แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา ทักษะการเรียนรู้ (รหัสวิชา ทร21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศกร.ตำบลหนองไผ่ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอแก้งคร้อ สำนักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดชัยภูมิ กรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) 5 หน่วยกิต ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2555) เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบออกแบบการเรียนรู้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีและ กิจกรรมนันทนาการ ประกอบด้วยเนื้อหารายวิชาทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ 1. การเรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การใช้แหล่งเรียนรู้ 3. การจัดการความรู้ 4. การคิดเป็น 5. การวิจัยอย่างง่าย 6. ทักษะการเรียนรู้และศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้มีการบูรณาการทักษะการเรียนรู้ด้านต่างๆ และเทคโนโลยี สารสนเทศเข้ากับสภาพสังคมของผู้เรียนในปัจจุบัน สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ซึ่งเป็นไปตาม มาตรฐานและสาระการเรียนรู้ตลอดจนมีความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. รวมทั้งมี การรวบรวมองค์ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมา เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามเนื้อหา และตัวชี้วัดของผังข้อสอบ (Test Blueprint) เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ปรับปรุง พ.ศ.2555) ของสถานศึกษา ในการนี้ขอขอบคุณผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ที่ให้ความรู้ คำแนะนำ และแนวทางที่เป็นประโยชน์ในการ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้เล่มนี้จนสำเร็จเป็นรูปเล่มสมบูรณ์คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่าง ยิ่งว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับครู ผู้บริหาร และผู้เกี่ยวข้องนำไปปรับใช้ให้เกิดประโยชน์ในการจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาอื่น เพื่อนำไปสู่การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพต่อไป คณะผู้จัดทำ ตุลาคม 2566
สารบัญ หน้า คำแนะนำการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1 โครงสร้างรายวิชา 2 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิชา ทักษะการเรียนรู้ (ทร 21001) แผนที่ 1 เรื่อง การเรียนรู้ด้วยตัวเอง 3 - ใบความรู้ 9 - ใบงาน 10 - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 11 - เฉลย 13 - บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 14 แผนที่ 2 เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ 15 - ใบความรู้ 18 - ใบงาน 19 - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 21 - เฉลย 23 - บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 24 แผนที่ 3 เรื่อง การจัดการความรู้และการคิดเป็น 25 - ใบความรู้ 29 - ใบงาน 31 - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 34 - เฉลย 36 - บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 37 แผนที่ 4 เรื่อง การวิจัยอย่างง่าย 38 - ใบความรู้ 43 - ใบงาน 47 - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 52 - เฉลย 54 - บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 55
2 แผนที่ 5 เรื่อง ทักษะการเรียนรู้และศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนาอาชีพ หน้า 56 - ใบความรู้ 60 - ใบงาน 61 - แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 64 - เฉลย 66 - บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ 67 ภาคผนวก แบบสรุปผลการทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน 69 ผังการออกข้อสอบ 70
1 คำแนะนำการใช้แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2555) เล่มนี้ เป็นการ ออกแบบการเรียนรู้การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีและกิจกรรมนันทนาการ เพื่อให้ครูได้ศึกษาและนำไปประยุกต์ใช้ใน การจัดการเรียนการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ในการศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาทักษะการเรียนรู้ (ทร21001) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีข้อควรปฏิบัติดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการ 1.1.ศึกษาโครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2555) 1.2.ศึกษารายละเอียดวิชาทักษะการเรียนรู้(ทร21001) 1.3.ศึกษาเนื้อหารายวิชา และผังข้อสอบ (Test Buleprint) 1.4.ศึกษาการออกแบบการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีและกิจกรรมนันทนาการ 1.5.ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นนำ ขั้นสอน และขั้นสรุป 1.6.ศึกษาการใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน 2. ขั้นดำเนินการ ในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนเรียน จากนั้นเรียนรู้ตามแผน และทำแบบทดสอบหลังเรียนในแต่ละแผน เพื่อเปรียบเทียบความรู้ก่อน และหลังแผนการจัดการเรียนรู้ 3. ขั้นสรุป 3.1.วิเคราะห์คะแนนร่วมกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนและครูร่วมกันจัดการเรียนรู้เพิ่มเติมในเนื้อหา ที่ผู้เรียนยังไม่เข้าใจและยังไม่ผ่านเกณฑ์ 3.2.การเรียนรู้เพิ่มเติม อาจใช้วิธีการติว การสอนเสริม สื่อเทคโนโลยี (Google Classroom) ฯลฯ และทำแบบทดสอบหลายๆ ครั้ง เพื่อให้เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น 3.3.ศึกษาเครื่องมือการวัดและประเมินผล ตลอดจนการประเมินตามสภาพจริง
2 โครงสร้างรายวิชา ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จำนวน (ชั่วโมง) 1 การเรียนรู้ด้วย ตนเอง 1. บอกความหมาย ตระหนักและ เห็นความสำคัญของการเรียนรู้ด้วย ตนเอง 2. มีทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และ เทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. อธิบายปัจจัยที่ทำให้การเรียนรู้ ด้วยตนเองประสบความสำเร็จ 4. สามารถวางแผนการเรียนรู้และ การประเมินผลการเรียนรู้ด้วย ตนเองได้ 1. ความหมาย ความสำคัญ ของการ เรียนรู้ด้วยตนเอง 2. การกำหนดเป้าหมายและการวาง แผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3. ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหา ความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และ เทคนิคในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4. ปัจจัยที่ทำให้การเรียนรู้ด้วย ตนเองประสบความสำเร็จ 5. การวางแผนการเรียนรู้ และ การ ประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเอง 6. การฝึกทักษะวางแผนการเรียนรู้ และการประเมินผลการเรียนรู้ด้วย ตนเอง การวิจารณ์ 3 3 3 4 6 15 2 การใช้แหล่ง เรียนรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ ของการใช้ห้องสมุดอำเภอ 2. อธิบายการเข้าถึงสารสนเทศ ของห้องสมุดประชาชน 3. อธิบายแหล่งเรียนรู้ หอสมุด แห่งชาติ หอสมุดวิทยาลัย/ มหาวิทยาลัย ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุดโรงเรียน พิพิธภัณฑ์ อุทยานแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้สำคัญ อื่น ๆ ในประเทศ 4. อธิบายและปฏิบัติการใช้ อินเทอร์เน็ต และการเข้าถึงข้อมูล สารสนเทศที่ต้องการและสนใจ 1. ความหมาย ความสำคัญ ของการ ใช้ห้องสมุดอำเภอ 2. การเข้าถึงสารสนเทศของ ห้องสมุดประชาชน 3. แหล่งเรียนรู้ หอสมุดแห่งชาติ หอสมุดวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุดโรงเรียน พิพิธภัณฑ์ อุทยานแห่งชาติ แหล่ง เรียนรู้สำคัญอื่น ๆ ในประเทศ 4. การใช้อินเทอร์เน็ต การเข้าถึง ข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการและสนใจ 3 3 14 14
3 ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จำนวน (ชั่วโมง) 3 การจัดการ ความรู้ 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ หลักการ กระบวนการจัดการ ความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอด ความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ ของกลุ่ม และการจัดทำสารสนเทศ เผยแพร่ความรู้ 2. ปฏิบัติการจัดการความรู้ใน เนื้อหาที่สอดคล้องกับความ ต้องการของชุมชน 3. จัดทำสารสนเทศและเผยแพร่ ความรู้ 1. ความหมาย ความสำคัญ หลักการ กระบวนการจัดการความรู้ การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่ม และการจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ ความรู้ 2. การฝึกทักษะกระบวนการจัดการ ความรู้ด้วยตนเอง และ กระบวนการ จัดการความรู้ด้วยการรวมกลุ่ม ปฏิบัติการ 3. สรุปองค์ความรู้ของกลุ่ม จัดทำ สารสนเทศองค์ความรู้ในการพัฒนา ตนเอง ครอบครัว 6 18 10 4 การคิดเป็น 1. อธิบายได้ถึง ความเชื่อพื้นฐาน ทางการศึกษาผู้ใหญ่/กศน.และ เชื่อมโยงมาสู่กระบวนการคิดเป็น และระบบคิดการแก้ปัญหา 2. อธิบายลักษณะของข้อมูล วิชาการวิชาการ ตนเองและสังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการ เปรียบเทียบเพื่อให้เห็นความ แตกต่างของข้อมูลทั้ง 3 ประการ 3. อธิบายถึงการฝึกปฏิบัติการคิด เป็นจากกรณีตัวอย่างถึง กระบวนการคิดการแก้ปัญหาอย่าง คนคิดเป็น 1. ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษา ผู้ใหญ่/การศึกษานอกระบบ 5 ประการโดยสรุป 2. ปรัชญาคิดเป็น 2.1 ความหมาย ความสำคัญ 2.2 ศัพท์เฉพาะ 2.3 การเชื่อมโยงความเชื่อพื้นฐาน ทางการศึกษาผู้ใหญ่/กศน.สู่ปรัชญา คิดเป็น 3. ลักษณะข้อมูล 3 ด้านที่จะนำไปใช้ ประกอบความคิดในการตัดสินใจ คือ ข้อมูลทางวิชาการ ตนเองและสังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการเปรียบเทียบ เพื่อให้เห็นความแตกต่างของข้อมูล ทั้ง 3 ประการ 4. กระบวนการคิดการแก้ปัญหา อย่างคนคิดเป็นในรายละเอียดพร้อม ตัวอย่างการนำไปใช้ในวิถีการดำเนิน ชีวิตจริง 3 3 10 9
4 ที่ หัวเรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหา จำนวน (ชั่วโมง) 5. กรณีตัวอย่างที่หลากหลายเพื่อ การฝึกทักษะการปฏิบัติ 9 5 การวิจัย อย่างง่าย 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญ การวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและ ขั้นตอนของการดำเนินงานได้ 2. มีทักษะในการใช้สถิติ ง่าย ๆ เพื่อการวิจัยและจัดทำเครื่องมือใน การเก็บรวบรวมข้อมูล 3. มีทักษะในการเขียน โครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ 1. ความหมาย ความสำคัญการวิจัย อย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอน ของการดำเนินงาน 2. ฝึกทักษะ สถิติง่าย ๆ เพื่อการ วิจัย เครื่องมือการวิจัย 3. ฝึกทักษะในการเขียน โครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ 8 8 18 6 ทักษะการ เรียนรู้และ ศักยภาพหลัก ของพื้นที่ในการ พัฒนาอาชีพ 1. บอกความหมาย ตระหนัก และ ความสำคัญของการเรียนรู้และ ศักยภาพหลักของพื้นที่ 2. มีทักษะการเรียนรู้พื้นฐานและ เทคนิควิธีในการแสวงหาความรู้ 3. สามารถบอกอาชีพในกลุ่มอาชีพ ใหม่ ได้แก่ กลุ่มอาชีพด้าน เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหาร จัดการและการบริการ 4. สามารถบอกและยกตัวอย่าง ทักษะการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ศักยภาพ 5 กลุ่มอาชีพใหม่ 1. ความหมาย ความสำคัญ ของการ เรียนรู้และศักยภาพของพื้นที่ 2. ทักษะการเรียนรู้พื้นฐาน และ เทคนิควิถีทางศึกษาหาความรู้ 3. การเข้าถึงและการเลือกใช้ ศักยภาพหลักของพื้นที่ 4. ตัวอย่างอาชีพในกลุ่มอาชีพด้าน การเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ บริหารจัดการ และการบริการที่สอดคล้องกับ ศักยภาพหลักของพื้นที่ในการพัฒนา อาชีพ 2 3 10 15
5 แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่……/………. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อำเภอ..................................................จังหวัด............................................. สัปดาห์ที่......................วันที่..................เดือน.......................................พ.ศ.......................เวลา.....6..ชั่วโมง วิชา..............ทักษะการเรียนรู้............รหัสวิชา....................ทร21001………………จำนวน.........5.......หน่วยกิต มาตรฐานที่ 1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง การเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. สาระสำคัญ การเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนริเริ่มการเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ความ ต้องการ และความถนัด มีเป้าหมาย รู้จักแสวงหาแหล่งทรัพยากรของการเรียนรู้ เลือกวิธีการเรียนรู้ จนถึงการ ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยจะดำเนินการด้วยตนเองหรือร่วมมือช่วยเหลือกับผู้อื่น หรือไม่ก็ได้ ซึ่งการแสวงหาการศึกษาระดับที่สูงขึ้น จำเป็นต้องรู้วิธีวินิจฉัยความต้องการในการเรียนของตนเอง สามารถกำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้ของตนเอง สามารถระบุความรู้ที่ต้องการ และวางแผนการใช้ยุทธวิธี สื่อ การเรียน และแหล่งเรียนรู้เหล่านั้น หรือแม้แต่ประเมินและตรวจสอบความถูกต้องของผลการเรียนรู้ของตนเอง มาตรฐานการเรียนรู้สามารถวิเคราะห์เห็นความสำคัญ และปฏิบัติการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง และสรุป ได้ถูกต้องตามหลักวิชาการ 2. เนื้อหา 2.1 ความหมาย ความสำคัญ ของการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.2 การกำหนดเป้าหมาย และการวางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.3 ทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหา และเทคนิคการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2.4 ปัจจัย ที่ทำให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบความสำเร็จ 3. ตัวชี้วัด 3.1 สามารถวิเคราะห์ความรู้จาการอ่าน การฟัง การสังเกตและสรุปได้ถูกต้อง 1) บอกความหมาย ความสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 2) บอกลักษณะการเรียนรู้ด้วยเอง 3.2 สามารถจัดระบบการแสวงหาความรู้ให้กับตนเอง 1) มีทักษะพื้นฐานทางการศึกษาหาความรู้ ทักษะการแก้ปัญหาและการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2) อธิบายกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเองตามหลักสูตร กศน.2551 ได้ 3) อธิบายลักษณะสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเองได้ 4) อธิบายการจัดทำแผนการเรียนรู้ขอตนเองได้ 5) อธิบายปัจจัยที่ทำเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ประสบความสำเร็จ
6 6) บอกแหล่งในการศึกษาหาความรู้ด้วยตนเองในการเรียนให้ประสบผลสำเร็จได้ 7) บอกวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเองที่เหมาะสมกับความสามารถของตนเองได้ 8) มีความชำนาญในทักษะการอ่าน ทักษะการฟัง และทักษะการจดบันทึก อย่างคล่องแคล่วรวดเร็ว 9) สามารถยกตัวอย่างการใช้ทักษะการอ่าน การฟังและการบันทึก เช่น บันทึกรายรับรายจ่าย ของ ครอบครัว ตนเอง และสรุปผล 10) อ่านและสรุปความจากบทความได้ 11) ฟังและสรุปเรื่องที่ฟังได้ 12) อ่านและสรุปความจากการอ่านสารคดี หรือเรื่องที่กำหนดได้อย่างถูกต้อง 13) ฟังข่าวสารและประมวลนำไปการวิพากษ์ได้ 14) นำความรู้จากการเรียนรู้ตนเองมาพูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ 15) สรุปความรู้ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและนำไปถ่ายทอดได้ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม 4.1 ขั้นนำ 1) ชี้แจงจุดประสงค์การเรียนรู้ การนำเข้าสู่บทเรียนด้วยวิธีการ ทักทายผู้เรียน และชี้แจงเรื่องวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 2) ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 3) ครูจัดกิจกรรมนันทนาการ เรื่องสวนสัตว์พาเพลิน ให้ผู้เรียนทุกคนจับฉลาก ใครได้สัตว์ประเภทใดให้ ทำเสียงและท่าทางของสัตว์นั้น - กำหนดเวลาให้รวมกลุ่มประเภทเดียวกัน ครูส่งสัญญาณหมดเวลา ให้รวมกลุ่มสัตว์ประเภท เดียวกันกลุ่มไหนครบนั่งลงเพื่อทำความรู้จักกัน - กลุ่มที่รวมกันได้ช้า หรือรวมกลุ่มกันได้เร็วที่สุดแสดงท่าทาง พร้อมทำเสียงสัตว์ที่ได้รับให้กลุ่ม อื่นดูอีกครั้ง - ผู้นำกิจกรรมสุ่มถามเพื่อนในกลุ่ม มีใครบ้างมาจากไหน - ผู้นำกิจกรรม และสมาชิกร่วมกันสรุปข้อคิดจากกิจกรรมจากสวนสัตว์พาเพลิน 4.2 ขั้นสอน 1) ครูอธิบายความหมาย ความสำคัญ ของการเรียนรู้ด้วยตนเอง บอกลักษณะการเรียนรู้ด้วยเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนซักถาม 2) ครูให้ผู้เรียนสแกน QR Code ใบความรู้เรื่องการเรียนรู้ด้วยตนเอง https://docs.google.com/document/d/1lgUMKclYce2rn3gw5Xd3hhc5WzlXqJzJM5ZGuev7S_Q/edi t?usp=sharing
7 3) ให้ผู้เรียนจับฉลาก เพื่อจับคู่ในการทำกิจกรรม “บัณฑิตสูงวัย” ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียนทราบ และเข้าใจในแนวคิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และความพร้อมในการ เรียนรู้ด้วยตนเองและเพื่อนำไปสู่ลักษณะการ เรียนรู้ด้วยตนเองที่ใฝ่เรียนรู้ เห็นคุณค่าของการเรียนรู้ ความสามารถที่จะเรียนรู้ด้วยตนเองมีความรับผิดชอบใน การเรียนรู้ การมองอนาคตในแง่ดี รวมทั้งเห็นความสำคัญ และตระหนักในความพร้อมในการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4) ครูสุ่มผู้เรียนให้นำเสนอผลจาการทำกิจกรรม “บัณฑิตสูงวัย” หน้าชั้นเรียน และฟังการนำเสนอผลงาน ของทุกกลุ่ม พร้อมทำการสรุปเนื้อหาสาระที่ได้นำเสนอ 5) แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องวิธีการเรียนรู้ด้วยตนเอง 4.3 ขั้นสรุป 1) ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปหลังจากทุกกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 2) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ 3) ครูเชื่อมโยงกิจกรรมที่ผู้เรียนได้ปฏิบัติกับเนื้อหาในเรื่องของปัจจัยที่ทำให้การเรียนรู้ด้วยตนเองประสบ ความสำเร็จ 5.สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 5.1หนังสือแบบเรียน 5.2 แหล่งเรียนรู้ 5.3 QR Code ใบความรู้ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 ประเมินจากงานกลุ่ม 6.2 สังเกตจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 6.3 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 7. เกณฑ์การวัดผล การวัดตามจุดประสงค์ เครื่องมือการวัดผล เกณฑ์การประเมิน ความรู้ (Knowledge) 1 สามารถวิเคราะห์ความรู้จาการอ่าน การฟัง การสังเกตและสรุปได้ถูกต้อง 2. สามารถจัดระบบการแสวงหาความรู้ ให้กับตนเอง 3. สามารถยกตัวอย่างการใช้ทักษะการ อ่าน การฟังและการบันทึก เช่น บันทึก รายรับรายจ่าย ของครอบครัว/ตนเอง และสรุปผล แบบทดสอบก่อนเรียน และ หลังเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ร้อยละ 50 ขึ้นไป
8 การวัดตามจุดประสงค์ เครื่องมือการวัดผล เกณฑ์การประเมิน ทักษะ ( Skill) 1.อ่านและสรุปความจากบทความได้ 2.ฟังและสรุปเรื่องที่ฟังได้ 3.ฟังข่าวสารและประมวลนำไปการ วิพากษ์ได้ 4.นำความรู้จากการเรียนรู้ตนเองมาพูดให้ ผู้อื่นเข้าใจได้ 5.สรุปความรู้ในการแสวงหาความรู้ด้วย ตนเองและนำไปถ่ายทอดได้ แบบฝึกหัด และ อื่น ๆ สามารถเข้าใจเนื้อหา และตอบ คำถาม ทำใบงาน ร้อยละ 50 ขึ้น ไป เจตคติ (Attitude) 1.เจตคติที่ดีต่อวิชาทักษะการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิด ผู้เรียน ร้อยละ 50 ขึ้นไป มีส่วน ร่วมในการอภิปรายและเปลี่ยน ความคิดเห็น ลงชื่อ............................................................. (………………………...………………………) ตำแหน่ง……………………….…………………….. วันที่ ......เดือน…………….......พ.ศ…………….... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................................... (…………………………….………………………) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ………………………… วันที่ ........เดือน……………......พ.ศ……………....
9 ใบความรู้ เรื่องที่ ความหมาย และความสำคัญ ของการเรียนรู้ด้วยตนเอง
10 ใบงาน กิจกรรม “บัณฑิตสูงวัย” วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูเรียนทราบและเขาใจในแนวคิดการเรียนรูดวยตนเอง และความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง 2. เพื่อนําไปสูลักษณะการเรียนรูดวยตนเองที่ใฝเรียนรูเห็นคุณคาของการเรียนรูความสามารถที่จะเรียน รูดวยตนเองความรับผิดชอบในการเรียนรูการมองอนาคตในแงดี ของสมาชิก รวมทั้งสมาชิกเห็นความสําคัญ และ ตระหนักในความพรอมในการเรียนรูดวยตนเอง แนวคิด คุณลักษณะพิเศษในการที่จะเรียนรูและพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องโดยมิจําเปนตองรอคอยจากการศึกษา หรือการเรียนรูอยางเปนทางการเพียงอยางเดียว คุณลักษณะพิเศษ ดังกลาวคือ “ความพรอมในการเรียนรูโดยการ ชี้นําตนเอง” ซึ่งเปนความคิดเห็น วา ตนเองมีเจตคติ ความรูความสามารถที่จะเรียนรูโดยมิตองใหคนอื่นกําหนด หรือสั่งการ พรอมที่จะเรียนรูวิธีการเรียนรูและประเมินการเรียนรูทั้งอาจดวยความชวยเหลือจากผูอื่นหรือไมก็ตาม การที่บุคคลสามารถชี้นําตนเองที่จะเรียนรูยอมเปนโอกาสที่บุคคลจะเรียนรูที่จะพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องและ เรียนรูตลอดชีวิต การพัฒนาการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง ยอมเปนหนทางที่ทําใหบุคคลเรียนรูอยางไมสิ้นสุด คําชี้แจง ใหผูเรียนศึกษาภาพขาว การสําเร็จการศึกษาจากภาพ ของ “บัณฑิตสูงวัย” พรอมอธิบายในประเด็น (1) “ความรูสึกของทานตอภาพที่ไดเห็น” ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… (2) “ทําไมบุคคลในภาพ ถึงประสบความสําเร็จในการเรียนรู” ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
11 ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 1. ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการเรียนรู้ด้วยตนเอง ก. มีระเบียบวินัยในตนเองสูง ข. มีเหตุผลและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ ค. ทำให้เป็นคนมีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ง. ทำให้ผู้เรียนมีความตั้งใจและมีแรงใจสูง 2.อันดับแรกสุดของการเรียนรู้ด้วยตนเอง คือข้อใด ก. การออกแบบแผนการเรียน ข. การแสวงหาแหล่งวิทยาการ ค. การกำหนดจุดมุ่งหมายในการเรียน ง. การวิเคราะห์ความต้องการในการเรียน 3. “ นวัตกรรมใหม่ของการผลิตหลอดไฟฟ้า LED นอกจากจะให้ความสว่างเทียบเท่ากับหลอดไฟแบบนีออนแล้ว ยังกินกระแสไฟฟ้าต่ำกว่าเดิม 20 เปอร์เซ็น อีกทั้งราคาจำหน่ายยังถูกกว่าด้วย”จากข้อความข้างต้น นักศึกษาจะ นำไปประยุกต์ใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างไร ก. เปลี่ยนมาใช้หลอดไฟฟ้า LED แทนหลอดนีออน ข. รณรงค์ให้ทุกคนใช้หลอดไฟฟ้า LED ค. ขอเป็นตัวแทนจำหน่ายหลอดไฟฟ้า LED ง. วิจัยหาคำตอบว่าหลอดไฟฟ้า LED ลดกระแสไฟฟ้าได้จริงหรือไม่ 4.”นายอนุกูล อาศัยในชุมชนแห่งหนึ่ง ซึ่งชุมชนแห่งนี้มีปัญหายาเสพติด” ถ้านักเรียนเป็นนายอนุกูลมีวิธีการแก้ไข ปัญหาอย่างไรเหมาะสม ก. แจ้งเบาะแสทางการ ข. ต่างคนต่างอยู่ ไม่ยุ่งเกี่ยว ค. ย้ายที่อยู่อาศัยเพื่อความปลอดภัย ง. ให้ความร่วมมือกับชุมชนในการให้ความรู้และหาแนวทางป้องกันปัญหา 5.ปัจจัยภายนอกในข้อใดที่ช่วยให้เด็ก ๆ ที่อาศัยอยู่บ้านริมคลองว่ายน้ำเป็น ก. พ่อแม่บังคับ ข. เล่นน้ำตามอย่างเด็กโต ค. ต้องเดินทางไปโรงเรียนทุกวัน ง. เป็นข้อบังคับของผู้อาศัยบ้านริมคลอง 6. ถ้าหากว่า แดง ต้องการเรียนรู้เรื่องดิน แดงจะเริ่มวางแผนเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างไร
12 ก. กำหนดจุดมุ่งหมาย ข. เลือกแหล่งเรียนรู้ ค. วิเคราะห์เนื้อหา ง. กำหนดบทบาทตัวผู้ช่วย 7. การประเมินผลการเรียนรู้ด้วยตนเองหลังสิ้นสุดการเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์ใด ก. เพื่อแก้ไขปัญหาการเรียน ข. เพื่อทราบความก้าวหน้าของการเรียน ค. เพื่อจัดทำผลการเรียนรู้ส่งให้ครูได้ทันตามกำหนด ง. เพื่อให้ทราบว่าการเรียนรู้บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ 8. นักศึกษาอ่านคู่มือการเรียนทางไกล แล้วไม่เข้าใจ จึงโทรสอบถามครูผู้สอน ซึ่งได้แนะนำความรู้ โดยให้อ่าน ทบทวนอีก 2 รอบ แล้วจดบันทึกไว้ เป็นการจัดทำแผนการเรียนรู้ด้วยตนเอง ด้วยเทคนิคใด โดยเรียงตามลำดับ ก. อ่าน - พูด - ฟัง - เขียน ข. อ่าน – ฟัง - พูด - เขียน ค.อ่าน - เขียน - พูด - ฟัง ง.อ่าน - พูด - เขียน - ฟัง 9. บุคคลใดเรียนรู้ด้วยตนเองจนประสบความสำเร็จในการประกอบอาชีพ ก. กรกช ศึกษาการทำขนมไทยจากยูทูปแล้วนำมาผลิตสินค้าขายทางออนไลน์ ข. กรวรรณ ศึกษาการทำขนมเค้กจากร้ายขายขนม แล้วฝึกปฏิบัติอย่างคล่องแคล่ว ค. กมลทิพย์ ศึกษาการทำขนมไข่จากยูทูป แล้วนำไปเสนอหน้าชั้นเรียน ง. กมลกานต์ ศึกษาการทำขนมครกจากคุณยายข้างบ้าน 10. สิ่งหนึ่งที่นำไปใช้ในการประเมินผลการเรียนแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง คือข้อใด ก. การสังเกต ข. การมีส่วนร่วม ค. แฟ้มสะสมงาน ง. พฤติกรรมกลุ่ม
13 เฉลย 1. ก 2. ค 3.ก 4.ง 5.ง 6.ก 7.ง 8.ค 9.ก 10.ค
14 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ตำบล..............................................กศน.อำเภอ................................................จังหวัด............................ สัปดาห์ที่...................วันที่............เดือน.........................................พ.ศ...................ครูผู้สอน............................ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาระ....................................รายวิชา..................................รหัสวิชา....................... 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จำนวนผู้เรียนที่เข้าเรียน........................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. เนื้อหา / สาระที่สอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 5. แนวทางการปัญหา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................................. (...............................................................) ครู กศน.ตำบล.................................................. ................../..................../.................. ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................ (......................................................)
15 ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ.................................. ................../..................../.................. แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่……/………. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อำเภอ..................................................จังหวัด............................................. สัปดาห์ที่.........วันที่.........เดือน..............................พ.ศ.....................เวลา................จำนวน......6........ชั่วโมง วิชา..............ทักษะการเรียนรู้............รหัสวิชา....................ทร21001………………จำนวน.........5.......หน่วยกิต มาตรฐานที่ 1.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการใช้แหล่งเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง การใช้แหล่งเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ แหล่งเรียนรู้มีความสำคัญในการพัฒนาความรู้ของมนุษย์ให้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น นอกเหนือจากการเรียนรู้ ในชั้นเรียน และเป็นแหล่งที่อยู่ให้สังคมชุมชนล้อมรอบตัวผู้เรียน สามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้ได้ ตลอดชีวิต 2. เนื้อหา 2.1 ความหมาย ความสำคัญของการใช้ห้องสมุดประชาชน 2.2 การเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุดประชาชน 2.3 แหล่งเรียนรู้ หอสมุดแห่งชาติ หอสมุดวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุดโรงเรียน พิพิธภัณฑ์ อุทยานแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้สำคัญอื่น ๆ ในประเทศ 2.4การใช้อินเทอร์เน็ต การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการและสนใจ 3. ตัวชี้วัด 3.1 อธิบายความหมาย ความสำคัญของการใช้ 3.2 อธิบายการเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุดประชาชน 3.3 อธิบายแหล่งเรียนรู้หอสมุดแห่งชาติ หอสมุดวิทยาลัย/มหาวิทยาลัย ห้องสมุดเฉพาะ ห้องสมุด โรงเรียน พิพิธภัณฑ์ อุทยานแห่งชาติ แหล่งเรียนรู้สำคัญอื่นๆ ในประเทศ และการเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ตามความ ต้องการของอาชีพของพื้นที่ที่ตนอาศัยอยู่ 3.4 อธิบายและปฏิบัติการใช้อินเทอร์เน็ตและการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศที่ต้องการและสนใจได้ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม 4.1 ขั้นนำ 1) ครูทักทาย/สวัสดี
16 2) ครูบอกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ 3) ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน 4) ครูให้ผู้เรียน เล่น เกม "รถไฟฟ้า มาหานะเธอ" - ครูอธิบายว่ารถไฟ 1 ขบวน ประกอบด้วยหลายโบกี้ ให้ผู้เข้าร่วมหนึ่งคนแทนด้วย 1 โบกี้ - เมื่อครูนำกิจกรรมบอกให้ต่อกันเป็น 4 โบกี้ ผู้เข้าร่วมก็ต้องต่อแถวกัน 4 คน โดยผู้นำ กิจกรรมต้องกำหนดเพิ่มเติม ว่าหัวขบวนต้องเป็นคนลักษณะใด โดยเปรียบเทียบกับคนในขบวนของตนเอง เช่น คนที่สูงที่สุด ผมยาวที่สุด ต้องเป็นผู้หญิง หรือน่ารักที่สุด เป็นต้น ซึ่งต้องกำหนดเวลาด้วยอาจจะรอบละ 30 วินาที เมื่อหมดเวลาก็ปิดเพลง และขบวนใดที่ช้า หรือทำไม่ถูกกติกา ก็อาจจะมีการคัดออกเพื่อหาผู้ชนะต่อไป - ผู้เรียนเล่นในลักษณะเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ โดยเปลี่ยนคำสั่ง เป็น 5 โบกี้ หรือ 6 โบกี้ รวมทั้งต้อง บอกถึงลักษณะพิเศษของคนที่จะเป็นหัวขบวนด้วยจนกว่า ครูเห็นสมควรจึงยุติการเล่น 4.2 ขั้นสอน 1) ให้ตัวแทนผู้เรียนออกมาเล่าถึงประสบการณ์ในการใช้แหล่งเรียนรู้ที่ผู้เรียนเคยใช้บริการ (โดยใช้วิธีการ เช่น การสุ่มจากเลข 2 ตัวท้ายของรหัสผู้เรียน) 2) ครูให้ผู้เรียนศึกษาใบความรู้จาก QR Code ใบความรู้ https://docs.google.com/document/d/19QkAPoS23bIOkkUQ9AETA0Z_GKcJZZdJmnWKWX cyzI/edit?usp=sharing 3) ครูให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 3-5 คน โดยครูเตรียมลูกอมมา 3 สีๆละ 3-5 เม็ด และให้ผู้เรียนออกมา หยิบลูกอมไปคนละ 1 เม็ด ใครได้ลูกอมสีเดียวกันก็อยู่กลุ่มเดียวกัน - ให้ผู้เรียนหาข้อมูลของแหล่งสืบค้นในหัวข้อที่ได้รับมอบหมายในเรื่องต่อไปนี้ กลุ่มที่ 1 ห้องสมุด กลุ่มที่ 2 พิพิธภัณฑ์ กลุ่มที่ 3 อินเทอร์เน็ต 4) ครูให้แต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและฟังผลงานของทุกกลุ่มพร้อมทำการสรุปเนื้อหาสาระที่ ได้นำเสนอ 5) ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 6) ครูเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 4.3 ขั้นสรุป
17 1) ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปหลังจากทุกกลุ่มนำเสนอผลงานกลุ่ม 2) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมในส่วนที่ยังไม่สมบูรณ์ 3) ครูเชื่อมโยงสิ่งที่ผู้เรียนนำเสนอกับเนื้อหาในเรื่องของการใช้แหล่งเรียนรู้ 4)ครูแจกใบงานเรื่อง ความหมาย ความสำคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า และนำมาส่ง ในสัปดาห์หน้า 5. สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 5.1 หนังสือแบบเรียน 5.2 แหล่งเรียนรู้ 5.3 เพลง จากยูทูป 5.4 QR Code ใบความรู้ 6. การวัดและประเมินผล 6.1 ประเมินจากงานกลุ่ม 6.2 สังเกตจากการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 6.3 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 7. เกณฑ์การวัดผล การวัดตามจุดประสงค์ เครื่องมือการวัดผล เกณฑ์การประเมิน ความรู้ (Knowledge) 1. อธิบายความหมาย ความสำคัญของการ ใช้แหล่งเรียนรู้ การเข้าถึงสารสนเทศของ ห้องสมุดประชาชน หอสมุดแห่งชาติ แบบทดสอบก่อนเรียน - หลัง เรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการเรียนรู้ ร้อย ละ 50 ขึ้นไป ทักษะ ( Skill) อธิบายและปฏิบัติการใช้ อินเทอร์เน็ตและการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ ที่ต้องการและสนใจได้ ใบงาน และ อื่น ๆ สามารถเข้าใจเนื้อหา และตอบคำถาม ทำใบงาน ร้อยละ 50 ขึ้นไป เจตคติ (Attitude) เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้สึก เจตคติต่อวิชาทักษะการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิด ผู้เรียน ร้อยละ 50 ขึ้นไป มีส่วนร่วมใน การอภิปรายและเปลี่ยนความคิดเห็น ลงชื่อ............................................................. (………………………...………………………) ตำแหน่ง……………………….…………………….. วันที่ ......เดือน…………….......พ.ศ…………….... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ..........................................................
18 (…………………………….………………………) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ………………………… วันที่ ........เดือน……………......พ.ศ…………….... ใบความรู้ เรื่อง ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของแหล่งเรียนรู้ QR Code ใบความรู้ https://docs.google.com/document/d/19QkAPoS23bIOkkUQ9AETA0Z_GKcJZZdJmnWKWX cyzI/edit?usp=sharing
19 ใบงาน เรื่อง ความหมาย ความสำคัญ ประเภทแหล่งเรียนรู้ ให้ผู้เรียนศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการใช้แหล่งเรียนรู้และตอบคำถามต่อไปนี้ 1. แหล่งเรียนรู้ หมายถึง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. แหล่งเรียนรู้มีความสำคัญอย่างไร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. แหล่งเรียนรู้แบ่งตามลักษณะได้ 6 ประเภท ได้แก่ แหล่งเรียนรู้ประเภทบุคคล/ธรรมชาติ/วัสดุ และสถานที่/ สื่อ/เทคนิค และกิจกรรม ให้ท่านบอกแหล่งเรียนรู้ที่ท่านรู้จักมา 2 แหล่ง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. หากท่านต้องการใช้บริการห้องสมุดท่านจะต้องปฏิบัติตนอย่างไรบ้าง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 5. ให้ท่านอธิบายการใช้แหล่งสารสนเทศที่ไม่ใช่ห้องสมุดมา 1 แห่ง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 6. ให้ท่านอธิบายวิธีการค้นหาข้อมูลทาง Internet พร้อมเสนอตัวอย่างที่ได้จาการค้นหาข้อมูลจาก Internet มา 1 ตัวอย่าง .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................
20 ใบงาน เรื่อง แหล่งเรียนรู้ในชุมชน คำสั่ง ให้ผู้เรียนทำการสำรวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชนของผู้เรียนว่ามีแหล่งเรียนรู้อะไรบ้าง และแต่ละแหล่งเรียนรู้ มี ความสำคัญอย่างไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
21 แบบทดสอบก่อนหลังเรียน 1.ห้องสมุดประชานมีความสำคัญกับนักศึกษาในข้อใดมากที่สุด ก. การศึกษาตามอัธยาศัย ข. สร้างเสริมประสบการณ์ภาคปฏิบัติ ค. แหล่งส่งเสริมความรู้ ความคิด วิทยาการ ง. แหล่งปลูกฝังรักการอ่าน การศึกษาค้นคว้า แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 2. หลังจากศึกษาเล่าเรียนแล้ว ถ้าต้องการเข้าถึงสารสนเทศของห้องสมุดประชาชนเพื่อค้นคว้า ควรใช้วิธีใด ก. ถามเพื่อน ข. ศึกษาจากผู้ปกครอง ค. ยืมหนังสือจากเพื่อนคนอื่นมาอ่าน ง. ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ ทางอินเทอร์เน็ต 3. ข้อใดเรียงขั้นตอนโปรแกรมค้นหา ได้ถูกต้อง ก. เปิดโปรแกรม – พิมพ์ชื่อเว็ปไซต์– เปิดหน้าต่างเว็ปไซต์ – พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหา ข. เปิดโปรแกรม – เปิดหน้าต่างเว็ปไซต์ – พิมพ์ชื่อเว็ปไซต์ - พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหา ค. เปิดโปรแกรม – พิมพ์ชื่อเว็ปไซต์ – พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหา - เปิดหน้าต่างเว็ปไซต์ ง. เปิดโปรแกรม – พิมพ์สิ่งที่ต้องการค้นหา – พิมพ์ชื่อเว็ปไซต์ - เปิดหน้าต่างเว็ปไซต์ 4. ข้อใดเป็นแหล่งเรียนรู้ที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน ก. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ข. อุทยานการศึกษา กลุ่มออมทรัพย์ ค. วนอุทยาน สวนพฤกษศาสตร์ ง. แพทย์แผนไทย หอศิลป์ 5. ข้อใดคือการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น ก. นิศาชล ไปอ่านหนังสือคู่มือฟิสิกส์ที่ศูนย์วิชาวิทยาศาสตร์ ข. ธันยา ไปเรียนทำขนมไทยจากกลุ่มแม่บ้านวัดนวลจันทร์ ค. กมลและเพื่อน ไปห้องคอมพิวเตอร์ เพื่อสืบค้นข้อมูลมาทำรายงาน ง. กมลา ไปศึกษาค้นคว้าเรื่องประโยชน์ของพืชสมุนไพรที่สวนสมุนไพรของโรงเรียน 6. ห้องสมุดประเภทใดที่ให้ความรู้ค้นคว้าวิจัยมากที่สุด ก. ห้องสมุดเฉพาะ
22 ข. ห้องสมุดโรงเรียน ค. ห้องสมุดประชาชน ง. ห้องสมุดมหาวิทยาลัย 7.บุคคลใดใช้บริการแหล่งเรียนรู้ได้ถูกต้องที่สุด ก. เอวา ใช้แหล่งเรียนรู้เป็นสถานที่ฝึกงานของตนโดยตรง ข. พิวา รับข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ที่ตนเองต้องการโดยตรงจากผู้รู้ ค. พิกุล ใช้อินเตอร์เน็ตเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ใกล้ตัว ค้นคว้าหาง่าย รวดเร็ว ง. พิมพา ศึกษาหาความรู้จากห้องสมุดประชาชนเพื่อให้เกิดประสบการณ์จริง 8. . ข้อใดคือความหมาย www ก. Word wide web ข. Work wide web ค. Word widk web ง. Word walk web 9.หากต้องการลงทะเบียนของ E-mail ฟรีและ Hotmail ให้คลิกไปที่ใด ก. Login ข. Sing Up ค. ส่งจะหมาย ง. สมัครสมาชิก 10. ช่องทางใด ที่สามารถเชื่อมโยงไปแหล่งข้อมูลอื่นได้ในเว็บไซต์ ก. Link ข. Restore ค. Connect ง. Download
23 เฉลย 1. ก 2. ง 3.ก 4. ค 5. ง 6. ง 7.ค 8.ง 9. ง 10. ก
24 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ตำบล..............................................กศน.อำเภอ................................................จังหวัด............................ สัปดาห์ที่...................วันที่............เดือน.........................................พ.ศ...................ครูผู้สอน............................ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาระ....................................รายวิชา..................................รหัสวิชา....................... 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จำนวนผู้เรียนที่เข้าเรียน........................................ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. เนื้อหา / สาระที่สอน .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 3. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 4. ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 5. แนวทางการปัญหา .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................................. (...............................................................) ครู กศน.ตำบล.................................................. ................../..................../.................. ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................ (......................................................)
25 ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ..................................
26 แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่……/………. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อำเภอ..................................................จังหวัด............................................. สัปดาห์ที่..........วันที่................เดือน...............................พ.ศ....................เวลา....................จำนวน 6 ชั่วโมง วิชา..............ทักษะการเรียนรู้............รหัสวิชา....................ทร21001………………จำนวน...................หน่วยกิต มาตรฐานที่ 1.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการคิดเป็น หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง การจัดการความรู้ และการคิดเป็น 1.สาระสำคัญ รายวิชาทักษะการเรียนรูมีเนื้อหาเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรูของนักเรียนในด้านการเรียนรูด้วย ตนเอง การใช้แหลงเรียนรู การจัดการความรู การคิดเป็นการวิจัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เรียน สามารถกําหนดเปาหมาย วางแผนการเรียนรู้ดวยตนเอง เขาถึงและเลือกใช แหลงเรียนรูจัดการความรู กระบวนการ แกปญหาและตัดสินใจอยางมีเหตุผล ที่จะสามารถใชเปน เครื่องมือชี้นํา ในการเรียนรู และการประกอบอาชีพใหสอด คลองกับหลักการพื้นฐานและการพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิด สรางสรรค การบริหารจัดการและการบริการ ตามยุทธศาสตร 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได อยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต 2.เนื้อหา 2.1 ความหมาย ความสำคัญ และหลักในการจัดการความรู้ 2.2 รูปแบบและกระบวนการในการจัดการความรู้ 2.3 การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ 2.4 การฝึกทักษะและการบวนการจัดการความรู้ 2.5 ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่/ การศึกษานอกระบบ ที่เชื่อมโยงมาสู่ปรัชญา คิดเป็น 2.6 ความหมาย ความสำคัญของการคิดเป็น การเชื่อมโยงของความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ /กศน. สู่ปรัชญาคิดเป็น 2.7 การรวบรวมและวิเคราะห์สภาพปัญหา ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และคิดวิเคราะห์ โดยใช้ข้อมูล ด้าน ตนเอง ด้านวิชาการ และ ด้านสังคมสิ่งแวดล้อม 3.ตัวชี้วัด 3.1 อธิบายความหมาย ความสำคัญ หลักการกระบวนการจัดการความรู้ การวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ การพัฒนาขอบข่ายความรู้ของกลุ่มการจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ได้ 3.2 ปฏิบัติการจัดการความรู้ในเนื้อหาสอดคล้องกับความต้อการของชุมชนตามประเด็นที่กำหนดได้
27 3.3 สรุปองค์ความรู้ในชุมชนเพื่อจัดทำสารสนเทศได้ 4.กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม 4.1 ขั้นนำ เล่นเกมส์ต่อกระดาษ 1) ครูแบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม ๆ ละ 4 คน ครูแจกกระดาษหนังสือพิมพ์ กลุ่ม ๆละ1 ฉบับ และกระดาษกาว กลุ่มๆ ละ 1 ม้วน โดยให้แต่ละกลุ่มสร้างหอคอยที่สูงที่สุดจากวัสดุที่ให้เท่านั้นโดยไม่จำกัดรูปร่าง กลุ่มที่สูงที่สุดเป็นผู้ ชนะ ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปผลจากการเล่นเกมส์ 2) ครูบอกวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในรายวิชา เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบล่วงหน้า และทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3) ครูชักชวนผู้เรียนพูดคุยถึงเรื่องราวจากเนื้อหาโดยยกตัวอย่างบางตอนของเนื้อหามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม และแสดงความคิดเห็น 4.2 ขั้นสอน 1) ครูแบ่งกลุ่มนักศึกษาออกเป็น 4 กลุ่ม ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาการเรียนรู้จากแบบเรียน วิชา ทักษะการ เรียนรู้ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เรื่อง 1 ความหมาย ความสำคัญ และหลักในการจัดการความรู้ เรื่อง 2 รูปแบบและกระบวนการในการจัดการความรู้ เรื่อง 3 การรวมกลุ่มเพื่อต่อยอดความรู้ เรื่อง 4 การฝึกทักษะและการบวนการจัดการความรู้ 2) ครูให้ผู้เรียนสรุปความรู้ที่ได้รับจากศึกษาหนังสือแบบเรียน โดยสรุปสาระที่ได้ลงในกระดาษ a 4 ให้แต่ ละกลุ่มนำเสนอสาระที่ได้ ทุกกลุ่ม ครูแนะนำเพิ่มเติม 3) ครูให้ผู้เรียนศึกษาเรื่อง การเชื่อมโยงไปสู่ปรัชญาคิดเป็นการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของคนคิด เป็น ด้วยวิดีทัศน์ เรื่อง การใช้กระบวนการคิดเป็น ผู้เรียน ศึกษาและทำความเข้าใจและสรุปเนื้อหาที่ได้ลงในกระดาษ a4 4) ครู สุ่มผู้เรียนจำนวน 3 - 4 คน จากแต่ละกลุ่ม ให้เล่าถึงกระบวนการคิดเป็นที่ผู้เรียนได้เรียนรู้จากวิดีทัศน์ เรื่อง การใช้กระบวนการคิดเป็น ให้เพื่อนๆฟัง ว่ามีกระบวนการและขั้นตอนอย่างไร และตอบข้อคำถามของครูและ เพื่อนๆ 5) ครูแจกแบบฝึกหัดให้ผู้เรียนได้ทำเป็นรายบุคคล (แบบฝึกหัดที่ 1-5) - ใบงานที่ 1 เรื่อง การสำรวจตนเอง - ใบงานที่ 2 เรื่อง การคิดและการแก้ปัญหา - ใบงานที่ 3 เรื่อง ทบทวนความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ของคนคิดเป็น และการเชื่อมโยงไปสู่ปรัชญาคิดเป็นการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของคนคิดเป็น 4.3 ขั้นสรุป - ครูให้ความรู้เพิ่มเติมเฉลยใบงานที่ 1-5 และแนะนำการนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน - ครูเชื่อมโยงจากสิ่งที่ผู้เรียนนำเสนอกับเนื้อหา
28 - รวบรวมแบบฝึกหัดจัดเก็บในแฟ้มสะสมงาน - มอบหมายให้ผู้เรียน ศึกษาแบบเรียนวิชาทักษะการเรียนรู้ระดับ ม.ต้น เพิ่มเติม 5. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 5.1 แบบเรียน 5.2 ใบความรู้ 5.3 วีดีทัศน์ เรื่อง การใช้กระบวนการคิดเป็น https://www.youtube.com/watch?v=NZexx6KcdyA 6. การวัดผลและประเมินผล 6.1 แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน แบบปรนัย จำนวน 15 ข้อ 6.2 แบบฝึกหัดที่ 1-5 6.3 แบบสังเกตพฤติกรรม 7. เกณฑ์การวัด ลงชื่อ............................................................. (………………………...………………………) ตำแหน่ง……………………….…………………….. วันที่ ......เดือน…………….......พ.ศ…………….... ความคิดเห็น/ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร ................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.......................................................... (…………………………….………………………) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ………………………… วันที่ ........เดือน……………......พ.ศ…………….... การวัดตามจุดประสงค์ เครื่องมือการวัดผล เกณฑ์การประเมินผล ความรู้ (Knowledge) อธิบายเรื่องการการคิดเป็น แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน คะแนนมีการพัฒนาขึ้น ทักษะ (Skill) เลือกหัวข้อการการคิดเป็น ใบงานวิชา ทักษะการเรียนรู้ ผู้เรียนจับประเด็นสำคัญ . เข้าใจและบอกการนำไปใช้ได้ เจตคติ (Attitude) มีความรู้สึก เจตคติที่ดีต่อ กิจกรรมการเรียนรู้ สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม ในการอภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิด ผู้เรียน 80% ขึ้นไปมีส่วนร่วม ในการอธิบายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น
29 ใบความรู้ที่ 1 ปฐมบทของการคิดเป็น “คิดเป็น คืออะไร ใครรู้บ้าง มีทิศทางมาจากไหน ใครเคยเห็น จะเรียนร่ำทำอย่างไรให้“คิดเป็น” ไม่ล้อเล่น ใครตอบได้ขอบใจเอย” ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ ทุกวันนี้นอกจากเด็กและเยาวชนที่คร่ำเคร่งเรียนหนังสืออยู่ในโรงเรียนกันมากมายทั่วประเทศแล้ว ก็ยังมี เยาวชนและผู้ใหญ่จำนวนไม่น้อยที่สนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนต่างก็ใช้เวลาว่างจากการทำงาน หรือวันหยุดไป เรียนรู้เพิ่มเติมทั้ง วิชาสามัญ วิชาอาชีพ หรือการฝึกทักษะการเรียนรู้ต่าง ๆ จากสื่อและเทคโนโลยีที่แพร่หลายมากมายที่เรียกว่า การศึกษาผู้ใหญ่การศึกษานอกโรงเรียน การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยผู้เรียนเหล่านี้บางคนเป็น เยาวชนที่ยังเรียนไม่จบมัธยมศึกษาตอนต้น แต่ต้องออกมาทำงานเพราะครอบครัวยากจน มีพี่น้องหลายคน บางคน ไม่ได้เรียนหนังสือแต่ทำงานเป็นเจ้าของกิจการใหญ่โต บางคนจบปริญญาแล้วก็ยังมาเรียนอีก บางคนอายุมากแล้วก็ยัง สนใจมาฝึกวิชาชีพและวิชาที่สนใจ เช่น ร้องเพลง ดนตรีหมอดูพระเครื่อง เป็นต้น และมีจำนวนไม่น้อยที่เรียนรู้การ ทำร้านอาหาร การทำร้านขายทอง หรือการทำการเกษตรปลูกส้มโอตามที่พ่อแม่ ปู่ย่า ตา ยาย ทำมาหากินมาหลาย ชั่วอายุคน
30 ใบความรู้ เรื่องที่ 2 ทบทวนความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ของคนคิดเป็น และการเชื่อมโยงไปสู่ปรัชญาคิดเป็นการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบของคนคิดเป็น ในชีวิตประจำวันทุกคนต้องเคยพบกับปัญหาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเรียน การงาน การเงิน หรือแม้แต่ การเล่นกีฬาหรือปัญหาอื่นๆ เช่น ปัญหาขัดแย้งของเด็ก หรือปัญหาการแต่งตัวไปงาน ต่างๆ เป็นต้น เมื่อเกิดปัญหาก็ เกิดทุกข์แต่ละคนก็จะมีวีแก้ไขปัญหา หรือแก้ทุกข์ด้วยวิธีการที่แตกต่างกันไป ซึ่งแต่ละคน แต่ละวิธีการอาจเหมือน หรือต่างกัน และอาจให้ผลลัพธ์ที่เหมือนกันหรือต่างกันก็ได้ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพื้นฐานความเชื่อ ความรู้ความสามารถและ ประสบการณ์ของบุคคลนั้น หรืออาจจะขึ้นอยู่กับทฤษฎีและ หลักการของความเชื่อที่ต่างกัน เหล่านั้น “คิดเป็น” เป็นกระบวนการคิดและตัดสินใจแก้ปัญหาวิธีหนึ่งของคนทำงาน กศน.ที่ท่าน อาจารย์ดร.โกวิท วรพิพัฒน์อดีตอธิบดีกรมการศึกษานอกโรงเรียนและอดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้นำเสนอไว้เป็นทิศทางและ หลักการสำคัญในการดำเนินงานโครงการการศึกษาผู้ใหญ่และการศึกษานอกโรงเรียนในสมัยนั้น และใช้เป็นปัญหาส่อง นำทางในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในระยะต่อมาด้วย“คิดเป็น” ตั้งอยู่บนความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ที่เป็นหลักความจริงของมนุษย์ ที่ว่าหรือความทุกข์เป็นเรื่องธรรมชาติที่เกิดขึ้นได้ก็สามารถแก้ไขได้ความทุกข์หรือปัญหาเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นกับคนมาก น้อย หนักเบา ต่างกันออกไป เมื่อเกิดปัญหาหรือความทุกข์คนเราก็ต้องพยายามหาทางแก้ปัญหาหรือคลี่คลายความ ทุกข์ให้หมดไปให้ความสุขกลับคืนมา ความสุขของมนุษย์จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อมนุษย์กับสภาวะแวดล้อมที่เป็นวิถีชีวิตของ ตนสามารถปรับตัวกับสภาวะแวดล้อมให้กลมกลืนกันได้นี้มนุษย์ต้องรู้จักแสวงหาข้อมูลที่หลากหลายและเพียงพอ อย่างน้อย 3 ด้านด้วยกัน คือ ข้อมูลด้านวิชาการ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และข้อมูลเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมทางสังคม ชุมชน นำมาวิเคราะห์ศึกษารายละเอียดอย่างรอบคอบและสังเคราะห์เพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุดนำมาใช้แก้ปัญหา ความเชื่อพื้นฐานของคนคิดเป็นหรือความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่คืออะไร? เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจและเข้าถึง “คิดเป็น” ได้อย่างลึกซึ้งและชัดเจน ผู้เรียนที่เคยเรียน เรื่อง “คิดเป็น” มาก่อนในระดับประถมศึกษาหรือระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ขอให้ข้ามไปอ่านต่อและร่วม กิจกรรมกระบวนการ ตั้งแต่ เรื่องที่2 ของบทนี้เป็นต้นไป สำหรับผู้เรียนที่ยังไม่เคยเรียนเรื่อง “คิดเป็น” มาก่อนในระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ตอนต้น ขอให้ร่วมกันทำความเข้าใจเรื่องความเชื่อพื้นฐานของคนคิดเป็นหรือความเชื่อพื้นฐานทาง การศึกษาผู้ใหญ่เสียก่อน ทั้งนี้เพราะกระบวนการ “คิดเป็น” เน้นการทำความเข้าใจด้วยกระบวนการคิดและสร้าง ความเข้าใจด้วยตนเองเป็นหลัก ให้ใช้กรณีตัวอย่างในแบบเรียนคิดเป็น ระดับประถมศึกษาเป็นเอกสารประกอบการ สนทนาและร่วมสรุปแนวคิดดังต่อไปนี้ ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ ปฐมบทของปรัชญา “คิดเป็น” ครั้งหนึ่ง ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเคยเป็นอธิบดีกรมการ ศึกษานอกโรงเรียนมา ก่อนเคยเล่าให้ฟังว่ามีเพื่อนฝรั่งถามท่านว่า ทำไมคนไทยบางคนจนก็จน อยู่กระต๊อบ เก่าๆทำงานก็หนัก หาเช้ากินค่ำ แต่เมื่อกลับบ้านยังมีแก่ใจนั่งเป่าขลุ่ย ตั้งวงสนทนา สนุกสนาน เฮฮากับเพื่อน บ้านหรือโขกหมากรุกกับเพื่อน ได้อย่าง เบิกบานใจ ตกเย็นก็นั่งกินข้าวคลุกน้ำพริก คลุกน้ำปลากับลูกเมีย อย่างมีความสุขได้ ท่านอาจารย์ตอบไปว่า เพราะเขา
31 คิดเป็น เขาจึงมีความสุข มีความพอเพียง ไม่ทุกข์ ไม่ เดือดร้อนทุรนทุรายเหมือนคนอื่นๆ เท่านั้นแหละ คำถามก็ ตามมาเป็นหางว่าว เช่น ก็เจ้า “คิดเป็น” มันคือ อะไร อยู่ที่ไหน หน้าตาเป็นอย่างไร หาได้อย่างไร หายากไหม ทำ อย่างไรจึงจะคิดเป็น ต้องไปเรียนจากพระ อาจารย์ทิศาปาโมกข์หรือเปล่า ค่าเรียนแพงไหม มีค่ายกครูไหม ใครเป็นครู อาจารย์หรือศาสดา ฯลฯ ดูเหมือนว่า “คิดเป็น” ของท่านอาจารย์จะเป็นคำไทยง่ายๆ ธรรมดาๆ แต่ก็ออกจะลึกล้ำ ชวนให้ใฝ่หาคำตอบยิ่งนัก ประมาณปี พ.ศ.2513 เป็นต้นมา ท่านอาจารย์ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ และคณะได้นำแนวคิด เรื่อง “คิดเป็น” มาเป็นเป้าหมายสำคัญในการจัดการศึกษาผู้ใหญ่หลายโครงการ เช่น โครงการการศึกษา ผู้ใหญ่แบบ เบ็ดเสร็จ โครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือแห่งชาติ โครงการการศึกษาประชาชนและการศึกษา ผู้ใหญ่ขั้นต่อเนื่องเป็น ต้น*ต่อมาท่านย้ายไปเป็นอธิบดีกรมวิชาการ ท่านก็นำคิดเป็นไปเป็นแนวทางจัด การศึกษาสำหรับเด็กในโรงเรียนจน เป็นที่ยอมรับมากขึ้น เพื่อให้การทำความเข้าใจกับการคิดเป็นง่ายขึ้น พอที่จะให้คนที่จะมามีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนการสอนตามโครงการดังกล่าวเข้าใจและสามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักการ “คิดเป็น” ได้ จึงมีการนำเสนอแนวคิดเรื่อง ความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ขึ้นเป็นครั้งแรก โดยใช้กระบวนการคิดเป็น ใน การทำความเข้าใจกับความเชื่อพื้นฐานทางการศึกษาผู้ใหญ่ให้กับผู้ที่จะจัดกระบวนการเรียนการสอนตามโครงการ ดังกล่าวในรูปแบบของการ ฝึกอบรม เหมือนกันแต่ทุกคนก็มีจุดมุ่งหมายปลายทางของตนที่จะก้าวไปสู่ความสำเร็จ ซึ่ง ถ้าบรรลุถึงสิ่งนั้นได้เขาก็จะมีความสุข ดังนั้น ความสุขเหล่านี้จึงเป็นเรื่องต่างจิตต่างใจที่กำหนดตามสภาวะของตน อย่างไรก็ตามการจะมีความสุขอยู่ได้ในสังคม จำเป็นต้องปรับตัวเอง และสังคมให้ผสมกลมกลืนกันจนเกิดความพอดีแก่ เอกัตภาพ และบางครั้งหากเป็นการตัดสินใจที่ได้กระทำดีที่สุดตามกำลังของตัวเองแล้ว ก็จะมีความพอใจกับการ ตัดสินใจนั้น อีกประการหนึ่งในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้การที่จะปรับตัวเองและสิ่งแวดล้อมให้เกิด ความพอดีนั้น จำเป็นต้องรู้จักการคิด การแก้ปัญหา การเรียนการสอนที่จะให้คนรู้จักแก้ปัญหาได้นั้น การสอนโดยการ บอกอย่างเดียวคงไม่ได้ประโยชน์มากนัก การสอนให้รู้จักคิด รู้จักวิเคราะห์จึงเป็นวิธีที่ควรนำมาใช้กระบวนการคิด การแก้ปัญหามีหลากหลายวิธีแตกต่างกันไป แต่กระบวนการคิดการแก้ปัญหาที่ต้องใช้ข้อมูลประกอบการคิด การ วิเคราะห์อย่างน้อย 3 ประการ คือข้อมูลทางวิชาการ ข้อมูลเกี่ยวกับตัวเอง และข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเมื่อนำผลการคิดนี้ไปปฏิบัติแล้วพอใจ มีความสุขก็จะเรียกการคิดเช่นนั้นว่า คิดเป็น
32 แบบฝึกหัดที่ 1 การจัดการความรู้ ให้ผู้เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 5 คะแนน) 1.ให้ผู้เรียนบอกถึงรูปแบบของเวทีชุมชนนักปฏิบัติว่ามีอะไรบ้าง (1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 2.ชุมชนนักปฏิบัติมีความสำคัญอย่างไร(1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 3.สารสนเทศ หมายถึง (1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 4.การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ คือ(1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 5.บอกถึงวัตถุประสงค์ของการจัดทำสารสนเทศ(1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................
33 แบบฝึกหัดที่ 2 การจัดการความรู้ ให้ผู้เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 5 คะแนน) 1.การจัดการความรู้ หมายถึง (1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 2.กระบวนการจัดการความรู้ คือ(1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 3.การจัดการความรู้มีความสำคัญอย่างไร(1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 4.การเข้าถึงความรู้ตามความเข้าใจของผู้เรียน คือ(1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 5.ให้ผู้เรียนบอกถึงปัจจัยที่ทำให้การจัดการความรู้ด้วยการรวมกลุ่มปฏิบัติการประสบความสำเร็จว่ามีอะไรบ้าง (1 คะแนน) .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................................
34 เฉลยใบงานที่ 2 การจัดการความรู้ ให้ผู้เรียนตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ( 5 คะแนน) 1.ให้ผู้เรียนบอกถึงรูปแบบของเวทีชุมชนนักปฏิบัติว่ามีอะไรบ้าง ตอบ รูปแบบจะมีการตั้งเป็นชมรม หรือใช้เทคโนโลยีในการแลกความรู้กันในลักษณะของเว็บบล็อก 2.ชุมชนนักปฏิบัติมีความสำคัญอย่างไร ตอบ เกิดจากการรวมตัวของคนที่สนใจเรื่องเดียวกัน 3.สารสนเทศ หมายถึง ตอบ ข้อมูลต่างๆ ที่ผ่านมาการกลั่นกรองและประมวลผลแล้ว บวกกับประสบการณ์ความเชี่ยวชาญที่สั้งสมมาแรมปี มี การจัดเก็บหรือบันทึกไว้พร้อมในการนำมาใช้งาน 4.การจัดทำสารสนเทศเผยแพร่ความรู้ คือ ตอบ การรวบรวมและสร้างองค์ความรู้ที่เกิดจากการปฏิบัติขึ้นมากมาย เป็นการสร่างช่องทางให้สามารถเข้าถึงองค์ ความรู้ และก่อให้เกิดการแบ่งปันความรู้ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้การค้นหาความรู้สะดวกขึ้น 5.บอกถึงวัตถุประสงค์ของการจัดทำสารสนเทศ ตอบ ระบบการจัดเก็บข้อมูลเป็นหมวดหมู่ เกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เกดการเข้าถึงและ เชื่อมโยงความรู้อย่างเป็นระบบ รวบรวมและจัดเก็บความรู้ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้
35 แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน คำสั่ง ให้เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว 1. ข้อใด คือ ความหมายของการจัดการความรู้ ก. กระบวนการถ่ายทอดความรู้ ข. กระบวนการเข้าถึงความรู้และนำมาปฏิบัติ ค. การเชื่อมโยงความรู้และบูรณาการความคิด ง. กระบวนการจัดการความรู้และประสบการณ์แล้วนำมาแบ่งปันให้เกิดประโยชน์ 2. การส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ควรเริ่มที่ใครเป็นอันดับแรก ก. ตัวบุคคล ข. ตัวองค์กร ค. กลุ่มที่ประกอบด้วยสมาชิก ง. กลุ่มที่ประกอบด้วยคณะกรรมการ 3. ข้อใดคือประโยชน์ของการจัดการความรู้ในชุมชน ก. การแสวงหาความรู้ ข. การนำความรู้ไปใช้ ค. การจัดเก็บคลังความรู้ ง. เพื่อแยกข้อเท็จจริงออกจากความคิดเห็น 4. การเผยแพร่ความรู้ของกลุ่ม นักศึกษาคิดว่าวิธีไหนที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายมากขึ้น ก. ทีวี ข. วิทยุ ค. อินเตอร์เน็ต ง. ป้ายประกาศ 5. การจัดเวทีประชาคมหมู่บ้านมีปัญหาในการจัดเก็บข้อมูลเป็นจำนวนมากควรปฏิบัติอย่างไร ก. ตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นทิ้ง ข. หาผู้ช่วยที่สามารถแบ่งเบาหน้าที่ ค. จัดเก็บในแฟ้มเอกสารและจัดเก็บเข้าตู้ ง. นำใจความสำคัญและใจความรองมาจัดเรียง ข้อมูล 6. บุคคลในข้อใดนำกระบวนการจัดการความรู้ไปใช้ ในชุมชนได้ ก. สุชาติร่วมขายผักในตลาดของชุมชน ข. สมพรทำบัญชีเงินกู้ของลุกหนี้ในชุมชน ค. สุมลทำเอกสารเผยแพร่เรื่องชองกองทุนหมู่บ้าน ง. สุดารัตน์ร่วมทำเวทีชาวบ้านการสร้างประปาประจำหมูบ้าน
36 7. ข้อใดคือความหมายของการจัดการความรู้ ก. กระบวนการถ่ายทอดความรู้ ข. กระบวนการเข้าถึงความรู้และนำมาปฏิบัติ ค. การเชื่อมโยงความรู้และบูรณาการความคิด ง. กระบวนการจัดการความรู้และประสบการณ์แล้วนำมาแบ่งปันให้เกิดประโยชน์ 8.ความหมาย ของชุมชนนักปฏิบัติ คืออะไร ก. การจัดการความรู้ ข. เป้าหมายของการจัดการความรู้ ค. วิธีการหนึ่งของการจัดการความรู้ ง. แนวปฏิบัติของการจัดการความรู้ 9. รูปแบบการจัดการความรู้ตามโมเดลปลาทูส่วน “หัวปลา” หมายถึงอะไร ก. การกำหนดเป้าหมาย ข. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ค. การจัดเก็บเป็นคลังความรู้ ง. ความรู้ที่ชัดเจน 10. ข้อใด คือความหมายของคำว่า “สารสนเทศ” ก. ข้อมูลดิบที่เป็นข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ ข. ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว ค. ข้อมูลที่สามารถวัดค่าได้ ง. ข้อมูลที่บอกลักษณะของตัวแปร
37 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 1.ง 2.ก 3.ข 4.ค 5.ง 6.ง 7.ง 8.ก 9.ก 10.ข
38 บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ กศน.ตำบล..............................................กศน.อำเภอ................................................จังหวัด............................ สัปดาห์ที่...................วันที่............เดือน.........................................พ.ศ...................ครูผู้สอน............................ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สาระ....................................รายวิชา..................................รหัสวิชา....................... 1. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จำนวนผู้เรียนที่เข้าเรียน........................................ .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 2. เนื้อหา / สาระที่สอน .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 3. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 4. ปัญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... 5. แนวทางการปัญหา .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................................. (...............................................................) ครู กศน.ตำบล.................................................. ................../..................../.................. ความคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผู้บริหาร .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................ (......................................................) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอ..................................
39 แผนการจัดการเรียนรู้ ภาคเรียนที่……/………. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.อำเภอ..................................................จังหวัด............................................. สัปดาห์ที่......................วันที่..................เดือน.......................................พ.ศ...................เวลา...12..ชั่วโมง... วิชา..............ทักษะการเรียนรู้............รหัสวิชา....................ทร21001………………จำนวน......5.......หน่วยกิต มาตรฐานที่ 1.5 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติที่ดีต่อการวิจัยอย่างง่าย หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง การวิจัยอย่างง่าย 1.สาระสำคัญ การแสวงหาความรู้ ข้อมูล ข้อเท็จจริงอย่างมีระบบ เพื่อให้ได้รับคำตอบ หรือความรู้ใหม่ที่เชื่อถือได้สามารถทำ ได้ โดยกระบวนการวิจัย 2.เนื้อหา 2.1 ความหมายความสำคัญของการวิจัยอย่างง่ายกระบวนการและขั้นตอนของการดำเนินงาน 2.2 ฝึกทักษะ สถิติง่ายๆ เพื่อการวิจัยเครื่องมือการวิจัย 2.3 ฝึกทักษะในการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย 3.ตัวชี้วัด 3.1 อธิบายความหมาย ความสำคัญของการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นตอนของการดำเนินงานวิจัย 1. อธิบายความหมายและความสำคัญของการวิจัยอย่างง่ายได้ 2. บอกประโยชน์ของการวิจัยอย่างง่ายได้ 3. อธิบายกระบวนการและขั้นตอนการทำวิจัยอย่างง่ายได้ 3.2 มีทักษะในการใช้สถิติง่าย ๆ เพื่อการวิจัยและจัดทำเครื่องมือการวิจัย 1. อธิบายสถิติทีใช้ในการวิจัยอย่างง่ายได้ 2. คำนวณค่าสถิติง่าย ๆ เพื่อการวิจัยอย่างง่ายได้ 3. อธิบายประเภทของเครื่องมือการวิจัยอย่างง่ายได้ 4. สรุปผลการวิจัยได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย 3.3 มีทักษะในการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย ๆ 1. กำหนดชื่อเรื่องการวิจัยได้สอดคล้องกับการวิจัย 2. กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยได้สอดคล้องกับปัญหาการวิจัย 3. เลือกใช้เครื่องมือการวิจัยได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย 4. อธิบายองค์ประกอบของการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายได้ 5. สรุปผลการวิจัยได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์การวิจัย
40 4.กระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรม 4.1ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน 1) ครูกล่าวทักทาย กล่าวนำ และทบทวนเนื้อหาเดิมจากการสอนครั้งที่แล้วเพื่อเชื่อมโยงสู่การสอนใน ครั้งนี้ 2) ครูชี้แจงวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อดูความรู้พื้นฐานของผู้เรียน 3) ครูจัดกิจกรรมนันทนาการเรื่องระบำกระดาษ แบ่งผู้เรียนออกเป็น 8-10 คน /กลุ่ม โดยให้ผู้เรียนยืน บนกระดาษหนังสือพิมพ์ที่มีขนาดเท่ากัน สมาชิกทุกคนต้องวางแผนยืนบนกระดาษหนังสือพิมพ์ และครั้งที่2 ให้พับกระดาษหนังสือพิมพ์ให้เหลือครึ่งเดียวเพื่อดูการวางแผนและเทคนิคของกลุ่ม - ครูจัดกิจกรรมนันทนาการการร้องเพลง เพลง วิจัยเชิงปริมาณ https://www.youtube.com/watch?v=zIodAT7yjBo 4.2 ขั้นสอน(จัดกิจกรรมการเรียนรู้) 1) ครูให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อวัดความรู้ของผู้เรียน 2) ให้ผู้เรียนแนะนำตัวเอง และแสดงความคิดเห็นการทำวิจัยการดำเนินชีวิตที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจำวัน ครูแนะนำวิธีการสร้างเครื่องมือการวิจัยเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง ให้เห็นเป็นตัวอย่าง ตามความเข้าใจของตนเอง 3) ครูอธิบายและสรุปร่วมกับผู้เรียนนิยามความหมายของคำว่าวิจัยตามความเข้าใจ ครูยกตัวอย่าง การทำวิจัยในการประกอบอาชีพเรื่อง Research Impact [by Mahidol] GEO Health Hub งานวิจัยหยุด เกษตรเคมี https://www.youtube.com/watch?v=MJBSG-E3OXc
41 4) ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปวิธีการจัดทำวิจัย วิเคราะห์และแนวทางการนำไปปรับใช้ร่วมกัน ร่วมกัน แสดงความคิดเห็นจากyoutubeเรื่องงานวิจัยหยุดเกษตรเคมี 5) ครูอธิบายเพิ่มเติมในเรื่อง 5.1 ความหมายและประโยชน์ของการวิจัยอย่างง่าย 5.2 ขั้นตอนการทำวิจัย ขั้นการรุบุปันหาการวิจัย ขั้นตอนการเขียนโครงการวิจัย ขั้นการ ดำเนินการวิจัย ปฏิทินปฏิบัติงาน และประโยชน์ของการวิจัยผ่านyoutub https://www.youtube.com/watch?time_continue=19&v=TmNrb_tkdEg 5.3 สถิติเพื่อการวิจัยผ่านyoutub https://www.youtube.com/watch?v=IBReAlBJ8wA&feature=youtu.be 5.4 เครื่องมือการวิจัยเพื่อการเก็บรวบรวมข้อมูล 5.5 การเขียนโครงการวิจัย 6) ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความสมัครใจ ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาวิธีเขียน งานการวิจัย ให้ครอบคลุมหัวข้อการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่ายตามเรื่องที่กำหนด ให้แต่ละกลุ่มนำเสนอในรูปแบบ Mind Map สามารถศึกษาจากตัวอย่างวิธีการเขียนโครงการวิจัยอย่างง่าย จากวิจัยเรื่อง ผลงานวิจัยดีเด่น ปี 2559 กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
42 https://www.youtube.com/watch?v=hQV7ISrF9Qg ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการศึกษาการเขียนโครงงานการวิจัยภายในเวลา 5นาทีตามที่ครู มอบหมายให้กลุ่มสรุป 4.3 ขั้นสรุป 1) ครูและผู้เรียนร่วมกันสรุปวิธีการทำวิจัยอย่างง่ายครูและผู้เรียนกับเนื้อหาตามวัตถุประสงค์การ เรียนรู้ 2) ครูเชื่อมโยงความรู้ที่ได้รับจาการทำวิจัยในชั้นเรียนมาปรับปรุงและพัฒนาการประกอบอาชีพ เพื่อให้มีรายได้เพิ่มขึ้น กับวัตถุประสงค์ของเนื้อหาวิชา และนำสาระสำคัญความสำคัญการวิจัยอย่างง่าย มา นำเสนอเพิ่มเติมเพื่อให้นักศึกษามีความรู้ที่กว้างขวางมากยิ่งขึ้น 3) ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 4) มอบหมายงานให้ผู้เรียนแต่ละคนศึกษาปัญหาการวิจัยและนำไปจัดทำตามแบบฝึกหัด 5.สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1) หนังสือวิชาทักษะการเรียนรู้ 2) แบบึกหักหัด/ใบกิจกรรม 3) อินเทอร์เน็ต เรื่องResearch Impact [by Mahidol] GEO Health Hubงานวิจัยหยุดเกษตรเคมี 6.การวัดและประเมินผล 6.1 แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน 6.2 ประเมินจากการทำงานที่ได้รับมอบหมาย 6.3 สังเกตพฤติกรรม
43 7.เกณฑ์การวัดผล การวัดผลตามจุดประสงค์ เครื่องมือการวัด เกณฑ์การวัดผล 1.ความรู้(Knowledge) 1.อธิบาย ความหมาย ความสำคัญการวิจัยอย่างง่าย กระบวนการและขั้นต้อนของการดำเนินงาน - ใบงาน ได้คะแนน 60% ขึ้นไป 2. ทักษะ(Skill) - การเลือกหัวข้อ การวางแผน วิธีการ - การเลือกหัวข้อ โครงงานวิจัยตามความสนใจ เครื่องมือ ใบงานวิจัย เกณฑ์ เขียน ร่างโครงงานวิจัยได้ถูกต้องตาม หัวข้อ และประเภทของงานวิจัย ได้ 80 ขึ้นไป - ประเมินจากสภาพจริงด้วย การสังเกตการทำงานที่ได้รับ มอบหมาย ผ่าน 60% ขึ้นไป 3. เจตคติ(Attitude) มีความรู้สึก เจตคติที่ดี วิธีการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เครื่องมือ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เกณฑ์ผู้เรียน ผ่านเกิน 80% - ประเมินโดยแบบการ สังเกตพฤติกรรมในการร่วม กิจกรรม ผ่าน 60% ขึ้นไป กิจกรรมเสนอแนะ .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ........................................................ผู้สอน (.......................................................) วันที่..................เดือน...........................พ.ศ.................. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย .......................................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ............................................................. (......................................................) วันที่...............เดือน..............................พ.ศ................
44 ใบความรู้ เรื่อง การวิจัยอยางงาย การวิจัยอยางงาย เปนเรื่องที่มุงใหความรูความเขาใจเกี่ยวกับการฝกทักษะ ความหมายความสําคัญของการ วิจัยอยางงาย กระบวนการและขั้นตอนของการดําเนินงาน ไดแก การระบุกําหนดปญหาที่ตองการหาความรูความจริง หรือสิ่งที่ตองการพัฒนา การแสวงหาความรูจากการศึกษาเอกสาร ผูทรงคุณวุฒิ ภูมิปญญาทองถิ่น แหล่งเรียนรู ทดลอง การนําขอมูลที่ไดมาหาคําตอบที่ตองการ การเขียนรายงานสรุปผล และการนําความรูไปปฏิบัติจริง เรื่องที่ 1 ความหมายและประโยชนของการวิจัยอยางงาย การวิจัยอยางงาย หมายถึง การศึกษาคนควาเพื่อหาคําตอบของคําถามที่สงสัย หรือหาคําตอบมาใชในการแกปัญหา โดยใชวิธีการและกระบวนการตาง ๆ อยางเปนระบบเพื่อใหไดคําตอบที่นาเชื่อถือ ความสำคัญของการวิจัยอยางงาย 1. ทําใหผูวิจัยไดรับความรูใหม ๆ 2. การทําวิจัยชวยหาคําตอบที่ผูวิจัยสงสัย หรือแกปญหาของผูวิจัย 3. การวิจัยชวยใหผูวิจัยทราบผลการดําเนินงาน และขอบกพรองระหวางการดําเนินงาน 4. การวิจัยชวยใหผูวิจัยไดแนวทางในการพัฒนาการทํางาน 5. การวิจัยชวยใหผูวิจัยมีการทํางานอยางมีระบบ 6. การวิจัยชวยใหผูวิจัยเปนคนชางคิด ชางสังเกต ประโยชนของการวิจัยอยางงาย 1. ประโยชนตอผูวิจัย 1) เปนการพัฒนาความคิดใหเปนระบบ คิดเปนขั้นตอน ใชกระบวนการที่เปนเหตุเปนผล 2) เปนการพัฒนากระบวนการสรางความรูอยางเปนระบบ 3) ฝกใหผูวิจัยเปนคนชางสังเกต มีทักษะการจดบันทึกและสรุปความ 2. ประโยชนตอชุมชน 1) สมาชิกในชุมชนมีความรูเขาใจสภาพปญหา และสามารถวิเคราะหหาวิธีการแกปญหาไดอยางเปนระบบ 2) สามารถใชกระบวนการวิจัย หรือผลการวิจัยมาเปนแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในดานตาง ๆ เรื่องที่ 2 ขั้นตอนการทําวิจัยอยางงาย ขั้นตอนของการทําวิจัยอยางงาย ประกอบดวย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นตอนการระบุปญหาการวิจัย เปนขั้นตอนของการเลือกเรื่องที่มีความสนใจหรือเปนปญหาที่ตองการแก ไขมากําหนดเปนคําถามการวิจัย 2. ขั้นตอนการเขียนโครงการวิจัย เปนการเขียนแผนการวิจัย โดยจะตองเขียนใหครอบคลุมในหัวขอ ดังนี้ 1) ชื่อโครงการวิจัย เปนการเขียนบอกวาเปนการศึกษาอะไร กับใคร อยางไรที่ไหน 2) ชื่อผูวิจัย บอกชื่อของผูทําวิจัย
45 3) ความเปนมาและความสําคัญเปนการเขียนใหเห็นถึงประเด็นปญหาและนําไปสูวัตถุประสงคของการวิจัย 4) วัตถุประสงคของการวิจัย เปนการเขียนในลักษณะที่บงบอกวา ผูวิจัยตองการรูอะไร หรือจะทำอะไร เพื่อใหไดคำตอบของการวิจัย โดยมีหลักการเขียนวัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้ (1) ตองสอดคลองกับชื่อเรื่อง ความเปนมาและสภาพปญหา (2) ครอบคลุมสิ่งที่ตองการศึกษา (3) เขียนเปนประโยคบอกเลา สั้นกะทัดรัด ไดใจความ และมีความชัดเจน 5) วิธีการดําเนินการวิจัย เปนการวางแผนเกี่ยวกับวิธีการและกระบวนการเริ่มตั้งแต การเก็บขอมูล การ วิเคราะหขอมูล รวมไปถึงการนำเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเพื่อใหไดคําตอบของปญหา 6) ปฏิทินปฏิบัติงาน และแผนการดําเนินงานเปนการเขียนระบุวาการดําเนินการวิจัย ในครั้งนี้จะใช เวลานานเทาใด เริ่มตนและสิ้นสุดเมื่อใด โดยระบุกิจกรรมที่ทํา และสถานที่ที่ใชในการวิจัย ใหชัดเจน 7) ประโยชนของการวิจัย เปนการบอกวา เมื่อไดคําตอบของการวิจัยมาแลวจะสามารถนําไปแกปญหา หรือพัฒนางานไดอยางไร 3. ขั้นตอนการดําเนินการวิจัย เปนการดําเนินการวิจัยตามแผนที่กําหนดไวในโครงการวิจัย ซึ่งจะตองคํานึงถึง องคประกอบ ดังนี้ 1) ประชากรและกลุมตัวอยาง เปนการกําหนดวาจะศึกษาใคร 2) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เปนการสรางเครื่องมือ เพื่อไปเก็บขอมูลมาวิเคราะห ใหเกิดความรูมีเครื่องมือ 3 ประเภท คือ แบบสังเกต แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ 3) การเก็บรวบรวมขอมูล ถาเก็บขอมูลดวยตนเอง จะใชแบบสัมภาษณ แบบสังเกต แลแบบสอบถาม แตถ าสงทางไปรษณีย ควรใชเฉพาะแบบสอบถาม หลังจากดําเนินการเก็บขอมูลแลวควรจะตรวจสอบความสมบูรณ ความ ถูกตองของขอมูล 4) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลการวิจัยอยางงาย คือ ความถี่ รอยละหรือเปอรเซ็นต และคาเฉลี่ย 4. ขั้นตอนการรายงานผลการวิเคราะหขอมูล เปนการกลาวถึงผลของการวิจัย โดยการวิเคราะหตามจุดประ สงค ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัย อาจนําเสนอเปนขอความตัวเลข ตาราง แผนภูมิ หรือแผนภาพเพื่อใหผู อานเขาใจมากขึ้น 5. ขั้นตอนการสรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะ เปนการสรุปผลตามวัตถุประสงควาไดผลการวิจัยตามวัตถุ ประสงคที่ตั้งไวหรือไม และมีขอเสนอแนะของการวิจัยอยางไร เรื่องที่ 3สถิติเพื่อการวิจัย ความหมายของสถิติ สถิติ หมายถึง คาตัวเลขที่เกิดจากการคํานวณมาจากขอมูลที่เก็บมาจากกลุมตัวอยางไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สถิติที่ใชในการวิจัยอยางงาย
46 1) ความถี่ คือ การแจงนับจํานวนของสิ่งที่เราตองการศึกษา วามีจํานวนเทาไหรตัวอยาง กศน.ตําบลแหงหนึ่ง มีนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 10 คน 2) รอยละ หรือเปอรเซ็นต เปนตัวเลขที่แสดงถึงสัดสวนของตัวเลขจํานวนหนึ่งเมื่อแบงออกเปนรอยสวน เรื่องที่ 4 เครื่องมือการวิจัยเพื่อการเก็บรวบรวมขอมูล ความหมายของเครื่องมือการวิจัย เครื่องมือการวิจัย หมายถึง เครื่องมือสําหรับใชในการเก็บรวบรวมขอมูลและวัดตัวแปรตาง ๆ ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัยโดยทั่วไป ไดแก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ และแบบสังเกต เปนตน ในการวิจัยควรเลือกใช เครื่องมือวิจัยใหสอดคลองตามวัตถุประสงคของการวิจัย เพื่อใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เนื่องจากเครื่องมือแตละชนิด จะมีคุณลักษณะแตกตางกัน มีความเหมาะสมในการเก็บขอมูลไมเหมือนกัน ซึ่งผูวิจัยจะตองมีความรูและความชํานาญ ในการใชเครื่องมือเพื่อใหไดขอมูลที่ตรงตามความตองการ เครื่องมือการวิจัยสําหรับการทําวิจัยอยางงาย 1. แบบสอบถาม เปนเครื่องมือการวิจัยที่นิยมนํามาใชในการวิจัย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1) แบบสอบถามปลายเปด เปนแบบสอบถามที่ระบุคําตอบไวแลว หรืออาจใหเติมคําหรือขอความสั้น ๆ เชน ทานมีอาชีพอะไร ( ) เกษตรกร ( ) คาขาย ( ) หมอ ( ) อื่นๆ ระบุ ................. 2) แบบสอบถามปลายปด เปนแบบสอบถามที่ไมไดกําหนดคําตอบไว แตใหผูตอบไดเขียนแสดงความคิดเห็น อิสระ เชน ผูเรียนชอบไปแหลงเรียนรูใด เพราะเหตุใด 2. การสัมภาษณ เปนเครื่องมือการวิจัยที่นิยมนํามาใชในการวิจัยเชิงคุณภาพ เปนการเก็บขอมูลในลักษณะการเผชิญ หนากัน ระหวางผูสัมภาษณและผูใหสัมภาษณ โดยผูสัมภาษณเปนผูซักถาม ซึ่งจะกําหนดคําถามไวลวงหนา สอดคลอง กับวัตถุประสงคของการวิจัย 3. แบบสังเกต ใชในการรวบรวมขอมูล โดยสังเกตพฤติกรรมแลวจดบันทึกในแบบสังเกต แบงเปน 2 ประเภท คือ 1) แบบสังเกตที่ไมมีโครงรางการสังเกต เปนแบบที่ไมไดกําหนดเหตุการณพฤติกรรม หรือสถานการณที่จะ สังเกตไวชัดเจน 2) แบบสังเกตที่มีโครงรางการสังเกต เปนแบบที่กําหนดไวลวงหนา วาจะสังเกตอะไร สังเกตอยางไร เมื่อใด และบันทึกผลการสังเกตอยางไร เชน สังเกตพฤติกรรมในการพบกลุมของนักศึกษา ของ กศน.ตําบล ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน