The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Quality News เดือน ก.ค.-ก.ย. 2564 (Final)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ., 2021-10-17 23:47:22

Quality News 3 (Vol.68)

Quality News เดือน ก.ค.-ก.ย. 2564 (Final)

ข่าวสารคณุ ภาพ

ปที ่ี 17 ฉบับที่ 3 (68) เมษายน – มิถนุ ายน 2564 ข่าวสารเพือ่ การพัฒนาคณุ ภาพบริการ การศึกษา วจิ ยั และวชิ าการ คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล

สวัสดที กุ ท่าน สาหรับฉบับนีก้ ็มเี รื่องราวทเ่ี ป็นประโยชน์ มีองคค์ วามรู้และส่งเสรมิ ให้เกดิ การจดั การ
ความรู้ ซึ่งเกดิ ขึน้ ในช่วงที่ผ่านมา ทงั้ ความสาเร็จของทีม DSC Cervical Cancer, การสร้างปฏสิ มั พันธ์
กบั ผเู้ รียนเพม่ิ ขน้ึ เมอื่ จัดการสอนออนไลน์, อาหารแลกเปล่ียน, กระสวยยาดว่ น และการสร้างกาลงั ใจ
ใหต้ ัวเองในชว่ ง Covid-19 หวงั ว่าทุกทา่ นคงดีข้ึน แล้วพบกบั ใหมใ่ นฉบับหนา้

ถอดบทเรยี นปจั จัยสู่ความสาเร็จ หรือโอกาสพฒั นา
ทีม DSC Cervical Cancer

ปัจจยั สูค่ วามสาเร็จที่ทาให้ผ่านการรับรองเฉพาะโรค รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงกันยรตั น์ กตญั ญู
โรคมะเร็งปากมดลูก หรือ cervical cancer เนอ่ื งจากความ หวั หนา้ ภาควิชารงั สวี ทิ ยา
โดดเด่น 3 ด้าน ไดแ้ ก่
1. ด้านงานวิชาการหรือวิจัย โดยตั้งแต่ปี พ.ศ.2546 สามารถวางแผนแบบ 3 มิติ ซึ่งกาลังจะได้รับการสนับสนุน
จนถงึ ปจั จบุ นั (18 ปี) มีงานวิจัยมะเร็งปากมดลูกลงตีพิมพ์ใน ภายในปี พ.ศ. 2566 จากโครงการอาคารศูนย์มะเร็ง
วารสารระดับชาติ และนานาชาติอย่างสม่าเสมอ จานวน เฉลิมพระเกียรติ นอกจากน้ีการค้นหาความต้องการของ
ท้ังส้ิน 31 เรื่อง ซ่ึงเป็นงานวิจัยท้ังในเชิงคลินิก และเชิง ผูป้ ่วยในแต่ละชว่ งของการเข้ารบั บริการ เพื่อปรับปรุงข้ันตอน
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ทาให้ตอบคาถามทั้งในแง่ของ ทางานในส่วนต่าง ๆ ให้ตอบสนองต่อผู้ป่วยได้เพิ่มข้ึน จะเห็น
“ดูคน ดูไข้ และดคู ้มุ ” ได้อย่างสมบรู ณ์ ได้ว่า ถึงแม้จะมีทรัพยากรท่ีจากัดไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองมือ
เทคโนโลยี หรือแม้แต่จานวนแพทย์ท่ีไม่สามารถเทียบเท่า
โรงพยาบาลที่เป็นโรงเรียนแพทย์อ่ืน ๆ แต่ไม่ได้เป็น
อุปสรรคต่อการรักษาที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน หากมี

2. การทางานร่วมกันอย่างเป็นสหสาขาที่เป็นรูปธรรม ความตงั้ ใจ มกี ารวางแผนทดี่ ี และมคี วามมงุ่ ม่นั ท่ีแทจ้ รงิ

โดยเฉพาะแพทย์สาขามะเร็งนรีเวช และแพทย์สาขารังสี

รักษาและมะเร็งวิทยา ผ่านกลไกของ “Tumor Clinic”

ทุกวันอังคารบ่าย ทาให้การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งปาก

มดลูกผา่ นการพจิ ารณาการรักษารว่ มกนั อย่างรอบด้าน

3. การบรู ณาการระหวา่ ง 3 พันธกจิ ไว้อย่างชดั เจน โดยทีมฯ

ไดน้ าพนั ธกิจด้านการบรกิ าร บรู ณาการรว่ มกบั พันธกิจด้าน

การศึกษา (ท้ังระดับก่อนปริญญาและหลังปริญญา) และ เป้าหมายต่อไปท่ีสาคัญของทีมฯ น้ัน ไม่เพียงแต่

ด้านการวิจัย ซึ่งตอบสนองต่อค่านิยมของทีมฯ น่ันคือ ไดร้ บั การเยี่ยมสารวจเพอื่ ตอ่ อายุการประเมินรับรองเฉพาะ

“Integration” อย่างไรก็ตาม ทีมฯ พบว่า ยังคงมีโอกาส โรค/ เฉพาะระบบ ในปี 2567 แต่ยังมีเป้าหมายท่ีสาคัญใน

พัฒนาอยู่ในหลายด้าน ได้แก่ เคร่ืองมือ หรือเทคโนโลยีที่ การสนับสนุนให้คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาลได้มี

ใช้ของรังสีรักษาไม่ทันสมัย โดยเฉพาะการใส่แร่ซ่ึงยังไม่ “ศูนย์ความเปน็ เลศิ ด้านมะเร็ง” ร่วมดว้ ย

ข่าวสารคณุ ภาพ Quality News 1

ทาอยา่ งไรจึงสร้างปฏิสมั พันธ์กับผู้เรยี นเพิม่ ข้ึนเมอ่ื จดั การสอนออนไลน์ :
บทเรยี นจากการเรียนการสอนในรายวิชาเคร่ืองมอื ทางรังสีวินิจฉยั
(Instrument in Diagnostic Radiology)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปนสั ดา อวิคณุ ประเสรฐิ ภาควิชารังสีเทคนคิ
ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์นายแพทยจ์ ิโรจน์ สรู พนั ธุ์ ภาควชิ าออรโ์ ธปิดิกส์

ในสถานการณ์การเรียนการสอนออนไลน์ ผู้นิพนธ์ซ่ึงเป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา
หากจัดเพียงระยะเวลาสั้น คงไม่มีปัญหาในการพัฒนา หน่ึงของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารังสี
และปรับตัว แต่เม่ือต้องจัดในระยะยาวทั้งภาค เทคนิค ประสบปัญหาน้ีเช่นกนั และไดศ้ ึกษาข้อมูลทาง
การศึกษาหรือปีการศึกษา ผู้เรียนบางคนมีความ วิชาการต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาการสร้างปฏิสัมพันธ์กับ
ลาบากในการเรียนรู้ในรูปแบบดังกล่าว เช่น ผู้เรียน ผู้เรียน และได้ใช้กับการเรียนการสอนจริง จึงขอถอด
ขาดโอกาสหรือมีโอกาสที่จากัดในการถามคาถามท่ี บทเรยี นทไี่ ดด้ ังนี้
สงสัย หรือตอบคาถามแก่ผู้สอนด้วยเหตุผลต่าง ๆ
นานา ขนั้ ตอนการเข้าสบู่ ทเรียน

1. การใช้คาถาม Check-in
เนือ่ งจากรายวิชาน้ี เรียนทกุ วนั ศุกร์ เวลา 13:00-16:00 น. คาดว่า นักศึกษาเหน่ือยล้าจากการเรียนมาตลอด

สปั ดาห์ ผ้สู อนตอ้ งการใหผ้ เู้ รยี นรสู้ กึ ผ่อนคลาย ไม่กดดัน หรือเครียด และเพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากมีส่วนร่วมในการ
เรียนโดยไม่จาเป็นต้องเปิดไมโครโฟน แต่ให้แสดงสัญลักษณ์ท่ีโปรแกรม Zoom มีให้ และแสดงความเห็นผ่าน
โปรแกรมที่พมิ พ์ได้ เช่น Google Form
“ตอนน้ีคณุ รสู้ กึ อยา่ งไร” (emoticon ให้เลอื ก)
“อะไรทีค่ ณุ กงั วล และอาจจะรบกวนสมาธกิ ารเรยี นของคณุ ในวนั น”้ี (คาถามปลายเปิด)
“คณุ อยากได้อะไรจากการเรียนในวันน”ี้ (คาถามปลายเปิด)

ผลทีไ่ ด้คอื ผู้สอนทราบถงึ ความพร้อมของผู้เรียนในวันนี้ และได้ทราบปัญหาท่ีผู้เรียนมีจากการเรียนออนไลน์
และทราบความคาดหวงั ในการเรียนของผูเ้ รยี น
2. การทบทวนบทเรียนที่เรียนแล้วเพอ่ื เชอ่ื มโยงกบั กิจกรรมถดั ไป

ผู้สอนต้ังคาถาม เมื่อพูดถึงคาว่า “เคร่ืองมือทางรังสีวินิจฉัย” นักศึกษานึกถึงเคร่ืองมือใด ให้นักศึกษา
พิมพ์คาตอบใน application ประเภท Word Cloud เช่น Mentimeter (www.mentimeter.com)

ผลท่ีได้คือ เม่ือแสดงคาตอบให้นักศึกษาท้ังช้ันได้เห็น และได้
เห็นคาตอบของผู้อ่ืน จะช่วยกระตุ้นความจาถึงช่ือเคร่ืองมือที่
ตนเองไดเ้ รียนไปแล้ว
หมายเหตุ : Mentimeter ชนดิ ฟรีใช้ได้แค่ 3 สไลด์
ดังนัน้ อาจจะไม่เหมาะกบั กจิ กรรมการตอบคาถาม (Quiz)

ขา่ วสารคุณภาพ Quality News 2

ขนั้ ตอนการสอนตามหัวขอ้

1. เทคนคิ แบง่ กล่มุ ย่อย
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มเข้า breakout room

เพ่ืออภิปรายและแสดงความคิดเห็น ในหัวข้อ
“เคร่ืองมือทางรังสีวินิจฉัย” ในประเด็น อุปกรณ์หรือ
ส่วนประกอบหลัก หน้าท่ีของอุปกรณ์ ยกตัวอย่าง
หลักการทางฟิสิกส์ที่ใช้ในเครื่องมือ ลักษณะของภาพ
(ท่ีต่างจากเคร่ืองอื่น) โดยสามารถค้นหาข้อมูลต่างๆ
ทางเว็บไซต์ และกลบั มานาเสนอ

ผลท่ีได้คือ นักศึกษามีส่วนร่วมดีมาก มีผู้แทนทุกกลุ่มแสดงความเห็น แต่โบนัสคือ บางกลุ่มมีนักศึกษาแสดง
ความเหน็ มากกว่า 1 คน บางกลมุ่ แสดงความเหน็ ทกุ คนในกลุ่ม

ผู้สอนต้องฟังข้อมูลจากนักศึกษาในขณะนาเสนอ และผู้สอนพึงให้ข้อมูลป้อนกลับแก่กับผู้เรียน ซ่ึงเป็น
จุดสาคัญ โดยเฉพาะคาพูดที่ใช้ต้องสร้างแรงกระตุ้นเชิงบวก (cheer up) เมื่อนักศึกษาตอบถูก จะช่วยส่งเสริมให้
นักศึกษากล้าแสดงความเห็นในคร้ังต่อไปในขณะเรียนออนไลน์ (หรือแม้แต่เรียนในห้องเรียนจริง) เม่ือนักศึกษาให้
คาตอบที่ไม่ถกู ตอ้ ง ผูส้ อนพึงไมต่ ่อวา่ นกั ศึกษา แตค่ วรชวนใหค้ ดิ ถึงเหตผุ ลทนี่ าไปสู่คาตอบทีถ่ กู ต้อง

2. การใช้ Quiz เพ่อื นาเขา้ สู่บทเรยี น
ผสู้ อนให้คาถาม 1 ขอ้ เพือ่ กระตุน้ ความอยากเรียนรู้แกผ่ เู้ รียน
ผลท่ีได้คือ นักศึกษารู้สึกผ่อนคลายก่อนเรียน มีปฏิสัมพันธ์ในการเรียน สังเกตจากการส่งสติ๊กเกอร์ หรือการ

สง่ ข้อความระหวา่ งการสอน และเขยี นบน shared slide ใน slide ทขี่ อใหป้ ระเมินความเห็น
การสร้าง Quiz หลังเรียน
ให้นักศึกษาทาแบบทดสอบหลังเรียน โดยไม่เก็บคะแนน และผสู้ อนยา้ ว่า แบบทดสอบน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้

นักศึกษาทราบข้อดี และข้อจากัดเพื่อการปรับปรุงการเรียนรู้ของตนเองจากคะแนนที่ได้ (ผู้สอนมีรางวัลให้กับผู้ท่ีได้
คะแนนสงู สุด และตอบเร็วทส่ี ดุ 3 คนแรก วิธีการนี้จะชว่ ยกระต้นุ นกั ศึกษาใหม้ ีสว่ นรว่ มในกิจกรรม)

3. การรบั ฟังความคิดเหน็ ของนกั ศกึ ษา
ใหน้ ักศกึ ษาสามารถสง่ ข้อเสนอแนะ/ ความคดิ เหน็ เพมิ่ เติม ผ่าน Google Form โดยผู้สอนชี้แจงว่า การประเมินน้ีไม่ได้

บันทกึ ช่ือ ผู้สอนตอ้ งการทราบความเห็นถงึ รปู แบบการจัดการเรียนการสอน เพื่อใชใ้ นการปรับปรงุ วิธกี ารสอนต่อไป
ผลท่ีได้คือ เมื่อนักศึกษารู้สึกว่าปลอดภัยท่ีจะแสดงความคิดเห็น นักศึกษากล้าท่ีจะสื่อสารกับผู้สอนมากข้ึน

และบางคร้ังนกั ศกึ ษาจะแจ้งข้อมลู ปญั หาในเร่ืองอื่นๆ มาด้วย

กิตติกรรมประกาศ : ขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์จิโรจน์ สูรพันธ์ุ เป็น
อย่างสูงที่ช่วยแนะนา ส่งเสริม ในการจัดการเรียนการสอนท้ังในรูปแบบปกติ และ
แบบออนไลน์ รวมถงึ ให้ความอนเุ คราะห์ในการตรวจสอบแก้ไขบทความน้ี

ขา่ วสารคณุ ภาพ Quality News 3

ร้หู รือไม่ “อาหารแลกเปลีย่ น” คืออะไร ?? EP.1

ฝ่ายโภชนาการ โรงพยาบาลวชริ พยาบาล

หากเราพดู ถึงอาหารแลกเปล่ียน (Food exchange) หมายถึง การจดั กลุ่มอาหารเป็น 6 หมวด พร้อมท้ัง
กาหนดปรมิ าณอาหาร ซ่ึงอาหารในปรมิ าณท่กี าหนดไว้ จะเรียกวา่ ส่วน โดยอาหารจานวน 1 ส่วน ในหมวดหมู่
เดยี วกนั จะใหพ้ ลงั งาน และสารอาหารใกล้เคียงกัน ดังน้นั หากอาหารทีถ่ กู จัดอยใู่ นหมวดหมู่เดยี วกัน หรอื ต่างหมวดหมู่
มีพลงั งาน และสารอาหารใกลเ้ คยี งกันกส็ ามารถแลกเปลยี่ นกนั ได้

ก่อนอื่นเรามาร้จู ักกับอาหาร และสารอาหารท้ังหมด หมวดที่ 1 หมวดข้าวแป้ง
6 หมวด ดังตารางแสดงคุณค่าทางโภชนาการของอาหาร อาหารในหมวดข้าวแป้ง 1 ส่วน มีคาร์โบไฮเดรต 18 กรัม
แลกเปลี่ยนต่อไปนี้… โปรตีน 2 กรัม ใหพ้ ลงั งาน 80 กิโลแคลอรี ตัวอย่างอาหาร
ในหมวดข้าวแป้ง โดยกาหนดปรมิ าณ 1 ส่วน ไดแ้ ก่

ตัวอย่างอาหารดังกล่าวเป็นเพียงส่วนหน่ึงของอาหารในหมวดข้าวแป้ง ยังมีชนิดอื่นอีกหลากหลาย โดยอาหารใน
หมวดน้สี าหรบั คนท่ัวไปที่สุขภาพดีแนะนา รับประทานวันละ 8-12 ทัพพี แต่สาหรับผู้ทเี่ ปน็ เบาหวานจะต้องรับประทาน
อาหารกลมุ่ น้ีอย่างจากดั แนะนาดงั นี้

 ควรเลอื กรบั ประทานในกลมุ่ ขา้ วแปง้ ทไี่ ม่ขดั สี เชน่ ข้าวซอ้ มมอื ขา้ วกลอ้ ง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ เปน็ ตน้
 ปริมาณในการรับประทานอาหารกลุ่มข้าวแป้ง โดยแนะนาให้รับประทานไม่เกิน 2-3 ทัพพีต่อม้ือ หรือไม่

เกิน 1/4 ของจานอาหาร (จานขนาด 9 นวิ้ )
 อาหารท่ีอยู่ในหมวดเดียวกันสามารถแลกเปล่ียนกันได้ เช่น หากไม่อยากรับประทานข้าวสามารถปรับเป็น

ขนมปงั หรือเมนกู ว๋ ยเต๋ียวแทนได้
อาหารในกลุ่มน้ีหากรับประทานเกินความต้องการของร่างกาย จะถูกสะสมไว้ในร่างกายในรูปของไขมันที่ช่ือว่า
ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) ดังนั้นเราต้องรับประทานในปริมาณท่ีเหมาะสม ไม่น้อยหรือมากเกินความต้องการของ
รา่ งกายดว้ ยนะคะ

ขา่ วสารคุณภาพ Quality News 4

รายการอาหารแลกเปลี่ยน

หมวดท่ี 2 หมวดผัก

ผัก 1 ส่วน หมายถึง ผักสุก 1 ทัพพี ผักดิบ 2 ทัพพี หรือเท่ากับ 70 กรัม ซ่ึงอาหารประเภทผักมีหลาย

ประเภท หากจาแนกตามส่วนท่ีนามารับประทาน ได้แก่ ลาต้น ดอก ราก หัว เป็นต้น แต่หากเราจาแนกตามคุณค่า
ทางโภชนาการแบ่งได้ดังนี้

ผกั ประเภทท่ี 2 มีคุณค่าทางโภชนาการ ดงั น้ี

ผกั ประเภทที่ 1 ผักทีม่ ีพลังงานและสารอาหารน้อยมาก ผกั 1 ส่วน ให้พลังงาน 28 กโิ ลแคลอรี มคี ารโ์ บไฮเดรต

เช่น ผักกาดขาว ผกั บงุ้ จีน ป่วยเลง็ กวางตุง้ กะหลา่ ปลี 5 กรัม โปรตีน 2 กรัม เชน่ ผกั บุ้งไทย ฟกั ทอง มะระจนี

มะเขือยาว ผกั กาดหอม หัวปลี น้าเต้า หนอ่ ไมฝ้ รั่ง บวบ ตาลงึ บล็อกโคลี คะนา้ ขา้ วโพดออ่ น แครอท ถว่ั ลันเตา

มะเขอื เทศ ดอกกะหล่า เป็นตน้ ถ่ัวพู หอมหวั ใหญ่ มะเขอื เปราะ ยอดแค เป็นตน้

หมวดท่ี 3 หมวดนม ผักอุดมไปด้วยวิตามิน แร่ธาตุ สารพฤกษเคมี
และใยอาหาร โดยผลงานวิจัยในต่างประเทศ พบว่า
หากเราบริโภคผักเป็นประจาทุกวัน ช่วยลดโอกาส
การเกิดโรคทางหลอดเลอื ด ความดันโลหิตสูง มะเร็ง
เบาหวาน และโรคไม่ตดิ ต่อเร้อื รังอื่นๆ ได้ ดังนั้นกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข จึงแนะนาให้ “บริโภค
ผักอย่างน้อย 4-6 ทัพพีต่อวัน” แต่สาหรับผู้ป่วย
โ รค เบ าห ว า น ค ว ร หลี กเ ลี่ยง ผัก ใน กลุ่ มที่ มี
คาร์โบไฮเดรตสูง เช่น ฟักทอง แครอท ถ่ัวลันเตา
เป็นต้น

นม 1 ส่วน เท่ากับ 240 มิลลิลิตร ให้โปรตีน 8 กรัม คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม แต่มีไขมันแตกต่างกันตาม
ชนิดของนม โดยปกตแิ นะนาให้ ดื่มนม 1-2 แก้วต่อวัน

ข่าวสารคุณภาพ Quality News 5

กระสวยยาดว่ น

ฝา่ ยเภสชั กรรม

โรงพยาบาลวชิรพยาบาล ได้มีการนา
ระบบการนาส่งท่อลมมาใช้ในการจัดส่งยาด่วน
ระหว่างห้องยากับหอผู้ป่วยใน เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับ
ยาช่วยชีวิต และยารักษาอาการรุนแรงในเวลาที่
เหมาะสม

ยาที่ต้องได้รับเรง่ ดว่ น แบง่ ออกเป็น 3 ระดบั รายการยาฟ้ืนชีวิต
1. ยาฟืน้ ชวี ิต - ยาท่ีใช้ในการช่วยกูช้ วี ิตผปู้ ่วย
• Adenosine injection • Diazepam injection
โดยยาอยใู่ น Emergency Box
พร้อมใช้ ท่ีหอผูป้ ว่ ย • Adrenaline injection • Amiodarone injection
2. ยา stat 30 นาที - ยาท่ีผู้ป่วยตอ้ งได้รบั ทนั ที
หลงั มีคาสงั่ การใช้ยา หากไม่ได้ • Atropine injection • 50% Glucose injection

• Calcium gluconate inj. • 7.5% NaHCO3 injection
• Dopamine injection • 50% MgSO4 injection

รับยาอยา่ งทันท่วงที อาจสง่ ผลใหผ้ ู้ปว่ ยได้รับอนั ตราย ให้สง่ ใบยาทางกระสวย จะได้รบั ยาภายใน

15 นาที จากห้องยา

3. ยาทใี่ ห้ทันที - ยาทผี่ ้ปู ว่ ยต้องได้รบั เพ่อื บรรเทาอาการเร่งดว่ น แตไ่ มเ่ พิ่มความเส่ียงต่อการเสียชวี ิตของผ้ปู ่วย เชน่

ยาลดอาการปวด ยาสงบระงับผู้ป่วย โดยสามารถส่งใบยามาทางกระสวย จะได้รับยา

ภายใน 45 นาที จากหอ้ งยา

เพือ่ ทีจ่ ะให้การเบกิ ยาได้อยา่ งเหมาะสม และสรา้ งความเข้าใจภายในหนว่ ยงานของวชิรพยาบาล จึง
ทาการแจกแจงยาแตล่ ะกลุ่ม โดยมรี ายการยา stat 30 นาที ที่ส่งผ่านกระสวยได้ ดังรายการในตารางน้ี

ยารบั ประทานรักษาอาการฉุกเฉิน ยาตา้ นพิษ (Antidote)

• Amlodipine 5 mg • Isosorbide sublingual 5 mg • Chlorpheniramine injection
• Aspirin 300 mg • Paracetamol 500 mg • Naloxone injection
• Calcium polystyrene • Sildenafil 20 mg • Vitamin K injection
sulfonate • Ticagrelor 90 mg
• Clopidogrel 75 mg

ยาฉีด / ยาพน่ ฉกุ เฉนิ

• Dobutamine injection • Levetiracetam injection • Nitroglycerine injection
• Furosemide injection • 1% Lidocain HCl injection • Norepinephrine injection
• Heparin injection • 2% Lidocain HCl with • Phenytoin injection
• Hydralazine injection • 2% Lidocain HCl injection • Salbutamol nebule
• Ipratropium/Fenoteral NB • 2% Lidocain preservative free • Terbutaline injection
• Lanoxin injection • 50% MgSO4 injection • Tramadol injection

ขา่ วสารคณุ ภาพ Quality News 6

รายการยา stat 60 นาที ที่สง่ ผ่านกระสวยได้ ตามรายการในตารางนี้

รายการยาที่ต้องให้ทนั ที

• Antibiotic injection • Dexamethasone injection
• Hydrocortisone injection • Haloperidol injection
• Mannitol 100 ml • Hyoscine injection
• Methylprednisolone injection • Ketorolac injection
• Milrinone injection • Metoclopramide injection
• Nicardipine injection • Omeprazole injection
• Potassium Chloride injection • Ondansetron injection
• Potassium Chloride Syrup • Pantoprazole injection
• Transamine injection • Parecoxib injection

จากรายการยาที่ชี้แจงข้างต้น จะเห็นว่ามียาบางรายการท่ีเป็นยาฉุกเฉิน แต่ไม่มีรายการยาในตาราง
เนอื่ งด้วยขอ้ จากัดของการใช้กระสวยเร่ืองขนาดของยาท่ีจะบรรจใุ นกระสวย และแรงกระแทกภายในท่อลมที่ทาให้
ยาบางชนดิ เสยี คณุ ภาพ หรอื ยาแตกหกั ได้ ซึ่งรายการยาทีม่ ีข้อจากัดดังกลา่ ว สามารถสรปุ ได้ ดงั ตารางน้ี

รายการยาฉุกเฉิน / ยาที่ต้องใหท้ ันที ที่ไม่สามารถสง่ ผ่านทางกระสวยได้

• กลุ่มยาเสพติด • Human plasma protein inj. • Octreotide injection
• วัตถอุ อกฤทธิต์ ่อจิตประสาท • Iloprost injection • Oxytocin injection
• Alteplase injection • Isophane insulin • Poractant injection
• Beractant injection • Lamivudine Syrup • Regular insulin
• Cisatracurium injection • Methylergometrine inj. • 7.5% NaHCO3 injection
• Dextran 500 ml injection • Nevirapine Syrup • Zidovudine Syrup

หากมคี วามจาเปน็ ตอ้ งใช้ยาฉุกเฉิน / ยาด่วนท่ีไมส่ ามารถสง่ กระสวยได้ รวมถึงหน่วยงานที่ไม่มีกระสวย
แนะนาให้เจา้ หน้าที่นาส่งใบยาด่วนลงมาเบิกยาท่ีหน่วยจ่ายยาผู้ป่วยใน และแยกใส่ตะกร้ายาด่วน โดยเภสัชกรจะ
จา่ ยยาใหภ้ ายใน 15 นาที เม่ือรวมกับเวลาเดินทางของพนักงานจะไม่เกิน 30 นาที เพ่ือให้สามารถใช้ยาฉุกเฉินแก่
ผ้ปู ว่ ยทันเวลา เทยี บเทา่ กบั การใชก้ ระสวยจา่ ยยา

Reference

ฝา่ ยเภสชั กรรม คณะแพทย์ศาสตรว์ ชิรพยาบาล. แนวทางปฏบิ ตั ิเร่ือง การส่งั เบิก จ่ายยาและเวชภณั ฑ์ผปู้ ่วยใน. มีนาคม 2564.
World Health Organizetion. Emergency Drug Guidelines [Online]. 2007 [cited 29 June 2021]. From
https://www.who.int/selection_medicines/country_lists/kir_emergency_2007.pdf

ข่าวสารคณุ ภาพ Quality News 7

ลกุ ขนึ้ มาสรา้ งกาลังใจให้ตัวเองดีกวา่ ในชว่ ง COVID-19

ดร.กภ.ธนั ยาภรณ์ อรญั วาลยั
นักกายภาพบาบัดชานาญการ

ไม่ว่าจะด้วยเรื่องงาน เร่ืองครอบครัว หรือเรื่องส่วนตัวอะไรก็แล้วแต่ บางคนอาจรู้สึกเหน็ดเหน่ือยหรือท้อแท้

กบั ช่วงเวลาวกิ ฤติโรคระบาด Covid-19 มาคลายเครียดลงบ้างด้วยการสร้างกาลังใจให้ตัวเองได้ก้าวต่อไปสู่เป้าหมาย

ท่ตี งั้ ไว้

สิ่งแรก...ที่ต้องคิดถึงคือ “ตัวเอง” ไม่ว่าจะทา อาจจะไม่ต้องมีมากมายเหมือนคนอ่ืน เพียงแค่หาใครสัก

อะไรก็ให้นึกถึงตัวเองว่ามันจะเกิดผลดีหรือผลเสียกับ คนในครอบครัวที่เข้าใจในช่วงเวลาที่ทุกข์ หันหน้าพูดคุย

ตัวเองอย่างไรบ้าง ไม่ว่าเราจะขาดกาลังใจจากผู้คนรอบ กับคนที่เข้าใจเรา เข้าหาคนท่ีรักเราแบบไม่มีเง่ือนไขก่อน

ข้างแค่ไหน ก็ต้องพยายามอดทนเพ่ือที่จะก้าวผ่าน เสมอ ครอบครัวคือ ความอบอุ่น ความรัก และความ

อุปสรรคนั้นไปให้ได้ เราต้องภูมิใจในส่ิงที่เรามีอยู่ อย่า สบายใจของทุกช่วงชวี ิต

มองเพียงว่าเราไม่มีเหมือนคนอื่น เพิ่มพลังความคิด สุดท้าย...หาเวลาฝึก
ทางบวกใหต้ วั เองในทุกวนั ท่ีเรามาทางาน
สมาธิวันละ 15 นาที ให้

ในแต่ละวัน...ท่ีก้าวเข้าท่ีทางาน ขอให้เป็นก้าวท่ี จิตใจเราไม่ฟุ้งซ่าน ทา

เร่ิมต้นใหม่ในวันนั้น มองทุกอย่างให้เป็นองค์รวม อย่า ใจเราให้สงบ มีสติอยู่

เอาตนเองเป็นศูนย์กลางจักรวาล กระตุ้นให้ตนเองมี กับตัวเองในทุกลมหายใจ ลองใช้หลักธรรมะต่าง ๆ มา

กาลังใจเสมอ เพราะ “กาลังใจ” คือพลังงานท่ีสาคัญอย่าง เป็นเคร่ืองมือสอนจิตใจเรา จะทาให้เรามีความสงบ คิด

หนึ่ง เสมือนน้ามันของเคร่ืองยนต์ท่ีช่วยให้คนขับเคล่ือนไป ไตร่ตรองปัญหาจนสามารถหาวิธีแก้ไขต่างๆ ได้อย่าง

ขา้ งหน้าได้ ช่วยใหเ้ รามีความกระตือรือร้นข้ึนในชวี ิต แยบยล สร้างกาลังใจของตัวเองข้ึนมาในทุกๆ วันท่ีมา

ทาวันน้ีให้ดีที่สุด...อนาคตก็จะดีตามมาเช่นกัน ทางานเพื่อก้าวต่อไป ขอให้ทุกคนผ่านช่วงวิกฤติโรค
หากรู้สึกเหนื่อยล้า ท้อแท้ อย่าคิดว่าตัวเองเหมือนยืนอยู่ ระบาดนี้ไปได้ด้วยดี

คนเดียวบนโลกใบน้ี ยังมีพ่อแม่ มีครอบครัว มีเพื่อนฝูง

ทป่ี รกึ ษา คณบดี และรองคณบดี กองบรรณาธกิ าร ดร.อาพนั วมิ ลวัฒนา และคณะ
ผู้จดั การ คุณกนกลดา อมั ยงค์ และเจา้ หนา้ ทฝี่ า่ ยยุทธศาสตรแ์ ละพฒั นาคุณภาพ
คณะผจู้ ัดทา ภาควชิ า ฝา่ ย และสานกั งาน คณะแพทยศาสตรว์ ชริ พยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
เจา้ ของ คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมินทราธิราช
สานักงาน ฝ่ายยทุ ธศาสตรแ์ ละพัฒนาคณุ ภาพ คณะแพทยศาสตรว์ ชิรพยาบาล มหาวิทยาลยั นวมนิ ทราธิราช
681 ถนนสามเสน แขวงวชริ พยาบาล เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300
โทรศพั ท์ 0-2244-3523 โทรสาร 0-2244-3524 e-mail : [email protected]

ข่าวสารคณุ ภาพ Quality News 8


Click to View FlipBook Version