ 1.2 รายงานผลการประเมิน
1. ปรับปรงุ หลกั สูตรใหม้ ีมาตรฐานตามเกณฑ์ หลกั สตู ร
มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงการอุดมศึกษา 2. ติดตามประเมนิ ผลความ 2.1 รายงานผลความพงึ พอใจของ
วทิ ยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม (อว.) ตอ้ งการของผใู้ ช้บัณฑติ และปรบั ผู้ใชบ้ ัณฑิต
2. ปรับปรงุ หลักสูตรให้ทนั สมยั สอดคล้องกับ หลกั สตู รให้ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลง 2.2 ความพึงพอใจในความรู้ ความ
ความก้าวหน้าทางวชิ าการ ความต้องการของ ทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สามารถ และคุณลกั ษณะอืน่ ๆ
ผใู้ ช้บัณฑติ / การเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ 3.1 อาจารยท์ ุกคนโดยเฉพาะ 3.1.1 ความสามารถในการวัดและ
สังคม และวัฒนธรรม อาจารย์ใหม่ต้องเข้ารบั การ ประเมนิ ผลของหลกั สตู ร
3. พัฒนาบคุ ลากรด้านการเรียนการสอนและ ฝกึ อบรมเกี่ยวกบั หลักสูตรการสอน 3.1.2 ปรมิ าณงานบริการวชิ าการ
การบรกิ ารวิชาการ รปู แบบ ต่าง ๆ และการวัดผล ตอ่ อาจารยใ์ นหลกั สตู ร
ประเมนิ ผล ท้งั นเี้ พอ่ื ให้มีความรู้
ความสามารถในการประเมนิ ผล
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิทผี่ ู้สอน
จะต้องสามารถวดั และประเมนิ ผล
ได้เปน็ อย่างดี
มคอ.2 12
แผนการพฒั นา / เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลกั ฐาน / ตวั บ่งชี้
4. ปรับปรงุ วธิ ีการเรียนการสอน 3.2 สนบั สนุนอาจารยใ์ ห้ทำงาน 3.2 รายงานผลประเมนิ ความ
5. ปรบั ปรงุ วิธีการวดั และประเมนิ ผล
6. ปรบั ปรงุ ปจั จัยสนบั สนุนการเรียน การสอน บรกิ ารวิชาการแก่องค์กรภายนอก พงึ พอใจของผู้ใช้บรกิ ารวิชาการ
3.3 สง่ เสริมใหม้ กี ารนำความรทู้ ั้งจาก 3.3 จำนวนโครงการ/กิจกรรมท่ี
ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ และงานวจิ ัย เปน็ ประโยชน์ตอ่ ชมุ ชนและความ
ไปใชจ้ ริงเพ่อื ทำประโยชนใ์ หแ้ กช่ ุมชน บรรลผุ ลสำเรจ็
4. สนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์มอบหมาย 4. จำนวนรายวิชาทใี่ ช้งานผ่าน
งานในแต่ละรายวิชาผา่ นระบบทาง ระบบ
อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Learning)
5.1 วเิ คราะหข์ อ้ สอบ 5.1 ผลการวิเคราะหข์ อ้ สอบ
5.2 วเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธ์ิทางการ 5.2 ผลวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรียนของนกั ศึกษา เรียนของนักศกึ ษา
6.1 สำรวจความตอ้ งการของ 6.1 รายงานผลการสำรวจ
นกั ศึกษาและผูส้ อน
6.2 จัดหาและจัดสรรทนุ เพื่อ 6.2.1 จำนวนเงนิ ทนุ
ปรับปรุงปัจจยั สนบั สนนุ การเรยี น 6.2.2 จำนวนเงินคา่ ใชจ้ ่าย
การสอนใหม้ คี วามทนั สมัยและมี 6.2.3 จำนวนอปุ กรณ/์ กิจกรรม/
ประสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้น โครงการทป่ี รับปรงุ ปัจจัยสนบั สนุน
การเรียนการสอน
หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศกึ ษา การดำเนนิ การ และโครงสรา้ งหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศกึ ษา
1.1 ระบบ
หลักสูตรนี้จัดการศึกษาระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาโดยมี
ระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 ชัว่ โมงตอ่ หน่วยกติ และ/หรือ 15 สัปดาห์ ตอ่ ภาคการศึกษา และอาจ
จัดภาคฤดรู ้อนด้วยได้ ส่วนข้อกำหนดตา่ งๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรปี ทุมว่าด้วยการศึกษา
ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา
1.2 การจดั การศึกษาในภาคฤดรู อ้ น
มีการจดั ภาคฤดูรอ้ นดว้ ย โดยมรี ะยะเวลาการศึกษาไม่นอ้ ยกว่า 15 ชั่วโมงตอ่ หน่วยกิต และ/หรือ
8 สัปดาห์ ต่อภาคการศกึ ษา ท้ังน้ี ระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต มีสัดสว่ นเทียบเคียงกนั ได้กับการศึกษา
ภาคปกติ สว่ นขอ้ กำหนดต่างๆ ใหเ้ ป็นไปตามขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั ศรีปทุมวา่ ด้วยการศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา
1.3 การเทยี บเคยี งหนว่ ยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
มคอ.2 13
2. การดำเนนิ การหลักสตู ร
2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
ภาคการศกึ ษาท่ี 1 เดือนสงิ หาคม – เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เดอื นมกราคม - เดอื นเมษายน
ภาคฤดูรอ้ น เดือนพฤษภาคม – เดือนกรกฎาคม
2.2 คณุ สมบตั ขิ องผ้เู ข้าศึกษา
(1) เปน็ ผู้สำเร็จการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท หรือเทียบเท่าจากสถาบันการศกึ ษาทง้ั ภายใน
ประเทศหรอื ต่างประเทศที่ไดร้ ับการรับรองวทิ ยฐานแลว้ และมีผลการสอบภาษาองั กฤษได้ตามเกณฑท์ ี่
คณะกรรมการการอดุ มศึกษากำหนด
(2) มคี ณุ สมบตั ิอนื่ ตามขอ้ บังคับมหาวทิ ยาลยั ศรีปทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา หรือ
คณุ สมบัติอ่ืนตามทกี่ ำหนดไวใ้ นแตล่ ะหลกั สูตร
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเขา้
นกั ศึกษาบางคนท่ีไมไ่ ด้สำเร็จการศึกษาปรญิ ญาโทในหลักสูตรทางด้านบริหารธุรกิจ หรือสาขาท่ี
ใกล้เคียงที่เก่ยี วข้องอาจขาดความรพู้ นื้ ฐานในบางรายวิชาของหลักสูตร ซง่ึ ตอ้ งมกี ารพจิ ารณาเปน็ เฉพาะราย
2.4 กลยุทธใ์ นการดำเนนิ การเพ่ือแกไ้ ขปัญหา/ขอ้ จำกดั ของนกั ศึกษาในขอ้ 2.3
นักศึกษาที่ไม่ได้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรโดยตรงเหล่านี้ จะต้องลงทะเบียนรายวิชาเสริม
พ้นื ฐานเพม่ิ เติม ทั้งน้ีใหข้ นึ้ กับดลุ ยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสตู รเปน็ หลัก
2.5 แผนการรบั นักศึกษาและจำนวนผู้สำเรจ็ การศึกษาในระยะเวลา 5 ปี
2.5.1 แผนการรบั นักศึกษาและจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในระยะเวลา 5 ปี (บางเขน)
ชั้นปี แบบ 1.1 (คน) แบบ 2.1 (คน)
ปีการศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567
ช้นั ปีท่ี 1 5 5 5 5 5 25 25 25 25 25
ชั้นปที ี่ 2 - 3 3 3 3 - 20 20 20 20
ช้ันปที ี่ 3 - - 2 2 2 - - 18 18 18
รวม 5 8 10 10 10 25 45 63 63 63
คาดว่าจะจบ - - 2 2 2 - - 15 15 15
มคอ.2 14
2.5.2 แผนการรบั นักศกึ ษาและจำนวนผู้สำเร็จการศึกษาในระยะเวลา 5 ปี (วทิ ยาเขตชลบรุ ี)
ชนั้ ปี แบบ 1.1 (คน) แบบ 2.1 (คน)
ปีการศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567
ชน้ั ปีที่ 1 5 5 5 5 5 20 20 20 20 20
ชน้ั ปที ี่ 2 - 3 3 3 3 - 20 20 20 20
ชน้ั ปที ่ี 3 - - 2 2 2 - - 18 18 18
รวม 5 8 10 10 10 20 40 58 58 58
คาดว่าจะจบ - - 2 2 2 - - 10 10 10
2.5.3 แผนการรับนักศกึ ษาและจำนวนผู้สำเรจ็ การศึกษาในระยะเวลา 5 ปี (วทิ ยาเขตขอนแก่น)
ช้นั ปี แบบ 1.1 (คน) แบบ 2.1 (คน)
ปีการศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567
ชั้นปที ่ี 1 5 5 5 5 5 20 20 20 20 20
ชน้ั ปที ี่ 2 - 3 3 3 3 - 20 20 20 20
ชน้ั ปีท่ี 3 - - 2 2 2 - - 18 18 18
รวม 5 8 10 10 10 20 40 58 58 58
คาดว่าจะจบ - - 2 2 2 - - 10 10 10
แผนการรับนกั ศึกษาและจำนวนผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาในระยะเวลา 5 ปี (รวม 3 วิทยาเขต)
ชั้นปี แบบ 1.1 (คน) แบบ 2.1 (คน)
ปกี ารศึกษา 2563 2564 2565 2566 2567 2563 2564 2565 2566 2567
ชั้นปีที่ 1 15 15 15 15 15 65 65 65 65 65
ช้นั ปที ่ี 2 - 9 9 9 9 - 60 60 60 60
ชนั้ ปีที่ 3 - - 6 6 6 - - 54 54 54
รวม 15 24 30 30 30 65 125 179 179 179
คาดวา่ จะจบ - - 6 6 6 - - 35 35 35
2.6 งบประมาณตามรายรับ (รวมประมาณการคา่ ใช้จ่ายต่อหัว)
งบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยต่อหัวต่อปี (สูงสดุ ) 210,000 บาท
งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร 630,000 บาท
2.7 ระบบการศกึ ษา
แบบช้ันเรียน ทัง้ น้ใี นบางรายวิชาอาจมีการเรยี นดว้ ยส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Learning) เพิ่มเติม
ไดต้ ามความเหมาะสม
มคอ.2 15
2.8 การเทยี บโอนหนว่ ยกิตรายวิชาและการลงทะเบยี นขา้ มมหาวิทยาลัย
เปน็ ไปตามข้อบงั คับมหาวิทยาลยั ศรปี ทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา
3 หลักสตู รและอาจารย์ผ้สู อน
3.1 หลักสูตร มี 2 แผน คอื
3.1.1 จำนวนหน่วยกติ
ตลอดหลักสตู ร 60 หนว่ ยกติ
3.1.2 โครงสรา้ งหลักสตู ร
แบบ 1.1 เปน็ การเรียนแบบทำเฉพาะวิทยานพิ นธ์
ผู้เข้าศกึ ษาที่สำเร็จวฒุ ิปริญญาโท ตอ้ งทำวทิ ยานพิ นธ์ 60 หน่วยกติ
แบบ 2.1 เป็นการเรียนรายวชิ าและทำวิทยานพิ นธ์
ผ้เู ข้าศึกษาท่ีสำเร็จวุฒิปรญิ ญาโท ต้องทำวิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต และศกึ ษารายวิชา 24
หน่วยกติ รายละเอียดในแต่ละแผนการศกึ ษา มีดังนี้
โครงสร้างหลักสูตร แบบ 1.1 จำนวนหน่วยกติ
-
โครงสร้างหลักสูตร - แบบ 2.1
- ไม่นับหนว่ ยกติ
หมวดวิชาเสริมพ้ืนฐาน* 60
หมวดวชิ าบงั คบั 60 15
หมวดวิชาเลอื ก 9
วิทยานพิ นธ์ 36
60
รวม
3.1.3 รายวชิ า
ความหมายของรหัสวชิ า
รหัสวิชามีทั้งหมด 6 ตัว ประกอบดว้ ยตัวอกั ษร 3 ตวั และตัวเลข 3 ตัว โดยมีความหมาย ดังนี้
ตัวอกั ษร BUS หมายถึง รายวิชาบงั คบั บรหิ ารธรุ กจิ
ตวั อกั ษร FIB หมายถึง รายวิชาดา้ น การจดั การการเงนิ (Financial Management)
ตัวอกั ษร MAC หมายถงึ รายวิชาดา้ น การบัญชีเพอ่ื การจดั การ (Managerial Accounting)
ตัวอักษร MGT หมายถงึ รายวชิ าด้าน การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
ตวั อักษร MIS หมายถงึ รายวชิ าด้าน ระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ
ตวั อกั ษร MKT (Management Information System)
หมายถึง รายวชิ าดา้ น การจัดการการตลาด (Marketing Management)
มคอ.2 16
ตวั อักษร OHR หมายถึง รายวิชาด้าน การจัดการองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์
(Organization Management and Human
Resource Management)
ตัวอักษร OSM หมายถงึ รายวิชาด้าน การจัดการผลิตและโซอ่ ุปทาน
(Operation and Supply Chain Management)
ตัวอักษร PPM หมายถงึ รายวชิ าด้าน การจดั การภาคเอกชนและภาครัฐ
(Strategic Private and Public Management)
ตวั อกั ษร SEM หมายถึง รายวชิ าด้าน การจัดการธรุ กิจบนั เทิงและธุรกจิ กีฬา
(Sport Business andEntertainment Business
Management)
ตวั เลข มีความหมาย ดงั นี้
หลกั รอ้ ย หมายถงึ ชนั้ ปีทคี่ วรเรียน
ยกตัวอยา่ งเชน่ 5xx, 6xx, 7xx, 8xx หมายถึงวชิ าระดับบณั ฑติ ศึกษา
หลักสบิ หมายถึง หมวดวชิ า เช่น เลข 1 และ เลข 2 เป็นหมวด วิชาบงั คับ
เลข 3 เลข 4 และเลข 5 เป็นหมวดวิชาเลือก
หลักหน่วย หมายถงึ ลำดบั วชิ า
รายวชิ าของหลักสูตรประกอบดว้ ย (ไม่นบั หนว่ ยกิต)
หมวดวิชาเสรมิ พ้นื ฐาน (Remedial Courses)
รหัส ชือ่ วชิ า หน่วยกิต
FIB567 การจดั การการเงินและการบญั ชี ไมน่ ับหน่วยกิต
(Financial Management and Accounting)
IMG528 การจดั การการผลิตและโซอ่ ุปทาน ไมน่ บั หนว่ ยกิต
(Operations Management and Supply Chain)
MGT523 องค์การและการจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ ไมน่ ับหนว่ ยกิต
(Organization and Human Resource Management)
MKT524 การจดั การการตลาด ไมน่ บั หนว่ ยกิต
(Marketing Management)
มคอ.2 17
หมวดวิชาบังคับ (Core Courses) 15 หนว่ ยกิต
หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)
รหสั ชอ่ื วชิ า หน่วยกิต
BUS710 การจัดการนวตั กรรมเทคโนโลยขี ้นั สูงด้านโลจิสติกส์และโซอ่ ุปทาน 3(3-0-9)
(Advanced Technology Innovation Management for Logistics and
Supply Chain)
BUS711 ประยุกตใ์ ช้แนวคดิ การจดั การเทคโนโลยีทางการเงนิ และการบัญชีสำหรบั ธรุ กจิ 3(3-0-9)
สมยั ใหม่
(Applied Management Concepts of Financial Technology and
Accounting for Modern Business)
BUS712 การออกแบบการวจิ ัยและสถิตขิ ้ันสงู สำหรับการวจิ ยั ทางธุรกจิ 3(3-0-9)
(Research Design and Advanced Statistics for Business Research)
BUS713 ตวั แบบการตลาดดิจิทลั สมัยใหม่สำหรับการแปลงรปู แบบทางธุรกจิ 3(3-0-9)
(Modern Digital Marketing Model for Business Transformation)
BUS714 ปญั ญาประดษิ ฐเ์ พ่ือการจดั การองคก์ าร 3(3-0-9)
(Artificial Intelligence for Organization Management)
หมวดวิชาเลือก (Electives)
สำหรับนักศึกษาท่ีเลือกเรยี นแผน แบบ 2 (2.1) ให้เลือกเรยี นจากรายวิชาต่อไปนี้ จำนวน 9 หนว่ ยกิต
หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
รหัส ชอ่ื วิชา หน่วยกติ
กลมุ่ การจัดการการเงิน
FIB804 วิทยาการการจดั การการเงินขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Advanced Financial Science Management)
FIB805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธรุ กจิ ระดับโลกทางดา้ นการจดั การการเงิน 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Financial Management)
FIB806 การเปลีย่ นแปลงและวกิ ฤตการณ์สำหรบั การจดั การเทคโนโลยีด้านการเงนิ 3(3-0-9)
(Changes and Crises for Financial Technology Management)
FIB807 การตดั สนิ ใจอย่างมืออาชพี เพอ่ื สร้างแบบจำลองทางการเงนิ สมัยใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making for Modern Financial Modelling)
FIB808 ความเป็นเลิศทางวิชาการทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยเี ปล่ียนโลกทางการจดั การ 3(3-0-9)
การเงิน
(Academic Excellence in Financial Management for Business Disruptions)
มคอ.2 18
รหัส ช่ือวิชา หน่วยกติ
กลมุ่ การบัญชีเพือ่ การจัดการ 3(3-0-9)
3(3-0-9)
MAC804 วิทยาการการบัญชเี พอ่ื การจัดการขั้นสงู 3(3-0-9)
(Accounting Science for Advanced Management)
3(3-0-9)
MAC805 กลยทุ ธ์และดำเนินธรุ กิจระดบั โลกทางด้านการบัญชเี พื่อการจดั การ 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation for Managerial Accounting)
3(3-0-9)
MAC806 การเปลีย่ นแปลงและวิกฤตการณ์สำหรับการจัดการเทคโนโลยีด้านการบัญชี 3(3-0-9)
เพือ่ การจดั การ 3(3-0-9)
(Changes and Crises for the Managerial Accounting Technology 3(3-0-9)
Management) 3(3-0-9)
MAC807 การตัดสินใจอย่างมอื อาชีพเพ่ือสร้างแบบจำลองการบัญชเี พ่ือการจัดการสมัยใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making for Modern Managerial Accounting Modelling)
MAC808 ความเปน็ เลิศทางวชิ าการทางการจดั การต่อเทคโนโลยเี ปลีย่ นโลกทางการบัญชี
เพ่ือการจดั การ
(Academic Excellence of Disruptive Technology Management in
Managerial Accounting)
กลุ่มการจัดการเชงิ กลยทุ ธ์
MGT804 วทิ ยาการการจัดการเชงิ กลยุทธ์ขนั้ สูง
(Advanced Strategic Management Science)
MGT805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธุรกิจระดบั โลกทางดา้ นการจัดการเชงิ กลยุทธ์
(Strategies and Global Business Operation for Strategic Management)
MGT806 การเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการเทคโนโลยดี ้านการจัดการ
เชงิ กลยุทธ์
(Changes and Crises for the Strategic Technology Management)
MGT807 การตัดสินใจอย่างมืออาชีพเพ่อื สรา้ งแบบจำลองทางการจดั การเชิงกลยุทธ์สมัยใหม่
(Professional Decision Making for Modern Strategic Management Modelling)
MGT808 ความเป็นเลิศทางวชิ าการทางการจดั การตอ่ เทคโนโลยเี ปล่ยี นโลกทางการจัดการ
เชิงกลยทุ ธ์
(Academic Excellence in Management Toward for Disruptive Technology
Strategic Management)
กลุม่ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ
MIS804 วิทยาการระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการข้นั สงู
(Advanced Management Information System)
มคอ.2 19
รหัส ชอื่ วชิ า หน่วยกติ
MIS805 กลยุทธแ์ ละดำเนนิ ธุรกิจระดับโลกทางดา้ นระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ 3(3-0-9)
3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Management Information
System) 3(3-0-9)
MIS806 การเปลีย่ นแปลงและวิกฤตการณส์ ำหรับการจดั การเทคโนโลยีดา้ นระบบสารสนเทศ
เพ่อื การจดั การ 3(3-0-9)
(Changes and Crises for Technology Management in Management
Information System) 3(3-0-9)
MIS807 การตัดสนิ ใจอย่างมืออาชีพเพอ่ื สรา้ งแบบจำลองระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการขนั้ 3(3-0-9)
สงู สมัยใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making for modern advanced Management 3(3-0-9)
Information System Model) 3(3-0-9)
MIS808 ความเป็นเลิศทางวิชาการทางการจัดการต่อเทคโนโลยีเปล่ยี นโลกทางระบบสารสนเทศ
เพื่อการจัดการ
(Academic Excellence in Disruptive Technology Management in
Information System for Management)
กล่มุ การจัดการการตลาด
MKT804 วทิ ยาการการจดั การการตลาดขนั้ สูง
(Advanced Marketing Management Science)
MKT805 กลยทุ ธแ์ ละดำเนินธรุ กิจระดับโลกทางด้านการจดั การการตลาด
(Strategies and Global Business Operation in Marketing Management)
MKT806 การเปล่ียนแปลงและวกิ ฤตการณ์สำหรบั การจดั การเทคโนโลยีด้านการจัดการ
การตลาด
(Change and Crisis for Technology Management in Marketing Management)
MKT807 การตดั สินใจอย่างมอื อาชพี เพอื่ สร้างแบบจำลองทางการจัดการการตลาดสมยั ใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Marketing Management)
MKT808 ความเป็นเลิศทางวิชาการทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยเี ปลี่ยนโลกทางการจัดการ
การตลาด
(Academic Excellence for Disruptive Technology Management in
Marketing Management)
มคอ.2 20
รหัส ช่อื วิชา หน่วยกติ
กลมุ่ การจัดการองค์การและการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์ 3(3-0-9)
3(3-0-9)
OHR804 วิทยาการการจัดการองค์การและการจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์ขน้ั สูง
(Advanced Organization Management and Human Resource 3(3-0-9)
Management Science)
3(3-0-9)
OHR805 กลยทุ ธแ์ ละดำเนินธรุ กิจระดับโลกทางดา้ นการจัดการองคก์ ารและการจัดการ
ทรัพยากรมนษุ ย์ 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Organization
Management and Human Resource Management) 3(3-0-9)
3(3-0-9)
OHR806 การเปล่ียนแปลงและวกิ ฤตการณส์ ำหรับการจดั การเทคโนโลยีด้านการจดั การ 3(3-0-9)
องค์การและการจดั การทรัพยากรมนุษย์
(Change and Crisis for Technology Management in Organization
Management and Human Resource Management)
OHR807 การตดั สินใจอย่างมอื อาชีพเพอ่ื สร้างแบบจำลองทางการจดั การองคก์ ารและการ
จดั การทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Organization
Management and Human Resource Management)
OHR808 ความเปน็ เลิศทางวชิ าการทางการจัดการต่อเทคโนโลยีเปล่ียนโลกทางการจัดการ
องคก์ ารและการจัดการทรัพยากรมนษุ ยส์ มัยใหม่
(Academic Excellence for Disruptive Technology Management in
Organization Management and Human Resource Management)
กลุ่มการจัดการผลิตและโซอ่ ปุ ทาน
OSM804 วทิ ยาการการจดั การผลิตและโซ่อุปทานขนั้ สงู
(Advanced Operation and Supply Chain Management Science)
OSM805 กลยุทธ์และดำเนินธรุ กิจระดับโลกทางดา้ นการจัดการผลติ และโซอ่ ุปทาน
(Strategies and Global Business Operation in Supply Chain Management)
OSM806 การเปลย่ี นแปลงและวกิ ฤตการณ์สำหรับการจัดการเทคโนโลยีด้านการจัดการ
ผลติ และโซอ่ ปุ ทาน
(Change and Crisis for Technology Management in Production and
Supply Chain)
มคอ.2 21
รหัส ช่อื วชิ า หน่วยกติ
OSM807 การตดั สินใจอย่างมืออาชีพเพ่อื สร้างแบบจำลองทางการจดั การผลิตและ 3(3-0-9)
โซอ่ ุปทานสมยั ใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making Model in Modern Production and
Supply Chain) 3(3-0-9)
OSM808 ความเปน็ เลิศทางวิชาการทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยีเปล่ยี นโลกทางการจดั การ 3(3-0-9)
ผลิตและโซอ่ ุปทาน 3(3-0-9)
(Academic Excellence for Business Disruption Management in
Production and Supply Chain) 3(3-0-9)
กลมุ่ การจัดการภาคเอกชนและภาครฐั
PPM804 วทิ ยาการการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Advanced Management Science for Private and Public Sectors)
PPM805 กลยุทธ์และดำเนนิ ธุรกิจระดับโลกทางดา้ นการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐ 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation for Private and Public Sectors) 3(3-0-9)
PPM806 การเปลีย่ นแปลงและวิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการเทคโนโลยีด้านการจัดการ
ภาคเอกชนและภาครฐั
(Change and Crisis in Technology Management for Private and Public
Sectors)
PPM807 การตัดสนิ ใจอย่างมอื อาชีพเพ่ือสร้างแบบจำลองทางการจัดการภาคเอกชนและ
ภาครัฐสมยั ใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Private and Public Sector
Management)
PPM808 ความเป็นเลิศทางวิชาการทางการจัดการต่อเทคโนโลยีเปลยี่ นโลกทางการจัดการ
ภาคเอกชนและภาครัฐสมัยใหม่
(Academic Excellence for Disruptive Technology Management in
Modern Private and Public Sectors)
กล่มุ การจัดการธรุ กิจบันเทงิ และธรุ กจิ กฬี า
SEM804 วทิ ยาการการจัดการธุรกจิ บนั เทิงและธรุ กิจกฬี าข้ันสงู
(Advanced Management Science for Entertainment Business and
Sports Business)
SEM805 กลยุทธ์และดำเนนิ ธุรกิจระดับโลกทางดา้ นการจัดการธรุ กจิ บันเทงิ และธุรกิจกีฬา
(Strategies and Global Business Operation for Entertainment
Business and Sports Business)
มคอ.2 22
รหสั ช่อื วชิ า หนว่ ยกติ
SEM806 การเปล่ียนแปลงและวิกฤตการณ์สำหรบั การจัดการเทคโนโลยดี ้านการจัดการ 3(3-0-9)
ธรุ กิจบันเทงิ และธุรกิจกฬี า
SEM807 (Changes and Crises in Technology Management for Entertainment 3(3-0-9)
Business and Sports Business)
SEM808 การตดั สินใจอย่างมืออาชพี เพือ่ สร้างแบบจำลองทางการจดั การธุรกจิ บนั เทงิ และ 3(3-0-9)
ธรุ กจิ กีฬาสมยั ใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Entertainment
Business and Sports Business)
ความเป็นเลิศทางวชิ าการทางการจัดการต่อเทคโนโลยีเปลีย่ นโลกทางการจดั การ
ธรุ กิจบันเทงิ และธรุ กจิ กฬี า
(Academic Excellence in Disruptive Technology Management for
Sports Business and Entertainment Business)
หมวดวิชาอืน่ ๆ (Others)
รหัสวชิ า ชอื่ วชิ า หนว่ ยกติ
ไม่นบั หนว่ ยกิต
QEB700 การสอบวัดคุณสมบัตคิ วามร้ขู อ้ เขยี น ไมน่ ับหน่วยกติ
(Written Comprehensive Examination) 60
QEB701 การสอบวดั คุณสมบัติความร้ปู ากเปล่า 36
(Oral Comprehensive Examination)
BUS898 วทิ ยานพิ นธ์
(Thesis)
หมายเหตุ สำหรับแบบ 1(1.1)
BUS899 วทิ ยานิพนธ์
(Thesis)
หมายเหตุ สำหรบั แบบ 2(2.1)
มคอ.2 23
3.1.4 แผนการศึกษาหลกั สตู ร
แบบ 1 (1.1) แบบ 2 (2.1)
รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา หนว่ ยกติ รหสั วิชา ช่อื วชิ า หน่วยกิต
3(3-0-9)
ปี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปี 1 ภาคการศึกษาที่ 1 3(3-0-9)
QEB700 การสอบวัดคุณสมบตั ิขอ้ เขียน NC BUS710 การจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีขน้ั สูงด้าน 3(3-0-9)
QEB701 การสอบวดั คุณสมบัตปิ ากเปล่า NC โลจิสตกิ ส์และโซ่อุปทาน 3(3-0-9)
3(3-0-9)
BUS713 ตัวแบบการตลาดดิจทิ ัลสมยั ใหม่สำหรบั 3(3-0-9)
3(3-0-9)
การแปลงรูปแบบทางธุรกิจ 3(3-0-9)
ปี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 NC
NC
BUS898 วทิ ยานิพนธ์ 6 BUS711 ประยกุ ต์ใช้แนวคดิ การจดั การเทคโนโลยี 12
6
ทางการเงินและการบญั ชสี ำหรับธรุ กิจ 6
6
สมยั ใหม่ 6
60
BUS714 ปญั ญาประดิษฐ์เพ่อื การจัดการองคก์ าร
XXX80X วชิ าเลอื ก (เฉพาะกลุ่มวิชา) (1)
ปี 1 ภาคฤดูร้อน ปี 1 ภาคฤดูรอ้ น
BUS898 วทิ ยานิพนธ์ 6 BUS712 การออกแบบการวจิ ัยและสถิติข้นั สูง
สำหรบั การวิจัยทางธรุ กจิ
XXX80X วิชาเลือก (เฉพาะกลุ่มวิชา) (2)
XXX80X วชิ าเลือก (เฉพาะกลุม่ วิชา) (3)
ปี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1
BUS898 วิทยานพิ นธ์ 6 QEB700 การสอบวัดคณุ สมบตั ิขอ้ เขยี น
QEB701 การสอบวดั คุณสมบัติปากเปล่า
ปี 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 2
BUS898 วทิ ยานิพนธ์ 6 BUS899 วิทยานิพนธ์
ปี 2 ภาคฤดูรอ้ น ปี 2 ภาคฤดรู อ้ น
BUS898 วทิ ยานพิ นธ์ 9 BUS899 วทิ ยานพิ นธ์
ปี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1
BUS898 วิทยานพิ นธ์ 9 BUS899 วทิ ยานพิ นธ์
ปี 3 ภาคการศึกษาท่ี 2 ปี 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2
BUS898 วิทยานพิ นธ์ 9 BUS899 วิทยานพิ นธ์
ปี 3 ภาคฤดูรอ้ น ปี 3 ภาคฤดรู ้อน
BUS898 วทิ ยานพิ นธ์ 9 BUS899 วิทยานิพนธ์
รวม 60 รวม
มคอ.2 24
3.1.5 คำอธิบายรายวชิ า
หมวดวิชาเสรมิ พื้นฐาน (Remedial Courses) (ไมน่ บั หนว่ ยกิต)
FIB567 การจัดการการเงนิ และการบัญชี 3(3-0-9)
(Financial Management and Accounting)
หลักการ หน้าที่ และความสำคัญของการจัดการการเงินในองค์การธุรกิจ แนวความคิด
พื้นฐานในการจัดการการเงิน กระบวนการตัดสินใจทางการเงิน การวิเคราะห์และการวางแผนทาง
การเงิน การประเมินมูลค่าหลักทรัพย์ การจัดการเงนิ ทุนหมุนเวียน การจดั หาเงินทนุ การคำนวณต้นทุน
ของเงินทนุ การตัดสินใจเกีย่ วกับงบลงทนุ นโยบายเงินปันผลและการจัดการความเสี่ยง แนวคิดพื้นฐาน
และทักษะการใช้ข้อมูลทางบัญชีสำหรับการจัดการธุรกจิ การวิเคราะห์ตน้ ทุน ปริมาณ กำไร ตลอดจน
ศึกษาหลักเกณฑแ์ ละการวางแผนภาษีอากรทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั การดำเนนิ ธุรกจิ
IMG528 การจัดการการผลิตและโซอ่ ุปทาน 3(3-0-9)
(Operations Management and Supply Chain)
ระบบการผลติ และโซอ่ ปุ ทานขององคก์ ร กลยทุ ธ์การจัดการโซอ่ ปุ ทาน การวางแผนกำลังการ
ผลิต การเลือกทำเลที่ตัง้ ของโรงงาน กระบวนการผลิต การวางแผนการผลิต การวางแผนความตอ้ งการ
วัสดุการวางแผน ในการบริหารงานสินค้าคงเหลือ การควบคุมการผลติ และระบบการบริหารคุณภาพทว่ั
ทัง้ องค์กร
MGT523 องคก์ ารและการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ 3(3-0-9)
(Organization and Human Resource Management)
แนวคิดต่างๆ ทางด้านองค์การ รวมถึงการวางแผนการจัดองค์การ การวางแผนการจัดรูป
งาน ภาวะผู้นำ แรงจูงใจและการควบคุมตลอดจนกระบวนการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ ได้แก่
การวางแผนกำลังคน การสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรม การพัฒนาบุคลากร การประเมินผลการ
ปฏบิ ัติงาน ระบบคา่ จา้ ง เงินเดอื นและสวัสดิการ แรงงานสัมพันธ์ ความปลอดภยั และสขุ ภาพของพนักงาน
ในการทำงาน โดยใชก้ รณศี ึกษา หลักและทฤษฎพี ้นื ฐานเกยี่ วกับการตัดสินใจและการติดต่อส่อื สาร
MKT524 การจดั การการตลาด 3(3-0-9)
(Marketing Management)
กระบวนการการบริหารตลาดในปัจจุบัน เทคนิค และเครื่องมือในการวิเคราะห์ตลาด
พฤติกรรมผู้บริโภค การแบ่งส่วนตลาด การพยากรณ์ความต้องการของตลาด โดยอาศัยการวิเคราะห์
สภาวะแวดล้อมภายในและภายนอกที่มผี ลกระทบตอ่ การบรหิ ารงานการตลาด การวิจัยตลาด การเลือก
กลยุทธ์ และการจัดการเกยี่ วกับส่วนผสมทางการตลาด การวางแผน การจดั องคก์ าร การควบคมุ และการ
ประเมินผลแผนงานทางตลาด
มคอ.2 25
หมวดวิชาบงั คบั (Core courses)
BUS710 การจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยขี ้ันสูงดา้ นโลจสิ ตกิ ส์และโซอ่ ปุ ทาน 3(3-0-9)
(Advanced Technology Innovation Management for Logistics
and Supply Chain)
การใช้นวัตกรรม เทคโนโลยดี ิจิทัล และเทคโนโลยี Disrupt ในการบริหารจดั การ วางกลยุทธ์
แบบบูรณาการของกิจกรรมโลจิสติกส์และโซ่อุปทานในยุคโลกาภิวัตน์ การพัฒนาทฤษฎีและแนวคิดใน
การจัดการโลจสิ ตกิ ส์และโซ่อุปทานภายในองคก์ ร การเชอ่ื มโยงระบบโลจิสตกิ ส์ในอาเซียน และระดับโลก
กระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงและองค์ความรู้ ตรรกศาสตร์ ทฤษฎีและแนวคิดในด้านการคิดเชิงเหตุผล
อยา่ งเปน็ ระบบ การตง้ั สมมตฐิ าน การวเิ คราะห์และสังเคราะหอ์ งคค์ วามรแู้ ละทฤษฎี ประเดน็ ทก่ี ำลงั เป็น
ท่สี นใจระดบั โลก กรณีศกึ ษาความสำเร็จและความลม้ เหลวในการจัดการธุรกิจในยคุ แหง่ การเปลย่ี นแปลง
อย่างรวดเร็วแบบ Transform และ Disrupt และนำมาประยุกต์ใช้กับทฤษฎีและแนวคิดการจัดการโลจิ
สติกส์และโซ่อุปทาน ประสบการณ์จากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญ และคุณธรรมสำหรับผู้บริหาร
โลจิสติกส์ และการจดั การโลจิสตกิ สแ์ ละโซ่อุปทานยคุ แหง่ เทคโนโลยีดิจิทลั
BUS711 ประยกุ ตใ์ ชแ้ นวคดิ การจัดการเทคโนโลยีทางการเงนิ และการบญั ชีสำหรับ 3(3-0-9)
ธรุ กิจสมยั ใหม่
(Applied Management Concepts of Financial Technology and
Accounting for Modern Business)
การประยกุ ต์ใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในการจัดการการเงินและ
การบญั ชี การจดั การฐานข้อมูลทางการจัดการการเงินและการบญั ชีของธุรกิจ แนวคดิ และทฤษฎีทางการ
เงินและบัญชขี น้ั สูง แนวทางปฏิบตั ทิ ่ใี ช้ทฤษฎีและแนวคิดในการวางแผนและควบคมุ ทางการเงินและการ
บัญชที ีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทฤษฎแี ละแนวคิดดา้ นการประเมินมูลคา่ ทรัพยากรทางการเงนิ บทบาทหนา้ ที่สำคัญ
ของผู้บริหารระดับสงู ทางการเงินและบญั ชี การจัดทำงบประมาณและวางแผนทางการเงนิ และบัญชี แนวทาง
ปฎิบตั ิโดยการนำทฤษฎีและแนวคิดไปใช้ในการจัดหาเงินทุนทม่ี ีประสิทธภิ าพ รวมถึงการตัดสินใจโดยใช้
ทฤษฎีและแนวคิดในการบริหารงานด้านการเงินและบัญชีเพื่อสร้างมูลค่าสูงสุดให้กับองค์การ และ
จริยธรรมสำหรับผบู้ รหิ ารทางการเงนิ และบัญชีและการจดั การการเงนิ และการบัญชียุคดิจทิ ลั
BUS712 การออกแบบการวจิ ยั และสถิตขิ น้ั สงู สำหรบั การวิจยั ทางธรุ กิจ 3(3-0-9)
(Research Design and Advanced Statistics for Business
Research)
สถิติขั้นสูง การวิเคราะห์ข้อมูล ระเบียบวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ วัตถุประสงค์การ
วจิ ัย การกำหนดแหล่งข้อมลู และออกแบบการวจิ ยั การกำหนดวธิ กี ารทีใ่ ช้ในการเก็บขอ้ มูล การออกแบบ
การเลือกตวั อย่างและเก็บรวบรวมขอ้ มูล การตคี วามและวิเคราะหข์ ้อมูล โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการ
มคอ.2 26
วิเคราะห์ข้อมูล การรายงานผลการวิจัยในระดับปริญญาเอก และจริยธรรมสำหรับนักวิจัย กรณีศึกษา
งานวิจัยขัน้ สูงทางธรุ กิจ เทคนิคการเขียน การนำเสนอ และการตีพิมพ์ผลงานวิจัย ต่อที่ประชุมวิชาการ
ระดบั ชาติหรือนานาชาติ
BUS713 ตัวแบบการตลาดดิจทิ ลั สมยั ใหม่สำหรับการแปลงรูปแบบทางธรุ กจิ 3(3-0-9)
(Modern Digital Marketing Model for Business Transformation)
การใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการบริหารจัดการตลาด การเกบ็ รวบรวมข้อมูลทาง
การตลาดแบบดั้งเดิมและดิจิทัลเพ่ือนำมาวิเคราะห์ วางยุทธศาสตร์ และการบริหารจัดการการตลาดใน
เชิงลกึ เนน้ ศกึ ษาทฤษฎีและแนวคิดเชงิ ปฏิบัติ รวมถงึ จรยิ ธรรมทางการตลาด การวางแผนและการวิจัย
ทางการตลาด ระบบข้อมูลข่าวสารทางการตลาด ทฤษฎีการตลาดเพื่อการบริหารธุรกิจในเชิงวิเคราะห์
การวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมผู้บริโภคในระดับมหภาค พฒั นาทฤษฎกี ลยทุ ธ์ทางการตลาดขัน้ สูงในยุคการตลาด
ดจิ ิทลั เพ่อื พฒั นาองคค์ วามรทู้ างการตลาดให้เป็นรปู ธรรมทันต่อการเปลีย่ นแปลงของโลกเศรษฐกจิ
BUS714 ปัญญาประดิษฐ์เพอื่ การจัดการองคก์ าร 3(3-0-9)
(Artificial Intelligence for Organization Management)
การประยกุ ต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์เพ่ือการจัดการองค์การ และใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ัลบริหารจัดการ
องค์กร ทฤษฎีองค์การและแรงจูงใจเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน การพัฒนาทักษะความเปน็ ผ้นู ำ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง การจัดการการความรู้ องค์การแห่งการเรียนรู้ องค์การผลการปฏิบัติ งานสงู
บทบาทใหม่ของนักทรัพยากรมนุษย์ สมรรถนะ การนำสมรรถนะและปัญญาประดิษฐ์ไปประยุกต์ใช้ใน
การสรรหา การคัดเลือก การฝึกอบรม การพัฒนาบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหาร
ค่าตอบแทน การสืบทอดตำแหน่ง การบริหารผลงานเพื่อพัฒนาองค์การ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ใน
องค์การท่ีมคี วามหลากหลายของพนักงาน และการบรหิ ารจัดการคนเกง่ คนดี สำหรบั องค์การท่ีแสวงหา
กำไรและไม่แสวงหากำไร และการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ในยคุ ดิจทิ ัล
หมวดวิชาเลือก (Electives)
FIB804 วทิ ยาการการจัดการการเงินขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Advanced Financial Science Management)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจดั การ (Management Science) โดยการนำตัวแบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยกุ ต์ใชก้ บั ตัวแบบทางการจัดการการเงนิ (Financial Management Model) เพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ทางธุรกิจโดยนำคอมพิวเตอร์ในรูปแบบโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ในการจัดการการเงิน โดยตัวแบบที่ใช้
ได้แก่ ตัวแบบเชิงเส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการมาร์คอฟ และเครื่องมืออื่นๆ มา
ประยุกต์ใชใ้ นยุทธวิธกี ารตัดสนิ ใจเพือ่ การจดั การการเงนิ
มคอ.2 27
FIB805 กลยทุ ธ์และดำเนินธุรกิจระดับโลกทางด้านการจัดการการเงิน 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Financial Management)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
ความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติของประเทศ อุตสาหกรรม และบริษัท รวมถึงกลยุทธ์และแนว
ทางการปรับตัวของธุรกิจในตลาดหลัก ๆ ของโลกให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากนโยบายของรัฐ
มาตรการตา่ ง ๆ ขององคก์ รระหว่างประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศท่ีสำคัญ ทงั้ นี้ รวมถึง
การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวที่น่าสนใจของธุรกิจ
ระดบั โลกสำหรบั การจัดการทางด้านการเงนิ
FIB806 การเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการเทคโนโลยดี ้านการเงิน 3(3-0-9)
(Changes and Crises for Financial Technology Management)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการการเงิน ทั้งสถานการณ์ทาง
การเงินในปจั จุบัน และแนวโนม้ ในอนาคต โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการ วางกลยุทธ์
พฒั นาศึกษาการเปลีย่ นแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านการจัดการการเงนิ การวิพากษ์และนำเสนอประเด็น
ปัญหาทางการเงิน และแนวทางการแก้ปัญหาทางการเงินทั้งในเชิงทฤษฏีและเชิงปฎิบัติ ที่จะส่งผลต่อ
ความได้เปรยี บเชิงการแข่งขนั อย่างยัง่ ยนื รวมถงึ การนำเสนอกรอบแนวคิดและแบบจำลองทางทฤษฎีเพ่ือ
นำมาใช้ในการจดั การทางการเงนิ ใหส้ อดคล้องกับยุคแห่งการเปลย่ี นแปลง
FIB807 การตัดสนิ ใจอย่างมอื อาชีพเพอื่ สร้างแบบจำลองทางการเงินสมยั ใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making for Modern Financial Modelling)
การใช้เครื่องมือทางการเงินสมัยใหม่ที่สามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการเงินมี
ความซับซ้อนในยคุ ดิจทิ ัล การบูรณาการทฤษฎี แนวคิด และหลักการทางการเงิน โดยการวเิ คราะหแ์ ละ
สังเคราะห์ตัวแปรทางการเงนิ อย่างเปน็ ระบบ ภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฏที างการเงิน ทีม่ คี วามสอดคล้อง
การประเด็นหัวขอ้ ของวิทยานิพนธ์ โดยมุ่งเน้นศึกษาทบทวนทฤษฏีทางการเงิน เพื่อมาวิเคราะห์ วิพากษ์
และประยุกต์องค์ความรู้ทางการเงินสมัยใหม่มาใช้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ มาใช้เป็นเครื่องมือทาง
การเงนิ เพื่อการตดั สนิ ใจแกป้ ญั หาและอยูร่ อดในสังคมแหง่ การเปลยี่ นแปลงไดใ้ นโลกปัจจุบัน
FIB808 ความเปน็ เลิศทางวิชาการทางการจดั การตอ่ เทคโนโลยเี ปล่ียนโลกทางการ 3(3-0-9)
จัดการการเงนิ
(Academic Excellence in Financial Management for Business
Disruptions)
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยทางด้านทางการจัดการการเงินสมัยใหม่เพื่อการ
บริหารจัดการจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นการศึกษาประวัติ แนวทาง เนื้อหา และวิธีการสร้างองค์
ความร้จู ากการวิเคราะห์วิจัยเพอื่ ให้มาซึง่ แนวคิดและทฤษฎหี ลักทางด้านการจัดการการเงิน อันส่งผลต่อ
การกำหนดความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหาในการวจิ ัย กรอบแนวคิดในการวิจยั รวมทั้งการมสี ว่ น
มคอ.2 28
ร่วมในการวิเคราะห์และวิจารณ์งานวิจัย โดยเน้นการนำเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกทางธุรกิจมาสร้างองค์
ความรู้ที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใชใ้ นจริงในการวิจัยในอนาคตสำหรบั การศึกษาในระดบั ปริญญา
เอกในสถานการณป์ ัจจุบัน
MAC804 วทิ ยาการการบญั ชีเพอื่ การจัดการขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Accounting Science for Advanced Management)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจัดการ (Management Science) โดยการนำตัวแบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใช้กับตัวแบบทางการบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting Model) เพื่อใช้ในการ
ตัดสินใจทางธุรกจิ โดยนำคอมพิวเตอร์ในรูปแบบโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ในการบัญชีเพื่อการจัดการ โดยตัว
แบบทใ่ี ช้ ได้แก่ ตวั แบบเชิงเส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการมารค์ อฟ และเคร่ืองมืออ่ืนๆ
มาประยุกต์ใชใ้ นยุทธวิธกี ารตดั สนิ ใจเพ่อื การบัญชเี พ่อื การจัดการ
MAC805 กลยทุ ธแ์ ละดำเนนิ ธรุ กิจระดับโลกทางดา้ นการบัญชีเพอ่ื การจดั การ 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation for Managerial Accounting)
พลวตั รของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธรุ กิจ ความเส่ียงและปัจจัยทสี่ ่งผลกระทบโดยตรงต่อ
ความสามารถในการแขง่ ขันระดบั นานาชาตขิ องประเทศ อุตสาหกรรม และบรษิ ัท รวมถึงกลยทุ ธแ์ ละแนว
ทางการปรบั ตัวของธรุ กิจในตลาดหลกั ๆ ของโลกใหส้ อดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากนโยบายของ
รัฐมาตรการต่าง ๆ ขององค์กรระหวา่ งประเทศตลอดจนขอ้ ตกลงทางการคา้ ระหว่างประเทศทส่ี ำคัญ ทงั้ นี้
รวมถึงการศึกษาแนวคิดเกีย่ วกบั การจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวทีน่ า่ สนใจ
ของธรุ กจิ ระดบั โลกสำหรับการจัดการทางดา้ นการบัญชีเพอื่ การจัดการ
MAC806 การเปล่ยี นแปลงและวิกฤตการณ์สำหรบั การจดั การเทคโนโลยดี ้านการบัญชี 3(3-0-9)
เพ่อื การจัดการ
(Changes and Crises for the Managerial Accounting Technology
Management)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับการบัญชีเพื่อการจัดการ ทั้งสถานการณ์
ทางดา้ นบญั ชเี พือ่ การจัดการในปัจจุบัน และแนวโนม้ ในอนาคต โดยใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลใน
การจัดการ วางกลยุทธ์ พัฒนาศึกษาการเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านบัญชเี พื่อการจัดการ การ
วิพากษ์และนำเสนอประเด็นปัญหาทางด้านการบัญชีเพื่อการจัดการ และแนวทางการแก้ใขปัญหาทางด้าน
การบัญชีเพือ่ การจดั การ ทงั้ ในเชงิ ทฤษฏแี ละทางปฏิบัติ ท่ีจะส่งผลต่อความไดเ้ ปรียบเชงิ การแข่งขันอย่าง
ย่งั ยืน รวมถึงการนำเสนอกรอบแนวความคิดและแบบจำลองทางทฤษฎี เพือ่ นำมาใช้ในการบัญชีเพ่ือการ
จดั การใหส้ อดคลอ้ งกับยุคแหง่ การเปล่ยี นแปลง
มคอ.2 29
MAC807 การตัดสนิ ใจอย่างมืออาชพี เพ่อื สรา้ งแบบจำลองการบัญชเี พ่อื การจัดการสมยั ใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making for Modern Managerial
Accounting Modelling)
การใช้เครื่องมือทางธรุ กจิ สมัยใหม่ที่สามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการบัญชีเพือ่ การ
จัดการมีความซับซอ้ นในยุคดิจทิ ัล การบรู ณาการทฤษฎี แนวคดิ และหลกั การทางบญั ชี โดยการวิเคราะห์และ
สังเคราะห์ตวั แปรทางบัญชีอยา่ งเป็นระบบ ภายใต้กรอบแนวคิดทฤษฏที างบัญชี ที่มีความสอดคล้องกับ
ประเด็นหัวข้อของวิทยานิพนธ์ โดยมุ่งเน้นศึกษาทบทวนทฤษฏีทางบัญชี เพื่อมาวิเคราะห์ วิพากษ์ และ
ประยุกต์องค์ความรู้ทางบัญชีสมัยใหม่มาใช้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ มาใช้เป็นเครื่องมือทางบัญชีเพ่ือการ
ตดั สินใจแก้ปญั หาและอยรู่ อดในสงั คมแหง่ การเปลี่ยนแปลงได้ในโลกปัจจุบัน
MAC808 ความเป็นเลิศทางวิชาการทางการจัดการต่อเทคโนโลยีเปลย่ี นโลกทางการ 3(3-0-9)
บัญชีเพื่อการจัดการ
(Academic Excellence of Disruptive Technology Management
in Managerial Accounting)
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยทางด้านการบัญชีสมัยใหม่เพื่อการบริหารจัดการ
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นการศึกษาประวัติ แนวทาง เนื้อหา และวิธีการสร้างองค์ความรู้จากการ
วิเคราะหว์ จิ ัยเพื่อให้มาซึ่งแนวคิดและทฤษฎีหลักทางดา้ นการบญั ชีเพื่อการจัดการสมัยใหม่ อันส่งผลตอ่
การกำหนดความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาในการวิจัย กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั รวมทั้งการมสี ่วน
รว่ มในการวเิ คราะห์และวิจารณ์งานวจิ ัย โดยเนน้ การนำเทคโนโลยเี ปล่ยี นโลกทางธรุ กิจมาสรา้ งองค์ความ
ที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้ในจริงในการวจิ ัยในอนาคตสำหรับการศึกษาในระดับปริญญาเอกใน
สถานการณ์ปัจจุบัน
MGT804 วทิ ยาการการจัดการเชิงกลยทุ ธ์ขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Advanced Strategic Management Science)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจยั ดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจดั การ (Management Science) โดยการนำตวั แบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใช้กับตัวแบบทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management Model) เพื่อใช้ในการ
ตัดสินใจทางธรุ กิจโดยนำคอมพวิ เตอร์ในรูปแบบโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ในการจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยตัว
แบบที่ใช้ได้แก่ ตัวแบบเชิงเส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการมาร์คอฟ และเครื่องมอื
อื่นๆ มาประยุกต์ใช้ในยุทธวธิ ีการตัดสินใจเพ่อื การจดั การเชิงกลยุทธ์
MGT805 กลยุทธ์และดำเนินธุรกจิ ระดบั โลกทางดา้ นการจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation for Strategic Management)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกจิ ความเสี่ยงและปจั จัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงตอ่
ความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติของประเทศ อุตสาหกรรม และบริษัท รวมถึงกลยุทธ์และแนว
มคอ.2 30
ทางการปรบั ตัวของธุรกิจในตลาดหลัก ๆ ของโลกใหส้ อดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทเ่ี กิดจากนโยบายของรัฐ
มาตรการต่าง ๆ ขององค์กรระหว่างประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ ทั้งนี้
รวมถงึ การศึกษาแนวคิดเก่ยี วกับการจัดการวฒั นธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและลม้ เหลวทน่ี ่าสนใจของ
ธรุ กิจระดับโลกสำหรับการจดั การเชิงกลยุทธ์
MGT806 การเปลีย่ นแปลงและวกิ ฤตการณ์สำหรับการจัดการเทคโนโลยีดา้ นการ 3(3-0-9)
จดั การเชงิ กลยุทธ์
(Changes and Crises for the Strategic Technology Management)
การวิเคราะหป์ ระเดน็ สำคญั รว่ มสมัยที่เก่ียวข้องกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ และมีความสำคัญ
เปน็ พเิ ศษต่อสภาวการณ์ในปัจจุบนั แนวโน้มท่ีเกิดขนี้ ในอนาคต โดยใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลใน
การจดั การ วางกลยทุ ธ์ พัฒนาศึกษาการเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านการจัดการเชงิ กลยุทธ์ ทั้ง
ทางด้านทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ การวิพากษแ์ ละนำเสนอประเดน็ ปัญหาในสภาวะปัจจุบันและวิธีการ
ในการแก้ใขปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ ทางด้านการจัดการเชงิ กลยุทธ์ สำหรบั องค์การชง่ึ จะเป็นประเด็นท่ีใหม่ทั้งใน
เชิงทฤษฏีและทางปฏิบัติ มีผลต่อการได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างยั่งยืนในยคุ ปัจจุบัน รวมถึงการนำเสนอ
กรอบแนวความคิดและแบบจำลองทางทฤษฎี เพื่อนำมาใช้ในการจัดการเชิงกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับยุค
แหง่ การเปลย่ี นแปลง
MGT807 การตัดสนิ ใจอยา่ งมอื อาชีพเพอื่ สร้างแบบจำลองทางการจัดการเชิงกลยทุ ธ์ 3(3-0-9)
สมัยใหม่
(Professional Decision Making for Modern Strategic Management
Modelling)
การใชเ้ คร่ืองมือทางการจัดการเชงิ กลยุทธ์สมัยใหมท่ ่ีสามารถนำมาใช้ในการแกป้ ัญหาทางด้าน
การดำเนินธุรกจิ มีความซับซอ้ นในยุคดิจิทัล การบูรณาการทฤษฏี แนวความคดิ หลกั การทางการจัดการ
เชิงกลยุทธ์ โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตัวแปรอย่างเป็นระบบ ในสาขาวิชาการจัดการเชิงกลยุทธ์
ภายใต้กรอบแนวคิดในทฤษฎีท่ีว่าด้วยการจัดการเชิงกลยุทธ์ ท่มี ีความสอดคล้องกับหัวข้อของวิทยานิพนธ์
โดยมุ่งเน้นศึกษา ทบทวนทฤษฏีทางการจัดการเชิงกลยุทธ์ เพื่อการวิเคราะห์ วิพากษ์ และประยุกต์องค์
ความรู้ทางการจัดการเชงิ กลยุทธ์สมัยใหม่มาใช้ และสามารถนำความรู้นี้มาใช้ในการสร้างเครื่องมือทาง
การจดั การเชิงกลยทุ ธ์ เพือ่ การตดั สินใจแกป้ ญั หาและอย่รู อดในสังคมแหง่ การเปล่ียนแปลงได้ในโลกปัจจุบนั
MGT808 ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการทางการจัดการต่อเทคโนโลยีเปลยี่ นโลกทางการ 3(3-0-9)
จัดการเชิงกลยุทธ์
(Academic Excellence in Management Toward for Disruptive
Technology Strategic Management)
การทบทวนวรรณกรรมเกีย่ วกบั งานวิจัยทางด้านการจัดการเชงิ กลยุทธส์ มัยใหม่เพ่ือการบริหาร
จดั การจากอดตี จนถงึ ปจั จบุ นั โดยเป็นการศึกษาประวตั ิ แนวทาง เนอื้ หา และวิธกี ารสร้างองค์ความรู้จาก
มคอ.2 31
การวิเคราะหว์ ิจัยเพื่อใหม้ าซ่ึงแนวคิดและทฤษฎีหลักทางด้านการจัดการเชงิ กลยุทธ์สมัยใหม่อันส่งผลต่อ
การกำหนดความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหาในการวจิ ยั กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย รวมทัง้ การมสี ว่ น
รว่ มในการวิเคราะห์และวิจารณ์งานวิจัย โดยเน้นการนำเทคโนโลยีเปลย่ี นโลกทางธรุ กิจมาสร้างองค์ความรู้
ที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้ได้จริงในการวิจัยในอนาคตสำหรับการศึกษาในระดับปริญญาเอกใน
สถานการณ์ปจั จบุ ัน
MIS804 วทิ ยาการระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Advanced Management Information System)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจดั การ (Management Science) โดยการนำตวั แบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใช้กับตัวแบบระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ (Management Information System Model)
เพื่อใชใ้ นการตดั สนิ ใจทางธุรกิจโดยนำคอมพวิ เตอร์ในรปู แบบโปรแกรมสำเรจ็ รูปมาใช้ในระบบสารสนเทศ
เพื่อการจัดการ โดยตัวแบบที่ใช้ ได้แก่ ตัวแบบเชิงเส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการ
มาร์คอฟ และเคร่ืองมืออืน่ ๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นยทุ ธวิธกี ารตัดสนิ ใจเพื่อระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ
MIS805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธรุ กิจระดับโลกทางด้านระบบสารสนเทศเพือ่ การจัดการ 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Management
Information System)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
ความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติของประเทศ อุตสาหกรรม และบริษัท รวมถึงกลยุทธ์และแนว
ทางการปรับตัวของธุรกิจในตลาดหลัก ๆ ของโลกให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากนโยบายของรัฐ
มาตรการตา่ ง ๆ ขององค์กรระหว่างประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศท่ีสำคัญ ทง้ั นี้ รวมถึง
การศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวที่น่าสนใจของธุรกิจ
ระดับโลกสำหรับระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการ
MIS806 การเปล่ยี นแปลงและวิกฤตการณ์สำหรับการจดั การเทคโนโลยีดา้ นระบบ 3(3-0-9)
สารสนเทศเพอื่ การจดั การ
(Changes and Crises for Technology Management in Management
Information System)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ทั้ง
สภาวการณ์ทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในปัจจุบัน และแนวโน้มที่ในอนาคต โดยใช้นวัตกรรม
และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการ วางกลยุทธ์ พัฒนาศึกษาการเปลี่ยนแปลงและวกิ ฤตการณ์ทางด้าน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ทัง้ ทางด้านทฤษฎแี ละการประยกุ ต์ใช้ การวิพากษ์และนำเสนอประเด็น
ปัญหาทางด้านระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการและวิธีการในการแก้ใขปัญหาที่เกิดขึ้นเพื่อการจัดการ
สำหรับองค์การ ชึ่งจะเป็นประเด็นท่ีใหม่ทั้งในเชงิ ทฤษฏีและทางปฏิบตั ิ มีผลต่อการได้เปรยี บเชิงแขง่ ขนั
มคอ.2 32
อย่างยั่งยืน รวมถึงการนำเสนอกรอบแนวความคิดและแบบจำลองทางทฤษฎี เพื่อนำมาใช้กับระบบ
สารสนเทศเพื่อการจัดการใหส้ อดคล้องกับยคุ แห่งการเปล่ียนแปลง
MIS807 การตดั สินใจอยา่ งมอื อาชพี เพอ่ื สร้างแบบจำลองระบบสารสนเทศเพอ่ื การ 3(3-0-9)
จดั การขั้นสูงสมยั ใหม่
(Professional Decision Making for modern advanced Management
Information System Model)
การใชเ้ ครื่องมอื ทางธรุ กจิ สมยั ใหม่ท่ีสามารถนำมาใชใ้ นการแก้ปัญหาทางด้านระบบสารสนเทศ
เพอื่ การจดั การมีความซับซ้อนในยุคดิจิทัล การบรู ณาการทฤษฎี แนวคดิ และหลกั การทางระบบสารสนเทศ
เพื่อการจัดการ โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตัวแปรทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการอย่างเป็น
ระบบ ภายใตก้ รอบแนวคิดทฤษฏีทางด้านระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ ท่มี คี วามสอดคลอ้ งการประเด็น
หัวขอ้ ของวทิ ยานิพนธ์ โดยมุ่งเน้นศกึ ษาทบทวนทฤษฏีทางระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ เพ่ือมาวิเคราะห์
วิพากษ์ และประยุกตอ์ งค์ความรู้ทางระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการสมัยใหมม่ าใช้ และสามารถนำความรู้
ทไี่ ด้ มาใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการเพ่ือตัดสนิ ใจแก้ปญั หาและอย่รู อดในสังคมแห่ง
การเปลย่ี นแปลงได้ในโลกปจั จุบัน
MIS808 ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการทางการจัดการต่อเทคโนโลยเี ปลี่ยนโลกทางระบบ 3(3-0-9)
สารสนเทศเพอื่ การจัดการ
(Academic Excellence in Disruptive Technology Management
in Information System for Management)
การทบทวนวรรณกรรมเกย่ี วกบั งานวิจัยทางดา้ นระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การสมยั ใหม่ เพ่ือ
การบรหิ ารจัดการจากอดีตจนถึงปัจจุบนั โดยเปน็ การศกึ ษาประวัติ แนวทาง เน้ือหา และวธิ ีการสร้างองค์
ความรจู้ ากการวิเคราะหว์ ิจัยเพื่อให้มาซึง่ แนวคิดและทฤษฎีหลักทางดา้ นระบบสารสนเทศเพอ่ื การจัดการ
อันส่งผลต่อการกำหนดความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาในการวิจัย กรอบแนวคิดในการวิจัย
รวมทั้งการมสี ว่ นรว่ มในการวิเคราะหแ์ ละวิจารณ์งานวิจยั โดยเนน้ การนำเทคโนโลยีเปล่ยี นโลกทางธุรกิจ
มาสร้างองค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้ได้จริงในการวิจัยในอนาคตสำหรับการศึกษาใน
ระดบั ปรญิ ญาเอกในสถานการณ์ปจั จบุ ัน
MKT804 วิทยาการการจัดการการตลาดขน้ั สงู 3(3-0-9)
(Advanced Marketing Management Science)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกบั การวิจยั ดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจดั การ (Management Science) โดยการนำตัวแบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใช้กบั ตวั แบบทางการจัดการการตลาด (Marketing Management Model) เพ่อื ใช้ในการตัดสินใจ
ทางธุรกจิ โดยนำคอมพิวเตอร์ในรูปแบบโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ในการจัดการการตลาด โดยตัวแบบท่ีใช้
มคอ.2 33
ได้แก่ ตัวแบบเชิงเส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการมาร์คอฟ และเครื่องมืออื่นๆ มา
ประยกุ ต์ใช้ในยุทธวิธีการตัดสนิ ใจเพือ่ การจดั การการตลาด
MKT805 กลยทุ ธ์และดำเนนิ ธรุ กจิ ระดบั โลกทางดา้ นการจัดการการตลาด 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Marketing
Management)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปจั จัยท่ีส่งผลกระทบโดยตรง
ต่อความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาตขิ องประเทศ อตุ สาหกรรม และบรษิ ัท รวมถึงกลยุทธ์และ
แนวทางการปรับตัวของธุรกิจในตลาดหลกั ๆ ของโลกให้สอดคลอ้ งกบั การเปลยี่ นแปลงทเี่ กดิ จากนโยบาย
ของรฐั มาตรการตา่ ง ๆ ขององคก์ รระหว่างประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ
ทั้งนี้ รวมถึงการศึกษากรณีความสำเรจ็ และลม้ เหลวท่ีน่าสนใจของธรุ กิจระดับโลกสำหรบั การจัดการทาง
ด้านการตลาด
MKT806 การเปลยี่ นแปลงและวกิ ฤตการณส์ ำหรับการจดั การเทคโนโลยดี า้ นการ 3(3-0-9)
จัดการการตลาด
(Change and Crisis for Technology Management in Marketing
Management)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เก่ียวข้องกบั การจัดการการตลาด และมีความสำคญั
เปน็ พเิ ศษต่อสภาวการณ์ในปัจจุบนั แนวโนม้ ทเี่ กิดขีน้ ในอนาคต โดยใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลใน
การจัดการ วางกลยุทธ์ พัฒนาศึกษาการเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านการจัดการการตลาด ท้ัง
ทางด้านทฤษฎีและการประยุกตใ์ ช้ การวิพากษ์และนำเสนอประเด็นปัญหาในสภาวะปัจจุบันและวิธีการ
ในการแก้ใขปัญหาที่เกดิ ขึ้นทางด้านการจัดการการตลาด สำหรับองค์การชึ่งจะเป็นประเด็นที่ใหม่ทั้งใน
เชิงทฤษฏีและทางปฏิบัติ มีผลต่อการได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างยั่งยืนในยุคปัจจุบัน รวมถึงการนำเสนอ
กรอบแนวความคิดและแบบจำลองทางทฤษฎีเพื่อนำมาใช้ในการจัดการการตลาด ให้สอดคล้องกับยุค
แหง่ การเปลีย่ นแปลง
MKT807 การตัดสนิ ใจอยา่ งมืออาชพี เพ่ือสร้างแบบจำลองทางการจัดการการตลาดสมัยใหม่ 3(3-0-9)
(Professional Decision Making Model in Modern Marketing
Management)
การใชเ้ คร่อื งมอื ทางธุรกิจสมยั ใหม่ที่สามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการดำเนินทาง
การตลาด มีความซบั ซอ้ นในยุคดิจิทลั การบรู ณาการทฤษฏี แนวความคิด หลกั การ โดยการวเิ คราะห์และ
สังเคราะห์ตัวแปรอย่างเปน็ ระบบในสาขาวิชาการตลาดภายใต้กรอบแนวคดิ ในทฤษฎีทีว่ ่าด้วยการจัดการ
การตลาด ที่มีความสอดคล้องกบั หัวข้อของวทิ ยานิพนธ์ โดยมุ่งเน้นการศึกษาเพื่อการวิเคราะห์ วิพากษ์
และประยุกตอ์ งค์ความรู้ทางการตลาด และสามารถนำความรู้นีม้ าใช้ในการสร้างเคร่อื งมือทางการตลาด
เพอื่ การตดั สินใจแก้ปญั หาและอยูร่ อดในสงั คมแหง่ การเปล่ียนแปลงไดใ้ นโลกปจั จุบัน
มคอ.2 34
MKT808 ความเป็นเลศิ ทางวิชาการทางการจดั การตอ่ เทคโนโลยเี ปลย่ี นโลกทางการ 3(3-0-9)
จดั การการตลาด
(Academic Excellence for Disruptive Technology Management
in Marketing Management)
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยทางด้านการตลาดสมัยใหม่เพื่อการบริหารจัดการ
จากอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นการศึกษาประวัติ แนวทาง เนื้อหา และวิธีการสร้างองค์ความรู้จากการ
วิเคราะห์วิจัยเพื่อให้มาซึ่งแนวคิดและทฤษฎีหลักทางด้านการตลาดสมัยใหม่ อันส่งผลต่อการกำหนด
ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหาในการวิจัย กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย รวมทั้งการมสี ว่ นรว่ มในการ
วิเคราะห์และวิจารณ์งานวิจัย โดยเน้นการนำเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกทางธุรกิจมาสร้างองค์ความรู้ที่เป็น
รูปธรรมและสามารถนำไปใช้ในจริงในการวิจัยในอนาคตสำหรับการศึกษาในระดับปริญญาเอกใน
สถานการณป์ ัจจุบัน
OHR804 วิทยาการการจัดการองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ขน้ั สูง 3(3-0-9)
(Advanced Organization Management and Human Resource
Management Science)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจัดการ (Management Science) โดยการนำตัวแบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใชก้ ับตัวแบบทางการจัดการองค์การและการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ (Organization Management
and Human Resource Management Model) เพ่ือใช้ในการตดั สนิ ใจทางธุรกิจโดยนำคอมพวิ เตอร์ใน
รปู แบบโปรแกรมสำเร็จรูปมาใช้ในการจดั การการตลาด โดยตวั แบบท่ใี ชไ้ ด้แก่ ตัวแบบเชิงเสน้ การจำลอง
สถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการมารค์ อฟ และเครื่องมืออื่นๆ มาประยุกต์ใช้ในยุทธวิธกี ารตัดสินใจ
เพื่อการจัดการองคก์ ารและการจดั การทรัพยากรมนษุ ย์
OHR805 กลยุทธแ์ ละดำเนนิ ธุรกิจระดับโลกทางด้านการจัดการองค์การและการ 3(3-0-9)
จดั การทรัพยากรมนษุ ย์
(Strategies and Global Business Operation in Organization
Management and Human Resource Management)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง
ตอ่ ความสามารถในการแขง่ ขนั ระดับนานาชาติของประเทศ อตุ สาหกรรม และบริษัท รวมถึงกลยุทธ์และ
แนวทางการปรบั ตัวของธุรกิจในตลาดหลัก ๆ ของโลกให้สอดคลอ้ งกับการเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดจากนโยบาย
ของรฐั มาตรการตา่ ง ๆ ขององคก์ รระหว่างประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ
ทั้งนี้ รวมถึงการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวท่ี
น่าสนใจของธรุ กจิ ระดบั โลกสำหรับการจดั การทางด้านการจัดการองค์การและการจัดการทรพั ยากรมนุษย์
มคอ.2 35
OHR806 การเปล่ียนแปลงและวิกฤตการณ์สำหรบั การจดั การเทคโนโลยดี ้านการ 3(3-0-9)
จดั การองค์การและการจัดการทรพั ยากรมนุษย์
(Change and Crisis for Technology Management in Organization
Management and Human Resource Management)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการองค์การและการจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ ทั้งสภาวการณ์ทางการจดั การองค์การและการจดั การทรัพยากรมนุษย์ในปัจจุบัน และ
แนวโน้มในอนาคต โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการ วางกลยุทธ์ พัฒนาศึกษาการ
เปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านการจัดการองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การวิพากษ์
และนำเสนอประเด็นปัญหาทางด้านการจัดการองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ในสภาวะ
ปัจจุบันและแนวทางในการแก้ใขปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งในเชิงทฤษฏีและทางปฏิบัติ ที่จะส่งผลต่อความ
ได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างยั่งยืน รวมถึงการนำเสนอกรอบแนวความคิดและแบบจำลองทางทฤษฎี
นำมาใชใ้ นการจดั การองคก์ ารและการจดั การทรพั ยากรมนุษย์ใหส้ อดคลอ้ งกับยคุ แหง่ การเปล่ยี นแปลง
OHR807 การตดั สนิ ใจอย่างมอื อาชพี เพอื่ สร้างแบบจำลองทางการจัดการองค์การและ 3(3-0-9)
การจัดการทรพั ยากรมนษุ ยส์ มัยใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Organization
Management and Human Resource Management)
การใช้เครื่องมือทางด้านการจัดการองค์การและการจั ดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ที่
สามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ มีความ
ซบั ซ้อนในยุคดิจิทัล การบรู ณาการทฤษฏี แนวความคิด หลักการทางการจัดการองคก์ ารและการจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตัวแปรอย่างเป็นระบบภายใต้กรอบแนวคิดในทฤษฎี
การจัดการองค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความสอดคล้องกับหัวข้อของวิทยานิพนธ์ โดย
มุ่งเน้นศึกษาเพื่อมาวิเคราะห์ วิพากษ์ และประยุกต์องค์ความรู้ทางการจัดการองค์การและการจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ และสามารถนำความรู้นี้มาใช้เป็นเครื่องมือทางการจัดการองค์การและการจัดการ
ทรพั ยากรมนุษย์เพือ่ การตัดสินใจแกป้ ญั หาและอยรู่ อดในสังคมแห่งการเปลี่ยนแปลงได้ในโลกปัจจบุ นั
OHR808 ความเป็นเลศิ ทางวิชาการทางการจดั การตอ่ เทคโนโลยเี ปลี่ยนโลกทางการ 3(3-0-9)
จดั การองค์การและการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่
(Academic Excellence for Disruptive Technology Management in
Organization Management and Human Resource Management)
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยทางด้านการจัดการองค์การและการจัดการ
ทรัพยากรมนุษย์ เพอื่ การบรหิ ารจดั การจากอดีตจนถึงปัจจบุ นั โดยเปน็ การศกึ ษาประวัติ แนวทาง เนือ้ หา
และวธิ กี ารสรา้ งองค์ความรู้จากการวิเคราะหว์ ิจยั เพอ่ื ให้มาซง่ึ แนวคิดและทฤษฎหี ลักทางด้านการจัดการ
องค์การและการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ อันส่งผลต่อการกำหนดความเป็นมาและความสำคัญ
มคอ.2 36
ของปัญหาในการวิจัย กรอบแนวคิดในการวจิ ยั รวมท้งั การมีส่วนร่วมในการวเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์งานวิจัย
โดยเนน้ การนำเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกทางธุรกิจมาสร้างองค์ความท่เี ปน็ รปู ธรรมและสามารถนำไปใช้ได้จริง
ในการวิจยั ในอนาคตสำหรบั การศกึ ษาในระดับปรญิ ญาเอกในสถานการณป์ ัจจบุ ัน
OSM804 วทิ ยาการการจัดการผลิตและโซ่อปุ ทานขนั้ สูง 3(3-0-9)
(Advanced Operation and Supply Chain Management Science)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจัดการ (Management Science) โดยการนำตวั แบบทางคณติ ศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใช้กับตัวแบบทางการจัดการผลิตและโซอ่ ุปทาน (Operation and Supply Chain Management
Model) เพื่อใชใ้ นการตัดสนิ ใจทางธรุ กิจโดยนำคอมพวิ เตอร์ในรูปแบบโปรแกรมสำเรจ็ รูปมาใชใ้ นการจัดการ
ผลิตและโซ่อปุ ทาน โดยตัวแบบที่ใช้ไดแ้ ก่ ตัวแบบเชิงเส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์ ขบวนการ
มาร์คอฟ และเคร่อื งมอื อ่นื ๆ มาประยุกตใ์ ช้ในยทุ ธวิธีการตัดสินใจเพื่อการจดั การผลิตและโซ่อปุ ทาน
OSM805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธรุ กิจระดบั โลกทางด้านการจัดการผลิตและโซ่อปุ ทาน 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation in Supply Chain
Management)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปจั จัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง
ตอ่ ความสามารถในการแข่งขนั ระดับนานาชาตขิ องประเทศ อุตสาหกรรม และบริษัท รวมถงึ กลยุทธ์และ
แนวทางการปรับตวั ของธุรกิจในตลาดหลัก ๆ ของโลกใหส้ อดคลอ้ งกับการเปลยี่ นแปลงที่เกิดจากนโยบาย
ของรฐั มาตรการตา่ ง ๆ ขององคก์ รระหว่างประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศท่ีสำคัญ
ทั้งนี้ รวมถึงการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวท่ี
นา่ สนใจของธรุ กจิ ระดับโลกสำหรับการจัดการทางด้านการจดั การผลติ และโซ่อปุ ทาน
OSM806 การเปลยี่ นแปลงและวิกฤตการณ์สำหรับการจัดการเทคโนโลยดี ้านการ 3(3-0-9)
จัดการผลิตและโซ่อุปทาน
(Change and Crisis for Technology Management in Production
and Supply Chain)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการผลิตและโซ่อุปทาน และมี
ความสำคัญด้านการจดั การผลิตและโซ่อุปทานต่อสภาวการณ์ในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต โดยใช้
นวัตกรรมและเทคโนโลยดี ิจิทัลในการจัดการ วางกลยทุ ธ์ พัฒนาศึกษาการเปลยี่ นแปลงและวิกฤตการณ์
ทางด้านการจัดการผลิตและโซ่อุปทาน การวิพากษ์และนำเสนอประเดน็ ปัญหาทางด้านการจัดการผลิต
และโซ่อุปทาน และแนวทางในการแก้ใขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ทางด้านการจัดการผลิตและโซ่อปุ ทานท้ังในเชงิ
ทฤษฏีและทางปฏิบัติ ที่จะส่งผลต่อความได้เปรียบเชิงแข่งขันอย่างยั่งยืน รวมถึงการนำเสนอกรอบ
แนวความคิดและแบบจำลองทางทฤษฎี เพื่อนำมาใช้ในการจัดการทางการเงินให้สอดคล้องกับยุคแห่ง
การเปล่ียนแปลง
มคอ.2 37
OSM807 การตดั สินใจอยา่ งมอื อาชีพเพอื่ สรา้ งแบบจำลองทางการจัดการผลิตและโซ่ 3(3-0-9)
อุปทานสมัยใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Production
and Supply Chain)
การใช้เครือ่ งมือทางการจัดการผลิตและโซ่อุปทานสมัยใหม่ท่ีสามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหา
ทางด้านการดำเนินธุรกิจ มีความซับซ้อนในยุคดิจิทัล การบูรณาการทฤษฏี แนวความคิด หลักการ โดย
การวเิ คราะห์และสังเคราะหต์ ัวแปรทางการจัดการผลติ และโซอ่ ุปทานภายใตก้ รอบแนวคดิ ทฤษฎีทางการ
จัดการผลิตและโซ่อุปทานทมี่ ีความสอดคล้องกับประเดน็ หัวข้อของวิทยานิพนธ์ โดยมุ่งเน้นศกึ ษาทบทวน
ทฤษฏีทางการจัดการผลิตและโซ่อุปทาน เพื่อมาวิเคราะห์ วิพากษ์ และประยุกต์องค์ความรู้ทางการ
จัดการผลติ และโซ่อุปทานและสามารถทำความรเู้ ปน็ เครื่องมอื ทางทางการจดั การผลติ และโซ่อุปทานเพื่อ
การตัดสนิ ใจแกป้ ญั หาและอยูร่ อดในสงั คมแหง่ การเปล่ียนแปลงได้ในโลกปัจจุบัน
OSM808 ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยีเปล่ยี นโลกทางการ 3(3-0-9)
จดั การผลิตและโซอ่ ุปทาน
(Academic Excellence for Business Disruption Management in
Production and Supply Chain)
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวจิ ัยทางด้านการจัดการผลิตและโซ่อุปทานสมัยใหม่ เพ่อื
การบริหารจัดการจากอดีตจนถงึ ปัจจุบัน โดยเป็นการศึกษาประวตั ิ แนวทาง เนอ้ื หา และวธิ กี ารสรา้ งองค์
ความรู้จากการวิเคราะห์วิจัยเพ่ือให้มาซึ่งแนวคิดและทฤษฎีหลักทางด้านการจัดการผลิตและโซ่อุปทาน
สมัยใหม่ อนั ส่งผลตอ่ การกำหนดความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหาในการวิจยั กรอบแนวคิดในการ
วิจัย รวมท้งั การมสี ่วนร่วมในการวเิ คราะหแ์ ละวจิ ารณง์ านวิจัย โดยเน้นการนำเทคโนโลยีเปลี่ยนโลกทาง
ธุรกจิ มาสร้างองค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้จริงในการวิจัยในอนาคตสำหรับการศึกษาใน
ระดับปริญญาเอกในสถานการณป์ จั จบุ นั
PPM804 วิทยาการการจัดการภาคเอกชนและภาครฐั ขนั้ สูง 3(3-0-9)
(Advanced Management Science for Private and Public Sectors)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเก่ียวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจัดการ (Management Science) โดยการนำตัวแบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยุกต์ใช้กับตัวแบบทางทางการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐ (Private and Public Management
Model) เพ่อื ใช้ในการตดั สินใจทางธุรกิจโดยนำคอมพวิ เตอรใ์ นรูปแบบโปรแกรมสำเรจ็ รูปมาใช้ในทางการ
จดั การภาคเอกชนและภาครัฐ โดยตัวแบบที่ใชไ้ ด้แก่ ตวั แบบเชงิ เส้น การจำลองสถานการณ์ การพยากรณ์
ขบวนการมาร์คอฟ และเครื่องมืออื่นๆ มาประยุกต์ใช้ในยุทธวิธีการตัดสินใจเพื่อทางการจัดการ
ภาคเอกชนและภาครัฐ
มคอ.2 38
PPM805 กลยุทธ์และดำเนนิ ธรุ กิจระดบั โลกทางด้านการจัดการภาคเอกชนและภาครฐั 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation for Private and
Public Sectors)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง
ต่อความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาติของประเทศ อตุ สาหกรรม และบริษทั รวมถงึ กลยุทธ์และ
แนวทางการปรบั ตัวของธุรกิจในตลาดหลัก ๆ ของโลกใหส้ อดคลอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงทเี่ กิดจากนโยบาย
ของรัฐมาตรการตา่ ง ๆ ขององค์กรระหว่างประเทศ ตลอดจนขอ้ ตกลงทางการค้าระหว่างประเทศท่ีสำคัญ
ทั้งนี้ รวมถึงการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวท่ี
นา่ สนใจของธุรกิจระดับโลกสำหรับการจัดการทางด้านการจัดการภาคเอกชนและภาครฐั
PPM806 การเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณส์ ำหรบั การจดั การเทคโนโลยดี า้ นการ 3(3-0-9)
จดั การภาคเอกชนและภาครฐั
(Change and Crisis in Technology Management for Private and
Public Sectors)
การวิเคราะห์ประเด็นสำคัญร่วมสมัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐ ทั้ง
สถานการณ์ทางภาครัฐในปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต โดยใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการ
จัดการ วางกลยุทธ์ พัฒนาศึกษาการเปลี่ยนแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านการจัดการภาคเอกชนและ
ภาครัฐ การวิพากษ์และนำเสนอประเด็นปญั หาทางภาคเอกชนและภาครฐั และแนวทางการแกป้ ญั หาของ
ภาคเอกชนและภาครัฐทั้งในเชิงทฤษฏีและเชิงปฎิบัติ ที่จะส่งผลต่อความได้เปรียบในการแข่งขันอย่าง
ย่ังยืน รวมถึงการนำเสนอกรอบแนวคิดและแบบจำลองทางทฤษฎี เพื่อนำมาใชใ้ นการจัดการภาคเอกชน
และภาครฐั ให้สอดคลอ้ งกับยุคแหง่ การเปลย่ี นแปลง
PPM807 การตัดสินใจอยา่ งมืออาชพี เพอ่ื สรา้ งแบบจำลองทางการจัดการภาคเอกชนและ 3(3-0-9)
ภาครฐั สมัยใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Private and Public
Sector Management)
การใช้เครื่องมือทางธุรกิจสมัยใหม่ที่สามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการจัดการ
ภาคเอกชนและภาครัฐมีความซบั ซ้อนในยุคดิจิทัล การบรู ณาการทฤษฏี แนวความคดิ หลักการ โดยการ
วเิ คราะห์และสงั เคราะหต์ วั แปรทางการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐอย่างเป็นระบบ ภายใต้กรอบแนวคิด
ทฤษฎีทางการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐที่มีความสอดคล้องกับประเด็นหัวข้อของวิทยานิพนธ์ โดย
มุ่งเน้นศึกษา เพื่อมาวิเคราะห์ วิพากษ์ และประยุกต์องค์ความรู้ทางการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐ
สมัยใหม่มาใช้ และสามารถนำความรู้นี้มาใช้เป็นเครื่องมือทางการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐในการ
ตัดสินใจแกป้ ัญหาและอย่รู อดในสงั คมแห่งการเปลี่ยนแปลงได้ในโลกปัจจุบนั
มคอ.2 39
PPM808 ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการทางการจัดการต่อเทคโนโลยเี ปล่ียนโลกทางการ 3(3-0-9)
จดั การภาคเอกชนและภาครฐั สมยั ใหม่
(Academic Excellence for Disruptive Technology Management in
Modern Private and Public Sectors)
การทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับงานวิจัยทางดา้ นการจัดการภาคเอกชนและภาครัฐสมัยใหม่
เพอื่ การบรหิ ารจัดการจากอดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเป็นการศกึ ษาประวตั ิ แนวทาง เน้ือหา และวธิ ีการสร้าง
องค์ความรู้จากการวเิ คราะห์วิจัยเพื่อให้มาซ่ึงแนวคิดและทฤษฎีหลักทางด้านการจัดการภาคเอกชนและ
ภาครฐั สมัยใหม่ อนั ส่งผลต่อการกำหนดความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหาในการวจิ ัย กรอบแนวคิด
ในการวิจัย รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์และวิจารณ์งานวจิ ัย โดยเน้นการนำเทคโนโลยีเปลี่ยน
โลกทางธุรกิจมาสร้างองค์ความรู้ที่เป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้จริงในการวิจัยในอนาคตสำหรับ
การศกึ ษาในระดบั ปริญญาเอกในสถานการณป์ จั จุบัน
SEM804 วิทยาการการจัดการธรุ กิจบนั เทิงและธุรกิจกีฬาขนั้ สงู 3(3-0-9)
(Advanced Management Science for Entertainment Business
and Sports Business)
การนำทฤษฎีและแนวคิดเก่ียวกับการวิจัยดำเนินการ (Operation Research) และวิทยาการ
การจัดการ (Management Science) โดยการนำตวั แบบทางคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) มา
ประยกุ ต์ใช้กับตัวแบบทางการจัดการธุรกิจบันเทงิ และธุรกิจกีฬา (Sport Business and Entertainment
Business Management Model) เพ่อื ใช้ในการตัดสินใจทางธรุ กิจโดยนำคอมพิวเตอร์ในรูปแบบโปรแกรม
สำเร็จรปู มาใช้ในการจดั การธุรกจิ กฬี า โดยตวั แบบที่ใชไ้ ด้แก่ ตวั แบบเชงิ เสน้ การจำลองสถานการณ์ การ
พยากรณ์ ขบวนการมาร์คอฟ และเครื่องมืออื่น ๆ มาประยุกต์ใช้ในยุทธวิธีการตัดสินใจเพื่อการจัดการ
ธรุ กิจบนั เทงิ และธุรกจิ กฬี า
SEM805 กลยุทธ์และดำเนนิ ธุรกจิ ระดบั โลกทางดา้ นการจัดการธุรกจิ บันเทงิ และธุรกจิ กีฬา 3(3-0-9)
(Strategies and Global Business Operation for Entertainment
Business and Sports Business)
พลวัตรของสภาพแวดล้อมในการดำเนินธุรกิจ ความเสี่ยงและปัจจัยที่ส่งผลกระทบโดยตรง
ต่อความสามารถในการแข่งขันระดับนานาชาตขิ องประเทศ อตุ สาหกรรม และบริษัท รวมถึงกลยุทธ์และ
แนวทางการปรับตวั ของธุรกจิ ในตลาดหลัก ๆ ของโลกใหส้ อดคล้องกบั การเปลย่ี นแปลงท่ีเกิดจากนโยบาย
ของรัฐมาตรการตา่ ง ๆ ขององคก์ รระหวา่ งประเทศตลอดจนข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศที่สำคัญ
ทั้งนี้ รวมถึงการศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการวัฒนธรรมข้ามชาติ กรณีความสำเร็จและล้มเหลวท่ี
นา่ สนใจของธรุ กิจระดบั โลกสำหรับการจดั การทางด้านการจดั การธรุ กิจบนั เทิงและธรุ กิจกีฬา
มคอ.2 40
SEM806 การเปลีย่ นแปลงและวิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการเทคโนโลยดี า้ นการ 3(3-0-9)
จดั การธุรกิจบันเทิงและธรุ กจิ กีฬา
(Changes and Crises in Technology Management for
Entertainment Business and Sports Business)
การวิเคราะหป์ ระเด็นสำคัญรว่ มสมยั ท่ีเกย่ี วข้องกับการจดั การธุรกิจบนั เทิงและธรุ กิจกฬี า ท้ัง
สภาวการณ์ทางการจัดการธุรกิจบันเทงิ และธุรกิจกีฬาในปัจจบุ ัน และแนวโน้มในอนาคต โดยใช้นวัตกรรม
และเทคโนโลยีดจิ ิทัลในการจัดการ วางกลยุทธ์ พัฒนาศึกษาการเปล่ียนแปลงและวิกฤตการณ์ทางด้านการ
การจัดการธุรกิจบันเทงิ และธุรกิจกีฬา การวิพากษ์และนำเสนอประเด็นปัญหาทางดา้ นการจัดการธรุ กจิ
บันเทิงและธุรกิจกีฬา และแนวทางการแก้ปญั หาทางด้านการจัดการธุรกิจบนั เทงิ และธุรกิจกีฬาทั้งในเชิง
ทฤษฏีและทางปฏิบัติ ที่จะส่งผลต่อความไดเ้ ปรียบเชิงแข่งขนั อยา่ งย่ังยืน รวมถึงการนำเสนอกรอบแนว
ความคดิ และแบบจำลองทางทฤษฎี เพอื่ นำมาใชใ้ นการจดั การธรุ กิจบันเทิงและธรุ กจิ กฬี าใหส้ อดคล้องกับ
ยุคแหง่ การเปลีย่ นแปลง
SEM807 การตัดสินใจอยา่ งมืออาชีพเพอื่ สรา้ งแบบจำลองทางการจัดการธรุ กจิ บันเทงิ 3(3-0-9)
และธุรกจิ กีฬาสมยั ใหม่
(Professional Decision Making Model in Modern Entertainment
Business and Sports Business)
การใช้เครือ่ งมือทางธรุ กจิ สมัยใหม่ทสี่ ามารถนำมาใช้ในการแก้ปัญหาทางด้านการการจัดการ
ธุรกิจบันเทิงและธุรกิจกีฬามีความซบั ซ้อนในยุคดิจิทัล การบูรณาการทฤษฏี แนวความคดิ หลักการทาง
การจัดการธุรกจิ บันเทงิ และธุรกิจกีฬา โดยการวิเคราะห์และสงั เคราะห์ตัวแปรทางด้านการจดั การธุรกิจ
บนั เทงิ และธรุ กิจกฬี าอย่างเปน็ ระบบ ภายใต้กรอบแนวคิดในทฤษฎีทางการจดั การธรุ กิจบันเทิงและธุรกิจ
กีฬาที่มคี วามสอดคลอ้ งกับประเดน็ หัวข้อของวทิ ยานพิ นธ์ โดยม่งุ เน้นศกึ ษาเพ่อื มาวิเคราะห์ วพิ ากษ์ และ
ประยุกตอ์ งคค์ วามรู้ทางการจัดการธุรกจิ บันเทงิ และธุรกิจกีฬา และสามารถนำความรู้น้ีทีไ่ ด้มาใชใ้ นเปน็
เครื่องมือทางการจัดการธุรกิจบันเทิงและธุรกิจกีฬาเพือ่ การตดั สินใจแก้ปัญหาและอยู่รอดในสังคมแห่ง
การเปลย่ี นแปลงไดใ้ นโลกปัจจบุ นั
SEM808 ความเป็นเลิศทางวชิ าการทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยีเปล่ียนโลกทางการ 3(3-0-9)
จดั การธุรกิจบนั เทิงและธุรกจิ กีฬา
(Academic Excellence in Disruptive Technology Management
for Sports Business and Entertainment Business)
การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับงานวิจัยทางด้านการจัดการธุรกิจบันเทิงและธุรกิจกีฬา
สมัยใหม่ เพื่อการบริหารจัดการจากอดตี จนถึงปัจจุบัน โดยเป็นการศึกษาประวัติ แนวทาง เนื้อหา และ
วธิ กี ารสร้างองค์ความรู้จากการวิเคราะห์วิจยั เพื่อใหม้ าซึง่ แนวคิดและทฤษฎีหลักทางด้านการจัดการธุรกิจ
บนั เทงิ และธุรกจิ กฬี าสมยั ใหม่ อนั สง่ ผลต่อการกำหนดความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หาในการวิจัย
มคอ.2 41
กรอบแนวคิดในการวิจัย รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์และวิจารณ์งานวิจัย โดยเน้นการนำ
เทคโนโลยีเปลี่ยนโลกทางธุรกิจมาสรา้ งองค์ความรู้ท่ีเป็นรูปธรรมและสามารถนำไปใช้จริงในการวิจัยใน
อนาคตสำหรบั การศึกษาในระดับปริญญาเอกในสถานการณ์ปัจจุบัน
หมวดวิชาอืน่ ๆ
QEB700 การสอบวัดคณุ สมบัติข้อเขียน ไม่นับหนว่ ยกิต
(Written Qualifying Examination)
เป็นการสอบวัดความรู้โดยใช้ข้อสอบข้อเขียนซึ่งครอบคลุมรายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
(Required Courses) ที่ได้ศึกษามาแล้ว รวมทั้งทักษะเชิงวเิ คราะห์ และศักยภาพในการทำงานวิจยั โดย
อิสระ เพื่อแสดงถงึ ศกั ยภาพและความพรอ้ มของผทู้ ่ีจะศกึ ษาในระดับปริญญาดษุ ฎีบณั ฑติ
QEB701 การสอบวดั คณุ สมบัติปากเปล่า ไม่นับหนว่ ยกิต
(Oral Qualifying Examination)
เป็นการสอบวัดความรู้ ทักษะความสามารถในการวิเคราะห์ ศักยภาพในการวิจัย โดยให้
นำเสนอและตอบคำถามเชิงลึกเกี่ยวกับหัวข้อวิจัยต่อคณะกรรมการซึ่งประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจาก
ภายในและภายนอก
BUS898 วทิ ยานิพนธ์ 60
(Thesis)
นักศึกษาเลือกหัวข้อที่ตนสนใจในสาขาวิชา การเขียน หลักการและเหตุผล การเขียน
วัตถุประสงค์ ปัญหาการวิจัย ข้อสมมุติฐาน การเชื่อมโยงระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในการทำวิจัย การ
วิเคราะห์ ตลอดจนสรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ทั้งนี้หัวข้อเรื่องจะต้องได้รับความเห็นชอบจาก
อาจารย์ที่ปรึกษาก่อนทำวิทยานิพนธ์ และผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารหรือ
สิ่งพิมพ์ทางวิชาการที่มีกรรมการภายนอกมาร่วมกลั่นกรอง (Peer Review) ก่อนการตีพิมพ์และเป็นที่
ยอมรับในสาขาวิชานนั้
หมายเหตุ : สำหรบั แบบ 1 (1.1)
BUS899 วทิ ยานพิ นธ์ 36
(Thesis)
นักศึกษาเลือกหัวข้อที่ตนสนใจในสาขาวิชาเพื่อจัดทำวิทยานิพนธ์อย่างเป็นระบบ และ
ถกู ตอ้ งตามหลกั วทิ ยาการวจิ ยั โดยศึกษาการเขยี นหลกั การและเหตผุ ล การเขยี นวัตถปุ ระสงค์ ปัญหาการ
วิจัย ข้อสมมุติฐาน การเชื่อมโยงระหวา่ งองค์ประกอบต่างๆ ในการทำวิจัย การวิเคราะห์ ตลอดจนสรุป
ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ โดยหัวข้อวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา
ทง้ั นี้วิทยานพิ นธจ์ ะต้องสะทอ้ นถึงความลุ่มลกึ ขององคค์ วามรทู้ ี่สามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ดใ้ นเชิงวชิ าการ
มคอ.2 42
หรือการประยุกตใ์ ช้ และผลงานจะตอ้ งไดร้ ับการตีพมิ พ์เผยแพร่ในวารสารหรอื ส่ิงพมิ พ์ทางวิชาการที่เป็น
ทยี่ อมรับในสาขาวิชานัน้ และมีกรรมการภายนอกมาร่วมกล่นั กรอง (Peer Review)
หมายเหตุ : สำหรบั แบบ 2 (2.1)
3.2 ชือ่ สกลุ เลขประจำตัวบตั รประชาชน ตำแหน่งและคณุ วุฒขิ องอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ผูร้ ับชอบหลกั สูตร บางเขน
ลำดบั ชอ่ื -สกุล คุณวฒุ ิ/ (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
1 รศ.ดร.วชิ ติ อูอ่ ้น ปที สี่ ำเร็จ ตอ่ ปีการศึกษา
3-4099-0037X-XX-X - Nova Southeastern
- D.I.B.A. (International University, U.S.A. 2563 2564 2565 2566
2 ผศ.ดร.นิลุบล ศวิ บวรวัฒนา Management), 2003 - University of Sarasota, 12 12 12 12
3-3699-0001X-XX-X - D.B.A. (Marketing), 1998 U.S.A.
- มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ 12 12 12 12
3 ผศ.ดร.สุพนิ ฉายศริ ไิ พบูลย์ - วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร),
3-1001-0055X-XX-X 2535 - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 12 12 12 12
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร),
2532 - Asian Institute of
- Ph.D. (Management of Technology, Thailand
Technology), 2005 - Strayer University
- M.S. (Business Washington DC, U.S.A.
Administration), 1997 - Strayer University
- B.S. (Business Washington DC, U.S.A.
Administration), 1995 - The University of
- D.B.A. (International Sarasota, U.S.A.
Business), 1998 - The University of
- M.B.A. (Finance), 1996 Sarasota, U.S.A.
- มหาวิทยาลัยอสั สมั ชญั
- บธ.บ. (การตลาด), 2537
มคอ.2 43
3.2.2 อาจารย์ผูร้ บั ชอบหลักสูตร วิทยาเขตชลบรุ ี
ลำดับ ช่อื -สกลุ คุณวุฒิ/ (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
1 รศ.ดร.ชลธิศ ดาราวงษ์ ปที ่สี ำเรจ็ ต่อปีการศึกษา
3-1006-0229X-XX-X
2563 2564 2565 2566
2 ดร.พิเชษฐ์ เบญจรงค์รัตน์
3-1201-0135X-XX-X - Ph.D. (Management), - Asian Institute of 12 12 12 12
3 ดร.อนรุ ักษ์ เรืองรอบ 2012 Technology, Thailand
3-3201-0065X-XX-X
- M.B.A (Marketing), 2000. - National Institute of
Development Administration,
- วท.บ. (พัฒนา Thailand
ผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรมเกษตร), - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
2538
- D.B.A. (Management), - Asian Institute of 12 12 12 12
2016 Technology, Thailand
- M.M. (Management), - Sasin Groduate Institue of
1986 Business Administration of
Chulalongkorn University
- ค.อ.บ. (เครื่องกล), 2520 - วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละ
อาชีวศึกษา
- D.B.A. (Management), - Asian Institute of 12 12 12 12
2012 Technology, Thailand
- บธ.ม. (การจดั การ), 2547 - จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
- ร.บ. (รฐั ศาสตร)์ , 2532 - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
3.2.3 อาจารย์ผู้รบั ชอบหลักสตู ร วทิ ยาเขตขอนแกน่
ลำดับ ช่ือ-สกลุ คณุ วุฒิ/ (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปีท่สี ำเร็จ ตอ่ ปีการศึกษา
1 ผศ.ดร.ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพันธ์ - Nova Southeastern
3-3505-0004X-XX-X - D.B.A. (Business University, U.S..A. 2563 2564 2565 2566
Administration Information 12 12 12 12
Systems), 2001
- บธ.ม., 2535 - มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม
- วท.บ. (สถติ ิ), 2532 - มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาสารคาม
มคอ.2 44
ลำดับ ชื่อ-สกุล คณุ วุฒิ/ (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปีทีส่ ำเรจ็ ต่อปีการศึกษา
2 ดร.นนทิพันธ์ุ ประยูรหงษ์ - บธ.ด. (ธุรกิจการกีฬาและการ - มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ 2563 2564 2565 2566
12 12 12 12
3-1201-0044X-XX-X บนั เทิง), 2555
12 12 12 12
- นศ.ม. (เทคโนโลยี - มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑิตย์
สารสนเทศ), 2548
- ศศ.บ. (การทอ่ งเทย่ี ว), - มหาวทิ ยาลัยรังสติ
2544
3 รศ.ดร.ประพันธ์ ชัยกจิ อุราใจ - Psy.D. (Management), - California School of
3-1004-0038 X-XX-X 1999 Professional Psychology,
Alliant International
University, U.S.A.
- บธ.ม., 2538 - มหาวิทยาลัยศรีปทุม
- วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์และ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เทคโนโลยกี ารอาหาร),
2535
3.2.4 อาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม บางเขน
ลำดบั ชื่อ-สกุล คุณวฒุ ิ/ (สาขาวชิ า)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปีทส่ี ำเรจ็ ต่อปีการศึกษา
2558 2559 2560 2561
1 รศ.ดร.วชิ ิต อู่อน้ - D.I.B.A. (International - Nova Southeastern 12 12 12 12
3-4099-0037X-XX-X Management), 2003 University, U.S.A.
- D.B.A. (Marketing), 1998 - University of Sarasota, U.S.A.
- วท.ม. (เศรษฐศาสตร์ - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
เกษตร), 2535
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์ - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
เกษตร), 2532
2 ผศ.ดร.นิลุบล ศิวบวรวฒั นา - Ph.D. (Management of - Asian Institute of 12 12 12 12
3-3699-0001X-XX-X Technology), 2005 Technology, Thailand
- M.S. (Business - Strayer University
Administration), 1997 Washington DC, U.S.A.
- B.S. (Business - Strayer University
Administration), 1995 Washington DC, U.S.A.
มคอ.2 45
ลำดับ ช่ือ-สกุล คณุ วฒุ /ิ (สาขาวชิ า)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปที ส่ี ำเรจ็ ตอ่ ปีการศึกษา
2558 2559 2560 2561
3 ผศ.ดร.สุพนิ ฉายศริ ิไพบลู ย์ - D.B.A. (International - The University of Sarasota, 12 12 12 12
3-1001-0055X-XX-X Business), 1998 U.S.A.
- M.B.A. (Finance), 1996 - The University of Sarasota,
U.S.A.
- บธ.บ. (การตลาด), 2537 - มหาวทิ ยาลัยอสั สมั ชญั
4 ผศ.ดร.ณฐั สพนั ธ์ เผ่าพนั ธ์ - D.B.A. (Business - Nova Southeastern 12 12 12 12
3-3505-0004X-XX-X Administration Information University, U.S..A.
Systems), 2001
- บธ.ม., 2535 - มหาวิทยาลัยศรีปทมุ
- วท.บ. (สถิติ), 2532 - มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาสารคาม
5 ดร.นนทิพันธุ์ ประยรู หงษ์ - บธ.ด. (ธุรกจิ การกฬี าและการ - มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม 12 12 12 12
3-1201-0044X-XX-X บันเทิง), 2555
- นศ.ม. (เทคโนโลยี - มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์
สารสนเทศ), 2548
- ศศ.บ. (การท่องเท่ียว), 2544 - มหาวิทยาลัยรงั สติ
6 รศ.ดร.ประพันธ์ ชัยกจิ อุราใจ - Psy.D. (Management), - California School of 12 12 12 12
3-1004-0038 X-XX-X 1999 Professional Psychology,
Alliant International
University, U.S.A.
- บธ.ม., 2538 - มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม
- วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์และ - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
เทคโนโลยกี ารอาหาร),
2535
7 ผศ.ดร.อังกูร ลาภธเนศ - Ph.D. (Manufacturing - Nottingham University, 12 12 12 12
3-1008-0052X-XX-X Engineering and Operation UK.
Management), 2003
- M.S. (Human Factors and - Embry-Riddle Aeronautical
Systems Engineering), 1999 University, U.S.A.
- B.S. (Aviation Maintenance - Embry-Riddle Aeronautical
Management), 1997 University, U.S.A.
มคอ.2 46
ลำดับ ช่อื -สกุล คุณวุฒ/ิ (สาขาวชิ า)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปที สี่ ำเรจ็ ต่อปีการศึกษา
2558 2559 2560 2561
8 รศ.ดร.ปิยากร หวังมหาพร - ร.ด. (รฐั ศาสตร)์ , 2547 - จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย 12 12 12 12
3-1021-0171X-XX-X - พบ.ม. (การคลังสาธารณะ), - สถาบนั บณั ฑติ พัฒนบรหิ าร
2532 ศาสตร์
- ร.บ. (ความสัมพันธ์ระหวา่ ง - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
ประเทศ), 2530
9 ผศ.ดร.กลั ยารตั น์ ธรี ะธนชยั กุล - กจ.ด., 2556 - มหาวิทยาลัยศรปี ทุม 12 12 12 12
3-1302-0057X-XX-X - บธ.ม. (บริหารธรุ กจิ ), 2550 - มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลย
อลงกรณ์
- บธ.บ. (บริหารธุรกิจ), 2542 - มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลย-
อลงกรณ์
10 ผศ.ดร.ฐิตาภรณ์ สนิ จรญู ศกั ด์ิ - ปร.ด. (การบัญชี), 2552 - มหาวิทยาลยั รามคำแหง 12 12 12 12
3-9106-0002x-xx-x - M.B.A. (International - Stamford International
Business Management), 2014 University, Thailand
- บธ.ม., 2542 - มหาวิทยาลยั ศรีปทุม
- บธ.บ. (การบญั ชี), 2540 - มหาวิทยาลยั เกริก
11 ดร.ชีวรรณ เจริญสขุ - บธ.ด., 2560 - มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม 12 12 12 12
3-1409-0009X-XX-X - บธ.ม., 2547 - มหาวิทยาลัยศรปี ทุม
- สถ.บ. (สถาปัตยกรรม), 2545 - มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสนุ ันทา
3.2.5 อาจารย์ประจำหลกั สตู ร วิทยาเขตชลบุรี
ลำดบั ชื่อ-สกลุ คณุ วุฒ/ิ (สาขาวชิ า)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปีทสี่ ำเร็จ ต่อปีการศึกษา
1 รศ.ดร.ชลธศิ ดาราวงษ์ - Asian Institute of
3-1006-0229X-XX-X - Ph.D. (Management), Technology, Thailand 2558 2559 2560 2561
2012 - National Institute of 12 12 12 12
- M.B.A. (Marketing), Development Administration,
2000. Thailand
- มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
- วท.บ. (พัฒนาผลิตภัณฑ์
อุตสาหกรรมเกษตร), 2538
มคอ.2 47
ลำดับ ชือ่ -สกุล คณุ วฒุ ิ/ (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปที ีส่ ำเร็จ ต่อปีการศึกษา
2558 2559 2560 2561
2 ดร.พเิ ชษฐ์ เบญจรงคร์ ัตน์ - D.B.A. (Management), - Asian Institute of 12 12 12 12
3-1201-0135X-XX-X 2016 Technology, Thailand
- M.M. (Management), - Sasin Groduate Institue of
1986 Business Administration of
chulalongkorn University
- ค.อ.บ. (เครอื่ งกล), 2520 - วิทยาลยั เทคโนโลยแี ละ
อาชีวศกึ ษา
3 ดร.อนุรกั ษ์ เรอื งรอบ - D.B.A. (Management), - Asian Institute of 12 12 12 12
3-3201-0065X-XX-X 2012 Technology, Thailand
- บธ.ม. (การจัดการ), 2547 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- ร.บ. (รฐั ศาสตร์), 2532 - มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์
4 ดร.สายชล ป่นิ มณี - D.B.A. (Supply Chain - Victoria University, 12 12 12 12
3-2401-0074X-XX-X and Logistics Management), Australia
2016
- บธ.ม. (บรหิ ารธุรกจิ ), 2548 - มหาวิทยาลยั บรู พา
- วท.บ. (วทิ ยาศาสตร์และ - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
เทคโนโลยีทางไม)้ , 2546
5 ผศ.ดร.จิราพร ระโหฐาน - Ed.D. (Human Resource - Victoria University, 12 12 12 12
3-2499-0010X-XX-X and Professional Australia
Development), 2005
- วท.ม. (เศรษฐศาสตร)์ , 2540 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์ - มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์
การเกษตร), 2538
6 ผศ.ดร.รวิภา อัครจนิ ดานนท์ - Ph.D. (International - Asian Institute of 12 12 12 12
3-1014-0240X-XX-X Business), 2004 Technology, Thailand
- พบ.ม. (การตลาด), 2542 - สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบริหาร
ศาสตร์
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
2532
7 ผศ.ดร.ธรนิ ี มณศี รี - วศ.ด. (วิศวกรรมอตุ สาหการ), - มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 12 12 12 12
3-2399-0001x-xx-x 2552
- มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
มคอ.2 48
ลำดับ ช่อื -สกุล คณุ วฒุ ิ/ (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปีท่ีสำเร็จ ตอ่ ปีการศึกษา
8 ดร.มกุ ดาฉาย แสนเมอื ง
3-6704-0011X-XX-X 2558 2559 2560 2561
- วศ.ม. (วิศวกรรมอุตสาหการ),
2546 - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี
- วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ),
2542
- D.B.A, 2016 -AsianInstituteof Technology, 12 12 12 12
Thailand
- บธ.ม. (บริหารธุรกจิ ), 2542 - มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่
- บธ.บ. (บัญช)ี , 2538 - มหาวิทยาลยั เชียงใหม่
3.2.6 อาจารย์ประจำหลักสูตร วิทยาเขตขอนแกน่
ลำดบั ชื่อ-สกุล คณุ วฒุ /ิ (สาขาวิชา)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปที ีส่ ำเร็จ ต่อปีการศึกษา
2558 2559 2560 2561
1 ผศ.ดร.ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์ - D.B.A. (Business - Nova Southeastern 12 12 12 12
3-3505-0004X-XX-X Administration Information University, U.S..A.
Systems), 2001
- บธ.ม., 2535 - มหาวิทยาลัยศรีปทุม
- วท.บ. (สถติ ิ), 2532 - มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวิโรฒ
มหาสารคาม
2 ดร.นนทิพันธ์ุ ประยรู หงษ์ - บธ.ด. (ธุรกิจการกีฬาและการ - มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ 12 12 12 12
3-1201-0044X-XX-X บันเทิง), 2555
- นศ.ม. (เทคโนโลยี - มหาวิทยาลยั ธุรกิจบณั ฑิตย์
สารสนเทศ), 2548
- ศศ.บ. (การท่องเท่ียว), 2544 - มหาวิทยาลยั รงั สติ
3 รศ.ดร.ประพันธ์ ชยั กจิ อุราใจ - Psy.D. (Management), - California School of 12 12 12 12
3-1004-0038 X-XX-X 1999 Professional Psychology,
Alliant International
University, U.S.A.
- บธ.ม., 2538 - มหาวิทยาลัยศรปี ทุม
- วท.บ. (วทิ ยาศาสตรแ์ ละ - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
เทคโนโลยีการอาหาร), 2535
มคอ.2 49
ลำดับ ชื่อ-สกลุ คณุ วฒุ /ิ (สาขาวชิ า)/ สถาบันท่ีสำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปีท่ีสำเรจ็ ตอ่ ปีการศึกษา
2558 2559 2560 2561
4 รศ.ดร.วิชิต ออู่ ้น - D.I.B.A. (International - Nova Southeastern 12 12 12 12
3-4099-0037X-XX-X Management), 2003 University, U.S.A.
- D.B.A. (Marketing), 1998 - University of Sarasota, U.S.A.
- วท.ม. (เศรษฐศาสตร์ - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
เกษตร), 2535
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์ - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เกษตร), 2532
5 ผศ.ดร.นิลบุ ล ศิวบวรวัฒนา - Ph.D. (Management of - Asian Institute of 12 12 12 12
3-3699-0001X-XX-X Technology), 2005 Technology, Thailand
- M.S. (Business - Strayer University
Administration), 1997 Washington DC, U.S.A.
- B.S. (Business - Strayer University
Administration), 1995 Washington DC, U.S.A.
6 ผศ.ดร.สพุ นิ ฉายศิริไพบลู ย์ - D.B.A. (International - The University of Sarasota, 12 12 12 12
3-1001-0055X-XX-X Business), 1998 U.S.A.
- M.B.A. (Finance), 1996 - The University of Sarasota,
U.S.A.
- บธ.บ. (การตลาด), 2537 - มหาวิทยาลัยอัสสัมชญั
7 ผศ.ดร.อุทัยรัตน์ เมืองแสน - D.B.A. (Business -วิทยาลยั พาณชิ ยศาสตร์ 12 12 12 12
3-6407-0053X-XX-X Administration), 2558 มหาวทิ ยาลัยบูรพา
- M.B.A. (International - Asian Institute of
Business), 2000 Technology, Thailand
- ศศ.บ. (การจัดการทวั่ ไป), - มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลย-
2535 อลงกรณ์
8 ดร.สกุ ญั ญา ทพิ หา - บธ.ด. (ธุรกิจการกีฬาและ - มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ 12 12 12 12
3-6303-0006X-XX-X การบันเทงิ ), 2558
- ศศ.ม. (การประชา- - มหาวทิ ยาลยั หอการค้าไทย
สัมพันธธ์ ุรกจิ ), 2552
- ศศ.บ. (ภาษาองั กฤษ), 2549 - มหาวิทยาลยั หอการคา้ ไทย
9 ดร.กญั จน์นิกข์ กำเนิดเพช็ ร์ - กจ.ด., 2554 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ 12 12 12 12
3-1022-0135X-XX-X - วท.ม. (การวิจยั พฤติกรรม - มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ
ศาสตร์ประยกุ ต์), 2547