มคอ.2 50
ลำดบั ช่ือ-สกลุ คุณวุฒิ/ (สาขาวชิ า)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน หน่วยกิต/
ปที ส่ี ำเรจ็ - จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ตอ่ ปีการศึกษา
10 ดร.อรอนงค์ ภู่เจริญ
3-1006-0043X-XX-X - นศ.ม. (นเิ ทศศาสตร์ 2558 2559 2560 2561
พัฒนาการ), 2540
11 ผศ.ดร.อนุพงศ์ อวริ ทุ ธา - น.บ., 2535 - มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช
3-1017-0238X-XX-X - บธ.บ. (การเงินและการ - มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง
ธนาคาร), 2523
- บธ.ด., 2560 - มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม 12 12 12 12
- นศ.ม., 2553 - มหาวิทยาลัยศรีปทมุ 12 12 12 12
- นศ.บ. (การโฆษณา), 2548 - มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ
- D.B.A. (Strategic - Argosy University, U.S.A
Management), 2006
- M.B.A. (Marketing), 2002 - Oklahoma City University,
U.S.A
- บธ.บ. (การจัดการ), 2543 - มหาวิทยาลัยหอการคา้ ไทย
4 องค์ประกอบเกย่ี วกบั ประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรอื สหกจิ ศึกษา)
ไมม่ ี
5. ข้อกำหนดเกีย่ วกับการทำโครงงานหรอื งานวิจยั
ขอ้ กำหนดเฉพาะที่เกย่ี วกับการทำวิทยานพิ นธ์ในหลักสูตรบริหารธรุ กิจดุษฎีบัณฑิต ให้เป็นไป
ตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา
5.1 คำอธิบายโดยยอ่
การทำวิจัยวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับบริหารธุรกิจเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยกระบวนการวิจัย
อย่างครบถ้วนทกุ ขน้ั ตอน โดยให้มีการเสนอเค้าโครงการวจิ ัย การทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์ข้อมูล การสรปุ ผลและอภปิ รายผลข้อมลู และการเสนอผลการวิจัยใน
รูปบทความการตีพิมพใ์ นวารสารวชิ าการที่ปรากฏในฐานขอ้ มลู TCI (กล่มุ ท1ี่ หรือ 2) จนถึงวารสารวิชาการ
ระดับนานาชาติท่ีปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรอื ระเบียบคณะกรรมการการ
อดุ มศึกษาวา่ ด้วยหลักเกณฑ์การพจิ ารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ.2556
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
5.2.1 มคี วามรู้และทักษะดา้ นบรหิ ารธรุ กจิ
5.2.2 มที กั ษะการทำงานด้านการวจิ ัยเก่ยี วกับบรหิ ารธรุ กิจ
5.2.3 มีการพัฒนาด้านทัศนคติ และคุณธรรมของนักศึกษาด้านการวิจัยซึ่งจะส่งผลให้เกิด
คณุ ธรรม จริยธรรมดา้ นการบรหิ าร
มคอ.2 51
5.2.4 นักศึกษาสอบผ่านในการสอบวิทยานิพนธ์ โดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามข้อบังคับ
มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ ว่าด้วยการศึกษาในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา
5.3 ช่วงเวลา
แผน แบบ 1.1 เริ่มปี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 เป็นตน้ ไป และแผน แบบ 2.1 เร่ิมในปี 2 ภาคการศกึ ษาที่ 1
เปน็ ตน้ ไป
5.4 จำนวนหนว่ ยกิต
แผน แบบ 1.1 จำนวน 60 หนว่ ยกิต และแผน แบบ 2.1 จำนวน 36 หนว่ ยกติ
5.5 การเตรยี มการ
มีการให้ข้อมูลกรอบของวิทยานิพนธ์ และให้นักศึกษาเสนอหัวข้อที่สนใจ โดยมีการให้
คำปรึกษา แนะนำ และชี้ประเด็นที่กำลังเป็นที่สนใจของสังคม หรือประเด็นที่เป็นประโยชน์ในการ
เสนอแนะดา้ นการบรหิ ารธุรกิจ จากนนั้ นักศึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาทำงานร่วมกันในการศึกษาวจิ ัย และ
กำหนดให้นกั ศึกษาเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อติดตามความกา้ วหน้าตามข้อกำหนดเป็นระยะๆ เพื่อให้
การทำวทิ ยานิพนธ์ ทำได้เสร็จตามระยะเวลา
5.6 กระบวนการประเมินผล
กระบวนการประเมนิ ผลงานการทำวิทยานิพนธข์ องนกั ศกึ ษา มกี ารสอบหรอื ประเมิน เค้าโครง
การวิจัย การประเมินความก้าวหน้าทุกภาคการศึกษา การสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ การประเมินผลงาน
ตีพมิ พเ์ ผยแพรว่ ิทยานพิ นธ์ ตามขอ้ กำหนดของวิทยาลัยบัณฑิตศกึ ษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
หมวดที่ 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมนิ ผล
1. การพัฒนาคุณลกั ษณะพิเศษของนกั ศึกษา
คุณลักษณะพเิ ศษ กลยทุ ธ์หรือกจิ กรรมของนักศกึ ษา
1. ความสามารถดา้ นการใช้ภาษาองั กฤษ สง่ เสริมทักษะการฟงั พดู อา่ น และเขียนภาษาอังกฤษ โดย
การใช้ตำราภาษาอังกฤษในการเรียนการสอนและใช้
2. ความสามารถดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาษาองั กฤษในการเขียนและนำเสนอผลงานวจิ ัย
ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวน การ
3. ดา้ นภาวะผนู้ ำ ความรับผดิ ชอบ และ เรยี นรูแ้ ละปฏบิ ตั งิ าน เชน่ การใชส้ ่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ การใช้
การมวี นิ ยั บรกิ ารห้องสมุดผ่านระบบอนิ เทอรเ์ น็ตท่วั ประเทศ
มกี ารสรา้ งภาวะความเป็นผู้นำในการปฏบิ ัตงิ านหรอื การทำ
วจิ ัยร่วมกับผอู้ ืน่ มีความรับผิดชอบในการปฏบิ ัตงิ านหรือส่ง
งาน และมีกติกาในการสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้า
เรยี นตรงตามเวลา
มคอ.2 52
คุณลกั ษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกิจกรรมของนักศึกษา
4. ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรกเรื่องการแต่งกาย การเข้าสังคม การมี
มนุษยสัมพันธ์ท่ีดี การเจรจาสื่อสาร และการวางตัวในการ
5. ด้านจริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ ทำงานร่วมกับบุคคลอื่นในระหว่างการเรียนรู้ ทั้งทาง
6. ดา้ นศักยภาพในการปฏบิ ตั ิงานจริง ภาคทฤษฎีและการทำการวจิ ัย
มีการให้ความรู้ถึงผลกระทบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และข้อ
กฎหมายต่างๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การปฏิบตั ิงานในสาขาวิชาชีพ
การเรยี นการสอนม่งุ เน้นใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรคู้ วามเข้าใจใน
เชิงลึก สามารถผลิตงานวิจัยที่มีประโยชน์และนำไป
ประยกุ ตใ์ ชง้ านไดจ้ รงิ ในเชิงปฏิบัติ
2. การพฒั นาผลการเรยี นรูใ้ นแต่ละดา้ น
2.1 ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
2.1.1 ผลการเรียนร้ดู ้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
นักศึกษาต้องมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี วามตระหนกั ในคณุ ค่าของการดำเนนิ ภารกิจท่ีส่งผล
ต่อการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต การทำประโยชน์ การปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หา และการดำเนินชีวิตร่วมกับ
ผ้อู ่นื ในสงั คมได้อยา่ งราบรื่น โดยมีคณุ สมบัติสรุปพอสังเขปดงั น้ี
(1) มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต สามารถจัดการปัญหาทางคุณธรรม
จรยิ ธรรมท่ีซบั ซอ้ นเชิงวิชาการหรอื วิชาชพี โดยคำนงึ ถงึ ความถกู ตอ้ งและความร้สู ึกของผูอ้ น่ื
(2) มวี ินยั ตรงตอ่ เวลา รับผิดชอบตอ่ ตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
ขององคก์ รและสังคม
(3) ปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี และระเบียบข้อบังคบั ตา่ งๆ ขององคก์ รอยา่ งเคร่งครดั
(4) มีความคิดริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่ เพื่อการทบทวนและแก้ไข
ในทางท่ถี กู ต้องและเหมาะสม
(5) สามารถใช้การวินิจฉัยทางด้านคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการกับข้อโต้แย้งและ
ปัญหาตา่ งๆ ทม่ี ีผลกระทบท้งั ต่อตนเองและองค์กร
(6) มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม
จริยธรรม ในสภาพแวดล้อมของการทำงานและในชมุ ชนท่กี ว้างขวางข้นึ
2.1.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ีใช้พัฒนาการเรยี นรู้ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัยในตนเอง แต่งกายเหมาะสมกับสถานภาพนักศึกษา มี
ความรับผิดชอบในการเข้าเรียนและการส่งงานตรงเวลา ฝึกฝนภาวะความเป็นผู้นำ ผู้ตาม รวมถึงการ
เคารพสิทธิ และการรับฟังความคดิ เห็นผูอ้ ่ืนในการปฏิบัตงิ านเปน็ ทีมและการทำงานวจิ ัย มกี ารสอดแทรก
ความรู้ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม ในการเรียนการสอน ท้ังในดา้ นการดำรงชีวติ อยู่ในสงั คม และการประกอบ
มคอ.2 53
วชิ าชีพ โดยเน้นในเร่ืองจรรยาบรรณทางวชิ าการและวชิ าชีพเป็นสำคัญ รวมท้งั มงุ่ เน้นการใชป้ ระโยชนจ์ าก
การองค์ความรู้ทางการศกึ ษาทั้งทางทฤษฎี ทางปฏิบัติ และจากการทำวิจยั ในการป้องกันและการแก้ไข
ปัญหาในสงั คม ทั้งในระดับชุมชน ท้องถิ่น และในระดบั ทสี่ ูงขน้ึ
2.1.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรยี นรดู้ ้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
มกี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ทง้ั ระหวา่ งกำลงั ศกึ ษา และภายหลัง
สำเร็จการศึกษา ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การใช้แบบสอบถาม
แบบประเมนิ และแบบวดั ผล โดยประเมินจากหลายๆ ด้าน ดังน้ี
(1) ประเมนิ จากการมีวินยั ในการเรียน การตรงเวลาในการเข้าช้นั เรียน การทำงานเสรจ็ และ
สง่ งานตามกำหนด
(2) ประเมินจากความรบั ผิดชอบในการทำงาน การปฏบิ ตั ิงานเปน็ ทมี การทำงานวจิ ยั หรือ
การเข้ารว่ มกิจกรรมในการใช้องค์ความรูท้ างการศึกษาเพือ่ ทำประโยชน์ต่อสังคม
(3) ประเมินจากความซ่ือสัตย์ และจรรยาบรรณในการทำงานวจิ ัย การเขียนบทความวิชาการ
และในการสอบ
(4) ผ้เู รียนประเมินตนเอง และประเมินโดยเพอื่ นและอาจารย์ โดยใช้แบบประเมนิ และแบบวดั ผล
(5) ภายหลังสำเร็จการศึกษา ใหด้ ุษฎีบณั ฑติ ประเมินตนเอง ประเมินจากผู้ใชด้ ุษฎบี ัณฑิตหรือ
นายจา้ ง โดยใช้แบบสอบถาม และ/หรอื การสมั ภาษณ์
2.2 ดา้ นความรู้
2.2.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้
นักศึกษามีความรู้และเชี่ยวชาญทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และความรู้เกี่ยวกับ
สาขาวิชาที่ศึกษานั้นต้องเป็นสิ่งที่นักศึกษาต้องรู้เพื่อใช้ประกอบอาชีพและช่วยพัฒนาสังคมดังนั้น
มาตรฐานความรตู้ อ้ งครอบคลุมสง่ิ ตอ่ ไปน้ี
(1) มคี วามรแู้ ละความเข้าใจอย่างถ่องแท้ ในเนือ้ หาสาระหลักของสาขาวิชาบริหารธรุ กิจ ตลอดจน
หลกั การและทฤษฎีที่สำคญั และนำมาประยกุ ตใ์ นการศกึ ษาคน้ ควา้ ทางวิชาการหรือการปฏิบตั ิในวชิ าชพี
(2) มีความเข้าใจทฤษฎีในสาขาวิชา การวิจัย และการปฏบิ ัติทางวิชาชพี ในแขนงวิชาเฉพาะ
ตา่ งๆ อย่างลึกซึง้ ในระดบั แนวหน้า
(3) มีความเข้าใจในวธิ ีการพัฒนาความรูใ้ หมๆ่ และการประยุกต์ใช้ องค์ความรูใ้ นสาขาวิชา
และตอ่ การปฏิบัติในงาน
(4) สามารถพฒั นานวัตกรรมหรอื สรา้ งองค์ความร้ใู หม่ สะสมองค์ความร้จู ากงานวจิ ยั เพ่อื เชื่อมโยง
กับการบรหิ ารธุรกิจ การปอ้ งกันและการแกไ้ ขปญั หาในสังคมวิชาการหรือสังคมแหง่ ความรู้ ในระดบั ทสี่ ูงขึ้น
(5) มคี วามแขง็ แกร่งทางวชิ าการ และมีความสามารถท่ีจะพง่ึ ตนเองไดใ้ นอนาคต มีศักยภาพ
ในการบรกิ ารวชิ าการท่เี ชอ่ื มโยงกบั การบริหารธุรกจิ
(6) มีความรู้และเข้าใจในระเบียบข้อบังคับ ที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมในระดับชาติและ
นานาชาติ ทอ่ี าจมีผลกระทบตอ่ สาขาวิชาชีพรวมทั้งเหตุผลและการเปลยี่ นแปลงทีอ่ าจเกิดข้ึนไดใ้ นอนาคต
มคอ.2 54
(7) เปน็ นกั วจิ ัยท่ีมีคุณภาพ มีผลงานทางวชิ าการที่ไดร้ บั การยอมรบั ในระดบั สากล
2.2.2 กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ช้พัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นความรู้
เป็นการจัดการเรยี นร้โู ดยผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลาง และมุง่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษามีความรู้ความเข้าใจ
ศาสตรใ์ นเชิงลึก ผสมผสานใหน้ ำไปสู่วธิ ีการดำเนินการท่ีเป็นการพัฒนาอย่างยง่ั ยืน โดยใชว้ ิธกี ารเรยี นการ
สอนในหลากหลายรูปแบบ และทันต่อการเปลี่ยนแปลง เน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ทาง
ปฏิบัตใิ นสภาพแวดล้อมจรงิ การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง และการเรยี นรู้แบบมีส่วนรว่ ม เรยี นรู้จากสถานการณ์
จริง มีการเรยี นรูท้ งั้ ในชนั้ เรียน การทำวิจยั และการนำความร้ไู ปประยกุ ต์ใช้ในการทำประโยชน์ต่อชุมชน
ทอ้ งถ่ิน และในระดับท่สี ูงข้ึน รวมถึงการทำวทิ ยานิพนธ์ และส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสามารถพึง่ ตนเองได้ มอี ิสระ
ในการแสวงหาความรโู้ ดยไมย่ ึดตดิ กับการรบั ขอ้ มลู จากผสู้ อนเพียงวิธีเดียว เปน็ รูปแบบการเรียนรูท้ ่ีกระตุ้น
ให้เกิดการคิด วเิ คราะห์ และตดั สินใจด้วยตนเอง เชน่ ให้มีการนำเสนองาน การรว่ มแสดงความคิดเห็น การ
ตอบคำถาม เพอ่ื สนบั สนุนให้นกั ศึกษาคิดเป็นและมีนิสยั ใฝร่ ู้
2.2.3 กลยทุ ธก์ ารประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นความรู้
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษาใหค้ รอบคลุมในทุกด้าน
นักศึกษาจะถูกประเมินในแต่ละรายวิชาที่เรียนโดยการทดสอบย่อย การสอบปลายภาค รวมถึงการ
ประเมินในด้านที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์ การนำเสนอผลงาน การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ประโยชน์ การสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ การวางแผน การทำวิทยานิพนธ์ การนำเสนอ
วทิ ยานพิ นธ์ และการสอบวิทยานิพนธ์
2.3 ทักษะทางปัญญา
2.3.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะทางปัญญา
นักศึกษามีวิจารณญาณในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและสร้างสรรค์ โดยใช้องค์
ความรูท้ างวิชาชพี ทีเ่ รียนมาทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติ เทคโนโลยี นวตั กรรม และประสบการณจ์ ริง มา
บูรณาการใช้ในการแก้ไขปัญหา การเรียนรู้ การประกอบอาชีพ และการดำรงชีวิต เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ท่ี
ปลอดภยั มีคุณภาพ และเป็นประโยชน์ทง้ั ต่อตนเองและสงั คม ดังนี้
(1) สามารถใชค้ วามรูท้ างทฤษฎีและปฏิบตั ิในการคิดวเิ คราะห์อย่างเปน็ ระบบ และจัดการ
บริบทใหม่ทางวิชาการและวิชาชีพ ในการพัฒนาและสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นปัญหาทางด้าน
บริหารธรุ กิจอยา่ งเหมาะสม
(2) สามารถสืบค้นข้อมูลผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพ จาก
แหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สังเคราะห์ และนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยการบูรณา
การแนวคดิ ต่างๆ ทงั้ จากภายในและภายนอกสาขาวชิ า
(3) สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการทางสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การวิจัย นวัตกรรม
และสามารถประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรู้ ไปสกู่ ระบวนการปฏิบตั ิ ได้อยา่ งเหมาะสมและสรา้ งสรรค์
(4) สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจดำเนินการหรือแก้ไขปัญหาได้ ในสถานการณ์ที่มี
ขอ้ มลู ประกอบไมเ่ พยี งพอ
มคอ.2 55
(5) สามารถออกแบบและดำเนินการโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการที่สำคัญในเรื่องที่
ซับซ้อนที่เก่ียวกับการพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ ปรับปรุงแนวปฏิบัติในการบริหารทางธุรกิจ ได้อย่างมี
นัยสำคญั และสามารถผลติ ผลงานทางวิชาการและงานวจิ ัย ในระดับชาติ และนานาชาติ
2.3.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใ่ี ช้พฒั นาการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะทางปญั ญา
ใชห้ ลกั การสอนที่เนน้ ให้ผเู้ รียนได้ฝึกทักษะการคิดและการแก้ไขปญั หา มคี วามสามารถใน
การเรียนรู้ด้วยตนเอง และการปฏิบัติงานจริง สามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ
ประยุกต์ใชศ้ าสตร์ทางด้านต่างๆ กบั สถานการณ์จรงิ โดยใชป้ ัญหาเป็นตวั กระตุ้นให้เกดิ การเรียนรู้ รวมท้ัง
ส่งเสริมให้นักศึกษามีความพร้อมในการปรับตวั ได้ และสามารถแก้ปัญหาในสถานการณต์ ่างๆ ในชีวิตได้
อย่างเหมาะสม อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาอาจตั้งปัญหาปลายเปิดหรือโจทย์ให้วิเคราะห์หาเหตุผล
หรอื หาคำตอบ โดยให้นกั ศกึ ษาค้นคว้าหาคำตอบด้วยตนเอง โดยยึดหลกั การของเหตแุ ละผลหรือทฤษฎีท่ี
สามารถอ้างองิ ได้
2.3.3 กลยุทธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรูด้ า้ นทักษะทางปญั ญา
ประเมินทักษะทางปัญญา ได้จากการแสดงออกทางการกระบวนการคิดและการแก้ไข
ปัญหา ผลการปฏิบัติงาน ความสัมฤทธิผ์ ลทางการเรยี นรู้ การเขียนบทความวิชาการ การทำวิทยานิพนธ์
การนำเสนอผลงาน การอธบิ าย การตอบคำถาม การโต้ตอบสื่อสารกับผอู้ ่ืน
2.4 ทักษะความสัมพนั ธ์ระหวา่ งบุคคลและความรับผดิ ชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรดู้ า้ นทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและความรบั ผิดชอบ
นกั ศึกษามปี ฏสิ ัมพันธอ์ ย่างสร้างสรรค์ สามารถปรับตัวให้เข้ากบั กลุม่ คนต่างๆ ได้ มีความ
เคารพและยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลและสังคม สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมทั้งกับ
ผู้บังคับบัญชาและผู้อยูใ่ ต้บังคับบัญชา สามารถแสดงออกซึ่งความสามารถในการทำงานเป็นทีมและการ
แกไ้ ขสถานการณ์ตา่ งๆ ทั้งในบทบาทของผ้นู ำและผตู้ ามได้ กล้าแสดงออกและมีความคิดริเริ่มในการแสดง
ประเด็นใหม่ๆ ในการทำงานหรือแกไ้ ขสถานการณโ์ ดยการนำความรู้ทีเ่ รียนมาคิดวเิ คราะหแ์ ละประยุกต์ใช้
อย่างเป็นระบบ มีความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ เรียนรู้และพัฒนาตนเอง วิชาชีพ และสังคมอย่าง
ตอ่ เน่ือง ดงั น้ี
(1) มีระเบียบวินัย มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง ทั้งต่อหน้าที่ องค์กร
วชิ าชีพ และสงั คม
(2) สามารถตดั สนิ ใจในการดำเนนิ งานดว้ ยตนเอง ประเมินตนเอง รวมท้ังวางแผนปรับปรุง
ตนเองและองคก์ รได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(3) มีความรับผิดชอบในการพัฒนาความรู้ของตนเอง องค์กร วิชาชีพ และสังคม และมี
ความสามารถสูงในการแสดงความเหน็ ทางวิชาการและวิชาชีพ สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช้ีนำองค์กร
แก้ไขปญั หาทมี่ คี วามซบั ซอ้ นสูงมากดว้ ยตนเอง และเปล่ยี นแปลงสังคมในประเดน็ ท่เี หมาะสม
(4) สามารถทำงานเป็นทีม เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และสามารถปรับตัว
เชงิ วชิ าชีพ และมีปฏสิ มั พันธ์อยา่ งสร้างสรรคก์ บั ผู้ร่วมงานและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี
มคอ.2 56
(5) แสดงภาวะการเป็นผู้นำที่โดดเด่นในองค์กร บริหารการทำงานเป็นทีม และภาวะการ
เป็นผตู้ ามในทีมได้อยา่ งเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสทิ ธิภาพในการทำงานของ
กลุม่ และสามารถแกไ้ ขขอ้ ขดั แย้งตามลำดับความสำคญั
(6) มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษา
สภาพแวดล้อมต่อสงั คม
2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และ
ความรับผิดชอบ
เน้นการเรยี นการสอนท่ีเน้นทักษะในการเรียนรู้และการปฏิบตั ิงานเป็นทมี การแสดงออก
ถึงภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน การวางตัวที่เหมาะสมต่อ
กาลเทศะ การทำกิจกรรมเพื่อสังคม การประสานงานกับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
และความรบั ผิดชอบต่องานทไ่ี ด้รบั มอบหมาย
2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความ
รับผิดชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในหลายๆ ด้าน ระหว่างกิจกรรม
การเรยี นการสอน เชน่ พฤติกรรมความสนใจ ต้ังใจเรยี นรู้ และพฒั นาตนเอง การแสดงบทบาทภาวะผู้นำ
และผู้ตามที่ดี ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น ความรับผิดชอบในการเรียนและงานที่ได้รับ
มอบหมาย การทำวิทยานิพนธ์ การนำเสนอผลงาน และการรว่ มทำกิจกรรมเพ่อื สังคม
2.5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.5.1 ผลการเรยี นร้ดู า้ นทกั ษะการวเิ คราะห์เชงิ ตวั เลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ ในการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลหรือ
สถานการณ์ต่างๆ ในการเรียนการสอน การปฏิบัติงาน และการทำงานวิจัยได้ สามารถเรียนรู้ศาสตร์
ทางดา้ นววิ ฒั นาการทางเทคโนโลยี และรู้จักนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ สังคม มที ักษะ
ในการสอื่ สารท้ังการพูด ฟงั อ่าน และเขียน ทง้ั เป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้เปน็ อย่างดี และมที ักษะ
ในการนำเสนอผลงาน โดยจัดทำงานนำเสนอและเลอื กใช้สื่อและเทคโนโลยสี ารสนเทศไดอ้ ย่างเหมาะสม
ดงั น้ี
(1) สามารถคัดกรองข้อมูลและใช้หลักตรรกะทางคณิตศาสตร์และสถิติ ในการศึกษาค้นคว้า
ปัญหา เชื่อมโยงประเด็นปญั หาท่ีสำคญั และซับซ้อน และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาในด้านตา่ งๆ
ในเชงิ ลึก ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
(2) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ทีท่ นั สมยั ไดอ้ ย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธภิ าพ
(3) สามารถสอ่ื สารโดยใชภ้ าษาไทยและภาษาอังกฤษไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพทงั้ การพดู การอ่าน
การฟัง การเขียน และการนำเสนอ และสื่อสารกับกลุ่มบุคคลต่างๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ
รวมถงึ ชมุ ชนท่วั ไปได้อยา่ งเหมาะสม
มคอ.2 57
(4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการทำวิจัย การนำเสนอรายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์
หรือโครงการค้นควา้ ทีส่ ำคัญ ทั้งในรูปแบบท่ีเป็นทางการและไม่เป็นทางการ รวมถึงการตพี มิ พ์ผ่านส่อื ได้
อย่างเหมาะสม
2.5.2 กลยุทธก์ ารสอนที่ใช้พฒั นาการเรียนรู้ดา้ นทักษะการวิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข การสื่อสาร
และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชาและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จะต้องส่งเสริมให้
นักศึกษาได้ฝึกทักษะทั้งด้านการวิเคราะห์ นักศึกษาจะได้รับมอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด หรือโจทย์วิจัย
อย่างตอ่ เนื่อง โดยมีโอกาสได้วิเคราะห์ปญั หาจากโจทยท์ ่งี า่ ยและเพ่มิ ความซับซ้อนขึน้ เป็นลำดับ การเรียน
ในทุกวิชาโดยเฉพาะอย่างยิ่งวิชาสัมมนา นักศึกษาจะได้ฝึกทักษะการสื่อสารทุกด้าน ตัวอย่างเช่น การ
นำเสนอผลลัพธ์จากโจทย์ที่ได้รับมอบหมายหรือการนำเสนอความก้าวหน้าของงานวจิ ัย โดยเบื้องต้นจะ
เป็นการนำเสนอหน้าชั้นเรียน และหากงานวิจัยมีความก้าวหน้าในระดับที่น่าพอใจ อาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์จะมอบหมายให้นกั ศึกษาได้นำเสนอผลงานวิจัยในการประชุมทางวิชาการต่อไป นอกจากน้ี
นักศึกษาจะได้ฝึกการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื เปน็ เครอ่ื งมอื ชว่ ยในการคน้ ควา้ วิจัย การนำเสนอผลงาน
ในรูปแบบต่างๆ รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับอาจารย์หรือ
นักศกึ ษาตา่ งสถาบนั ที่มคี วามสนใจในการทำวิจัยในด้านเดยี วกนั
2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรู้ด้านทักษะการวเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข การสอ่ื สาร และ
การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
ประเมนิ ผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนองานโดยใช้แบบประเมินทักษะ
ในด้านต่างๆ การทดสอบความรู้และเทคนิคการวิเคราะห์และแก้ปัญหาโดยใช้โจทย์ที่สมมุติขึ้น หรื อ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในธุรกิจ รวมถึงการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยของนักศึกษา ทั้งนี้จะทำการ
ประเมนิ ตัง้ แตเ่ ร่มิ ต้นจนถงึ ขัน้ ตอนการเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงาน
3. ผลการเรียนรู้ตามหลกั สูตร
3.1 ผลการพัฒนาการเรยี นร้ตู ามหลกั สตู ร (PLO)
1. PLO1 บรู ณาการความรู้ทางด้านการบริหารจัดการองคก์ ารให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง
ของโลกอยา่ งมอื อาชีพ
2. PLO2 บูรณาการทักษะทางดา้ นการบริหารจดั การองค์การเพือ่ ใหท้ นั สมยั ตอ่ การ
เปล่ยี นแปลงของโลกอยา่ งมอื อาชพี
3. PLO3 บรู ณาการทศั นคติเชงิ บวกใหท้ นั สมยั ต่อการเปลย่ี นแปลงของโลกอย่างมืออาชพี
3.2 ผลการพัฒนาการเรยี นรู้ย่อยของหลักสตู ร (SubPLO)
1. PLO1 การบูรณาการความรู้ทางด้านการบริหารจัดการองค์การให้ทันสมยั ต่อการเปลี่ยนแปลง
ของโลกอยา่ งมอื อาชีพ
PLO1 Sub1 : การบูรณาการความรู้ทางด้านการจัดการการตลาดให้ทันสมัยต่อการ
เปลีย่ นแปลงของโลกอย่างมืออาชีพ
มคอ.2 58
PLO1 Sub2 : การบูรณาการความรู้ทางด้านการจัดการการผลิตให้ทันสมัยต่อการ
เปล่ยี นแปลงของโลกอยา่ งมอื อาชพี
PLO1 Sub3 : การบูรณาการความรู้ทางดา้ นการจัดการทรัพยากรมนุษย์ให้ทนั สมัยตอ่ การ
เปลย่ี นแปลงของโลกอย่างมอื อาชีพ
PLO1 Sub4 : การบูรณาการความรู้ทางด้านการจัดการการเงินให้ทันสมั ยต่อการ
เปลี่ยนแปลงของโลกอย่างมืออาชีพ
PLO1 Sub5 : การบูรณาการความรู้ทางด้านการจัดการงบบัญชี และต้นทุนให้ทันสมัยต่อ
การเปลยี่ นแปลงของโลกอย่างมอื อาชีพ
2. PLO2 บูรณาการทักษะทางด้านการบริหารจัดการองค์การเพื่อให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง
ของโลกอย่างมืออาชพี
PLO2 Sub1 : สามารถวิเคราะห์และสังเคราะห์ได้อย่างสร้างสรรค์ นำมาซึ่งประเด็นการ
พฒั นาและการแก้ปญั หาท่ซี ับซอ้ น ทนั สมยั ตอ่ การเปลี่ยนแปลงของโลกอยา่ ง
มืออาชีพ
PLO2 Sub2 : สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้สำหรับการรวบรวมข้อมลู จัดเกบ็ วิเคราะห์ และ
การเข้าถึงขอ้ มลู รวมถึงการดูในหลากหลายมุมมอง และมีความสามารถใน
การคัดกรองข้อมูล
PLO2 Sub3 : ความเป็นผู้นำในด้านการบริหารจัดการในองค์กร สามารถวิเคราะห์จุดแข็ง
และจุดอ่อนของตนเอง ปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
อย่างสมำ่ เสมอ และสามารถเป็นผู้นำและผู้ตามได้อยา่ งเหมาะสมตามโอกาส
และสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการทำงานของกลุ่ม และต่อ
สังคม
3. PLO3 บรู ณาการทศั นคตเิ ชงิ บวกให้ทันสมยั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของโลกอยา่ งมอื อาชีพ
PLO3 Sub1 : บูรณาการทัศนคติเชิงบวกส่วนบุคคล มีความสนใจ กระตือรือร้นและให้
ความสำคัญในการคิดแก้ปัญหาหลายทางเลือก ให้ทันสมัยต่อการ
เปลี่ยนแปลงของโลกอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
PLO3 Sub2 : บูรณาการทัศนคติเชิงบวกในองคก์ ร มีมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ มคี วามรบั ผิดชอบและ
รู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่น ให้ทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอย่าง
ต่อเนอ่ื ง
PLO3 Sub3 : บรู ณาการทัศนคติเชิงบวกต่อสงั คม มีจติ สำนึกห่วงใยและมีความรับผิดชอบ
ต่อสังคม การแก้ปัญหาของสังคม และมีจิตอาสาเผยแพร่ความรู้เพื่อช่วย
พฒั นาสังคม ตระหนักถึงความแตกต่างทางวัฒนธรรมและสามารถปรับตัวให้
เข้ากับสภาพแวดลอ้ มท่มี ีความหลากหลายทางวฒั นธรรมและสังคม
มคอ.2 59
3.3 แผนท่ีแสดงการกระจายมาตรฐานผลการเรียนรสู้ ู่ PLO
• ความรบั ผิดชอบหลกั ความรบั ผิดชอบรอง
Knowledge ID 1. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะความ 5. ทกั ษะการ
ปญั ญา สัมพนั ธร์ ะหวา่ งบุคคล วิเคราะห์เชิง
และความรับผิดชอบ ตัวเลขการ
ส่อื สารและการ
ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
Program Learning Outcome 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4
การบูรณาการความรูท้ างด้านการบริหาร o • o • • o o • o • o o • • o • o • o • o • o • • o • o
จัดการองค์การให้ทนั สมัยตอ่ การ
เปลย่ี นแปลงของโลกอย่างมืออาชพี
บูรณาการทกั ษะทางด้านการบริหารจัดการ • o o • o • • o • o • • o o • • o • o • • o • o • o • •
องค์การเพอ่ื ให้ทันสมัยตอ่ การเปล่ียนแปลง
ของโลกอย่างมอื อาชีพ
บูรณาการทัศนคติเชิงบวกให้ทนั สมยั ตอ่ การ o o • o o o o o • o • o • • o o • o • o o o • • o • o o
เปล่ียนแปลงของโลกอยา่ งมอื อาชีพ
มคอ.2 60
3.4 แผนท่แี สดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรู้จากหลกั สตู รสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)
• ความรับผิดชอบหลกั ความรับผิดชอบรอง
5. ด้านทกั ษะการ
4. ด้านทักษะความสมั พนั ธ์ วเิ คราะห์เชิงตวั เลข
รายวชิ า 1.ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 2.ดา้ นความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา ระหว่างบุคคลและความ การสือ่ สาร และการ
รบั ผดิ ชอบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
BUS710 การจัดการนวัตกรรม
เทคโนโลยีขั้นสูงด้านโลจิสติกส์ • • • • •
และโซอ่ ปุ ทาน
BUS711 ประยุกต์ใช้แนวคดิ การ
จัดการเทคโนโลโลยีทางการเงิน • • • • •
และการบัญชสี ำหรบั ธุรกจิ สมัยใหม่
BUS712 การออกแบบการวิจัย
และสถติ ิขน้ั สงู สำหรับการวิจัยทาง • • • • •
ธุรกจิ
BUS713 ตัวแบบการตลาดดจิ ิทลั
สมัยใหมส่ ำหรบั การแปลงรปู แบบ • • • • •
ทางธุรกจิ
BUS714 ปญั ญาประดษิ ฐ์เพือ่ การ •••••
จดั การองค์การ
FIB567 การจัดการการเงินและ ••••
การบัญชี
มคอ.2 61
5. ด้านทักษะการ
4. ด้านทกั ษะความสมั พันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข
รายวชิ า 1.ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา ระหว่างบคุ คลและความ การสอ่ื สาร และการ
รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
FIB804 วทิ ยาการการจดั การ • • • • •
การเงินข้ันสงู
FIB805 กลยุทธแ์ ละดำเนนิ ธุรกจิ
ระดบั โลกทางด้านการจัดการ •••••
การเงนิ
FIB806 การเปล่ยี นแปลงและ
วกิ ฤตการณ์สำหรับการจัดการ • • • • •
เทคโนโลยีด้านการเงิน
FIB807 การตดั สินใจอย่างมอื
อาชพี เพื่อสรา้ งแบบจำลองทาง • • • • •
การเงนิ สมยั ใหม่
FIB808 ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
ทางการจดั การต่อเทคโนโลยี • • • • •
เปลี่ยนโลกทางการจัดการการเงนิ
IMG528 การจัดการการผลิตและ ••••
โซ่อุปทาน
MAC804 วทิ ยาการการบญั ชีเพ่ือ • • • • •
การจดั การข้นั สงู
มคอ.2 62
5. ดา้ นทักษะการ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ วเิ คราะหเ์ ชงิ ตัวเลข
รายวิชา 1.ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านทกั ษะทางปญั ญา ระหว่างบคุ คลและความ การสอื่ สาร และการ
รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
MAC805 กลยุทธ์และดำเนนิ ธรุ กิจ
ระดับโลกทางดา้ นการบญั ชเี พอ่ื • • • • •
การจัดการ
MAC806 การเปลี่ยนแปลงและ
วิกฤตการณ์สำหรับการจัดการ
เทคโนโลยีด้านการบญั ชีเพื่อการ • • • • •
จัดการ
MAC807 การตดั สนิ ใจอยา่ งมือ
อาชีพเพอ่ื สรา้ งแบบจำลองการ • • • • •
บัญชีเพ่ือการจดั การสมัยใหม่
MAC808 ความเป็นเลิศทางวิชาการ
ทางการจดั การตอ่ เทคโนโลยเี ปล่ียน • • • • •
โลกทางการบัญชเี พ่อื การจดั การ
MGT523 องคก์ ารและการจดั การ •••••
ทรพั ยากรมนุษย์
MGT804 วทิ ยาการการจดั การ •••••
เชงิ กลยทุ ธข์ ้นั สูง
มคอ.2 63
5. ด้านทกั ษะการ
4. ด้านทกั ษะความสัมพันธ์ วิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข
รายวชิ า 1.ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม 2.ดา้ นความรู้ 3. ด้านทกั ษะทางปัญญา ระหว่างบคุ คลและความ การส่อื สาร และการ
รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
MGT805 กลยทุ ธ์และดำเนินธุรกจิ
ระดับโลกทางดา้ นการจัดการ •••••
เชิงกลยทุ ธ์
MGT806 การเปล่ยี นแปลงและ
วิกฤตการณ์สำหรับการจดั การ • • • • •
เทคโนโลยีด้านการจดั การเชิงกลยุทธ์
MGT807 การตัดสนิ ใจอย่างมอื
อาชีพเพ่ือสรา้ งแบบจำลองทาง • • • • •
การจดั การเชงิ กลยุทธส์ มัยใหม่
MGT808 ความเป็นเลิศทาง
วิชาการทางการจดั การตอ่ •••••
เทคโนโลยเี ปลี่ยนโลกทางการ
จัดการเชงิ กลยุทธ์
MIS804 วิทยาการระบบสารสนเทศ •••••
เพ่อื การจดั การขั้นสูง
MIS805 กลยทุ ธ์และดำเนนิ ธรุ กิจ
ระดับโลกทางด้านระบบ •••••
สารสนเทศเพอื่ การจัดการ
มคอ.2 64
5. ด้านทักษะการ
4. ดา้ นทกั ษะความสมั พนั ธ์ วเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข
รายวิชา 1.ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านทกั ษะทางปัญญา ระหว่างบคุ คลและความ การสื่อสาร และการ
รับผดิ ชอบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
MIS806 การเปล่ยี นแปลงและ
วิกฤตการณ์สำหรับการจัดการ
เทคโนโลยดี า้ นระบบสารสนเทศ • • • • •
เพ่อื การจดั การ
MIS807 การตัดสนิ ใจอยา่ งมือ
อาชพี เพ่อื สร้างแบบจำลองระบบ
สารสนเทศเพ่อื การจดั การขัน้ สูง • • • • •
สมยั ใหม่
MIS808 ความเปน็ เลิศทาง
วิชาการทางการจดั การตอ่
เทคโนโลยีเปลีย่ นโลกทางระบบ • • • • •
สารสนเทศเพอื่ การจัดการ
MKT524 การจดั การการตลาด •••••
MKT804 วิทยาการการจดั การ •••••
การตลาดขนั้ สูง
MKT805 กลยทุ ธแ์ ละดำเนิน
ธุรกจิ ระดับโลกทางดา้ นการ •••••
จัดการการตลาด
มคอ.2 65
5. ด้านทกั ษะการ
4. ดา้ นทักษะความสัมพนั ธ์ วเิ คราะหเ์ ชิงตัวเลข
รายวิชา 1.ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ด้านทกั ษะทางปญั ญา ระหวา่ งบคุ คลและความ การสือ่ สาร และการ
รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
MKT806 การเปลี่ยนแปลงและ
วิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการ • • • • •
เทคโนโลยดี ้านการจดั การการตลาด
MKT807 การตัดสนิ ใจอยา่ งมือ
อาชพี เพอื่ สร้างแบบจำลอง •••••
ทางการจดั การการตลาดสมัยใหม่
MKT808 ความเป็นเลิศทางวิชา
การทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยี • • • • •
เปล่ียนโลกทางการจัดการการตลาด
OHR804 วทิ ยาการการจัดการ
องคก์ ารและการจดั การทรัพยากร • • • • •
มนษุ ย์ข้ันสงู
OHR805 กลยทุ ธ์และดำเนินธรุ กิจ
ระดบั โลกทางด้านการจดั การองค์การ • • • • •
และการจัดการทรัพยากรมนุษย์
OHR806 การเปล่ยี นแปลงและ
วิกฤตการณส์ ำหรบั การจดั การ
เทคโนโลยดี ้านการจัดการองค์การ • • • • •
และการจดั การทรพั ยากรมนุษย์
มคอ.2 66
5. ด้านทกั ษะการ
4. ด้านทกั ษะความสัมพันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ตวั เลข
รายวิชา 1.ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา ระหว่างบคุ คลและความ การส่ือสาร และการ
รับผิดชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
OHR807 การตดั สนิ ใจอยา่ งมือ
อาชีพเพอ่ื สรา้ งแบบจำลองทางการ
จัดการองค์การและการจดั การ • • • • •
ทรพั ยากรมนษุ ย์สมัยใหม่
OHR808 ความเปน็ เลศิ ทางวิชาการ
ทางการจดั การตอ่ เทคโนโลยเี ปลยี่ น
โลกทางการจัดการองคก์ ารและการ • • • • •
จดั การทรัพยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่
OSM804 วิทยาการการจดั การผลิต • • • • •
และโซ่อุปทานขนั้ สูง
OSM805 กลยทุ ธแ์ ละดำเนนิ ธุรกิจ
ระดบั โลกทางดา้ นการจดั การผลติ • • • • •
และโซ่อปุ ทาน
OSM806 การเปล่ยี นแปลงและ
วิกฤตการณ์สำหรบั การจดั การ
เทคโนโลยีดา้ นการจดั การผลติ และ • • • • •
โซอ่ ุปทาน
มคอ.2 67
5. ด้านทักษะการ
4. ด้านทกั ษะความสมั พันธ์ วิเคราะหเ์ ชงิ ตัวเลข
รายวชิ า 1.ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม 2.ดา้ นความรู้ 3. ดา้ นทักษะทางปญั ญา ระหว่างบคุ คลและความ การส่อื สาร และการ
รับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
OSM807 การตัดสินใจอยา่ งมอื
อาชพี เพอ่ื สร้างแบบจำลองทางการ • • • • •
จัดการผลิตและโซอ่ ปุ ทานสมยั ใหม่
OSM808 ความเป็นเลิศทาง
วิชาการทางการจัดการต่อ •••••
เทคโนโลยเี ปล่ียนโลกทาง การ
จดั การผลิตและโซ่อุปทาน
PPM804 วทิ ยาการการจดั การ • • • • •
ภาคเอกชนและภาครัฐขั้นสงู
PPM805 กลยุทธ์และดำเนนิ ธรุ กิจ
ระดบั โลกทางดา้ นการจดั การ •••••
ภาคเอกชนและภาครฐั
PPM806 การเปลี่ยนแปลงและ
วิกฤตการณ์สำหรับการจดั การ •••••
เทคโนโลยดี ้านการจัดการภาค
เอกชนและภาครฐั
PPM807 การตดั สินใจอย่างมอื อาชพี
เพือ่ สร้างแบบจำลองทางการจดั การ • • • • •
ภาคเอกชนและภาครัฐสมัยใหม่
มคอ.2 68
5. ด้านทกั ษะการ
4. ดา้ นทักษะความสมั พนั ธ์ วิเคราะห์เชิงตวั เลข
รายวชิ า 1.ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2.ด้านความรู้ 3. ดา้ นทกั ษะทางปญั ญา ระหวา่ งบุคคลและความ การส่ือสาร และการ
รบั ผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
PPM808 ความเป็นเลิศทางวิชาการ
ทางการจัดการตอ่ เทคโนโลยเี ปลย่ี น
โลกทางการจดั การภาคเอกชนและ • • • • •
ภาครฐั สมัยใหม่
SEM804 วทิ ยาการการจัดการธรุ กจิ • • • • •
บนั เทงิ และธุรกจิ กีฬาขั้นสงู
SEM805 กลยุทธ์และดำเนินธุรกิจ
ระดับโลกทางดา้ นการจัดการธรุ กิจ • • • • •
บนั เทงิ และธุรกจิ กีฬา
SEM806 การเปลย่ี นแปลงและ
วิกฤตการณ์สำหรบั การจัดการ
เทคโนโลยีด้านการจัดการธุรกจิ • • • • •
บนั เทิงและธุรกิจกีฬา
SEM807 การตัดสินใจอยา่ งมืออาชีพ
เพอ่ื สรา้ งแบบจำลองทางการจดั การ • • • • •
ธุรกจิ บนั เทงิ และธุรกิจกีฬาสมัยใหม่
มคอ.2 69
5. ดา้ นทกั ษะการ
4. ด้านทกั ษะความสมั พันธ์ วเิ คราะหเ์ ชิงตวั เลข
รายวชิ า 1.ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2.ดา้ นความรู้ 3. ดา้ นทักษะทางปญั ญา ระหวา่ งบคุ คลและความ การสือ่ สาร และการ
รบั ผดิ ชอบ ใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศ
1234561234567123451234561234
SEM808 ความเปน็ เลิศทางวชิ าการ • • • • •
ทางการจัดการต่อเทคโนโลยเี ปลย่ี น
โลกทางการจดั การธุรกจิ บนั เทิงและ
ธุรกจิ กีฬา
BUS898 วทิ ยานพิ นธ์ •••••
BUS899 วทิ ยานิพนธ์ • • • • •
QEB700 การสอบวัดคณุ สมบัติ • • • • •
ความรู้ขอ้ เขียน
QEB701 การสอบวัดคณุ สมบตั ิ • • • • •
ปากเปล่า
มคอ.2 70
หมวดท่ี 5 หลกั เกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
1. กฎระเบียบหรือหลกั เกณฑ์ในการให้ระดบั คะแนน (เกรด)
เปน็ ไปตามขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยศรปี ทุมว่าด้วยการศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา (ภาคผนวก ค)
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธ์ิของนักศึกษา
การกำหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกดิ ขึ้นเพอ่ื แสดงหลกั ฐานยืนยัน
หรอื สนับสนุนวา่ นักดุษฎีบัณฑิตทุกคนมมี าตรฐานผลการเรียนรทู้ ุกด้านเป็นไปตามที่กำหนดไวใ้ นมาตรฐาน
คุณวุฒริ ะดบั ปริญญาเอก สาขาการบรหิ ารธุรกิจ เปน็ อยา่ งนอ้ ย
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรูข้ ณะนักศกึ ษายังไมส่ ำเร็จการศึกษา
การทวนสอบในทุกรายวิชา ท้ังภาคทฤษฎี ภาคปฏบิ ตั ิ การสัมมนา การทำวทิ ยานพิ นธ์ จะต้อง
สอดคล้องกบั กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ โดยใหเ้ ปน็ ความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้สอนในการออก
ข้อสอบหรือกำหนดกลไกและกระบวนการสอบ และมีการประเมินแผนการสอนสัมพนั ธ์กับการประเมิน
ขอ้ สอบ การประเมินผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นการสอนจากผลการสอบ โดยคณะกรรมการประจำหลักสูตร
และ/หรือ คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน รวมถึงการประเมินอาจารย์
และการประเมินผลการเรียนการสอนโดยนักศึกษาเอง ส่วนการทวนสอบในระดับหลักสูตร ให้มีระบบ
ประกันคุณภาพภายในของสาขาวิชา ระบบประกันคุณภาพภายในระดับคณะ และระบบประกันคุณภาพ
ภายในระดับมหาวทิ ยาลัย เพ่อื ดำเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้และรายงานผล
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลงั จากนักศึกษาสำเร็จการศกึ ษา
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรหู้ ลงั จากนักศึกษาสำเรจ็ การศกึ ษา เนน้ การทำวิจัยสัมฤทธิผล
ของการประกอบอาชพี โดยทำการวิจยั อย่างต่อเนอื่ ง แล้วนำผลทีไ่ ด้มาเป็นขอ้ มูลในการประเมินคุณภาพ
ของหลกั สตู ร การพัฒนาหรอื ปรับปรงุ หลักสูตร และกระบวนการเรยี นการสอน โดยมหี ัวขอ้ การทวนสอบ
มาตรฐานผลการเรยี นรู้ ดงั ตอ่ ไปนี้
(1) สภาวะการไดง้ านทำหรือศกึ ษาต่อของดุษฎีบณั ฑิต ประเมินจากการไดง้ านทำหรือศึกษาต่อ
ตรงตามสาขาหรอื ในสาขาที่เก่ยี วขอ้ ง และระยะเวลาในการหางาน โดยทำการประเมนิ จากดษุ ฎบี ัณฑิตแต่
ละรุ่นทส่ี ำเร็จการศกึ ษา
(2) ตำแหนง่ งานและความก้าวหนา้ ในสายงานของดษุ ฎีบัณฑติ
(3) ความพงึ พอใจของดุษฎีบัณฑิต ต่อความร้คู วามสามารถทีไ่ ดเ้ รียนรู้จากหลักสูตร ท่ีใช้ในการ
ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรให้มี
ประสิทธิภาพยง่ิ ขน้ึ
(4) เพื่อสังคมความพึงพอใจของผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มี
ข้อเสนอแนะต่อสิ่งที่คาดหวังหรือต้องการจากหลักสูตรในการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถาน
ประกอบการ
มคอ.2 71
(5) ความเหน็ และข้อเสนอแนะจากอาจารยพ์ ิเศษและผู้ทรงคุณวฒุ ภิ ายนอก ตอ่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการ
ศึกษาของดุษฎีบัณฑิตท่ีสำเร็จการศึกษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความรู้ และการปรบั ปรงุ หลักสูตร
ให้มคี วามเหมาะสมกับสถานการณ์ทางการศกึ ษา ภาคอุตสาหกรรมและสังคมในปัจจุบนั มากยิ่งข้ึน
(6) ผลงานของนักศึกษาและดุษฎบี ณั ฑิตทส่ี ามารถวัดเปน็ รูปธรรมได้ เช่น
- จำนวนผลงานวจิ ัยทเ่ี ผยแพร่
- จำนวนบทความวชิ าการท่เี ผยแพร่
- จำนวนโครงงาน
- จำนวนกจิ กรรมเพื่อสงั คมและประเทศชาติ
- จำนวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์กรทท่ี ำประโยชน์
3. เกณฑ์การสำเร็จการศกึ ษาของหลกั สูตร
แบบ 1
สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำ
วิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่สถาบัน
อุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเปน็
ระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการ
ตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตาม
ประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการ
เผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ อยา่ งน้อย 2 เรื่อง
แบบ 2
ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00
จากระบบ 4 ระดบั คะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบตั ิ (Qualifying Examination) เพ่ือเป็นผู้มี
สิทธิขอทำวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการท่ี
สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็น
ระบบเปดิ ให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้สำหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรือ
อย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ
การอดุ มศกึ ษา เร่อื ง หลกั เกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
มคอ.2 72
หมวดท่ี 6 การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสำหรบั อาจารย์ใหม่
มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย คณะ
และหลกั สูตรทีส่ อน โดยสาระประกอบดว้ ย
- บทบาทหน้าท่ีของอาจารย์ในพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลยั
- สิทธิผลประโยชนข์ องอาจารย์ และกฎระเบยี บตา่ งๆ
- หลกั สูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆ ของหลกั สูตรสาขาวิชา
- บทบาทและหน้าท่ขี องการเป็นอาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานิพนธ์ทด่ี ี
และมีอาจารย์ที่มีประสบการณ์เป็นอาจารย์พี่เลี้ยง โดยมีหน้าที่ให้คำแนะนำและการปรึกษา
เพื่อเรียนรู้และปรับตัวเองเข้าสู่การเป็นอาจารย์ในสาขาวิชาฯ มีการนิเทศการสอนทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัตทิ ่ีต้องสอน และมกี ารประเมินและตดิ ตามความกา้ วหนา้ ในการปฏบิ ัตงิ านของอาจารยใ์ หม่
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวดั และการประเมนิ ผล
(1) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างสมประสบการณ์ด้านวิชาการในด้านการ
บรหิ ารธรุ กจิ หรอื ในสาขาท่ีเก่ียวข้อง ในกรณกี ารเรยี นรู้แบบบรู ณาการ เพ่ือส่งเสรมิ การสอนและการวิจัย
อย่างต่อเนื่องทั้งอาจารย์เก่าและอาจารย์ใหม่ โดยการสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทาง
วิชาการและวิชาชีพในองค์กรต่างๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือต่างประเทศ การลา
เพ่อื เพ่มิ พูนความรูแ้ ละประสบการณ์
(2) การเพม่ิ พนู ทักษะการจดั การเรยี นการสอนและการประเมินผลใหท้ ันสมยั
(3) การให้คำปรกึ ษาด้านการทำวิทยานพิ นธ์
2.2 การพัฒนาวชิ าการและวิชาชพี ดา้ นอน่ื ๆ
(1) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาความรู้และ
คณุ ธรรม
(2) มกี ารกระต้นุ อาจารย์พฒั นาผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาวิชา
(3) ส่งเสริมการทำวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่ การพัฒนาการเรียนการสอน และการพัฒนา
เชย่ี วชาญในสาขาวิชาชีพ
มคอ.2 73
หมวดท่ี 7 การประกันคณุ ภาพหลกั สูตร
1. การกำกับมาตรฐาน
1) มีการบรหิ ารจัดการหลักสูตรให้เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รท่ปี ระกาศใชแ้ ละเป็นไปตาม
กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดับอดุ มศึกษาแหง่ ชาติ ตลอดระยะเวลาที่มีการจดั การเรยี นการสอนในหลักสูตร
2) มีการพัฒนาและการประเมินหลักสตู รตามรอบระยะเวลาท่ีกำหนด (มคอ.7) และนำขอ้ มูลทไี่ ด้
ไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรเปน็ ระยะ ๆ อยา่ งนอ้ ยทุก 5 ปี
3) มกี ารดำเนนิ งานตามตัวบง่ ช้ีผลการดำเนินงานของหลักสตู ร ดงั น้ี
3.1) กำหนดใหอ้ าจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 มสี ว่ นรว่ มในการประชมุ เพื่อวางแผน
ตดิ ตามและทบทวนการดำเนนิ งานหลกั สูตร
3.2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดบั อดุ มศึกษาแหง่ ชาติ
3.3) มีรายละเอียดของรายวิชา และ/หรือรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ
มคอ.3 และ/หรือ มคอ.4 อยา่ งนอ้ ยก่อนการเปิดสอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษาใหค้ รบทุกวชิ า
3.4) มีการรายงานผลการดำเนินการของรายวิชาและ/หรือรายงานผลการดำเนินการของ
ประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบ มคอ. 5 และ/หรือ มคอ. 6 ภายใน 30 วันหลงั จากส้ินสดุ ภาคการศึกษา
ที่เปดิ สอนให้ครบทกุ รายวิชา
3.5) มีการจัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลงั
สน้ิ สุดปีการศึกษา
2. บัณฑติ
จัดใหม้ รี ะบบกลไกในกระบวนการเรียนการสอนทเี่ อือ้ ให้บัณฑิตเกิดการเรียนรู้และมีคุณภาพตาม
มาตรฐานของผลการเรียนรู้ โดยมีการติดตามคุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษา
แห่งชาติหรือมาตรฐานผลการเรียนรู้ นอกจากนั้น มีการส่งเสริมสนับสนุนนักศึกษาในการสร้างสรรค์
ผลงานวิจยั /วิชาการท่ีมีคณุ ภาพ และไดร้ บั การตพี มิ พ์ เผยแพร่
3. นกั ศึกษา
1) มกี ระบวนการรับนกั ศึกษาทเี่ หมาะสม โดยมีการกำหนดคุณสมบัติของนกั ศกึ ษาและเกณฑ์การ
คัดเลือกไว้ชดั เจน
2) มีการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาให้แก่นักศึกษา เพื่อให้นักศึกษามีความพร้อมในการ
เรียน การปรบั ตัว และสามารถสำเร็จการศึกษา ได้ตามระยะเวลาของหลักสูตร
3) มีการจัดกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เพื่อเสริมสร้างทักษะ ความรู้ ความสามารถ และศักยภาพ
แกน่ กั ศกึ ษา
มคอ.2 74
4) มีกลไกการกำกับดูแลนักศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษา โดยการกำหนดอาจารยที่ปรึกษา
ดูแลให้คำแนะนำและให้คำปรึกษาทางวิชาการ ตลอดจนกำกับดูแลความก้าวหน้าในการศึกษารายวิชา
การค้นคว้าอสิ ระ และวิทยานิพนธ์
5) มีระบบสารสนเทศทนี่ ักศกึ ษาสามารถตรวจสอบขอ้ มูลการเรียน สถานภาพของนกั ศึกษา เพ่ือ
เป็นข้อมลู สำหรับการวางแผนการเรียน
6) มีการสำรวจข้อมูลการคงอยู่ของนักศึกษา อัตราการสำเร็จการศึกษา เพื่อประเมินผลการ
ดำเนนิ งาน
7) มรี ะบบการจัดการข้อร้องเรียนของนักศกึ ษาทม่ี ีประสิทธภิ าพ
4. อาจารย์
1) มีกลไกการรับอาจารย์ใหม่ที่สอดคลอ้ งกบั ระเบียบ/ขอ้ บงั คับ ของมหาวทิ ยาลัย
2) มีระบบการบริหาร และระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ที่เหมาะสม และสอดคล้องกับ
วิสยั ทัศน์ และนโยบายของมหาวิทยาลยั และแนวทางของหลักสตู ร
3) มีระบบการพัฒนาคณุ ภาพอาจารย์ เพือ่ ให้อาจารย์มคี วามรคู้ วามเชย่ี วชาญในสาขาวิชา และมี
ความก้าวหนา้ ในการผลติ ผลงานทางวชิ าการอย่างตอ่ เน่ือง
4) มีการสำรวจข้อมูลอาจารย์ การคงอยู่ของอาจารย์ เพื่อเป็นข้อมูลในการดำเนินงานในส่วนที่
เกยี่ วขอ้ ง
5. หลกั สูตร การเรยี นการสอน การประเมินผ้เู รียน
1) มีกระบวนการออกแบบ/ปรบั ปรุงหลักสูตร และรายวิชาให้มีความทันสมัย และได้มาตรฐาน
ตามเกณฑว์ ชิ าการ/วชิ าชพี สอดคล้องกบั ความต้องการของตลาดแรงงาน
2) มีการวางแผนการเปิดรายวิชาในแต่ละภาคการศึกษาให้สอดคล้องตามแผนการเรียน เพื่อให้
นักศึกษาสามารถสำเรจ็ การศกึ ษาได้ตามระยะเวลาของหลกั สตู ร
3) มีการกำหนดอาจารย์ผู้สอนในแต่ละรายวิชา โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถ และความ
เชี่ยวชาญ และมีการกำกับ ติดตาม รวมทั้งมีการตรวจสอบการจัดทำรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3
มคอ.4)
4) มีการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษาในแต่ละรายวิชา ประจำภาคการศึกษา ด้วยวิธีการ
ประเมนิ ที่หลากหลาย และจดั ทำรายงานผลการจัดการเรียนการสอน มคอ.5 และ/หรือ มคอ.6 และ มคอ.7
6. ส่ิงสนบั สนนุ การเรียนรู้
มีการเตรียมความพร้อมเกี่ยวกับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ทั้งความพร้อมทางกายภาพ
ทางด้านอุปกรณเ์ ทคโนโลยแี ละด้านสงิ่ อำนวยความสะดวกหรอื ทรัพยากรท่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรู้ของนักศึกษา
อาทิเชน่ มีการจัดซ้ือตำรา ส่ือการเรยี นการสอน โสตทศั นปู กรณ์ และวสั ดุอปุ กรณ์คอมพิวเตอรท์ ี่เหมาะสม
อยา่ งเพยี งพอ ตอ่ การจัดการเรยี นการสอน รวมท้งั มรี ะบบสารสนเทศ เช่น ระบบการสบื ค้นผ่านฐานข้อมูล
ผลงานทางวชิ าการออนไลน์ท่ีส่งเสริมให้นกั ศึกษาสามารถเข้าถงึ แหล่งข้อมูลท่จี ำเป็นตอ่ การเรยี นรู้ เปน็ ตน้
มคอ.2 75
7. ตัวบ่งชผี้ ลการดำเนนิ งาน
ตวั บง่ ชี้ผลการดำเนนิ งาน ปที ี่ 1 ปที ี่ 2 ปีท่ี 3 ปที ่ี 4 ปีที่ 5
(1) ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรอยา่ งน้อยรอ้ ยละ 80 มีส่วนรว่ มในการประชุม ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
เพือ่ วางแผน ตดิ ตามและทบทวนการดำเนนิ การของหลักสตู ร
(2) มีรายละเอียดของหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
มาตรฐานคณุ วุฒิแห่งชาติ และ/หรือมาตรฐานคณุ วุฒิสาขา (ถา้ มี)
(3) มรี ายละเอยี ดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.3 อยา่ งน้อยก่อนการเปิด ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
สอนในแตล่ ะภาคการศกึ ษาใหค้ รบทกุ รายวิชา
(4) จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา ตามแบบ มคอ. 5 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
ภายใน 30 วัน หลงั สน้ิ สดุ ภาคการศกึ ษาท่เี ปิดสอนใหค้ รบทกุ รายวชิ า
(5) จัดทำรายงานผลการดำเนนิ การของหลกั สตู ร ตามแบบ มคอ.7 ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
ภายใน 60 วนั หลังสน้ิ สดุ ปีการศึกษา
(6) มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของนกั ศกึ ษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
กำหนดใน มคอ.3 อยา่ งนอ้ ยร้อยละ 25 ของรายวชิ าท่ีเปดิ สอนในแต่
ละปกี ารศึกษา
(7) มีการพัฒนาและปรับปรุงการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอนหรือ ✓ ✓ ✓✓
ประเมินผลการเรียนรู้จากผลการประเมินการดำเนินงานท่ีรายงาน
ใน มคอ.7 ปที แี่ ล้ว
(8) อาจารย์ใหม่ทุกคน (ถ้ามี) ไดร้ บั การปฐมนิเทศหรือแนะนำด้านการ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
เรยี นการสอน
(9) อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
หรือ วิชาชพี อยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครัง้
(10) บุคลากรสนบั สนนุ การเรียนการสอน (ถา้ ม)ี ได้รับการพฒั นาทาง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
วิชาการ และ/หรือ วิชาชพี อยา่ งน้อยร้อยละ 50 ต่อปี
(11) ระดับความพึงพอใจของนกั ศึกษาปีสุดทา้ ย/บัณฑติ ใหม่ตอ่ ✓ ✓✓
คุณภาพหลกั สตู ร เฉลย่ี ไมน่ ้อยกวา่ 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0
(12) ระดบั ความพึงพอใจของผู้ใชบ้ ัณฑิตทีม่ ีตอ่ บัณฑติ ใหม่เฉลี่ยไม่นอ้ ย ✓✓
กว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
ผลการดำเนินการบรรลุตามเป้าหมายตัวบ่งชี้ทั้งหมดอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง 2 ปีการศึกษา เพื่อ
ติดตามการดำเนินการตาม TQF ต่อไป ทั้งนี้เกณฑ์การประเมินผ่าน คือ มีการดำเนินงานตามข้อ 1 - 5
และอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 80 ของตวั บ่งชีผ้ ลการดำเนินงานทร่ี ะบุไวใ้ นแต่ละปี
มคอ.2 76
หมวดท่ี 8 การประเมินและปรบั ปรงุ การดำเนินการของหลักสูตร
1. การประเมินประสทิ ธผิ ลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธก์ ารสอน
กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินและปรบั ปรุงยุทธศาสตร์ที่วางแผนไว้เพื่อพัฒนาการเรียน
การสอนนั้น พิจารณาจากตัวผู้เรียน โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆ หัวข้อว่ามีความ
เข้าใจหรือไม่ โดยอาจประเมินจากการทดสอบย่อย การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การอภิปราย
โตต้ อบจากนักศกึ ษา การตอบคำถามของนกั ศกึ ษาในช้นั เรยี น ซง่ึ เม่อื รวบรวมขอ้ มลู จากทก่ี ล่าวข้างตน้ แล้ว
กค็ วรจะสามารถประเมนิ เบื้องต้นได้ว่า ผู้เรียนมคี วามเขา้ ใจหรอื ไม่ หากวธิ ีการทีใ่ ชไ้ มส่ ามารถทำให้ผู้เรียน
เข้าใจได้ กจ็ ะตอ้ งมีการปรบั เปลี่ยนวธิ สี อน การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรยี น จะสามารถ
ชี้ได้ว่าผู้เรียนมคี วามเขา้ ใจหรือไม่ในเนื้อหาทีไ่ ด้สอนไป หากพบว่ามีปญั หาก็จะต้องมีการดำเนินการวจิ ัย
เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป
1.2 การประเมินทกั ษะของอาจารย์ในการใชแ้ ผนกลยทุ ธ์การสอน
ให้นักศึกษาได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้านทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอน
การตรงตอ่ เวลา การชแี้ จงเปา้ หมาย วตั ถุประสงค์รายวิชา ชี้แจงเกณฑก์ ารประเมนิ ผลรายวิชา และการใช้
สอื่ การสอนในทุกรายวชิ า
2. การประเมนิ หลกั สูตรในภาพรวม
2.1 ประเมนิ จากนกั ศกึ ษาและศษิ ย์เกา่
ดำเนินการประเมนิ จากนักศึกษา โดยติดตามจากผลการทำวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจารย์สามารถ
ประเมินผลการทำงานได้ตัง้ แต่เริ่มต้นกระบวนการจนถึงขั้นตอนการนำเสนอเป็นรายบุคคล และสำหรับ
ศษิ ย์เกา่ นั้นจะประเมนิ โดยใชแ้ บบสอบถามหรอื อาจจะจดั ประชมุ ศิษย์เก่าตามโอกาสทเ่ี หมาะสม
2.2 ประเมินจากนายจ้างหรือสถานประกอบการ
ดำเนนิ การโดยการสัมภาษณ์จากสถานประกอบการ หรือใช้วิธกี ารสง่ แบบสอบถามไปยังผู้ใช้
ดุษฎบี ัณฑติ
2.3 ประเมนิ โดยผู้ทรงคณุ วฒุ หิ รือที่ปรกึ ษา
ดำเนินการโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒมิ าให้ความเห็นหรือจากข้อมูลในรายงานผลการดำเนินงาน
หลกั สตู ร หรอื จากรายงานของการประเมนิ ผลการประกันคณุ ภาพภายใน
3. การประเมนิ ผลการดำเนินงานตามที่กำหนดในรายละเอียดหลักสูตร
ประเมินผลการดำเนินงานของหลกั สูตรตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนนิ งานท่ีระบุไว้ในหมวด 7 ข้อ 7
โดยคณะกรรมการประเมินคณุ ภาพภายใน หรือ คณะกรรมการมาตรฐานหลักสตู ร ท่มี หาวิทยาลัยแต่งต้ัง
อนั ประกอบดว้ ย ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในสาขาวิชาจำนวน 2 - 3 คน และ คณบดี รวมท้ังผอู้ ำนวยหลกั สูตร
มคอ.2 77
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรงุ
จากการรวบรวมข้อมูลการประเมินทงั้ หมด จะทำให้ทราบปัญหาของการบรหิ ารหลักสูตรท้ัง
ในภาพรวม และในแตล่ ะรายวิชา กรณที พ่ี บปัญหาของรายวิชาก็สามารถที่จะดำเนินการปรับปรุงรายวิชา
นั้นๆ ได้ทันที ซึ่งก็จะเป็นการปรับปรงุ ย่อย ในการปรับปรุงย่อยนั้นสามารถทำได้ตลอดเวลาที่พบปัญหา
สำหรับการปรับปรุงหลักสูตรทั้งฉบับนั้น จะกระทำทุก 5 ปี ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและ
สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของผใู้ ชด้ ุษฎบี ณั ฑติ อย่เู สมอ
เอกสารแนบ
1. ภาคผนวก ก ข้อมูลเก่ียวกับตำราและผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ้รู ับผดิ ชอบหลกั สตู รและ
อาจารย์ประจำหลกั สตู ร
2. ภาคผนวก ข ตารางเปรยี บเทยี บการปรับปรงุ หลักสูตร
3. ภาคผนวก ค ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา
4. ภาคผนวก ง คำส่งั แตง่ ต้ังกรรมการมาตรฐานหลกั สูตร
5. ภาคผนวก จ การพจิ ารณาของกรรมการมาตรฐานหลกั สตู ร
มคอ.2 78
ภาคผนวก ก ขอ้ มลู เกยี่ วกับตำราและผลงานทางวิชาการของอาจารยผ์ ูร้ ับผดิ ชอบหลกั สตู รบรหิ ารธุรกิจดษุ ฎีบณั ฑติ
มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ บางเขน
ลำดบั ชอ่ื – นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
1 ดร.วิชิต อู่อน้ บทความวิจัย BUS713 ตวั แบบการตลาดดิจิทลั
3-4099-0037X-XX-X - ชนตั สุขสวุ รรณธร และ วิชติ ออู่ น้ . (2562). รปู แบบการพฒั นางานบรกิ าร สำหรบั สมยั ใหม่สำหรับการแปลงรปู แบบ
รองศาสตราจารย์ ธรุ กิจรักษาความปลอดภัยในประเทศไทย. สักทอง: วารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ทางธรุ กจิ
สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลยั กำแพงเพชร, 25 (2), พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. หน้า 131-142. MGT806 การเปลยี่ นแปลงและ
- D.I.B.A. (International - วรรณพรรณ รักษ์ชน และ วิชิต ออู่ ้น. (2562). ตวั แบบกลยทุ ธก์ ารวางตำแหน่งผลติ ภณั ฑ์ วิกฤตการณ์สำหรับการจดั การ
Management), Nova ของผปู้ ระกอบการวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. สกั ทอง : วารสาร เทคโนโลยดี ้านการจัดการเชิงกล
Southeastern University, มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกำแพงเพชร, 25 (2). พฤษภาคม- ยทุ ธ์
U.S.A., 2003 สงิ หาคม 2562. หน้า 120-130. MKT806 การเปลี่ยนแปลงและ
- D.B.A. (Marketing), The - คณุ กร เกื้อโกศล และ วชิ ิต อูอ่ น้ . (2562). ปัจจัยเชงิ สาเหตทุ ่สี ่งผลต่อความพร้อมใน วิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการ
University of Sarasota, U.S.A., การเขา้ สู่ตลาด และผลการดำเนินงานธุรกจิ ของวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มใน เทคโนโลยดี ้านการจัดการ
1998 ประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยพาณชิ ยศาสตร์บูรพาปรทิ ัศน์ มหาวทิ ยาลยั บูรพา, การตลาด
-วท.ม. (เศรษฐศาสตรเ์ กษตร), 14 (1), มกราคม-มถิ นุ ายน 2562. หน้า 1-16.
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2535 - เนตรนภา รักษายศ และ วชิ ิต ออู่ ้น. (2562). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่สง่ ผลต่อคุณภาพของ
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), สารสนเทศทางบัญชีและประสิทธภิ าพองค์กร: กรณศี กึ ษาเชิงประจักษ์ของบรษิ ัทจด
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2532 ทะเบยี นในตลาดหลักทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี, 6 (1), มกราคม-มิถนุ ายน 2562. หนา้ 71-94.
มคอ.2 ผลงานทางวิชาการ 79
ลำดบั ชอื่ – นามสกลุ - พรรณเพ็ญ สทิ ธิพัฒนา และ วชิ ิต ออู่ ้น. (2561). ปัจจัยเชงิ สาเหตทุ ี่สง่ ผลต่อคณุ ภาพ ภาระงานสอน
ของรายงานทางการเงนิ และประสทิ ธภิ าพการตดั สินใจของบรษิ ัทจดทะเบยี นในตลาด
หลกั ทรพั ยท์ างเลอื กเพือ่ การลงทนุ (เอ็ม เอ ไอ). บทความวจิ ัย วารสารมนุษยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ์, 4 (3), ตุลาคม 2561-มกราคม 2562.
หน้า 59-74.
- วรดศิ ธนภทั ร และ วชิ ิต อ่อู น้ . (2561). ปจั จยั เหตแุ ละผลของความได้เปรียบทางการ
แข่งขันของโรงแรมขนาดเลก็ ในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโนราชมงคล
อสี าน, 5 (2), กนั ยายน - ธนั วาคม 2561. หน้า 1-14.
- ภาวินยี ์ ธนาอนวัช และ วิชิต อู่อน้ . (2561). ปจั จัยเชงิ สาเหตุท่ีสง่ ผลต่อการบัญชเี พ่อื
การจดั การสง่ิ แวดล้อม ในมุมมองนักบัญชีของธรุ กจิ SMEs ในประเทศไทย. วารสาร
วิจัยราชภฏั กรงุ เก่า, 5 (2), พฤษภาคม -สงิ หาคม 2561. หนา้ 39-46.
- จนั ทรเ์ พ็ญ วรรณารกั ษ์, วชิ ิต อู่อน้ และ กัลยารัตน์ ธรี ะธนชยั กลุ . (2561). แบบจำลอง
ความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั ของธุรกิจขนส่งและโลจสิ ตกิ ส์ ในประเทศไทย. วารสาร
มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7 (4), ตุลาคม-ธันวาคม 2561. หน้า 264-276.
มคอ.2 80
ลำดับ ชื่อ – นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
2 ดร.นลิ ุบล ศวิ บวรวฒั นา บทความวิจัย BUS714 ปัญญาประดษิ ฐ์เพือ่ การ
3-3699-0001X-XX-X - ปริญ วีระพงษ์, ธรนิ ี มณศี รี และ นลิ บุ ล ศิวบวรวฒันา. (2560). การพฒั นาตวั แบบ จัดการองคก์ าร
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ การจดั การความต่อเนือ่ งโซ่อปุ ทานที่สง่ ผลตอ่ผลการดำเนนิ งานของ องคก์ รของโซ่ MGT807 การตดั สนิ ใจอย่างมือ
สาขาวชิ าบริหารธุรกิจ อปุ ทานของผผู้ ลติ ชิ้นสว่ นยานยนต์ในประเทศไทย. Veridian E-Journal, Silpakorn อาชีพเพ่อื สรา้ งแบบจำลองทางการ
- Ph.D. (Management of University ISSN 1906 - 3431 ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จัดการเชงิ กลยุทธส์ มยั ใหม่
Technology) Asian Institute of และศิลปะ, 10 (3), กันยายน – ธันวาคม 2560. หน้า 752-768. MKT807 การตัดสินใจอยา่ งมือ
Technology, Thailand., 2005 - ธรี ์วรา บวชชัยภมู ิ และ นิลบุ ล ศิวบวรวัฒนา. (2560). การจัดการความสมั พันธ์กับ อาชีพเพือ่ สร้างแบบจำลองทางการ
- M.S. (Business ลูกคา้ ด้วยความไว้วางใจเพื่อสร้างคณุ คา่ สำหรับลกู ค้าและซัพพลายเออรอ์ ย่างยัง่ ยืน: จดั การการตลาดสมัยใหม่
Administration), Strayer ทบทวนวรรณกรรม. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา, 11 (3),
University Washington DC, กนั ยายน - ธันวาคม 2560. หนา้ 126-137.
U.S.A., 1997 - Witoon Supprakit and Nilubon Sivabrovornvatana. (2019). Causal Factor
- B.S. (Business Administration) Influences Partner Relationshipstocreate Value to Thai Organizations in
Strayer University Washington International Markets. Proceedings of The 5 th International Conference
DC, U.S.A., 1995 on Management, Business, and Economics, 4 – 6 April 2019, Marco
Polo Presnja Hotel, Moscow, Russia, p.53-63.
- Krich Rawanprakhon and Nilubon Sivabrovornvatana. (2018). Factors
Influencing to Purchase’s Decision of Eggs from Cage Free System in
Bangkok. Proceedings of The 2nd Regional Conference on Graduate
Research 2018, 16 December 2018, Sripatum University, p.241-248.
มคอ.2 ผลงานทางวิชาการ 81
ลำดบั ช่อื – นามสกุล - Fareda O.S. Amodi and Nilubon Sivabrovornvatana. (2018). Title Factors ภาระงานสอน
Affecting the Use of Co-Working Space Services. Proceedings of The
2nd Regional Conference on Graduate Research 2018, 16 December
2018, Sripatum University, Bangkok, Thailand. p.209-218.
- Aunlarin Chuenphueak and Nilubon Sivabrovornvatana. (2018). Factors
affecting the purchase decision via Facebook Live Channel Facebook
Live. Proceedings of The 2nd Regional Conference on Graduate
Research 2018, 16 December 2018, Sripatum University, Bangkok,
Thailand. p.367-376.
- Nilubon Sivaborvornvatana, Opart Gomonwatanapanich, and Parin
Weerapong. (2018). A Metric Model of Business Continuity Management,
Agility, and Resilience in Automotive Supply Chain. International Journal
of Management, Business, and Economics, 5 (2). May-August, 2018.
p.47-64.
มคอ.2 82
ลำดับ ชอื่ – นามสกุล ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
3 ดร.สพุ ิน ฉายศริ ิไพบูลย์ บทความวจิ ยั BUS711 ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิดการ
3-1001-0055X-XX-X - สพุ นิ ฉายศิรไิ พบูลย.์ (2560). แนวทางการเพม่ิ ประสิทธิผลในการบรหิ ารสินเช่อื ของ จดั การเทคโนโลโลยที างการเงนิ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ โครงการพัฒนาการประมง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลยั ธนบุรี, 11 (24), มกราคม- และการบญั ชีสำหรับธุรกจิ สมัยใหม่
สาขาวิชาบริหารธุรกจิ เมษายน 2560. หน้า 124-140. FIB804 วิทยาการการจดั การ
- D.B.A. (International - Watchainan Sirilek, Supin Chaisiripaiboon. (2019). Studying of Consumer การเงินข้ันสงู
Business), The University Attitudes Affecting the Online Purchasing Decisions in Bangkok. Proceedings MAC804 วิทยาการการบัญชีเพ่ือ
of Sarasota, U.S.A., 1998 of The 4th Regional Conference on Graduate Research 2019. 8 การจัดการขั้นสูง
- M.B.A. (Finance), The December 2019, Sripatum University, Bangkok, Thailand. p.77-83.
University of Sarasota, U.S.A., -Supin Chaisiripaibool, (2015). Personal Credit Scoring Guideline for Nano
1996 Finance in Thailand, IJMBE International Journal of Management,
- บธ.บ. (การตลาด), มหาวิทยาลยั Business, and Economics, 2 (1), January – April 2015, p.129-138.
อัสสัมชญั , 2537
มคอ.2 83
ข้อมูลเกย่ี วกับตำราและผลงานทางวชิ าการของอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รบริหารธรุ กิจดษุ ฎบี ณั ฑติ
มหาวิทยาลยั ศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบุรี
ลำดบั ช่อื – นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
1 ดร.ชลธศิ ดาราวงษ์ บทความวิจัย BUS712 การออกแบบการวิจัยและ
3-1006-0229X-XX-X - ชลธิศ ดาราวงษ.์ (2562). ภาวะผู้นำในการบริหารโครงการพฒั นาผลิตภณั ฑ์ใหม.่ สถิติข้นั สูงสำหรับการวจิ ัยทางธุรกิจ
รองศาสตราจารย์ วารสารเศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 13 (2), หนา้ 18-30. MGT804 วิทยาการการจดั การเชงิ กล
สาขาวิชาการตลาด - จารวี กระแสรช์ ล และ ชลธิศ ดาราวงษ์. (2561). ลกั ษณะของบรรจภุ ณั ฑท์ ม่ี ีผลตอ่ ยุทธข์ ้ันสูง
- Ph.D. (Management), Asian ความพงึ พอใจตราสินค้านำ้ ผลไมบ้ รรจกุ ลอ่ งของนักศึกษามหาวทิ ยาลยั ในจงั หวดั MGT808 ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
Institute of Technology, ชลบรุ .ี วารสารวชิ าการศรปี ทุม ชลบุรี, 14 (3), มกราคม - มนี าคม 2561. หนา้ ทาง การจัดการต่อเทคโนโลยีเปลีย่ น
Thailand, 2012 131-139. โลกทาง การจดั การเชิงกลยทุ ธ์
- M.B.A. (Marketing), - เมวดี สวัสดิเ์ รียวกุล และ ชลธิศ ดาราวงษ์. (2561). ปจั จัยดา้ นการบริการที่มีตอ่
National Institute of ความสัมพันธร์ ะหวา่ งผู้ซือ้ และผจู้ ดั จำหนา่ ยอปุ กรณน์ ริ ภัยส่วนบุคคล. วารสารวิชาการ
Development ศรีปทมุ ชลบรุ ี, 14 (4), เมษายน - มถิ ุนายน 2561. หนา้ 183-192.
Administration, Thailand - กุลวดี อมั โภชน์ และ ชลธศิ ดาราวงษ์. (2561). ส่วนประสมทางการตลาดทมี่ ีผลต่อ
2000 ความพงึ พอใจและความจงรกั ภกั ดีของลกู คา้ รา้ นคา้ สะดวกซอ้ื เขตพัทยา จังหวัด
- วท.บ. (พฒั นาผลิตภณั ฑ์ ชลบรุ ี. วารสารบณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม, 13 (1),
อตุ สาหกรรมเกษตร) มกราคม – มถิ นุ ายน 2561. หน้า 44-54.
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, - วีรภัทร พุทธรักษา และชลธศิ ดาราวงษ์. (2561). พฤติกรรมของผู้เชา่ ที่มีผลตอ่ การให้
2538 ความสำคัญของกลยุทธท์ างการตลาดของที่พักอาศัยในอำเภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง.
วารสารบณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 13 (1), หน้า 55-65.
มคอ.2 ผลงานทางวชิ าการ 84
ลำดับ ชอื่ – นามสกลุ - Darawong, C. (2018). Dynamic capabilities of new product development ภาระงานสอน
teams in perfomration radical innovation projects. International Journal
of Innovation Science, 10(3); April 2018, p.333-349.
- Chonlatis Darawong & Igel, Barbara. (2017). Managing Interpersonal
Conflict Between Expatriates and Thai Managers Through Intercultural
Communication: The Moderating Effect of Expatriates’ Culture of
Origin. International Journal of Innovation Management, 21 (4),
August 2017. p.1750041-1-1750041-20.
- Chonlatis Darawong. (2017). Con°ict Management Styles and Interpersonal
Con°ict Between Marketing and R&D Personnel During the New Product
Development Process. International Journal of Innovation and Technology
Management, 14 (6), September 2017. p.1750034-1-1750034-16.
- Darawong, Chonlatis, Igel, Barbara, Badir and F. Yousre. (2016). The impact of
communication on conflict between expatriate and local managers
working in NPD projects of MNC subsidiaries: A local perspective. Journal
of Asia-Pacific Business, 17(1), p.81-99.
มคอ.2 85
ลำดับ ชอื่ – นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
2 ดร.พิเชษฐ์ เบญจรงคร์ ตั น์ บทความวจิ ัย BUS714 ปญั ญาประดิษฐ์เพอื่ การ
3-1201-0135X-XX-X - นภทั ร อักษรดี, อนรุ ักษ์ เรืองรอบ และพิเชษฐ์ เบญจรงค์รัตน.์ (2561). ปจั จัยด้าน จัดการองคก์ าร
อาจารยผ์ รู้ ับผดิ ชอบหลักสูตร การปฎบิ ัตงิ านทีม่ ผี ลตอ่ ความพงึ พอใจและขวัญกำลังใจของเจ้าหนา้ ที่ข้าราชการ MGT808 ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการ
- D.B.A. (Management), Asian ตำรวจภธู รในเขตเมอื งพทั ยา. รายงานสืบเนือ่ ง (Proceedings) การประชุม ทาง การจดั การตอ่ เทคโนโลยีเปลยี่ น
Institute of Technology, วชิ าการระดบั ชาติ, ครัง้ ที่ 10 วนั ท่ี 24 มนี าคม 2561, ราชภฎั วิจัยเพอ่ื พฒั นา โลกทาง การจัดการเชงิ กลยทุ ธ์
Thailand, 2016. ทอ้ งถน่ิ สคู่ วามยง่ั ยืน มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อุบลราชธานี. หนา้ OP2-2. MKT808 ความเปน็ เลศิ ทางวชิ าการทาง
- M.M. (Management), - - รฐั พงษ์ ลาภเย็น, ชลธิศ ดาราวงษ์, และพิเชษฐ์ เบญจรงค์รัตน์. (2561). ปจั จยั ดา้ น การจัดการตอ่ เทคโนโลยเี ปลีย่ นโลกทาง
Sasin Groduate Institue of คณุ ภาพการให้บริการทม่ี ีอิทธิพลต่อความพงึ พอใจของลกู ค้าศนู ย์บริการรถยนตใ์ น การจดั การการตลาด
Business Administration of จังหวดั ชลบุร.ี รายงานสบื เนือ่ ง (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาตแิ ละ
Chulalongkorn University, นานาชาติเรื่อง ผลงานวจิ ยั และนวตั กรรมเพอื่ สง่ เสริมความก้าวหนา้ อุตสาหกรรม
1986. 4.0, วันท่ี 12 กรกฎาคม 2561. มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบรุ .ี หน้า 315-322.
- ค.อ.บ. (เครอื่ งกล), วทิ ยาลัย - Benjarongrat, P. (2018). Enhancing customer engagement: Lessons from a
เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา, commercial bank in Thailand. Sripatum Chonburi Journal, 15(2), p. 9-20.
2520. - Benjarongrat, P., Neal, M. (2017). Exploring the service profit chain in a
Thai bank. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics, 29(2), p.432-
452.
มคอ.2 86
ลำดับ ชอื่ – นามสกุล ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
3 ดร.อนรุ กั ษ์ เรอื งรอบ บทความวิจยั MGT806 การเปลย่ี น แปลงและ
3-3201-0065X-XX-X - ดวงใจ นาถมทอง และ อนุรกั ษ์ เรืองรอบ. (2561). ปจั จยั แรงจูงใจที่ส่งผลต่อทัศนคติ วกิ ฤตการณส์ ำหรบั การจดั การ
อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตร ในการปฏิบตั งิ านของพนักงานบรษิ ัทผ้ผู ลิตช้ินส่วนรถยนต์แห่งหน่ึงในนิคมอุตสาหกรรม เทคโนโลยีด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์
- D.B.A. (Management), Asian อสี เทริ น์ ซีบอร์ด จังหวัดระยอง. รายงานสืบเนอื่ ง (Proceedings) การประชมุ MKT806 การเปลยี่ น แปลงและ
Institute of Technology, วชิ าการระดับชาติ, คร้ังท่ี 3 ประจำปี 2561 ตามรอยพระบาทพ่อเพ่ือสานต่อพระ วกิ ฤตการณส์ ำหรบั การจดั การ
Thailand, 2012. ราชปณิธาน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชภฏั เทพสตรี จังหวดั ลพบุรี วันท่ี 15-16 เทคโนโลยีด้านการจัดการการตลาด
- บธ.ม. (การจัดการ), จุฬาลงกรณ์ กมุ ภาพันธ์ 2561. หนา้ 404 – 415. OHR806 การเปล่ียนแปลงและ
มหาวทิ ยาลยั , 2547. - นภัทร อกั ษรดี, อนรุ กั ษ์ เรืองรอบ, พเิ ชษฐ์ เบญจรงคร์ ตั น.์ (2561). ปจั จัยดา้ นการ วิกฤตการณส์ ำหรบั การจัดการ
- ร.บ. (รัฐศาสตร)์ , มหาวิทยาลัย ปฎบิ ัตงิ านที่มผี ลตอ่ ความพงึ พอใจและขวญั กำลังใจของเจ้าหน้าที่ข้าราชการตำรวจ เทคโนโลยีด้านการจดั การองคก์ ารและ
ธรรมศาสตร,์ 2532. ภธู รในเขตเมืองพัทยา. รายงานสืบเนือ่ ง (Proceedings) การประชุมวิชาการ คร้งั การจดั การทรัพยากรมนุษย์
ท่ี 10 ราชภฎั วิจัยเพื่อพฒั นาท้องถิ่นสู่ความย่ังยืน, มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ
อบุ ลราชธานี, วนั เสาร์ที่ 24 มีนาคม 2561. หนา้ OP2-2.
- ชลียา จินดาบุญมณี และ อนุรกั ษ์ เรอื งรอบ. (2560). ปจั จัยด้านพฤตกิ รรมและความ
พึงพอใจของลกู ค้าท่สี ง่ ต่อความจงรกั ภกั ดีของลกู ค้าโรงแรมในเขตเมืองพทั ยา จังหวัด
ชลบรุ ี. วารสารวชิ าการศรีปทมุ ชลบุรี, 13(3); หนา้ 189-197.
มคอ.2 87
ขอ้ มลู เก่ยี วกับตำราและผลงานทางวชิ าการของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู รบริหารธุรกิจดุษฎบี ณั ฑติ
มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ วทิ ยาเขตขอนแกน่
ลำดบั ช่อื – นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
1 ดร.ณัฐสพนั ธ์ เผา่ พันธ์ บทความวจิ ยั BUS711 ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิดการ
3-3505-0004X-XX-X - ปฐมพงศ์ กกุ แก้ว และ ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพันธ.์ (2562). ปัจจัยเหตุท่ีสง่ ผลต่อการชำระคนื จัดการเทคโนโลโลยที างการเงนิ และ
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ เงนิ กยู้ มื และความผูกพันของพนกั งาน: กรณศี กึ ษาเงินกูย้ ืมเพือ่ การศึกษาในประเทศ การบัญชสี ำหรบั ธุรกจิ สมยั ใหม่
สาขาวิชาบริหารธุรกิจ ไทย. วารสารวิชาการและวจิ ัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 14 BUS712 การออกแบบการวิจัยและ
- D.B.A. (Business (40), มกราคม-เมษายน 2562. เลขหนา้ 51-64. สถิติขน้ั สูงสำหรับการวจิ ัยทางธุรกจิ
Administration Information - สุมนา จนั ทราช, ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพนั ธ์. (2561). ปัจจยั เชิงสาเหตุท่ีมอี ทิ ธิพลต่อการ FIB805 กลยทุ ธแ์ ละดำเนนิ ธุรกิจระดับ
Systems), Nova Southeastern จดั การทรัพยากรมนุษยเ์ ชิงกลยุทธ์ ของธรุ กจิ วิสาหกจิ ขนาดกลาง และขนาดย่อมใน โลกทางด้านการจดั การการเงนิ
University, U.S.A, 2001 ประเทศไทย. วารสารวชิ าการสถาบันวทิ ยาการจดั การแหง่ แปซฟิ ิค (สาขา
- บธ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม, มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ , 4 (1), มกราคม – มถิ ุนายน 2561. หน้า 92-106.
2535 - ณัฐสพันธ์ เผา่ พนั ธ์ และ ปนัดดา ทองเสงี่ยม. (2559). การศกึ ษาเปรยี บเทยี บ
- วท.บ (สถติ ิ), มหาวิทยาลยั พฤตกิ รรมของผู้บรโิ ภคทีม่ ตี ่อเครอ่ื งสําอางนําเขา้ จากญีป่ นุ่ กบั สหรฐั อเมริกาใน
ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ มหาสารคาม, จงั หวัดนครปฐม. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการมหาวทิ ยาลัย
2532 เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี, 3 (1), มกราคม-มิถุนายน 2559. หน้า 58-70.
- ณฐั สพนั ธ์ เผ่าพันธ์ และ พิชชานนั ท์ ฐิติภทั ราภรณ.์ (2559). การศึกษาความพรอ้ ม
ของธรุ กจิ โรงแรม เพ่ือเขา้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ในเขตอำเภอเมือง จงั หวัด
กาญจนบรุ ี. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบรุ ,ี 3 (1), มกราคม-มถิ นุ ายน 2559. หน้า 71-85.
มคอ.2 ผลงานทางวิชาการ 88
ลำดับ ชอ่ื – นามสกุล - ณัฐสพันธ์ เผ่าพนั ธ์ และพริมา ทรพั ย์สมวงศ์. (2559). คณุ ภาพบรกิ ารของเขตปลอด ภาระงานสอน
อากรท่าอากาศยาน สุวรรณภมู .ิ วารสารวชิ าการการตลาดและการจัดการมหาวิทยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี, 3 (1), มกราคม-มิถุนายน 2559. หน้า 86-98.
- ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพนั ธ์. (2559). ปัจจยั เชิงสาเหตทุ ่ีส่งผลตอ่ ผลการดำเนินงานของผู้ส่งออก
ผลิตภัณฑ์ เซรามิกในเขตพื้นทภี่ าคกลางของประเทศไทย. วารสารวชิ าการการตลาดและ
การจัดการมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี, 3 (2), กรกฎาคม -ธนั วาคม 2559.
หนา้ 80-91.
- ณฐั สพนั ธ์ เผา่ พันธ.์ (2559). ขีดความสามารถในการแข่งขันของธรุ กิจผลิตภณั ฑ์
น้ำมันมะพร้าวบีบสกัดเย็นเพื่อการสง่ ออก. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 3 (2), กรกฎาคม-ธนั วาคม 2559. หนา้
119-130.
- ณฐั สพันธ์ เผา่ พันธ์. (2559). การใช้เครอื่ งมือปกป้องความเสี่ยงทางการเงินตราสาร
อนุพนั ธ์เพื่อบรหิ ารความเสย่ี งจากอัตราแลกเปล่ียนเงนิ ตราตา่ งประเทศ. วารสาร
วิชาการการตลาดและการจัดการมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี, 3 (2),
กรกฎาคม -ธันวาคม 2559. หนา้ 134-145.
- Natsapan paopun. (2016). The reverse logistics management model:
Thailand context. International journal of business and information.
11 (4), p.385-403.
มคอ.2 89
ลำดับ ช่อื – นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
2 ดร.นนทิพันธุ์ ประยรู หงษ์ บทความวจิ ยั MGT804 วิทยาการการจัดการเชิงกล
3-1201-0044X-XX-X - เอกวนิ ติ พรหมรักษา, วชิ ติ อู่อน้ และนนทิพนั ธุ์ ประยูรหงษ.์ (2560). ปจั จยั เชิง ยทุ ธข์ ั้นสงู
อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลกั สูตร สาเหตุที่สง่ ผลต่อประสิทธิผลการปฏิบตั ิงานของผู้ทำบญั ชใี นปัจจยั เชิงสาเหตุทสี่ ง่ ผล MKT804 วิทยาการการจดั การ
-บธ.ด. (ธุรกิจการกีฬาและการ ต่อประสทิ ธผิ ลการปฏิบัติงานของผู้ทำบญั ชใี นประเทศไทย. รายงานสบื เนอื่ ง การตลาดช้นั สูง
บนั เทิง) มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ , (Proceedings) การประชุมวชิ าการระดบั ชาติ นวตั กรรมและเทคโนโลยวี ิชาการ SEM804 วิทยาการการจดั การธุรกิจ
2555 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี านวิทยาเขตสุรินทร,์ วันที่ 25-26 ธนั วาคม บันเทิงและธุรกจิ กีฬาข้นั สงู
- นศ.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ), 2560. หน้า D 200 – D 210.
มหาวิทยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์, - Nontipan Prayurhong and Onanong Phoocharoen. (2016). Integrated Marketing
2548 Communication and Marketing Mix to Influence Consumer Purchasing
- ศศ.บ. (การท่องเทย่ี ว), Decision Behavior of Starbuck’s Beverages in Bangkok. Proceedings of
มหาวทิ ยาลัยรังสติ , 2544 The 2nd International Conference on Management, Business, and
Economics & The 4th International Conference on Tourism, Transport,
and Logistics, 12-14 February 2016, Da Vinci Villa Hotel, San Francisco,
California, U.S.A. p.235-243.
- Nontipan Prayurhong. (2015). Strategy for Organizing Sport and Recreation
activity to discourage youths from drugs usage. Proceedings of The International
Conference on Management, Business, and Economics & The 3rd
International Conference on Tourism, Transport, and Logistics. 12-14
February 2015, Rydges Sydney Central, Australia. p.24-34.
มคอ.2 90
ลำดับ ชอ่ื – นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
3 ดร.ประพันธ์ ชัยกจิ อรุ าใจ บทความวจิ ยั BUS714 ปญั ญาประดษิ ฐ์เพื่อการ
3-1004-0038 X-XX-X - กาญจนาพร พันธเ์ ทศ และ ประพนั ธ์ ชยั กจิ อุราใจ. (2562). วฒั นธรรมองคก์ ารและ จัดการองคก์ าร
รองศาสตราจารย์ คุณภาพชวี ติ ในการทำงานที่สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมการเป็นสมาชกิ ที่ดีขององคก์ ารและ MGT805 กลยุทธแ์ ละดำเนนิ ธุรกิจ
สาขาวิชาบริหารธรุ กิจ ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงานของพนกั งานธนาคารภาครัฐแหง่ หนึง่ . วารสารวิทย- ระดบั โลกทางด้านการจดั การเชิงกล
- Psy.D. (Management) บริการ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร,์ 30 (1), มกราคม-เมษายน 2562. หน้า 53-65. ยุทธ์
California School of - ชนมข์ นิษฐ์ วิศษิ ฎ์สมบตั ิ และ ประพันธ์ ชัยกจิ อรุ าใจ. (2562). ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ พฤติกรรม OHR805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธรุ กจิ
Professional Psychology, การเปน็ สมาชกิ ที่ดีขององคก์ ารของบุคลากรในมหาวิทยาลยั . วารสารบณั ฑิตศีกษา ระดบั โลกทางด้านการจดั การองค์การ
Alliant International มหาวิทยาลัยราชภฎั วไลยอลงกรณ์, 13 (1), มกราคม-เมษายน 2562. หนา้ 37-50. และการจดั การทรัพยากรมนุษย์
University U.S.A., 1999 - เบญจพร กล่นิ สงี าม และ ประพนั ธ์ ชยั กิจอุราใจ. (2561). ปัจจยั ท่มี อี ทิ ธพิ ลตอ่
- บธ.ม. มหาวิทยาลัยศรีปทมุ , พฤติกรรมการเป็นสมาชกิ ท่ีดีขององคก์ ารและประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ านของ
2538 บุคลากรกรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. วารสารวิทยบรกิ าร
- วท.บ. (วิทยาศาสตรแ์ ละ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร์, 29 (3), กนั ยายน-ธนั วาคม 2561. หนา้ 117-131.
เทคโนโลยกี ารอาหาร) - วาสนา เภอแสละ ประพันธ์ ชัยกิจอรุ าใจ และ สุรี พฤกษท์ วีศักด์.ิ (2561). การทำงานเป็น
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, ทมี ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ ความผกู พันตอ่ องคก์ ารและประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติงานของพนกั งาน
2535 กล่มุ อุตสาหกรรมยานยนต์. วารสารวทิ ยบรกิ ารมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์, 29
(3), กันยายน-ธนั วาคม 2561. หน้า 132-142.
มคอ.2 91
ภาคผนวก ก ขอ้ มลู เกี่ยวกบั ตำราและผลงานทางวิชาการของอาจารยป์ ระจำหลักสตู ร
มหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ บางเขน
ลำดับ ชื่อ – นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
1 ดร.วชิ ิต ออู่ ้น บทความวิจยั BUS713 ตัวแบบการตลาดดิจิทัล
3-4099-0037X-XX-X - ชนัต สขุ สวุ รรณธร และ วิชิต ออู่ ้น. (2562). รูปแบบการพฒั นางานบริการ สำหรบั สมยั ใหมส่ ำหรบั การแปลงรูปแบบทาง
รองศาสตราจารย์ ธุรกิจรกั ษาความปลอดภัยในประเทศไทย. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ธรุ กจิ
สาขาวชิ าบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั กำแพงเพชร, 25 (2), พฤษภาคม-สิงหาคม 2562. หนา้ 131-142. MGT806 การเปลี่ยนแปลงและ
- D.I.B.A. (International - วรรณพรรณ รักษ์ชน และ วิชติ ออู่ น้ . (2562). ตัวแบบกลยทุ ธก์ ารวางตำแหนง่ ผลติ ภัณฑ์ วิกฤตการณ์สำหรับการจัดการ
Management), Nova ของผูป้ ระกอบการวสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. สักทอง : วารสาร เทคโนโลยดี ้านการจัดการเชิงกลยุทธ์
Southeastern University, มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยกำแพงเพชร, 25 (2). พฤษภาคม- MKT806 การเปลยี่ นแปลงและ
U.S.A., 2003 สิงหาคม 2562. หน้า 120-130. วกิ ฤตการณ์สำหรบั การจัดการ
- D.B.A. (Marketing), The - คณุ กร เกือ้ โกศล และ วิชิต อู่อ้น. (2562). ปัจจัยเชิงสาเหตุทีส่ ง่ ผลต่อความพร้อมใน เทคโนโลยีด้านการจัดการการตลาด
University of Sarasota, การเข้าสตู่ ลาด และผลการดำเนินงานธุรกิจของวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดยอ่ มใน
U.S.A., 1998 ประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตรบ์ ูรพาปรทิ ศั น์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา,
-วท.ม. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), 14 (1), มกราคม-มถิ ุนายน 2562. หน้า 1-16.
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, - เนตรนภา รกั ษายศ และ วิชติ อู่อน้ . (2562). ปัจจัยเชงิ สาเหตุทส่ี ง่ ผลต่อคุณภาพของ
2535 สารสนเทศทางบัญชแี ละประสิทธิภาพองค์กร: กรณีศึกษาเชงิ ประจักษ์ของบรษิ ทั จด
- วท.บ. (เศรษฐศาสตร์เกษตร), ทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย. วารสารวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี, 6 (1), มกราคม-มิถุนายน 2562. หน้า 71-94.
2532
มคอ.2 ผลงานทางวชิ าการ 92
ลำดบั ชอื่ – นามสกลุ - พรรณเพ็ญ สทิ ธิพัฒนา และ วชิ ิต ออู่ ้น. (2561). ปัจจัยเชงิ สาเหตทุ ี่สง่ ผลต่อคณุ ภาพ ภาระงานสอน
ของรายงานทางการเงนิ และประสทิ ธภิ าพการตดั สนิ ใจของบรษิ ัทจดทะเบียนในตลาด
หลกั ทรพั ยท์ างเลอื กเพือ่ การลงทนุ (เอม็ เอ ไอ). บทความวจิ ัย วารสารมนษุ ยศาสตร์
และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชพฤกษ์, 4 (3), ตุลาคม 2561-มกราคม 2562.
หน้า 59-74.
- วรดศิ ธนภทั ร และ วชิ ิต อ่อู น้ . (2561). ปัจจัยเหตแุ ละผลของความไดเ้ ปรยี บทางการ
แข่งขันของโรงแรมขนาดเลก็ ในประเทศไทย. วารสารมหาวิทยาลัยเทคโน ราชมงคล
อีสาน, 5 (2), กนั ยายน - ธนั วาคม 2561. หนา้ 1-14.
- ภาวินยี ์ ธนาอนวัช และ วิชิต อู่อน้ . (2561). ปจั จัยเชงิ สาเหตุท่ีสง่ ผลต่อการบัญชีเพ่อื
การจดั การสง่ิ แวดล้อม ในมุมมองนักบัญชีของธรุ กจิ SMEs ในประเทศไทย. วารสาร
วิจัยราชภฏั กรงุ เก่า, 5 (2), พฤษภาคม -สงิ หาคม 2561. หนา้ 39-46.
- จนั ทรเ์ พ็ญ วรรณารกั ษ์, วชิ ิต อู่อน้ และ กัลยารัตน์ ธรี ะธนชยั กลุ . (2561). แบบจำลอง
ความไดเ้ ปรียบในการแขง่ ขนั ของธุรกิจขนสง่ และโลจสิ ตกิ ส์ ในประเทศไทย. วารสาร
มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 7 (4), ตุลาคม-ธันวาคม 2561. หน้า 264-276.
มคอ.2 93
ลำดับ ชือ่ – นามสกลุ ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
2 ดร.นลิ ุบล ศวิ บวรวฒั นา บทความวิจยั BUS714 ปญั ญา ประดิษฐเ์ พอ่ื การ
3-3699-0001X-XX-X - ปรญิ วีระพงษ์, ธรนิ ี มณศี รี และ นลิ บุ ล ศวิ บวรวฒันา. (2560). การพฒั นาตวั แบบ จัดการองค์การ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ การจัดการความต่อเนือ่ งโซ่อปุ ทานที่สง่ ผลตอ่ผลการดำเนนิ งานของ องคก์ รของโซ่ MGT807 การตดั สนิ ใจอยา่ งมอื อาชพี
สาขาวิชาบริหารธุรกจิ อปุ ทานของผูผ้ ลติ ชิ้นสว่ นยานยนต์ในประเทศไทย. Veridian E-Journal, Silpakorn เพอ่ื สรา้ งแบบจำลองทางการจดั การเชงิ
- Ph.D. (Management of University ISSN 1906 - 3431 ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ กลยทุ ธ์สมัยใหม่
Technology) Asian Institute และศลิ ปะ, 10 (3), กันยายน – ธันวาคม 2560. หนา้ 752-768. MKT807 การตดั สินใจอยา่ งมอื อาชีพ
of Technology, Thailand., - ธรี ว์ รา บวชชยั ภูมิ และ นิลบุ ล ศิวบวรวัฒนา. (2560). การจัดการความสมั พันธ์กบั เพื่อสรา้ งแบบจำลองทางการจัดการ
2005 ลูกคา้ ดว้ ยความไว้วางใจเพื่อสร้างคณุ คา่ สำหรบั ลกู ค้าและซัพพลายเออรอ์ ย่างยัง่ ยนื : การตลาดสมยั ใหม่
- M.S. (Business Administration), ทบทวนวรรณกรรม. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา, 11 (3),
Strayer University Washington กันยายน - ธนั วาคม 2560. หนา้ 126-137.
DC, U.S.A., 1997 - Witoon Supprakit and Nilubon Sivabrovornvatana. (2019). Causal Factor
- B.S. (Business Administration) Influences Partner Relationshipstocreate Value to Thai Organizations in
Strayer University Washington International Markets. Proceedings of The 5 th International Conference
DC, U.S.A., 1995 on Management, Business, and Economics, 4 – 6 April 2019, Marco
Polo Presnja Hotel, Moscow, Russia, p.53-63.
- Krich Rawanprakhon and Nilubon Sivabrovornvatana. (2018). Factors
Influencing to Purchase’s Decision of Eggs from Cage Free System in
Bangkok. Proceedings of The 2nd Regional Conference on Graduate
Research 2018, 16 December 2018, Sripatum University, p.241-248.
มคอ.2 ผลงานทางวิชาการ 94
ลำดบั ช่อื – นามสกุล - Fareda O.S. Amodi and Nilubon Sivabrovornvatana. (2018). Title Factors ภาระงานสอน
Affecting the Use of Co-Working Space Services. Proceedings of The
2nd Regional Conference on Graduate Research 2018, 16 December
2018, Sripatum University, Bangkok, Thailand. p.209-218.
- Aunlarin Chuenphueak and Nilubon Sivabrovornvatana. (2018). Factors
affecting the purchase decision via Facebook Live Channel Facebook
Live. Proceedings of The 2nd Regional Conference on Graduate
Research 2018, 16 December 2018, Sripatum University, Bangkok,
Thailand. p.367-376.
- Nilubon Sivaborvornvatana, Opart Gomonwatanapanich, and Parin
Weerapong. (2018). A Metric Model of Business Continuity Management,
Agility, and Resilience in Automotive Supply Chain. International Journal
of Management, Business, and Economics, 5 (2). May-August, 2018.
p.47-64.
มคอ.2 95
ลำดับ ช่ือ – นามสกุล ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
3 ดร.สพุ นิ ฉายศริ ไิ พบูลย์ บทความวิจัย BUS711 ประยกุ ตใ์ ช้แนวคิดการจดั การ
3-1001-0055X-XX-X - สุพิน ฉายศิริไพบูลย์. (2560). แนวทางการเพ่มิ ประสทิ ธิผลในการบริหารสนิ เช่อื ของ เทคโนโลโลยีทางการเงินและการบญั ชี
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ โครงการพัฒนาการประมง. วารสารวิชาการมหาวทิ ยาลัยธนบุรี, 11 (24), มกราคม- สำหรับธรุ กิจสมยั ใหม่
สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ เมษายน 2560. หนา้ 124-140. FIB804 วทิ ยาการการจดั การการเงนิ ข้นั
- D.B.A. (International - Watchainan Sirilek, Supin Chaisiripaiboon. (2019). Studying of Consumer สูง
Business), The University Attitudes Affecting the Online Purchasing Decisions in Bangkok. Proceedings MAC804 วิทยาการการบญั ชีเพอื่ การ
of Sarasota, U.S.A., 1998 of The 4th Regional Conference on Graduate Research 2019. 8 จัดการข้ันสูง
- M.B.A. (Finance), The December 2019, Sripatum University, Bangkok, Thailand. pp.77-83.
University of Sarasota, -Supin Chaisiripaibool, (2015). Personal Credit Scoring Guideline for Nano
U.S.A., 1996 Finance in Thailand, IJMBE International Journal of Management,
- บธ.บ. (การตลาด), มหาวิทยาลยั Business, and Economics, 2 (1), January – April 2015, p.129-138.
อสั สัมชญั , 2537
มคอ.2 96
ลำดับ ชอ่ื – นามสกลุ ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
4 ดร.ณัฐสพันธ์ เผ่าพนั ธ์ บทความวิจยั BUS711 ประยกุ ต์ใช้แนวคิดการจดั การ
3-3505-0004X-XX-X - ปฐมพงศ์ กุกแกว้ และ ณฐั สพันธ์ เผ่าพันธ์. (2562). ปจั จยั เหตุที่ส่งผลต่อการชำระคนื เทคโนโลโลยที างการเงินและการบัญชี
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ เงินกู้ยืมและความผูกพนั ของพนกั งาน: กรณีศกึ ษาเงินกยู้ ืมเพ่อื การศกึ ษาในประเทศ สำหรบั ธุรกจิ สมยั ใหม่
สาขาวิชาบริหารธุรกจิ ไทย. วารสารวชิ าการและวิจยั สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์, 14 BUS712 การออกแบบการวจิ ัยและ
- D.B.A. (Business (40), มกราคม-เมษายน 2562. เลขหน้า 51-64. สถติ ิขั้นสงู สำหรบั การวิจัยทางธรุ กจิ
Administration Information - สมุ นา จันทราช, ณัฐสพันธ์ เผ่าพนั ธ์. (2561). ปัจจัยเชงิ สาเหตุท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ่ การจดั การ FIB805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธุรกิจระดบั
Systems), Nova ทรัพยากรมนุษยเ์ ชงิ กลยุทธ์ ของธุรกจิ วสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ มในประเทศ โลกทางดา้ นการจดั การการเงิน
Southeastern University, ไทย. วารสารวิชาการสถาบนั วิทยาการจัดการแหง่ แปซิฟคิ (สาขามนุษยศาสตร์และ
U.S.A, 2001 สงั คมศาสตร)์ , 4 (1), มกราคม – มิถุนายน 2561. หนา้ 92-106.
- บธ.ม., มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม, - ณัฐสพนั ธ์ เผ่าพันธ์ และ ปนดั ดา ทองเสง่ียม. (2559). การศึกษาเปรียบเทยี บพฤติกรรม
2535 ของผูบ้ ริโภคทม่ี ตี อ่ เคร่อื งสาํ อางนาํ เขา้ จากญ่ีปนุ่ กับสหรัฐอเมรกิ าในจังหวัดนครปฐม.
- วท.บ (สถติ ิ), มหาวิทยาลยั วารสารวิชาการการตลาดและการจดั การมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี,
ศรีนครนิ ทรวิโรฒ มหาสารคาม, 3 (1), มกราคม-มิถุนายน 2559. หนา้ 58-70.
2532 - ณฐั สพนั ธ์ เผ่าพนั ธ์ และ พิชชานนั ท์ ฐิติภัทราภรณ.์ (2559). การศึกษาความพรอ้ ม
ของธุรกจิ โรงแรม เพ่ือเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในเขตอำเภอเมอื ง จงั หวดั
กาญจนบรุ ี. วารสารวชิ าการการตลาดและการจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล
ธญั บรุ ี, 3 (1), มกราคม-มิถนุ ายน 2559. หน้า 71-85.
มคอ.2 ผลงานทางวิชาการ 97
ลำดับ ชอ่ื – นามสกุล - ณัฐสพนั ธ์ เผา่ พนั ธ์ และพรมิ า ทรัพย์สมวงศ.์ (2559). คุณภาพบริการของเขตปลอด ภาระงานสอน
อากรทา่ อากาศยาน สวุ รรณภมู .ิ วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการมหาวิทยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี, 3 (1), มกราคม-มถิ ุนายน 2559. หน้า 86-98.
- ณัฐสพนั ธ์ เผา่ พนั ธ์. (2559). ปัจจยั เชิงสาเหตทุ ่ีส่งผลต่อผลการดำเนินงานของผู้ส่งออก
ผลิตภัณฑ์ เซรามิกในเขตพืน้ ท่ีภาคกลางของประเทศไทย. วารสารวิชาการการตลาดและ
การจัดการมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี, 3 (2), กรกฎาคม - ธันวาคม 2559.
หนา้ 80-91.
- ณฐั สพันธ์ เผ่าพันธ.์ (2559). ขีดความสามารถในการแข่งขันของธรุ กิจผลติ ภณั ฑน์ ้ำมัน
มะพร้าวบบี สกดั เย็นเพื่อการส่งออก. วารสารวชิ าการการตลาดและการจดั การมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี, 3 (2), กรกฎาคม-ธันวาคม 2559. หน้า 119-130.
- ณฐั สพันธ์ เผา่ พันธ.์ (2559). การใช้เครือ่ งมือปกปอ้ งความเส่ยี งทางการเงนิ ตราสาร
อนุพันธเ์ พ่ือบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตา่ งประเทศ. วารสารวชิ าการ
การตลาดและการจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร,ี 3 (2), กรกฎาคม -
ธันวาคม 2559. หนา้ 134-145.
- Natsapan paopun. (2016). The reverse logistics management model:
Thailand context. International journal of business and information.
11 (4), p.385-403.
มคอ.2 98
ลำดบั ช่ือ – นามสกุล ผลงานทางวิชาการ ภาระงานสอน
5 ดร.นนทิพนั ธุ์ ประยรู หงษ์ บทความวิจยั MGT804 วิทยาการการจัดการเชิงกล
3-1201-0044X-XX-X - เอกวนิ ติ พรหมรักษา, วิชิต อู่อน้ และนนทิพนั ธ์ุ ประยรู หงษ.์ (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุ ยทุ ธ์ข้นั สงู
อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร ทีส่ ่งผลตอ่ ประสทิ ธิผลการปฏิบัตงิ านของผทู้ ำบญั ชใี นปัจจัยเชิงสาเหตทุ ่ีสง่ ผลตอ่ MKT804 วทิ ยาการการจัดการ
-บธ.ด. (ธุรกจิ การกีฬาและการ ประสทิ ธผิ ลการปฏิบตั งิ านของผู้ทำบญั ชีในประเทศไทย. รายงานสบื เน่อื ง (Proceedings) การตลาดช้ันสูง
บนั เทงิ ) การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมและเทคโนโลยีวชิ าการ มหาวทิ ยาลัย SEM804 วิทยาการการจัดการธรุ กิจ
มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม, 2555 เทคโนโลยีราชมงคลอีสานวิทยาเขตสุรนิ ทร์, วนั ที่ 25-26 ธนั วาคม 2560. หน้า D 200 บนั เทงิ และธุรกจิ กฬี าขัน้ สูง
- นศ.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ), – D 210.
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, - Nontipan Prayurhong and Onanong Phoocharoen. (2016). Integrated Marketing
2548 Communication and Marketing Mix to Influence Consumer Purchasing
- ศศ.บ. (การทอ่ งเทยี่ ว), Decision Behavior of Starbuck’s Beverages in Bangkok. Proceedings of
มหาวทิ ยาลัยรงั สิต, 2544 The 2nd International Conference on Management, Business, and
Economics & The 4th International Conference on Tourism, Transport,
and Logistics, 12-14 February 2016, Da Vinci Villa Hotel, San Francisco,
California, U.S.A. p.235-243.
- Nontipan Prayurhong. (2015). Strategy for Organizing Sport and Recreation
activity to discourage youths from drugs usage. Proceedings of The International
Conference on Management, Business, and Economics & The 3rd
International Conference on Tourism, Transport, and Logistics. 12-14
February 2015, Rydges Sydney Central, Australia. p.24-34.
มคอ.2 99
ลำดับ ชอื่ – นามสกลุ ผลงานทางวชิ าการ ภาระงานสอน
6 ดร.ประพันธ์ ชยั กจิ อรุ าใจ บทความวิจัย BUS714 ปญั ญา ประดษิ ฐเ์ พื่อการ
3-1004-0038 X-XX-X - กาญจนาพร พนั ธ์เทศ และ ประพันธ์ ชัยกจิ อรุ าใจ. (2562). วัฒนธรรมองค์การและ จัดการองค์การ
รองศาสตราจารย์ คณุ ภาพชวี ติ ในการทำงานทส่ี ง่ ผลตอ่ พฤติกรรมการเปน็ สมาชิกที่ดีขององค์การและ MGT805 กลยุทธแ์ ละดำเนนิ ธรุ กิจ
สาขาวิชาบริหารธุรกจิ ประสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ านของพนักงานธนาคารภาครัฐแหง่ หนึง่ . วารสารวิทยบรกิ าร ระดับโลกทางดา้ นการจัดการเชิงกล
- Psy.D. (Management) มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์, 30 (1), มกราคม-เมษายน 2562. หน้า 53-65. ยุทธ์
California School of - ชนมข์ นิษฐ์ วิศิษฎ์สมบัติ และ ประพันธ์ ชัยกจิ อุราใจ. (2562). ปจั จยั ท่ีมีผลต่อพฤติกรรม OHR805 กลยุทธแ์ ละดำเนินธรุ กิจ
Professional Psychology, การเป็นสมาชิกท่ีดขี ององค์การของบคุ ลากรในมหาวิทยาลัย. วารสารบณั ฑิตศกี ษา ระดบั โลกทางด้านการจดั การองคก์ าร
Alliant International มหาวทิ ยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์, 13 (1), มกราคม-เมษายน 2562. หนา้ 37-50. และการจัดการทรพั ยากรมนุษย์
University U.S.A., 1999 - เบญจพร กลน่ิ สีงาม และ ประพนั ธ์ ชัยกจิ อุราใจ. (2561). ปัจจยั ที่มอี ิทธิพลต่อพฤตกิ รรม
- บธ.ม., มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ , การเปน็ สมาชกิ ท่ีดขี ององค์การและประสิทธภิ าพในการปฏบิ ตั ิงานของบุคลากรกรม
2538 วชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์ วารสารวทิ ยบริการมหาวิทยาลยั สงขลา-
- วท.บ. (วิทยาศาสตร์และ นครินทร์, 29 (3), กันยายน-ธันวาคม 2561. หนา้ 117-131.
เทคโนโลยีการอาหาร) - วาสนา เภอแสละ ประพันธ์ ชัยกิจอรุ าใจ และ สุรี พฤกษท์ วศี กั ด์ิ. (2561). การทำงาน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, เปน็ ทมี ท่ีมอี ิทธพิ ลตอ่ ความผูกพันตอ่ องค์การและประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติ งานของ
2535 พนกั งานกลุม่ อุตสาหกรรมยานยนต์. วารสารวทิ ยบริการมหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร,์
29 (3), กันยายน-ธนั วาคม 2561. หนา้ 132-142.