คำนำ
จุดประสงค์ของการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสุขไพบูลย์วิริยะวิทยา พุทธศักราช 2561
(ฉบับปรับปรุงมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด พุทธศักราช 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือใช้ในการบริหารจัดการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน ให้เกิดการเรียนตามธรรมชาติ
และเต็มศกั ยภาพ และมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสภาพการเปลยี่ นแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและ
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ สนองนโยบายคุณธรรมนาความรู้ ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน
ชุมชน ท้องถ่ินและสังคม ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ ตามประกาศกระทรวง
ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ใน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
ในการจัดทาคร้ังนี้ได้ทาการประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ศึกษาสภาพปัญหา บริหารการจัด
การศึกษา แต่งตั้งคณะทางาน วางแผนการปรับปรุงหลักสูตร ประเมินผลการใช้หลักสูตรก่อนใช้ ระหว่างใช้
และหลังใช้ เชงิ ระบบ
ขอขอบคุณ ประธานกรรมการสถานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ประธานตัวแทนผู้ปกครอง คณะครูและ
บุคลากรการศึกษาทุกท่าน คณะผู้เชี่ยวชาญ คณะศึกษานิเทศก์ สานักการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
องคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั นครราชสมี า ทใี่ หก้ ารสนับสนุนรว่ มมอื พฒั นาจนแลว้ เสร็จ
1.1 ความนา
กระแสโลกาภิวัตน์และความเปล่ียนแปลงของโลกที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว ทั้งด้านวิทยาการ สังคม
เศรษฐกิจฐานความรู้ (Knowledge-based Economy) และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้
แต่ละประเทศไมส่ ามารถปิดตัวอยู่โดยลาพัง จะต้องร่วมมือและพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกนั การดารงชีวิตของคน
ในแต่ละประเทศมีการติดต่อส่ือสารซ่ึงกันและกันมากขึ้น มีความร่วมมือในการปฏิบัติภารกิจและแก้ปัญหา
ต่างๆร่วมกันมากขึ้น ในขณะเดียวกัน สังคมโลกในยุคปัจจุบันก็เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร ทาให้คนต้องคิด
วเิ คราะห์ แยกแยะ และมีการตัดสินใจที่รวดเร็ว เพ่ือให้ทันกับเหตุการณ์ในสังคมท่ีมีความสลับซับซ้อนมากข้ึน
ส่ิงเหล่านี้นาไปสู่สภาวการณ์ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ อย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ และเป็นแรงผลักดันสาคัญที่ทาให้หลายประเทศต้องปฏิรูปการศึกษา คุณภาพของการจัด
การศึกษาจึงเป็นตัวบ่งช้ีท่ีสาคัญประการหน่ึงสาหรับความพร้อมในการเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 และศักยภาพ ใน
การแขง่ ขันในเวทโี ลกของแต่ละประเทศ ดังนน้ั ประเทศท่ีจะอยู่รอดไดห้ รอื คงความได้เปรียบก็คอื ประเทศ ที่มี
อานาจทางความรู้ และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ (Learning Society) นอกจากนัน้ ในปจั จุบนั ยงั ปรากฏสภาพ
ปัญหาท่ีคนทั่วโลกต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ร่วมกัน ในเรื่องความเส่ือมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม ที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อมวลมนุษย์โดยทั่วไป สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มว่าคนยุคใหม่
จะต้องเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอันหลากหลาย เป็นสัญญาณเตือนว่าโลกในยคุ หน้าจะมีปรากฏการณ์ต่างๆ
เกิดข้ึนเกินกว่าจะคาดคิดถึง ด้วยเหตุนี้จาเป็นอย่างยิ่งท่ีแต่ละประเทศต้องเตรียมคนรุ่นใหม่ท่ีมีทักษะ
และความสามารถในการปรับตัวให้มีคุณลักษณะสาคัญในการดารงชีวิตในโลกยุคใหม่ได้อย่างรู้เท่าทัน สงบ
สนั ติ มีความสขุ มคี ุณภาพชวี ติ ทด่ี เี หมาะสมเพียงพอ การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นพลวตั น์
ก้าวทันกบั สง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีเปลีย่ นแปลง
การศึกษาทงั้ ปวงต้องมุง่ พัฒนาผู้เรยี นใหเ้ ป็นคนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติสามารถเช่ียวชาญได้ ตามความ
ถนดั ของตนและมคี วามรับผิดชอบตอ่ ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ (รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั ร
ไทย พุทธศักราช 2560 ) สอดคล้องกับกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประเทศไทย 4.0 ในโลกศตวรรษที่ 21 มี
ศักยภาพในการแขง่ ขนั และการดารงชีวติ อย่างสร้างสรรค์ในประชาคมโลก
โรงเรียนสุขไพบลู ยว์ ิรยิ ะวทิ ยา ได้มีการปรบั เปล่ียนเพื่อเพ่ิมศักยภาพการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
ให้มีความพรอ้ ม เพอ่ื ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรยี นบริบทของชุมชน เสริมสรา้ งบรรยากาศแห่งการเรียนรู้
เน้นการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน นาเทคโนโลยีมาใช้ในการ
จัดการเรียนการสอนเพ่ือให้นักเรียนสามารถสร้างนวัตกรรมท่ีเกิดจากความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ยกระดับ
การศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน มีเน้ือหาสาระตรง
ตามมาตรฐาน และฝึกทักษะสมรรถนะเพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนสะท้อนความเป็นพลเมืองไทย 4.0 ซ่ึงมี
สมรรถนะสาคญั ในศตวรรษ ที่ 21 ดงั น้ี
1. ผูเ้ รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติ
ตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา และศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักการดาเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
2. ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยแี ละมีทักษะ
ชีวติ
3. ผ้เู รียนมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี มีสขุ นิสยั และรกั การออกกาลงั กาย
4. ผู้เรียนมีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย และพลเมืองโลก ต้ังม่ันในวิถีชีวิต
และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นพระประมุข
5. ผเู้ รียนมีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม
มีจิตสาธารณะ
ปฏริ ปู การเรียนรู้ (Active Learning)
1. การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต
• การอา่ นสบื ค้น คิด เขียนสอ่ื ความ
• การสอื่ สาร และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
• การคดิ วเิ คราะห์ ตดั สินใจ แกป้ ัญหา
2. กระบวนการเรียนรู้
• การศกึ ษาคน้ คว้า (IS)
• Project Based Learning (PBL)
• Problem Based Learning
• STEM Based Learning
3. กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้
• พฒั นาศักยภาพการเรยี นรู้
• พัฒนาทักษะการคดิ ระดบั สูง
• พฒั นาทักษะชวี ติ และการทางาน
4. เสริมสรา้ งคา่ นยิ มหลัก 12 ประการ
5. เสรมิ สร้างการเปน็ พลเมอื งไทย 4.0
• สามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองตลอดชีวติ
• เสริมสร้างคณุ ภาพชีวติ และการทางาน
• สามารถเรยี นรู้ สบื ค้น และสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม
• สามารถใช้สารสนเทศเพือ่ การเรยี นรู้
• มขี ีดความสามารถในการแขง่ ขันเปน็ กาลังสาคัญของท้องถ่ินและประเทศ
1.2 วสิ ยั ทศั นโ์ รงเรยี น
โรงเรยี นสุขไพบูลย์วิริยะวิทยามสี ิ่งแวดล้อมรื่นรมย์ สงั คมแห่งการเรียนรู้ ก้าวสเู่ ทคโนโลยี มคี วามเป็น
ไทย ใชช้ ีวิตพอเพยี ง
พันธกิจ ( Mission )
1. ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
2. สง่ เสริมและพัฒนาผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีความรู้ ความสามารถดา้ นวชิ าการและ
ความคดิ รเิ รมิ่ สร้างสรรค์
3. ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและมคี ่านิยมที่พงึ ประสงค์
4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรมีประสิทธิภาพทางด้านวิชาการ คุณธรรม จริยธรรมและเป็น
แบบอยา่ งทด่ี ี
5. สง่ เสริมและพฒั นาความร่วมมือจากชมุ ชน องค์กรภายนอกเพ่อื พฒั นาการศกึ ษาของโรงเรยี นใน
ทุกดา้ น
6. เสรมิ สรา้ งบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในโรงเรยี นโดยเน้นการมีสว่ นรว่ มของบุคลากรทกุ ฝา่ ย
7. พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ ใหท้ นั สมัยและเพียงพอต่อการให้บริการแก่นักเรียนและชุมชน
เปา้ หมายของการจัดการศึกษาของโรงเรียน
โรงเรยี นสขุ ไพบลู ยว์ ริ ิยะวทิ ยามีเป้าหมายของการจัดการศึกษา ดงั นี้
1. ผเู้ รียนทุกคนเข้าถงึ การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน
2. ผเู้ รียนทุกคนไดร้ บั บริการการศึกษาที่มีคณุ ภาพตามมาตรฐานอยา่ งเท่าเทยี ม
3. นกั เรียนทกุ คนเขา้ ถึงเทคโนโลยีและสารสนเทศ สามารถนาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
4. สถานศกึ ษามแี หลง่ เรยี นรู้ที่ส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
5. นักเรยี นเป็นพลเมืองดี มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และมจี ติ สาธารณะ
จุดหมายของหลักสูตร
โรงเรยี นสุขไพบลู ย์วริ ิยะวทิ ยามจี ุดหมายของหลกั สูตร ดังนี้
1. เพอื่ พัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาให้มีคณุ ภาพและมีประสิทธภิ าพ
2. เพือ่ นาหลักสตู รไปประยุกตใ์ ชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
1.3 สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
หลักสตู รโรงเรียนสขุ ไพบูลย์วิรยิ ะวิทยา มงุ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สกึ และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด
ปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลอื กใช้วิธกี ารสือ่ สาร ท่มี ีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบทมี่ ีตอ่ ตนเองและสงั คม
2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสกู่ ารสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพ่ือการตัดสินใจเกยี่ วกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เปน็ ความสามารถในการแกป้ ัญหาและอปุ สรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ปญั หา และมกี ารตัดสนิ ใจท่มี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึน้ ต่อตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางาน และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตวั ให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อมและการรู้จกั หลกี เล่ียงพฤติกรรม
ไม่พงึ ประสงคท์ สี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อืน่
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสารการทางาน
การแก้ปญั หาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม
1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนสุขไพบูลย์วิริยา มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้สามารถอยู่
รว่ มกับผอู้ น่ื ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซือ่ สตั ยส์ จุ ริต
3. มวี นิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มีจติ สาธารณะ
1.5 คา่ นิยมหลกั ของคนไทย 12 ประการ ของ คสช.
1. มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
2. ซ่ือสตั ย์ เสียสละ อดทน
3. กตัญญูต่อพอ่ แม่ ผ้ปู กครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมน่ั ศึกษาเล่าเรยี นทงั้ ทางตรงและทางอ้อม
5. รักษาวฒั นธรรมประเพณไี ทย
6. มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์
7. เข้าใจเรยี นรู้การเปน็ ประชาธปิ ไตย
8. มีระเบียบ วนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรจู้ กั การเคารพผ้ใู หญ่
9. มีสตริ ู้ตวั รคู้ ดิ รทู้ า
10.รจู้ กั ดารงตนอยู่โดยใช้หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
11.มีความเข้มแขง็ ทงั้ ร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝา่ ยตา่
12.คานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของสว่ นรวมมากกว่าผลประโยชนส์ ว่ นตน
หลักสตู รวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ตวั ช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้กาหนดสาระการเรียนรู้
ออกเปน็ 4 สาระ ได้แก่ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์
โลก และอวกาศ และสาระท่ี 4 เทคโนโลยี มีสาระเพิ่มเตมิ 4 สาระ ได้แก่ สาระชวี วิทยา สาระเคมี สาระฟิสิกส์
และสาระโลกดาราศาสตร์ และอวกาศ
องคป์ ระกอบของหลักสูตรทั้งในด้านของเน้ือหา การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล
การเรียนรู้น้ัน มคี วามสาคัญอย่างย่ิงในการวางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรยี นในแตล่ ะระดบั ชน้ั ให้มี
ความตอ่ เน่ืองเชอื่ มโยงกนั ตั้งแต่ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 จนถึงช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรบั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้กาหนดตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางท่ีผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนเป็ น
พนื้ ฐาน เพื่อให้สามารถนาความรู้นี้ไปใช้ในการดารงชีวติ หรือศึกษาต่อในวิชาชีพที่ต้องใช้วิทยาศาสตร์ได้ โดย
จัดเรียงลาดับความยากง่ายของเนื้อหาในแต่ละระดับช้ันให้มีการเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการเรียนรู้ และ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนาความคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิด
วิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สาคัญ ท้ังทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการ
ค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถ
ตัดสินใจโดยใช้ขอ้ มูลหลากหลายและประจักษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้
ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ ได้ปรับปรุงเพ่ือให้มี
ความสอดคล้องและเช่อื มโยงกันภายในสาระการเรียนรู้เดียวกัน และระหว่างสาระการเรียนรใู้ นกล่มุ สาระการ
เรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ตลอดจนการเชื่อมโยงเนื้อหาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ด้วย นอกจากน้ี ยังได้
ปรบั ปรุงเพือ่ ให้มคี วามทนั สมยั ต่อการเปลยี่ นแปลงและความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการต่าง ๆ ให้ทดั เทียมกับ
นานาชาติ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สรุปเปน็ แผนภาพได้ดงั น้ี
สาระท่ี 1 สาระที่ 2 สาระท่ี 3
วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ วทิ ยาศาสตรโ์ ลกและ
- มาตรฐาน ว 1.1 -ว -มาตรฐาน ว 2.1 - ว
2.3 อวกาศ
1.3 -มาตรฐาน ว 3.1 - ว
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ 3.2
สาระที่ 4
เทคโนโลยี
-มาตรฐาน ว 4.1 - ว
4.2
วทิ ยาศาสตรเ์ พม่ิ เติม • สาระชวี วิทยา • สาระเคมี • สาระฟสิ กิ ส์
• สาระโลก ดาราศาสตร์ และ อวกาศ
หลักสตู รสถานศกึ ษา กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรับปรุง 2563)
วสิ ัยทัศน์
นักเรียนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะ
สาคัญในการคน้ คว้าหาความรู้ มคี วามสามารถในการแก้ปัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ สามารถตัดสินใจโดยใชข้ ้อมูล
หลากหลายและมีประจักษ์พยานท่ีตรวจสอบได้ เพ่ือท่ีจะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและเทคโนโลยีท่ี
มนษุ ยส์ ร้างสรรคข์ ้ึน สามารถนาความรไู้ ปใชอ้ ย่างมีเหตผุ ล สรา้ งสรรคแ์ ละมีคณุ ธรรม
หลกั การของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับทุก
คนท้ังในชีวิตประจาวันและการงานอาชีพต่าง ๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เคร่ืองมือเคร่ืองใช้และผลผลิตต่าง ๆ
ที่มนุษย์ได้ใช้เพื่ออานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน เหล่านี้ล้วนเป็นผลของความรู้วิทยาศาสตร์
ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์และศาสตร์อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ช่วยให้มนุษย์ได้พัฒนาวิธีคิด ท้ังความคิดเป็น
เหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหาความรู้ มีความสามารถใน
การแกป้ ัญหาอย่างเปน็ ระบบ สามารถตดั สินใจโดยใช้ข้อมูลที่หลากหลายและมีประจักษ์พยานทต่ี รวจสอบได้
วิทยาศาสตร์เป็นวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ซึ่งเป็นสังคมแห่งการเรียนเรียนรู้ (K knowledge-based society)
ดังนั้น ทุกคนจึงจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาให้รู้วิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะมีความรู้ความเข้าใจในธรรมชาติและ
เทคโนโลยีท่มี นษุ ยส์ ร้างสรรคข์ ึ้น สามารถนาความร้ไู ปใชอ้ ยา่ งมีเหตุผล สรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม
จุดมุง่ หมายของวิทยาศาสตร์
ในกระบวนการเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์มงุ่ เน้นให้ผู้เรียนไดค้ ้นพบความรู้ด้วยตนเองมากท่ีสดุ เพือ่ ให้
ไดท้ ้ังกระบวนการและความรู้ จากวิธกี ารสงั เกต การสารวจตรวจสอบ การทดลอง แล้วนาผลท่ไี ด้มาจัดระบบ
เปน็ หลกั การแนวคิดและองคค์ วามรู้ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ ึงมีเป้าหมายสาคญั ดังน้ี
1. เพ่ือให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎี และกฎทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานในวชิ าวทิ ยาศาสตร์
2. เพอ่ื ให้เขา้ ใจขอบเขตของธรรมชาติของวชิ าวทิ ยาศาสตร์และข้อจากัดในการศกึ ษาวิชา
วทิ ยาศาสตร์
3. เพอ่ื ให้มีทักษะทส่ี าคัญในการศึกษาค้นควา้ และคดิ คน้ ทางเทคโนโลยี
4. เพื่อให้ตระหนักถึงความสาคัญระหวา่ งวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนุษย์และ
สภาพแวดล้อมในเชงิ ที่มีอทิ ธิพลและผลกระทบซึ่งกนั และกัน
5. เพ่ือนาความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยไี ปใช้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อสังคม
และการดารงชวี ติ
6. เพ่อื พฒั นากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ัญหา และการจดั การ
ทักษะในการสอื่ สาร และความสามารถในการตัดสินใจ
7. เพ่ือให้เป็นผทู้ ม่ี ีจติ วิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมในการใช้วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
เรยี นรอู้ ะไรในวิทยาศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรม์ ุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ท่เี น้นการเช่ือมโยง ความร้กู ับ
กระบวนการ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการใน การสืบเสาะหาความรู้
และแก้ปัญหาท่ีหลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกข้ันตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือ
ปฏิบตั จิ รงิ อย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชน้ั โดยกาหนด สาระสาคัญ ดังน้ี
1. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตการ
ดารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์การดารงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการ
ของสง่ิ มชี วี ิต
2. วิทยาศาสตร์กายภาพ เรยี นรู้เกี่ยวกบั ธรรมชาติของสาร การเปลยี่ นแปลงของสาร การเคล่อื น
ท่ี พลงั งาน และคลนื่
3. วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เก่ียวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายใน
ระบบสุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปล่ียนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปล่ียนแปลงลมฟ้า
อากาศ และผลต่อสงิ่ มีชีวิตและสง่ิ แวดลอ้ ม
4. เทคโนโลยี
4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี
เรียนรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิต ในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้
ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนางานอย่างมี
ความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยี อย่างเหมาะสมโดยคานึงถึง
ผลกระทบต่อชีวติ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม
4.2 วทิ ยาการคานวณ
เรียนรู้เก่ียวกับ การคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็นข้ันตอนและ เป็นระบบ
ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ในการแกป้ ัญหาที่พบ
ในชีวติ จรงิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคม ท่ีมีการเปล่ียนแปลง
อย่างรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่อื แกป้ ัญหาหรือพัฒนา
งานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม
โดยคานึงถึงผลกระทบตอ่ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง อย่างเป็น ขั้นตอน
และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปัญหาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมจี รยิ ธรรม
คณุ ภาพผู้เรยี น (สาระท่ี 4 เทคโนโลยี)
จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
1. เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือ คณิตศาสตร์ วิเคราะห์ เปรียบ
เทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคานึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้
ความรู้ทักษะ และทรัพยากรเพื่อออกแบบและสร้าง ผลงานสาหรับ การแก้ปัญหาในชีวิตประจาวันหรือการ
ประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม รวมท้ังเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์และเคร่ืองมือได้อย่าง
ถกู ตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รวมทงั้ คานึงถงึ ทรัพย์สนิ ทาง
2. นาข้อมูลปฐมภมู ิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมนิ นาเสนอขอ้ มูล และสารสนเทศได้ตาม
วัตถุประสงค์ ใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่างง่ายเพ่ือ
ช่วยในการแกป้ ญั หา ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสือ่ สาร อย่างรู้เท่าทันและรับผิดชอบต่อสงั คม
3. ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาที่เชื่อมโยงกับพยานหลักฐาน หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีการ
กาหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคาตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐาน ท่ีสามารถ นาไปสู่การสารวจ
ตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสารวจตรวจสอบโดยใช้วัสดุและเคร่ืองมือ ท่ีเหมาะสม เลือกใช้เคร่ืองมือและ
เทคโนโลยีสารสนเทศท่เี หมาะสมในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล ทง้ั ในเชิงปรมิ าณและ คุณภาพท่ีได้ผลเท่ียงตรงและ
ปลอดภยั
4. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูลที่ได้จากการสารวจตรวจสอบ จากพยานหลักฐาน
โดยใช้ความรแู้ ละหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลงข้อสรุป และสื่อสารความคิด ความรู้
จากผลการสารวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบหรือใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่าง
เหมาะสม
จบชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
1. ระบุปัญหา ต้ังคาถามที่จะสารวจตรวจสอบ โดยมีการกาหนดความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต่าง ๆ
สืบค้นข้อมูลจากหลายแหล่ง ต้ังสมมติฐานท่ีเป็นไปได้หลายแนวทาง ตัดสินใจเลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่
เปน็ ไปได้
2. ตั้งคาถามหรือกาหนดปัญหาที่อยู่บนพ้ืนฐานของความรู้และความเข้าใจทาง วิทยาศาสตร์ ท่ีแสดง
ให้เห็นถึงการใช้ความคิดระดับสูงท่ีสามารถสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้า ได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือ
ได้สร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์ส่ิงท่ีจะพบ เพื่อนา ไปสู่การสารวจตรวจสอบ ออกแบบวิธี
การสารวจตรวจสอบตามสมมติฐานท่ีกาหนดไว้ได้ อยา่ งเหมาะสม มีหลักฐานเชิงประจักษ์ เลือกวัสดุ อุปกรณ์
รวมทั้งวิธีการในการสารวจตรวจสอบ อย่างถูกต้อง ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ และบันทึกผลการสารวจ
ตรวจสอบอยา่ งเปน็ ระบบ
3. วิเคราะห์แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของข้อสรุป เพ่ือตรวจสอบกับ
สมมติฐานที่ตั้งไว้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ จดกระทา ข้อมูล และนาเสนอข้อมูล
ด้วยเทคนคิ วิธที ่เี หมาะสม สอื่ สารแนวคิด ความรู้จากผลการสารวจ ตรวจสอบ โดยการพดู เขยี น จัดแสดงหรือ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ใหผ้ อู้ นื่ เข้าใจโดยมหี ลักฐาน อา้ งองิ หรอื มีทฤษฎรี องรบั
4. แสดงถึงความสนใจ ม่งุ ม่ัน รับผดิ ชอบ รอบคอบ และซือ่ สัตย์ ในการสบื เสาะ หาความรู้ โดยใช้
เครอื่ งมือและวิธีการทใี่ ห้ไดผ้ ลถกู ต้อง เชื่อถอื ได้มีเหตผุ ลและยอมรบั ไดว้ า่ ความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ อาจมกี าร
เปล่ียนแปลงได้
5. แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการค้นพบความรู้พบคาตอบ หรือแก้ปัญหาได้ ทางานร่วม
กบั ผู้อ่ืนอย่างสร้างสรรค์แสดงความคิดเห็นโดยมีข้อมูลอ้างอิงและเหตุผลประกอบ เก่ียวกับ ผลของการพัฒนา
และการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณธรรมต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม และยอมรับฟังความคิดเห็น
ของผอู้ ่นื
6. เข้าใจความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยี ประเภทต่างๆ และการ
พัฒนาเทคโนโลยีท่ีส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยี ต่อชีวิต สังคม
และสงิ่ แวดล้อม
7. ตระหนักถึงความสาคัญและเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีใช้ ใน
ชีวิตประจาวัน ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดารงชีวิต และการประกอบ
อาชีพ แสดงความชื่นชม ภูมิใจ ยกย่อง อ้างอิงผลงาน ช้ินงานที่เป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และการ
พฒั นาเทคโนโลยที ่ีทันสมยั ศึกษาหาความรเู้ พ่มิ เติม ทาโครงงานหรือ สร้างชิน้ งานตามความสนใจ
8 แสดงความซาบซึ้ง ห่วงใย มพี ฤติกรรมเกี่ยวกับการใชแ้ ละรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม
อย่างรู้คณุ ค่า เสนอตวั เองร่วมมือปฏบิ ัติกบั ชมุ ชนในการป้องกัน ดูแล ทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมของ
ทอ้ งถ่ิน
9. วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ได้แก่ ระบบทางเทคโนโลยีท่ีซับซ้อน การเปล่ียนแปลง ของ
เทคโนโลยีความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์ วิเคราะห์
เปรียบเทียบ และตัดสินใจเพื่อเลือกใช้เทคโนโลยีโดยคานึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และ
สิ่งแวดล้อม ประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะ ทรัพยากรเพ่ือออกแบบ สร้างหรือพัฒนาผลงาน สาหรับแก้ปัญหาท่ีมี
ผลกระทบต่อสงั คม โดยใชก้ ระบวนการออกแบบ เชงิ วิศวกรรม ใช้ซอฟต์แวรช์ ่วย ในการออกแบบและนาเสนอ
ผลงาน เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และ เคร่ืองมือได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย รวมทั้งคานึงถึงทรัพย์สินทาง
ปัญญา
10. ใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ส่ือดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพ่ือ
รวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจ
การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมีผลต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช้ อย่างปลอดภัยมี
จริยธรรม
โครงสรา้ งรายวิชา สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
โครงสร้างรายวิชา สาระท่ี 4 เทคโนโลยี กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นสุข
ไพบูลย์วิริยะวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นฐาน
พ.ศ. 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560) มีดงั น้ี
1. รายวชิ าพ้นื ฐาน ระดับชั้นมธั ยมศึกษาตอนตน้
ชนั้ ภาคเรยี นท่ี รายวชิ า หนว่ ยกิต
0.5
ม. 1 1 ว21102 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 0.5
0.5
ม. 1 2 ว21104 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 0.5
ม. 2 1 ว22102 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) 0.5
0.5
ม. 2 2 ว22104 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
ม. 3 1 ว23102 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
ม. 3 2 ว23104 เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
หมายเหตุ หน่วยกติ 0.5 หนว่ ย ใชเ้ วลาเรียน 1 คาบ/สัปดาห์
2. รายวิชาพืน้ ฐาน ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
ชน้ั ภาคเรยี นท่ี รายวิชา หนว่ ยกิต
1.0
ม.4 1 ว31103 เทคโนโลยี
(การออกแบบเทคโนโลยีและวิทยาการคานวณ) 1.0
ม.5 1 ว32103 เทคโนโลยี 1.0
(การออกแบบเทคโนโลยีและวิทยาการคานวณ)
ม.6 1 ว33103 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
-
หมายเหตุ หน่วยกิต 0.5 หนว่ ย ใชเ้ วลาเรยี น 1 คาบ/สัปดาห์
กำรวิเครำะหค์ วำมสัมพันธ์ ตวั ชว้ี ัดและสำระกำรเรยี นรู้
ชั้นมธั ยมศึกษำตอนต้น
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้
กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหสั วชิ า ว21122
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 20 ชว่ั โมง/ภาค จานวน 2.5 หนว่ ยกิต
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มำตรฐำน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่ือการดารงชีวิตในสงั คมทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา
หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอื กใช้
เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสงิ่ แวดล้อม
ช้ัน รหสั ตัวชี้วัด ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระทอ้ งถ่ิน
ม.1 ว 4.1 ม.1/1 1.อธบิ ายแนวคดิ เทคโนโลยี เป็นสงิ่ ทม่ี นุษย์
หลกั ของ สรา้ ง หรอื พัฒนาขึ้น ซ่ึงอาจ
เทคโนโลยีใน เปน็ ได้ทั้งชนิ้ งาน หรือวธิ กี าร
ชวี ติ ประจาวัน เพอ่ื ใชแ้ ก้ปัญหา สนองความ
และวเิ คราะห์ ต้องการ หรอื เพิ่มความสามารถ
สาเหตุ หรือปัจจัย ในการทางานของมนุษย์
ทส่ี ่งผลตอ่ การ ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกล่มุ
เปล่ยี นแปลงของ ของส่วนต่าง ๆ ต้ังแตส่ องสว่ นขน้ึ
เทคโนโลยี ไปประกอบเขา้ ดว้ ยกันและ
ทางานร่วมกันเพื่อให้บรรลุ
วตั ถปุ ระสงค์ โดยในการทางาน
ของระบบทางเทคโนโลยีจะ
ประกอบไปดว้ ยตัวป้อน (input)
กระบวนการ (process) และ
ผลผลิต (output) ที่สัมพันธ์กัน
นอกจากนี้ระบบทางเทคโนโลยี
อาจมีข้อมูลย้อนกลับ
(feedback) เพ่ือใช้ปรับปรุงการ
ทางานได้ตามวัตถปุ ระสงค์ ซ่ึง
การวิเคราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยี
ช่วยให้เข้าใจองคป์ ระกอบและ
การทางานของเทคโนโลยี รวมถึง
สามารถปรับปรงุ ให้เทคโนโลยี
ทางานได้ตามต้องการ
ช้นั รหัสตวั ชี้วัด ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระทอ้ งถิ่น
เทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลง
ตลอดเวลาตัง้ แต่อดตี จนถึง
ปัจจบุ ัน ซึ่งมสี าเหตุหรือปจั จัย
มาจากหลายด้าน เช่น ปัญหา
ความต้องการ ความกา้ วหนา้
ของศาสตรต์ า่ ง ๆ เศรษฐกิจ
สังคม
ว 4.1 ม.1/2 2.ระบปุ ญั หาหรือ ปญั หาหรอื ความต้องการใน
ว 4.1 ม.1/3
ว 4.1 ม.1/4 ความตอ้ งการใน ชวี ิตประจาวนั พบได้จากหลาย
ชวี ิต ประจาวนั บรบิ ทขนึ้ กบั สถานการณ์ที่
รวบรวม ประสบ เชน่ การเกษตร อาหาร
วเิ คราะหข์ ้อมูล การแก้ปัญหาจาเป็นต้อง
และแนวคิดท่ี สืบค้น รวบรวมข้อมูล ความรู้
เก่ียวขอ้ งกบั จากศาสตร์ต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง
ปญั หา เพ่ือนาไปส่กู ารออกแบบแนว
ทางการแก้ปัญหา
3. ออกแบบ การวเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ
วิธกี ารแก้ และตดั สินใจเลือกข้อมูลที่จาเป็น
ปญั หา โดย โดยคานงึ ถงึ เง่ือนไขและ
วเิ คราะหเ์ ปรยี บ ทรัพยากรทม่ี ีอยู่ ช่วยให้ได้แนว
เทยี บ และ ทางการแกป้ ัญหาทเ่ี หมาะสม
ตัดสนิ ใจเลือก การออกแบบแนวทางการ
ขอ้ มลู ทจ่ี าเป็น แกป้ ญั หาทาไดห้ ลากหลายวิธี
นาเสนอแนวทาง เชน่ การร่างภาพ การเขียน
การแก้ปัญหาให้ แผนภาพ การเขยี นผังงาน
ผอู้ ่ืนเข้าใจ การกาหนดขน้ั ตอนและ
วางแผนและ ระยะเวลาในการทางานก่อน
ดาเนนิ การ ดาเนนิ การแกป้ ัญหาจะชว่ ยให้
แกป้ ญั หา ทางานสาเร็จไดต้ ามเปา้ หมาย
4. ทดสอบ การทดสอบและประเมินผล
ประเมนิ ผล และ เป็นการตรวจสอบชิ้นงานหรอื
ระบขุ ้อบกพรอ่ ง วิธีการวา่ สามารถแก้ปัญหาได้
ที่เกิดข้ึน พร้อม ตามวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ หาขอ้
ท้งั หาแนวทางการ บกพร่องและดาเนนิ การปรับปรุง
ปรบั ปรุงแก้ไข ให้สามารถแกไ้ ขปญั หาได้
ช้นั รหัสตัวช้ีวัด ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระทอ้ งถ่นิ
ว 4.1 ม.1/5 และนาเสนอผล การนาเสนอผลงานเป็นการ
การแก้ปัญหา ถ่ายทอดแนวคดิ เพอ่ื ใหผ้ ้อู ื่น
เข้าใจเก่ยี วกับกระบวนการ
5. ใชค้ วามรูแ้ ละ ทางานและชิน้ งานหรือวิธกี ารที่
ทกั ษะเก่ยี วกับ ได้ ซ่ึงสามารถทาไดห้ ลายวธิ ี
วสั ดุ อปุ กรณ์ เชน่ การเขียนรายงาน การทา
เครอื่ งมอื กลไก แผ่นนาเสนอผลงาน
ไฟฟ้า หรือ
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ วัสดุแตล่ ะประเภทมีสมบตั ิ
เพื่อแก้ปัญหาได้ แตกตา่ งกนั เชน่ ไม้ โลหะ
อยา่ งถูกต้อง พลาสตกิ จงึ ต้องมีการวเิ คราะห์
เหมาะสมและ สมบัติ เพือ่ เลือกใช้ใหเ้ หมาะสม
ปลอดภัย กับลักษณะของงาน
การสร้างช้ินงานอาจใช้
ความรู้ เร่ืองกลไก ไฟฟ้า
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น LED บัซ
เซอร์ มอเตอร์ วงจรไฟฟา้
อุปกรณ์และเคร่อื งมือในการ
สรา้ งชนิ้ งาน หรือพฒั นาวิธีการมี
หลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้ให้
ถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
รวมทัง้ ร้จู ักเกบ็ รักษา
ตารางวเิ คราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั เพ่ือจดั ทาคาอธิบายรายวิชา
กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 1 รหสั วชิ า ว21122
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 22 ช่ัวโมง/ภาค จานวน 2.5หน่วยกติ
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะ
และตวั ช้ีวัด K (คากริยา) พึงประสงค์ สาคัญผเู้ รยี น
มาตรฐาน ว 4.1 1) P A C
เขา้ ใจแนวคิดหลักของ เขา้ ใจแนวคดิ หลักของ
เทคโนโลยเี พอื่ การ เทคโนโลยีเพอื่ การดารงชวี ติ ใชค้ วามรู้ มคี วามคิด ความสามารถ
ดารงชีวติ ในสังคมที่มีการ ในสังคมท่ีมีการเปลย่ี นแปลง และทกั ษะ สร้างสรรค์ดว้ ย ในการคดิ
เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว อย่างรวดเรว็ แก้ปญั หา กรบวนการ ความสามารถ
ใชค้ วามรแู้ ละทักษะ หรือพฒั นา ออก แบบเชงิ ในการแกป้ ัญหา
ทางด้านวิทยาศาสตร์ 1) งาน วศิ วกรรมอย่าง ความสามารถ
คณิตศาสตร์ และศาสตร์ เทคโนโลยี เปน็ สิง่ ทมี่ นษุ ยส์ ร้าง เลือกใช้ เหมาะสม ในการใช้
อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือ หรอื พัฒนาข้นึ ซ่ึงอาจเปน็ ได้ท้ัง เทคโนโลยี โดยคานงึ ถงึ เทคโนโลยี
พัฒนางานอย่างมี ชิ้นงาน หรอื วธิ กี าร เพ่อื ใช้ ผลกระทบต่อ
ความคิดสร้างสรรค์ด้วย แกป้ ญั หา สนองความต้องการ อธบิ าย ชีวติ สงั คม ความสามารถ
กระบวนการออกแบบเชงิ หรือเพ่มิ ความ สามารถ ในการ แนวคดิ หลัก และ ในการคิด
วศิ วกรรม เลือกใช้ ทางานของมนุษย์ วิเคราะห์ สิ่งแวดล้อม ความสามารถ
เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลุม่ สาเหตุ ในการใช้ทักษะ
โดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อ ของส่วนต่าง ๆ ต้ังแต่สองส่วนขนึ้ ชีวติ
ชีวิต สังคม และ ไปประกอบเข้าดว้ ยกันและทางาน ความสามารถ
ส่ิงแวดลอ้ ม รว่ มกันเพ่ือให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ในการส่อื สาร
ม.1/1 อธบิ ายแนวคดิ หลัก โดยในการทางานของระบบทาง
ของเทคโนโลยใี น เทคโนโลยีจะประกอบไปดว้ ยตัว
ชวี ติ ประจาวันและ
วเิ คราะหส์ าเหตุ หรอื
ปัจจัยที่สง่ ผลตอ่ การ
เปล่ยี นแปลงของ
เทคโนโลยี
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะ
และตวั ช้ีวัด K (คากรยิ า) พงึ ประสงค์ สาคญั ผูเ้ รียน
ม.1/2 ระบปุ ญั หาหรือ ป้อน (input) กระบวนการ P A C
ความต้องการในชีวติ (process) และผลผลิต
ประจาวนั รวบรวม (output) ท่ีสัมพันธ์กัน ระบุปญั หา - ความสามารถ
วิเคราะหข์ ้อมลู และ นอกจากน้ีระบบทางเทคโนโลยี หรอื ความ ในการคิด
แนวคดิ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั อาจมีข้อมูลย้อนกลับ ต้องการ นาเสนอ ความสามารถ
ปญั หา (feedback) เพอื่ ใช้ปรบั ปรงุ การ รวบรวม แนวทางการ ในการแก้ปัญหา
ทางานได้ตามวัตถุประสงค์ ซ่ึง วเิ คราะห์ แก้ปญั หาให้
ม.1/3 ออกแบบวธิ กี าร การวเิ คราะหร์ ะบบทางเทคโนโลยี ข้อมลู ผูอ้ ่ืนเขา้ ใจ ความสามารถ
แกป้ ัญหา โดยวเิ คราะห์ ชว่ ยให้เข้าใจองค์ประกอบและการ ในการคดิ
เปรยี บ เทียบ และ ทางานของเทคโนโลยี รวมถึง ออกแบบ ความสามารถ
ตดั สนิ ใจเลอื กข้อมูลที่ สามารถปรับปรงุ ให้เทคโนโลยี วธิ กี าร ในการใช้
จาเปน็ นาเสนอแนวทาง ทางานได้ตามต้องการ แกป้ ญั หา เทคโนโลยี
การแก้ปัญหาให้ผอู้ ่นื เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลง วิเคราะห์
ตลอดเวลาตัง้ แต่อดีตจนถึง เปรยี บเทยี บ
ปัจจุบนั ซ่ึงมีสาเหตุหรือปัจจัยมา ตดั สนิ ใจ
จากหลายด้าน เชน่ ปัญหา ความ
ต้องการ ความก้าวหนา้ ของ
ศาสตร์ตา่ ง ๆ เศรษฐกจิ สังคม
1)
ปัญหาหรือความตอ้ งการใน
ชีวติ ประจาวนั พบไดจ้ ากหลาย
บริบทขน้ึ กับสถานการณ์ท่ี
ประสบ เชน่ การเกษตร อาหาร
การแก้ปัญหาจาเปน็ ต้องสบื ค้น
รวบรวมขอ้ มูล ความรู้จากศาสตร์
ต่าง ๆ ท่เี ก่ียวข้อง เพ่ือนาไปสู่
การออกแบบแนวทางการ
แกป้ ัญหา
1)
การวิเคราะห์ เปรียบเทยี บ และ
ตัดสินใจเลอื กขอ้ มูลทจี่ าเป็น โดย
คานงึ ถงึ เงื่อนไขและทรัพยากรที่มี
อยู่ ช่วยให้ไดแ้ นวทางการ
แกป้ ัญหาท่เี หมาะสม
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั สมรรถนะ
และตัวช้ีวัด K (คากริยา) พงึ ประสงค์ สาคัญผู้เรียน
เข้าใจ วางแผนและ P A C
ดาเนินการแก้ปญั หา ความสามารถ
การออกแบบแนวทางการ เลือกข้อมลู แกป้ ญั หาได้ ในการส่อื สาร
ม.1/4 ทดสอบประเมินผล อย่างถูกต้อง
และระบุขอ้ บกพร่อง ที่ แก้ปัญหาทาได้หลากหลายวธิ ี ทจ่ี าเปน็ เหมาะสม ความสามารถ
เกิดขนึ้ พร้อมทงั้ หาแนว และปลอดภยั ในการคิด
ทางการปรับปรงุ แก้ไข เช่น การร่างภาพ การเขียน ความสามารถ
และนาเสนอผลการ ในการใช้
แกป้ ญั หา แผนภาพ การเขียนผงั งาน เทคโนโลยี
ความสามารถ
ม.1/5 ใชค้ วามรแู้ ละ การกาหนดข้นั ตอนและ ในการสอื่ สาร
ทกั ษะเกย่ี วกับวสั ดุ
อปุ กรณ์ เครื่องมือ กลไก ระยะเวลาในการทางานก่อน ความสามารถ
ไฟฟ้า หรอื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ในการคดิ
เพอื่ แก้ปญั หาได้อยา่ ง ดาเนนิ การแกป้ ญั หาจะชว่ ยให้ ความสามารถ
ถกู ต้อง เหมาะสมและ ในการแก้ปัญ
ปลอดภยั ทางานสาเรจ็ ได้ตามเป้าหมาย หา
1)
การทดสอบและประเมินผลเป็น ทดสอบ
การตรวจสอบชน้ิ งานหรอื วธิ ีการ ประเมนิ ผล
วา่ สามารถแกป้ ัญหาได้ตาม ระบุ
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื หาข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง
และดาเนนิ การปรับปรุงให้ หาแนวทาง
สามารถแก้ไขปัญหาได้ ปรบั ปรุง
การนาเสนอผลงานเป็นการ แก้ไข
ถ่ายทอดแนวคิดเพ่ือใหผ้ ้อู ื่นเข้าใจ นาเสนอ
เกีย่ วกับกระบวนการทางานและ
ชิน้ งานหรือวธิ ีการท่ีได้ ซ่ึง
สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การ
เขยี นรายงาน การทาแผ่น
นาเสนอผลงาน
1)
วสั ดแุ ต่ละประเภทมีสมบตั ิ ใชค้ วามรู้
แตกตา่ งกนั เช่น ไม้ โลหะ และทกั ษะ
พลาสติก จึงต้องมีการวิเคราะห์ แกป้ ญั หา
สมบตั ิ เพื่อเลือกใช้ให้เหมาะสม
กบั ลกั ษณะของงาน
การสร้างช้นิ งานอาจใชค้ วามรู้
เร่ืองกลไก ไฟฟ้า อเิ ล็กทรอนิกส์
เช่น LED บัซเซอร์ มอเตอร์
วงจรไฟฟ้า
อุปกรณ์และเคร่อื งมอื ในการ
สรา้ งชิ้นงาน หรือพฒั นาวธิ กี ารมี
หลายประเภท ตอ้ งเลือกใชใ้ ห้
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะ
และตัวช้ีวัด K (คากรยิ า) พงึ ประสงค์ สาคัญผู้เรยี น
ถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย P A C
รวมทัง้ ร้จู ักเก็บรักษา
คำอธบิ ำยรำยวิชำพน้ื ฐำน
กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ว21122 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 ช้นั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 1
ภำคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 คาบ 0.5 หน่วยกติ
ศึกษาแนวคิดหลักของเทคโนโลยีในชีวิตประจาวัน วิเคราะห์สาเหตุหรือปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ
เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต้องการในชวี ิตประจาวนั รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูล แนวคิดที่
เกีย่ วข้องกบั ปัญหา การออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหา ตัดสินใจเลอื กขอ้ มูลทจ่ี าเป็น นาเสนอแนวทางการแก้ปญั หา
ให้ผู้อื่นเข้าใจ วางแผน ดาเนินการแก้ปัญหา ด้วยการทดสอบ ประเมินผล ระบุข้อบกพร่องท่ีเกิดข้ึน พร้อมท้ัง
หาแนวทางการปรับปรุงแกไ้ ข และนาเสนอผลการแก้ปัญหา เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื กลไก ไฟฟ้า หรือ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เพือ่ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem – based Learning) และการเรียนรู้
แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project – based Learning) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณก์ ารแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ และนาเสนอผ่านการทากิจกรรมโครงงาน
เพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ที่มีผลต่อการพัฒนา
เทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ก้าวหน้า
ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม และส่ิงแวดล้อม ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และ
เทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตอ่ สังคม และการดารงชวี ติ จนสามารถพฒั นากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ
ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการส่ือสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มี
จิตวทิ ยาศาสตร์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มในการใชว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์
ตัวช้วี ดั
ว .4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
รวม 5 ตวั ช้วี ัด
โครงสร้ำงรำยวชิ ำพนื้ ฐำน
กล่มุ สำระกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ว21122 การออกแบบและเทคโนโลยี 1 ชน้ั มธั ยมศกึ ษำปีที่ 1
ภำคเรียนที่ 1 เวลา 20 คาบ จานวน 0.5 หนว่ ยกิต
หนว่ ย ชอ่ื หน่วย มฐ.ตัวช้ีวดั สาระการเรยี นรู้ เวลา น้าหนัก
ที่ การเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
1 เทคโนโลยี ว 4.1 ม.1/1 - เทคโนโลยี เปน็ ส่ิงท่มี นุษยส์ ร้าง หรอื 5 25
กบั มนษุ ย์ ม.1/2 พฒั นาขึ้น ซึ่งอาจเป็นได้ทงั้ ช้ินงานหรอื วธิ กี าร
เพ่อื ใช้แก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือ
เพ่ิมความสามารถในการทางานของมนุษย์
- เทคโนโลยีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลาตงั้ แต่
อดีตจนถงึ ปัจจบุ นั ซึ่งมีสาเหตุหรอื ปจั จยั มา
จากหลายด้าน เช่น ปญั หา ความต้องการ
ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ ่างๆ เศรษฐกจิ
สังคม
- ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ ระบบที่
ประกอบด้วยการทางานรว่ มกันของ
องค์ประกอบทางเทคโนโลยี ซึ่งองค์ประกอบ
ทางเทคโนโลยีท่ีทาใหเ้ กดิ ระบบทาง
เทคโนโลยมี ี 4 องค์ประกอบหลักประกอบไป
ดว้ ยตวั ปอ้ น(Input) กระบวนการ (Process)
และผลผลติ (Output) ท่ีสมั พันธก์ ัน
นอกจากนีร้ ะบบทางเทคโนโลยอี าจมขี ้อมูล
ยอ้ นกลับ (Feedback)
- ผลกระทบของการพฒั นาเทคโนโลยี เชน่
ด้านส่ิงแวดลอ้ ม เทคโนโลยที าใหก้ าร
คมนาคมมคี วามสะดวกสบายและใช้เชือ้ เพลิง
มากข้ึน ทาใหเ้ กิดแกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
มากข้ึน จนกลายเป็นภาวะโลกรอ้ น
หน่วย ชือ่ หน่วย มฐ.ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้ เวลา น้าหนัก
ท่ี การเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
- กระบวนการเทคโนโลยี เปน็ ขนั้ ตอนการ
2 กระบวนการ ว 4.1 ม.1/2 ทางานเพ่ือสร้างสิง่ ของเครือ่ งใชห้ รอื วิธกี าร 5 25
อยา่ งใดอย่างหนง่ึ ขึน้ มาเพื่อแกป้ ัญหาหรือ
เทคโนโลยี ม.1/3 สนองความต้องการของมนุษย์ กระบวนการ 10 35
เทคโนโลยี ประกอบไปด้วย 7 ข้นั ตอน คือ
ม.1/4 ระบุปัญหา หรอื ความต้องการ รวบรวม 20 80
ข้อมลู เลอื กวิธกี ารแกป้ ัญหา ออกแบบวิธกี าร 20
3 ผลงาน ว 4.1 แก้ปัญหา ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข ประเมินผล 100
ออกแบบ ม.1/5 และนาเสนอผลงาน
และ - กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมมี 2
เทคโนโลยี สว่ น คือ สว่ นท่นี าวิทยาศาสตรแ์ ละ
คณติ ศาสตร์มาใชใ้ ห้เป็นประโยชนก์ ับส่วนที่
ออกแบบให้ไดผ้ ลงานทต่ี ้องการ
- การเลอื กใช้วัสดุ เครือ่ งมือ และอปุ กรณ์ ใน
การสรา้ งสรรคเ์ ทคโนโลยีโดยวัสดแุ ต่ละ
ประเภทมสี มบัติขอ้ จากดั ในการใช้ทแี่ ตกต่าง
กนั เชน่ ไม้ โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการ
วิเคราะห์สมบตั ิของวัสดุ เพ่ือเลือกใช้ให้
เหมาะสมกับลักษณะของงานและเกดิ
ประโยชน์กบั ผู้ใชง้ านอยา่ งแท้จริง
- การสรา้ งช้นิ งานอาจใชค้ วามรู้ เรอ่ื งกลไก
ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เชน่ LED บซั เซอร์
มอเตอร์ วงจรไฟฟา้
- การสรา้ งช้นิ งาน หรือพฒั นาวิธีการมหี ลาย
ประเภท ต้องเลือกใช้ใหถ้ กู ต้องเหมาะสมและ
ปลอดภยั รวมท้ังรู้จักเก็บรกั ษา
คะแนนระหวา่ งภาค
คะแนนปลายภาค
รวมตลอดภาคเรยี น
การวเิ คราะห์ความสัมพนั ธ์ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรยี นรู้
กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี 2 รหัสวิชา ว22122
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 22 ช่วั โมง/ภาค จานวน 2.5หนว่ ยกิต
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวติ ในสงั คมที่มกี ารเปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา
หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลอื กใช้
เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม
ชนั้ รหัสตวั ช้ีวัด ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระท้องถน่ิ
ม.2 ว4.1 ม.2/1 1.คาดการณ์ สาเหตหุ รอื ปจั จัยต่าง ๆ เชน่
ว4.1 ม.2/2 แนวโน้มเทคโนโลยี ความกา้ วหนา้ ของศาสตร์ต่าง ๆ
ทีจ่ ะเกิดขึ้น โดย กาเรปล่ียนแปลงทางด้าน
พจิ ารณาจาก เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม ทา
สาเหตุหรอื ปัจจยั ที่ ใหเ้ ทคโลยมี ีการเปลย่ี นแปลง
สง่ ผล ต่อการ ตลอดเวลา
เปล่ยี นแปลงของ เทคโนโลยแี ต่ละประเภทมี
เทคโนโลยี และ ผลกระทบต่อชีวติ สังคมและ
วิเคราะห์ สง่ิ แวดล้อมทีแ่ ตกตา่ งกัน จงึ
เปรียบเทยี บ ต้องวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บขอ้ ดี
ตัดสินใจ เลอื กใช้ ขอ้ เสีย และตัดสินใจเลอื กใช้ให้
เทคโนโลยี โดย เหมาะสม
คานึงถงึ ผลกระทบ
ท่เี กดิ ขนึ้ ต่อชวี ติ ปญั หาหรือความต้องการใน ศึกษาสภาพปัญหาในชุมชนที่
สงั คม และ ชุมชนหรอื ท้องถิน่ มีหลาย อย่าง นกั เรียนอาศัยอยู่ทั้งปญั หาดา้ น
ส่งิ แวดล้อม ขนึ้ กบั บริบทหรือสถานการณ์ที่ พลงั งาน ปัญหาดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม
ประสบ เชน่ ดา้ นพลงั งาน ปญั หาดา้ นการเกษตร และ
2.ระบุปญั หาหรือ สิ่งแวดลอ้ ม การเกษตร การ ปญั หาด้านอาหาร พรอ้ มท้งั
ความตอ้ งการใน อาหาร ออกแบบวิธีการแกป้ ัญหา
ชุมชน หรือท้องถิ่น การระบปุ ัญหาจาเปน็ ตอ้ งมี
สรปุ กรอบของ การวิเคราะห์สถานการณ์ของ
ปญั หา รวบรวม ปัญหาเพื่อสรุปกรอบของปญั หา
วเิ คราะห์ ข้อมลู
และแนวคิดที่
เก่ยี วข้องกบั ปญั หา
ช้นั รหสั ตัวช้ีวัด ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระทอ้ งถนิ่
แลว้ ดาเนินการสบื ค้น รวบรวม
ขอ้ มูล ความรูจ้ ากศาสตร์ต่าง ๆ
ท่ีเกีย่ วข้องเพ่ือนาไปสกู่ าร
ออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา
ว4.1 ม.2/3 3.ออกแบบวิธกี าร การวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ
ว4.1 ม.2/4
แก้ปัญหา โดย และตัดสินใจเลือกข้อมลู ท่ี
วเิ คราะห์ จาเปน็ โดยคานึงถงึ เงื่อนนไข
เปรียบเทียบ และ และทรัพยากร เชน่
ตดั สนิ ใจเลอื ก งบประมาณ เวลา ข้อมลู และ
ข้อมลู ท่ี สารสนเทศ วสั ดุ เคร่อื งมือและ
จาเปน็ ภายใต้ อุปกรณช์ ่วยให้ได้แนวทางการ
เงอื่ นไขและ แก้ปญั หาทเ่ี หมาะสม
ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่ การออกแบบแนวทางการ
นาเสนอแนวทาง แกป้ ํญหาทาไดห้ ลากหลายวิธี
การแกป้ ัญหาให้ เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี น
ผูอ้ ่ืนเข้าใจ วางแผน แผนภาพ การเขียนผังงาน
ข้นั ตอนการทางาน การกาหนดขนั้ ตอนระยะเวลา
และดาเนินการ ในการทางานก่อนดาเนินการ
แกป้ ัญหาอย่างเปน็ แกป้ ญั หาจะช่วยใหก้ ารทางาน
ขน้ั ตอน สาเร็จไดต้ ามเปา้ หมาย และลด
ขอ้ ผดิ พลาดของการทางานที่
อาจเกดิ ขนึ้
4.ทดสอบ การทดสอบและประเมนิ ผล
ประเมนิ ผล และ เปน็ การตรวจสอบชิ้นงาน หรือ
อธบิ ายปัญหาหรอื วธิ กี ารว่าสามารถแก้ปัญหาได้
ข้อบกพร่องท่ี ตามวตั ถปุ ระสงค์ ภายใตก้ รอบ
เกดิ ขน้ึ ภายใต้กรอบ ของปญั หา เพื่อหาข้อบกพร่อง
เงื่อนไข พร้อมทั้ง และดาเนินการปรบั ปรุงให้
หาแนวทาง สามารถแก้ไขปัญหาได้
ปรบั ปรุงแก้ไข และ การนาเสนอผลงานเปน็ การ
นาเสนอผลการ ถา่ ยทอดแนวคิดเพื่อให้ผอู้ ่นื
แกป้ ัญหา เข้าใจเกยี่ วกับกระบวนการ
ทางานและช้นิ งานหรือวิธีการท่ี
ได้ ซึ่งสามารถทาไดห้ ลายวธิ ี
เชน่ การเขียนรายงาน การทา
ช้นั รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระทอ้ งถนิ่
ว4.1 ม.2/5 5. ใช้ความรู้ และ แผ่นนาเสนอผลงาน การจดั
ทกั ษะเก่ียวกับวสั ดุ นิทรรศการ
อุปกรณ์ เคร่ืองมอื
กลไก ไฟฟ้า และ วสั ดุแต่ละประเภทมี
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เพอ่ื คณุ สมบัตแิ ตกต่างกัน เชน่ ไม้
แก้ปัญหาหรือ โลหะพลาสตกิ จึงต้องมีการ
พัฒนางานได้อยา่ ง วเิ คราะห์สมบตั เิ พอ่ื เลือกใช้ให้
ถูกต้องเหมาะสม เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน
และปลอดภัย การสรา้ งชนิ้ งานอาจใชค้ วามรู้
เรื่องกลไล ไฟฟ้าอเิ ลก็ ทรอนิกส์
เช่น LED มอเตอร์ บัซเซอร์
เฟือง รอก ล้อ เพลา
อุปกรณ์และเครื่องมือในการ
สร้างชนิ้ งานหรือพัฒนาวธิ กี ารมี
หลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้ให้
ถกู ต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
รวมทัง้ รู้จักเกบ็ รักษา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตัวชว้ี ัดเพื่อจัดทาคาอธิบายรายวชิ า
กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา การออกแบบและเทคโนโลยี 2 รหสั วิชา ว22122
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรียน 22 ชวั่ โมง/ภาค จานวน 2.5 หนว่ ยกติ
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอัน สมรรถนะ
และตัวชี้วัด K (คากริยา) พึงประสงค์ สาคัญผ้เู รียน
มาตรฐาน ว 4.1 1) P AC
เข้าใจแนวคดิ หลักของ เข้าใจแนวคิดหลักของ
เทคโนโลยีเพอ่ื การ เทคโนโลยเี พื่อการดารงชีวติ ใชค้ วามรู้ มคี วามคดิ ความสามารถ
ดารงชีวติ ในสงั คมท่ีมกี าร ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และทกั ษะ สร้างสรรคด์ ว้ ย ในการคิด
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว อยา่ งรวดเรว็ แก้ปัญหา กรบวนการ ความสามารถ
ใช้ความรู้และทักษะ หรอื พัฒนา ออก แบบเชงิ ในการแก้ปญั หา
ทางด้านวิทยาศาสตร์ 1) งาน วิศวกรรมอยา่ ง ความสามารถ
คณิตศาสตร์ และศาสตร์ สาเหตุหรือปัจจยั ตา่ ง ๆ เชน่ เลอื กใช้ เหมาะสม ในการใช้
อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือ ความกา้ วหน้าของศาสตรต์ า่ ง ๆ เทคโนโลยี โดยคานงึ ถึง เทคโนโลยี
พัฒนางานอย่างมี กาเรปลยี่ นแปลงทางดา้ น ผลกระทบต่อ
ความคิดสร้างสรรค์ดว้ ย เศรษฐกจิ สังคม วฒั นธรรม ทา คาดการณ์ ชวี ิต สงั คม
กระบวนการออกแบบเชิง ให้เทคโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลง พิจารณา และ
วิศวกรรม เลอื กใช้ ตลอดเวลา วเิ คราะห์ ส่งิ แวดล้อม
เทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม เทคโนโลยแี ตล่ ะประเภทมี เปรยี บเทียบ
โดยคานึงถงึ ผลกระทบต่อ ผลกระทบต่อชวี ติ สังคมและ ตัดสินใจ คานงึ ถงึ ความสามารถ
ชีวิต สงั คมและ สง่ิ แวดล้อมที่แตกตา่ งกนั จึงต้อง เลือกใช้ ผลกระทบ ในการคิด
สง่ิ แวดล้อม วิเคราะหเ์ ปรียบเทียบข้อดี ความสามารถ
ม.2/1 คาดการณ์แนวโนม้ ข้อเสีย และตัดสินใจเลือกใช้ให้ ในการแกป้ ัญหา
เทคโนโลยที จี่ ะเกดิ ขึน้ เหมาะสม
โดยพจิ ารณาจากสาเหตุ
หรือปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่
การเปลย่ี นแปลงของ
เทคโนโลยี และ วเิ คราะห์
เปรียบเทียบ ตัดสนิ ใจ
เลือกใช้เทคโนโลยี
โดยคานงึ ถึงผลกระทบ
ท่ีเกิดขน้ึ ตอ่ ชีวติ สังคม
และสงิ่ แวดลอ้ ม
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอัน สมรรถนะ
และตวั ช้ีวดั K (คากรยิ า) พึงประสงค์ สาคญั ผู้เรยี น
ม.2/2 ระบปุ ัญหาหรือ PA C
ความต้องการในชมุ ชน
หรอื ท้องถ่นิ สรุปกรอบ 1) - ความสามารถ
ของปญั หา รวบรวม ในการคดิ
วเิ คราะห์ ข้อมูลและ ปัญหาหรือความต้องการใน ระบุปญั หา ความสามารถ
แนวคดิ ท่เี กยี่ วข้องกบั ในการแกป้ ญั หา
ปัญหา ชุมชนหรอื ท้องถน่ิ มีหลาย อย่าง สรปุ กรอบ
ความสามารถ
ม.2/3 ออกแบบวิธีการ ขึน้ กับบริบทหรือสถานการณ์ท่ี ปัญหา ในการคดิ
แก้ปญั หา โดยวเิ คราะห์ ความสามารถ
เปรียบเทยี บ และตดั สินใจ ประสบ เชน่ ดา้ นพลงั งาน รวบรวม ในการแกป้ ญั หา
เลอื กข้อมลู ที่ ความสามารถ
จาเปน็ ภายใตเ้ ง่ือนไขและ สิ่งแวดล้อม การเกษตร การ วิเคราะห์ ในการใช้
ทรพั ยากรทีม่ ีอยู่ นาเสนอ เทคโนโลยี
แนวทางการแก้ปญั หาให้ อาหาร ขอ้ มูล ความสามารถ
ผู้อนื่ เข้าใจ วางแผน ในการสือ่ สาร
ขั้นตอนการทางาน และ การระบุปัญหาจาเป็นต้องมีการ
ดาเนนิ การแก้ปญั หาอยา่ ง
เปน็ ข้นั ตอน วิเคราะหส์ ถานการณ์ของปัญหา
เพอ่ื สรปุ กรอบของปัญหาแล้ว
ดาเนินการสืบคน้ รวบรวมข้อมูล
ความรูจ้ ากศาสตร์ต่าง ๆ ที่
เก่ียวขอ้ งเพื่อนาไปสู่การ
ออกแบบแนวทางการแกป้ ญั หา
1)
การวิเคราะห์ เปรียบเทยี บ ออกแบบ เลอื กข้อมลู
และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมลู ท่ีจาเปน็ วธิ ีการแก้ ภายใตเ้ งอ่ื นไข
โดยคานึงถึงเง่ือนนไขและ ปญั หา และทรัพยากร
ทรพั ยากร เช่น งบประมาณ วิเคราะห์ ทีม่ ีอยู่
เวลา ข้อมลู และสารสนเทศ วัสดุ เปรยี บเทยี บ นาเสนอ
เครอื่ งมอื และอุปกรณ์ชว่ ยให้ได้ ตัดสนิ ใจ แนวทางการ
แนวทางการแก้ปัญหาท่ี นาเสนอ แก้ปญั หา
เหมาะสม วางแผน ใหผ้ ูอ้ น่ื เข้าใจ
การออกแบบแนวทางการ แกป้ ญั หา
แก้ปญํ หาทาไดห้ ลากหลายวธิ ี อยา่ งเป็น
เชน่ การร่างภาพ การเขยี น ข้นั ตอน
แผนภาพ การเขยี นผังงาน
การกาหนดข้นั ตอนระยะเวลา
ในการทางานก่อนดาเนินการ
แก้ปญั หาจะช่วยให้การทางาน
สาเร็จไดต้ ามเปา้ หมาย และลด
ขอ้ ผิดพลาดของการทางานที่อาจ
เกิดข้นึ
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน สมรรถนะ
และตัวชี้วัด K (คากรยิ า) พึงประสงค์ สาคัญผู้เรียน
ม.2/4ทดสอบ ประเมนิ ผล 1) P AC
และอธบิ ายปญั หาหรอื การทดสอบและประเมินผล ทดสอบ
ขอ้ บกพร่องท่เี กดิ ข้นึ เปน็ การตรวจสอบช้ินงาน หรือ ประเมนิ ผล อธิบาย ความสามารถ
ภายใต้กรอบเงอ่ื นไข วธิ กี ารวา่ สามารถแก้ปญั หาได้ อธิบาย ปัญหาหรือ ในการคิด
พร้อมทั้งหาแนวทาง ตามวตั ถปุ ระสงค์ภายใตก้ รอบ นาเสนอ ขอ้ บกพร่องท่ี ความสามารถ
ปรับปรุงแก้ไข และ ของปัญหา เพื่อหาข้อบกพร่อง เกดิ ขึน้ ภายใต้ ในการแก้ปัญหา
นาเสนอผลการแก้ปญั หา และดาเนนิ การปรบั ปรุงให้ ใช้ความรู้ กรอบเง่ือนไข ความสามารถ
สามารถแก้ไขปัญหาได้ และทักษะ ในการสื่อสาร
ม.2/5 ใชค้ วามรู้ และ การนาเสนอผลงานเป็นการ แก้ปัญหา
ทักษะเก่ียวกับวัสดุ ถา่ ยทอดแนวคดิ เพอ่ื ให้ผู้อืน่ แก้ปัญหา ความสามารถ
อุปกรณ์ เครือ่ งมอื กลไก เข้าใจเกยี่ วกับกระบวนการ หรือพัฒนา ในการคิด
ไฟฟา้ และ ทางานและช้ินงานหรือวธิ กี ารที่ งานได้อย่าง ความสามารถ
อิเล็กทรอนกิ ส์ เพ่อื ได้ ซึ่งสามารถทาไดห้ ลายวิธี เช่น ถูกต้อง ในการแก้ปัญหา
แก้ปญั หาหรือพฒั นางาน การเขยี นรายงาน การทาแผน่ เหมาะสม
ได้อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม นาเสนอผลงาน การจดั นิทรรศการ และปลอดภัย
และปลอดภยั 1)
วัสดุแต่ละประเภทมีคณุ สมบัติ
แตกต่างกนั เชน่ ไม้ โลหะ
พลาสติก จงึ ต้องมีการวเิ คราะห์
สมบัตเิ พื่อเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสม
กับลักษณะของงาน
การสร้างชิ้นงานอาจใชค้ วามรู้
เรื่องกลไล ไฟฟา้ อิเลก็ ทรอนกิ ส์
เช่น LED มอเตอร์ บัซเซอร์
เฟอื ง รอก ล้อ เพลา
อุปกรณ์และเคร่ืองมือในการ
สร้างชนิ้ งานหรือพัฒนา วิธกี าร
มหี ลายประเภท ตอ้ งเลือกใชใ้ ห้
ถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
รวมทัง้ รจู้ ักเก็บรักษา
คำอธิบำยรำยวิชำพนื้ ฐำน
กลุ่มสำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ว22122 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ชั้นมัธยมศกึ ษำปที ่ี 2
ภำคเรียนท่ี 1 เวลา 20 คาบ เวลา 0.5 หนว่ ยกิต
ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีต่อมนุษย์ และสังคม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ ผลกระทบจากการ
เปล่ียนแปลงเทคโนโลยีต่อส่ิงแวดล้อม ประเภท ของวัสดุอุปกรณ์เพื่อให้สามารถสร้างชิ้นงานได้ตรงกับความ
ต้องการ มีความปลอดภัย และใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า เครื่องกลในการสร้างชิ้นงาน ได้แก่ รอก คาน ล้อ
และเพลา พืน้ เอยี ง ลิ่ม สกรู เคร่ืองมือในการสรา้ งชิ้นงาน เครอื่ งมอื วัด เคร่อื งมือตัด เครอื่ งมอื ยดึ ติด เคร่ืองมือ
เจาะ เสียงและอุปกรณท์ ่ีทาให้เกิดเสียง อุปกรณท์ ่ีทาให้เกิดเสยี ง ไฟฟ้าและอุปกรณ์ที่ทาใหเ้ กิดแสง วงจรไฟฟ้า
และ การต่อตัวต้านทาน ประเภทและการต่อวงจรไฟฟ้า ความสัมพันธ์ของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และ
วิศวกรรมศาสตร์แนวคิด กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบบเทคโนโลยี
การคิดเชิงออกแบบ แนวคิดหลักของการคิดเชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ และความคิดเชิง
ออกแบบของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูม-ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model) เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณก์ ารแก้ปญั หาวางแผนการเรยี นรู้ และ นาเสนอผ่านการทากจิ กรรมโครงงาน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้
ความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีประเภทต่าง ๆ และการ
พัฒนาเทคโนโลยีที่ส่งผลให้มีการคิดค้นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ท่ีก้าวหน้า ผลของเทคโนโลยีต่อชีวิต สังคม
และสิ่งแวดล้อม ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อ
สังคมและการดารงชีวติ จนสามารถพัฒนากระบวนการคิดและจนิ ตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและ
การจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เป็นผู้ที่มีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรม จริยธรรม
ค่านิยมในการใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์
ตวั ช้วี ดั
ว 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
รวม 5 ตวั ชว้ี ดั
โครงสร้ำงรำยวชิ ำพ้ืนฐำน
กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ว22122 การออกแบบและเทคโนโลยี 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษำปีที่ 2
ภำคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 คาบ เวลา 0.5 หน่วยกิต
หนว่ ย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
(ชัว่ โมง) คะแนน
ที่ เรยี นรู้ ตัวชว้ี ดั
2 8
1 เทคโนโลยกี บั ว 4.2 ม.2/1 ศกึ ษาปัจจัยต่าง ๆ รวมทัง้ สาเหตุต่าง ๆ ที่
ชีวติ ส่งผลใหเ้ ทคโนโลยี เกิดการเปลยี่ นแปลง 8 32
ตลอดเวลา ตัวอย่างเชน่ ความกา้ วหน้าของ
ศาสตรต์ ่าง ๆ การเปลยี่ นแปลงทางดา้ น
เศรษฐกิจและสงั คม รวมทั้งวฒั นธรรมในแต่
ละท้องถ่นิ ซึ่งปจั จัยเหลา่ น้ีอาจเปน็ แค่สาเหตุ
หรอื ปัจจัยหนง่ึ ทสี่ ่งผลโดยตรงต่อเทคโนโลยี
ใน ชวี ติ ประจาวันใหม้ ีความก้าวหนา้ หรือ
พฒั นาต่อไป
2 วสั ดุ อปุ กรณ์ ว 4.2 ม.2/5 วสั ดทุ เี่ ราสามารถพบเห็นอยู่ทั่วไป เชน่ ไม้
เหล็กกลา้ พลาสตกิ แกว้ ยาง กระดาษ ซึ่งแต่
ทางเทคโนโลยี ละประเภทมีสมบัติที่ แตกต่างกนั โดยการ
เลอื กใชว้ ัสดเุ พ่ือใหเ้ หมาะสมกับการใช้งานน้ัน
จาเปน็ ตอ้ งศกึ ษา หรือพิจารณาจากคุณสมบตั ิ
ของวสั ดนุ ัน้ ๆ ให้ตรงกบั งานท่ีออกแบบ หรือ
การนาวัสดตุ ่าง ๆ ทม่ี ีความสามารถ ในแตล่ ะ
ด้าน เพ่อื มาพฒั นาให้เกิดเปน็ ผลิตภัณฑ์ท่ี
เหมาะสมกบั การใช้งานมากท่สี ุด การสรา้ ง
ชิน้ งานอาจต้องอาศัยความรู้ท่ีเกย่ี วข้องกบั
ชิ้นงาน อื่นอีก เช่น กลไกการควบคมุ ไฟฟ้า
และอเิ ล็กทรอนิกส์ การสรา้ งชน้ิ งาน
จาเปน็ ตอ้ งใช้อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื เคร่ืองใช้
ตา่ ง ๆ จงึ ตอ้ งศกึ ษาทาความเขา้ ใจ และ
เลือกใชอ้ ุปกรณ์ใหถ้ กู วิธี เพื่อท่ีจะไดใ้ ช้
อปุ กรณ์ เคร่อื งมือหรือเครื่องใชต้ า่ ง ๆ ได้
อย่าง ปลอดภยั และมีประสทิ ธิภาพ
หนว่ ย ชื่อหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนกั
คะแนน
ท่ี เรียนรู้ ตวั ช้วี ดั (ชั่วโมง)
24
3 กระบวนการ ว 4.1 ม.2/2 วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์มี 6
16
ออกแบบเชงิ ม.2/3 ความสมั พนั ธก์ นั ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม
80
วิศวกรรม ม.2/4 ส่วนหนงึ่ เป็นเพราะวิศวกรรมศาสตร์อาจ มี 20
100
รากฐานความรขู้ องวทิ ยาศาสตร์ เชน่ การนา
หลักการ ทฤษฎี หรอื กฎต่าง ๆ ท่ี
นกั วทิ ยาศาสตรส์ รา้ งหรือคดิ ค้นขน้ึ มา
ประยุกต์ แกไ้ ข เพื่อเป็นแนวทางหรอื เปน็
กระบวนการเพื่อนามาสนู่ วตั กรรม หรือ
ช้นิ งานทีจ่ ะประดษิ ฐข์ นึ้ โดยทั่วไป
กระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรมเพื่อใหไ้ ด้
ชิ้นงานหรือผลงานมอี ยู่ 2 แบบ คือ การ
ออกแบบทางวศิ วกรรมโดยใช้วทิ ยาศาสตร์
และคณิตศาสตร์ และการออกแบบทาง
วศิ วกรรมโดยใชป้ ระสบการณ
4. การคิดเชงิ ว 4.1 ม.2/2 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเพ่ือให้ 4
ออกแบบ ม.2/3 ได้มาซึ่งผลงาน หรอื นวตั กรรม จะมขี ั้นตอนที่
ม.2/4 ต้องสร้างตน้ แบบ (prototype) เพ่ือน าไปสู่
ขั้นตอนทดสอบและปรับปรงุ แก้ไขต่อไป โดย
กระบวนการออกแบบท่สี ารมารถมี
กระบวนการคิดเป็น 2 ส่วน คือ การคิดเชิง
ออกแบบ (design thinking) และการคิดเชิง
วศิ วกรรม (engineering thinking) ควบคู่ไป
ด้วยกัน ซึง่ จะ สง่ ผลให้ตน้ แบบท่ีตอ้ งการ
สร้างขึ้นมานน้ั มีข้อผดิ พลาด (error) น้อย
ทีส่ ุด
คะแนนระหวา่ งภาค
คะแนนปลายภาค
รวมตลอดภาคเรยี น 20
การวิเคราะหค์ วามสัมพนั ธ์ ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี 3 รหสั วิชา ว23122
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรยี น 20 ชั่วโมง/ภาค จานวน 2.5หน่วยกิต
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวติ ในสังคมที่มกี ารเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว
ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา
หรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยีอยา่ งเหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม
ชน้ั รหัสตวั ช้ีวดั ตัวช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระทอ้ งถ่ิน
ม.3 ว4.1 ม.3/1 1.วเิ คราะห์สาเหตุ เทคโนโลยีมกี ารเปล่ียนแปลง
หรอื ปัจจัยท่ีสง่ ผล ตลอดเวลาตั้งแต่อดีตจนถึง
ต่อการเปล่ียนแปลง ปัจจบุ ัน ซึง่ มีสาเหตุหรือปจั จัย
ของเทคโนโลยีและ มาจากหลายดา้ น เชน่ ปญั หา
ความ สัมพันธข์ อง หรือความต้องการของมนษุ ย์
เทคโนโลยีกบั ศาสตร์ ความกา้ วหนา้ ของศาสตรต์ า่ ง ๆ
อ่ืน โดยเฉพาะ การเปลย่ี นแปลงทางดา้ น
วิทยาศาสตร์ หรือ เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม
คณิตศาสตร์ เพ่อื ส่ิงแวดลอ้ ม
เปน็ แนวทางการ เทคโนโลยีมคี วามสมั พนั ธ์กบั
แกป้ ญั หาหรือ ศาสตร์อืน่ โดยเฉพาะ
พฒั นางาน
วิทยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตร์
เปน็ พน้ื ฐานความร้ทู ่ีนาไปส่กู าร
พฒั นาเทคโนโลยี และเทคโนโลยี
ท่ไี ดส้ ามารถ เป็นเครื่องมือทใี่ ช้
ในการศึกษา ค้นคว้าเพ่ือให้ได้มา
ซง่ึ องค์ความร้ใู หม่
ว4.1 ม.3/2 2. ระบปุ ญั หาหรือ ปญั หาหรอื ความต้องการอาจ
ความต้องการของ พบได้ในงานอาชีพของชมุ ชน
ชมุ ชนหรือท้องถ่ิน หรอื ท้องถ่นิ ซ่งึ อาจมหี ลาย
เพอ่ื พัฒนางาน ดา้ น เชน่ ด้านการเกษตร
อาชพี สรุปกรอบ อาหาร พลงั งาน การขนส่ง
ของปัญหารวบรวม การวเิ คราะหส์ ถานการณ์
วิเคราะหข์ ้อมูลและ ปญั หาชว่ ยใหเ้ ข้าใจเง่ือนไขและ
แนวคิดทีเ่ กยี่ วข้อง กรอบของปัญหาไดช้ ัดเจน
ช้นั รหัสตัวช้ีวดั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระทอ้ งถิ่น
กับปัญหา โดย จากนัน้ ดาเนินการสืบคน้
คานึงถึงความ รวบรวมข้อมลู ความรจู้ าก
ถูกต้องด้าน ศาสตร์ต่าง ๆ ที่เกยี่ วข้อง เพื่อ
ทรพั ยส์ นิ ทาง นาไปสู่การออกแบบแนว
ปญั ญา ทางการแก้ปัญหา
ว4.1 ม.3/3 3. ออกแบบ การวเิ คราะห์ เปรียบเทยี บ
ว 4.1 ม. วิธกี ารแก้ปัญหา และตดั สนิ ใจเลอื กข้อมลู ที่
3/4
โดยวเิ คราะห์ จาเปน็ โดยคานงึ ถึงทรัพย์สนิ
เปรยี บเทยี บ และ ทางปัญญา เง่ือนไขและ
ตดั สนิ ใจเลอื ก ทรัพยากร เชน่ งบประมาณ
ข้อมูลทจ่ี าเป็น เวลา ข้อมูลและสารสนเทศ
ภายใตเ้ งอ่ื นไขและ วสั ดุ เครอ่ื งมือและอุปกรณ์
ทรัพยากรท่มี ีอยู่ ช่วยใหไ้ ดแ้ นวทางการแกป้ ญั หา
นาเสนอแนว ท่เี หมาะสม
ทางการแกป้ ญั หา การออกแบบแนวทางการ
ใหผ้ ู้อ่นื เข้าใจดว้ ย แก้ปัญหาทาไดห้ ลากหลายวธิ ี
เทคนิคหรือวธิ ีการ เช่น การรา่ งภาพ การเขยี น
ที่หลากหลาย แผนภาพ การเขียนผงั งาน
วางแผนข้ันตอน เทคนคิ หรือวธิ ีการในการ
การทางานและ นาเสนอแนวทางการแก้ปัญหามี
ดาเนนิ การ หลากหลาย เช่น การใชแ้ ผนภมู ิ
แก้ปัญหาอยา่ งเป็น ตาราง ภาพเคล่ือนไหว
ขัน้ ตอน การกาหนดขัน้ ตอนและ
ระยะเวลาในการทางานก่อน
ดาเนนิ การแก้ปญั หาจะชว่ ยให้
การทางานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
และลดข้อผดิ พลาดของการ
ทางานที่อาจเกดิ ข้ึน
4. ทดสอบ การทดสอบและประเมินผล
ประเมนิ ผล เปน็ การตรวจสอบชนิ้ งานหรอื
วเิ คราะห์ และให้ วธิ ีการวา่ สามารถแกป้ ญั หาได้
เหตุผลของปัญหา ตามวัตถปุ ระสงคภ์ ายใต้กรอบ
หรอื ขอ้ บกพรอ่ ง ของปัญหา เพื่อหาข้อบกพรอ่ ง
เกดิ ข้ึนภายใต้กรอบ และดาเนินการปรบั ปรุง โดยอาจ
เงื่อนไข พร้อมท้ัง
ช้นั รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระท้องถ่นิ
ว 4.1 ม.3/5 หาแนวทางการ ทดสอบซ้าเพ่ือใหส้ ามารถแก้ไข
ปรบั ปรงุ แก้ไข และ ปัญหาได้
นาเสนอผลการ การนาเสนอผลงานเปน็ การ
แก้ปญั หา ถา่ ยทอดแนวคดิ เพอ่ื ให้ผู้อืน่
เขา้ ใจเกยี่ วกับกระบวนการ
5.ใช้ความรู้ และ ทางานและชิ้นงานหรอื วธิ กี ารท่ี
ทักษะเก่ียวกับวัสดุ ได้ ซึ่งสามารถทาไดห้ ลายวิธี
อุปกรณ์เครือ่ งมือ เช่น การเขียนรายงาน การทา
กลไก ไฟฟ้าและ แผน่ นาเสนอผลงาน การจัด
อิเลก็ ทรอนิกสใ์ ห้ นิทรรศการ การนาเสนอผ่านส่ือ
ถกู ต้องกับลักษณะ ออนไลน์
ของงานและ
ปลอดภัยเพื่อ วสั ดุแตล่ ะประเภทมีสมบัติ
แก้ปัญหาหรือ แตกตา่ งกัน เช่น ไม้ โลหะ
พัฒนางาน พลาสติก เซรามิก จึงต้องมีการ
วเิ คราะห์สมบัติเพื่อเลือกใช้ให้
เหมาะสมกับลักษณะของงาน
การสรา้ งชิน้ งานอาจใช้ความรู้
เร่ืองกลไก ไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกส์
เชน่ LED LDR มอเตอร์ เฟือง
คาน รอก ล้อ เพลา
อปุ กรณ์และเครื่องมือในการ
สร้างชน้ิ งานหรอื พัฒนาวธิ กี ารมี
หลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้ให้
ถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
รวมทงั้ รจู้ ักเกบ็ รักษา
ตารางวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วดั เพื่อจัดทาคาอธิบายรายวิชา
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
รายวชิ า การออกแบบและเทคโนโลยี 3 รหสั วิชา ว23122
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลาเรยี น 20 ชวั่ โมง จานวน 2.5 หนว่ ยกิต
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอนั สมรรถนะ
และตวั ช้ีวดั K (คากรยิ า) พงึ ประสงค์ สาคญั ผเู้ รยี น
มาตรฐาน ว 4.1 1) P A C
เข้าใจแนวคดิ หลักของ เขา้ ใจแนวคิดหลักของ ใช้ความรู้
เทคโนโลยเี พื่อการ เทคโนโลยเี พื่อการดารงชวี ติ และทักษะ มคี วามคิด ความสามารถ
ดารงชวี ิตในสงั คมท่ีมีการ ในสังคมท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลง แก้ปัญหา สรา้ งสรรคด์ ว้ ย ในการคดิ
เปลย่ี นแปลงอยา่ งรวดเร็ว อย่างรวดเรว็ หรือพัฒนา กรบวนการ ความสามารถ
ใชค้ วามรู้และทักษะ งาน ออก แบบเชิง ในการแก้ปัญหา
ทางด้านวิทยาศาสตร์ 1) เลือกใช้ วศิ วกรรมอย่าง ความสามารถ
คณิตศาสตร์ และศาสตร์ เทคโนโลยีมกี ารเปล่ียนแปลง เทคโนโลยี เหมาะสม ในการใช้
อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา หรือ ตลอดเวลาตง้ั แต่อดีตจนถึง โดยคานึงถึง เทคโนโลยี
พัฒนางานอย่างมี ปัจจบุ ัน ซ่งึ มสี าเหตุหรือปจั จัยมา วิเคราะห์ ผลกระทบต่อ
ความคิดสร้างสรรค์ดว้ ย จากหลายด้าน เช่น ปญั หาหรือ สาเหตุ ชีวติ สงั คม ความสามารถ
กระบวนการออกแบบเชงิ ความตอ้ งการของมนุษย์ และ ในการคดิ
วศิ วกรรม เลอื กใช้ ความก้าวหน้าของศาสตร์ต่าง ๆ ส่ิงแวดล้อม ความสามารถ
เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม การเปลยี่ นแปลงทางดา้ น ในการแก้ปัญหา
โดยคานึงถึงผลกระทบต่อ เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม -
ชีวิต สังคม และ สิง่ แวดล้อม
ส่งิ แวดล้อม เทคโนโลยมี ีความสัมพันธ์กบั
ม.3/1 วเิ คราะหส์ าเหตุ ศาสตรอ์ น่ื โดยเฉพาะ
หรือปจั จยั ท่สี ง่ ผลตอ่ การ วิทยาศาสตร์ โดยวทิ ยาศาสตร์
เปลย่ี นแปลงของ
เทคโนโลยแี ละความ
สมั พนั ธ์ของเทคโนโลยีกับ
ศาสตรอ์ ื่น โดยเฉพาะ
วิทยา ศาสตร์ หรอื
คณติ ศาสตร์ เพือ่ เป็นแนว
ทางการแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางาน
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คุณลักษณะอัน สมรรถนะ
และตวั ช้ีวดั K
(คากรยิ า) พงึ ประสงค์ สาคัญผูเ้ รียน
PA C
เปน็ พนื้ ฐานความรู้ทน่ี าไปสู่การ
พัฒนาเทคโนโลยี และเทคโนโลยี
ทไี่ ดส้ ามารถ เปน็ เคร่อื งมือทใี่ ชใ้ น
การศกึ ษา คน้ ควา้ เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึง
องค์ความร้ใู หม่
ม.3/2 ระบุปัญหาหรือ 1)
ความตอ้ งการของชมุ ชน ปัญหาหรอื ความต้องการอาจ ระบุปญั หา คานึงถงึ ความสามารถ
หรือท้องถิน่ เพ่ือพัฒนา พบได้ในงานอาชพี ของชุมชนหรอื สรปุ กรอบ ความถูกตอ้ ง ในการคดิ
งานอาชพี สรุปกรอบของ ท้องถ่ิน ซงึ่ อาจมหี ลายด้าน เชน่ ปัญหา ด้านทรัพย์สนิ ความสามารถ
ปัญหารวบรวม วเิ คราะห์ ด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน รวบรวม ทางปัญญา ในการแก้ปญั หา
ขอ้ มลู และแนวคดิ ที่ การขนสง่ วเิ คราะห์
เกี่ยวข้องกบั ปญั หา โดย การวเิ คราะห์สถานการณ์ปญั หา ขอ้ มลู
คานงึ ถงึ ความถูกต้องด้าน ช่วยให้เขา้ ใจเงื่อนไขและกรอบ
ทรัพยส์ ินทางปัญญา ของปัญหาไดช้ ัดเจน จากนน้ั
ดาเนนิ การสืบค้น รวบรวมข้อมูล
ความรู้จากศาสตรต์ า่ ง ๆ ท่ี
เกี่ยวขอ้ ง เพอื่ นาไปสู่การ
ออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา
ม.3/3 ออกแบบวธิ ีการ 1)
แกป้ ญั หา โดยวิเคราะห์ การวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และ ออกแบบ เลอื กข้อมลู ความสามารถ
เปรียบเทยี บ และตัดสินใจ ตัดสินใจเลือกขอ้ มลู ที่จาเป็น โดย วิธกี ารแก้ ภายใตเ้ ง่ือนไข ในการคดิ
เลือกข้อมูลท่จี าเป็นภายใต้ คานึงถึงทรัพย์สินทางปญั ญา ปญั หา และทรัพยากร ความสามารถ
เง่อื นไขและทรพั ยากรที่มี เงือ่ นไขและทรพั ยากร เชน่ วิเคราะห์ ที่ มีอยู่ ในการแกป้ ัญหา
อยู่ นาเสนอแนวทางการ งบประมาณ เวลา ข้อมูลและ เปรยี บเทยี บ นาเสนอ ความสามารถ
แกป้ ัญหาใหผ้ ู้อน่ื เขา้ ใจ สารสนเทศ วสั ดุ เครือ่ งมือและ ตัดสินใจ แนวทางการ ในการใช้
ด้วยเทคนคิ หรอื วิธกี าร อุปกรณช์ ่วยให้ไดแ้ นวทางการ นาเสนอ แกป้ ัญหา เทคโนโลยี
ที่หลากหลาย วางแผน แกป้ ญั หาท่ีเหมาะสม วางแผน ให้ผอู้ นื่ เขา้ ใจ ความสามารถ
ขัน้ ตอนการทางานและ การออกแบบแนวทางการ แก้ปญั หา ในการสอ่ื สาร
ดาเนนิ การแกป้ ญั หาอย่าง แกป้ ญั หาทาได้หลากหลายวิธี อยา่ งเป็น
เปน็ ขัน้ ตอน เชน่ การรา่ งภาพ การเขยี น ข้ันตอน
แผนภาพ การเขียนผงั งาน
เทคนคิ หรือวิธกี ารในการ
นาเสนอแนวทางการแกป้ ญั หามี
หลากหลาย เช่น การใช้แผนภูมิ
ตาราง ภาพเคล่ือนไหว
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั สมรรถนะ
และตัวชี้วดั K (คากริยา) พงึ ประสงค์ สาคัญผู้เรยี น
ม.3/4ทดสอบ ประเมนิ ผล P A C
วเิ คราะห์ และใหเ้ หตผุ ล
ของปัญหาหรขื อ้ บกพรอ่ ง การกาหนดขน้ั ตอนและ ให้เหตุผล ความสามารถ
เกิดข้ึนภายใต้กรอบ ปญั หาหรือ ในการคดิ
เง่ือนไข พร้อมทั้งหาแนว ระยะเวลาในการทางานก่อน ข้อบกพร่องที่ ความสามารถ
ทางการปรบั ปรุงแก้ไข เกดิ ข้ึนภายใต้ ในการแกป้ ญั หา
และนาเสนอผลการ ดาเนนิ การแกป้ ญั หาจะช่วยให้ กรอบเง่ือนไข ความสามารถ
แกป้ ัญหา ในการส่อื สาร
การทางานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย แก้ปัญหา
ม.3/5 ใช้ความรู้ และ หรือพัฒนา ความสามารถ
ทกั ษะเกีย่ วกับวัสดุ และลดข้อผดิ พลาดของการ งานได้อย่าง ในการคิด
อุปกรณ์เครอ่ื งมือ กลไก ถูกต้อง ความสามารถ
ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ ทางานที่อาจเกิดขึน้ เหมาะสม ในการแก้ปัญหา
ใหถ้ ูกต้องกับลักษณะของ และปลอดภัย
งานและปลอดภัยเพ่ือ 1)
แก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
การทดสอบและประเมินผลเป็น ทดสอบ
การตรวจสอบชนิ้ งานหรอื วธิ ีการ ประเมินผล
วา่ สามารถแกป้ ญั หาไดต้ าม อธิบาย
วัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของ นาเสนอ
ปญั หา เพ่อื หาข้อบกพรอ่ ง และ
ดาเนนิ การปรบั ปรงุ โดยอาจ
ทดสอบซ้าเพื่อให้สามารถแก้ไข
ปัญหาได้
การนาเสนอผลงานเป็นการ
ถา่ ยทอดแนวคดิ เพื่อให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
เกี่ยวกับกระบวนการทางานและ
ชิ้นงานหรือวธิ กี ารทไ่ี ด้ ซ่ึง
สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่ การ
เขียนรายงาน การทาแผ่น
นาเสนอผลงาน การจัด
นทิ รรศการ การนาเสนอผ่านสอ่ื
ออนไลน์
1)
วสั ดแุ ตล่ ะประเภทมีสมบัติ ใช้ความรู้
แตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ และทักษะ
พลาสตกิ เซรามิก จึงต้องมีการ แก้ปัญหา
วิเคราะหส์ มบัติเพ่ือเลือกใชใ้ ห้
เหมาะสมกับลักษณะของงาน
การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้
เรือ่ งกลไก ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
เช่น LED LDR มอเตอร์ เฟอื ง
คาน รอก ล้อ เพลา
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะ
และตัวช้ีวัด K (คากรยิ า) พงึ ประสงค์ สาคัญผูเ้ รยี น
อุปกรณ์และเครื่องมือในการ PA C
สร้างช้นิ งานหรือพฒั นาวิธีการมี
หลายประเภท ตอ้ งเลือกใช้ให้
ถกู ต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
รวมท้ังรู้จักเก็บรักษา
คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้นื ฐำน
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ว23122 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 3
ภำคเรยี นที่ 1 เวลา 20 คาบ เวลา 0.5 หนว่ ยกติ
ศึกษาสาเหตุหรือปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และผลกระทบต่อมนุษย์ สังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และอาชีพในชุมชน เพื่อสารวจและระบุปัญหาท่ีเกิดขึ้นได้ตรงตามความจริง
กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ ร่วมกัน ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ
ประเภท และสมบัติของวัสดุต่าง ๆ เช่น ไม้ เหล็ก พลาสติก ยางพารา เคร่ืองมือในการสร้างชิ้นงาน เช่น ค้อน
ประแจ สว่าน คีมประเภทต่าง ๆ เพื่อให้สามารถตัดสินใจเลือกแนวทางในออกแบบการแก้ปัญหาได้อย่าง
เหมาะสม
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ( Problem – based Learning) วิธีการสอนโดยเน้น
รูปแบบการสอนแบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-based Learning) วัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
(5Es Intructional Model) และวิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบอุปนัย (Induction) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้
ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหา วางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสร้าง
องค์ความรู้ใหมด่ ้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิ โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจ มที ักษะเกยี่ วกับการใช้ความรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และศาสตร์อ่ืน ๆ ใน
การออกแบบและพฒั นาเทคโนโลยใี นด้านตา่ ง ๆ ท่สี ามารถนาไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ และเกดิ
ประโยชนต์ ่อสงั คม และการดารงชีวิต จนสามารถพฒั นากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการ
แก้ปญั หาและการจดั การทักษะในการส่ือสาร และความสามารถในการตดั สนิ ใจ และเป็นผทู้ ่มี ีจติ วิทยาศาสตร์
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในการใช้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอย่างสรา้ งสรรค์
ตัวชว้ี ดั
ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
รวม 5 ตัวชว้ี ดั
โครงสรำ้ งรำยวชิ ำพืน้ ฐำน
กลุ่มสำระกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี
ว23122 การออกแบบและเทคโนโลยี 3 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3
ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 คาบ เวลา 0.5 หนว่ ยกิต
หนว่ ย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรียนรู้ เวลา น้าหนัก
ท่ี เรยี นรู้ ตวั ช้ีวัด (ชั่วโมง) คะแนน
1. เทคโนโลยีกับ ว 4.1 ม.3/1 ความต้องการของมนุษย์เกิดข้ึนอยู่ตลอดเวลา 5
ชีวิต และยังทาใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงในด้านต่าง ๆ
คือ การเปลยี่ นแปลงด้านเศรษฐกจิ ด้านสงั คม
ดา้ นวฒั นธรรม และด้านสิง่ แวดล้อม
ปจั จบุ นั มีการนาเทคโนโลยีขัน้ สงู มาใช้ในทุก
ภาคสว่ น ดังน้ัน เทคโนโลยจี ึงเกีย่ วข้องกับการนา
ความร้จู ากศาสตรต์ ่าง ๆ มาประกอบกับความรู้
ด้านวิทยาศาสตร์และด้านคณิตศาสตร์ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอาชีพตา่ ง ๆ ในชุมชน
อย่างสรา้ งสรรค์ เพ่ือตอบสนองต่อตลาดแรงงาน
โดยม่งุ ส่งเสริมเทคโนโลยพี ้ืนฐานท้ัง 4 ด้าน ไดแ้ ก่
เทคโนโลยีชวี ภาพ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยี
วัสดุศาสตร์พลงั งานและสิง่ แวดลอ้ ม และ
เทคโนโลยสี ารสนเทศการสือ่ สาร และดิจิทัล
2. เทคโนโลยกี ับ ว 4.1 ม.3/2 การสารวจชุมชน เปน็ ศึกษาข้อเท็จจริง 4
การพฒั นางาน ม.3/3 เกีย่ วกบั ลักษณะและสภาพของสงั คม เศรษฐกิจ
อาชพี ภายใน วฒั นธรรม ความต้องการ และปัญหาในชุมชน
ชมุ ชนหรือ เพื่อให้ทราบลักษณะและขอบเขตของปัญหา
ทอ้ งถ่นิ ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน และเป็นพื้นฐานใน
การศึกษาหาสาเหตุของแต่ละปญั หา และหา
แนวทางในการปรบั ปรุงแก้ไข ซง่ึ ปัญหาหรือ
ความต้องการภายในชุมชนหรือท้องถน่ิ น้ัน
สามารถแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ได้ดงั นี้ คือ
ปญั หาด้านเศรษฐกิจ ดา้ นสังคม ดา้ นวัฒนธรรม
และดา้ นสงิ่ แวดล้อม
เทคโนโลยี เปน็ สิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น
มาใชเ้ พ่ือการแกป้ ัญหาพื้นฐานท่ีเกิดขน้ึ
ในการดารงชวี ิตตั้งแต่สมัยโบราณ โดยมีการแบ่ง
ระดับของเทคโนโลยที ่ีใชใ้ นการแก้ปัญหา
ออกเป็น 3 ระดับ
หนว่ ย ช่ือหน่วยการ มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ เวลา นา้ หนัก
ท่ี เรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั (ช่วั โมง) คะแนน
3. วัสดุ อปุ กรณ์ ว 4.1 ม.3/5 วสั ดุ หมายถึง สิง่ ของหรือวัตถุทน่ี ามาใช้ 4
เครอื่ งมอื และ ประกอบกนั เปน็ ชิน้ งานตามการออกแบบ
ความรู้ในการ มีสมบตั เิ ฉพาะตวั ทางฟิสิกส์ ทางเคมี ทางไฟฟา้
แก้ปญั หาหรือ หรือสมบัตเิ ชงิ กลแตกต่างกนั ไป โดยวสั ดุ
พฒั นางาน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ โลหะและอโลหะ โดย
การเลอื กใช้วสั ดุควรพจิ ารณาจากสมบตั ิของ
วสั ดุใหต้ รงกบั งานที่ออกแบบหรือตาม
วตั ถปุ ระสงค์ทต่ี อ้ งการ รวมถึงการใชง้ าน
อุปกรณ์และเครื่องมอื ช่างพนื้ ฐานถอื ว่าเป็นตวั
ชว่ ยทสี่ าคัญในการออกแบบกระบวนการผลิต
การแกป้ ัญหาโดยการพฒั นางานจาเป็นต้อง
อาศัยกลไกให้ทางานประสานสอดคลอ้ งกันใน
การพัฒนาชิ้นงาน ไดแ้ ก่ ล้อและเพลา รอก
เฟืองตรง คาน และสปรงิ รวมถงึ กระบวนการ
ไฟฟา้ ที่กอ่ ใหเ้ กดิ พลงั งานอื่น ๆ เชน่ แสงสว่าง
ความร้อน พลังงานกล การควบคุมหรือออกแบบ
การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้
4. การแกป้ ัญหา ว 4.1 ม.3/1 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเปน็ 7
ชมุ ชนหรือ ม.3/2 กระบวนการแก้ปญั หาหรือพัฒนาชิ้นงาน
ทอ้ งถิน่ ด้วย ม.3/3 อย่างเปน็ ข้นั ตอนภายใต้ทรัพยากรท่มี ีอยู่
กระบวนการ ม.3/4 โดยวเิ คราะหส์ ถานการณ์ของปัญหา ผลกระทบ
ออกแบบเชิง ของการแก้ปญั หา เพื่อนาไปสู่การออก แบบ
วิศวกรรม แนวทางการแกป้ ัญหา โดยใช้ความรดู้ า้ น
วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อน่ื ๆ
สาหรบั กระบวนการออกแบบเชิงวศิ ว กรรม
โดยการพฒั นาชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื นั้น จะมุ่งเน้น
พัฒนาชุมชนให้พง่ึ พาตวั เองได้ผา่ นการสรา้ ง
ผู้นาชุมชนทเ่ี ข้มแข็ง ทางานตอบสนองต่อ
สภาพแวดลอ้ มท่เี ป็นเอกลักษณข์ องแตล่ ะ
ชมุ ชน นาวิธกี ารพฒั นาท่ีได้ผลมาใช้แก้ปัญหาท่ี
สาคัญของชุมชน และกระตุ้นใหเ้ กดิ การลงมอื
ทา ตลอดจนมีการสร้างเศรษฐกิจใหก้ บั ชุมชน
โดยอาศยั กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
มาช่วยในการสรา้ งงาน เพอ่ื นาไปสูก่ าร
แกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนในชุมชนอย่างยง่ั ยืน
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวิชา วิทยาการคานวณ 1 รหัสวิชา ว21124
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2 เวลาเรยี น 22 ช่ัวโมง/ภาค จานวน 2.5 หน่วยกติ
สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอนและเป็น
ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแก้ปัญหา
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ รู้เท่าทัน และมจี รยิ ธรรม
ชน้ั รหสั ตวั ช้ีวดั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท้องถนิ่
ม.1 ว 4.2 ม.1/1 1.ออกแบบ แนวคดิ เชิงนามธรรม เปน็ การ
อัลกอริทมึ ท่ีใช้ ประเมนิ ความสาคัญของ
แนวคดิ เชงิ รายละเอียดของปญั หา
นามธรรมเพื่อ แยกแยะสว่ นท่ีเป็นสาระสาคัญ
แก้ปญั หาหรือ ออกจากส่วนที่ไมใ่ ชส่ าระสาคัญ
อธิบายการทางาน ตัวอย่างปญั หา เชน่ ตอ้ งการปู
ทพ่ี บในชวี ติ จรงิ หญ้าในสนาม ตามพื้นที่
ท่กี าหนด โดยหญ้าหน่ึงผืนมี
ว 4.2 ม.1/2 2.ออกแบบและ ความกว้าง 50 เซนติเมตร ยาว
เขียนโปรแกรม 50 เซนติเมตร จะใชห้ ญ้า
อย่างง่าย เพ่ือ ทง้ั หมดก่ผี นื
แก้ปัญหาทาง
คณิตศาสตร์ หรือ การออกแบบและเขียน
วิทยาศาสตร์ โปรแกรมทมี่ ีการใช้ตวั แปร
เงอ่ื นไข วนซ้า
การออกแบบอลั กอริทึม เพ่ือ
แก้ปัญหา ทางคณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตรอ์ ย่างงา่ ย อาจใช้
แนวคดิ เชิงนามธรรมในการ
ออกแบบเพอ่ื ใหก้ ารแกป้ ญั หามี
ประสทิ ธภิ าพ
การแก้ปัญหาอย่างเปน็
ข้นั ตอนจะช่วยให้แกป้ ญั หาได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ
ช้นั รหัสตัวช้ีวดั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระทอ้ งถน่ิ
ว 4.2 ม.1/3 3.รวบรวมข้อมลู ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ช้ในการเขยี น
ว 4.2 ม.1/4 ปฐมภมู ิ โปรแกรม เช่น Scratch,
ประมวลผล python, java, c
ประเมินผล ตวั อย่างโปรแกรม เชน่
นาเสนอข้อมูลและ โปรแกรมสมการการเคลื่อนท่ี
สารสนเทศตาม โปรแกรมคานวณหาพ้นื ท่ี
วตั ถุประสงค์โดยใช้ โปรแกรมคานวณดชั นีมวลกาย
ซอฟตแ์ วร์ หรือ
บรกิ ารบน การรวบรวมข้อมลู จาก
อนิ เทอรเ์ น็ตที่ แหล่งข้อมลู ปฐมภูมิ ประมวลผล
หลากหลาย สร้างทางเลอื ก ประเมินผล จะ
ทาให้ไดส้ ารสนเทศเพื่อใช้ในการ
4. ใช้เทคโนโลยี แกป้ ัญหาหรือการตดั สินใจ ได้
สารสนเทศอย่าง อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
ปลอดภยั ใช้ส่อื การประมวลผลเปน็ การ
กระทากบั ข้อมลู เพอ่ื ให้ได้
ผลลพั ธ์ทม่ี คี วามหมายและมี
ประโยชน์ตอ่ การนาไปใชง้ าน
สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี เชน่
คานวณอัตราส่วน คานวณ
ค่าเฉลี่ย
การใช้ซอฟตแ์ วร์หรือบริการ
บนอนิ เทอร์เนต็ ที่หลากหลายใน
การรวบรวม ประมวลผล สร้าง
ทางเลอื ก ประเมินผล นาเสนอ
จะช่วยใหแ้ ก้ปญั หาได้อย่าง
รวดเรว็ ถูกตอ้ ง และแม่นยา
ตัวอย่างปัญหา เน้นการบรู ณา
การกับวิชาอ่ืน เชน่ ต้มไข่ให้ตรง
กับพฤติกรรมการบริโภค ค่า
ดัชนีมวลกายของคนในท้องถิ่น
การสร้างกราฟผลการทดลอง
และวิเคราะห์แนวโน้ม
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง
ปลอดภยั เชน่ การปกปอ้ งความ
เป็นส่วนตัวและอตั ลักษณ์
ช้นั รหสั ตวั ช้ีวดั ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง สาระท้องถน่ิ
และแหลง่ ข้อมูล การจดั การอัตลักษณ์ เชน่ การ
ตามข้อกาหนดและ ต้ังรหสั ผ่าน การปกป้องข้อมูล
ขอ้ ตกลง ส่วนตวั
การพจิ ารณาความเหมาะสม
ของเน้ือหา เชน่ ละเมิดความ
เปน็ ส่วนตัวผอู้ ืน่ อนาจาร
วจิ ารณผ์ ู้อ่ืนอย่างหยาบคาย
ข้อตกลง ข้อกาหนดในการ
ใช้ส่ือ หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
Creative commons
ตารางวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวดั เพ่ือจดั ทาคาอธิบายรายวชิ า
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รายวชิ า วิทยาการคานวณ 1 รหสั วชิ า ว21124
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 เวลาเรยี น 20 ช่วั โมง/ภาค จานวน 2.5 หนว่ ยกติ
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคญั กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั สมรรถนะ
และตวั ชี้วดั K
(คากรยิ า) พงึ ประสงค์ สาคญั ผู้เรียน
PA C
มาตรฐาน ว 4.2 2)
เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ เขา้ ใจและใช้แนวคดิ เชงิ คานวณ เขา้ ใจและใช้ แก้ปัญหาท่ี ความสามารถ
คานวณในการแกป้ ญั หา ในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริง แนวคดิ เชงิ อยา่ งเปน็ ในการคิด
ที่พบในชวี ติ จรงิ อย่างเป็น อย่างเปน็ ข้นั ตอนและเป็นระบบ คานวณ ข้ันตอนและ ความสามารถ
ขั้นตอนและเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยี เปน็ ระบบ ในการแก้ปญั หา
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ สารสนเทศ มจี ริยธรรม ความสามารถ
และการส่ือสารในการ และการ ในการใช้
เรยี นรู้ การทางาน และ สือ่ สาร เทคโนโลยี
การแก้ปัญหาได้อย่างมี การแก้ ความสามารถ
ประสิทธภิ าพ รู้เทา่ ทัน ปัญหา ในการสือ่ สาร
และมจี รยิ ธรรม ความสามารถ
ในการใชท้ ักษะ
ชวี ติ
ม.1/1ออกแบบอลั กอริทึม 2) -
ท่ใี ชแ้ นวคิดเชิงนามธรรม แนวคดิ เชงิ นามธรรม เป็นการ ออกแบบ ความสามารถ
เพือ่ แก้ปัญหาหรืออธบิ าย ประเมนิ ความสาคัญของ อธิบาย ในการคิด
การทางานทพ่ี บในชีวติ รายละเอยี ดของปัญหา แยกแยะ ความสามารถ
จริง สว่ นทีเ่ ป็นสาระสาคัญออกจาก ในการแก้ปัญหา
สว่ นทไ่ี ม่ใชส่ าระสาคัญ ความสามารถ
ในการสื่อสาร
ม.1/2 ออกแบบและเขียน 2) -
โปรแกรมอย่างง่าย เพื่อ การออกแบบและเขยี น ออกแบบ ความสามารถ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โปรแกรมท่มี ีการใช้ตวั แปร เขยี น ในการคิด
หรอื วิทยาศาสตร์ เงอื่ นไข วนซา้ โปรแกรม ความสามารถ
การออกแบบอัลกอริทึม เพ่ือ ในการแก้ปัญหา
แก้ปญั หา ทางคณิตศาสตร์
วทิ ยาศาสตร์อย่างงา่ ย อาจใช้
แนวคดิ เชิงนามธรรมในการ
ออกแบบเพื่อใหก้ ารแกป้ ัญหามี
ประสิทธิภาพ
มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คณุ ลักษณะอัน สมรรถนะ
และตวั ชี้วัด K (คากริยา) พงึ ประสงค์ สาคญั ผู้เรยี น
ม.1/3 รวบรวมข้อมลู ปฐม การแก้ปัญหาอย่างเปน็ ขั้นตอน P A C
ภมู ิ ประมวลผล นาเสนอ จะชว่ ยให้แกป้ ัญหาได้อย่างมี
ขอ้ มลู และสารสนเทศตาม ประสิทธิภาพ รวบรวม ใช้ซอฟต์แวร์ ความสามารถ
วตั ถุประสงค์ โดยใช้ ซอฟตแ์ วรท์ ใ่ี ชใ้ นการเขียน ข้อมลู หรอื บรกิ ารบน ในการคิด
ซอฟต์แวร์ หรอื บริการบน โปรแกรม เช่น Scratch, ประเมินผล อนิ เทอร์เน็ตท่ี ความสามารถ
อนิ เทอร์เนต็ ท่ีหลากหลาย python, java, c นาเสนอ หลากหลาย ในการใช้
เทคโนโลยี
ม.1/4 ใช้เทคโนโลยี 2) ใช้ ใชเ้ ทคโนโลยี ความสามารถ
สารสนเทศอย่างปลอดภัย การรวบรวมขอ้ มูลจาก เทคโนโลยี สารสนเทศ ในการสอ่ื สาร
ใชส้ ่ือและแหลง่ ขอ้ มลู ตาม แหล่งขอ้ มลู ปฐมภมู ิ ประมวลผล สารสนเทศ อย่างปลอดภัย
ข้อกาหนดและข้อตกลง สร้างทางเลือก ประเมินผล จะทา ความสามารถ
ใหไ้ ด้สารสนเทศเพื่อใชใ้ นการ ในการคิด
แกป้ ญั หาหรือการตัดสนิ ใจ ได้
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
การประมวลผลเป็นการกระทา
กบั ข้อมลู เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ทม่ี ี
ความหมายและมีประโยชนต์ ่อ
การนาไปใชง้ านสามารถทาได้
หลายวิธี เช่น คานวณอัตราสว่ น
คานวณคา่ เฉลยี่
การใชซ้ อฟต์แวรห์ รือบริการบน
อินเทอร์เนต็ ท่หี ลากหลายในการ
รวบรวม ประมวลผล สร้าง
ทางเลอื ก ประเมินผล นาเสนอ
จะช่วยให้แก้ปัญหาไดอ้ ย่าง
รวดเรว็ ถูกตอ้ ง และแม่นยา
ตัวอย่างปัญหา เน้นการบรู ณา
การกบั วิชาอ่ืน เช่น ตม้ ไข่ให้ตรง
กับพฤติกรรมการบริโภค ค่าดัชนี
มวลกายของคนในทอ้ งถ่ิน การ
สร้างกราฟผลการทดลองและ
วเิ คราะหแ์ นวโน้ม
2)
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่าง
ปลอดภัย เช่น การปกปอ้ งความ
เปน็ ส่วนตวั และอตั ลักษณ์
มาตรฐานการเรยี นรู้ สาระสาคัญ กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน สมรรถนะ
และตัวช้ีวัด K (คากรยิ า) พึงประสงค์ สาคัญผเู้ รยี น
การจดั การอตั ลกั ษณ์ เช่น การ P A C
ต้งั รหสั ผ่าน การปกป้องข้อมูล
สว่ นตัว ความสามารถ
การพจิ ารณาความเหมาะสม ในการแก้ปัญหา
ของเนื้อหา เช่น ละเมดิ ความเปน็ ความสามารถ
ส่วนตัวผอู้ ื่น อนาจาร วจิ ารณ์ ในการสื่อสาร
ผูอ้ น่ื อย่างหยาบคาย
ขอ้ ตกลง ข้อกาหนดในการใช้ส่อื
หรอื แหล่งข้อมูลต่าง ๆ Creative
commons
คำอธิบำยรำยวชิ ำพ้ืนฐำน
กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ว21124 วทิ ยาการคานวณ 1 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1
ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 คาบ เวลา 0.5 หน่วยกติ
ศึกษาการออกแบบอัลกอริทึมท่ีใช้แนวคิดเชิงนามธรรมเพ่ือแก้ปัญหาหรืออธิบายการทางานท่ีพบใน
ชีวิตจริง การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้า การออกแบบอัลกอริทึม เพื่อ
แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์อย่างง่าย การเขียนโปรแกรมโดยใช้ซอฟต์แวร์ Scratch, python,
java และ c เปน็ ต้น ศกึ ษาการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลปฐมภมู ิ ประมวลผล สรา้ งทางเลอื ก ประเมินผล
ตลอดจนใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั การจัดการอัตลักษณ์ การพิจารณาความเหมาะสมของเน้ือหา
ใชส้ ่ือและแหล่งข้อมูลตามขอ้ กาหนดและข้อตกลงได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้การคิดเชิงคานวณและปัญหาเป็นฐาน (Problem – based
Learning) เพ่ือเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์การแก้ปัญหาวางแผนการ
เรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนาเสนอผ่านการทากิจกรรมโครงงาน เพ่ือให้เกิดทักษะ ความรู้ ความเข้าใจ
และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา จนสามารถนาเอาแนวคิดเชิงคานวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้าง
โครงงานได้
เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ การนาข้อมูลปฐมภูมิเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเคราะห์ ประเมิน
นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศ ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ ใชท้ ักษะการคดิ เชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวติ จริง
และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อช่วยในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างรู้เท่าทัน
และรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนาความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคม และการดารงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการ
แก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเป็นผูท้ ี่มีจิตวิทยาศาสตร์
มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอยา่ งสรา้ งสรรค์
ตวั ช้วี ดั
ว 4.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
รวม 4 ตวั ช้วี ดั