The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มคอ2 วศ.บ. สาขาวิศวกรรมโยธา มศป.บางเขน ปป.พ.ศ.2565 อว.พิจารณาความสอดคล้องวันที่ 7 ก.ค.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ruangurai.se, 2021-07-31 12:29:08

มคอ2 วศ.บ. สาขาวิศวกรรมโยธา มศป.บางเขน ปป.พ.ศ.2565 อว.พิจารณาความสอดคล้องวันที่ 7 ก.ค.64

มคอ2 วศ.บ. สาขาวิศวกรรมโยธา มศป.บางเขน ปป.พ.ศ.2565 อว.พิจารณาความสอดคล้องวันที่ 7 ก.ค.64

Keywords: วิศวกรรมโยธา,โยธา

มคอ.2 0

รายละเอยี ด
หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2565)

มคอ.2
คณะวศิ วกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ บางเขน

มคอ.2 1

หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ
สาขาวชิ าวศิ วกรรมโยธา

หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565

ชื่อสถาบันอดุ มศกึ ษา /วทิ ยาเขต มหาวิทยาลัยศรปี ทุม บางเขน
คณะ/สาขาวชิ า คณะวิศวกรรมศาสตร์ / สาขาวิชาวศิ วกรรมโยธา

หมวดท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป

1. ชอ่ื หลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าวิศวกรรมโยธา
ภาษาองั กฤษ : Bachelor of Engineering Program in Civil Engineering

2. ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวิชา
ช่ือเตม็ (ไทย) : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศิ วกรรมโยธา)
ชือ่ ย่อ (ไทย) : วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
ช่ือเต็ม(อังกฤษ) : Bachelor of Engineering (Civil Engineering)
ชื่อยอ่ (อังกฤษ) : B.Eng. (Civil Engineering)

3. วิชาเอก
ไมม่ ี

4. จำนวนหนว่ ยกิตตลอดหลกั สูตร
137 หน่วยกิต

5. รูปแบบของหลกั สตู ร
5.1 รูปแบบ
เป็นหลกั สูตรระดบั ปรญิ ญาตรี ประเภทปรญิ ญาตรีทางวชิ าการ
5.2 ภาษาท่ใี ช้
การเรียนการสอนใชภ้ าษาไทยและ/หรอื ภาษาอังกฤษ และ/หรือภาษาจนี
5.3 การรบั เขา้ ศึกษา
รับนกั ศกึ ษาไทยหรือนักศึกษาต่างประเทศ
5.4 ความร่วมมอื กับสถาบันอื่น
เปน็ หลักสูตรของสถาบนั โดยเฉพาะ
5.5 การให้ปรญิ ญาแกผ่ สู้ ำเรจ็ การศึกษา
ให้ปริญญาเพยี งสาขาวิชาเดยี ว

6. สถานภาพของหลักสูตร
หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. 2565 เรม่ิ ใช้หลักสตู รนี้ ตั้งแตป่ กี ารศึกษา 2565
- คณะกรรมการมาตรฐานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ได้ให้ความเห็นชอบการ

ปรับปรุงหลักสตู ร เม่ือวนั ที่ 30 มนี าคม พ.ศ. 2564

มคอ.2 2

- สภาวิชาการมหาวิทยาลัยศรีปทุมได้ให้ความเห็นชอบการปรับปรุงหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 5
ปีการศึกษา 2563 เมอ่ื วันท่ี 20 เมษายน พ.ศ. 2564

- สภามหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้อนุมัติการปรับปรุงหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม
พ.ศ. 2564

7. ความพร้อมในการเผยแพรห่ ลกั สตู รทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริ ญญาตรี สาขา

วิศวกรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553 ในปกี ารศกึ ษา 2567

8. อาชพี ท่ีประกอบไดห้ ลังสำเรจ็ การศกึ ษา
8.1 วิศวกรโยธาควบคมุ งานก่อสรา้ ง
8.2 วิศวกรโครงการงานดา้ นวิศวกรรมโยธา
8.3 วศิ วกรออกแบบงานวิศวกรรมโยธา
8.4 วิศวกรผู้ให้บริการทางเทคนิคทีเ่ กี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมโยธา
8.5 ผปู้ ระกอบการที่เกี่ยวข้องในธรุ กจิ ก่อสรา้ ง
8.6 นกั วิชาการ/นักวิจยั ที่เก่ยี วข้องในสาขาวศิ วกรรมโยธา
8.7 วศิ วกรประมาณราคา
8.8 วศิ วกรสำรวจ
8.9 ตำแหนง่ งานอน่ื ๆ ทเ่ี ป็นไปตามขอบเขตที่กำหนดในข้อบงั คับของสภาวศิ วกร

9. ชือ่ เลขประจำตวั บตั รประชาชน ตำแหน่ง และคณุ วุฒิการศกึ ษาของอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สูตร
9.1 อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร

ลำดับ ชอ่ื -สกลุ /ตำแหนง่ / คณุ วฒุ ิการศึกษา/ปที สี่ ำเร็จ สถาบนั ท่ีสำเรจ็ การศึกษา
ที่ เลขประจำตัวบตั รประชาชน
1 ผศ.ดร.ชิษณุ อัมพรายน์ - วศ.ด.(วิศวกรรมโยธา), 2560 - มหาวทิ ยาลัยศรีปทุม
3-6099-0032X-XX-X
- M.Eng. (Transportation Engineering), - Asian Institute of Technology,
2 ผศ.ชชั วาลย์ พูนลาภพานชิ
3-1012-0104X-XX-X 2002 Thailand.

3 ผศ.สรุ พนั ธ์ สนั ตยิ านนท์ - วศ.บ. (วิศวกรรมการก่อสรา้ ง), 2540 - สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
5-1005-0007X-XX-X
เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั
4 ผศ.ดร.วรสิ รา เลศิ ไพฑูรย์พนั ธ์
3-1009-0162X-XX-X - วศ.ม (วศิ วกรรมปฐพี), 2541 - จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2538 - จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย

- วศ.ม. (วศิ วกรรมโยธา-วิศวกรรมแหล่งน้ำ - มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

และสงิ่ แวดล้อม), 2548

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2542 - มหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ

- Ph.D. (Civil Engineering), 2008 - Iowa State University, U.S.A.

- M.S. (Water and Wastewater - Asian Institute of Technology,

Engineering), 2000 Thailand

- วท.บ. (ฟสิ ิกส์), 2537 - มหาวิทยาลัยรามคำแหง

มคอ.2 3

ลำดับ ชอ่ื -สกุล/ตำแหนง่ / คณุ วฒุ ิการศกึ ษา/ปีท่สี ำเร็จ สถาบนั ท่สี ำเรจ็ การศกึ ษา
ที่ เลขประจำตัวบตั รประชาชน
5 ดร.โยธิน มชั ฌิมาดลิ ก - ปร.ด. (วศิ วกรรมโยธา), 2557 - มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
3-1005-0438X-XX-X
- วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา-วศิ วกรรมแหลง่ น้ำ - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
9.2 อาจารยป์ ระจำหลกั สูตร
ลำดบั ช่อื -สกลุ /ตำแหน่ง/ และส่งิ แวดลอ้ ม), 2549

ที่ เลขประจำตวั บตั รประชาชน - วศ.บ. (วศิ วกรรมการก่อสรา้ ง), 2540 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้
1 ผศ.ดร.ชษิ ณุ อัมพรายน์
เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั
3-6099-0032X-XX-X
คณุ วฒุ ิการศกึ ษา/ปที ีส่ ำเรจ็ สถาบันที่สำเรจ็ การศึกษา
2 ผศ.ชชั วาลย์ พนู ลาภพานชิ
3-1012-0104X-XX-X - วศ.ด.(วศิ วกรรมโยธา), 2560 - มหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ

3 ผศ.สุรพันธ์ สนั ติยานนท์ - M.Eng. (Transportation Engineering), - Asian Institute of Technology,
5-1005-0007X-XX-X
2002 Thailand.
4 ผศ.ดร.วรสิ รา เลศิ ไพฑูรย์พนั ธ์
3-1009-0162X-XX-X - วศ.บ. (วิศวกรรมการกอ่ สรา้ ง), 2540 - สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

5 ดร.โยธิน มชั ฌิมาดลิ ก เจ้าคุณทหารลาดกระบงั
3-1005-0438X-XX-X
- วศ.ม (วิศวกรรมปฐพ)ี , 2541 - จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย
6 ศ.ดร.ไพบูลย์ ปญั ญาคะโป
3-1024-0050X-XX-X - วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2538 - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

7 ผศ.ดร.คมวุธ วิศวไพศาล - วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา-วศิ วกรรมแหลง่ นำ้ - มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
3-8099-0051X-XX-X
และสิ่งแวดลอ้ ม), 2548

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2542 - มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม

- Ph.D. (Civil Engineering), 2008 - Iowa State University, U.S.A.

- M.S. (Water and Wastewater - Asian Institute of Technology,

Engineering), 2000 Thailand

- วท.บ. (ฟิสิกส์), 2537 - มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง

- ปร.ด. (วศิ วกรรมโยธา), 2557 - มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

- วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา-วศิ วกรรมแหล่งน้ำ - มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

และส่ิงแวดลอ้ ม), 2549

- วศ.บ. (วิศวกรรมการก่อสรา้ ง), 2540 - สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า

เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

- D.Eng. (StructuralEngineering), 1999 - Asian Institute of Technology,

Thailand

- M.Eng.(Structural Engineering),1984 - Asian Institute of Technology,

Thailand

- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 2525 - มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.

- Ph.D. (Civil Engineering), 2001 - West Vitginia University, U.S.A.

- M.S. (Civil Engineering), 1995 - Texas A&M University-

Kingsville, U.S.A.

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2537 - จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย

มคอ.2 4

ลำดับ ชอ่ื -สกุล/ตำแหนง่ / คณุ วฒุ ิการศกึ ษา/ปที ่ีสำเร็จ สถาบนั ทีส่ ำเรจ็ การศึกษา
ที่ เลขประจำตัวบตั รประชาชน
8 ผศ.ดร.ไพจิตร ผาวัน - วศ.ด. (วศิ วกรรมและการบริหารการ - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอม
ก่อสรา้ ง), 2558 เกล้าธนบุรี
3-1011-0023X-XX-X - วศ.ม. (วศิ วกรรมและบริหารงานกอ่ สร้าง), - มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอม
2544 เกลา้ ธนบรุ ี
- อส.บ. (วิศวกรรมกอ่ สรา้ ง), 2538 - มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ

9 ดร.ณัฐวัฒน์ จุฑารตั น์ - Ph.D. (Civil Engineering), 2001 - Syracuse University, U.S.A.
3-1002-0197 X-XX-X - M.Eng. (Structural Engineering), - Asian Institute of Technology,
1993 Thailand
10 ผศ.ดร.ชลธิศ เอ่ยี มวรวฒุ ิกลุ - วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 2534 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
3-1012-0246X-XX-X
- Ph.D. (Mechanical Engineering), - North Carolina State
2001 University, U.S.A.
- M.S. (Mechanical Engineering), - Southern Illinois University,
1996 U.S.A.
- วศ.บ. (วิศวกรรมเคร่อื งกล), 2534 - จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

10. สถานท่ีจดั การเรยี นการสอน
มหาวทิ ยาลยั ศรีปทุม บางเขน

11. สถานการณภ์ ายนอกหรอื การพฒั นาท่ีจำเป็นตอ้ งนำมาพจิ ารณาในการวางแผนหลกั สตู ร
11.1 สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางเศรษฐกิจ
สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ที่นำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตรจะสอดคล้องกับทิศทาง

ของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564 แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 –
2580) โดยยึดหลักการพัฒนาสู่ “ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” โดยยึดหลักของ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
ผ่านกลไก “ประชารัฐ” ท่ีเป็นความร่วมมือระหวา่ งภาครฐั และเอกชน ซ่ึงมแี นวทางสำคญั คอื การสง่ เสริมด้านการวิจัย
และพัฒนา ผลักดันงานวิจัยและพัฒนาให้ใช้ประโยชน์อย่างแท้จริงทั้งเชิงพาณิชย์และสาธารณะ การพัฒนากำลังคน
และแรงงานให้มีทักษะความรู้และสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ร่วมกับการจัดทำกรอบคุณวุฒิ
วิชาชีพและมาตรฐานฝมี ือแรงงานเพื่อใหส้ ามารถแขง่ ขันในตลาดแรงงานได้ การส่งเสริมผู้ประกอบการที่เข้มแข็งและ
พาณิชย์ดจิ ิตอล ท่ีสามารถปรับตวั และดำเนนิ ธุรกจิ ท่ามกลางการดำเนินนโยบายและมาตรการการกีดกันทางการค้าใน
รูปแบบต่างๆ การลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยเร่งลงทุนและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งเพื่อ
เชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจในประเทศและต่างประเทศ การปรับโครงสร้างการผลิต โดยปรับเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า
เกษตรข้ันปฐมเป็นสนิ ค้าเกษตรแปรรูปที่มมี ูลค่าสูงมีคณุ ภาพและมาตรฐานสากล สามารถสร้างความเชื่อมโยงทางด้าน
วัตถุดิบกับประเทศเพื่อนบ้านและลดระดับการผลิตสินค้าขั้นปฐมท่ีสูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขนั ลง ประกอบ
กับแนวนโยบายแห่งรัฐที่เน้นการพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม New S-Curve ที่มีบทบาทต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศ การปรับเปลี่ยนของโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม เพื่อสามารถก้าวข้ามการ
พัฒนาการเศรษฐกิจไทยสู่ประเทศที่มีรายได้สูง หรือประเทศไทย 4.0 และสถานการณ์โลกในปัจจุบัน ที่มีการพัฒนา

มคอ.2 5

ของระบบคมนาคม และการสื่อสาร ทำให้การติดต่อธุรกิจและการค้าขายมีความสะดวกรวดเร็ว และเข้าถึงกลุ่มลูกค้า
ที่อยู่ห่างไกลได้มากขึ้น ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว รวมถึงการเปิดเขตการค้าเสรีต่างๆ ทั้ง
แบบทวิภาคี และเขตการค้าเสรีอาเซียน ซึ่งจะส่งผลต่อเสรีทางด้านการประกอบวิชาชีพข้ามชาติด้วย การประกอบ
วิชาชีพวิศวกรรมโยธาในอนาคตจะได้รับผลกระทบในเรื่องดังกล่าวสูงมาก อีกทั้งแนวโน้มในอนาคต ภาครัฐมีการ
สนับสนุนใหว้ ิศวกรไทยออกไปทำงานในต่างแดนได้ ดังนนั้ การจะทำใหว้ ิศวกรโยธาสามารถแขง่ ขนั กับวิศวกรชาติอ่ืนได้
จะต้องมีความรู้ความสามารถท่ีจำเปน็ ต่อการทำงานในตลาดแรงงานของโลกได้ นอกเหนือไปจากเรื่องของการแข่งขัน
ทางด้านตลาดแรงงานแล้ว บทบาทของวิศวกรโยธาต่อสังคมจะมีมากขึ้นในอนาคตเนื่องมาจากสาเหตุต่ างๆ อาทิ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการก่อสร้าง และการเกิดของโครงการภาครัฐขนาดใหญ่ที่มี
อยา่ งตอ่ เนอื่ งอีกด้วย

ในส่วนของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้มีนโยบายปรับกระบวนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาศักยภาพของ
ผเู้ รียนใหส้ ามารถแข่งขนั ได้ทัง้ ทางด้านองค์ความรู้ และทักษะทางด้านภาษา รวมท้งั การเปน็ e-University รองรับการ
เรียนการสอน นำ e-Learning มาช่วยเสริมการจัดการเรียนการสอนผ่านสื่อต่างๆ รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้ง
การมีระบบทดสอบผู้เรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์การบริการ และการบริหารจัดการ เช่น การพัฒนาระบบโครงสร้าง
พน้ื ฐานที่ทันสมัย และพัฒนาทักษะของนักศกึ ษาใหม้ ีความรดู้ ้าน ICT การใชเ้ ทคโนโลยี ICT เพือ่ การบรกิ ารการเรียนรตู้ ลอด

11.2 สถานการณห์ รอื การพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม
การพัฒนาทางอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของ คนในสังคม

อย่างปฏิเสธไม่ได้ จากข้อมูลทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564 พบว่า
ประเทศไทยกา้ วสูส่ ังคมผูส้ ูงอายจุ ากการมีโครงสร้างประชากรท่ีวัยสูงอายุเพม่ิ ขึ้น วยั เด็กและวัยแรงงานลดลง มีปญั หา
คุณภาพการศึกษาและผลิตภาพแรงงานต่ำ ประชาชนได้รับการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มขึ้นและมีการจัดสวัสดิการทาง
สังคมในหลายรูปแบบ แต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมได้อย่างทั่วถึง ความเหลื่อมล้ำทาง
รายได้ของประชากรและโอกาสการเข้าถึงทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด ซึ่งเป็นปัญหาการพัฒนาประเทศ สังค มไทย
เผชิญวิกฤตความเส่ือมถอยด้านคณุ ธรรมและจริยธรรม และมีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย การเผชิญ
ปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดและการเพิ่มขึ้นของการพนันโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน และการแพร่
ระบาดของโรคโควิท 19 ส่งผลใหก้ ารพัฒนาทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยจี งึ ต้องควบคู่กบั การเสรมิ สร้างจติ สำนึกทีด่ ตี ่อ
จรรณยาบรรณวิชาชีพ เพื่อสร้างผลกระทบที่น้อยที่สุดจากภาคอุตสาหกรรมอันจะมีต่อวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชน
รอบด้าน

ในส่วนของการเปิดเสรีการค้าและบริการด้านการศึกษาจะส่งผลให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ภาษา
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม ระหว่างประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน มีการเคลื่อนย้ายนักศึกษาและ
บุคลากร มีการถ่ายโอนหน่วยกิตระหว่างมหาวิทยาลัย ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร การมี Social Network การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการทำงานในยุค New Normal และปัจจัยทางด้าน ICT
ส่งผลต่อผลกระทบต่อสังคมวัฒนธรรม ความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างนักศึกษา และระหว่างนักศึกษากับอาจารย์ลดลง
รวมถึงมาตรการทางการค้าที่เกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาโลกร้อนและกฏระเบียบด้านสังคมมีบทบาทมากขึ้น เช่น สิทธิ
มนุษยชน และธรรมาภิบาล ทำให้กระบวนการผลิตและการบริการต้องคำนึงถึงสิ่งเหล่านี้มากยิ่งขึ้น สถานการณ์
ข้างตน้ ทเี่ กดิ ข้นึ จึงมีความจำเป็นทนี่ ำมาพจิ ารณาในการวางแผนหลักสูตร

12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพฒั นาหลกั สตู รและความเก่ียวขอ้ งกับพนั ธกิจของสถาบนั
12.1 การพฒั นาหลักสตู ร
จากผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอก จึงจำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุกที่มีศักยภาพและสามารถ

ปรับเปลี่ยนได้ตามวิวัฒนาการทางเทคโนโลยี โดยให้ผลิตบุคลากรทางวิศวกรรมโยธาที่มีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานใน

มคอ.2 6

องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนที่มีการใช้เทคโนโลยีและเครือข่ายสังคมยุคใหม่อย่างก้าวกระโดด รวมท้ั งเตรียมความ
พร้อมในการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และมีความสามารถในการปรับตัวและเรียนรู้การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่
อย่างรวดเร็วเพื่อประยุกต์ใช้กับองค์กร มีความพร้อมทางด้านภาษาทักษะการสื่อสารเจรจาที่เป็นสากล โดยยังคง
คำนึงถงึ ความรับผดิ ชอบต่อสภาพสังคมและสงิ่ แวดล้อม และประกอบดว้ ยคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในวิชาชีพ

12.2 ความเกี่ยวขอ้ งกบั พนั ธกจิ ของสถาบนั
การพัฒนาหลกั สูตรไดด้ ำเนินการให้สอดคลอ้ งกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่เน้นการผลิตบุคลากรทีส่ ามารถ

ปฏิบัติงานได้จริง มีความเชี่ยวชาญและชำนาญในสายวิชาชีพของตน มีความเป็นมืออาชีพ เพื่อการสร้างความเป็นเลศิ
ในการประยุกต์ความรู้สู่ภาคปฏิบัติ และสอดคล้องกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัยที่เน้นความโดดเด่นทางด้าน ICT
และมีพนั ธกิจดงั น้ี

(1) การผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ปณิธาน อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
และรองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

(2) การส่งเสรมิ และผลักดันการใหม้ ีผลงานวิจัย นวัตกรรม และผลงานทางวชิ าการด้านวิชาการ
(3) การบรกิ ารทางวิชาการแกส่ ังคม สรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
(4) การปลกู ฝงั คุณธรรม จริยธรรมสบื สานศิลปวฒั นธรรมของไทย
(5) การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การภายในให้มีประสทิ ธิภาพ
(6) การพัฒนาใหก้ ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาเป็นกลไกส่งเสริมกระบวนการทำงานให้มีประสทิ ธิภาพ

13. หลักสตู รนี้ มคี วามสัมพันธก์ ับหลักสูตรอ่นื ท่เี ปิดสอนในคณะ / สาขาวิชา อน่ื ของสถาบัน ดงั น้ี
13.1 กลุ่มวชิ า/รายวชิ าในหลักสตู รนที้ เี่ ปดิ สอนโดยคณะ/สาขาวชิ า/หลกั สตู รอนื่
กลุ่มรายวิชาที่นักศึกษาต้องไปเรียนในคณะ/หลักสูตรสาขาวิชาอื่น ประกอบด้วย รายวิชาในหมวดศึกษาทั่วไป

รายวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี รายวิชาในกลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพภายในคณะ เช่น สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล และ
สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

13.2 กลุ่มวิชา/รายวชิ าในหลักสตู รทเ่ี ปิดสอนใหส้ าขาวชิ า/หลกั สตู รอน่ื ตอ้ งมาเรยี น
รายวิชาที่เปิดสอนในหลักสูตรนี้ นักศึกษาสาขาวิชาอื่นภายในคณะวิศวกรรมศาสตร์สามารถเลือกเรียนได้ใน

บางรายวิชา ทั้งนี้ขึ้นกับความสนใจของนักศึกษาแต่ละคน นอกจากนี้นักศึกษาต่างคณะสามารถเลือกเรียนเป็น วิชา
เลือกเสรหี รอื รายวิชาโทได้

13.3 การบรหิ ารจัดการ
(1) ประสานงานกับคณะต่างๆ ที่จัดรายวิชาซ่ึงนักศึกษาในหลักสูตรนี้ต้องไปเรียน โดยต้องมีการวางแผน

ร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวขอ้ ง ตั้งแต่ผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอนซึ่งอยู่ตา่ งคณะ เพื่อกำหนดเนื้อหา และ กลยุทธ์การสอน
ตลอดจนการวัดผล ประเมินผล ท้ังน้เี พ่อื ให้นักศึกษาได้บรรลผุ ลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รน้ี

(2) ประสานกับคณะต้นสังกัดของนักศึกษาที่มาเรียนรายวิชาของหลักสูตรนี้ เพื่อให้ทราบถึงผลการเรียนรู้
ของนักศึกษาวา่ สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรทน่ี กั ศึกษาเหลา่ นน้ั เรยี นหรือไม่

หมวดท่ี 2 ขอ้ มลู เฉพาะของหลกั สูตร

1. ปรัชญา ความสำคญั และวัตถุประสงค์ของหลักสตู ร
1.1 ปรัชญา
เพื่อผลิตบณั ฑิตที่มีความรู้ความสามารถเพียบพร้อมไปดว้ ย ปัญญา เชี่ยวชาญ เบิกบานและคุณธรรมและเพ่ือ

สรา้ งความก้าวหน้าในองค์ความรทู้ างวชิ าการและเทคโนโลยที างวิศวกรรมในสาขาวิศวกรรมโยธาและสาขาที่เกี่ยวข้อง
เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศและการแข่งขันกับนานาชาติ เพื่อก้าวสู่การพึ่งตนเองของประเทศ ทั้งน้ี

มคอ.2 7

หลักสูตรได้เน้นการสร้างความรอบรู้เฉพาะแขนงวิชาให้มีทักษะในการปฏิบัติงานวิศวกรรมที่มีการวิเคราะห์และใช้
วิจารณญานในการตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมอีกทั้งมีความเป็นผู้นำ มีบุคลิกภาพและมนุษย
สัมพันธ์ดีสามารถทำงานเป็นทีมร่วมกับบุคคลสายอาชีพต่างๆในสังคมได้ บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาสามารถประกอบ
วิชาชีพได้กว้างขวางในงานวิศวกรรมโยธา เช่น การวางแผน คำนวณ ออกแบบ ควบคุม และพัฒนาสิ่งก่อสร้าง อาทิ
อาคารที่พักอาศัย อาคารพาณิชย์ อาคารสำนักงาน โรงงาน ถนน สะพาน ทางด่วน เขื่อน สนามบิน ท่าเทียบเรือ
อุโมงค์ ตลอดจนงานระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน อันได้แก่ระบบการคมนาคม การระบายน้ำ การชลประทาน การ
ประปา การบำบดั นำ้ เสยี และสิง่ โสโครก โดยใหง้ านดังกลา่ วเป็นไปอยา่ งประหยัดและปลอดภัย

1.2 ความสำคญั ของหลกั สูตร
ปัจจุบันการดำเนินธุรกิจทั้งด้านการผลิตและด้านการบริการประสบกับการแข่งขันที่รุนแรงมากดังนั้นการ

ดำเนินธุรกิจจึงต้องแสวงหาวิธีหรือกลยุทธ์ใหม่ๆเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้แก่องค์กรหรือเพื่อความอยู่รอดขององค์กร
ทางธุรกิจอย่างยั่งยืน งานในด้านวิศวกรรมโยธาจึงมีความสำคัญและมีบทบาทอย่างมากในการพัฒนาประเทศ และ
ธุรกิจในด้านวิศวกรรมโยธาได้มีความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากขึ้นในการออกแบบและการก่อสร้างที่จำเป็น
จะต้องพัฒนาบุคลากรของประเทศให้มีความรู้ที่พร้อมในการแข่งขัน มหาวิทยาลัยศรีปทุมมีหลักสูตรด้านวิศวกรร ม
โยธาเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องโดยใช้ทรัพยากรภายน อกและความร่วมมือกับภาคเอกชนสนับสนุนให้
บัณฑิตมีคุณภาพโดยการศึกษาดูงานฝึกงานวิชาสหกิจศึกษาตลอดจนเชิญผู้ประกอบการที่มีประสบการณ์สูงมาเป็น
วิทยากรพิเศษ สำหรับหลักสูตรปรับปรุงสาขาวิศวกรรมโยธาฉบับนี้เน้นให้ผู้เรียนได้ผ่านภาคปฏิบัติเพื่อเสริมความ
เชี่ยวชาญจากประสบการณ์ในการทำงานจริงอันเป็นคุณลักษณะที่ต้องการในภาคอุตสาหกรรมปัจจุบันเป็นอย่างมาก
นอกจากนั้นยังแทรกคุณลักษณะทางด้านภาษาและคอมพิวเตอร์ในรายวิชาต่างๆตลอดหลักสูตร ซึ่งสอดคล้องกับอัต
ลักษณ์ของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ต้องการสร้างวิศวกรที่มี
ความสามารถเชงิ วิชาการ คณุ ภาพการทำงานและจริยธรรมในการทำงานเชงิ ปฏบิ ตั เิ มอื่ ออกไปประกอบวิชาชีพ

หลักสูตรนีเ้ ปิดสอนตง้ั แตป่ ีการศึกษา 2536 และมกี ารปรบั ปรุงคร้ังสดุ ท้ายเมอ่ื ปีการศกึ ษา 2560 ประกอบกบั
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาได้มีประกาศมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมศาสตร์ และมีการ
ปรับปรุงระเบียบคณะกรรมการสภาวิศวกรว่าด้วยองค์ความรู้พื้นทางทางด้านวิทยาศาสตร์ องค์ความรู้พื้นฐานทางด้าน
วิศวกรรม และองค์ความรู้เฉพาะทางวิศวกรรม ที่สภาวิศวกรจะให้การรับรองปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในการ
ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 2562 จึงต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรเพื่อใหส้ อดคล้องกับการเปล่ียนแปลงดังกล่าว
และเพื่อให้มกี ารจดั การเรียนการสอนใหบ้ รรลุผลการเรยี นรูต้ ามทมี่ าตรฐานกำหนด

1.3 วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร
1.3.1 ผลติ บณั ฑติ ทางด้านวิศวกรรมโยธา ที่มีความรู้ ความเขา้ ใจและมคี วามเช่ยี วชาญในการประกอบวิชาชพี
วศิ วกรรมควบคุมสาขาวศิ วกรรมโยธา ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
1.3.2 ผลิตบัณฑิตทางด้านวิศวกรรมโยธา ให้มีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง สามารถคิด
และวิเคราะห์ปัญหาอย่างเป็นระบบมีทักษะในการผลิตผลงาน เป็นนักปฏิบัติที่ดี สามารถปฏิบัติหน้าที่ตามภาระที่ได้รับ
มอบหมายจากผวู้ า่ จา้ งอย่างเกิดประสทิ ธิภาพ
1.3.3 ผลติ บัณฑติ ทีส่ ามารถปฏิบัติหนา้ ทีว่ ศิ วกรอยา่ งสอดคลอ้ งตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ มีคุณธรรม
จริยธรรมมีความรับผดิ ชอบ และมีจติ สำนกึ ที่ดตี ่อสังคมและสง่ิ แวดล้อม
1.3.4 ผลติ สร้างเสริมบรรยากาศท่เี อือ้ อำนวยใหเ้ กิดการผลติ ผลงานทางวิชาการและงานวิจัยในระดบั ชาติ
นานาชาตติ ลอดจนสรา้ งนักวจิ ยั และวศิ วกรทมี่ ีคณุ ภาพที่ได้รับการยอมรบั ในระดบั สากล
1.3.5 เพื่อผลติ บณั ฑิตท่มี ีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะทางภาษา และใช้เทคโนโลยี
อยา่ งเหมาะสมเพื่อชว่ ยในการทำงาน

มคอ.2 8

2. แผนพัฒนาปรบั ปรุง กลยุทธ์ หลกั ฐาน / ตวั บ่งชี้
แผนการพัฒนา / เปลย่ี นแปลง

1. ปรับปรงุ หลกั สูตรให้มมี าตรฐานตาม 1. ติดตามประเมนิ หลกั สูตรอยา่ ง 1.1 เอกสารปรับปรงุ หลกั สตู ร

เกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รของกระทรวง สม่ำเสมอ 1.2 รายงานผลการประเมินหลักสตู ร

การอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และ

นวตั กรรม (อว.)

2. ปรับปรงุ หลกั สตู รให้ทนั สมัย 2. ติดตามประเมนิ ผลความตอ้ งการของ 2.1 รายงานผลความพงึ พอใจของ

สอดคลอ้ งกบั ความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ ผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมท่เี ก่ียวขอ้ ง ผู้ใช้บัณฑติ

ความต้องการของตลาด/ผใู้ ชบ้ ัณฑติ /การ กบั สาขาวิชาวศิ วกรรมโยธาและปรบั หลักสตู ร 2.2 ความพงึ พอใจในความรคู้ วาม

เปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ใหท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สามารถการใชเ้ ทคโนโลย/ี ทักษะการ

ทำงานในระดบั ดี

3. พัฒนาบุคลากรดา้ นการเรยี นการ 3.1 อาจารยท์ กุ คนโดยเฉพาะอาจารยใ์ หม่ 3.1.1 ความสามารถในการวดั และ

สอนและการบรกิ ารวิชาการ ตอ้ งเข้ารบั การฝึกอบรมเก่ยี วกับหลักสตู ร ประเมินผลของหลกั สตู ร

การสอนรูปแบบต่างๆ และการวดั ผล 3.1.2 ปรมิ าณงานบรกิ ารวชิ าการตอ่

ประเมนิ ผล ท้งั น้ีเพ่ือใหม้ ีความรู้ความสามารถใน อาจารย์ในหลักสตู ร

การประเมินผลตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒทิ ี่

ผสู้ อนจะต้องสามารถวดั และประเมนิ ผลได้

เปน็ อยา่ งดี

3.2 สนบั สนนุ อาจารย์ใหท้ ำงานบรกิ าร 3.2 รายงานผลประเมินความพงึ

วิชาการแก่องค์กรภายนอก พอใจของผใู้ ช้บริการวิชาการ

3.3 สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารนำความรู้ทั้งจาก 3.3 จำนวนโครงการ/กิจกรรมทีเ่ ปน็

ภาคทฤษฎีและปฏิบัติ และงานวิจัยไปใชจ้ รงิ ประโยชน์ตอ่ ชุมชนและความ

เพอ่ื ทำประโยชน์ให้แกช่ ุมชน บรรลผุ ลสำเร็จ

4. ปรบั ปรงุ วิธกี ารเรยี นการสอน 4.1 สนบั สนุนให้อาจารยม์ อบหมายงานใน 4.1 จำนวนรายวิชาท่ีใช้งานผา่ น

แต่ละรายวิชาผ่านระบบทาง ระบบ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Learning)

5. ปรับปรงุ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล 5.1 วเิ คราะห์ขอ้ สอบ 5.1 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ สอบ

5.2 วเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของ 5.2 ผลวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธิท์ างการ

นกั ศกึ ษา เรยี นของนกั ศกึ ษา

6. ปรับปรุงปัจจยั สนับสนนุ การเรียนการ 6.1 สำรวจความตอ้ งการของนกั ศกึ ษา 6.1 รายงานผลการสำรวจ

สอน และผสู้ อน

6.2 จัดหาและจัดสรรทุนเพอ่ื ปรับปรงุ 6.2.1 จำนวนเงินทนุ

ปัจจัยสนบั สนนุ การเรียนการสอนใหม้ ี 6.2.2 จำนวนเงินค่าใชจ้ ่าย

ความทนั สมยั และมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น 6.2.3 จำนวนอปุ กรณ์/กจิ กรรม/

โครงการทีป่ รบั ปรุงปัจจยั สนับสนุน

การเรยี นการสอน

มคอ.2 9

หมวดที่ 3 ระบบการจดั การศึกษา การดำเนนิ การ และโครงสร้างหลักสตู ร

1. ระบบการจดั การศึกษา
1.1 ระบบ
หลักสตู รน้จี ดั การศึกษาระบบทวภิ าค โดยหนงึ่ ปกี ารศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศกึ ษาโดยมีระยะเวลาการศึกษา

ไมน่ ้อยกว่า 15 ชวั่ โมงตอ่ หน่วยกิต และ/หรือ 15 สัปดาห์ ต่อภาคการศกึ ษา และอาจจัดภาคฤดูร้อนดว้ ยได้ ส่วนขอ้ กำหนด
ต่างๆ ใหเ้ ป็นไปตามข้อบังคบั มหาวิทยาลยั ศรีปทุมว่าด้วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

1.2 การจดั การศกึ ษาภาคฤดูร้อน
มีภาคฤดรู ้อนด้วย โดยมรี ะยะเวลาการศึกษาไมน่ อ้ ยกวา่ 15 ชวั่ โมงต่อหน่วยกติ และ/หรือ 8 สัปดาห์ ต่อภาค

การศกึ ษา ท้ังนี้ ระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต มสี ัดส่วนเทยี บเคยี งกนั ได้กบั การศึกษาภาคปกติ ส่วนข้อกำหนดต่างๆ
ให้เป็นไปตามขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั ศรีปทมุ วา่ ด้วยการศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี

1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวภิ าค
ไมม่ ี

2. การดำเนนิ การหลักสตู ร

2.1 วนั – เวลาในการดำเนนิ การเรียนการสอน

จดั การเรียนการสอนท้งั ในและนอกเวลาราชการ

ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสงิ หาคม - เดือนธันวาคม

ภาคการศึกษาท่ี 2 เดอื นมกราคม - เดือนพฤษภาคม

ภาคฤดรู อ้ น เดือนมิถนุ ายน - เดอื นกรกฎาคม

2.2 คุณสมบัติของผเู้ ขา้ ศึกษา
(1) การเขา้ ศกึ ษา
- เปน็ ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาไม่ต่ำกวา่ มธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเทา่
- เป็นผูส้ ำเร็จการศึกษาประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชนั้ สูงหรือเทยี บเทา่ หรืออนปุ ริญญา
- เปน็ ไปตามประกาศมหาวิทยาลยั ศรปี ทมุ หรือข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลัยศรปี ทมุ วา่ ด้วยการศึกษาระดับ

ปรญิ ญาตรี
(2) การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

- นักเรียนทเี่ ขา้ ศกึ ษาโดยระบบคัดเลอื กของกระทรวงการอุดมศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวัตกรรม (อว.)
- นกั เรยี นทม่ี หาวทิ ยาลยั ศรปี ทมุ เปน็ ผดู้ ำเนินการคดั เลือกเอง
- โดยคณาจารย์ประจำหลักสูตรด้วยวิธีการสอบข้อเขียน และ/หรือการสอบสัมภาษณ์รวมทั้งพิจารณา
จากผลการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและคะแนนสอบโดยระบบคัดเลือกของกระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม (อว.)
2.3 ปญั หาของนกั ศกึ ษาแรกเขา้
ปัญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเป็นการเรียนที่มีรูปแบบแตกต่างไปจากเดิมที่ไม่
คุ้นเคย มีสังคมกว้างขึ้น ต้องดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมทั้งการเรียนในห้องและกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่นักศึกษา
ต้องสามารถจัดแบ่งเวลาให้เหมาะสม นอกจากนี้ คือปัญหาด้านความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ และทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษ ทัง้ การเรยี นในหอ้ งเรยี น และการศึกษาจากตำราเรียนที่เป็นภาษาอังกฤษ

มคอ.2 10

2.4 กลยุทธ์ในการดำเนินการเพ่ือแกไ้ ขปัญหา/ขอ้ จำกดั ของนกั ศกึ ษาในขอ้ 2.3

(1) กลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแกไ้ ขปัญหานักศึกษาด้านการปรับตัว ทางสาขาวิชาฯ จะจัดให้มีการดูแล

อย่างใกล้ชิดโดยอาจารย์ที่ปรึกษา และนักศึกษารุ่นพี่ พร้อมทั้งได้มีการจัดโครงการเสริมหลักสูตรที่เหมาะสมให้กับ

นกั ศกึ ษา

(2) กลยทุ ธ์ในการแก้ไขปัญหาด้านพน้ื ฐานทางคณติ ศาสตร์มกี ารสอนเสริมทักษะทางด้านคณิตศาสตร์

(3) กลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาด้านพื้นฐานทางภาษาอังกฤษมีการเริ่มสอดแทรกเนื้อหาที่เป็นภาษาอังกฤษ

เพิ่มมากขน้ึ ตามลำดับชั้นปีของนกั ศกึ ษา
(4) กลยุทธ์การเรียนแบบทางไกลทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Learning) ในการแก้ไขปัญหาด้านการพัฒนา

ทักษะการเรียนรดู้ ้วยตนเอง รวมถึงชว่ ยในการจัดสรรเวลาและการปรับตัวของนกั ศกึ ษา

2.5 แผนการรับนกั ศึกษาและจำนวนผูส้ ำเร็จการศกึ ษาในระยะเวลา 5 ปี

ช้ันปี 2565 จำนวนนกั ศึกษา (คน) 2569
ปี การศึกษา 2566 2567 2568

ชั้นปที ี่ 1 250 250 250 250 250

ช้ันปีที่ 2 200 200 200 200

ชัน้ ปีที่ 3 150 150 150

ชน้ั ปีท่ี 4 120 120

รวม 250 450 600 720 720

คาดวา่ จะจบการศึกษา - - - 120 120

2.6 งบประมาณตามแผน

งบประมาณค่าใชจ้ ่ายตอ่ หวั ต่อปี (สงู สดุ ) 75,000 บาท

งบประมาณค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร 300,000 บาท

2.7 ระบบการศึกษา

แบบช้ันเรียน ทัง้ น้ีในบางรายวชิ าอาจมกี ารเรยี นด้วยส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Learning) เพ่มิ เติมไดต้ ามความ

เหมาะสม

2.8 การเทยี บโอนหน่วยกติ รายวิชาและการลงทะเบียนข้ามมหาวิทยาลยั

เปน็ ไปตามข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุมว่าดว้ ยการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรี

3. หลักสตู รและอาจารยผ์ ู้สอน 30 หนว่ ยกติ
3.1 หลกั สูตร 92 หน่วยกติ
3.1.1 จำนวนหนว่ ยกิต 29 หน่วยกติ
ตลอดหลักสูตร 137 หน่วยกิต 14 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลกั สูตร 15 หนว่ ยกิต
(1) หมวดวิชาศกึ ษาทวั่ ไป 54 หน่วยกิต
(2) หมวดวชิ าเฉพาะ
(2.1) วชิ าพ้นื ฐานวชิ าชพี
- รายวิชาพนื้ ฐานทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
- รายวชิ าพ้นื ฐานทางวศิ วกรรมศาสตร์
(2.2) วชิ าชีพบังคบั

มคอ.2 11

(2.3) วิชาชพี เลือก 9 หน่วยกติ
(3) หมวดวชิ าเลือกเสรี 15 หน่วยกติ

3.1.3 รายวชิ า

ความหมายของรหสั วชิ า

วิชา CEGxxx หมายถงึ ชอ่ื สาขาวิชาวศิ วกรรมโยธา

CEG หมายถึง รายวชิ าวิศวกรรมโยธา (Civil Engineering)

EGR หมายถงึ รายวชิ าพ้ืนฐานวศิ วกรรม (General Engineering)

หลกั ร้อย หมายถงึ ชัน้ ปที คี่ วรเรยี น

หลกั สิบ หมายถึง กล่มุ ประเภทวิชา

หลักหนว่ ย หมายถงึ ลำดบั วิชาในแตล่ ะกลุ่ม

(1) หมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป 30 หนว่ ยกติ

เลือกจากรายวชิ าทกี่ ำหนดในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป มหาวิทยาลยั ศรีปทมุ โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะ

(2) หมวดวชิ าเฉพาะ 92 หน่วยกติ
(2.1) วชิ าพน้ื ฐานวชิ าชีพ 29 หนว่ ยกติ

หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง)

รหัสวชิ า เคมีทั่วไป ชอื่ วชิ า หนว่ ยกติ
CHM100 (General Chemistry)
CHM110 3(3-0-6)
MAT125
MAT126 ปฏิบตั ิการเคมที ว่ั ไป 1(0-3-1)
PHY111
PHY121 (General Chemistry Laboratory)
EGR102
EGR203 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 1 3(3-0-6)
EGR205
EGR210 (Engineering Mathematics 1)

คณติ ศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 2)

ฟสิ ิกส์ 1 3(3-0-6)

(Physics 1)

ปฏิบตั กิ ารฟสิ ิกส์1 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 1)

เขยี นแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)

(Engineering Drawing)

การวิเคราะหข์ อ้ มลู ในงานวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Data Analysis in Engineering Operation)

โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำหรับวศิ วกร 3(2-3-5)

(Computer Programming for Engineers)

วสั ดุวิศวกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Materials)

มคอ.2 12

รหัสวิชา ชือ่ วิชา หน่วยกติ
EGR220 3(3-0-6)
กลศาสตร์วศิ วกรรม
(Engineering Mechanics)

(2.2) วชิ าชพี บังคบั 54 หน่วยกิต
หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วชิ า ชอ่ื วชิ า หน่วยกติ
CEG211 3(3-0-6)
กำลงั วสั ดุ 1
(Strength of Materials 1)

CEG212 ปฏบิ ัติการทดสอบวสั ดุ 1(0-3-1)
(Material Testing Laboratory)

CEG215 ทฤษฎโี ครงสรา้ ง 3(3-0-6)
CEG251 (Theory of Structures) 3(3-0-6)
CEG252 1(0-3-1)
CEG270 ชลศาสตร์ 2(2-0-4)
CEG272 (Hydraulics) 1(0-3-1)
CEG313 2(2-0-4)
ปฏบิ ตั ิการชลศาสตร์
(Hydraulics Laboratory)

หลักวิศวกรรมสำรวจ
(Principles of Engineering Surveying)

ปฏิบัตกิ ารสำรวจ
(Surveying Field Work)

เทคโนโลยคี อนกรีตข้ันพ้นื ฐาน
(Fundamentals of Concrete Technology)

CEG317 การวเิ คราะหโ์ ครงสร้าง 3(3-0-6)
CEG326 (Structural Analysis) 3(3-0-6)

การออกแบบโครงสรา้ งไมแ้ ละเหลก็
(Design of Timber and Steel Structures)

CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหลก็ 3(3-0-6)
CEG332 (Reinforced Concrete Design) 2(2-0-4)
CEG334 1(0-3-1)
CEG335 หลักปฐพกี ลศาสตร์ 3(3-0-6)
CEG341 (Principles of Soil Mechanics) 3(3-0-6)

ปฏิบัตกิ ารปฐพกี ลศาสตร์
(Soil Mechanics Laboratory)

วศิ วกรรมฐานราก
(Foundation Engineering)

วิศวกรรมการขนสง่
(Transportation Engineering)

มคอ.2 13

รหัสวชิ า ช่ือวิชา หนว่ ยกิต
CEG374 1(0-80-0)
CEG410 ปฏบิ ัตกิ ารสำรวจภาคสนาม 1(0-3-1)
CEG422 (Surveying Field Practice) 3(3-0-6)
CEG451 3(3-0-6)
CEG480 การเรียนรู้วศิ วกรรมโยธาด้วยโครงงาน 3(3-0-6)
CEG498 (Project-Based Learning in Civil Engineering) 3(1-4-4)
CEG499 6(0-40-0)
การออกแบบอาคาร
(Building Design)

วศิ วกรรมชลศาสตร์
(Hydraulic Engineering)

วศิ วกรรมการก่อสร้างและการจัดการ
(Construction Engineering and Management)

เตรียมสหกจิ ศกึ ษาวิศวกรรมโยธา
(Civil Engineering Pre-Cooperative Education)

สหกิจศึกษาวศิ วกรรมโยธา
(Civil Engineering Cooperative Education)

หมายเหตุ : นกั ศกึ ษาที่ไม่สามารถเรียนรายวชิ า CEG498 เตรยี มสหกิจศกึ ษาวศิ วกรรมโยธา และ/หรอื
CEG499 สหกิจศกึ ษาวศิ วกรรมโยธา ได้ ใหเ้ ลือกเรยี นรายวิชาทดแทนดังต่อไปนี้ โดยได้รบั อนมุ ตั ิจากคณะ

หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วิชา ช่ือวิชา หนว่ ยกิต
CEG303
คอมพิวเตอร์ประยกุ ต์สำหรบั วศิ วกรโยธา 2(1-2-3)
CEG393
(Computer Applications for Civil Engineers)
CEG400
การฝกึ งานสำหรับวิศวกรรมโยธา 2(0-35-0)
CEG491
(Civil Engineering Practice)
CEG493
สมั มนาวศิ วกรรมโยธา 2(2-0-4)

(Civil Engineering Seminar)

การเตรียมโครงงานวศิ วกรรมโยธา 1(0-3-1)

(Civil Engineering Project Preparation)

โครงงานสำหรับวิศวกรรมโยธา 2(0-6-2)

(Civil Engineering Project)

(2.3) วชิ าชพี เลือก 9 หนว่ ยกิต

ให้นกั ศึกษาเลอื กจากรายวิชากลุ่มวิชาใดกลุ่มวชิ าหน่งึ ตอ่ ไปน้ี ทงั้ นีต้ ้องได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะ

มคอ.2 14

- กล่มุ งานอาคารและการจดั การงานกอ่ สรา้ ง (Building and Construction Management)

หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหัสวิชา ชอ่ื วิชา หน่วยกิต

CEG363 หลักการจัดการสิ่งแวดลอ้ มสำหรับวิศวกรโยธา 3(3-0-6)

(Principles of Environmental Management for Civil Engineers)

CEG406 ระบบอาคารและการก่อสรา้ ง 3(3-0-6)

(Building Systems and Construction)

CEG408 การประยกุ ต์คอมพวิ เตอรใ์ นงานวศิ วกรรมโยธา 3(2-3-5)

(Computer Applications in Civil Engineering)

CEG421 การออกแบบคอนกรีตอดั แรง 3(3-0-6)

(Prestressed Concrete Design)

CEG482 การประมาณราคาก่อสรา้ งและการประมลู 3(3-0-6)

(Construction Estimating and Bidding)

CEG496 หวั ข้อพเิ ศษทางวิศวกรรมโยธา 1 3(3-0-6)

(Special Topics in Civil Engineering 1)

-กลุ่มการพฒั นาเมอื ง (Urban Development)

หนว่ ยกิต(บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วชิ า ช่อื วชิ า หน่วยกิต

CEG364 การจดั การโครงสรา้ งพื้นฐานสำหรับการพัฒนาเมือง 3(3-0-6)

(Infrastructure Management for Urban Development)

CEG441 วศิ วกรรมการทาง 3(3-0-6)

(Highway Engineering)

CEG446 วศิ วกรรมระบบราง 3(3-0-6)

(Railway Engineering)

CEG455 การออกแบบระบบทางวศิ วกรรมชลศาสตร์ 3(3-0-6)

(Hydraulic Engineering System Design)

CEG472 การประยุกตร์ ะบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตรใ์ นงานวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6)

(Applications of Geographic Information System in Civil

Engineering)

CEG496 หัวขอ้ พเิ ศษทางวศิ วกรรมโยธา 1 3(3-0-6)

(Special Topics in Civil Engineering 1)

- กล่มุ บูรณาการด้านวศิ วกรรมโยธา (Integration of Civil Engineering)

หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

รหสั วิชา ชอ่ื วชิ า หน่วยกิต
CEG426
การวิบัตแิ ละการซอ่ มแซมโครงสร้าง 3(3-0-6)

(Structural Failure and Rehabilitation)

มคอ.2 16

3.1.4 แสดงแผนการศกึ ษา

ปที ี่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1

รหสั วิชา ช่ือวิชา หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

CHM100 เคมีทวั่ ไป 3(3-0-6)

CHM110 ปฏิบตั ิการเคมที ว่ั ไป 1(0-3-1)

EGR102 เขยี นแบบวศิ วกรรม 3(2-3-5)

MAT125 คณติ ศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6)

PHY111 ฟสิ กิ ส์ 1 3(3-0-6)

PHY121 ปฏบิ ัติฟิสกิ ส์ 1 1(0-3-1)

กลมุ่ สาขาวชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 2

กล่มุ สาขาวชิ ามนษุ ยศ์ าสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 2

รวม 18 หนว่ ยกติ

ปีท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วชิ า ชื่อวชิ า หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

EGR203 การวเิ คราะห์ข้อมลู ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6)

EGR205 โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกร 3(2-3-5)

EGR220 กลศาสตรว์ ิศวกรรม 3(3-0-6)

EGR210 วสั ดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)

MAT126 คณิตศาสตร์วศิ วกรรม 2 3(3-0-6)

กล่มุ สาขาวิชาภาษาและการสื่อสาร 2

กลมุ่ สาขาวชิ าคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2

รวม 19 หน่วยกิต

รวมหนว่ ยกิตปีที่ 1 37 หนว่ ยกติ
รวมหนว่ ยกติ สะสม 37 หนว่ ยกิต

มคอ.2 15

รหัสวชิ า ชือ่ วชิ า หนว่ ยกิต
CEG473 3(3-0-6)
การแก้ปัญหาภัยพิบัตทิ างธรรมชาติเชิงวิศวกรรม
CEG488 (Engineering Solutions for Natural Disasters) 3(3-0-6)

CEG496 การตรวจสอบคณุ ภาพและประเมนิ ผลทางวศิ วกรรมโยธา 3(3-0-6)
(Quality Auditing and Evaluating in Civil Engineering)
CEG497 3(3-0-6)
หัวข้อพเิ ศษทางวศิ วกรรมโยธา 1
(Special Topics in Civil Engineering 1)

หัวขอ้ พเิ ศษทางวิศวกรรมโยธา 2
(Special Topics in Civil Engineering 2)

หมายเหตุ:
1. หากนกั ศึกษาไม่สามารถเรียนกลมุ่ วชิ าใดกลุ่มวชิ าหน่งึ นักศกึ ษาสามารถเลอื กเรยี นข้ามกลุม่ ได้
ทง้ั นีต้ ้องไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะ
2. สำหรบั นักศกึ ษาสาขาวชิ าอ่ืน หรอื นกั ศึกษาสาขาวิศวกรรมโยธาสามารถเลอื กเรียนเพมิ่ เติมเป็น
หมวดวิชาเลอื กเสรีตามความเห็นชอบจากคณะ ในกลมุ่ วชิ าดังตอ่ ไปนี้

- กลุ่มธุรกจิ รบั เหมากอ่ สร้าง (Construction Business For Contractor)

หน่วยกิต(บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

รหสั วิชา ชือ่ วชิ า หนว่ ยกติ
CEG181
การประมาณราคางานก่อสร้าง 3(3-0-6)
CEG182
(Construction Cost Estimating)
CEG183
กลยุทธ์การประมลู งานกอ่ สร้าง 3(3-0-6)
CEG184
(Construction Bidding Strategy
CEG185
การบรหิ ารสญั ญาในงานก่อสร้าง 3(3-0-6)

(Contract Management in Construction)

การใชแ้ บบจำลองสารสนเทศอาคารในการบรหิ ารงานก่อสรา้ ง 3(2-3-5)

(Building Information Model for Construction Management)

เทคโนโลยีดิสรบั ชน่ั ในอตุ สาหกรรมก่อสร้าง 3(3-0-6)

(Disruptive Technology in Construction Industry)

(3) หมวดวชิ าเลอื กเสรี 15 หนว่ ยกิต

นักศึกษาเลือกจากรายวิชาที่เปิดสอนในระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยศรีปทุมทั้งหลักสูตรภาษาไทย

และหลกั สตู รนานาชาติ ทัง้ นีต้ ้องได้รับความเหน็ ชอบจากคณะ

มคอ.2 17

ปีที่ 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 1

รหสั วชิ า ช่อื วิชา หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

CEG211 กำลงั วัสดุ 1 3(3-0-6)

CEG212 ปฏบิ ตั กิ ารทดสอบวสั ดุ 1(0-3-1)

CEG251 ชลศาสตร์ 3(3-0-6)

CEG252 ปฏบิ ัตกิ ารชลศาสตร์ 1(0-3-1)

CEG270 หลกั วศิ วกรรมสำรวจ 2(2-0-4)

CEG272 ปฏิบัตกิ ารสำรวจ 1(0-3-1)

กลมุ่ สาขาวิชาภาษาและการสอ่ื สาร 4

กลมุ่ สาขาวชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ 4

รวม 19 หนว่ ยกติ

ปที ่ี2 ภาคการศึกษาท่ี 2

รหสั วิชา ชอ่ื วิชา หน่วยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

CEG215 ทฤษฎีโครงสร้าง 3(3-0-6)

CEG313 เทคโนโลยีคอนกรีตขัน้ พื้นฐาน 2(2-0-4)

CEG332 หลกั ปฐพีกลศาสตร์ 2(2-0-4)

CEG334 ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ 1(0-3-1)

กลุ่มสาขาวชิ าภาษาและการส่อื สาร 4

กล่มุ สาขาวชิ ามนษุ ยศ์ าสตร์และสังคมศาสตร์ 4

รวม 16 หนว่ ยกติ

ปที ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ ฤดรู อ้ น

รหสั วชิ า ชอื่ วิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏบิ ตั -ิ ศึกษาดว้ ยตนเอง)

CEG374 ปฏบิ ัตกิ ารสำรวจภาคสนาม 1(80 ชม.)

รวม 1 หน่วยกติ

รวมหนว่ ยกิตปีที่ 2 36 หน่วยกติ
รวมหนว่ ยกติ สะสม 73 หนว่ ยกิต

มคอ.2 18

ปีที่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 1

รหัสวชิ า ชอ่ื วชิ า หนว่ ยกิต (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศึกษาด้วยตนเอง)

CEG317 การวเิ คราะหโ์ ครงสร้าง 3(3-0-6)

CEG326 การออกแบบโครงสรา้ งไมแ้ ละเหลก็ 3(3-0-6)

CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสริมเหลก็ 3(3-0-6)

CEG341 วิศวกรรมขนสง่ 3(3-0-6)

CEG451 วศิ วกรรมชลศาสตร์ 3(3-0-6)

กล่มุ สาขาวิชามนุษยศ์ าสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 4

รวม 19 หนว่ ยกติ

ปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

รหัสวชิ า ชื่อวิชา หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบัต-ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง)

CEG335 วศิ วกรรมฐานราก 3 (3-0-6)

CEG410 การเรยี นรวู้ ิศวกรรมโยธาดว้ ยโครงงาน 1 (0-3-1)

CEG480 วิศวกรรมการกอ่ สร้างและการจดั การ 3 (3-0-6)

CEG422 การออกแบบอาคาร 3 (3-0-6)

วชิ าชพี เลอื ก (1) 3

วิชาชพี เลอื ก (2) 3

วิชาชีพเลือก (3) 3

กลมุ่ สาขาวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2

รวม 21 หน่วยกิต

รวมหนว่ ยกติ ปีท่ี 3 40 หนว่ ยกิต
รวมหน่วยกติ สะสม 113 หน่วยกติ

มคอ.2 19

ปที ่ี 4 ภาคการศกึ ษาที่ 1

รหสั วชิ า ช่ือวชิ า หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏิบตั -ิ ศกึ ษาด้วยตนเอง)

CEG498 เตรยี มสหกิจศกึ ษาวศิ วกรรมโยธา 3 (1-4-4)

วิชาเลือกเสรี (1) 3

วชิ าเลือกเสรี (2) 3

วิชาเลอื กเสรี (3) 3

วชิ าเลือกเสรี (4) 3

วิชาเลอื กเสรี (5) 3

รวม 18 หนว่ ยกติ

ปที ี่ 4 ภาคการศึกษาที่ 2

รหสั วชิ า ชือ่ วชิ า หนว่ ยกติ (บรรยาย-ปฏบิ ัต-ิ ศกึ ษาดว้ ยตนเอง)

CEG499 สหกิจศึกษาวศิ วกรรมโยธา 6(0-40-0)

รวม 6 หนว่ ยกิต

รวมหนว่ ยกิตปที ี่ 4 24 หน่วยกติ
รวมหนว่ ยกติ สะสม 137 หน่วยกติ

หมายเหตุ : นกั ศึกษาท่ไี มส่ ามารถเรยี นรายวชิ า CEG498 เตรียมสหกจิ ศกึ ษาวศิ วกรรมโยธา และ/หรอื

CEG499 สหกจิ ศกึ ษาวิศวกรรมโยธา ได้ ใหเ้ ลือกเรยี นรายวชิ าทดแทนดงั ต่อไปนี้ โดยได้รบั อนมุ ตั ิจากคณะ

รหัสวชิ า ชื่อวิชา หน่วยกติ

CEG303 คอมพวิ เตอร์ประยุกตส์ ำหรับวิศวกรโยธา 2(1-2-3)

(Computer Applications for Civil Engineers)

CEG393 การฝึกงานสำหรบั วิศวกรรมโยธา 2(0-35-0)

(Civil Engineering Practice)

CEG400 สมั มนาวศิ วกรรมโยธา 2(2-0-4)

(Civil Engineering Seminar)

CEG491 การเตรียมโครงงานวศิ วกรรมโยธา 1(0-3-1)

(Civil Engineering Project Preparation)

CEG493 โครงงานสำหรับวิศวกรรมโยธา 2(0-6-2)

(Civil Engineering Project)

3.1.5 คำอธิบายรายวชิ า

CHM100 เคมีทวั่ ไป 3(3-0-6)

(General Chemistry)

ปริมาณสารสัมพันธ์ พื้นฐานทฤษฎีอะตอม คุณสมบัติของแก๊ส ของแข็ง ของเหลว และสารละลาย

สมดุลเคมี สมดุลไอออนิก จลนศาสตร์เคมี การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม พันธะเคมี คุณสมบัติของธาตุในตาราง

มคอ.2 20

ธาตุ กรดและเบส เคมีไฟฟ้า อุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คุณสมบัติทางอุณหพลศาสตร์ของสสาร พลังงานความร้อนใน
ระบบอุณหพลศาสตร์

CHM110 ปฏิบัติการเคมที ่ัวไป 1(0-3-1)

(General Chemistry Laboratory)

วชิ าบังคบั กอ่ นหรอื ลงรว่ ม : CHM100 เคมีท่ัวไป

การทดลองท่สี มั พันธ์กบั ทฤษฎีท่ีได้ศึกษาเกี่ยวกับ การแยกสารผสม ปฏกิ ริ ิยาเคมี เปอร์เซน็ ตข์ องธาตุ

ในสารประกอบและสูตรอย่างง่าย การไทเทรตกรดและเบส การหาค่าคงที่ของแก๊สและปริมาตรหนึ่ง โมลของแก๊สที่

สภาวะอุณหภูมิและความดันมาตรฐาน ความร้อนของสารละลายและของปฏิกิริยา อัตราของปฏิกิริยา สมดุลเคมี

ความกระด้างของนำ้ ออกซเิ จนละลาย พลังงานความร้อนในระบบอณุ หพลศาสตร์

MAT125 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 1)

ตรีโกณมิติและการประยุกต์เวกเตอร์ในสองและสามมิติ พีชคณิตของเวคเตอร์ ระบบเวกเตอร์ของ

เส้นตรง ระนาบ และพื้นผิวในปริภูมิสามมิติ ลิมิตและความต่อเนื่อง อนุพันธ์และการประยุกต์ใช้อนุพันธ์ ปริพันธ์และ

การประยกุ ต์ใชป้ รพิ นั ธ์ ค่าเฉลย่ี ของฟงั ก์ชัน เทคนิคการหาปริพันธ์ การหาปริพันธต์ ามเส้น การหาปรพิ นั ธ์ไม่ตรงแบบ

MAT126 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 2 3(3-0-6)

(Engineering Mathematics 2)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : MAT125 คณติ ศาสตรว์ ิศวกรรม 1

อนุพันธ์ย่อยของฟังก์ชันหลายตัวแปร กฎลูกโซ่ อนุพันธ์ย่อยอันดับสูง การหาอัตราการเปลี่ยนแปลง

ของฟังก์ชันหลายตัวแปร พิกัดเชิงขั้ว การหาปริพันธ์หลายชั้นในระบบพิกัดเชิงขั้ว การประยุกต์อนุพันธ์ ปริพันธ์ของ

ฟังก์ชันหลายตัวแปร การหาปริพันธ์ตามพ้ืนผิว สมการอนุพันธอ์ ันดับหนึ่งและการหาผลเฉลย การประยุกต์สมการเชิง

อนุพันธ์อันดับหนึ่ง สมการอนุพันธ์อันดับสองและการหาผลเฉลย ลำดับและอนุกรม อนุกรมอนันต์ การลู่เข้าและ

ลอู่ อกของอนุกรมอนันต์ อนุกรมกำลงั และอนกุ รมเทย์เลอร การหาปริพนั ธเ์ ชงิ ตัวเลข

PHY111 ฟสิ ิกส์ 1 3(3-0-6)

(Physics 1)

การวดั และระบบหน่วยเอสไอ ปรมิ าณเวกเตอร์ จลนพลศาสตร์ของอนุภาค พลศาสตร์ของอนุภาค

งานและพลงั งาน โมเมนตัม การเคล่ือนทีข่ องระบบอนภุ าค การหมนุ ของวัตถุแขง็ เกรง็ การเคลือ่ นทีแ่ บบแกว่งกวัด

ความโนม้ ถว่ ง สมดลุ สถิตของวัตถุแขง็ เกร็งและสภาพยดื หยนุ่ กลศาสตร์ของไหล คล่ืนกล ความรอ้ นและทฤษฎจี ลน์

ของแก๊ส หลกั อณุ หพลศาสตร์ การสมดุลและการอนุรักษ์พลงั งาน การถา่ ยเทความรอ้ น

PHY121 ปฏิบัติการฟสิ ิกส์ 1 1(0-3-1)

(Physics Laboratory 1)

วชิ าบงั คบั ก่อนหรือลงร่วม : PHY111 ฟสิ กิ ส์ 1

การทดลองที่สัมพันธ์กับทฤษฎีที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับการวัดและการวิเคราะห์ข้อมูล การเคลื่อนที่แบบ

โพรเจกไทล์ กฎข้อที่สองของนิวตัน การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิก การเคลื่อนที่แบบบอลลิสติกเพนดูลัม การ

มคอ.2 21

เคลื่อนท่ีแบบหมุน คลื่นนิ่งบนเส้นเชือก บีตส์ การขยายตัวเนื่องจากความร้อน การขยายตัวแบบแอเดียแบติก การ
อนุรกั ษพ์ ลงั งานกลและพลงั งานความรอ้ น

EGR102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-5)

(Engineering Drawing)

การเขียนตัวอักษร การฉายภาพออโธกราฟฟิก การเขียนภาพออโธกราฟฟิก การเขียนภาพพิกตอ

เรยี ล หลกั การใหข้ นาดและความเผื่อ การใช้ววิ ช่วย ภาพคลีแ่ ละภาพพับ การเขียนภาพตัด การเขยี นแบบภาพแยกชิ้น

และภาพประกอบ การสเก็ทซ์แบบร่าง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการเขียนแบบเบื้องต้น มาตรฐานแบบวิศวกรรมใน

งานอตุ สาหกรรมและการก่อสร้างติดตั้ง

EGR203 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในงานวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Data Analysis in Engineering Operation)

การบันทึกข้อมูลจากการวัดและกระบวนการทางดิจิทัลสมัยใหม่ การวิเคราะห์ประมวลผลข้อมลู และ

นำเสนอข้อมลู เชงิ สถิติ สถติ เิ ชิงพรรณนา การวัดแนวโนม้ เข้าส่สู ว่ นกลาง ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวน ความ

ถดถอยและสหสัมพันธ์ ทฤษฎีความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การอนุมานเชิงสถิติ การวิเคราะห์ความแปรปรวน การใช้

วิธีการทางสถิติเป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาสถิติ กรณี

ตัวอย่างการวเิ คราะห์ข้อมลู ในงานวิศวกรรม

EGR205 โปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำหรบั วิศวกร 3(2-3-5)

(Computer Programming for Engineers)

แนวคิดของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างฮาร์ดแวร์และ

ซอฟต์แวร์ การโปรแกรมภาษาปัจจบุ ัน ปฏบิ ตั กิ ารการโปรแกรม หลักการระบบอัตโนมัตแิ ละเทคโนโลยดี ิจิทัลสมัยใหม่

ในงานวศิ วกรรม

EGR210 วัสดุวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Materials)

ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง คุณสมบัติ กระบวนการผลิต และการใช้งานของประเภทวัสดุหลกั ที่

ถูกใช้ทางวิศวกรรม เช่น โลหะ พลาสติก โพลีเมอร์ เซรามิกส์ วัสดุผสม แอสฟัลต์ ไม้ และคอนกรีต การทดสอบและ

ความหมายของคุณสมบตั ทิ างกลของวสั ดุ การเส่อื มสภาพของวัสดุ เทคโนโลยีวสั ดสุ มยั ใหม่ในงานวศิ วกรรม

EGR220 กลศาสตร์วศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Mechanics)

วิชาบงั คบั กอ่ นหรอื ลงรว่ ม : PHY111 ฟิสกิ ส์ 1

ระบบแรง สมดุลของระบบแรงบนอนุภาคและวัตถุแข็งเกร็ง การวิเคราะห์โครงสร้างอย่างง่าย

พลศาสตร์เบือ้ งต้น กฏการเคลือ่ นที่ของนิวตนั จลนศาสตร์ (kinematics) และ จลนพลศาสตร์ (kinetics) ของอนุภาค

และวัตถุแข็งเกรง็ งานและพลงั งาน อมิ พลั สแ์ ละโมเมนตัม

มคอ.2 22

CEG211 กำลังวสั ดุ 1 3 (3-0-6)

(Strength of Materials 1)

วิชาบังคบั กอ่ น : EGR220 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม

แรงและหน่วยแรง ความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยแรงและหน่วยการเปลี่ยนรูป การหาค่าหน่วยแรงใน

คาน การเขียนแผนภาพของแรงเฉือนและโมเมนต์ดัดในคาน การหาค่าการโก่งตัวของคานในช่วง อีลาสติก การ

วิเคราะห์โครงสร้างรับแรงบิด การโก่งเดาะของเสา การวิเคราะห์ชิ้นส่วนโครงสร้างที่รับแรงร่วมกันระหว่างแรงใน

แนวแกน แรงเฉอื น แรงดดั และแรงบิด

CEG212 ปฏิบตั ิการทดสอบวสั ดุ 1(0-3-1)

(Material Testing Laboratory)

วชิ าบังคับก่อนหรือลงรว่ ม : CEG211 กำลงั วสั ดุ 1

การทดสอบคณุ สมบตั เิ ชิงกล และคุณสมบตั ิทางกายภาพของวัสดุท่เี กีย่ วขอ้ งกบั งานในทางวิศวกรรม

โยธา เช่น อิฐ ไม้ เหลก็ และคอนกรีต เปน็ ตน้ เพอื่ หาคุณสมบตั ิทางวิศวกรรม มาตรฐานการทดสอบ เทคโนโลยีใน

การทดสอบวสั ดกุ ารทดสอบแบบไมท่ ำลาย การรายงานผล และการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบ

CEG215 ทฤษฎีโครงสรา้ ง 3 (3-0-6)

(Theory of Structures)

วชิ าบงั คับก่อนหรอื ลงร่วม : CEG211 กำลังวัสดุ 1

การวิเคราะห์โครงสร้างชนิดดีเทอร์มิเนทเพื่อหาแรงต้านทานภายในและภายนอกโดยอาศัยหลัก

สถิตยศาสตร์ และเมอื่ น้ำหนักบรรทกุ เคล่ือนท่บี นโครงสร้าง การวิเคราะหก์ ารโกง่ ตวั ของโครงสร้างชนดิ ดเี ทอรม์ เิ นท

CEG251 ชลศาสตร์ 3 (3-0-6)

(Hydraulics)

วชิ าบังคับก่อน : EGR220 กลศาสตรว์ ศิ วกรรม

คุณสมบัติของของไหล สถิตยศาสตร์ของของไหล จลน์ศาสตร์ของของไหล สมการการไหลต่อเนื่อง

สมการพลังงานในการไหลแบบคงตัว สมการโมเมนตัม การวิเคราะห์มิติและความคล้ายคลึง การไหลของของไหลที่ไม่

ยุบตัวในท่อ การไหลในทางน้ำเปิด การวัดการไหล ปัญหาการไหลแบบไม่คงตัว น้ำบาดาลและชลศาสตร์ของบ่อ

บาดาล การเคลือ่ นที่ของนำ้ หลากผา่ นแมน่ ำ้ การวัดน้ำฝนและน้ำท่า

CEG252 ปฏิบตั กิ ารชลศาสตร์ 1 (0-3-1)

(Hydraulics Laboratory)

วชิ าบงั คับก่อนหรอื ลงรว่ ม : CEG251 ชลศาสตร์

ปฏบิ ตั กิ ารทางชลศาสตรท์ ีส่ อดคลอ้ งกบั ทางทฤษฎี ได้แก่ คณุ สมบัติของของไหล การไหลผ่านฝายนำ้

ล้น น้ำกระโดด แรงกระทบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงโมเมนต์ตัมของน้ำ การไหลของของไหลผ่านรูระบายขนาดเล็ก

การสูญเสียพลังงานในท่อ แรงพยุงและเสถียรภาพของวัตถุที่ลอยในน้ำ การวัดอัตราการไหล แรงดันของน้ำกระทำต่อ

พืน้ ผวิ เรียบ

มคอ.2 23

CEG270 หลักวิศวกรรมสำรวจ 2 (2-0-4)

(Principles of Engineering Surveying)

หลักการวัดระยะทางราบ การวัดระยะทางดิ่ง การวัดมุมและทิศทาง หลักการทำแผนที่ระบ

สารสนเทศภมู ศิ าสตร์ การปรับแก้ความคลาดเคลื่อนของการสำรวจ เช่น วงรอบปดิ และวงรอบเปดิ งานระดบั การวาง

ผังงานส่งิ ก่อสร้าง และการประยุกต์ใชห้ ลักวศิ วกรรมสำรวจในการกอ่ สร้าง

CEG272 ปฏิบตั กิ ารสำรวจ 1 (0-3-1)

(Surveying Field Work)

วชิ าบังคบั กอ่ นหรือลงรว่ ม : CEG270 หลกั วศิ วกรรมสำรวจ

ปฏิบัตกิ ารวัดระยะทางราบ ระยะทางด่ิง มุมและทศิ ทางด้วยเคร่ืองมือชนิดตา่ งๆ การใช้กล้องเข็มทิศ

การทำระดับ การทำเส้นชั้นความสูง การทำภาพตัดตามยาวและภาพตัดตามขวาง การทำวงรอบเปิดและวงรอบปิด

การทำแผนท่ีและแผนผงั ในงานกอ่ สรา้ ง การใชอ้ ุปกรณร์ ะบุพิกดั (GPS) และระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์

CEG313 เทคโนโลยีคอนกรตี ขนั้ พนื้ ฐาน 2 (2-0-4)
(Fundamentals of Concrete Technology)

ส่วนผสมคอนกรีตชนิดต่างๆ ข้อกำหนดและคุณสมบัติของคอนกรีตสดและคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว
การออกแบบส่วนผสมของคอนกรีต การขนถ่ายคอนกรีต การเท การทดสอบเพื่อควบคุมคุณภาพคอนกรีต ความ
คงทนของคอนกรีตภายใตส้ ภาวะแวดล้อมรนุ แรง คอนกรตี สมยั ใหมแ่ ละการทดสอบแบบไมท่ ำลาย

CEG317 การวเิ คราะหโ์ ครงสร้าง 3 (3-0-6)

(Structural Analysis)

วชิ าบังคบั กอ่ น : CEG215 ทฤษฎโี ครงสร้าง

การวิเคราะห์โครงสร้างชนิดอินดีเทอร์มิเนท การพิจารณาอินฟลูเอ็นซ์ไลน์ของโครงสร้างชนิดอินดี

เทอร์มิเนท การวิเคราะห์เบื้องต้นโดยวิธีพลาสติก การวิเคราะห์โดยประมาณ และการวิเคราะห์โครงสร้างเบื้องต้น

โดยวิธเี มตริกซ์

CEG326 การออกแบบโครงสรา้ งไม้และเหลก็ 3 (3-0-6)

(Design of Timber and Steel Structures)

วชิ าบังคับก่อน : CEG215 ทฤษฎโี ครงสรา้ ง

การออกแบบโครงสร้างเหล็กโดยวิธี ASD และ LRFD สำหรับชิ้นส่วนรับแรงดึง แรงอัด แรงดัด แรง

กระทำร่วม ส่วนโครงสร้างหน้าตัดประกอบ คานลึก การออกแบบจุดต่อด้วยตัวยึดและการเชื่อม การออกแบบ

โครงสร้างไม้เพื่อรับแรงดึง แรงอัด แรงดัด แรงกระทำร่วม เสาประกอบไม้ คานประกอบไม้ทั้งแบบดิ่งและราบ

คณุ สมบตั ิและกำลงั ของไม้ ไมอ้ ดั ไมแ้ ผน่ ซ้อน การตอ่ ยดึ สว่ นโครงสร้างไม้

มคอ.2 24

CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหล็ก 3 (3-0-6)

(Reinforced Concrete Design)

วชิ าบงั คับก่อน : CEG215 ทฤษฎีโครงสร้าง

คอนกรีตและเหล็กเสริม ศึกษาพฤติกรรมของโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก รับแรงดัด แรงเฉือน

โมเมนต์บิด แรงยึดเหนี่ยวและแรงในแนวแกนการวิเคราะห์ออกแบบและเสริมเหล็ก คาน พื้น บันได เสาและฐานราก

โดยวิธหี นว่ ยแรงใชง้ าน และวิธกี ำลงั การควบคมุ การโก่ง และการแตกร้าวของโครงสร้าง

CEG332 หลกั ปฐพกี ลศาสตร์ 2 (2-0-4)

(Principles of Soil Mechanics)

วชิ าบงั คบั กอ่ น : CEG211 กำลงั วสั ดุ 1

การจำแนกประเภทของดิน การบดอัดดิน ความซึมผ่านของน้ำในดิน หลักการหน่วยแรงประสิทธผิ ล

ในมวลดิน การกระจายความเค้นในดิน การยุบอัดตัวของดิน กำลังเฉือนของดิน ทฤษฎีแรงดันดิน เสถียรภาพลาดดนิ

กำลงั แบกทานของดิน

CEG334 ปฏบิ ัติการปฐพกี ลศาสตร์ 1 (0-3-1)

(Soil Mechanics Laboratory)

วชิ าบังคบั กอ่ นหรอื ลงรว่ ม : CEG332 หลักปฐพกี ลศาสตร์

การสำรวจชั้นดิน การวิเคราะห์ขนาดเม็ดดินและหาค่าดรรชนีเพื่อจำแนกประเภทดิน ความ

ถ่วงจำเพาะของเม็ดดิน ค่าสัมประสิทธิ์ความซึมผ่านของน้ำในดิน การบดอัดดิน ความแน่นของดินในสนาม การ

ทดสอบกำลังของดินโดยวธิ แี รงเฉือนโดยตรง วธิ ซี ีบีอาร์ วิธแี รงอัด 3 แกน และวิธีอดั ตัวแบบอสิ ระ การอัดตวั คายนำ้

CEG335 วิศวกรรมฐานราก 3 (3-0-6)

(Foundation Engineering)

วชิ าบงั คับกอ่ น : CEG332 หลักปฐพกี ลศาสตร์

การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก แร่และหิน การผุพังและกัดกร่อนของดิน ธรณีโครงสร้าง คุณสมบัติ

พ้นื ฐานของดิน การใช้ประโยชนข์ องขอ้ มูลทางธรณวี ทิ ยาในการกอ่ สรา้ ง กำลงั แบกทานของฐานราก การออกแบบฐาน

รากแผ่และฐานรากเสาเข็ม การวิเคราะห์ค่าการทรุดตัว แรงดันดิน โครงสร้างกันดินและเสาเข็มพืด การปรับปรุงดิน

เบ้ืองตน้ หลักการออกแบบฐานรากแพและฐานรากปล่องเบื้องตน้ หลกั การงานขดุ แบบมแี ละไมม่ ีระบบค้ำยันเบอ้ื งตน้

CEG341 วิศวกรรมการขนสง่ 3 (3-0-6)

(Transportation Engineering)

วิชาบังคบั ก่อน : CEG270 หลักวิศวกรรมสำรวจ

ระบบการขนส่ง จุดมงุ่ หมายในการขนสง่ องค์ประกอบของระบบการขนสง่ วเิ คราะหต์ ัวแปรดา้ น

การจราจร ออกแบบระบบสัญญาณ วศิ วกรรมการทาง หลักการออกแบบเรขาคณิต หลกั การออกแบบโครงสร้างทาง

การวางแผนงานขนสง่ และโลจสิ ตกิ ส์ หลกั เศรษฐศาสตรว์ ศิ วกรรมขนส่ง

มคอ.2 25

CEG374 ปฏิบตั กิ ารสำรวจภาคสนาม 1 (0-80-0)

(Surveying Field Practice)

วชิ าบงั คับก่อนหรือลงรว่ ม : CEG272 ปฏบิ ัติการวศิ วกรรมสำรวจ หรอื ได้รับความเหน็ ชอบจากคณะ

การฝึกภาคสนามที่ค่ายฝึกสำรวจ การสำรวจภูมิประเทศโดยงานรังวัดสำรวจพื้นที่ การสร้างหมุด

ควบคุมทางราบและทางดิ่ง การจัดทำขอบเขตพื้นที่สำรวจ การเก็บรายละเอียดบนพื้นที่การคำนวณหาปริมาณงาน

เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางวิศวกรรม การทำแผนผังและแผนที่ภูมิประเทศของพืน้ ที่ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีต่างๆใน

งานสำรวจ

CEG410 การเรียนรวู้ ศิ วกรรมโยธาดว้ ยโครงงาน 1(0-3-1)

(Project-Based Learning in Civil Engineering)

วชิ าบังคบั กอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหล็ก

การแก้ปัญหาโจทย์ทางวิศวกรรมโยธาด้วยโครงงานที่กำหนด โดยผู้เรียนต้องบูรณาการความรู้ทาง

วิศวกรรมโยธา เชน่ แบบจำลองขอ้ มลู อาคาร การออกแบบโครงสรา้ ง เพือ่ เพ่ิมทกั ษะทางวิชาชีพ

CEG422 การออกแบบอาคาร 3(3-0-6)

(Building Design)

วิชาบังคับกอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรีตเสรมิ เหล็ก

หลักเกณฑ์การออกแบบโครงสร้างอาคาร กฎหมายควบคุมอาคาร การคำนวณน้ำหนักบรรทุกและ

แรงลม แรงแผ่นดินไหว การจัดรูปแบบของโครงสร้างอาคาร การออกแบบแผ่นพื้นไร้คาน การออกแบบโครงสร้างข้อ

แข็ง การคำนวณออกแบบโครงสร้างกำแพงรับแรงเฉือน และโครงสร้างผสมระหว่างกำแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก-โครง

ข้อแข็ง การออกแบบฐานราก

CEG451 วศิ วกรรมชลศาสตร์ 3 (3-0-6)

(Hydraulic Engineering)

วิชาบังคบั กอ่ น : CEG251 ชลศาสตร์

วัฏจักรทางอุทกวิทยา ภูมิอากาศ ฝน การระเหย การซึมน้ำท่า กราฟน้ำท่า การไหลในทางน้ำเปิด

การเคลือ่ นที่ของนำ้ หลากผ่านอ่างเก็บน้ำ อา่ งเก็บน้ำ หลกั การออกแบบเข่อื นและทางระบายน้ำล้น การระบายนำ้ การ

พยากรณ์นำ้ ท่วม และแบบจำลองทางชลศาสตร์ การออกแบบระบบท่อ ปรากฏการณ์นำ้ กระแทก เครื่องสูบน้ำ

CEG480 วศิ วกรรมการกอ่ สรา้ งและการจัดการ 3(3-0-6)

(Construction Engineering and Management)

วิชาบงั คบั กอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหลก็

ระบบของสัญญา การจัดการองคก์ ร การจดั การงานภาคสนามการวางแผนโครงการ การวางแผนโดย

วิธี CPM การจัดการทรัพยากร การวัดความก้าวหน้าของงาน ความปลอดภัยในการก่อสร้าง ระบบตรวจสอบและ

ติดตามงานผ่านระบบเครือข่าย การประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการควบคุมงานก่อสร้าง เครื่องมือและ

เครือ่ งจกั รในงานกอ่ สร้าง

มคอ.2 26

CEG498 เตรียมสหกิจศึกษาวิศวกรรมโยธา 3(1-4-4)

(Civil Engineering Pre-Cooperative Education)

สถานภาพบงั คับ: เปน็ นกั ศกึ ษาทส่ี อบได้ต้ังแตต่ ง้ั แต่ 64 หน่วยกติ ขึ้นไป

หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับสหกิจศึกษา กระบวนการและขั้นตอนของสหกิจศึกษา ระเบียบ

ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสหกิจศึกษา ความรู้พื้นฐาน เทคนิคและการเตรียมความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานในสถาน

ประกอบการ วิธีการทำโครงงานและรายงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ กำหนดหัวข้อและขอบเขตของโครงงานสหกิจ

ศกึ ษาทตี่ อ้ งออกปฏบิ ตั ิงาน แนวทางการเขียนรายงานและนำเสนอผลงาน

CEG499 สหกจิ ศกึ ษาวศิ วกรรมโยธา 6(0-40-0)

(Civil Engineering Cooperative Education)

วิชาบังคบั ก่อน : CEG498 เตรียมสหกิจศกึ ษาวิศวกรรมโยธา หรือไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากคณะ

การปฏิบัติงานจริงที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ ณ สถานประกอบการเป็นระยะเวลาหนึ่งภาคการศึกษา

การทำโครงงานหรือรายงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ และการเขียนรายงานโครงงาน ซึ่งมีประโยชน์ต่อทั้งนักศึกษาและ

สถานประกอบการ รวมถึงการฝึกทักษะทางสังคม (Soft Skills) อาทิ การจัดการและการวางแผน วิจารณญาณและ

การตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา วัฒนธรรมองค์การ การทำงานเป็นทมี มนุษยสัมพันธ์ บุคลิกภาพและการวางตัว ทักษะ

การสื่อสาร ความรับผดิ ชอบ คุณธรรมและจรยิ ธรรมการนำเสนอผลงาน

CEG303 คอมพวิ เตอร์ประยกุ ตส์ ำหรบั วศิ วกรโยธา 2(1-2-3)

(Computer Applications for Civil Engineers)

วิชาบังคบั กอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก

การประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการวิเคราะห์ ออกแบบ ประมาณการปริมาณวัสดุ

และวางแผนทางการก่อสร้าง การจำลองสถาณการณ์เพื่อชว่ ยให้การบรหิ ารจัดการโครงการมีประสิทธิภาพ และฝึกหัด

การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอรก์ บั โครงงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

CEG393 การฝึกงานสำหรบั วิศวกรรมโยธา 2(0-35-0)

(Civil Engineering Practice)

วิชาบงั คับก่อน : CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหล็ก

การฝึกปฏิบัติงานทางวิศวกรรมโยธา จำนวนระยะเวลารวมไม่น้อยกว่า 280 ช่ัวโมง ทำบันทึก

ประจำวนั และรายงานสรุปการฝึกงานตอ่ คณะ

CEG400 สมั มนาวศิ วกรรมโยธา 2(2-0-4)

(Civil Engineering Seminar)

การศึกษาค้นคว้าเชิงบูรณาการความรู้ใหม่ๆจากแหล่งข่าวสารและวิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องในทาง

วิศวกรรมโยธา นำมาประกอบกับความรู้ในชั้นเรียน เพื่อทำการรวบรวม วิจารณ์และสรุปโดยอาศัยทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

นำมาแสดงเป็นรายงานหรือนำเสนอในชั้นเรียน

มคอ.2 27

CEG491 การเตรียมโครงงานวศิ วกรรมโยธา 1 (0-3-1)

(Civil Engineering Project Preparation)

วชิ าบังคบั กอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหลก็

วิธีการศึกษาทางวิศวกรรมโยธา เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของหัวข้อ ความสำคัญ

วัตถุประสงค์ ขอบเขต ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง และวิธีการดำเนินงาน โดยนักศึกษาตั้งกลุ่มทำงาน เสนอหัวข้อแสดงความ

ต้องการในการทำงาน ข้อกำหนดและรายละเอียดของโครงงาน การตรวจเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง เทคนิคการ

วางแผนและการจัดลำดับงาน การประเมินค่าใช้จ่ายโครงงานและระยะเวลาที่ใช้ การบริหารโครงงานและการ

ประเมนิ ผล การเขียนรายงานและนำเสนอโครงงาน และต้องสอบการนำเสนอ

CEG493 โครงงานสำหรับวิศวกรรมโยธา 2 (0-6-2)

(Civil Engineering Project)

วิชาบงั คับก่อน : CEG491 การเตรยี มโครงงานวศิ วกรรมโยธา

จัดทำการวิเคราะห์ อภิปราย และสรุปผลโครงงานตามหัวข้อที่ได้เสนอไว้ใน CEG491 เพื่อให้สําเร็จ

ตามวัตถุประสงค์ที่ตัง้ ไว้ และต้องสอบการนำเสนอและส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ โดยรูปแบบให้เป็นไปตามระเบียบของ

การจดั ทําโครงงานวิศวกรรมของสาขาวชิ า

CEG363 หลักการจดั การสิ่งแวดลอ้ มสำหรบั วศิ วกรโยธา 3 (3-0-6)

(Principles of Environmental Management for Civil Engineers)

วิชาบงั คับก่อน : CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหล็ก

กฎหมายสิ่งแวดล้อม มลภาวะทางสิ่งแวดล้อม เช่น ทางน้ำ อากาศ และเสียง วิธีป้องกันและลด

มลภาวะ สิ่งแวดล้อมอาคารและการจัดการ ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและการลดผลกระทบที่เกิดจากโครงการ

ก่อสรา้ ง หลักการเบือ้ งตน้ ด้านการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม ปญั หาสิ่งแวดล้อมในปัจจบุ นั

CEG406 ระบบอาคารและการก่อสร้าง 3(3-0-6)

(Building Systems and Construction)

วชิ าบงั คบั ก่อน : CEG251 ชลศาสตร์

หลกั การกอ่ สรา้ งและการออกแบบอาคาร เทคโนโลยีและวัสดุในระบบต่างๆของงานอาคาร เชน่

ระบบโครงสร้าง สถาปตั ยกรรม งานโยธา ระบบไฟฟา้ ระบบปรับอากาศ ระบบประปาและสขุ าภิบาล ระบบความ

ปลอดภยั ในอาคาร

CEG408 การประยุกตค์ อมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมโยธา 3(2-3-5)

(Computer Applications in Civil Engineering)

การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบทาง

วิศวกรรมโยธา ชว่ ยการบรหิ ารจดั การโครงการ และฝกึ หัดการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์กบั โครงงานท่ีได้รบั มอบหมาย

มคอ.2 28

CEG421 การออกแบบคอนกรตี อดั แรง 3(3-0-6)

(Prestressed Concrete Design)

วิชาบงั คับก่อน : CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหลก็

หลักการขององค์อาคารคอนกรีตอัดแรง คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในงานคอนกรีตอัดแรง ข้อกำหนด

เกี่ยวกับหน่วยแรงที่ยอมให้สำหรับวัสดุ การสูญเสียแรงอัดในคอนกรีตอัดแรง การวิเคราะห์และออกแบบหน้าตัด

สำหรับรับโมเมนต์ดัด แรงเฉือน แรงยึดหน่วง และแรงกด กำลังประลัยของคานคอนกรีตอัดแรง การออกแบบคาน

ชนดิ คอมโพสติ การวเิ คราะห์ และออกแบบพ้ืนคอนกรตี อดั แรง การออกแบบเสาเขม็

CEG482 การประมาณราคากอ่ สรา้ งและการประมูล 3(3-0-6)

(Construction Estimating and Bidding)

วิชาบังคับกอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหลก็

การอ่านแบบ สำหรับการประมาณราคา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสำรวจปริมาณและการ

ประมาณราคา การประมาณจำนวนวัสดแุ ละราคาของงานก่อสร้าง การกำหนดมาตรฐานการวดั เน้ืองาน การวิเคราะห์

ข้อมูลและราคางานก่อสร้าง ชนิดและรูปแบบของสัญญาก่อสร้าง การประมูลและกลยุทธ์การประมูล การประยุกต์ใช้

โปรแกรมสำเรจ็ รปู ในการควบคุมคา่ ใชจ้ ่าย

CEG364 การจัดการโครงสรา้ งพืน้ ฐานสำหรับการพฒั นาเมือง 3 (3-0-6)

(Infrastructure Management for Urban Development)

วิชาบังคับก่อน : CEG341 วศิ วกรรมการขนสง่

หลักการจัดการโครงสร้างพื้นฐาน การวิเคราะห์ศักยภาพของเมือง ระบบสารสนเทศเพื่อการบริการ

สาธารณะ การวางแผนโครงสร้างพื้นฐาน การวางแผนการขนส่งในชุมชน การจัดการระบบสาธารณูปโภคและ

สาธารณปู การ หลกั การวางผังเมอื งและกฎหมายท่ีเก่ียวข้อง

CEG441 วิศวกรรมการทาง 3(3-0-6)

(Highway Engineering)

วชิ าบังคับก่อน : CEG271 วศิ วกรรมสำรวจ

ประวัติและการพัฒนาการของงานทาง การบริหารงานทาง หลักการวางแผนงานทาง การวิเคราะห์

การจราจร การออกแบบทางเรขาคณิตของทาง การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์และการเงินของงานทาง การออกแบบ

โครงสร้างทางแบบแขง็ และแบบยดื หยนุ่ วัสดวุ ิศวกรรมการทาง การก่อสรา้ งและการบำรุงรักษางานทาง

CEG446 วศิ วกรรมระบบราง 3(3-0-6)

(Railway Engineering)

ประเภทของระบบราง วัสดุสำหรับงานโครงสร้างทางและชั้นดินรองรับระบบราง น้ำหนักจาก

การจราจรที่ใช้ในการออกแบบ ความเสียหายของระบบราง ลักษณะและปญั หาในงานก่อสร้างระบบราง การซอ่ มแซม

และการบำรงุ รกั ษาระบบราง หลักการออกแบบระบบราง

CEG455 การออกแบบระบบทางวศิ วกรรมชลศาสตร์ 3(3-0-6)

(Hydraulic Engineering System Design)

วิชาบังคับกอ่ น : CEG451 วศิ วกรรมชลศาสตร์

การวิเคราะห์และออกแบบรายละเอียดระบบต่างๆทางวิศวกรรมชลศาสตร์ เช่น ระบบระบายน้ำ

ระบบรวบรวมนำ้ เสีย ระบบท่อส่งน้ำ ระบบทอ่ ความดัน ทางน้ำเปิด เข่ือน อา่ งเกบ็ น้ำ

มคอ.2 29

CEG472 การประยกุ ตร์ ะบบสารสนเทศทางภูมศิ าสตรใ์ นงานวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6)
(Applications of Geographic Information System in Civil Engineering)
วชิ าบงั คบั ก่อน : CEG271 วศิ วกรรมสำรวจ
ความรู้เก่ียวกบั ภมู ิสารสนเทศโดยท่ัวไป องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ แผนที่และการ

อ่านแผนที่ แบบจำลองข้อมูลภูมิศาสตร์ แหล่งข้อมูล ภูมิสารสนเทศ การรับรู้จากระยะไกล ระบบหาพิกัดตำแหน่งบน
พื้นโลกด้วยดาวเทียม (GPS) การประมวลผลข้อมูลภูมิสารสนเทศ การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การ
แสดงผลข้อมลู ภูมิสารสนเทศ ความถกู ตอ้ งของขอ้ มลู แนวโนม้ ของพัฒนาการของภมู สิ ารสนเทศในทางวิศวกรรมโยธา

CEG426 การวบิ ัติและการซ่อมแซมโครงสรา้ ง 3(3-0-6)

(Structural Failure and Rehabilitation)

วิชาบงั คับกอ่ น : CEG328 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหลก็ หรือไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะ

พฤติกรรมของโครงสร้างภายใต้แรงกระทำแบบต่างๆ รูปแบบการวิบัติของโครงสร้าง ลักษณะและ

การสังเกต การตรวจสอบและประเมินความเสียหายของโครงสร้าง การรายงานความเสียหาย วิธีการซ่อมแซม ฟื้นฟู

ความเสียหายและการเพม่ิ กำลงั ของโครงสร้าง กรณศี กึ ษาการวิบัติในรูปแบบตา่ งๆ

CEG473 การแก้ปัญหาภัยพิบตั ทิ างธรรมชาตเิ ชิงวศิ วกรรม 3(3-0-6)

(Engineering Solutions for Natural Disasters)

รูปแบบและสาเหตุของภัยพิบัติทางธรรมชาติ ผลกระทบของภัยพิบัติในด้านต่างๆ แนวทางในการ

วางแผนและการใช้เทคโนโลยีเพื่อเตรียมการรับมือภัยพิบัติ เทคนิคในการสร้างแบบจำลองเพื่อการพยากรณ์และ

ประเมินความรนุ แรงจากภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ บทบาทและหนา้ ทีข่ องวิศวกรรมโยธาต่อการบริหารจัดการที่เกี่ยวขอ้ ง

กับภัยทางธรรมชาติ การบรรเทาปัญหาและการฟื้นฟูสภาพหลังภัยพิบัติ และนโยบายภาครัฐหรือหน่วยงานท่ี

เกยี่ วขอ้ งกับการจัดการภัยพบิ ตั ิ

CEG488 การตรวจสอบคณุ ภาพและประเมนิ ผลทางวศิ วกรรมโยธา 3(3-0-6)

(Quality Auditing and Evaluating in Civil Engineering)

การตรวจสอบคุณภาพ และควบคุมคุณภาพของงานสถาปัตยกรรมภายใน และภายนอกอาคาร

รวมถึงการตรวจสอบระบบไฟฟ้า ระบบประปา สุขาภิบาลและสิ่งแวดล้อม ระบบป้องกันและระงับอัคคีภัย การ

ตรวจสอบสมรรถนะของระบบและอปุ กรณ์ต่าง ๆ ของอาคารท่ีเกีย่ วข้องกับงานวิศวกรรมโยธา เพือ่ ประเมนิ ผล และสง่

มอบใหผ้ ู้ใช้อาคาร

CEG496 หวั ข้อพเิ ศษทางวิศวกรรมโยธา 1 3(3-0-6)

(Special Topics in Civil Engineering 1)

หัวข้อที่เป็นประโยชน์หรือหัวข้อที่กำลังเป็นที่สนใจในงานวิศวกรรมโยธาทั้งทางภาคทฤษฎีและ

ภาคปฏบิ ตั ิ ซึ่งรวมถงึ การวเิ คราะห์วิจยั และพัฒนาทฤษฎแี ละเทคนิคใหม่การออกแบบการแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรม

โยธา ตลอดจนถึงกรณีศึกษาต่าง ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ งตามทส่ี าขาเหน็ ชอบ

CEG497 หวั ขอ้ พิเศษทางวศิ วกรรมโยธา 2 3(3-0-6)

(Special Topics in Civil Engineering 2)

หัวข้อที่เป็นประโยชน์หรือหัวข้อท่ีกำลังเป็นที่สนใจในงานวิศวกรรมโยธาทั้งทางภาคทฤษฎีและ

ภาคปฏบิ ัติ ซ่งึ รวมถึงการวเิ คราะห์วิจัยและพัฒนาทฤษฎีและเทคนิคใหม่การออกแบบการแก้ปญั หาทางด้านวิศวกรรม

โยธา ตลอดจนถึงกรณศี ึกษาตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องตามที่สาขาเห็นชอบ

มคอ.2 30

CEG181 การประมาณราคางานกอ่ สรา้ ง 3 (3-0-6)

(Construction Cost Estimating)

การถอดปริมาณวัสดงุ านโครงสรา้ ง งานสถาปัตยกรรม งานระบบประปา สุขาภิบาล งานระบบไฟฟา้

การวเิ คราะหร์ าคาต่อหน่วยวสั ดแุ ละคา่ แรง การประมาณการค่าดำเนนิ การ

CEG182 กลยุทธ์การประมูลงานก่อสร้าง 3 (3-0-6)

(Construction Bidding Strategy)

วชิ าบังคบั กอ่ น : CEG181 การประมาณราคางานก่อสร้าง

การกำหนดราคากลางงานภาครัฐ การจัดเตรียมเอกสารเสนอราคา กลยุทธ์การเสนอราคาชองผู้

รับจา้ งกอ่ สร้าง เทคนิคการเสนอราคาของผูร้ ับจ้าง และการเจรจาต่อรอง

CEG183 การบรหิ ารสญั ญาในงานกอ่ สรา้ ง 3 (3-0-6)

(Contract Management in Construction)

หลักการของสัญญา ประเภทของสัญญาจ้าง สัญญาประเภทจ้างเหมา ความขัดแย้งกันของแบบ งาน

เพิ่ม งานลด เงื่อนไขการจ่ายเงิน หลักประกันสัญญา เงินประกันผลงงาน การขอเทียบเท่าวัสดุอุปกรณ์โดยผู้ รับจ้าง

การขอเปลย่ี นข้อกำหนดทางเทคนิคของผ้วู า่ จ้าง

CEG184 การใชแ้ บบจำลองสารสนเทศอาคารในการบริหารงานก่อสรา้ ง 3 (2-3-5)
(Building Information Model for Construction Management)
วิชาบงั คบั กอ่ น : CEG181 การประมาณราคางานก่อสร้าง
หลักการกระบวนการแบบจำลองสารสนเทศอาคาร หลักการบริหารงานก่อสร้างทางวิศวกรรม และ

สถาปัตยกรรม การพฒั นาแบบ 3มติ ิ และ 2มติ ิ การพฒั นาแบบก่อสร้างจริง การถอดปรมิ าณวสั ดกุ ่อสรา้ ง

CEG185 เทคโนโลยดี สิ รับชัน่ ในอตุ สาหกรรมกอ่ สร้าง 3 (3-0-6)

(Disruptive Technology in Construction Industry)

การบริหารงานก่อสร้างยุคดิจิทัล องค์กรในโลกยุคดิสรับชั่น ดิจิทัลเทสโนโลยีกับโครงการก่อสร้าง

การวเิ คราะห์ขอ้ มูล แมชชนี เลริ ์นมิ่ง แนวโน้มเทคโนโลยเี ช่อื มต่อ และการประยุกต์ในอตุ สาหกรรมกอ่ สรา้ ง

หมายเหตุ : เงื่อนไขรายวิชาบังคับก่อน อาจพิจารณายกเว้นได้ตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับความเห็นชอบจากคณะ
เจ้าของวชิ า

มคอ.2 31

ชอ่ื สกลุ เลขประจำตวั บัตรประชาชน ตำแหนง่ และคณุ วุฒิของอาจารย์

3.2.1 อาจารยผ์ ้รู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร

ช่อื -สกุล/ คุณวุฒิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน (ชม./สปั ดาห)์ (ต่อปี
ลำดับ เลขประจำตัวบัตร ปีท่ีสำเรจ็ การศึกษา)

ประชาชน 2565 2566 2567 2568
18 18 18 18
1 ผศ.ดร.ชิษณุ อัมพรายน์ - วศ.ด.(วศิ วกรรมโยธา), 2560 - มหาวิทยาลัยศรปี ทุม
24 24 24 24
3-6099-0032X-XX-X - M.Eng. (Transportation - Asian Institute of 18 18 18 18

Engineering), 2002 Technology, Thailand. 18 18 18 18

- วศ.บ. (วิศวกรรมการก่อสร้าง), - สถาบันเทคโนโลยีพระจอม 12 12 12 12

2540 เกล้า เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั

2 ผศ.ชัชวาลย์ พนู ลาภพานชิ - วศ.ม (วศิ วกรรมปฐพี), 2541 - จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

3-1012-0104X-XX-X - วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2538 - จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั

3 ผศ.สุรพนั ธ์ สนั ติยานนท์ - วศ.ม. (วศิ วกรรมโยธา-วศิ วกรรม - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

5-1005-0007X-XX-X แหลง่ นำ้ และส่ิงแวดลอ้ ม), 2548

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2542 - มหาวทิ ยาลัยศรปี ทุม

4 ผศ.ดร.วรสิ รา เลิศไพฑูรย์ - Ph.D. (Civil Engineering), - Iowa State University,

พนั ธ์ 2008 U.S.A.

3-1009-0162X-XX-X - M.S. (Water and Wastewater - Asian Institute of

Engineering), 2000 Technology, Thailand

- วท.บ. (ฟิสิกส์), 2537 - มหาวิทยาลัยรามคำแหง

5 ดร.โยธนิ มชั ฌมิ าดลิ ก - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), 2557 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

3-1005-0438X-XX-X - วศ.ม. (วศิ วกรรมโยธา-วิศวกรรม - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แหล่งน้ำและสงิ่ แวดลอ้ ม), 2549

- วศ.บ. (วศิ วกรรมการกอ่ สรา้ ง), - สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

2540 เกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

3.2.2 อาจารยป์ ระจำหลักสูตร

ชอ่ื -สกุล/ คุณวฒุ ิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบนั ทส่ี ำเรจ็ การศกึ ษา ภาระการสอน (ชม./สัปดาห)์ (ต่อปี
ลำดบั เลขประจำตัวบัตร ปที ่ีสำเรจ็ การศึกษา)

ประชาชน 2565 2566 2567 2568

1 ผศ.ดร.ชิษณุ อมั พรายน์ - วศ.ด.(วิศวกรรมโยธา), 2560 - มหาวิทยาลัยศรปี ทมุ 18 18 18 18

3-6099-0032X-XX-X - M.Eng. (Transportation - Asian Institute of

Engineering), 2002 Technology, Thailand.

- วศ.บ. (วศิ วกรรมการก่อสรา้ ง), - สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

2540 เกลา้ เจ้าคณุ ทหารลาดกระบัง

2 ผศ.ชชั วาลย์ พนู ลาภพานิช - วศ.ม (วิศวกรรมปฐพ)ี , 2541 - จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย 24 24 24 24

3-1012-0104X-XX-X - วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2538 - จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั

3 ผศ.สรุ พนั ธ์ สนั ตยิ านนท์ - วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา-วศิ วกรรม - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 18 18 18 18

5-1005-0007X-XX-X แหลง่ นำ้ และสิ่งแวดลอ้ ม), 2548

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2542 - มหาวิทยาลัยศรปี ทุม

4 ผศ.ดร.วริสรา เลิศไพฑูรย์พันธ์ - Ph.D. (Civil Engineering), - Iowa State University, 18 18 18 18

3-1009-0162X-XX-X 2008 U.S.A.

มคอ.2 32

ชื่อ-สกุล/ คุณวุฒิการศกึ ษา (สาขาวิชา)/ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา ภาระการสอน (ชม./สัปดาห์)(ต่อปี
ลำดบั เลขประจำตัวบัตร ปีที่สำเร็จ การศกึ ษา)

ประชาชน 2565 2566 2567 2568
12 12 12 12
- M.S. (Water and Wastewater - Asian Institute of
18 18 18 18
Engineering), 2000 Technology, Thailand
24 24 24 24
- วท.บ. (ฟิสิกส์), 2537 - มหาวิทยาลัยรามคำแหง
18 18 18 18
5 ดร.โยธิน มชั ฌมิ าดิลก - ปร.ด. (วศิ วกรรมโยธา), 2557 - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
24 24 24 24
3-1005-0438X-XX-X - วศ.ม. (วศิ วกรรมโยธา-วิศวกรรม - มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
12 12 12 12
แหล่งนำ้ และส่งิ แวดล้อม), 2549

- วศ.บ. (วิศวกรรมการกอ่ สรา้ ง), - สถาบนั เทคโนโลยีพระจอม

2540 เกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง

6 ศ.ดร.ไพบลู ย์ ปัญญาคะโป - D.Eng. - Asian Institute of

3-1024-0050X-XX-X (StructuralEngineering), 1999 Technology, Thailand

- M.Eng.(Structural - Asian Institute of

Engineering),1984 Technology, Thailand

- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 2525 - มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร.์

7 ผศ.ดร.คมวุธ วิศวไพศาล - Ph.D. (Civil Engineering), - West Vitginia University,

3-8099-0051X-XX-X 2001 U.S.A.

- M.S. (Civil Engineering), 1995 - Texas A&M University-

Kingsville, U.S.A.

- วศ.บ. (วศิ วกรรมโยธา), 2537 - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั

8 ผศ.ดร.ไพจติ ร ผาวนั - วศ.ด. (วิศวกรรมและการบริหาร - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระ

3-1011-0023X-XX-X การกอ่ สร้าง), 2558 จอมเกลา้ ธนบรุ ี

- วศ.ม. (วิศวกรรมและบริหารงาน - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระ

ก่อสรา้ ง), 2544 จอมเกลา้ ธนบุรี

- อส.บ. (วศิ วกรรมก่อสรา้ ง), 2538 - มหาวิทยาลัยศรีปทุม

9 ดร.ณฐั วัฒน์ จุฑารัตน์ - Ph.D. (Civil Engineering), - Syracuse University,

3-1002-0197 X-XX-X 2001 U.S.A.

- M.Eng. (Structural - Asian Institute of

Engineering), 1993 Technology, Thailand

- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 2534 - มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

10 ผศ.ดร.ชลธศิ เอี่ยมวรวฒุ กิ ลุ - Ph.D. (Mechanical - North Carolina State

3-1012-0246X-XX-X Engineering), 2001 University, U.S.A.

- M.S. (Mechanical - Southern Illinois

Engineering), 1996 University, U.S.A.

- วศ.บ. (วศิ วกรรมเครอ่ื งกล), - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2534

4. องคป์ ระกอบเกย่ี วกับประสบการณภ์ าคสนาม (การฝกึ งานหรือสหกจิ ศึกษา)
จากผลการประเมินความพึงพอใจจากผู้ใช้บณั ฑิต มีความต้องการให้บัณฑิตมีประสบการณ์ในวิชาชีพกอ่ นเขา้

ส่กู ารทำงานจริงดังนั้นในหลักสูตรจงึ มีรายวชิ าประสบการณภ์ าคสนาม เพ่ือฝกึ ให้นักศกึ ษารูจ้ ักการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ที่
เรยี นมา มาใชก้ ับสภาพการทำงานจริง และเพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมในทกุ ๆดา้ น ก่อนออกไปทำงานจริง

มคอ.2 33

4.1 ผลการเรยี นรู้ของประสบการณภ์ าคสนาม
ความคาดหวังในผลการเรยี นรูป้ ระสบการณภ์ าคสนามของนักศึกษา มีดงั นี้
(1) ทักษะในการปฏบิ ัติงานจากสถานประกอบการตลอดจนมีความเข้าใจในหลักการ ความจำเปน็

ในการเรยี นร้ทู ฤษฎมี ากย่ิงข้ึน
(2) บรู ณาการความร้ทู ีเ่ รียนมาเพ่ือนำไปแก้ปัญหาทางวศิ วกรรมโยธาได้
(3) มีมนษุ ยสัมพนั ธ์และสามารถทำงานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดด้ ี
(4) มรี ะเบยี บวินัยตรงเวลาและเขา้ ใจวฒั นธรรมขององคก์ รตลอดจนสามารถปรับตวั ให้เขา้ กับสถาน

ประกอบการได้
(5) มคี วามกล้าในการแสดงออก และนำความคิดสรา้ งสรรค์ไปใชป้ ระโยชน์ในงานได้

4.2 ช่วงเวลา
ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ของนักศกึ ษาชัน้ ปีที่ 4

4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ของนกั ศึกษาชน้ั ปที ี่ 4

5. ข้อกำหนดเก่ยี วกับการทำโครงงานหรอื งานวจิ ัย
ข้อกำหนดในการทำโครงงาน ต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านวิศวกรรม โยธามา

ประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ ออกแบบ และพัฒนาระบบ หรือแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีจำนวนผู้ร่วม
โครงงาน 2-3 คน และมีรายงานท่ตี อ้ งนำส่งตามรูปแบบและระยะเวลาทหี่ ลักสูตรกำหนด

5.1 คำอธิบายโดยย่อ
หัวข้อวิชาโครงงาน จะเป็นหัวข้อที่นักศึกษาสนใจ สามารถศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมได้ สามารถแก้ไขปัญหา

สามารถคิดวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาได้ โดยสามารถนำทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ในการทำโครงงาน
ได้ มีขอบเขตโครงงานท่สี ามารถทำเสรจ็ ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด

5.2 ผลการเรียนรู้
นักศึกษาสามารถทำงานเป็นกลุ่ม สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสามารถในการสื่อสารด้วย

ภาษาเขียนและภาษาพูด มีความเชี่ยวชาญในการใช้เครื่องมือ มีการประยุกต์ใช้ทฤษฏีในการทำโครงงาน โครงงาน
สามารถเปน็ ต้นแบบในการพัฒนาต่อได้หรือแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ

5.3 ช่วงเวลา
ภาคการศกึ ษาท่ี 1-2 ของชัน้ ปที ่ี 4

5.4 จำนวนหนว่ ยกิต
3 หน่วยกิต

5.5 การเตรียมการ
มีการอบรมให้ความรู้ในการจัดทำโครงงานตั้งแต่การเขียนโครงร่างงานวิจัย (Proposal) โดยมีวิทยากร

ผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอกมาให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการ มีการกำหนดชั่วโมงการให้คำปรึกษา มีการให้
คำปรึกษา ให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับโครงงานทางเว็บไซต์ และปรับปรุงให้ทันสมัยเสมอมีกระบวนการให้นักศึกษา
รายงานความกา้ วหนา้ ปัญหาอุปสรรคอย่างต่อเนื่องตลอดภาคการศึกษา อีกท้ังมตี ัวอยา่ งโครงงานใหศ้ ึกษา

5.6 กระบวนการประเมินผล
ประเมินผลจากรายงานความก้าวหน้าในการทำโครงงาน มีหนังสือโครงงานที่ตรวจสอบโดยอาจารย์ที่ปรกึ ษา

มีการประเมินผลจากผลสำเร็จของโครงงาน โดยโครงงานดังกล่าวต้องสามารถทำงานได้ในเบื้องต้น และการจัดสอบ
การนำเสนอตอ่ กรรมการสอบ ซงึ่ ประกอบดว้ ยอาจารย์และผ้ทู รงคณุ วฒุ ิรวมไม่ต่ำกว่า 3 คน

มคอ.2 34

หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรู้ กลยุทธก์ ารสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพเิ ศษของนกั ศกึ ษา

คณุ ลักษณะพิเศษ กลยุทธห์ รือกจิ กรรมของนักศกึ ษา

1. มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมถ่อมตนและทำหนา้ ท่ี ส่งเสรมิ และสอดแทรกให้นักศึกษามีจรรยาบรรณในวิชาชีพ

เปน็ พลเมอื งดีรบั ผดิ ชอบต่อตนเองวชิ าชพี และ เคารพในสทิ ธทิ างปญั ญาและขอ้ มูลส่วนบคุ คล การใชเ้ ทคโนโลยี

สังคม ในการพฒั นาสงั คมทถ่ี กู ต้อง นอกจากนอี้ าจมกี ารจดั ค่ายพฒั นา

ชมุ ชน เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษามีโอกาสประยกุ ต์หรือเผยแพร่ความรทู้ ่ีได้

ศกึ ษามา

2. มคี วามร้พู น้ื ฐานในศาสตรท์ ่เี กี่ยวข้องทง้ั รายวชิ าบังคบั ของหลกั สูตรตอ้ งปูพืน้ ฐานของศาสตร์และสร้าง

ภาคทฤษฎแี ละภาคปฎิบตั อิ ยู่ในเกณฑ์ดี ความเช่อื มโยงระหว่างภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ มีปฏิบตั ิการ

สามารถประยุกต์ได้อยา่ งเหมาะสมในการ แบบฝึกหัด โครงงาน และกรณีศกึ ษาใหน้ กั ศึกษาเขา้ ใจการ

ประกอบวิชาชีพและศึกษาต่อในระดบั สงู ประยุกต์องค์ความรู้กบั ปญั หาจรงิ

3. มีความรู้ทนั สมยั ใฝร่ แู้ ละมคี วามสามารถ รายวิชาเลือกที่เปิดสอนต้องต่อยอดความรูพ้ ้ืนฐานในภาคบังคบั

พัฒนาความรูเ้ พ่อื พัฒนาตนเองพฒั นางานและ และปรับตามวิวัฒนาการของศาสตร์ มีโจทยป์ ญั หาท่ีท้าทายให้

พัฒนาสงั คม นกั ศึกษาคน้ คว้าหาความร้ใู นการพฒั นาศักยภาพ

4. คิดเปน็ ทำเป็นและเลือกวธิ กี ารแก้ปญั หา ทกุ รายวชิ าต้องมีโจทยป์ ญั หา แบบฝึกหดั หรอื โครงงาน ให้

ได้อยา่ งเปน็ ระบบ สามารถประยุกตค์ วาม นกั ศกึ ษาไดฝ้ กึ คดิ ฝึกปฏบิ ัติ ฝกึ แก้ปญั หา แทนการท่องจำ

เข้าใจเพอ่ื ใชใ้ นการแก้ปญั หาในสถานการณอ์ ืน่

ได้อย่างเหมาะสม

5. มีความสามารถทำงานร่วมกับผู้อน่ื มีทกั ษะ โจทยป์ ัญหาและโครงงานของรายวชิ าต่างๆ ควรจดั แบบ

การบริหารจัดการและทำงานเปน็ หมูค่ ณะ คณะทำงาน แทนท่จี ะเป็นแบบงานเดยี่ ว เพื่อส่งเสรมิ ใหน้ ักศกึ ษา

ไดฝ้ ึกฝนการทำงานเป็นหมคู่ ณะ

6. รู้จักแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองและสามารถ ต้องมีการมอบหมายงานให้นกั ศกึ ษาไดส้ บื คน้ ข้อมลู รวบรวม

ติดต่อสื่อสารกับผอู้ น่ื ไดเ้ ป็นอย่างดี ความรูท้ นี่ อกเหนอื จากท่ไี ดน้ ำเสนอในช้ันเรียน และเผยแพร่

ความรู้ทีไ่ ด้ระหวา่ งนกั ศึกษาด้วยกัน หรือให้กับผู้สนใจภายนอก

7. มีความสามารถในการใชภ้ าษาไทยและ มีระบบเพือ่ สอ่ื สารแลกเปลยี่ นความคิดเห็นในหมู่นักศกึ ษาหรอื

ภาษาต่างประเทศในการส่ือสารและใช้ บคุ คลภายนอกทส่ี ่งเสริมให้เกิดการแสวงหาความร้ทู ท่ี ันสมัย การ

เทคโนโลยไี ด้ดี เผยแพร่ การถามตอบ และการแลกเปล่ยี นความรู้

8. มีความสามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ตอ้ งมีวชิ าทบ่ี รู ณาการองคค์ วามรทู้ ่ีไดศ้ ึกษามา (เช่น วิชา

พัฒนา และปรบั ปรงุ ระบบการทำงานท้งั ใน โครงงานวิศวกรรม) ในการวเิ คราะห์ ออกแบบ พฒั นา และ

อุตสาหกรรมผลิตและอุตสาหกรรมบริการให้ ปรับปรุงระบบการทำงานทัง้ ในอุตสาหกรรมผลติ และ

ตรงตามข้อกำหนด อตุ สาหกรรมบรกิ ารตามข้อกำหนดของโจทยป์ ัญหาทไ่ี ดร้ บั

2. การพฒั นาผลการเรยี นร้ใู นแต่ละด้าน ไดแ้ ก่
2.1 การพฒั นาผลการเรยี นรู้หมวดศึกษาทัว่ ไป
2.1.1 ด้านคณุ ธรรม
(1) มีคารวะธรรม ซอื่ สัตย์สจุ ริต และกตัญญู

มคอ.2 35

(2) มีวินัย มีความรับผิดชอบ มีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับของ
องคก์ รและสังคม

(3) มีจติ สาธารณะ รับผดิ ชอบต่อตนเอง สงั คม และสง่ิ แวดลอ้ ม
(4) มคี วามใฝร่ แู้ ละใฝ่เรยี น
(5) เคารพและช่ืนชมงานศิลปวัฒนธรรมท้องถ่นิ และสากล
2.1.2 ด้านความรู้
(1) มคี วามรอบรู้ อย่างกว้างขวาง ตดิ ตามความก้าวหนา้ กา้ วทันการเปลย่ี นแปลง
(2) มคี วามสามารถในการเชอ่ื มโยงและบรู ณาการศาสตร์ไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิต
(3) ตระหนักถึงงานวิจยั ในปัจจุบันทีเ่ กย่ี วข้องกับชีวติ และสงั คม
(4) มีความรู้และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา
อยา่ งยงั ยนื
2.1.3 ดา้ นทักษะทางปญั ญา
(1) สามารถในการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประเมนิ ผลอยา่ งเป็นระบบ
(2) สามารถคน้ หาข้อเทจ็ จริง ทำความเขา้ ใจ ประเมนิ ขอ้ มูลจากหลกั ฐานได้ และนำข้อสรุปมาใช้
(3) สามารถศึกษาวิเคราะห์ปญั หาท่ีซบั ซอ้ นและเสนอแนวทางแก้ไขท่ีสรา้ งสรรค์
2.1.4 ดา้ นทกั ษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คลและความรบั ผดิ ชอบ
(1) สามารถปรับตัวทำงานรว่ มกบั ผู้อ่นื ทง้ั ในฐานะผ้นู ำและสมาชิกกลุ่ม
(2) สามารถวางแผนและรับผดิ ชอบในการเรยี นรแู้ ละพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง
(3) เป็นแบบอย่างทีด่ ตี อ่ ผอู้ ื่น มภี าวะผนู้ ำและผตู้ ามทีด่ ี
(4) เคารพในคุณคา่ และศักด์ศิ รขี องความเปน็ มนษุ ย์
(5) สามารถนำทักษะดา้ นพลานามยั และสุขศึกษามาใชใ้ นการดำเนินชวี ติ ไดอ้ ย่างสมบรู ณ์
2.1.5 ด้านทกั ษะในการวิเคราะห์เชงิ ตัวเลข การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีความรู้พื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติในการประมวล การแปลความหมาย การ
วิเคราะหส์ ถานการณ์ และการแนะนำประเดน็ การแก้ไขปัญหาทเ่ี กี่ยวขอ้ งอย่างถูกต้องและสร้างสรรค์
(2) สามารถสรุปประเด็น และสื่อสาร ท้ังการพูดและการเขียน และเลือกใช้รูปแบบการ
นำเสนอไดเ้ หมาะสมท้ังภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ
(3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการติดต่อสื่อสาร การเก็บรวบรวมข้อมูล การ
วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ขอ้ มลู ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ

2.2 การพัฒนาผลการเรียนรตู้ ามหลกั สตู ร
2.2.1 ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม
2.2.1.1 ผลการเรียนรู้ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
นักศึกษาต้องมีคุณธรรมจริยธรรมมีวินัย เคารพกฎเกณฑ์ของสังคม สามารถทำหน้าท่ีในฐานะผู้นำ

หรือผู้ตามที่ดีได้ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่นและเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม มีความ
ตระหนักในคุณค่าของการดำเนนิ ภารกิจทส่ี ่งผลต่อการพฒั นาคุณภาพชีวติ การออกแบบหรืออำนวยการใช้ระบบตา่ งๆ
ที่เกี่ยวข้อง ต้องมีความรับผิดชอบต่อผลท่ีจะเกิดขึ้นเช่นเดียวกับการประกอบอาชีพในสาขาอื่นๆ อาจารย์ที่สอนในแต่
ละวิชาต้องพยายามสอดแทรกเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งต่อไปนี้ ทั้ง 5 ข้อเพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนาคุณธรรมและ
จริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการต่างๆที่ศึกษารวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรมและจริ ยธรรม 5 ข้อตามท่ี
ระบไุ ว้

มคอ.2 36

(1) เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทยตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและ
ซอ่ื สตั ยส์ ุจริต

(2) มีวินัยตรงต่อเวลารับผิดชอบต่อตนเองและสังคมเคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆของ
องค์กรและสงั คม

(3) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นหมู่คณะสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตามลำดับ
ความสำคญั เคารพสทิ ธแิ ละรบั ฟังความคดิ เหน็ ของผู้อ่นื รวมทัง้ เคารพในคุณค่าและศกั ดศิ์ รขี องความเป็นมนษุ ย์

(4) สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคลองค์กรสังคม
และสง่ิ แวดล้อม

(5) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพและมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึง
เข้าใจถงึ บริบททางสงั คมของวชิ าชีพวศิ วกรรมในแต่ละสาขาตั้งแตอ่ ดีตจนถึงปจั จุบัน

2.2.1.2 กลยทุ ธ์การสอนท่ใี ช้พัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้
ตรงเวลาตลอดจนการแตง่ กายท่ีเป็นไปตามระเบยี บของมหาวิทยาลัยนกั ศึกษาต้องมคี วามรับผิดชอบโดยในการทำงาน
กลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทำการทุจริตใน
การสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น นอกจากนี้อาจารย์ผู้สอนทุกคนต้องสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมใน
การสอนทุกรายวิชา รวมทั้งมีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมเช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำดี ทำประโยชน์
แกส่ ่วนรวม เสียสละ
2.2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรยี นรูด้ ้านคุณธรรม จรยิ ธรรม

(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียนการส่งงานตามกำหนดระยะเวลาท่ี
มอบหมาย และการรว่ มกจิ กรรม

(2) ประเมินจากการมีวนิ ยั และพร้อมเพรียงของนกั ศกึ ษาในการเข้าร่วมกจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร
(3) ปรมิ าณการกระทำทุจริตในการสอบ
(4) ประเมนิ จากความรบั ผดิ ชอบในหนา้ ท่ที ไี่ ดร้ บั มอบหมาย

2.2.2 ดา้ นความรู้
2.2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
นักศึกษาต้องมีความรู้เกี่ยวความเข้าใจกับวิชาที่ศึกษาในสาขาวิศวกรรมโยธาทั้งในด้านวิศวกรรม

การจัดการ และสิ่งแวดล้อมรวมทั้งสามารถบูรณาการความรู้ และประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา
และนำไปปฏิบตั ิจริงได้ ดงั น้นั มาตรฐานความรู้ต้องครอบคลุมส่งิ ต่อไปนี้

(1) มีความรู้และความเขา้ ใจทางคณติ ศาสตร์พนื้ ฐานวิทยาศาสตร์พนื้ ฐานวิศวกรรมพ้นื ฐานและสงิ่
แวลอ้ ม เพอื่ การประยกุ ตใ์ ช้กับงานทางด้านวศิ วกรรมโยธาและการสรา้ งนวตั กรรมทางเทคโนโลยี

(2) มคี วามร้แู ละความเขา้ ใจเกยี่ วกับหลกั การทส่ี ำคัญทง้ั ในเชงิ ทฤษฎแี ละปฏิบัติในเนอื้ หาของ
สาขาวิชาเฉพาะด้านทางวศิ วกรรมโยธา

(3) สามารถบูรณาการความรูใ้ นสาขาวชิ าทีศ่ ึกษากับความรูใ้ นศาสตร์อืน่ ๆท่ีเกย่ี วขอ้ ง
(4) สามารถวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปญั หาดว้ ยวิธกี ารท่เี หมาะสมรวมถงึ การประยุกตใ์ ช้เคร่ืองมือที่
เหมาะสมเชน่ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เปน็ ต้น
(5) สามารถใชค้ วามรู้และทกั ษะในสาขาวชิ าของตนในการประยุกตแ์ กไ้ ขปญั หาในงานจรงิ ได้

มคอ.2 37

2.2.2.2 กลยทุ ธก์ ารสอนทใี่ ช้พฒั นาการเรียนรู้ด้านความรู้
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฏิบัติใน

สภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลีย่ นแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหา
สาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดงู านหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญท่ี
มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่องตลอดจนฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ เช่น สหกิจศึกษา
หรอื ฝึกงาน เปน็ ต้น

2.2.2.3 กลยทุ ธก์ ารประเมนิ ผลการเรียนรูด้ า้ นความรู้
ประเมินจากผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนและการปฏบิ ัตขิ องนักศึกษา ในดา้ นต่างๆ คือ
(1) การสอบย่อย
(2) การทดสอบยอ่ ย
(3) การสอบกลางภาคเรียน และปลายภาคเรียน
(4) ประเมินจากรายงานท่นี กั ศกึ ษาจัดทำ
(5) ประเมนิ จากโครงงานวศิ วกรรม
(6) ประเมินจากการเสนอรายงานในชน้ั เรียน
(7) ประเมินจากวิชาสหกจิ ศึกษา หรือฝึกงาน

2.2.3 ด้านทกั ษะทางปญั ญา
2.2.3.1 ผลการเรียนร้ดู า้ นทกั ษะทางปญั ญา
นักศึกษาต้องสามารถคิดอย่างมีระบบ มีตรรกะที่เหมาะสม เพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่าง

ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งปรับความรู้ที่มีอยู่ใช้กับสถานการณ์ต่างๆ ที่ประสบได้ และมีความสามารถในการ
เรยี นรู้อย่างตอ่ เนอ่ื งเพือ่ ให้ทำงานไดเ้ ขา้ กับสภาพในปัจจุบันและอนาคตได้

(1) มคี วามคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณทด่ี ี
(2) สามารถรวบรวมศกึ ษาวเิ คราะหแ์ ละสรุปประเดน็ ปัญหาและความตอ้ งการ
(3) สามารถคิดวเิ คราะหแ์ ละแกไ้ ขปญั หาดา้ นวศิ วกรรมไดอ้ ยา่ งมรี ะบบรวมถงึ การใช้ข้อมูล
ประกอบการตัดสนิ ใจในการทำงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
(4) มจี นิ ตนาการและความยืดหยุน่ ในการปรบั ใช้องคค์ วามรู้ที่เก่ียวขอ้ งอยา่ งเหมาะสมในการ
พัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมไดอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์
(5) สามารถสบื ค้นขอ้ มลู และแสวงหาความร้เู พิ่มเตมิ ไดด้ ว้ ยตนเองเพ่อื การเรียนรูต้ ลอดชีวิตและทนั
ต่อการเปลย่ี นแปลงทางองค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีใหมๆ่
2.2.3.2 กลยุทธก์ ารสอนทใี่ ชใ้ นการพฒั นาการเรยี นรู้ดา้ นทักษะทางปญั ญา
(1) กรณศี กึ ษาทางการประยกุ ต์ใช้ความรดู้ ้านวิศวกรรมโยธา
(2) การอภปิ รายกลมุ่
(3) ใหน้ กั ศกึ ษามีโอกาสปฏบิ ตั ิจรงิ
2.2.3.3 กลยทุ ธ์การประเมนิ ผลการเรียนรู้ด้านทกั ษะทางปญั ญา
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา นี้สามารถทำได้โดยการออกข้อสอบที่ให้
นักศึกษาแก้ปญั หา อธิบายแนวคิดของการแก้ปญั หา และวิธกี ารแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรูท้ ่ีเรียนมา หลีกเลี่ยง
ข้อสอบที่เป็นการเลือกคำตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา ไม่ควรมีคำถามเกี่ยวกับนิยามต่างๆ หรือ
การใช้ความจำ ประเมินตามสภาพจรงิ จากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เช่น ประเมินจากการนำเสนอรายงาน
ในช้นั เรยี น การทดสอบโดยใชแ้ บบทดสอบหรอื สัมภาษณ์ เป็นต้น

มคอ.2 38

2.2.4 ด้านทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและความรบั ผิดชอบ
2.2.4.1 ผลการเรยี นรดู้ ้านทกั ษะความสมั พันธร์ ะหว่างตวั บุคคลและความสามารถในการรบั ผดิ ชอบ
นักศึกษาต้องออกไปประกอบอาชีพซึ่งส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับคนที่ไม่รู้จักมาก่อน คนที่มาจาก

สถาบันอื่นๆ และคนที่จะมาเป็นผู้บังคับบัญชา หรือคนที่จะมาอยู่ใต้บังคับบัญชา หรือคนที่ใช้ภาษาหรือการสื่อสารท่ี
แตกต่างกันออกไป ความสามารถที่จะปรับตัวให้เข้ากับกลุ่มคนต่างๆ เป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่ง ดังนั้นอาจารย์ต้อง
สอดแทรกวิธีการที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติต่างๆ ต่อไปนี้ให้นักศึกษาระหว่างที่สอนวิชา หรืออาจให้นักศึกษาไปเรียน
วชิ าทางดา้ นสงั คมศาสตรท์ เี่ กยี่ วกบั คณุ สมบตั ติ ่างๆ ดงั น้ี

(1) สามารถส่ือสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพสามารถใช้ความร้ใู นสาขาวชิ าชีพมาสือ่ สารตอ่ สงั คมไดใ้ นประเด็นท่เี หมาะสม

(2) สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสรา้ งสรรค์ท้ังส่วนตัวและสว่ นรวม
พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่มรวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกใน
การแกไ้ ขปญั หาสถานการณ์ต่างๆ

(3) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและสอดคล้องกับทาง
วิชาชีพอย่างตอ่ เนอื่ ง

(4) รู้จักบทบาทหน้าที่และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงาน
กลุ่มสามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสา มารถวางตัวได้อย่าง
เหมาะสมกบั ความรับผิดชอบ

(5) มีจิตสำนึกความรับผดิ ชอบดา้ นความปลอดภัยในการทำงานและการรักษาสภาพแวดล้อมตอ่ สงั คม
2.2.4.2 กลยทุ ธก์ ารสอนท่ีใช้ในการพฒั นาการเรียนร้ดู า้ นทักษะความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลและ
ความรับผดิ ชอบ

ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อ่ืน
ข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ มีการศึกษาค้นคว้าหรือทำ
รายงานที่จำเป็นต้องใช้ภาษาต่างประเทศโดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัว
บุคคลและความสามารถในการรับผดิ ชอบ ดังนี้

(1) สามารถทำงานกับผอู้ นื่ ได้เปน็ อยา่ งดี
(2) มีความรบั ผิดชอบต่องานทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย รวมทั้งความปลอดภยั และส่งิ แวดลอ้ ม
(3) สามารถปรับตวั เข้ากับสถานการณ์และวฒั นธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัตงิ านได้เปน็ อยา่ งดี
(4) มีมนษุ ยสมั พนั ธท์ ่ีดีกับผ้รู ว่ มงานในองคก์ รและกบั บุคคลท่วั ไป
(5) มีภาวะผนู้ ำ
2.2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความ
รับผดิ ชอบ
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และ
สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ได้
รวมถึงความสามารถในการทำงานหรือใช้ภาษาตา่ งประเทศ

2.2.5 ดา้ นทกั ษะในการวิเคราะหเ์ ชิงตัวเลข การส่อื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี

สารสนเทศ
นักศกึ ษาตอ้ งมีทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตัวเลข การส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ข้ันตำ่ ดังนี้

มคอ.2 39

(1) มที กั ษะในการใช้คอมพวิ เตอร์สำหรบั การทำงานท่ีเก่ียวข้องกับวชิ าชพี ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี
(2) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการ
แกป้ ญั หาทเ่ี กยี่ วขอ้ งได้อยา่ งสรา้ งสรรค์
(3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมี
ประสิทธภิ าพ
(4) มีทักษะในการสอื่ สารข้อมูลทง้ั ทางการพดู การเขียนและการสื่อความหมายโดยใชส้ ัญลักษณ์
(5) สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพในสาขา
วิศวกรรมท่เี กย่ี วข้องได้
2.2.5.2 กลยุทธ์การสอนทใี่ ช้ในการพัฒนาการเรยี นร้ดู า้ นทกั ษะในการวิเคราะหเ์ ชิงตวั เลข การ
ส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการส่ื อสารน้ี
อาจทำได้ในระหว่างการสอน โดยอาจให้นักศึกษาแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้ด้านวิศวกรรมโยธาที่มีอยู่ผนวกกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศ และทำการส่ือสารผลของการดำเนนิ การแก้ปัญหาดว้ ยเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้อง
เขา้ ใจไดอ้ ยา่ งชัดเจนในภาพรวมของปญั หาและการแกไ้ ขทั้งหมด
2.2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ดา้ นทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ
(1) ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือคณิตศาสตร์และสถิติ ทเ่ี ก่ยี วข้อง
(2) ประเมนิ จากความสามารถในการอธิบาย ถงึ ข้อจำกดั เหตุผลในการเลอื กใชเ้ ครอื่ งมือตา่ งๆ การ
อภปิ ราย กรณีศกึ ษาตา่ งๆที่มกี ารนำเสนอต่อชน้ั เรียน

3. ผลการพฒั นาผลการเรยี นรู้
3.1 ผลการพฒั นาการเรียนรู้ หมวดวชิ าศึกษาทวั่ ไป (PLO)
PLO 1. มีคุณธรรมจรยิ ธรรมในการดำเนนิ ชวี ติ บนพน้ื ฐานปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
PLO 2. ตระหนักและสำนกึ ในความเป็นไทย
PLO 3. มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์กว้างไกล เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่น สังคม

ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ
PLO 4. มีทกั ษะการแสวงหาความรูต้ ลอดชวี ติ เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง
PLO 5. มีทกั ษะการคดิ แบบองค์รวม
PLO 6. มจี ติ อาสาและสำนกึ สาธารณะ เปน็ พลเมอื งท่ีมีคุณคา่ ของสงั คมไทยและสงั คมโลก
PLO 7. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรู้เทา่ ทนั
PLO 8. ใชภ้ าษาในการสอ่ื สารอย่างมปี ระสิทธภิ าพ

3.2 ผลการพฒั นาการเรียนรู้ตามหลกั สูตร (PLO)
1. PLO1 ประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีพื้นฐานทางวิศวกรรมกับการใช้งานวิชาชีพ โดยแสดงออกถึง

ความเข้าใจในศาสตรด้านวิศวกรรมพื้นฐานของสาขาวิศวกรรมโยธาสำหรับการประกอบวิชาชีพและประยุกต์ใช้องค์
ความรู้ในการปฏิบตั งิ านจริง

2. PLO2 ประยุกต์ใช้ โปรแกรมทางวิศวกรรมโยธา เครื่องมือดิจิทัลทางวิศวกรรม หรือเทคโนโลยี
สมยั ใหมท่ เ่ี หมาะสม เพอื่ การปฏิบัติงานในการสรา้ งคณุ ค่าใหแ้ ก่ภาคอตุ สาหกรรมอย่างมืออาชีพ

มคอ.2 40

3. PLO3 สามารถแก้ปญั หาหรือพัฒนางานได้อย่างเป็นระบบ และสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง
แสดงถึงความสามารถในคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย การกำหนดประเด็น การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การ
ออกแบบวิธีการ การลงมือทำเก็บบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ผล สรุปประมวลผลและรายงานผลงานในเชิง
วศิ วกรรมไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

4. PLO4 แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ การสื่อสารที่ดี การทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำตาม
วุฒภิ าวะและบรรทัดฐานทางสังคม

5. PLO5 แสดงออกถึงจิตสำนึกการมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม และความมจี รยิ ธรรมและจรรยาบรรณ
ในการประกอบอาชีพ

3.3 ผลการพฒั นาการเรยี นรู้ยอ่ ยของหลกั สูตร (SubPLO)
1. PLO1 ประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีพื้นฐานทางวิศวกรรมกับการใช้งานวิชาชีพ โดยแสดงออกถึงความ

เข้าใจในศาสตรด้านวิศวกรรมพื้นฐานของสาขาวิศวกรรมโยธาสำหรับการประกอบวิชาชีพและประยุกต์ใช้องค์ความรู้
ในการปฏบิ ตั ิงานจริง

PLO1 Sub1: เข้าใจองค์ความรพู้ ้นื ฐานทางวศิ วกรรม
PLO1 Sub2: เข้าใจและประยุกต์ใช้เครื่องมือพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมโยธาในการแก้ปัญหาใน
งานกอ่ สร้าง
PLO1 Sub3: สามารถนำความรู้ภาคทฤษฎีมาวิเคราะห์และแก้ปัญหาในงานก่อสร้าง ได้อย่างเป็น
ระบบ

2. PLO2 ประยุกต์ใช้ โปรแกรมจำลองทางคอมพิวเตอร์ เครื่องมือดิจิทัลทางวิศวกรรม หรือเทคโนโลยี
สมยั ใหมท่ ่เี หมาะสม เพื่อการปฏบิ ตั งิ านในการสรา้ งคณุ คา่ ให้แกภ่ าคอุตสาหกรรมอยา่ งมืออาชพี

PLO2 Sub1: เขา้ ใจหลกั การของเทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์ และเครือ่ งมอื ดจิ ิทลั
PLO2 Sub2: ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือดิจิทัลในกระบวนการทำงานด้าน
วิศวกรรมโยธา

3. PLO3 สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้อย่างเป็นระบบ และสามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง แสดง
ถึงความสามารถในคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย การกำหนดประเด็น การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การ
ออกแบบวิธีการ การลงมือทำเก็บบันทึกข้อมูลและการวิเคราะห์ผล สรุปประมวลผลและรายงานผลงานในเชิง
วิศวกรรมไดอ้ ยา่ งมมี าตรฐาน

PLO3 Sub1: ออกแบบกระบวนการดำเนินงานในการศึกษาพัฒนางาน และแก้ปัญหาอย่างเป็น
ระบบ

PLO3 Sub2: ดำเนินการวิเคราะห์ และประมวลผลไดอ้ ย่างสมเหตุสมผล
PLO3 Sub3: สามารถรายงานผลการดำเนินงานไดอ้ ย่างมมี าตรฐาน

4. PLO4 แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ การสื่อสารที่ดี การทำงานร่วมกับผู้อื่น มีภาวะผู้นำตามวุฒิภาวะ
และบรรทัดฐานทางสังคม

PLO4 Sub1: สามารถปรบั ตวั และเขา้ ใจการทำงานเปน็ ทีมในสภาวะแวดล้อมต่างๆ
PLO4 Sub2: แสดงบทบาทเปน็ ท่ีพ่งึ ในการทำงาน
PLO4 Sub2: แสดงออกถงึ บคุ ลิกภาพที่เหมาะสม

มคอ.2 41

5. PLO5 แสดงออกถึงจิตสำนกึ การมีความรบั ผิดชอบต่อสังคม และความมีจริยธรรมและจรรยาบรรณในการ
ประกอบอาชีพ

PLO5 Sub1: ตระหนกั ถึงความปลอดภัยในงานด้านวิศวกรรมและสงั คม
PLO5 Sub2: ประยุกต์ใช้หลักการทางวิศวกรรมในการปฎิบัติหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง และรับผิดชอบต่อ
สังคม

มคอ.2 42

3.4 แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบตอ่ ผลการเรียนรูห้ มวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป

• ความรับผดิ ชอบหลัก  ความรับผดิ ชอบรอง

5 .ทักษะการ

วเิ คราะห์เชงิ

หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป 1. คุณธรรมจรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะความสมั พันธร์ ะหวา่ ง ตวั เลขการ
ปัญญา บคุ คลและความรับผดิ ชอบ ส่ือสารและ

เทคโนโลยี

สารสนเทศ

(1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3) (4) (1) (2) (3) (1) (2) (3) (4) (5) (1) (2) (3)

PLO 1. มคี ุณธรรมจริยธรรมในการดำเนนิ ••••o o•ooooooooo••oo
ชวี ติ บนพ้นื ฐานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

PLO 2. ตระหนักและสำนึกในความเปน็ ไทย • o • o • o o o o • o o o o o • o o • o

PLO 3. มีความรอบรอู้ ยา่ งกว้างขวาง มีโลก o o o • • • o • o o o o • o • o • o o o

ทัศนก์ ว้างไกล เข้าใจและเห็นคุณค่าของ
ตนเอง ผ้อู ่นื สงั คม ศลิ ปวัฒนธรรมและ
ธรรมชาติ

PLO 4. มีทักษะการแสวงหาความรูต้ ลอดชวี ิต o • o • o • o • • • • • o • o o o • • •

เพอ่ื พฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนื่อง

PLO 5. มีทกั ษะการคิดแบบองคร์ วม o••ooo•oo•••ooooo•••

PLO 6. มีจติ อาสาและสำนึกสาธารณะ เป็น o o • o o o o o o o o o • o o • o o o o

พลเมืองทีม่ คี ุณค่าของสังคมไทยและสงั คมโลก

PLO 7. ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งรู้เท่าทัน o • • o o • o o • o o o o o o o o • o •

PLO 8. ใช้ภาษาในการสือ่ สารอยา่ งมี ooooo••o•ooo•ooooo••
ประสิทธภิ าพ

มคอ.2 43

3.5 แผนทแี่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบตอ่ ผลการเรยี นรูต้ ามหลักสตู ร
• ความรับผิดชอบหลัก  ความรบั ผิดชอบรอง

Knowledge ID 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปญั ญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทกั ษะการวเิ คราะห์
จรยิ ธรรม ระหวา่ งบคุ คล เชงิ ตัวเลขการสอ่ื สาร
234512345
Program Learning Outcome 123451 • • และความรบั ผิดชอบ และเทคโนโลยี
ของหลกั สูตร 12345 สารสนเทศ
PLO1 ประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎีพื้นฐาน  • •  1 234 5
ทางวิศวกรรมกับการใช้งานวิชาชีพ โดย • ••
•
แสดงออกถึงความเข้าใจในศาสตร์ ด้าน ••
วิศวกรรมพื้นฐานของสาขาวิศวกรรมโยธา ••
สำหรับการประกอบวิชาชีพและประยุกต์ใช้ • •
องคค์ วามรใู้ นการปฏิบตั ิงานจริง
PLO2 ประยุกต์ใช้ โปรแกรมทางวิศวกรรม  
โยธา เครื่องมือดิจิทัลทางวิศวกรรม หรือ • •• •

เทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เหมาะสม เพื่อการ
ปฏิ บัติงานใ นการสร้ างคุ ณค ่าให้แก่
ภาคอตุ สาหกรรมอยา่ งมอื อาชพี
PLO3 สามารถแก้ปัญหาหรือพัฒนางานได้
อย่างเป็นระบบ และสามารถศึกษาเรียนรู้ได้  •• •• •

ด้วยตนเอง แสดงถึงความสามารถในคิด
วิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย การ

มคอ.2 44

Knowledge ID 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปญั ญา 4. ทกั ษะความสัมพนั ธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์
จรยิ ธรรม 2345 12345 ระหวา่ งบุคคล เชงิ ตวั เลขการส่อื สาร

Program Learning Outcome 123451  • และความรบั ผดิ ชอบ และเทคโนโลยี
ของหลักสตู ร • • • 12345 สารสนเทศ
กำหนดประเด็น การศึกษาค้นคว้าข้อมูล การ 1 234 5
ออกแบบวิธีการ การลงมือทำเก็บบันทึกขอ้ มลู  •
และการวิเคราะห์ผล สรุปประมวลผลและ •• •
รายงานผลงานในเชิงวิศวกรรมได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ  •
PLO4 แสดงออกถึงการมีมนุษย์สัมพันธ์ การ
สื่อสารทด่ี ี การทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื มีภาวะผู้นำ •  • •

ตามวฒุ ภิ าวะและบรรทดั ฐานทางสงั คม
PLO5 แสดงออกถึงจิตสำนึกการมีความ
รับผิดชอบต่อสังคม และความมีจริยธรรมและ   •

จรรยาบรรณในการประกอบอาชพี

มคอ.2 45

3.6 แผนทีแ่ สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนร้จู ากหลกั สูตรสรู่ ายวชิ า (Curriculum Mapping)

• ความรับผดิ ชอบหลัก  ความรบั ผดิ ชอบรอง

รายวชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ 5. ทกั ษะการวิเคราะห์
ระหวา่ งบคุ คลและความ เชงิ ตัวเลขการส่ือสาร

รับผดิ ชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ

12 3 4512 3 4512 3 4 5 1 234 5 1 2 3 4 5

CHM100 เคมที ่ัวไป ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

CHM110 ปฏบิ ัติการเคมที ัว่ ไป ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

MAT125 คณิตศาสตรว์ ิศวกรรม 1 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

MAT126 คณิตศาสตรว์ ศิ วกรรม 2 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

PHY111 ฟิสิกส์ 1 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

PHY121 ปฏิบตั ิการฟิสิกส์1 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

EGR102 เขียนแบบวศิ วกรรม ⚫    ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

EGR203 การวิเคราะหข์ ้อมูลในงานวศิ วกรรม ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

EGR205 โปรแกรมคอมพิวเตอรส์ ำหรบั วศิ วกร ⚫    ⚫  ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫

EGR210 วสั ดวุ ศิ วกรรม  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  • ⚫ ⚫ ⚫
EGR220 กลศาสตร์วศิ วกรรม ⚫
⚫    ⚫  ⚫ ⚫ ⚫

CEG211 กำลังวัสดุ 1 ⚫  ⚫⚫ ⚫⚫    ⚫    ⚫

CEG212 ปฏบิ ัติการทดสอบวัสดุ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫

CEG215 ทฤษฎโี ครงสรา้ ง ⚫  ⚫⚫  ⚫   ⚫    ⚫

CEG251 ชลศาสตร์ ⚫  ⚫⚫ ⚫⚫    ⚫    ⚫

CEG252 ปฏิบตั ิการชลศาสตร์ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫

CEG270 หลักวิศวกรรมสำรวจ ⚫  ⚫⚫ ⚫⚫    ⚫    ⚫

มคอ.2 46

รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา 4. ทกั ษะความสัมพันธ์ 5. ทกั ษะการวิเคราะห์
ระหวา่ งบุคคลและความ เชงิ ตัวเลขการสื่อสาร
CEG272 ปฏบิ ตั ิการสำรวจ
CEG313 เทคโนโลยคี อนกรีตขน้ั พ้นื ฐาน รับผดิ ชอบ และเทคโนโลยี
CEG317 การวิเคราะหโ์ ครงสร้าง สารสนเทศ
CEG326 การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก 12 3 4512 3 4512 3 4 5 1234 5
CEG328 การออกแบบคอนกรตี เสรมิ เหลก็ 12345
CEG332 หลกั ปฐพกี ลศาสตร์
CEG334 ปฏบิ ตั ิการปฐพีกลศาสตร์ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫⚫⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
CEG335 วศิ วกรรมฐานราก
CEG341 วิศวกรรมการขนสง่ ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫⚫  ⚫  ⚫  ⚫
CEG374 ปฏิบัติการสำรวจภาคสนาม
CEG410 การเรียนรู้วิศวกรรมโยธาด้วยโครงงาน ⚫  ⚫⚫ ⚫⚫    ⚫  ⚫
CEG422 การออกแบบอาคาร
CEG451 วศิ วกรรมชลศาสตร์ ⚫  ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫  ⚫⚫  ⚫
CEG480 วิศวกรรมการกอ่ สรา้ งและการจัดการ
CEG498 เตรยี มสหกจิ ศึกษาวศิ วกรรมโยธา ⚫  ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫ ⚫  ⚫⚫  ⚫
CEG499 สหกจิ ศึกษาวศิ วกรรมโยธา
CEG303 คอมพิวเตอรป์ ระยกุ ต์สำหรับวิศวกรโยธา ⚫  ⚫⚫  ⚫   ⚫  ⚫
CEG393 การฝกึ งานสำหรับวศิ วกรรมโยธา
CEG400 สมั มนาวิศวกรรมโยธา ⚫  ⚫ ⚫  ⚫  ⚫   ⚫ ⚫
CEG491 การเตรยี มโครงงานวศิ วกรรมโยธา
⚫   ⚫ ⚫   ⚫  ⚫   ⚫  ⚫

⚫⚫ ⚫⚫ ⚫⚫  ⚫  ⚫  ⚫

⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫   ⚫⚫ ⚫ ⚫

 ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫  ⚫⚫ ⚫

 ⚫⚫⚫ ⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫  ⚫  ⚫

⚫  ⚫ ⚫ ⚫⚫ ⚫  ⚫  ⚫

⚫  ⚫⚫⚫ ⚫⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫

 ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫   ⚫  ⚫ ⚫

 ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫  ⚫⚫⚫  ⚫ ⚫

⚫    ⚫  ⚫ ⚫  ⚫⚫ ⚫ ⚫⚫

 ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫⚫⚫  ⚫ ⚫

⚫ ⚫  ⚫   ⚫    ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫

⚫ ⚫     ⚫   ⚫    ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫⚫

มคอ.2 47

4. ทักษะความสัมพนั ธ์ 5. ทกั ษะการวิเคราะห์
ระหว่างบุคคลและความ
รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทกั ษะทางปัญญา เชิงตัวเลขการสอื่ สาร
รบั ผิดชอบ
CEG493 โครงงานสำหรบั วิศวกรรมโยธา และเทคโนโลยี
CEG363 หลักการจดั การส่ิงแวดลอ้ มสำหรับวิศวกร สารสนเทศ
โยธา
CEG406 ระบบอาคารและการกอ่ สรา้ ง 12 3 4512 3 4 51234 5 1234 5 12345
CEG408 การประยกุ ตค์ อมพิวเตอรใ์ นงานวศิ วกรรม
โยธา ⚫ ⚫     ⚫  ⚫   ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫⚫
CEG421 การออกแบบคอนกรีตอดั แรง ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
CEG482 การประมาณราคาก่อสร้างและการประมลู  ⚫
CEG364 การจัดการโครงสรา้ งพนื้ ฐานสำหรบั การ ⚫  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫⚫  ⚫
พัฒนาเมือง ⚫    ⚫  ⚫ ⚫  ⚫   ⚫⚫ ⚫  ⚫
CEG441 วิศวกรรมการทาง ⚫ 
CEG446 วิศวกรรมระบบราง ⚫⚫⚫
CEG455 การออกแบบระบบทางวิศวกรรมชลศาสตร์
CEG472 การประยุกตร์ ะบบสารสนเทศทางภมู ศิ าสตร์  ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
ในงานวิศวกรรมโยธา
CEG426 การวบิ ัตแิ ละการซอ่ มแซมโครงสร้าง   ⚫ ⚫ ⚫   ⚫⚫⚫  ⚫   ⚫
CEG473 การแกป้ ญั หาภัยพิบัตทิ างธรรมชาติเชงิ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
วิศวกรรม
CEG488 การตรวจสอบคุณภาพและประเมนิ ผลทาง ⚫⚫ ⚫⚫ ⚫⚫  ⚫ ⚫   ⚫
วศิ วกรรมโยธา ⚫ 
  ⚫ ⚫ ⚫   ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫
  ⚫ ⚫ ⚫   ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫⚫   ⚫

  ⚫  ⚫ ⚫  ⚫⚫⚫ ⚫   ⚫ ⚫

  ⚫  ⚫   ⚫⚫⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
  ⚫  ⚫ ⚫  ⚫    ⚫ ⚫⚫ 
 ⚫
  ⚫    ⚫ ⚫⚫⚫  ⚫ ⚫
⚫

มคอ.2 48

รายวชิ า 1. คุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์
ระหวา่ งบุคคลและความ เชิงตวั เลขการสือ่ สาร
CEG496 หัวข้อพิเศษทางวศิ วกรรมโยธา 1
CEG497 หวั ขอ้ พเิ ศษทางวิศวกรรมโยธา 2 รับผดิ ชอบ และเทคโนโลยี
CEG181 การประมาณราคางานก่อสร้าง สารสนเทศ
CEG182 กลยทุ ธ์การประมาณงานก่อสรา้ ง 12 3 4512 3 4512 3 4 5 1 234 5 12345
CEG183 การบริหารสญั ญาในงานกอ่ สร้าง
CEG184 การใช้แบบจำลองสารสนเทศอาคารในการ   ⚫  ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫  ⚫      ⚫
บริหารงานก่อสร้าง   ⚫  ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫     ⚫
CEG185 เทคโนโลยีดิสรับชั่นในอตุ สาหกรรมก่อสรา้ ง
•  •   • •   •  •
•  •   • •   •  •
•  •   • •   •  •
•  •   • •   •  •

•  •   • •   •  •

มคอ.2 49

หมวดท่ี 5 หลักเกณฑใ์ นการประเมินผลนักศกึ ษา

1. กฎระเบียบหรอื หลกั เกณฑ์ ในการให้ระดบั คะแนน (เกรด)
การวดั ผลและการสำเร็จการศึกษาเป็นไปตามระเบียบมหาวทิ ยาลัยศรีปทมุ ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธขิ์ องนกั ศกึ ษา
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนกั ศกึ ษายังไม่สำเรจ็ การศกึ ษา
การทวนสอบในระดับรายวิชามีการประเมินทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติและมีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

พิจารณาข้อสอบในการวัดผลการเรยี นรตู้ ามทีก่ ำหนดไว้ใหเ้ ป็นไปตามแผนการสอน
การทวนสอบในระดับหลักสูตรมีระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้

ของนักศึกษา
มกี ารประเมินการสอนของผสู้ อนโดยนกั ศึกษาเพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพการเรยี นรู้ของนักศึกษา

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลงั จากนักศกึ ษาสำเรจ็ การศกึ ษา
การกำหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ควรเน้นการทำวิจัยสัมฤทธิผลของการ

ประกอบอาชีพของบัณฑิต ที่ทำอย่างต่อเนื่องและนำผลวิจัยที่ได้ย้อนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน
และหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหน่วยงานโดยองค์กรระดับสากล โดยการ
วิจัยอาจจะดำเนนิ การดงั ตัวอย่างต่อไปน้ี

(1) ภาวะการได้งานทำของบัณฑิต ประเมนิ จากบัณฑิตแต่ละรนุ่ ที่จบการศึกษา ในด้านของระยะเวลาในการ
หางานทำ ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมน่ั ใจของบัณฑติ ในการประกอบการงานอาชีพ

(2) การตรวจสอบจากผู้ประกอบการ โดยการขอเข้าสัมภาษณ์ หรือ การแบบส่งแบบสอบถาม เพื่อประเมิน
ความพึงพอใจในบัณฑิตที่จบการศึกษาและเข้าทำงานในสถานประกอบการนั้น ๆ ในคาบระยะเวลาต่างๆ เช่น ปีที่ 1
ปที ี่ 5 เป็นตน้

(3) การประเมินตำแหนง่ และหรือความก้าวหนา้ ในสายงานของบณั ฑติ
(4) การประเมินจากบัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพ ในด้านความพร้อมและความรู้จากสาขาวิชาที่เรียน รวมทั้ง
สาขาอื่น ๆ ที่กำหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของบัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาสให้เสนอข้อคิดเห็น
ในการปรบั หลักสูตรให้ดียิ่งข้นึ ดว้ ย
(5) ความเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ที่มาประเมินหลักสูตร หรือ เป็นอาจารย์พิเศษ ต่อความพร้อมของ
นกั ศึกษาในการเรยี น และสมบตั อิ ื่นๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั กระบวนการเรยี นรู้ และการพฒั นาองคค์ วามรขู้ องนกั ศึกษา
(6) ผลงานของนกั ศึกษาทวี่ ดั เป็นรูปธรรมไดซ้ ง่ึ อาทิ

- จํานวนสง่ิ ประดิษฐห์ รอื นวตั กรรมที่สามารถนาํ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ ริงในอตุ สาหกรรมหรอื ชุมชน
- ผลงานสิ่งประดิษฐ์ วิชาการ ทีไ่ ด้รับการยอมรับและเผยแพร่ในวงการวชิ าชีพและวิชาการ
- จํานวนสทิ ธบิ ตั ร
- จํานวนรางวลั ทางสังคมและวิชาชีพ
- จํานวนกิจกรรมการกศุ ลเพอื่ สังคมและประเทศชาติ


Click to View FlipBook Version