The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปรายงาน ศยช.ธารน้ำทิพย์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by yala, 2022-06-09 05:15:05

สรุปรายงาน ศยช.ธารน้ำทิพย์

สรุปรายงาน ศยช.ธารน้ำทิพย์

รายงานสรปุ การเรียน (Coaching Techniques)

โดย นางสาวอากีล๊ะ หะยีดาราโอะ
เจา้ หนา้ ที่ศูนยย์ ุตธิ รรมต้าบลธารน้าทพิ ย์

วันท่ี ๑๗ กมุ ภาพันธ์ ถึงวนั ท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๖๕



คา้ น้า

รายงานการเรียน (Coaching Techniques) ฉบับน้ี จัดทาข้ึนเพื่อสรุปการเรียนรู้งานเก่ียวกับ
สานักงานยุติธรรมทั้งหมด เปิดโอกาสให้เจ้าหน้าท่ีศูนย์ยุติธรรมชุมชนได้เรียนรู้ ศึกษา ทาความเข้าใจรูปแบบ
แผนงานและกระบวนการทางานของแต่ละกลุ่มงานอย่างถูกต้อง โดยได้ศึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ อาทิเช่น
แหลง่ ความร้จู ากเจ้าหน้าที่ในแต่ละฝ่าย หนังสอื และแหล่งความรจู้ ากเว็บไซตต์ า่ งๆ

ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ ดร.อภิรัชศักดิ์ รัชนีวงศ์ ผู้อานวยการสานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา ผู้ให้
ความรู้ คาปรึกษา และแนวทางการศึกษา หวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่ผู้ที่ให้
ความสนใจเกย่ี วกบั แนวทางด้านการบริการประชาชนจากสานกั งานยุตธิ รรมเปน็ อยา่ งดี

อากลี ๊ะ หะยดี าราโอะ

ข หนา้

สารบญั ก

เรื่อง ข
คา้ น้า
สารบญั ๑
สานกั งานยตุ ิธรรมคอื อะไร
หน่วยงานในสังกัดสานักงานกระทรวงยุตธิ รรม ๓

ศักดขิ์ องกฎหมายและสาระสาคญั ๓
กระบวนการยตุ ิธรรมของไทย
สทิ ธแิ ละเสรีภาพ ๔
โครงสร้างของสานักงานยตุ ธิ รรมจงั หวดั ยะลา
ภารกิจหลกั ของสานกั งานยุตธิ รรมจงั หวัด ๖
การบรกิ ารประชาชนของสานกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั /ศูนย์ยตุ ธิ รรมชมุ ชน
ภารกจิ 5 ด้านของศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชน ๗
กฎหมายท่ีเกยี่ วข้องกับสานกั งานกระทรวงยุตธิ รรม

๑ พระราชบัญญตั ิค่าตอบแทนผเู้ สียหายฯลฯ
๒ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองพยานในคดอี าญา ๘
๓ พระราชบัญญตั กิ องทนุ ยตุ ิธรรม
๔ พระราชบัญญตั กิ ารไกล่เกลีย่ ข้อพิพาท ๘
งานสารบรรณ
๑ บททั่วไป ๑๖
๒ ชนดิ ของหนงั สอื ๑๖
งานประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เบตง ๒๐
๒๒
อา้ งองิ ๒๓

ภาคผนวก ๒๔
๒๔
๒๔
๓๐

๓๒

๓๓

1

สา้ นกั งานยตุ ิธรรมคอื อะไร

สานักงานยุติธรรม เป็นหน่วยงานในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ข้ึนตรงต่อสานักงานปลัดกระทรวง
ยุติธรรม เป็นตัวแทนกระทรวงยุติธรรมเพ่ือประสานงานและบูรณการงานในระดับจังหวัดทางานร่วมกับ
ประชาชนในลักษณะหุ้นส่วน โดยให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะเครือข่ายยุติธรรมชุมชน เพ่ือสร้าง
ความยุติธรรมให้ครอบคลุมและท่ัวถึง โดยชุมชน เพ่ือชุมชน การนาความยุติธรรมสู่ชุมชนในเชิงรุกนี้ เป็น
กระบวนการยุติธรรมทางเลือก ซ่งึ ต่างกบั ระบบยุติธรรมในกระแสหลักซ่ึงเป็นไปตามขัน้ ตอนของกฎหมาย ขาด
ความยืดหยุน่ และมสี ภาพบงั คับ

สานักงานยุติธรรมจังหวดั ไดใ้ ชห้ ลกั การยืดหยุ่นมาจัดการกับปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการไกล่เกล่ียคดี
ในชุมชน กรณีคดีเล็กน้อย คดีแพ่งและคดีที่สามารถยอมความได้ อันเป็นการลดปริมาณคดีสู่กระบวนการ
ยุติธรรมกระแสหลัก ป้องกันคดีรกโรงรกศาล การให้คาปรึกษาทางกฎหมาย การส่งเสริมความรู้ในเร่ือง
กฎหมาย การทาความเข้าใจเก่ียวกับบทบาทหนา้ ท่ขี องหน่วยงานในสังกดั กระทรวงยตุ ธิ รรม

สานกั งานยตุ ิธรรมจังหวัดไดบ้ ูรณการงานในหน่วยงานต่างๆเข้าดว้ ยกนั ในลกั ษณะการจัดโครงการและ
ออกพื้นที่ร่วมกัน อันเป็นการส่งเสริมให้หน่วยงานต่างๆในสังกัดกระทรวงยุติธรรมรวมเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน
การให้บริการในลักษณะเครือข่ายใยแมงมุม ในรูปแบบศูนย์บริการร่วม (service link) และ (one stop
service) เพ่ือบริการประชาชนในการติดต่อหน่วยงานต่างๆในสังกัดกระทรวงยุติธรรมเสร็จส้ินเบ็ดเสร็จในจุด
เดียว

เครือข่ายยุติธรรมชุมชน หมายถึง ประชาชน กลุ่ม หรือองค์กรท่ีมีความสนใจและสมัครใจที่จะ
แลกเปลย่ี น ขอ้ มูลข่าวสาร และประสานความร่วมมอื ในการป้องกนั เฝ้าระวังปัญหาอาชญากรรม ตลอดจนเข้า
มามสี ่วนร่วมและมีบทบาทในกิจกรรมต่างๆของกระทรวงยตุ ิธรรม เพื่อตอบสนองความตอ้ งการและเสรมิ สร้าง
ความยุติธรรมและความสงบสุขในชุมชนภายใต้ยุทธศาสตร์ “ยุติธรรมถ้วนหน้า ประชามีส่วนร่วม” (Justice
for All, All for Justice) โดยภาครัฐจะส่งเสริมการรวมตัวกันของประชาชนในลักษณะของ “เครือข่าย” เพื่อ
ทางานเคียงบ่าเคียงไหล่กับภาครัฐในการดาเนินภารกิจต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับผลประโยชน์ของชุมชน และจะ
ส่งเสริมให้เครือข่ายมีความเข้มแข็ง สามารถจัดตั้ง “ศูนย์ยุติธรรมชุมชน” ของตนเองข้ึน เพื่อเป็นกลไกในการ
รว่ มกนั สรรหาแนวทางท่จี ะทาใหภ้ าครฐั และภาคประชาสังคมร่วมกันสรา้ ง “สังคมท่ียตุ ิธรรม” กล่าวคือ เป็น
สังคมที่ประชาชนได้รับความเป็นธรรมอย่างเสมอภาคภายใต้กฎหมาย อย่างถ้วนท่ัว และเป็นสังคมที่มีความ
สงบสุขปราศจากอาชญากรรมอันจะเป็นรากฐาน สาคัญของการพัฒนาท้ังทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอย่าง
ย่ังยืน

ผปู้ ระสานงานยุติธรรมชุมชน หมายถึง สมาชิกเครือข่ายยุติธรรมชุมชนได้รบั คัดเลือก ให้เป็นตัวแทน
ของเครือข่ายยุติธรรมชุมชน ประชาชนในชุมชน ในการประสานงาน ระหว่างประชาชน ชุมชน และองค์กร
ต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชน เพ่ือให้เกิดความเป็นธรรมในชุมชนและส่งผลให้เกิดความสงบสุขของชุมชน
นอกจากน้ยี งั เปน็ ผู้บรหิ ารจดั การ และดาเนนิ งานในศูนย์ยตุ ิธรรมชุมชน

คณะกรรมการประจ้าศนู ย์ยุติธรรมชุมชน หมายถงึ สมาชิกเครือข่ายยุตธิ รรมชุมชนหรือประชาชนใน
ชุมชนได้รับการคัดเลือกให้ทาหน้าที่พิจารณา วินิจฉัย แก้ไขปัญหาให้กับประชาชนในชุมชนในกรณีท่ีสมาชิก
เครือข่ายยตุ ิธรรมชมุ ชน หรือผู้ประสานงานยุติธรรมชุมชนไม่สามารถแก้ไขได้และพจิ ารณาส่งเร่ืองท่ไี ม่สามารถ

2

แก้ไขได้ให้สานักงานยุติธรรมจังหวัดต่อไปโดยมีผู้ประสานงานยุติธรรมชุมชนเป็นเลขานุการ คณะกรรมการ
ประจาศูนย์ยุติธรรมชมุ ชนและเป็นฝา่ ยธุรการ

ศูนย์ยุติธรรมชุมชน หมายถึง สถานท่ีที่อยู่ในชุมชนและสมาชิกเครือข่ายยุติธรรมชุมชน ตลอดจน
ประชาชนเห็นชอบให้จัดตั้งเป็นศูนย์ยุติธรรมชุมชน เพื่อใช้เป็นสถานที่ดาเนินงานของคณะกรรมการประจา
ศูนยย์ ุติธรรมชมุ ชนหรือดาเนนิ งานในกจิ กรรมต่างๆ ของชุมชน

ศูนย์ประสานงานยุติธรรมชุมชน หมายถึง ศูนย์ที่ทางกระทรวงยุติธรรมจัดตั้งข้ึนอยู่ในสานักงาน
ยุติธรรมจังหวัดภายในกลุ่มงานบริการประชาชน โดยให้เป็นกลไกเช่ือมต่อการทางานระหว่างภาครัฐกับ
ประชาชนในรปู แบบของเครอื ข่ายยตุ ิธรรมชมุ ชน ซ่ึงศูนยป์ ระสานงานยตุ ิธรรมชุมชนมีหนา้ ท่ีส่งเสรมิ สนับสนุน
และพัฒนาเครือข่ายยุติธรรมชุมชน จัดวางระบบฐานข้อมูลและเช่ือมโยงข้อมูลระหว่างกลไกในชุมชนกับ
สานักงานยุติธรรมจังหวัดและกระทรวงยุติธรรม เพื่อทางานร่วมกันตลอดจนติดตามและรายงานผลการ
ดาเนนิ งานของศูนย์

ศนู ย์ยุติธรรมสร้างสุข กระทรวงยุติธรรม มีความมุ่งม่ันท่ีจะขับเคลื่อนกระบวนการยุติธรรมไปสู่พน่ี ้อง
ประชาชนอย่างทวั่ ถงึ และเท่าเทียมตลอดจนสร้างการเรยี นรทู้ างด้านกฎหมาย ค้มุ ครองสิทธิเสรภี าพประชาชน
ป้องกันและควบคุมอาชญากรรม รวมทั้งเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ โดยการเดินหน้าเข้ารับฟังปัญหาและ
ดาเนินการบรรเทาทุกข์อย่างทันสถานการณ์ เพื่ออานวยความยุตธิ รรมให้แกป่ ระชาชนและท่ีสาคัญคือ การรับ
ฟังปัญหาจากประชาชน เพ่ือการเยียวยาอย่างตรงจุด ไม่ว่าเสียงแห่งความทุกข์ เสียงร้องขอความยุติธรรมจะ
ดังอยู่ที่ใด กระทรวงยุติธรรมพร้อมก้าวไปรับฟัง และคืนความสุขให้คนไทยอย่างเท่าเทียม ภายใต้นโยบาย
“ยุติธรรมเชิงรกุ สร้างสขุ ให้ประชาชน”

กระทรวงยุติธรรมได้จัดทาแนวทางการช่วยเหลือเหย่ือ ผเู้ สียหาย และผู้ไม่ได้รับความเป็นธรรม แบบ
บูรณาการภายใต้แนวคิด “ยุติธรรมใส่ใจ 24 ชั่วโมง” (Justice Care) ซึ่งเป็นแนวทางการดาเนนิ งานเชิงรุก
ตามนโยบายของรัฐบาลท่ีต้องการอานวยความยุติธรรม ลดความเหล่ือมล้าในสังคมเพื่อให้ประชาชนเข้าถึง
ความยุติธรรม ด้วยการนาบริการด้านงานยุติธรรมไปสู่ประชาชนในระดับพื้นที่โดยที่ประชาชนไม่ต้องร้องขอ
ภายใน 24 ช่ัวโมง บูรณาการการทางานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม และหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้อง
ทั้งระบบ โดยมีสานักงานยุติธรรมเป็นหน่วยงานหลักในระดับพื้นที่ที่จะนาความเป็นธรรมแบบครบวงจรทั้ง
ทางดา้ นกฎหมาย ดา้ นร่างกาย และดา้ นจิตใจสง่ ถึงมือใหป้ ระชาชนฟรโี ดยไม่มีคา่ ใช้จา่ ย

นอกจากน้ียังมี “คลินิกยุติธรรม” ให้บริการ ๘๔ แห่งท่ัวประเทศ ซึ่งจะบริการเก่ียวกับการร้องเรียน
ร้องทุกข์ การดาเนินการตามพระราชบัญญัติต่างๆ อาทิ การร้องขอคุ้มครองพยาน การใช้ค่าตอบแทนให้แก่
ผูเ้ สยี หายและจาเลยในคดีอาญา กองทุนยุตธิ รรม คลินิกยตุ ิธรรม เป็นสถานที่รองรับพ่ีน้องประชาชนที่ประสบ
ปญั หาเดือดร้อนไม่ไดร้ ับความเปน็ ธรรม หรอื ต้องการที่จะมาขอความชว่ ยเหลือทางกฎหมาย การบรกิ ารคลนิ ิก
ยุติธรรม คือ บริการให้คาปรึกษาทางด้านกฎหมายฟรี และกรณีที่ถูกจับกุมในช้ันพนักงานสอบสวน ในเร่ือง
ของความเป็นธรรม ความยุติธรรม ขอให้นึกถึงคลินิกยุติธรรม และคิดถึงกระทรวงยุติธรรมว่าจะสามารถนา
ท่านไปเข้าถึงความยุติธรรมได้ แต่หน่วยงานของภาครัฐเพียงอย่างเดียวก็คงไม่สามารถกระทาได้อย่างท่ัวถึง
ดังน้ัน จึงมีเครือข่ายพี่น้องประชาชนท่ีเป็นหุ้นส่วนกับกระทรวงยตุ ิธรรม และกรมคุ้มครองสิทธิและเสรภี าพ ที่
เรยี กว่า ยุตธิ รรมชุมชน

3

หนว่ ยงานในสังกดั ส้านักงานกระทรวงยุตธิ รรม

ส่วนราชการ
๑ สานกั งานรฐั มนตรี
๒ สานกั งานปลัดกระทรวงยตุ ธิ รรม
๓ กรมบงั คบั คดี
๔ กรมคมุ ประพฤติ
๕ กรมราชทัณฑ์
๖ กรมสอบสวนคดพี เิ ศษ
๗ กรมคุม้ ครองสทิ ธแิ ละเสรภี าพ
๘ กรมพนิ ิจและค้มุ ครองเด็กและเยาวชน
๙ สานกั งานกจิ การยตุ ิธรรม
๑๐ สถาบนั นติ ิวิทยาศาสตร์

หน่วยงานในบังคบั บัญชารัฐมนตรีว่าการกระทรวงยตุ ธิ รรม
สานกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ (สานกั งาน ป.ป.ส.)

องค์การมหาชน
1 สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนตามพระ

ราบัญญตั อิ งคก์ ารมหาชน พ.ศ. 2542
2 สถาบันอนญุ าโตตุลาการ เป็นองคก์ ารมหาชนตามพระราชบัญญตั ิเฉพาะ

ศักด์ขิ องกฎหมายและสาระส้าคัญ
กฎหมายที่ใช้ในประเทศไทยมีมากมายหลายประเภท เช่น พระราชบัญญัติ พระราชกฤษฎีกา
กฎกระทรวง เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เป็นต้น กฎหมายบางประเภทก็มีผลบังคับใช้กับบุคคล
โดยท่ัวไป บางประเภทก็มีผลบังคับใช้เฉพาะประชาชนท่ีอยู่ในเขตท้องที่นั้นๆ กฎหมายที่มคี วามสาคัญบังคับ
ใช้กับบุคคลท่ัวไปย่อมมีความสาคัญมากกว่ากฎหมายที่มีผลบังคับใช้เฉพาะประชาชนที่อยู่ในเขตท้องท่ีน้ันๆ
ซึง่ เรียกลกั ษณะน้ีวา่ ลาดับศักด์ขิ องกฎหมาย

๑ ล้าดบั ศกั ด์ิของกฎหมายไทย
การจัดลาดับฐานะหรือความสูงต่าของกฎหมาย โดยมีหลักในการตีความว่า กฎหมายท่ีมีศักดิ์ต่ากว่า
คือ มีลาดับช้ันต่ากว่าจะขัดหรือแย้งต่อกฎหมายที่มีศักด์ิสูงกว่า หรือมีลาดับชั้นสูงกว่ามิได้ ดังนั้นกฎหมายที่มี
ศักด์ิหรือลาดับชั้นต่ากว่าหรืออาจเรียกอีกอย่างว่ากฎหมายลูก จะต้องออกหรือตราออกมาให้มีข้อความ
สอดคล้องกับกฎหมายท่ีมีลาดับศักดิ์สูงกว่า ซ่ึงเป็นกฎหมายแม่ให้อานาจกฎหมายลูกไว้ หากบัญญัติออกมามี
ข้อความขัดแย้งหรือฝ่าฝืนบทบัญญัติของกฎหมายแม่แล้ว จะมีผลให้กฎหมายลูกที่มีศักด์ิต่ากว่าใช้บังคับมิได้
ดงั นั้น ศักด์ขิ องกฎหมายจึงหมายถงึ ลาดับฐานะหรือความสงู ตา่ ของกฎหมายท่มี ีความสาคญั สงู กว่าหรอื ต่ากว่า

การจัดแบ่งล้าดบั ชันของกฎหมายไทยสามารถจดั แบ่งลา้ ดับชนั ออกเป็น 7 ประเภท ดังนี้
1 รัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ กฎหมายใดขัดแย้งไม่ได้ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้

อานาจอธปิ ไตย ความสมั พนั ธ์ระหว่างสถาบันการเมือง สิทธเิ สรภี าพของประชาชน
2 พระราชบัญญัตปิ ระมวลกฎหมาย เปน็ กฎหมายท่รี ฐั สภาตราขึน้

4

3 พระราชกาหนด เป็นกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราข้ึนตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรีตาม
บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญใช้ในกรณีจาเป็นรีบด่วนหรือเร่ืองที่จะรักษาความม่ันคงในทางเศรษฐกิจ ความ
ปลอดภยั ของประเทศ แตต่ ้องเสนอต่อรฐั สภาโดยเรว็

4 พระราชกฤษฎีกา เป็นกฎหมายท่ีตราขึ้นโดยพระมหากษัตริย์ตามคาแนะนาของคณะรัฐมนตรี เพื่อ
กาหนดรายละเอียดตามพระราชบัญญัตทิ ่กี าหนดไว้

5 กฎกระทรวง เป็นกฎหมายที่รัฐมนตรีตราข้ึนผ่านคณะรัฐมนตรีเพ่ือดาเนินการให้เป็นไปตาม
พระราชบญั ญตั ิหรอื พระราชกาหนด

6 ข้อบังคับหรือข้อบัญญัติ เป็นกฎหมายขององค์กรปกครองท้องถ่ิน เช่น เทศบาล กรุงเทพมหานคร
เมืองพทั ยา เปน็ ตน้

7 ประกาศคาส่ัง เป็นกฎหมายเฉพาะกิจ เช่น พระบรมราชโองการ ประกาศคณะปฏิวัติคาสั่ง
หน่วยงานราชการ เปน็ ต้น

๒ ประโยชนก์ ารจดั ล้าดับศักด์ิของกฎหมาย
การจัดลาดับศักด์ิของกฎหมายก็เพื่อประโยชน์ในการเริ่มต้นจัดทาร่างกฎหมายว่ากฎหมายประเภทนี้
ระดับใดเป็นผู้จัดทาร่างเพ่ือตราและประกาศใช้บังคับ นอกจากนี้ยังทาให้ผู้ใช้กฎหมายทราบลาดับช้ันของ
กฎหมายที่ใช้อยู่ว่าประเภทใด หรือฉบับใดมีศักดิ์และความสาคัญสูงกว่ากัน สามารถพิจารณาตรากฎหมาย
ฉบับใหม่เพื่อแก้ไข เพ่ิมเติม หรือยกเลิกฉบับเดิมได้ตามศักด์ิของกฎหมาย รวมท้ังกรณีมีปัญหาในการวินิจฉัย
และตีความกฎหมาย โดยยึดหลักว่ากฎหมายท่ีใช้บังคับอยู่ขณะนั้นต้องให้กฎหมายที่มีศักด์ิระดับเดียวกันหรือ
สงู กว่ามาแก้ไขเพมิ่ เติมหรือยกเลกิ จงึ จะมผี ลบงั คับได้ตามกฎหมายกระบวนการยุติธรรมของไทย

กระบวนการยตุ ธิ รรมของไทย
กระบวนการยุตธิ รรม หมายถึง การดาเนินการคดเี ม่ือมีข้อพิพาทเกดิ ข้นึ ระหว่างผ้เู สียหายร้องทกุ ข์ต่อ
เจ้าพนักงานมีการสืบสวนหาข้อเท็จจริงกับผู้กระทาผิดจนถึงการฟ้องร้องต่อศาล ทั้งในกรณีของคดีแพ่งและ
คดอี าญา

๑ บคุ คลและหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องกับกระบวนการยุติธรรม
1 ประชาชน หมายถึง ประชาชนผเู้ กี่ยวขอ้ ง ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จาเลย พยาน
2 พนักงานสอบสวนหรอื ตารวจ ไดแ้ ก่ ผู้ใหญ่บา้ น กานัน ปลดั อาเภอ นายอาเภอ ผูว้ ่าราชการจงั หวดั
๓ พนักงานอัยการ มีหน้าที่ฟ้องคดีผู้ถูกกล่าวหาต่อศาล เป็นทนายโจทก์หรือทนายจาเลย หรือ

ทนายความของแผ่นดนิ
4 ทนายความ คอื ผทู้ ด่ี าเนนิ คดใี ห้แก่ลกู ความในศาล
5 ศาล มีอานาจในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดี ศาลแบ่งออกเปน็ 3 ระดบั คือ

1 ศาลชันตน้ คอื ศาลเริ่มตน้ คดี แบง่ เป็น
ศาลแขวง คือ ศาลพจิ ารณาคดเี ล็ก ๆ เช่น ลกั ทรพั ย์ ยกั ยอก ทารา้ ยร่างกาย
ศาลเยาวชนและครอบครัว
ศาลแรงงาน
ศาลภาษีอากร

2 ศาลอทุ ธรณ์ คือ ศาลทพี่ ิจารณาพิพากษาคดีที่ศาลชั้นต้นได้พิจารณาแล้ว ได้แก่
- ศาลอทุ รณอ - ศาลอทุ ธรณ์ภาค 1 - ภาค 9

5

3 ศาลฎีกา คือ ศาลสูงสุดในการพิจารณาคดีที่ตัดสินโดยศาลอุทธรณ์ แต่ยังไม่เป็นท่ีพอใจของคู่ความ จึง
ยน่ื อทุ ธรณ์ได้ มีอยทู่ ่ีกรงุ เทพมหานครเพียงแหง่ เดยี ว

๒ เจ้าพนักงานบงั คับคดีและพนักงานราชทัณฑ์
คดีแพ่งจะเก่ียวข้องกับเจ้าพนักงานบังคับคดี กรมบังคับคดี และกระทรวงยุติธรรมสาหรับคดีอาญา

เกย่ี วขอ้ งกับเจา้ พนกั งาน กรมราชทัณฑ์ กระทรวงมหาดไทย กระบวนการยุตธิ รรมทางอาญา คดีอาญา คือ คดี
ทม่ี งุ่ รกั ษาความสงบและความเป็นระเบียบของสงั คม

๓ บุคคลทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั คดอี าญา มี 7 ฝ่าย
1 ประชาชน หมายถงึ ผ้ไู ด้รับความเสียหาย หรือท่ีเรยี กวา่ โจทก์
2 พนักงานจบั กมุ และสอบสวน
3 พนักงานอยั การ
4 ทนายความ
5 เจ้าหนา้ ที่ศาล หรือจา่ ศาล
6 คณะผ้พู พิ ากษา
7 กรมราชทัณฑ์ ผ้คู ุมขัน้ ตอนและการฟ้องคดอี าญา

๔ ขันตอนและการฟ้องคดอี าญา
1 เม่อื มีผ้เู สียหายแจ้งความ ร้องทกุ ขก์ ล่าวโทษ ตอ่ เจา้ พนักงานตารวจเพอื่ ให้ดาเนินคดี
2 พนักงานสืบสวนสอบสวนจะรวบรวมข้อเท็จจริงและพิสูจน์ความจริงของผู้กระทาผิดมา

ดาเนินคดี
3 พนักงานสอบสวนทาสานวนข้อกล่าวหาเสนอตอ่ อัยการ
4 ในชั้นศาล ศาลจะประทับฟ้อง ถ้าผู้เสียหายฟ้องศาลเองศาลจะไต่สวนมูลฟ้องว่าคดีนั้นมีมูล

เพยี งพอท่ีจะฟอ้ งหรอื ไม่ ถา้ เปน็ คดอี ุกฉกรรจศ์ าลจะหาทนายความให้กบั จาเลยเพื่อความเป็นธรรม
5 การสอบคาใหก้ ารของจาเลย
6 การสบื พยาน ให้โจทกส์ บื พยานกอ่ นเพ่ือพิสูจน์ความผดิ
7 การพิพากษาตัดสนิ โดยศาลจะดูจากพยานหลักฐานทงั้ บุคคล เอกสาร พยานวัตถุ
8 การอุทธรณ์ฎีกาตอ้ งทาภายใน 1 เดอื น
9 การบงั คบั คดี เจ้าหนา้ ท่รี าชทัณฑ์จะทาหนา้ ที่ตามคาพพิ ากษานนั้ โทษทางอาญา แบง่ ไดเ้ ปน็
-การริบทรพั ย์
-ปรับ
-กักขัง
-จาคกุ
-ประหารชวี ติ (โทษสูงสุดของคดอี าญา)

กระบวนการยตุ ิธรรมทางแพง่
คดีแพง่ คือ คดรี ะหว่างเอกชนกบั เอกชน เก่ยี วกบั ทรัพย์สนิ บคุ คลท่ีเก่ียวข้องกบั คดแี พง่ ไดแ้ ก่

1 โจทย์และจาเลย
2 ทนายความ
3 พนักงานอยั การ

6

4 ผูพ้ ิพากษา
5 เจา้ พนกั งานบงั คับคดี

๕ ขนั ตอนและการฟอ้ งคดีแพง่
1 โจทก์ฟ้องคดีต่อศาล โดยโจทกอ์ าจฟ้องคดีต่อศาลเอง และแตง่ ตั้งทนายความเขา้ ดาเนนิ การว่า

ตา่ งแทน สว่ นจาเลยก็มสี ทิ ธส์ิ คู้ ดดี ว้ ยการแต่งทนายได้เชน่ กัน
2 ศาลสง่ สาเนาคาฟอ้ งตอ่ จาเลย
3 จาเลยเมื่อไดร้ บั คาฟอ้ งและหมายเรยี กใหแ้ กค้ ดีให้ยนื่ แกภ้ ายใน 8 วนั
4 ศาลตรวจดคู าฟอ้ งทัง้ สองฝ่าย แล้วกาหนดประเดน็ ข้อพิพาท
5 สบื พยานโจทกแ์ ละพยานจาเลย
6 ศาลพิพากษาคดี อาจมีการย่นื อทุ ธรณ์ฎีกาได้
7 การบังคับคดี ผู้แพ้ต้องปฏิบัติตามคาพิพากษา ผู้ชนะมีสิทธิ์ขอให้ศาลออกหมายบังคับคดีได้

เช่น การยึดทรัพย์สนิ การขายทอดตลาด เป็นตน้

สทิ ธิและเสรีภาพ
“สิทธแิ ละเสรีภาพ” เป็นคาทเ่ี ราค้นุ เคยกันเป็นอย่างดเี พราะมกั จะถูกนามาอา้ งในการกระทาการ
หรือห้ามมิให้กระทาการ รวมท้ังเรยี กร้องให้รัฐกระทาการหรือโต้แย้งการกระทาอยา่ งหน่ึงอย่างใดของรัฐ และ
ยงั ถอื วา่ เปน็ คาทม่ี ีความสาคัญตอ่ พื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตยอีกด้วย

คาว่า “สิทธิ” (Right) หมายถึง อานาจอันชอบธรรมท่ีบุคคลสามารถทจ่ี ะมีหรือกระทาอะไรก็ได้
ท่มี กี ฎหมายรองรบั

คาว่า“เสรีภาพ” (Liberty) นั้น แปลว่า “ความมีเสรีหรือสภาพที่ทาได้โดยปลอดอุปสรรค
สภาพท่ีมสี ทิ ธทิ ี่จะทา จะพูดได้โดยไม่ละเมดิ สทิ ธขิ องผู้อื่น”

สิทธิและเสรีภาพมอี า้ นาจหน้าท่ดี งั ตอ่ ไปนี
(1) จดั ระบบการบรหิ ารจัดการด้านคุ้มครองสิทธแิ ละเสรีภาพของประชาชน
(2) สง่ เสริมและพัฒนาการคุ้มครองสิทธิและเสรภี าพของประชาชน
(3) สง่ เสริมและพฒั นากลไกการระงับข้อพิพาทในสังคม
(4) ประสานงานดา้ นคุ้มครองสทิ ธิและเสรีภาพกับภาครฐั และภาคเอกชนท้ังในและต่างประเทศ
(5) พัฒนาระบบมาตรการและดาเนินการช่วยเหลือประชาชนท่ีตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม
รวมทั้งจาเลยทถ่ี ูกดาเนินคดีอาญาโดยมิไดเ้ ป็นผ้กู ระทาความผิดตามกฎหมายว่าด้วยคา่ ตอบแทนผเู้ สยี หายและ
ค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยแกจ่ าเลยในคดอี าญา
(6) ติดตามและประเมินผลการดาเนินการดา้ นการคุ้มครองสิทธแิ ละเสรภี าพ
(7) ดาเนินการคมุ้ ครองพยานตามกฎหมายว่าดว้ ยการคุ้มครองพยานในคดีอาญา
(8) ปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นอานาจหน้าท่ีของกรม หรือตามที่กระทรวง
หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

7
โครงสรา้ งของส้านกั งานยตุ ธิ รรมจังหวดั ยะลา

สำนกั งำนยตุ ธิ รรมจงั หวดั ยะลำ

ฝ่ ำยอำนวยกำร กลมุ่ อำนวยควำม กลมุ่ พฒั นำและสง่ เสริม
ยตุ ธิ รรมและนติ กิ ำร ระบบงำนยตุ ิธรรม

ฝา่ ยอา้ นวยการ

มีหน้าท่ีความรับผิดชอบเกี่ยวกับงาน เลขานุการของคณะกรรมการบริหารราชการกระทรวงยุติธรรม
ระดับจังหวัด งานเลขานุการของผู้อานวยการ (หัวหน้า) สานักงานยุติธรรมจังหวัด งานธุรการทั่วไป งาน
บริหารงานบุคคล งานการเงิน งานงบประมาณ งานพัสดุ อาคารสถานที่และยานพาหนะ งานประชาสัมพันธ์
งานศูนย์บริการข้อมูลกระทรวงยุติธรรม งานประสานและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานในจังหวัด
งานกรรมการจังหวัดในฐานะผ้แู ทนกระทรวงยุติธรรม

กล่มุ อ้านวยความยุติธรรมและนติ ิการ

มีหน้าท่ีความรับผิดชอบเก่ียวกับ การประสานและให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านกฎหมายและ
กระบวนการยุติธรรม งานค้มุ ครองสทิ ธิเสรีภาพของประชาชน งานเสริมสร้างความเป็นธรรมและอานวยความ
ยตุ ิธรรมที่ได้รับมอบหมาย การให้คาปรึกษากฎหมาย การรับเร่อื งราวรอ้ งทุกข์ การไกล่เกล่ียประนีประนอมข้อ
พิพาท กองทุนยุติธรรม บันทึกข้อมูลเข้าสู่ระบบกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพซ่ึงการช่วยเหลือประชาชนทาง
กฎหมาย คอื ให้คาปรึกษากฎหมาย ร้องเรียนเร่ืองราวรอ้ งทุกข์ ส่งเสริมสิทธิผ้ตู ้องหาในการสอบสวนคดีอาญา
ตดิ ตามคา่ ตอบแทนผู้เสยี หายหรือค่าทดแทนและค่าใช้จา่ ยจาเลย ขอข้อมลู คุ้มครองพยานในคดีอาญา

การอานวยความสะดวกในเรื่องความเป็นธรรมในสังคม ส่งิ ที่สาคญั คือ ต้องมีสานสัมพันธ์ท่ีดี ทาตัวให้
เล็กกว่าชาวบ้าน และจับมือกับผู้ใหญ่บ้าน เปรียบตัวเองให้เหมือนถังขยะสามารถรับเร่ืองราวทุ กอย่างที่
ชาวบา้ นขอความช่วยเหลอื และรอ้ งทุกข์ได้

กลุ่มพัฒนาและสง่ เริมระบบงานยตุ ิธรรม

มีหน้าที่ความรับผิดชอบเก่ียวกับ การพัฒนาและส่งเสริมระบบงานยุติธรรมในจังหวัด งานพัฒนาและ
ส่งเสรมิ กระบวนยุติธรรมทางเลือก งานจัดทาและบริหารแผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุตธิ รรมในระดบั จังหวัด
งานติดตามและประเมินผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการกระทรวงยุติธรรมระดับจังหวัด งานจัดทา
และพฒั นาระบบฐานข้อมูลเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การบริหารและการวางแผนของสานักงานยตุ ิธรรมจังหวัด
งานจัดการความรู้ในหน่วยงาน งานจัดทาแผนงานและโครงการพัฒนาบุคลากรของสานักงานยุติธรรมใน
จังหวัดงาน ลงพื้นที่ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของศูนย์ยุติธรรมชุมชน โครงการถ่ายทอดความรู้
และวิธีปฏบิ ัตงิ านเป็นเครือขา่ ยยุติธรรมชมุ ชน จดั โครงการต่างๆตามแผนการปฏบิ ตั ริ าชการ

8

ภารกจิ หลักของสา้ นักงานยตุ ิธรรมจังหวัด
๑ เป็นผู้แทนในกระทรวงยุติธรรมในการประสานนโยบาย ยุทศาศาสตร์แผนและการแปลงไปสู่การ
ปฏิบัติ
๒ เปน็ ผแู้ ทนของส่วนราชการสงั กดั กระทรวงยุติธรรมท่ไี ม่มหี น่วยงานในจังหวดั ทไ่ี ด้รับมอบหมาย
๓ เปน็ ผ้ปู ระสานกระบวนการยตุ ธิ รรมในพนื้ ทจ่ี งั หวดั
๔ สนับสนุนและพฒั นาการดาเนนิ งานยตุ ธิ รรมทางเลือก (ยุตธิ รรมชมุ ชน และยุตธิ รรมเชิงสมาณฉันท์)
๕ ส่งเสริมและประสานความร่วมมือกับองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรภาคเอกชน ภาค
ประชาชน และภาคสว่ นอนื่ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในการอานวยความยุตธิ รรมแก่ประชาชน
๖ คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนด้วนกฎหมาย (กองทุนยุติธรรม การ
ช่วยเหลือทางการเงินแก่ผู้เสียหายและจาเลยในคดีอาญา การจัดหาทนายความให้แก่ผู้ต้องหาในคดีอาญา ให้
ความช่วยเหลือทางกฎหมาย รบั เรื่องรอ้ งทุกข์/รอ้ งเรียน)
๗ สนับสนุนการตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรมและของส่วนราชการสังกัด
กระทรวงยุตธิ รรม
๘ ดาเนนิ การตามนโยบายพิเศษของรัฐบาล กระทรวงยตุ ธิ รรมกรม และจงั หวดั ตามที่ได้รบั มอบหมาย

การบรกิ ารประชาชนของสา้ นกั งานยุตธิ รรมจังหวดั /ศูนย์ยตุ ธิ รรมชุมชน
๑ การใหค้ าปรกึ ษาด้านกฎหมายอยา่ งมืออาชีพ โดยไม่คิดคา่ ใช่จา่ ย
๒ รับเร่ือง รอ้ งเรียน ร้องทกุ ข์
๓ การใหค้ วามรูด้ ้านกฎหมายแกป่ ระชาชน
๔ การไกล่เกลีย่ ระงบั ข้อพพิ าท
๕ บริการกองทุนยุติธรรม กรณีปล่อยตัวชั่วคราว ค่าทนายความ ค่าธรรมเนียมศาล หรือค่าใช่จ่าย
อื่นๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
๖ บริการยน่ื ขอรับคา่ ตอบแทนผเู้ สยี หายและพค่าทดแทนค่าใชจ่ ่ายแก่จาเลยในคดอี าญา
๗ การขอสนบั สนนุ โครงการตา่ งๆทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กฎหมายและความยตุ ิธรรม
๘ การขอรบั ตรวจสารพนั ธกุ รรม (DNA)
๙ การคุ้มครองพยานในคดอี าญา

ภารกิจ 5 ด้านของศนู ยย์ ตุ ิธรรมชมุ ชน
1 การป้องกันและควบคุมอาชญากรรมในชุมชน (Crime Control & Prevention) ด้วยการ
ยับย้ังหรือชะลอสถานการณ์มิให้เกิดความขัดแย้ง ข้อพิพาท หรือการกระทาผิดทางอาญาโดยการเฝ้าระวัง
ป้องกันปัญหาการทุจริต ประพฤติมิชอบการกระทาผิดกฎหมายต่างๆในชุมชน การให้ความรู้ความเข้าใจแก่
ประชาชน เชน่ ระเบยี บกฎหมายท่ปี ระชาชนควรรู้ เปน็ ตน้
2 การรับเร่ืองราวร้องทุกข์ และรับแจ้งเบาะแส การรับเร่ืองราวร้องทุกข์ ปัญหาความไม่เป็นธรรม
ของประชาชน ตลอดจนช่วยเหลอื ดูแล ให้คาแนะนาและแกป้ ัญหาในเบื้องต้นต่อผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อน แจ้ง

9

เบาะแสการทุจริตคอรัปช่ัน รวมท้ังปัญหาความเดือดร้อนของผู้ด้อยโอกาส (เด็ก สตรี คนชรา ผู้พกิ าร) แล้วส่ง
ต่อไปยังหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องดาเนินการต่อไปและติดตามผลการดาเนินงานและแจ้งให้ผู้รับบริการรับทราบ
เปน็ ระยะ

3 การจัดความขัดแย้ง การไกล่เกล่ียระงับข้อพิพาท (Conflict Management) ไกล่เกล่ียระงับ
ขอ้ พิพาทหรือความขดั แยง้ ในชมุ ชนตามหลกั ความยุติธรรมเชิงสมานฉนั ทห์ รอื หลักสนั ตวิ ัฒนธรรมในชุมชน

4 การเยียวยาเสริมพลัง แก่เหยื่ออาชญากรรมและความรู้สึกของชุมชน (Community &
Empowerment) ด้วยการให้ความเข้าใจ กาลังใจ ช่วยเหลือสนับสนุนให้เหย่ืออาชญากรรมและชุมชนน้ันมี
ความรู้สึกที่ดีและใช้ชีวิตเป็นปกติต่อไปรวมทั้งการให้ความรู้หรือคาแนะนาในการยื่นขอรับความช่วยเหลอื จาก
ทางราชการทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

5 การรับผู้พ้นโทษหรือผู้ถูกคุมประพฤติกลับสู่ชุมชน (Reintegration) ให้ความช่วยเหลือ
สงเคราะห์ และบาบัดแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทาความผิดและผู้พ้นโทษให้กลับตนเป็นพลเมืองดี เพ่ือให้บุคคลน้ัน
สามารถดารงชีวติ อยใู่ นชุมชนไดเ้ ป็นปกติและไมห่ วนกลับไปกระทาผดิ ซ้าอีกต่อไป

10

11

12

13

14

15

16

กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับสา้ นักงานกระทรวงยตุ ธิ รรม
๑ พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช่จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ.2๕๔๔

(และที่แก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี๒) พ.ศ.๒๕๕๙)
๒ พระราชบัญญตั ิคมุ้ ครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๖
๓ พระราชบัญญตั ิกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
๔ พระราชบญั ญตั ิการไกลเ่ กลยี่ ขอ้ พพิ าท พ.ศ. ๒๕๖๒

๑ พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช่จ่ายแกจ่ ้าเลยในคดีอาญา พ.ศ.
2๕๔๔ (และที่แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่๒) พ.ศ.๒๕๕๙)

ผู้เสียหาย หมายความว่า บุคลซึ่งได้รับความเสียหายถึงแก่ชีวิตหรือร่างกายหรือจิตใจ เน่ืองจากการ
กระทาความผดิ อาญาของผู้อนื่ โดยตนมีไดม้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งกับการกระทาความผิดนั้น

จาเลย หมายความว่า บคุ คลซ่ึงถูกฟอ้ งต่อศาลว่าได้กระทาความผดิ อาญา
ค่าตอบแทน หมายความว่า เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนใดที่ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับ เพ่ือตอบแทน
ค่าเสียหายทีเ่ กิดข้ึนจากหรือเนอ่ื งจากมีการกระทาความผิดอาญาของผู้อื่น
ค่าทดแทน หมายความว่า เงิน ทรัพย์สนิ หรือประโยชน์อืน่ ใดที่จาเลยมีสิทธิได้รับเนื่องจากการตกเป็น
จาเลยในคดีอาญาและถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดี และปรากฏว่าคาพิพากษาถึงท่ีสุดในคดีน้ันฟังเป็นยุติว่า
จาเลยมไิ ด้เป็นผู้กระทาความผิดหรอื การกระทาของจาเลยไมเ่ ป็นความผดิ
พระราชบญั ญตั ิฉบับนี้ช่วยเหลอื ทางการเงนิ แกบ่ ุคคล ๒ ประเภท ไดแ้ ก่
๑ ผู้เสยี หายในคดีอาญา
๒ จาเลยในคดีอาญา

๑.๑ องค์ประกอบของผ้เู สียหายท่ีมสี ิทธไิ ดร้ บั ค่าตอบแทนฯ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้
๑ ต้องเป็นผ้ซู ่งึ ได้รับความเสยี หายถึงแก่ชวี ิต ร่างกายหรือจติ ใจ
๒ ตอ้ งเปน็ ความเสียหายท่ีเกิดจากการกระทาความผดิ ทางอาญาของบุคคลอืน่
๓ ผู้ทไี่ ดร้ ับความเสยี หายต้องไมม่ สี ่วนร่วมในการกระทาความผดิ นั้น
๔ ความผิดน้ันต้องเปน็ ความผดิ ตามรายการท่ีระบไุ ว้ทา้ ยพระราชบญั ญัตนิ ี้เทา่ นัน้ ซ่งึ ไดแ้ ก่

ลักษณะ ๖ ความผิดเกีย่ วกบั การก่อใหเ้ กิดภยันตรายต่อประชาชน
มาตรา ๒๒๔
มาตรา ๒๓๘

ลกั ษณะ ๙ ความผิดเกี่ยวกับเพศ
มาตรา ๒๗๖ ถงึ มาตรา ๒๘๗

ลกั ษณะ ๑๐ ความผิดเกย่ี วกับชีวติ และรา่ งกาย
หมวด ๑ ความผิดต่อชีวติ
มาตรา ๒๘๘ ถงึ มาตรา ๒๙๔
หมวด ๒ ความผดิ ตอ่ ร่างกาย
มาตรา ๒๙๕ ถึง มาตรา ๓๐๐
หมวด ๓ ความผิดฐานทาให้แท้งลูก
มาตรา ๓๐๑ ถงึ มาตรา ๓๐๕
หมวด ๔ ความผดิ ฐานทอดท้ิงเด็ก คนปว่ ย หรือคนชรา

17

มาตรา ๓๐๖ ถงึ มาตรา ๓๐๘
ลกั ษณะ ๑๑ ความผดิ เก่ยี วกับเสรีภาพและช่ือเสยี ง

หมวด ๑ ความผดิ ต่อเสรีภาพ
มาตรา ๓๐๙
มาตรา ๓๑๐
มาตรา ๓๑๑
มาตรา ๓๑๒ ทวิ
มาตรา ๓๑๓

ลักษณะ ๑๒ ความผดิ เกยี่ วกับทรัพย์
หมวด ๑ ความผิดฐานหลกั ทรพั ยแ์ ละว่ิงราวทรัพย์
มาตรา ๓๓๖
หมวด ๒ ความผดิ ฐานกรรโชก รดี เอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปลน้ ทรัพย์
มาตรา ๓๓๗
มาตรา ๓๓๙
มาตรา ๓๓๙ ทวิ
มาตรา ๓๔๐
มาตรา ๓๔๐ ทวิ
หมวด ๓ ความผิดฐานบกุ รุก มาตรา ๓๖๕

๑.๒ การจ่ายค่าตอบแทนผเู้ สียหายในคดีอาญา
1 คา่ ใช้จา่ ยท่ีจาเป็นในการรักษาพยาบาล รวมท้ังค่าฟ้นื ฟูสมรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ
2 คา่ ตอบแทนในกรณีทผ่ี ู้เสยี หายถึงแก่ความตาย จานวนไม่เกนิ ทกี่ าหนดในกฎกระทรวง
3 คา่ ขาดประโยชนท์ ามาหาไดใ้ นระหว่างที่ไมส่ ามารถประกอบการงานไดต้ ามปกติ
4 ค่าตอบแทนความเสียหายอ่ืนตามท่คี ณะกรรมการเห็นสมควร

ทัง้ น้ี ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และอัตราท่ีกาหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการจะกาหนดใหผ้ ูเ้ สียหาย
ได้รับค่าตอบแทนเพียงใดหรือไม่ก็ได้ โดยคานึงถึงพฤติการณ์และความร้ายแรงของการกระทาความผิดและ
สภาพความเสียหายที่ผู้เสียหายได้รับ รวมท้ังโอกาสที่ผู้เสียหายจะได้รับการบรรเทาความเสียหายโดยทางอื่น
หากปรากฏในภายหลังว่าการกระทาท่ีผู้เสียหายอาศัยเป็นเหตุในการขอรับค่าตอบแทนนั้น ไม่เป็นความผิด
อาญาหรือไม่มีการกระทาเช่นว่าน้ัน ให้คณะกรรมการมีหนังสือแจ้งให้ผู้เสียหาย คืนค่าตอบแทนที่ได้รับไปแก่
กระทรวงยุติธรรมภายในสามสิบวนั นับแตว่ นั ทไี่ ด้รบั แจ้ง

๑.๓ การจ่ายค่าทดแทนและค่าใชจ้ ่ายแก่จา้ เลยในคดีอาญา
1 เปน็ จาเลยทถ่ี กู ดาเนินคดโี ดยพนกั งานอัยการ
2 ถกู คมุ ขังในระหว่างการพจิ ารณาคดี
3 ปรากฏหลักฐานชัดเจนว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทาความผิด และมีการถอนฟ้องในระหว่าง

ดาเนินคดี หรือปรากฏตามคาพิพากษาอันถึงที่สุดในคดีน้ันว่าข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่าจาเลย มิได้เป็นผู้กระทา
ความผดิ หรอื การกระทาของจาเลยไม่เปน็ ความผิด

18

ในคดีท่ีมีจาเลยหลายคน จาเลยคนใดถึงแก่ความตายก่อนมีคาพิพากษาถึงท่ีสุด และคณะกรรมการ
เห็นสมควรจ่ายค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายให้แก่จาเลยอ่ืนที่ยังมีชีวิตอยู่ ถ้าเป็นเหตุอยู่ในลักษณะคดี จาเลยท่ีถึง
แก่ความตายน้นั มสี ทิ ธิได้รบั คา่ ทดแทนและค่าใชจ้ ่ายตามพระราชบญั ญตั นิ ไี้ ด้ด้วย

๑.๔ การกา้ หนดค่าทดแทนและคา่ ใชจ้ า่ ย
1 คา่ ทดแทนการถกู คุมขัง ให้คานวณจากจานวนวนั ท่ีถูกคุมขงั ในอัตราท่กี าหนดไว้สาหรับการกกั ขัง

แทนคา่ ปรบั ตามประมวลกฎหมายอาญา
2 ค่าใช้จ่ายที่จาเป็นในการรักษาพยาบาล รวมท้ังค่าฟ้ืนฟูสมรรถภาพทางร่างกาย และจิตใจ หาก

ความเจ็บป่วยของจาเลยเป็นผลโดยตรงจากการถูกดาเนินคดี
3 คา่ ทดแทนในกรณีที่จาเลยถึงแก่ความตายและความตายนั้นเป็นผลโดยตรงจากการถูกดาเนินคดี

จานวนไม่เกนิ ทก่ี าหนดไวใ้ นกฎกระทรวง
4 ค่าขาดประโยชนท์ ามาหาได้ในระหว่างถกู ดาเนินคดี
5 ค่าใชจ้ า่ ยทีจ่ าเปน็ ในการดาเนนิ คดี

(ในกรณีผู้ย่ืนขอไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยของคณะอนุกรรมการ ผู้ย่ืนคาขอมีสิ ทธ์ิอุทธรณ์ต่อ
คณะกรรมการภายในสามสิบวนั นับตัง้ แตว่ นั ทไี่ ดร้ ับแจง้ คาวนิ จิ ฉัย

๑.๕ การพจิ ารณาค่าตอบแทนผเู้ สยี หาย และคา่ ทดแทนและคา่ ใชจ้ ่ายแกจ่ ้าเลยในคดอี าญา
ในการพจิ ารณาจ่ายค่าตอบแทนผู้เสยี หายในคดีอาญา ใหค้ ณะกรรมการคานงึ ถึงพฤติการณ์และความ
รา้ ยแรงของการกระทาความผดิ และสภาพความเสยี หายท่ีผ้เู สยี หายไดร้ ับ รวมถงึ โอกาสที่ผู้เสยี หายจะไดร้ ับ
การบรรเทาความเสยี หายโดยทางอนื่ ด้วย

คณะกรรมการพจิ ารณาจา่ ยคา่ ตอบแทนให้แกผ่ ้เู สียหายในคดีอาญา ดังตอ่ ไปน้ี
๑ ค่าใชจ้ ่ายท่จี าเป็นในการรักษาพยาบาล ให้จ่ายเทา่ ทจ่ี ่ายจรงิ แต่ไมเ่ กินส่ีหม่ืนบาท
๒ คา่ ฟืน้ ฟูสมรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ ให้จา่ ยเท่าท่ีจา่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกินสองหม่ืนบาท
๓ คา่ ขาดประโยชน์ทามาหาไดใ้ นระหว่างที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ ใหจ้ ่ายใน
อตั ราค่าจ้างขน้ั ตา่ ในท้องถิน่ จงั หวัดที่ประกอบการงาน ณ วนั ทไี่ มส่ ามารถประกอบการงานได้เป็นระยะเวลาไม่
เกนิ หนงึ่ ปีนบั แต่วันที่ไม่สามารถประกอบการงานได้ตามปกติ (จงั หวัดยะลา ๓๑๓)
๔ ค่าตอบแทนความเสียหายอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ให้จ่ายเป็นเงินตามจานวนที่
คณะกรรมการเหน็ สมควร แตไ่ มเ่ กินห้าหมน่ื บาท
ค่าตอบแทนตาม (๑) และ (๒) ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายเก่ียวกับค่าห้องและค่าอาหารในอัตราวัน
ละไมเ่ กินหน่ึงพันบาท
ในกรณีท่ีผู้เสียหายในคดีอาญาถึงแก่ความตาย ให้คณะกรรมการพิจารณาจ่ายค่าตอบแทน
ใหแ้ ก่ผเู้ สยี หายน้นั ดังตอ่ ไปนี้
๑ ค่าตอบแทน ให้จา่ ยเป็นเงินจานวนตัง้ แตส่ ามหม่ืนบาท แตไ่ มเ่ กนิ หนึ่งแสนบาท
๒ คา่ จัดการศพ ให้จา่ ยเปน็ เงินจานวนสองหมน่ื บาท
๓ ค่าขาดอุปการะเลย้ี งดู ให้จา่ ยเปน็ เงนิ จานวนไม่เกนิ ส่ีหม่ืนบาท

19

๔ ค่าเสียหายอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ให้จ่ายเป็นเงินตามจานวนท่ีคณะกรรมการ
เหน็ สมควร แต่ไม่เกินส่ีหมื่นบาท

ในการพิจารณาจ่ายค่าทดแทนและค่าใชจ้ า่ ยแก่จาเลยในคดีอาญา ให้คณะกรรมการคานงึ ถึง
พฤติการณข์ องคดี ความเดือนรอ้ นที่ได้รบั และโอกาสท่จี าเลยจะได้รบั การชดเชยความเสียหายจากทางอนื่ ด้วย

ให้คณะกรรมการพจิ ารณาจ่ายคา่ ทดแทนและค่าใชจ้ ่ายใหแ้ ก่จาเลยในคดีอาญา ดงั ตอ่ ไปนี้
๑ ค่าใช้จ่ายท่ีจาเป็นในการรักษาพยาบาล ให้จ่ายเท่าท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกินส่ีหม่ืนบาท หาก
ความเจบ็ ป่วยของจาเลยเปน็ ผลโดยตรงจากการถกู ดาเนนิ คดี
๒ ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกายและจิตใจ ให้จ่ายเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกินห้าหม่ืนบาท
หากความเจบ็ ป่วยของจาเลยเป็นผลโดยตรงจากการถกู ดาเนนิ คดี
๓ ค่าขาดประโยชน์ทามาหาได้ในระหว่างถูกดาเนินคดี ให้จ่ายในอัตราค่าจ้างขั้นต่าในทิองที่
จังหวดั ทีป่ ระกอบการงาน นบั แตว่ ันที่ไมส่ ามารถประกอบการงานได้ตามปกติ
๔ คา่ ใช้จ่ายทจ่ี าเปน็ ในการดาเนนิ คดี

(ก) ค่าทนายความ ใหจ้ ่ายเท่าท่จี ่ายจริง แตไ่ ม่เกินอัตราท่ีกาหนด
(ข) คา่ ใชจ้ ่ายอ่ืน ๆ ในการดาเนินคดี ใหจ้ า่ ยเท่าทจี่ า่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ สามหมืน่ บาท
ค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายตาม (๑) และ (๒) ให้รวมถึงค่าใช้จ่ายเก่ียวกับค่าห้องและค่าอาหาร
ในอัตราวันละไม่เกินหน่งึ พนั บาท
ในกรณีที่จาเลยในคดีอาญาถึงแก่ความตาย อันเป็นผลโดยตรงจากการถูกดาเนินคดี ให้
คณะกรรมการพจิ ารณาจา่ ยค่าทดแทนใหแ้ ก่จาเลยนั้น ดงั ต่อไปน้ี
๑ ค่าทดแทน ใหจ้ า่ ยเป็นเงนิ จานวนหนงึ่ แสนบาท
๒ ค่าจดั การศพ ใหจ้ ่ายเปน็ เงินจานวนสองหมนื่ บาท
๓ ค่าขาดอุปการะเลี้ยงดู ใหจ้ า่ ยเป็นเงินจานวนไมเ่ กินส่ีหม่ืนบาท
๔ ค่าเสียหายอื่นนอกจาก (๑) (๒) และ (๓) ให้จ่ายเป็นเงินตามจานวนท่ีคณะกรรมการ
เห็นสมควร แต่ไม่เกนิ ส่ีหมน่ื บาท
เม่ือคณะกรรมการอนุมัติให้จ่ายเงินค่าตอบแทนผู้เสียหายหรือเงินค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย
แก่จาเลยในคดีอาญา ให้ผู้ยื่นคาขอรับค่าตอบแทนหรือค่าทดแทนและค่าใช้จ่าย แล้วแต่กรณี ยื่นคาขอรับเงิน
คา่ ตอบแทนหรือเงนิ ค่าทดแทนและค่าใชจ้ า่ ยตามแบบที่สานักงานช่วยเหลือทางการเงนิ แก่ผู้เสียหายและจาเลย
ในคดอี าญากาหนด

๑.๖ กรณีย่ืนค้าขอรับค่าตอบแทนและคา่ ใช่จ่ายแก่ผู้เสยี หายในคดีอาญา
-สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน/บัตรประจาตวั เจา้ ทขี่ องรฐั (ของผ้หู าย/ผู้มีสทิ ธิ์ยืน่ /พยาน (ถา้ ม)ี )
-สาเนาทะเบียนบา้ น(ของผู้เสยี หาย/ผู้มสี ิทธ์ยืน่ /พยาน (ถา้ มี))
-ใบรบั รองแพทย์
-หนงั สอื มอบอานาจ
-หนังสอื รับรองรายได้(ผู้ใหญบ่ า้ นหรอื กานันหรอื บคุ คลท่นี า่ เชอื่ ถอื )

20

-สาเนาบตั รประจาตวั ของผู้รบั รองรายได้
-ใบบนั ทึกประจาวนั ของพนักงานสอบสวน
-ใบบันทึกการแจ้งสทิ ธิ์
-ใบสูตบิ ัตร (กรณผี ้เู สยี หายเปน็ เดก็ )
-สาเนาใบมรณะบัตร(กรณผี เู้ สียหายถงึ แกช่ ีวติ (ถา้ ม)ี )
-ใบเสร็จคา่ รกั ษาพยาบาลและอื่นๆ(ถา้ มี)
-สาเนาใบชันสตู รแพทย์ (กรณผี ู้เสยี หายถงึ แก่ชวี ิต(ถ้ามี))

๑.๖ กรณีย่ืนค้าขอรับค่าทดแทนและคา่ ใช่จ่ายแก่จา้ เลยในคดีอาญา
-สาเนาบตั รประจาตวั ประชาชน/บัตรประจาตวั เจ้าทรี่ ฐั (ของจาเลยและผ้มู ีสทิ ธิยนื่ )
-สาเนาทะเบียนบา้ น(ของจาเลยและผู้มสี ทิ ธิยื่น)
-สาเนาทะเบยี นสมรส
-สาเนาสูตบิ ตั ร
-สาเนาใบเปล่ยี นช่ือสกุล
-หนงั สือมอบอานาจ
-ใบเสร็จคา่ รกั ษาพยาบาลอน่ื ๆ(ถ้ามี)
-สาเนาใบรับรองแพทย์
-คาพิพากษาศาลช้ันต้นและคาพิพากษาอัน๔งท่ีสุดว่าข้อเท็จจริงฟังเป็นยุติว่าจาเลยมิได้เป็นผู้กระทา
ผดิ หรือการกระจาของจาเลยไม่เปน็ ความผดิ หรอื ปรากฏหลักฐานว่าจาเลยมิไดเ้ ป็นผก็ ระทาผดิ หรอื มีการถอน
ฟ้องในระหวา่ งดาเนินคดี
-หมายขังระหว่างไต่สวนมูลฟอ้ งหรือพจิ ารณา และหมายปลอ่ ย (หมายขงั ระหว่างไต่สวนมลู ฟอ้ งคดีอื่น
กรณจี าเลยถูกจาคกุ รว่ มกับคดอี ่ืนอีก)
-สาเนาคาฟอ้ ง
-สาเนาใบมรณะบตั ร
-สาเนาใบชนั สูตรแพทย์
-หนังสอื รับรองผพู้ พิ ากษาถึงท่ีสุด
-ใบแตง่ ทนายความ
-สัญญาจา้ งว่าความพร้อมสาเนาบตั รของทนายความ
-หนังสือรับรองรายได้
-สาเนาบัตรประจาตัวของผร็ ับรองรายได้
-สาเนาทะเบียนบ้านของผรู้ บั รองรายได้

๒ พระราชบัญญตั ิคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๖
พยาน หมายความว่า พยานบุคคลซึ่งจะมาให้หรือได้ให้ข้อเท็จจริง ต่อพนักงานผู้มีอานาจ

สืบสวน คดีอาญา พนักงานผู้มีอานาจสอบสวนคดีอาญา พนักงานผู้มีอานาจฟ้องคดีอาญา หรือศาลในการ
ดาเนินคดีอาญา รวมท้ังผู้ชานาญการพิเศษ แต่มิให้หมายความรวมถึงจาเลยท่ีอ้างตนเองเป็นพยาน สิทธิของ
พยานในคดีอาญา ตามกฎหมายคุ้มครองพยานในคดอี าญา พ.ศ.2546 มดี งั นี้

21

1 สิทธิท่ีจะไดร้ บั การคุ้มครองความปลอดภยั เม่ือถูกคกุ คามในฐานพยานในคดีอาญา รวมถงึ ผู้
ใกลช้ ิด ของพยานในคดอี าญา

๒ สิทธิท่ีจะไดร้ บั การปฏิบตั ิทเี่ หมาะสม
3 สิทธิที่จะไดร้ ับเงินค่าตอบแทนจากการมาให้ขอ้ เทจ็ จรงิ ตอ่ พนกั งานสอบสวนหรอื เบิกความ
ตอ่ ศาล
4 สิทธิท่ีจะได้รับค่าตอบแทนความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย ช่ือเสียง ทรัพย์สินอัน
เนอื่ งมาจากการเปน็ พยานในคดีอาญา
5 สิทธิท่ีจะได้รับเงินค่าใช้จ่ายในการคุ้มครองพยานในคดีอาญา “มาตรการทั่วไป” ในการ
คุ้มครองพยานในคดีอาญา ข้ันตอนการดาเนินการ การย่ืนคารอ้ ง กรณีพยานในคดีอาญาได้รับการข่มขู่คุกคาม
พยานสามารถร้องขอ ใช้มาตรการท่ัวไปในการ คุ้มครองพยานตามกฎหมายคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.
2546
พระราชบัญญัติน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้พยานในคดีอาญาได้รับความคุ้มครอง โดยมีมาตรการต่างๆท่ี
บัญญตั ไิ ว้ คอื
๑ มาตรการทวั่ ไปในการคุ้มครองพยานในกรณที ี่พยานอาจไม่ไดร้ ับความปลอดภัย อาจมีการจัดให้
พยานอยู่ในความคุ้มครองตามที่เห็นเป็นการสมควร หรือตามท่ีพยานหรือบุคคลอื่นใดซ่ึงมีประโยชน์เก่ียวข้อง
ได้ร้องขอ และในกรณีจาเป็นบุคคลดังกล่าวจะขอให้เจา้ พนกั งานตารวจหรือเจ้าหน้าท่ีอืน่ ช่วยให้ความคุ้มครอง
แก่พยานได้ตามความจาเป็น การคุ้มครองใหพ้ ยานได้รับความปลอดภัย ให้รวมถงึ การจัดให้พยานอยู่ในสถานที่
ท่ีปลอดภัย และการปกปิดมิให้มีการเปิดเผยช่ือตัว ช่ือสกุล ท่ีอยู่ ภาพ หรือข้อมูลอย่างอ่ืนที่สามารถระบุตัว
พยานได้ โดยคานงึ ถงึ ความเหมาะสมแกส่ ถานะและสภาพของพยานและลักษณะของคดีอาญาท่ีเกี่ยวข้อง
ในกรณีที่สามี ภริยา ผู้บุพการี ผู้สืบสันดานของพยาน หรือบุคคลอื่นที่มีความสัมพันธใ์ กล้ชิดกับพยาน
ซ่ึงมีผลต่อการท่ีพยานจะมาเป็นพยานอาจไม่ได้รับความปลอดภัยอาจมีการนามาตรการทั่วไปในการคุ้มครอง
พยานมาใชบ้ ังคับแกบ่ ุคคลดงั กลา่ วได้
๒ มาตรการพเิ ศษในการคมุ้ ครองพยาน
พยานในคดีอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดดังต่อไปนี้ อาจได้รับการคมุ้ ครองตามมาตรการพิเศษได้
๑ คดีความผิดตามกฎหมายเก่ียวกับยาเสพติด กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน กฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ หรือกฎหมายว่าด้วยศลุ กากร
๒ คดคี วามผิดเกย่ี วกบั ความมน่ั คงแห่งราชอาณาจกั รตามประมวลกฎหมายอาญา
๓ คดีความผิดเก่ียวกับเพศตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะท่ีเก่ียวกับการเป็นธุระจัดหา
ล่อไปหรือพาไปเพ่ือการอนาจาร เพ่ือสนองความใคร่ของผอู้ ่ืน และความผิดฐานพรากเด็กและผู้เยาว์ ความผิด
ตามกฎหมายว่าด้วยมาตรการในการป้องกันและปราบปรามการค้าหญงิ และเด็ก หรือความผิดตามกฎหมายว่า
ด้วยการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี หรือความผดิ เกย่ี วกับการเป็นเจา้ ของกิจการคา้ ประเวณี ผดู้ ูแล
หรอื ผู้จัดการกิจการค้าประเวณี หรือสถานการค้าประเวณี หรือเป็นผู้ควบคุมผู้กระทาการค้าประเวณีในสถาน
การคา้ ประเวณี
๔ คดีความผดิ เก่ียวกับองคก์ รอาชญากรรม ไดแ้ ก่ ความผิดฐานอั้งย่ีและซ่องโจรตามประมวล
กฎหมายอาญา และให้หมายความรวมถึงความผิดอ่ืนใดท่ีมีลักษณะเป็นการกระทาร่วมกันโดยกลุ่มอาชญากร
ท่ีมีการวางแผนอย่างเป็นระบบและมีการวางเครือข่ายเป็นขบวนการหรือองค์กรลับอย่างซับซ้อนและเป็น
สดั ส่วน
๕ คดคี วามผดิ ท่มี ีอตั ราโทษอยา่ งต่าให้จาคกุ ต้ังแต่สบิ ปีขึ้นไป หรอื โทษสถานท่หี นักกวา่ น้นั

22

๖ คดีซ่ึงสานักงานคมุ้ ครองพยานเห็นสมควรให้ความคุ้มครองพยาน
เมือ่ ปรากฏแนช่ ัดหรือมเี หตุอนั ควรสงสัยว่าพยานจะไม่ได้รบั ความปลอดภัยพยานหรอื บุคคลอน่ื ใดซงึ่ มี
ประโยชน์เก่ยี วขอ้ ง อาจมีการรอ้ งขอใชม้ าตรการพเิ ศษในการคุ้มครองพยาน
ให้สานักงานคุ้มครองพยานดาเนินการเพื่อคุ้มครองพยานตามมาตรการพิเศษอย่างหน่ึงอย่างใด
ดงั ตอ่ ไปนี้

๑ ยา้ ยท่ีอยู่ หรอื จดั หาที่พกั อนั เหมาะสม
๒ จ่ายค่าเล้ียงชีพท่ีสมควรแก่พยานหรือบุคคลท่ีอยู่ในความอุปการะเล้ียงดูของพยานเป็น
ระยะเวลาไม่เกนิ หนงึ่ ปี เว้นแต่มีเหตจุ าเปน็ อาจขอขยายระยะเวลาครงั้ ละไม่เกนิ สามเดือน แต่ไมเ่ กินสองปี
๓ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพ่ือดาเนินการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล และหลักฐาน
ทางทะเบยี นที่สามารถระบตุ ัวพยาน รวมทง้ั การดาเนินการเพือ่ กลบั คนื สฐู่ านะเดมิ ตามคาขอของพยานด้วย
๔ ดาเนินการเพื่อให้มีอาชีพหรือให้มีการศึกษาอบรม หรอื ดาเนินการใดเพ่อื ให้พยานสามารถ
ดารงชพี อยไู่ ด้ตามทีเ่ หมาะสม
๕ ชว่ ยเหลือในการเรยี กร้องสทิ ธิทพ่ี ยานพงึ ได้รับ
๖ ดาเนนิ การใหม้ ีเจ้าหนา้ ท่ีคุ้มครองความปลอดภยั ในระยะเวลาท่จี าเปน็
๗ ดาเนนิ การอ่นื ใดให้พยานไดร้ ับความช่วยเหลือหรอื ไดร้ ับความคุ้มครองตามทเ่ี หน็ สมควร

๓ พระราชบญั ญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
“กองทนุ ยตุ ิธรรม” มฐี านะเปน็ นิติบคุ คล
“กองทนุ ” หมายความวา่ กองทนุ ยตุ ธิ รรม
“คณะกรรมการ” หมายความวา่ คณะกรรมการกองทนุ ยตุ ิธรรม
“รฐั มนตรี” หมายความว่า รฐั มนตรผี ู้รกั ษาการตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

๓.๑ วัตถุประสงค์ของพระราชบญั ญตั ิกองทนุ ยุตธิ รรม
๑ เพ่อื เป็นแหลง่ เงินทนุ สาหรบั ใช้จ่ายเกยี่ วกบั การช่วยเหลือประชาชนในการดาเนนิ คดี
๒ ขอปลอ่ ยชั่วคราวผตู้ อ้ งหาหรอื จาเลย
๓ การถกู ละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชน
๔ การให้ความรทู้ างกฎหมายแก่ประชาชน

ผู้ย่ืนคาขอรับความช่วยเหลือจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือการได้รับ ผลกระทบจากการถูก
ละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชน อาจขอรบั เงนิ ชว่ ยเหลือเพ่อื ความเสยี หายทีต่ นได้รบั คอื

๑ คา่ ใช้จ่ายที่จาเปน็ ในการรักษาพยาบาล รวมทง้ั ค่าฟืน้ ฟสู มรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจ
๒ เงินชว่ ยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน ในกรณีท่ีผู้ถกู ละเมิด สิทธิ
มนษุ ยชนถึงแกความตาย
๓ ค่าขาดประโยชนท์ ามาหาไดใ้ นระหว่างทไ่ี มส่ ามารถประกอบการงานได้ตามปกติ
๔ เงนิ ช่วยเหลอื เยยี วยาความเสียหายอ่ืนตามทีค่ ณะกรรมการเห็นสมควร

๓.๒ กองทุนประกอบด้วยเงนิ และทรพั ย์สนิ ดงั ต่อไปนี้
๑ เงนิ หรือทรพั ยส์ ินท่ไี ดร้ ับโอนมาตามมาตรา ๔๐
๒ เงนิ อุดหนนุ ท่ีไดร้ ับจากรฐั บาลหรอื เงนิ ท่ีไดร้ ับจากงบประมาณรายจ่ายประจาปี
๓ เงนิ หรือทรัพย์สนิ ท่ีมผี ้บู รจิ าคให้แกก่ องทุน

23

๕ ดอกผลของเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน ๖ เงินหรือทรัพย์สินอื่นใดท่ีกองทุนได้รับไม่ว่า
กรณใี ด เงินและทรัพย์สนิ ของกองทุนไมต่ ้องสง่ คลงั เปน็ รายได้แผน่ ดิน

๓.๓ เงนิ กองทุนใหใ้ ช้จา่ ยเพ่อื กิจการ ดังต่อไปน้ี
๑ การชว่ ยเหลือประชาชนในการดาเนินคดี
๒ การขอปล่อยช่ัวคราวผตู้ ้องหาหรอื จาเลย
๓ การช่วยเหลือผู้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการถูกละเมิดสิทธิ

มนุษยชน
๔ การใหค้ วามรู้ทางกฎหมายแกป่ ระชาชน
๕ การดาเนินงานกองทุนหรอื การบริหารกองทุน และกิจการอ่นื ทเี่ กี่ยวกบั หรือเกี่ยวเนอ่ื งกับ

การจดั กจิ การของกองทุน

๑.๔ เอกสารสา้ คัญเพ่อื ขอรับความช่วยเหลอื จากกองทนุ ยุตธิ รรม
-แบบคาขอรับความชว่ ยเหลอื เงินกองทนุ ยุตธิ รรมกรณชี ่วยเหลอื ประชาชนในการดาเนินคดี(กทย.๑)
-แบบคาขอรับความช่วยเหลือเงินกองทุนยุติธรรมกรณีการขอปล่อยตัวชั่วคราว ผู้ต้องหาหรือจาเลย
(กทย.๒)
-แบบคาขอรับความช่วยเหลือเงินกองทุนยุติธรรมกรณีช่วยเหลอื ผู้ถูกละเมิดสิทธิมนษุ ยชนหรือผู้ได้รับ
ผลกระทบจากการถกู ละเมิดสิทธิมนุษยชน (กทย.๓)
-แบบคาขอรับความช่วยเหลือเงินกองทุนยุติธรรมกรณีการสนับสนุนโครงการให้ความรู้ทางกฎหมาย
แกป่ ระชาชน (กทย.๔)

๔ พระราชบญั ญตั ิการไกลเ่ กล่ียขอ้ พิพาท พ.ศ. ๒๕๖๒
“การไกล่เกล่ยี ข้อพพิ าท” หมายความวา่ การดาเนนิ การเพอ่ื ใหค้ กู่ รณีมีโอกาสเจรจาตกลงกนั

ระงับข้อพิพาททางแพ่งและทางอาญาโดยสันติวธิ ีและปราศจากการวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพาท ท้ังน้ี ไม่รวมถึงการ
ไกลเ่ กล่ียขอ้ พิพาททีด่ าเนนิ การในชน้ั ศาลและในช้นั การบังคบั คดี

“ผู้ไกล่เกลีย่ ” หมายความวา่ บคุ คลซ่ึงไดร้ ับการข้ึนทะเบียนและไดร้ ับการแต่งตัง้ ให้ทาหน้าที่
ในการไกล่เกล่ยี ข้อพพิ าท

“ข้อตกลงระงับขอ้ พิพาท” หมายความวา่ ข้อตกลงท่คี ูก่ รณีตกลงใหม้ ีผลผกู พันโดยชอบดว้ ย
กฎหมายเพ่ือระงับข้อพิพาทหรือข้อเรียกร้องใด ๆ ท่ีแต่ละฝ่ายมีอยู่ และให้คู่กรณีแต่ละฝ่ายต่างมีสิทธิหน้าที่
หรอื ความรบั ผดิ เพยี งเทา่ ท่ีกาหนดไว้ในข้อตกลงน้นั

“หนว่ ยงานซึง่ ดาเนนิ การไกล่เกล่ียข้อพิพาท” หมายความว่า หน่วยงานของรัฐซ่ึงดาเนินการ
ระงับขอ้ พพิ าทโดยวธิ ีการไกล่เกล่ยี ข้อพพิ าท

“หน่วยงานของรัฐ” หมายความว่า ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค สานักงานศาล
ยุติธรรม สานักงานอัยการสูงสุด หรือหน่วยงานอื่นของรัฐตามท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมกาหนดใน
กฎกระทรวง

“นายทะเบยี น” หมายความว่า หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐซ่ึงดาเนินการไกล่เกล่ียขอ้ พิพาท
เมื่อคูก่ รณไี ด้มีข้อตกลงเปน็ ประการใดแล้ว ให้ผู้ไกล่เกลยี่ บนั ทกึ ขอ้ ตกลงการไกล่เกลี่ยขอ้ พิพาทหรือจัด
ให้มีการบันทึกขอ้ ตกลงระงบั ขอ้ พิพาทนน้ั ไวเ้ ป็นลายลักษณ์อักษร โดยให้คกู่ รณแี ละผ้ไู กล่เกล่ียลงลายมือชอื่ ไว้
บนั ทึกข้อตกลงตามวรรคหน่ึง อย่างน้อยตอ้ งมีรายละเอียด ดงั ต่อไปนี้

24

(๑) ชื่อและท่ีอยู่ของคู่กรณี
(๒) ข้อพิพาทตามกฎหมาย
(๓) ความสมคั รใจเข้าร่วมการไกลเ่ กลยี่ ข้อพิพาท
(๔) สาระสาคัญของข้อตกลงอันเป็นผลของการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท เช่น การชดใช้เยียวยาความ
เสียหาย เง่ือนไขที่คู่กรณีต้องปฏิบัติหรืองดเว้นปฏิบัติ ระยะเวลาดาเนินการ หรือข้อตกลงไม่ติดใจที่จะรับการ
ชดใช้เยียวยาความเสยี หาย
กระบวนการไกลเ่ กลี่ยข้อพพิ าทสนิ สดุ ลงในกรณี ดังต่อไปนี้
(๑) คู่กรณีตกลงระงับขอ้ พพิ าทกันได้
(๒) คูก่ รณถี อนตวั จากการไกลเ่ กลี่ยข้อพิพาทตามมาตรา ๒๗
(๓) ผู้ไกลเ่ กล่ียเห็นว่าการไกล่เกล่ียขอ้ พิพาทต่อไปจะไม่เป็นประโยชนแ์ ละใหย้ ุติการไกลเ่ กล่ยี
ข้อพิพาท

งานสารบรรณ
1 บททั่วไป
“งานสารบรรณ” หมายความว่า งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เร่ิมต้ังแต่การจัดทา การรับ
การส่ง การเกบ็ รักษา การยืม จนถึงการทาลาย (6 Step = ทา – รบั – สง่ – เก็บ – ยืม – ทาลาย)
“หนังสือ” หมายความวา่ หนังสอื ราชการ
“อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอน ไฟฟ้า คล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า
หรอื วิธีอ่ืนใดในลักษณะคล้ายกัน และให้หมายความรวมถึงการประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก
หรืออุปกรณ์ที่เก่ียวข้องกับการประยุกตใ์ ชว้ ธิ ตี ่าง ๆ เช่นว่านั้น
“ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่าน
ระบบสื่อสารดว้ ยวิธีการทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์
“ส่วนราชการ” หมายความว่า กระทรวง ทบวง กรม สานักงาน หรือหน่วยงานอ่ืนใดของรัฐ ทั้งใน
ราชการบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นหรือในต่างประเทศ และให้
หมายความรวมถึงคณะกรรมการด้วย
“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะบุคคลท่ีได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่อง
ใด ๆ และใหห้ มายความรวมถงึ คณะอนกุ รรมการ คณะทางาน หรือคณะบคุ คลอ่นื ทป่ี ฏิบัติงาน

2. ชนิดของหนังสอื
2.1 หนังสือราชการ คอื เอกสารทเ่ี ป็นหลกั ฐานในราชการ ไดแ้ ก่

1 หนังสอื ที่มีไปมาระหว่างสว่ นราชการ เช่น หนังสอื ทีม่ ีไปมาระหวา่ ง อบต. ก กบั อบต. ข
2 หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นใดซ่ึงมิใช่ส่วนราชการ หรือท่ีมีไปถึงบุคคลภายนอก เช่น
หนงั สอื ที่ อบต. ก มไี ปถงึ บริษัทแหรม่ จากดั หรือไปถึง นายแสนดี
3 หนงั สือท่ีหน่วยงานอ่ืนใดซ่ึงมิใช่ส่วนราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เช่น หนงั สือ
ทบี่ ริษัทแหรม่ จากดั หรือ นายแสนดี มมี าถงึ อบต. ก
4 เอกสารท่ีทางราชการจดั ทาขึน้ เพอ่ื เป็นหลักฐานในราชการ เช่น หนังสอื รบั รอง บันทกึ
5 เอกสารที่ทางราชการจัดทาขน้ึ ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ้ บังคบั
6 ขอ้ มลู ขา่ วสารหรือหนังสอื ท่ีได้รบั จากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์

25

2.2 หนังสือ มี 6 ชนดิ
1 หนังสือภายนอก คือ หนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี ใช้กระดาษตราครุฑ เป็นหนังสือติดต่อ

ระหว่างส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการ หรือที่มีถึงบุคคลภายนอกส่วน
ราชการเจ้าของเร่ือง ให้ลงช่ือส่วนราชการเจ้าของเร่ือง หรือหน่วยงาน ที่ออกหนังสือ ถ้าส่วนราชการท่ีออก
หนงั สอื อยใู่ นระดับกระทรวง หรือทบวง ให้ลงชื่อสว่ นราชการเจา้ ของเรื่องท้งั ระดบั กรมและกองถ้าสว่ นราชการ
ท่ีออกหนังสืออยใู่ นระดบั กรมลงมา ให้ลงชอื่ สว่ นราชการเจา้ ของเร่ืองเพียงระดบั กองหรือ
หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ

กระทรวงหรือทบวง คือ กรมและกอง
กรมลงมา คือ กอง หรอื หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบ

2 หนังสือภายใน คอื หนงั สือตดิ ต่อราชการทเ่ี ป็นแบบพิธนี อ้ ยกวา่ หนังสือภายนอก เปน็ หนงั สือตดิ ต่อ
ภายในกระทรวง ทบวง กรม หรือจังหวัดเดียวกนั ใชก้ ระดาษบนั ทึกข้อความ

3 หนังสือประทับตรา หนังสือทใี่ ช้ประทับตราแทนการลงชือ่ ของหัวหนา้ ส่วนราชการระดบั กรมข้ึนไป
โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกอง หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมข้ึนไปเป็น
ผู้รับผิดชอบลงชื่อยอ่ กากับตรา หนงั สือประทับตราใชก้ ระดาษตราครุฑ
การใชห้ นงั สอื ประทบั ตรา

หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับ
บคุ คลภายนอก เฉพาะกรณที ไ่ี มใ่ ชเ่ ร่ืองสาคญั ได้แก่

1 การขอรายละเอียดเพิ่มเตมิ
2 การสง่ สาเนาหนงั สอื สงิ่ ของ เอกสาร หรอื บรรณสาร
3 การตอบรับทราบทไ่ี ม่เก่ียวกับราชการสาคญั หรือการเงนิ
4 การแจ้งผลงานที่ได้ดาเนินการไปแลว้ ให้ส่วนราชการที่เก่ยี วขอ้ งทราบ
5 การเตือนเร่ืองทีค่ ้าง
6 เรื่องซึง่ หัวหนา้ สว่ นราชการระดบั กรมข้ึนไปกาหนดโดยทาเป็นคาสงั่ ใหใ้ ช้ หนังสอื ประทบั ตรา

***สตู รกำรจำกำรใช้หนงั สอื ประทบั ตรำ (ขอ – สง่ – ตอบรับ – แจ้ง – เตอื น – กำหนดให้ใช้)

4 หนงั สอื สั่งการ แบง่ ออกเปน็ 3 ชนิด ได้แก่ คาสั่ง ระเบียบ และขอ้ บังคับ
*คาสงั่ คือ บรรดาข้อความทีผ่ ูบ้ ังคับบัญชาส่งั การใหป้ ฏบิ ตั โิ ดยชอบด้วยกฎหมาย ใช้กระดาษตราครฑุ
*ระเบียบ คอื บรรดาขอ้ ความท่ผี ู้มอี านาจหน้าทีไ่ ด้วางไว้ โดยจะอาศัยอานาจของกฎหมายหรอื ไม่ก็ได้
เพ่อื ถอื เปน็ หลกั ปฏิบตั ิงานเปน็ การประจา ใช้กระดาษตราครฑุ
*ขอ้ บังคับ คอื บรรดาข้อความที่ผ้มู อี านาจหน้าทีก่ าหนดให้ใชโ้ ดยอาศยั อานาจของกฎหมายทีบ่ ัญญัติ
ให้กระทาได้ ใชก้ ระดาษตราครุฑ

จุดช่วยจา ถา้ ถาม คาสั่ง ใหห้ าคาว่า สั่งการให้
ถา้ ถาม ระเบยี บ ให้หาคาวา่ วางไว้
ถา้ ถาม ขอ้ บงั คบั ใหห้ าคาว่า กาหนดให้ใช้

26

5 หนงั สอื ประชาสัมพันธ์ มี 3 ชนดิ ได้แก่ ประกาศ แถลงการณ์ และขา่ ว
๕.1 ประกาศ คือ บรรดาข้อความที่ทางราชการประกาศหรือช้ีแจงให้ทราบ หรือแนะแนวทาง

ปฏบิ ัตใิ ช้กระดาษตราครุฑ
๕.2 แถลงการณ์ คือ บรรดาข้อความท่ีทางราชการแถลงเพื่อทาความเข้าใจในกิจการของทาง

ราชการหรือเหตุการณ์หรือกรณีใด ๆ ให้ทราบชดั เจนโดยทว่ั กนั ใช้กระดาษตราครุฑ
๕.3 ข่าว คอื บรรดาข้อความที่ทางราชการเห็นสมควรเผยแพรใ่ ห้ทราบ

6 หนงั สือท่ีเจ้าหนา้ ท่ีท้าขึน หรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ คอื หนังสือท่ีทางราชการทาขึ้นหรือ
หนังสือท่ีหน่วยงานอื่นใดซ่ึงมิใช่ส่วนราชการ หรือ บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการและส่วนราชการรับไว้
เป็นหลักฐานของทางราชการ มี 4 ชนดิ ได้แก่

๖.1 หนังสือรับรอง คือ หนังสือท่ีส่วนราชการออกให้เพ่ือรับรองแก่บุคคล นิติบุคคล หรือ
หนว่ ยงานเพอื่ วัตถุประสงค์อย่างหน่งึ ให้ปรากฏแก่บุคคลโดยท่ัวไป ไม่เฉพาะเจาะจงใชก้ ระดาษตราครุฑ

๖.2 รายงานการประชุม คอื การบนั ทึกความคิดเหน็ ของผู้มาประชมุ ผเู้ ข้าร่วมประชุม และมติของ
ท่ีประชมุ ไวเ้ ปน็ หลักฐาน

๖.3 บันทึก คือ ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชา ส่ังการแก่
ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือข้อความที่เจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานระดับต่ากว่าส่วนราชการระดับกรมติดต่อกันในการ
ปฏบิ ตั ิราชการ

๖.4 หนังสืออ่ืน คือ หนังสือหรือเอกสารอื่นใดที่เกิดขน้ึ เนื่องจากการปฏิบัติงานของเจ้าหนา้ ท่ีเพ่ือ
เป็นหลักฐานในราชการ ซึ่งรวมถึงภาพถ่าย ฟิล์ม แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพและสื่อกลางบันทึกข้อมูล
ด้วย หรือหนังสือของบุคคลภายนอกที่ย่ืนต่อเจ้าหน้าที่และเจ้าหน้าที่ได้รับเข้าทะเบียนรับหนังสือของทาง
ราชการแล้ว มีรูปแบบตามที่กระทรวง ทบวง กรม จะกาหนดข้ึนใช้ตามความเหมาะสม เว้นแต่มีแบบตาม
กฎหมายเฉพาะเรื่องให้ทาตามแบบ เช่น โฉนด แผนท่ี แบบแผนผัง สัญญา หลักฐานการสืบสวนและสอบสวน
และคารอ้ ง เป็นต้น

ส่อื กลางบนั ทึกข้อมลู หมายความถึง สอื่ ใด ๆ ทีอ่ าจใชบ้ ันทกึ ข้อมูลได้ด้วย อปุ กรณ์ทางอเิ ล็กทรอนิกส์
เช่น แผน่ บนั ทกึ ข้อมลู เทปแมเ่ หล็ก จานแม่เหลก็ แผ่นซีดี-อ่านอย่างเดียว หรือแผ่นดิจิทัลอเนกประสงค์

๗ หนงั สือทตี่ ้องปฏบิ ตั ิให้เร็วกว่าปกติ แบง่ เป็น 3 ประเภท คอื
1. ดว่ นทสี่ ดุ ให้เจา้ หน้าท่ปี ฏิบัติในทันทีที่ได้รบั หนงั สือนนั้ ทันที
2. ด่วนมาก ให้เจ้าหนา้ ท่ปี ฏบิ ัตโิ ดยเรว็ โดยเรว็ (๓วัน)
3. ดว่ น ให้เจา้ หนา้ ทีป่ ฏิบตั เิ ร็วกว่าปกติ เทา่ ท่ีจะทาได้เร็วกว่าปกติ (๗วัน)

๘ การสง่ หนงั สอื ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การติดต่อราชการนอกจากการจะดาเนินการโดยหนังสอื ท่ี
เป็นเอกสารสามารถดาเนินการด้วยระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ได้ ในกรณีที่ติดต่อราชการด้วยระบบสาร
บรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ ให้ผู้ส่งตรวจสอบผลการสง่ ทุกครง้ั และให้ผ้รู ับแจ้งตอบรับ เพือ่ ยนื ยนั วา่ หนงั สือไดจ้ ัดส่งไป
ยังผู้รับเรียบร้อยแล้วการส่งข้อความทางเครื่องมือส่ือสาร เช่น โทรเลข วิทยุโทรเลข โทรพิมพ์ โทรศัพท์ วิทยุ
สื่อสาร วิทยุกระจายเสียง หรือวิทยุโทรทัศน์ เป็นต้น โดยให้ผู้รับปฏิบัติเช่นเดียวกับได้รับหนังสือ ในกรณีที่จา
เป็นตอ้ งยืนยันเป็นหนังสอื ให้ทาหนงั สอื ยนื ยนั ตามไปทนั ที

การส่งข้อความทางเคร่ืองมือ/สื่อสารซ่ึงไม่มีหลักฐานปรากฏชัดแจ้ง เช่น ทางโทรศัพท์ วิทยุส่ือสาร
วทิ ยุกระจายเสียง หรอื วทิ ยโุ ทรทศั น์ เปน็ ต้น โดยให้ผูส้ ง่ และผูร้ ับบนั ทึกข้อความไว้เป็นหลกั ฐาน

27

๙ สา้ เนาคูฉ่ บับ
หนังสือท่ีจัดทาข้ึนโดยปกติให้มีสาเนาคู่ฉบับเก็บไว้ที่ต้นเร่ือง 1 ฉบับ และให้มีสาเนาเก็บไว้ที่
หน่วยงานสารบรรณกลาง 1 ฉบับ โดยสาเนาคู่ฉบับให้ ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ และผู้ตรวจลงลายมือชื่อ หรือลายมือช่ือ
ย่อไว้ทีข่ ้างท้ายขอบลา่ งด้านขวาของหนังสือ

๑๐ หนังสอื ท่ีเห็นวา่ ส่วนราชการอ่ืนควรได้รบั ทราบด้วย
หนังสือท่ีเจ้าของหนังสือเห็นว่ามีส่วนราชการอื่นที่เก่ียวข้องควรได้รับทราบด้วยโดยปกติให้ส่งสาเนา
ไปให้ทราบโดยทาเปน็ หนังสือประทับตราสาเนาหนงั สอื นใ้ี หม้ คี ารบั รองวา่ สาเนาถูกต้อง โดยให้เจา้ หนา้ ท่ีตัง้ แต่
ระดับ 2 หรือเทียบเท่าขึ้นไปซึ่งเป็นเจ้าของเร่ืองและลงลายมือชื่อรับรอง พร้อมทั้งลงชื่อตัวบรรจง และ
ตาแหน่งทีข่ อบล่างของหนังสอื

*ขอ้ ควรจา
ขอบลา่ งด้านขวา ใช้กบั สาเนาคู่ฉบับ และ หนงั สือรับรอง
ขอบลา่ งของหนังสือ ใช้กับ สาเนาหนังสอื ท่เี หน็ วา่ สว่ นราชการอน่ื ควรได้รบั ทราบด้วย

1๑ หนังสือเวียน คือ หนังสือท่ีมีถึงผู้รับเป็นจานวนมาก มีใจความอย่างเดียวกัน ให้เพ่ิมรหัส ตัว
พยญั ชนะ ว หน้าเลขทะเบยี นหนงั สอื สง่ ซง่ึ กาหนดเป็นเลขท่ีหนังสอื เวียนโดยเฉพาะ เร่ิมต้งั แต่เลข 1 เรยี งเป็น
ลาดบั ไปจนถึงส้นิ ปีปฏทิ นิ

1๒ หนงั สือตา่ งประเทศ และหนงั สอื ภาษาอืน่ ๆ
– หนังสือภาษาตา่ งประเทศ ใหใ้ ช้กระดาษตราครุฑ
– หนังสือทเ่ี ป็นภาษาอนื่ ๆ ซึ่งมิใช่ภาษาองั กฤษ ให้เป็นไปตามประเพณนี ยิ ม

1๓ การรับและสง่ หนงั สอื
๑๓.๑ หนงั สอื รบั คือ หนังสือทีไ่ ด้รบั เขา้ มาจากภายนอก มขี ้ันตอนการปฏิบัติดังน้ี

1. จัดลาดบั ความสาคัญและความเรง่ ดว่ น
2. ประทบั ตรารับหนงั สือ
3. ลงทะเบยี นรบั หนงั สอื ในทะเบยี นหนังสอื รบั
4. จัดแยกหนังสือทีล่ งทะเบียนรับแล้วสง่ ให้ส่วนราชการที่เกย่ี วข้อง
1๓.2 หนังสอื ส่ง คอื หนงั สือท่สี ่งออกไปภายนอก มขี ้ันตอนการปฏิบตั ดิ งั น้ี
1. ตรวจสอบความเรยี บร้อย แลว้ ส่งเรื่องให้หนว่ ยงานสารบรรณกลาง
2. เจ้าหน้าทหี่ นว่ ยงานสารบรรณกลาง ตรวจความเรียบร้อยอีกครั้ง แลว้ ปดิ ผนกึ
*** การส่งหนังสือโดยทางไปรษณีย์ ให้ถอื ปฏิบตั ิตามระเบียบ หรอื วธิ ีการท่ีการส่อื สารแห่งประเทศไทยกาหนด
(ปจั จบุ ัน คือ บรษิ ทั ไปรษณีย์ไทย จากดั )
การส่งหนังสือซึ่งมิใช่เป็นการส่งโดยทางไปรษณีย์ เม่ือส่งหนังสือให้ผู้รับแล้ว ผู้ส่งต้องให้ผู้รับลงชื่อรับ
ในสมุดสง่ หนงั สือ หรือใบรบั แลว้ แต่กรณี ถ้าเป็นใบรับให้นาใบรบั นัน้ มาผนึกติดไว้ทสี่ าเนาคู่ฉบบั

๑๔ การเกบ็ รักษา ยมื และทา้ ลายหนงั สือ
1๔.1 การเก็บรกั ษา แบ่งออกได้ 3 ประเภทคอื

28

1 การเก็บระหว่างปฏิบัติ คือ การเก็บหนังสือท่ีปฏิบัติยังไม่เสร็จให้อยู่ในความรับผิดชอบของ
เจา้ ของเรอื่ ง โดยใหก้ าหนดวิธีการเก็บให้เหมาะสมตามขั้นตอนของการปฏบิ ตั งิ าน

2 การเก็บเม่ือปฏิบัติเสร็จแล้ว คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว และไม่มีอะไร
ท่ีจะตอ้ งปฏบิ ตั ติ อ่ ไปอีก ให้เจา้ หน้าทีข่ องเจ้าของเรอ่ื งปฏิบตั ิ

3 การเก็บไว้เพ่ือใช้ในการตรวจสอบ คือ การเก็บหนังสือที่ปฏิบัติเสร็จเรียบร้อยแล้ว แต่จา
เป็นต้องใช้ในการตรวจสอบเปน็ ประจา ไม่สะดวกในการสง่ ไปเก็บยงั หน่วยเกบ็ ของสว่ นราชการ
***จดุ ชว่ ยจา
การเกบ็ ระหวา่ งปฏิบตั ิ = ปฏิบตั ยิ ังไมเ่ สร็จ
การเก็บเมอื่ ปฏิบัติเสร็จแล้ว = ปฏบิ ัติเสร็จเรียบรอ้ ยแล้ว + ไมม่ ีอะไรตอ้ งปฏบิ ตั อิ กี
การเก็บไว้เพอื่ ใชใ้ นการตรวจสอบ = ปฏบิ ตั ิเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ + ใช้ประจา
อายุในการเก็บหนงั สือโดยปกตใิ ห้เก็บไว้ไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ปี เวน้ แต่
1 หนังสอื ที่ต้องสงวนเปน็ ความลับ
2 หนงั สือทีเ่ ปน็ หลักฐานทางอรรถคดี สานวนของศาล หรือของพนักงานสอบสวน
3 หนังสอื ท่มี ีคณุ คา่ ทางประวัตศิ าสตรท์ ุกสาขาวิชา ให้เก็บไวต้ ลอดไป
4 หนังสอื ท่ีไดป้ ฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สิ้นแลว้ และเป็นคู่สาเนาเก็บไว้ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี
5 หนังสือที่เป็นเรื่องธรรมดาสามัญซ่ึงไม่มีความสาคัญและเป็นเร่ืองท่ีเกิดขึ้นเป็นประจาเกบ็ ไว้ไม่น้อย
กว่า 1 ปี
6 หนังสือหรือเอกสารเก่ียวกับการรับเงิน การจ่ายเงิน หรือการก่อหนี้ผูกพัน ทางการเงินท่ีไม่เป็น
หลักฐานแห่งการก่อ เปล่ียนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิในทางการเงิน เม่ือสานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดนิ ตรวจสอบแลว้ ไมม่ ีปัญหา ใหเ้ ก็บไว้ไมน่ ้อยกวา่ 5 ปี
การเกบ็ รกั ษาหนงั สอื ให้เจ้าหน้าทร่ี ะมัดระวงั รกั ษาหนงั สือใหอ้ ยใู่ นสภาพใช้ราชการ ไดท้ ุกโอกาส
1 หากชารุดเสยี หายต้องรบี ซอ่ มใหใ้ ชร้ าชการไดเ้ หมอื นเดิม
2 หากสญู หายตอ้ งหาสาเนามาแทน
3 ถ้าชารดุ เสยี หายจนไมส่ ามารถซอ่ มแซมให้คงสภาพเดิมได้ ใหร้ ายงานผบู้ งั คบั บญั ชาทราบ
1๔.2 การยมื
การยมื หนงั สอื ระหว่างสว่ นราชการ ผู้ยืมและผอู้ นญุ าตใหย้ ืมตอ้ งเปน็ หวั หน้าสว่ นราชการระดับกอง
ขนึ้ ไป หรือผู้ที่ไดร้ ับมอบหมาย
การยืมหนังสือภายในสว่ นราชการเดียวกัน ผยู้ ืมและผู้อนุญาตให้ยมื ตอ้ งเป็นหัวหนา้ ส่วนราชการ
ระดบั แผนกข้นึ ไป หรอื ผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย
การใหบ้ ุคคลภายนอกยมื หนังสอื จะกระทามิได้ เวน้ แต่จะใหด้ ูหรือคดั ลอกหนังสือทัง้ นจ้ี ะต้องไดร้ ับ
อนุญาตจากหวั หน้าส่วนราชการระดบั กองข้ึนไป
1๔.3 การทา้ ลาย มขี น้ั ตอน ดงั น้ี
1 ภายใน 60 วันหลังจากวันสิ้นปีปฏิทิน ให้สารวจหนังสือท่ีครบกาหนด แล้วจัดทาบัญชีหนังสือขอ
ทาลายเสนอหัวหนา้ ส่วนราชการระดับกรม
2 หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม แต่งตั้งคณะกรรมการทาลายหนังสือ ประกอบด้วยประธาน
กรรมการ 1 คน กรรมการอย่างน้อย 2 คน
3 ถ้าคณะกรรมการเห็นว่าหนังสือควรให้ทาลายให้กรอกเครื่องหมายกากบาท (x) ลงในช่อง การ
พิจารณาแล้วรายงานผลต่อหวั หน้าสว่ นราชการระดบั กรม

29

4 หัวหน้าส่วนราชการระดบั กรมคี วามเหน็
4.1 ไมค่ วรทาลาย ใหเ้ กบ็ หนงั สอื น้นั ไว้จนกว่าจะถึงเวลาทาลายงวดตอ่ ไป
4.2 ควรทาลาย ให้ส่งบัญชีหนงั สือขอทาลายให้กองจดหมายเหตแุ ห่งชาติ กรมศิลปากร หาก

มีความเห็นควรทาลายให้แจ้งส่วนราชการทราบ ถ้าไม่แจ้งภายใน 60 วันถือว่ากองจดหมายเหตุแห่งชาติ
เห็นชอบ หากมีความเห็นว่าไม่ควรทาลายหรือขยายเวลาในการเก็บ ให้แจ้งส่วนราชการทราบ และให้ส่วน
ราชการดาเนนิ การตามท่ีไดร้ ับแจ้ง

1๕ มาตรฐานตรา แบบพิมพ์ และซอง
1๕.1 ตราครุฑ สาหรบั แบบพิมพ์ มี 2 ขนาด คือ
ขนาดตัวครฑุ สงู 3 เซนตเิ มตร
ขนาดตวั ครุฑสงู 1.5 เซนติเมตร
1๕.2 ตราช่ือส่วนราชการ มีลักษณะเป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกัน เส้นผ่าศูนย์กลางวงนอก

4.5 เซนติเมตร วงใน 3.5 เซนติเมตร ล้อมครุฑครุฑสูง 3 เซนติเมตร ระหว่างวงนอกและวงในมอี ักษรไทย ชื่อ
กระทรวง ทบวง กรม หรือส่วนราชการที่เรียกช่ืออย่างอื่น ที่มีฐานะเป็นกรมหรือจังหวัดอยู่ขอบล่างของตรา
สว่ นราชการใดท่ีมีการติดต่อกับต่างประเทศ จะให้มีชื่อภาษาต่างประเทศเพ่ิมข้ึนด้วยก็ได้ โดยให้อักษรไทยอยู่
ขอบบนและอกั ษรโรมันอย่ขู อบล่างของตรา

1๕.3 ตรากาหนดเก็บหนังสือ คือ ตราที่ใช้ประทับบนหนังสือเก็บเพื่อให้ทราบกาหนด
ระยะเวลาการเกบ็ หนงั สือน้นั มคี าว่า เกบ็ ถงึ พ.ศ… หรือคาวา่ ห้ามทาลาย ขนาดไม่เลก็ กวา่ ตัวพพิ ม์ 24 พอยท์

1๕.4 มาตรฐานกระดาษและซองมาตรฐานกระดาษ โดยปกติให้ใช้กระดาษปอนด์ขาว
นา้ หนกั 60 กรมั ตอ่ ตารางเมตร มี 3 ขนาด คอื

ขนาด A4 หมายความว่า ขนาด 210 มิลลิเมตร x 297 มลิ ลิเมตร
ขนาด A5 หมายความว่า ขนาด 148 มิลลิเมตร x 210 มิลลิเมตร
ขนาด A8 หมายความวา่ ขนาด 52 มลิ ลิเมตร x 74 มิลลเิ มตร
มาตรฐานซอง โดยปกติให้ใช้กระดาษสีขาวหรือสีน้าตาล น้าหนัก 80 กรัม ต่อตารางเมตร เว้นแต่ซองขนาด
c4 ให้ใชก้ ระดาษนา้ หนัก 120 กรมั ต่อตารางเมตร มี 4 ขนาด คือ
ขนาดซี 4 หมายความว่า ขนาด 229 มิลลเิ มตร x 324 มลิ ลิเมตร
ขนาดซี 5 หมายความวา่ ขนาด 162 มิลลเิ มตร x 229 มิลลเิ มตร
ขนาดซี 6 หมายความวา่ ขนาด 114 มิลลิเมตร x 162 มลิ ลิเมตร
ขนาดดีแอล หมายความวา่ ขนาด 110 มิลลิเมตร x 220 มลิ ลเิ มตร
1๕.5 กระดาษตราครุฑ ให้ใช้กระดาษขนาดเอ 4 พิมพ์ครุฑสูง 3 เซนติเมตร ด้วยหมึกสีดา หรือทา
เป็นครฑุ ดนุ ท่กี ึง่ กลางสว่ นบนของกระดาษ
1๕.6 กระดาษบันทึกข้อความ ให้ใช้กระดาษขนาดเอ 4 หรือขนาดเอ 5 พิมพ์ครุฑสูง 1.5
เซนตเิ มตร ด้วยหมกึ สดี าท่มี ุมบนด้านซา้ ย
1๕.7 ซองหนังสือ ให้พิมพ์ครุฑสูง 1.5 เซนติเมตร ด้วยหมึกสีดาท่ีมุมบนด้านซ้ายของซอง มี 4
ขนาดคอื
ขนาดซี 4 ให้สาหรบั บรรจหุ นังสอื กระดาษตราครฑุ โดยไม่ต้องพับ มีชนดิ ธรรมดาและขยายข้าง
ขนาดซี 5 ใชส้ าหรบั บรรจุหนงั สือกระดาษตราครฑุ พบั 2
ขนาดซี 6 ใชส้ าหรบั บรรจหุ นังสือกระดาษตราครฑุ พบั 4

30

ขนาดดแี อล ใชส้ าหรับบรรจุหนงั สอื กระดาษตราครฑุ พบั 3
1๕.8 ตรารับหนังสือ คือ ตราท่ีใช้ประทับบนหนังสือ เพอื่ ลงเลขทะเบียนรับหนังสือ มีลักษณะเปน็ รูป
สี่เหล่ยี มผืนผ้า ขนาด 2.5 เซนตเิ มตร x 5 เซนติเมตร มชี ือ่ ส่วนราชการอยตู่ อนบน

ตัวอย่างตรารับหนงั สอื (ช่ือส่วนราชการ)
เลขรบั …………………………..
วนั ที่……………………………..
เวลา……………………………..
1๕.9 ขนาดกระดาษ ตามระเบยี บงานสารบรรณฯ ชนิดของหนังสือมที งั้ หมด ๕ ขนาด คอื
1 ขนาด A4 พิมพ์ 2 หนา้ มี 2 ชนิดคือแบบเปน็ เล่มกบั เปน็ แผน่
– ทะเบียนหนงั สือรบั
– ทะเบยี นหนงั สอื ส่ง
– ทะเบยี นหนังสอื เก็บ
2 ขนาด A4 พมิ พ์ 2 หนา้
– บัญชสี ่งมอบหนังสอื ครบ 20 ปี
– บัญชสี ่งมอบหนังสอื ครบ 20 ปี ทข่ี อเก็บเอง
– บัญชีฝากหนังสือ
– บัญชหี นังสือขอทาลาย
3 ขนาด A4 พมิ พ์หน้าเดียว
– บัตรยืมหนังสือ
– บญั ชีหนังสอื ส่งเก็บ
4 ขนาด A5 พมิ พ์ 2 หนา้
– สมดุ ส่งหนงั สอื
– บัตรตรวจค้น
5 ขนาด A8 พิมพ์หนา้ เดียว
– ใบ
– ใบรบั หนงั สอื

งานประชาสัมพนั ธใ์ นพนื ทเี่ บตง

1 งานประชาสมั พนั ธ์ หมายถึง งานติดตอ่ สอื่ สารเพ่อื ส่งเสริมความเขา้ ใจอันถกู ต้องต่อกนั .

2 ประเภทของสื่อที่ใช้งานประชาสมั พันธ์
-สือ่ สง่ิ พิมพเ์ ชน่ หนังสอื , โปสเตอร์, ไวนิล
-สอื่ อินเทอรเ์ นต็ เช่น e-book, pdf
-ส่ือบุคคลหมายถึง บุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ ความเชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ซึ่งสามารถ

ถา่ ยทอด สาระความรู้ แนวคิดและ ประสบการณ์ไปสบู่ คุ คลอนื่ เช่น วิทยากร
-ส่ือเทคโนโลยี เช่น CD หรือ DVD (มีภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียง)

3 เป้าหมายในการประชาสมั พันธ์
-ตอ้ งมีการประชาสมั พนั ธอ์ ย่างน้อยสปั ดาห์ละ1 คร้ัง

31

-เก็บภาพในขณะปฏิบัตงิ านประชาสมั พันธ์ อยา่ งนอ้ ย ๓ ภาพ
-เน้นจานวนยอดผรู้ ับสอื่ ประชาสัมพันธ์
-เปลี่ยนสถานท่ีประชาสัมพันธ์ไปเรื่อยๆ เพื่อกระจายความทั่วถึง เช่น วันแรกประชาสัมพันธ์ใน
พื้นทหี่ มู่ ๑ วันตอ่ ไป หมู่ ๒
4 ทมี่ าของส่ือแต่ละประเภท
-ส่ือส่ิงพิมพ์ และส่ือเทคโนโลยี ได้รับจาก-กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กลุ่มงานนโยบายฯ ด้าน
ความมั่นคง (ส่วนใต)้
-สานักงานยุติธรรมจงั หวดั ยะลา
-สอ่ื อนิ เทอร์เนต็ ค้นหาไดจ้ าก เพจเฟสบุ๊ค:กระทรวงยตุ ิธรรม
-เว็บไซต์กระทรวงยุตธิ รรม
-แอพลเิ คชนั่ Justice Care
-บทความจาก ผอ. และเจ้าหนา้ ทีส่ านกั งานยตุ ิธรรมจังหวัดยะลา
-สื่อบคุ คล หาไดจ้ ากตวั เราเอง เจ้าหน้าที่สานักงานยุตธิ รรมจังหวดั ยะลาทปี่ ฏบิ ตั ิงานในด้านนน้ั ๆ
-ผมู้ คี วามรนู้ อกองคก์ ร
5 การประชาสมั พนั ธ์
-สื่อสง่ิ พมิ พ์ นาไปมอบดว้ ยมือใหก้ ับประชาชน
-สื่อเทคโนโลยี (สอื่ เสียง, สอื่ ภาพเคล่ือนไหว) นาไปใหส้ ถานีวทิ ยุชุมชน หรือหอกระจายเสียงตาม
มสั ยดิ (ถา้ มี)
-ส่ืออินเทอร์เน็ต คือ โพสลงเพจศูนย์ยุติธรรมชุมชน (ถ้ายังไม่มีเพจให้สร้างเพจ) หรือแชร์ไปเพจ
ส่วนตัว
-สง่ ตอ่ ในไลน์กล่มุ เครือข่ายตา่ งๆ
-สอ่ื บุคคล คอื การปฏิบตั ิงาน การแนะนาและการชว่ ยเหลอื ตา่ งๆ ท่ีอย่ใู นขอบเขตกรอบภารกจิ
6 วธิ กี ารรายงานหลังปฏบิ ตั ิงานประชาสัมพนั ธ์เสรจ็ สิน
ตวั อยา่ ง การรายงานการประชาสัมพนั ธ์
วัน….ที่….เดือน…………..พ.ศ……………..สานักงานยุติธรรมจังหวัดยะลา สาขาเบตง และศูนย์ยุติธรรม
ชุมชน………………………. แจกสื่อประชาสัมพันธ์ (….ระบุประเภทสื่อ…..) ในการประชาสัมพันธ์บทบาทภารกิจ
กระทรวงยุติธรรม สานักงานยุติธรรมจังหวัด ศูนย์ยุติธรรมชุมชน การไกล่เกลี่ย และกองทุนยุติธรรม ใน
พื้นท…่ี ……………….อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา จานวน………….

หมายเหตุ:รายงานการประชาสัมพันธ์ในกลุ่มไลน์ “ศยช.จชต.(ยะลา)” ภายในวันท่ีประชาสัมพันธ์
และภายในเวลาราชการ

32

อ้างองิ

งานสารบรรณ.// บททั่วไป โดยครูหนุม่ .//สืบคน้ เม่ือ ๓ มีนาคม ๒๕๖๕./
จาก/http://www.krunoomtutor.com/upload/300118010230.pdf

พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๔(และท่ี
แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒)พ.ศ.๒๕๕๙).//

สานักงานกระทรวงยตุ ิธรรม
การใหบ้ รกิ ารประชาชน.//สานักงานยุติธรรม
พระราชบญั ญัติไกล่เกลี่ยข้อพิพาท.//สบื ค้นเมือ่ ๓ มนี าคม ๒๕๖๕./

จาก/https://www.ocpb.go.th/download/article/article_20190524081102.pdf
พระราชบญั ญตั กิ องทุนยุติธรรม.//สบื ค้นเม่อื ๓ มนี าคม ๒๕๖๕./

จาก/ https://jfo.moj.go.th/download/JusticeFundAct2015.pdf
ภากจิ หลักของสานักงานยุตธิ รรมจังหวดั .//สบื ค้นเม่ือ ๗ มรนาคม ๒๕๖๕./

จาก/ //www.nabokham.go.th/files/com_justice/2019-06_c4b3fab5e400043.pd

33

ภาคผนวก

34

35


Click to View FlipBook Version