The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บท1-5พร้อมส่ง_merged

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chonradee Chaihuad, 2024-02-14 09:09:37

บท1-5พร้อมส่ง_merged

บท1-5พร้อมส่ง_merged

41 ปาสคา (Pasca, 2019) ได้ท าการศึกษากิจกรรมการท าอาหารเพื ่อพัฒนาทักษะ กล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัย โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กอายุ 4 – 5 ปี จ านวน 24 คน จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า กิจกรรมการท าอาหาร สามารถกระตุ้นและฝึกทักษะกล้ามเนื้อเล็กของ เด็กปฐมวัยได้ เอส. เอเรนเบิร์ก (S. Ehrenberg, 2019) ได้ท าการศึกษาการใช้การสัมผัสซ ้า ๆ ผ่าน การปรุงอาหารด้วยมือเพื่อเพิ่มความชื่นชอบผักและผลไม้ให้กับเด็ก ๆ ผลจากการศึกษาพบว่าเด็ก ๆ ชื่นชอบผักและผลไม้เป้าหมายเพิ่มขึ้นหลังจากได้รับรสชาติซ ้า ๆ ผ่านการท าอาหารจริงในชุมชน เฮเทอร์ ไวท์ (Heather White, 2023) ได้ท าการศึกษาทักษะการเคลื ่อนไหวของ กล้ามเนื้อมัดเล็กผ่านกิจกรรมการท าอาหารในชีวิตจริง จากการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่า กิจกรรมการ ท าอาหาร สามารถฝึกทักษะกล้ามเนื้อเล็กของเด็กปฐมวัยได้และยังช ่วยส ่งเสริมนิสัยการกินเพื่อ สุขภาพอีกด้วย จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยทั้งในประเทศและต ่างประเทศดังกล ่าวข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการประกอบอาหาร เป็นกิจกรรมที่เน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง ด้วยตนเอง โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ผ่านการท ากิจกรรมประกอบอาหาร เด็กได้ท ากิจกรรมตาม ศักยภาพของตนเอง ในขณะท ากิจกรรมประกอบอาหารยังส่งเสริมให้เด็กได้ใช้ทักษะการสังเกต การ จ าแนกและการสื่อสารซึ่งเป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ส าคัญส าหรับเด็กปฐมวัยซึ่งเป็น พื้นฐานในการเรียนรู้ต่อไปในอนาคต ดังนั้นผู้วิจัยจึงเชื่อว่าการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารนี้จะ ช่วยส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยได้เป็นอย่างดี


42 บทที่ 3 วิธีด ำเนินกำรวิจัย การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมประกอบอาหารโดยมีหัวข้อในการด าเนินการวิจัย ดังนี้ ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง 1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิงที่มีอายุระหว่าง 4 - 5 ปี ที่ก าลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาลอุดรธานีส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จ านวน 9 ห้องเรียน จ านวน 270 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น เด็กชาย – หญิง อายุ 4 – 5 ปี ที่ก าลัง ศึกษาในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 30 คน โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ซึ ่งได้มาจากการสุ่ม ตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม ( Cluster random sampling) มา 1 ห้องเรียน แบบแผนกำรทดลอง การศึกษาครั้งนี้ใช้แผนการทดลองกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการจัดกิจกรรมประกอบ อาหาร (One Group Pretest – Posttest Design) ดังตารางที่ 1


43 ตำรำงที่ 1 แบบแผนกำรทดลอง สอบก่อน ทดลอง สอบหลัง T1 X T2 สัญลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนการทดลอง T1 แทน การทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ก่อนการทดลอง X แทน การจัดกิจกรรมประกอบอาหาร T2 แทน การทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 1. ประเภทเครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ท าการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากการส ารวจ ข้อมูลเบื้องต้นและสร้างเครื่องมือที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ได้เครื่องมือในการวิจัย ดังนี้ 1.1 แผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร จ านวน 8 แผน แผนละ 50 นาที สัปดาห์ละ 1 แผน รวม 8 สัปดาห์ 1.2 แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 2. กำรสร้ำงและพัฒนำเครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย 2.1 แผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ผู้วิจัยได้ด าเนินการสร้างและพัฒนา ดังนี้ 2.1.1 ศึกษาข้อมูลและการค้นคว้าเอกสาร ต ารา วารสาร บทความและงานวิจัย ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมประกอบอาหารและทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 2.1.2 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ของส านักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และแนวทางการจัดประสบการณ์การเรียน รูวิทยาศาสตร์ปฐมวัยจากสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อน ามาเป็นแนวทาง ในการเขียนแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหารเพื่อสงเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของ เด็กปฐมวัย


44 2.1.3 ศึกษาแนวการเขียนแผน การจัดประสบการณ์และตัวอย ่างการเขียน แผนการจัดประสบการณ์ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560 และเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.1.4 สร้างแผนการจัดกิจกรรมการประกอบอาหารของเด็กปฐมวัย จ านวน 8 แผน ใช้ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม จ านวน 8 สัปดาห์ โดยจัดกิจกรรมสัปดาห์ละ 1 แผน โดยมี รายละเอียดการจัดกิจกรรมและขั้นตอนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ดังต่อไปนี้ ขั้นกำรเตรียมกำร คือ การให้ความรู้เกี ่ยวกับส ่วนผสมและอุปกรณ์ที ่ใช้ในการ ประกอบอาหาร โดยครูและเด็กร ่วมสนทนา ตอบค าถาม และอภิปราย เกี ่ยวกับส ่วนผสม ประกอบการ สอดแทรกทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ขั้นสำธิต คือ การจัดประสบการณ์ที่ให้เด็กได้เรียนรู้กระบวนการประกอบอาหาร อย่างเป็นขั้นตอน โดยครูจัดแสดงขั้นตอนการประกอบอาหารและวิธีการวัด ให้เด็กสังเกตจากการ ปฏิบัติจริงเพื่อบอกการเปลี่ยนแปลงของส่วนผสม และสามารถบอกขั้นตอนวิธีการสาธิตการประกอบ อาหารได้ จากนั้นให้เด็กดัดแปลงส่วนผสมของอาหารจากขั้นตอนที่ครูสาธิต ขั้นปฏิบัติกำรและสรุป คือ การให้เด็กลงมือปฏิบัติในการประกอบอาหารตามกลุ่ม ที่แบ่งไว้และตามส่วนผสมที่ได้วางแผนไว้โดยครูสังเกตการปฏิบัติของเด็กแต่ละกลุ่มอย่างทั่วถึง และ ให้เด็กสังเกต โดยครูใช้ค าถามกระตุ้นเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของ อาหารในขั้นตอนการประกอบอาหาร ซึ่งเด็กจะได้ค าตอบจากการลงมือปฏิบัติการประกอบอาหาร ประกอบการสอดแทรกทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน 2.1.5 น าแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหารเสนอต ่ออาจารย์ที ่ปรึกษา เพื่อ ปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของแผนการสอน 2.1.6 น าแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร มาปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของ อาจารย์ที่ปรึกษาด้านเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของแผนการสอน 2.1.7 น าแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหารที่ผ่านการตรวจสอบปรับปรุงจาก อาจารย์ที่ปรึกษาแล้วเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญจ านวน 3 ท่าน เพื่อพิจารณาแก้ไข และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของจุดประสงค์ของแผนการสอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงให้เหมาะสม 2.1.8 น าแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร มาปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของ ที่ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบความสอดคล้องของจุดประสงค์ของแผนการสอน เพื่อปรับปรุงให้เหมาะสม


45 2.1.9 น าแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหารที่ได้รับการปรับปรุงแล้วไปใช้จริงกับ นักเรียนระดับปฐมวัย จ านวน 30 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 2.2 แบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัย ซึ่งมีวิธีการสร้าง เครื่องมือ ดังนี้ 2.2.1 ศึกษารูปแบบและวิธีการสร้างแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปีจากต าราและเอกสารทางวิชาการ 2.2.2 สร้างแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปี เพื่อประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 3 ด้าน ดังนี้ 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการจ าแนก 3. ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล 2.2.3 น าแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปี เสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของแผนการสอน และการ ประเมินผล 2.2.4 น าแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปี มาปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของอาจารย์ที่ปรึกษาด้านเนื้อหาให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของ แผนการสอน และการประเมินผล 2.2.5 น าแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปี ที ่ผ ่านมาตรวจสอบปรับปรุงจากอาจารย์ที ่ปรึกษาแล้วเสนอต ่อผู้เชี ่ยวชาญจ านวน 3 ท ่าน เพื่อ พิจารณาแก้ไข และให้ข้อเสนอแนะ เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของจุดประสงค์ของแผนการสอน และการประเมินผล เพื่อตรวจสอบพิจารณาลงความเห็นและใหคะแนน ดังนี้ +1 หมายถึง มีความสอดคลอง 0 หมายถึง ไม่แน่ใจในความสอดคล้อง -1 หมายถึง ไม่มีความสอดคลอง


46 แลวน าคะแนนที่ได้มาหาค่าดัชนีความสอดคลองระหว่างขอค าถาม จุดประสงคกับพฤติกรรม มากกวา หรือเทากับ 0.5 จึงถือวาใช้ได้(พวงรัตน ทวีรัตน, 2543) 2.2.7 น าแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปี มาปรับปรุงแก้ไขตามค าแนะน าของที ่ผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบความสอดคล้องของจุดประสงค์ของ แผนการสอน และการประเมินผล เพื่อพิจารณาปรับปรุงให้เหมาะสม 2.2.8 น าแบบประเมินทักษะทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กอายุ 4 – 5 ปี ได้รับการปรับปรุงแล้วไปใช้จริงกับนักเรียนระดับปฐมวัย จ านวน 30 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยด าเนินการในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1. น าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ด าเนินการสังเกตก่อนการท า กิจกรรม 2. ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร จ านวน 8 แผน เป็น เวลา 8 สัปดาห์ 3. หลังจากด าเนินการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ครบตามก าหนดในแผนการจัดกิจกรรม แล้วผู้วิจัยน าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยฉบับเดิมมาสังเกตเด็ก อีกครั้งหลังการท ากิจกรรม กำรวิเครำะห์ข้อมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลที ่ได้จากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัย โดยน าข้อมูลไปหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบนเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) แล้วน าคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาเปรียบเทียบกันระหว่างก่อนและหลังการทดลองโดยการใช้การ ทดสอบทีแบบไม่อิสระ (t-test for Dependent Sample)


47 2. วิเคราะห์ข้อมูลที ่ได้จากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัยโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและร้อยละ แล้วน าคะแนนเฉลี่ยที่ได้แปลความหมาย กับเกณฑ์ตามแนวทางของ บุญชม ศรีสะอาด (2545: 63-70) มาประยุกต์ โดยก าหนดเกณฑ์ในการ แปลความหมาย ดังนี้ ค่าเฉลี่ย 2.51-3.00 หมายถึง มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในระดับดี ค่าเฉลี่ย 1.51-2.50 หมายถึง มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ระดับ พอใช้ ค่าเฉลี่ย 1.00-1.50 หมายถึง มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในระดับ ปรับปรุง สถิติที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยใช้สถิติ ดังนี้ 1. สถิติที่ใช้ในการหาคุณภาพของเครื่องมือ ดังนี้ 1 .1 คะแนนเฉลี ่ย (Mean) โดยค านวณจ ากสูต ร (ล้วน ส ายยศ และ อังคณา สายยศ. 2538 : 59 – 73) ดังนี้ = เมื่อ แทน คะแนนเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด แทน จ านวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง


48 1.2 หาค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) โดยค านวณจากสูตร (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2538 : 79) ดังนี้ S = ( 1) 2 2 − − N N N X X เมื่อ S แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมด 2 แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัวยกก าลังสอง 2. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการบรรยายข้อมูล 2.1 ค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของประเมินโดยการหา ค่าดัชนีความสอดคลอง ระหว่างขอค าถามจุดประสงคและพฤติกรรม โดยค านวณจากสูตร (บุญเชิด ภิญโญอนันตพงษ์. 2545 : 45) ดังนี้ R IOC N = เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างแบบประเมินแต่ละข้อกับ จุดประสงค์ R แทน ผลรวมของคะแนนจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละข้อ N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 2.2 การหาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบประเมินโดยใชสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha coefficient) ของ Cronbach


49 บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล สัญลักษณ์ที่ใช้ในกำรวิเครำะห์ข้อมูล เพื ่อให้การวิเคราะห์ข้อมูลและการแปลความหมายจากการวิเคราะห์ข้อมูลได้จากการ ทดลองเป็นที่เข้าใจตรงกัน ผู้วิจัยก าหนดสัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ N แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มทดลอง แทน ค่าเฉลี่ย S.D. แทน ความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน t แทน ค่าสถิติที่ใช้พิจารณาในการแจกแจงแบบ t - distribution * แทน มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล 1. วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัยด้วยการหาค ่าเฉลี ่ย และส ่วนเบี ่ยงเบนมาตรฐาน น าคะแนนจากแบบประเมินหลังการจัด กิจกรรมมาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ ร้อยละ 80 ตารางที่ 2 คะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ของคะแนนทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ทักษะกระบวนกำร ทำงวิทยำศำสตร์ เต็ม ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง S.D. % S.D. % ทักษะกำรสังเกต 10 3.03 1.25 30.3 9.67 1.83 96.7 ทักษะกำรจ ำแนก 10 2.37 1.81 23.7 9.67 1.83 96.7 ทักษะกำรสื่อ ควำมหมำยข้อมูล 10 1.23 1.14 12.3 9.67 1.83 96.7 ภำพรวม 30 6.63 3.18 22.1 22.93 5.41 96.7 ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ 2 ปรากฏว่า ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัยก่อนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย 6.63 เท่ากับคิดเป็นร้อยละ 22.1 โดยค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทักษะการสังเกต ค่าเฉลี่ย 3.03 เท่ากับคิดเป็น ร้อยละ 30.3


50 รองลงมา คือ ทักษะการจ าแนก ค่าเฉลี่ย 2.37 เท่ากับคิดเป็น ร้อยละ 23.7 และค่าเฉลี่ยที่ต ่าที่สุด คือ ทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ค่าเฉลี่ย 1.23 เท่ากับคิดเป็น ร้อยละ 12.3 หลังการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร คะแนนทักษะทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ เด็กปฐมวัย ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 22.93 คิดเป็นร้อยละ 96.7 โดยมีค่าเฉลี่ย ที่เท่ากัน คือ ทักษะการสังเกต ทักษะการจ าแนกและทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ทั้งสามทักษะมี ค่าเฉลี่ย 9.67 เท่ากับคิดเป็น ร้อยละ 96.7 ตารางที่ 3 คะแนนค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ของคะแนนหลังการจัดกิจกรรมประกอบอาหารกับเกณฑ์ร้อยละ 80 คะแนนเต็ม ค่ำเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมำตรฐำน ร้อยละ 30 22.93 5.41 96.7 ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่ 3 ปรากฏว่า หลังการจัดกิจกรรมประกอบอาหารของเด็ก ปฐมวัยมีคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์โดยเฉลี่ยเท่ากับ 22.93 คิดเป็นร้อยละ 96.7 ซึ่ง ไม่ต ่ากว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ 2. น าคะแนนที่ได้จากการทดสอบมาเปรียบเทียบกันระหว่างก่อนและหลังการทดลอง โดย การใช้การทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ (t-test Dependent Sample) ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 คะแนนค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ย ของคะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก ่อนและหลังการจัดกิจกรรม ประกอบอาหาร ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง t S.D. S.D. ทักษะการสังเกต 3.03 1.25 9.67 1.83 21.74* ทักษะการจ าแนก 2.37 1.81 9.67 1.83 17.92* ทักษะการสื่อ ความหมายข้อมูล 1.23 1.14 9.67 1.83 23.79* ภาพรวม 6.63 3.18 22.93 5.41 23.34* **มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิเคราะห์ตามตารางที่4 ปรากฏว่า หลังการจัดกิจกรรมประกอบอาหารโดยรวมสูง กว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทักษะ


51 การสังเกต ทักษะการจ าแนกและทักษะการสื่อความหมายข้อมูลหลังสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่า การจัดกิจกรรมโดยใช้การประกอบอาหารสามารถส่งเสริม พัฒนาการทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้


52 บทที่5 สรุปผล อภิปรำย และข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมประกอบอาหาร ทั้งนี้เพื่อเป็นประโยชน์และเป็นแนวทางส าหรับครู ผู้ปกครอง และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาในระดับปฐมวัย ในการพิจารณาเลือกกิจกรรมที่จะ ช่วยส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ส าหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างเหมาะสม ซึ่งล าดับขั้นตอน ของการวิจัยและผลงานของการวิจัย โดยสรุปดังนี้ วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับ การจัดกิจกรรมประกอบอาหาร สมมติฐำนของกำรวิจัย เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมประกอบอาหารมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หลังการจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรม ขอบเขตของกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีขอบเขตของการวิจัย ดังนี้ 1. ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัยชาย-หญิงที่มีอายุระหว่าง 4 - 5 ปี ที่ก าลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาล 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 จ านวน 9 ห้องเรียน จ านวน 270 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็น เด็กชาย – หญิง อายุ 4 – 5 ปี ที่ก าลัง ศึกษาในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จ านวน 30 คน โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที ่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1 ซึ ่งได้มาจากการสุ่ม ตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม ( Cluster random sampling) มา 1 ห้องเรียน


53 เครื่องมือที่ใช้ในกำรวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีดังนี้ 1. แผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร จ านวน 8 แผน 2. แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย จ านวน 15 ข้อ ดังนี้ 2.1 ด้านทักษะการสังเกต 5 ข้อ 2.2 ด้านทักษะการจ าแนก 5 ข้อ 2.3 ด้านทักษะการสื่อความหมายข้อมูล 5 ข้อ กำรหำคุณภำพเครื่องมือ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด าเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1. น าแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ที่ได้ผ่านการ วิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไขแล้วน าไปด าเนินการทดสอบก่อนการจัดกิจกรรม 2. ด าเนินการจัดกิจกรรมตามแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร จ านวน 8 หน่วย หน่วย ละ 1 แผน รวม 8 แผน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ 3. หลังจากการด าเนินการทดลองการจัดกิจกรรมประกอบอาหารครบตามก าหนดใน แผนการจัดกิจกรรมแล้ว ผู้วิจัยน าแบบทดสอบความสามารถในด้านทักษะการสังเกต ด้านทักษะการ จ าแนกและด้านทักษะการสื่อความหมายข้อมูล 4. น าคะแนนไปวิเคราะห์ กำรวิเครำะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เสนอการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ข้อมูลที ่ได้จากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัย โดยน าข้อมูลไปหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน (Standard deviation) 2. น าคะแนนที่ได้จากการประเมินมาเปรียบเทียบกันระหว่างก่อนและหลังการทดลอง โดยการใช้การทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระ (t-test Dependent Sample)


54 สรุปผลกำรวิจัย เด็กปฐมวัยที ่ได้รับการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร มีความสามารถในด้านทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรมสูงกว ่าก ่อนการจัดกิจกรรม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อภิปรำยผลกำรวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายศึกษาและเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ เด็กปฐมวัยก่อนและหลังการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ผลการวิจัย พบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมประกอบอาหารมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรม สูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยส าคัญทาง สถิติที ่ระดับ .05 ซึ ่งสามารถอภิปรายได้ว ่า การจัดกิจกรรมประกอบอาหารช่วยส ่งเสริมทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้ เนื่องมาจากแผนการจัดกิจกรรมทั้ง 8 แผน ได้ผ่านการตรวจสอบ จากผู้เชี่ยวชาญ และได้น าไปทดลองใช้เพื่อหาคุณภาพที่เหมาะสม ดังนั้น กิจกรรมตามแผนการจัด กิจกรรมประกอบอาหาร จึงสามารถน ามาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งในขั้นการสอนนั้นครูได้จัดกิจกรรมประกอบ อาหารพร้อมทั้งกระตุ้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยคือ ด้านทักษะการสังเกต ด้านทักษะการจ าแนกและด้านทักษะการสื ่อความหมายข้อมูล โดยใช้การประกอบอาหารพร้อม ค าถามระหว่างเด็กท ากิจกรรม เพื่อให้เด็กได้ทบทวน เกี่ยวกับการสังเกต การจ าแนก และการสื่อ ความหมายข้อมูล โดยในแต ่ละสัปดาห์เด็กจะได้ท ากิจกรรมที ่ช ่วยพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ด้านทักษะการสังเกต ด้านทักษะการจ าแนกและด้านทักษะการสื่อความหมายข้อมูล ตลอดระยะเวลาที่ด าเนินการทดลอง โดยการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร ได้แนวคิดมาจาก (นุจรีย์ บูรณศิล, 2563) ที่ได้ท าการศึกษาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการประกอบ อาหาร เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเป็น นักเรียนชาย - หญิง อายุระหว่าง 5 – 6 ปี จ านวน 25 คน ผลการวิจัยพบว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการประกอบอาหาร มีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ หลังการจัดประสบการณ์สูงกว ่าก ่อนการจัดประสบการณ์อย ่างมีนัยส าคัญทางสถิติที ่ระดับ .01 (ปริญญา ภูหวล, 2563) ที่ได้ท าการศึกษาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื ่อพัฒนาทักษะทาง วิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยโดยใช้ 20 กิจกรรม โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2-3 จ านวน 11 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง ผลการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย โดยใช้ 20 กิจกรรม


55 โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย พบว่า โดยรวม เด็กปฐมวัยมี ทักษะทางวิทยาศาสตร์ สูงขึ้น เท่ากับ 12.10 (t=16.48, p=0.00) (สวาท สมะวรรธนะ, 2565) ที่ได้ท าการศึกษาระดับทักษะ ทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ด้านทักษะการสังเกต ทักษะการจ าแนก และทักษะการสื ่อสาร หลังการจัดประสบการณ์ด้วยกระบวนกาวิจัย กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนวัดโบสถ์ อ าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก จ านวน 20 คน เครื ่องมือที ่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดประสบการณ์ด้วยกระบวนการวิจัย และแบบทดสอบวัด ความสามารถด้านทักษะทางวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัยพบว ่า 1. เด็กปฐมวัยที ่ได้รับการจัด ประสบการณ์ด้วยกระบวนการวิจัยมีทักษะทางวิทยาศาสตร์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กปฐมวัยหลังได้รับการจัดประสบการณ์กระบวนการวิจัยมี ทักษะทางวิทยาศาสตร์ รายด้านดังนี้2.1 ด้านการสังเกต 2.2 ด้านการจ าแนกและ2.3 ด้านการสื่อสาร พบว่าหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 (ณัชชา แจ่มดี , 2565) ที่ได้ท าการศึกษาเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 – 3 ก ่อนและหลังการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ กลุ ่มประชากรได้แก ่ เด็กปฐมวัยอายุ 4 – 5 ปี จ านวน 4 คน ที่ก าลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 – 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ผลการวิจัยใน ชั้นเรียนพบว่า การส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรมการทดลอง วิทยาศาสตร์โดยภาพรวมคะแนนร้อยละความก้าวหน้าของนักเรียนเพิ่มขึ้นทุกคนเมื่อเปรียบเทียบทั้ง ชั้นเรียนพบว่าคะแนนร้อยละความก้าวหน้าทั้งชั้นเรียนเท่ากับ 25 ข้อเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ และข้อเสนอแนะในการจัดท า วิจัยครั้งต่อไป 1. ข้อเสนอแนะในกำรน ำผลกำรวิจัยไปใช้ 1.1ครูควรมีบทบาทในการดูแลช่วยเหลือ ให้ค าแนะน าเมื่อเด็กต้องการ และถ้าเด็กมีปัญหาระหว่างท ากิจกรรมครูต้องให้ความช่วยเหลือเด็ก 1.2 ในการจัดกิจกรรมประกอบอาหารเป็นการท ากิจกรรมที่ได้ปฏิบัติจริงควรใช้วัตถุดิบ ที่หาง่ายในท้องถิ่น 1.3 ควรมีครูพอดีกับจ านวนเด็กเพื่อดูแลเด็กได้อย่างทั่วถึง 1.4 ควรมีเวลาที่เพียงพอที่ใช้ในการจัดกิจกรรม


56 2. ข้อเสนอแนะในกำรท ำวิจัยครั้งต่อไป 2.1ควรมีการจัดกิจกรรมเพื ่อพัฒนาทักษะด้านอื ่น ๆ อีก เช ่น พัฒนาด้านร ่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคมและสติปัญญา 2.2 ควรมีการจัดกิจกรรมประกอบอาหารที่ใช้วัตถุดิบที่มีในท้องถิ ่นเพื ่อพัฒนาด้าน ความคิดสร้างสรรค์ 2.3 ควรมีการจัดกิจกรรมอื่น ๆ เช่น การจัดกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร์ เป็น ต้น ที่มีการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์


57 เอกสำรอ้ำงอิง


58 เอกสำรอ้ำงอิง กรมวิชาการ. (2546). หลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัย พุทธศักรำช 2546. กรุงเทพฯ : คุรุสภา. กัญญารัตน์ ชูเกลี้ยง. (2560). กำรพัฒนำทักษะสมองเพื่อชีวิตที่ส ำเร็จ (EF) ส ำหรับเด็กปฐมวัย โดยผ่ำนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษำ เรื่อง กำรประกอบอำหำรประเภท ขนมไทยพื้นเมือง 4 ภำค. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยสวนดุสิต. กาญจนา เกียรติประวัติ. (ม.ป.ป.). วิธีสอนทั่วไปและทักษะกำรสอน. ภาควิชาหลักสูตรและการ สอน คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กาญจนา สิงหเรศร. (2551). ผลของกำรจัดกิจกรรมประกอบอำหำรแบบรวมมือที่มีตอพฤติกรรม ทำงสังคมของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2542). กำรเลี้ยงดูลูกเด็กวัยก่อนเรียน : 3-5 ขวบ. กรุงเทพฯ : โชติสุขการพิมพ. _____. (2547ก). กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรูส ำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : เอดิสันเพรสโปรดักส. จงกล ค ามี. (2547). เด็กปฐมวัยกับทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์. ในเอกสารประกอบการ สอนโปรแกรมวิชาการศึกษาปฐมวัย. เลย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเลยคณะครุศาสตร์. ชนกพร ธีระกุล. (2542). ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับกำรจัดศิลปะ สร้ำงสรรค์แบบเน้นกระบวนกำร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร.


59 ชมพูนุท จันทรางกูร. (2549). ทักษะพื้นฐำนทำงคณิตศำสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับกำรจัด กิจกรรมประกอบอำหำรประเภทขนมไทย. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต (การศึกษา ปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถายเอกสาร. ณัชชา แจ่มดี. (2565). กำรส่งเสริมทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยใช้กิจกรรม กำรทดลองวิทยำศำสตร์. พิจิตร. ณัฐชุดา สาครเจริญ. (2548). กำรพัฒนำกระบวนกำรวิทยำศำสตร์พื้นฐำนของเด็กปฐมวัยโดยกำร ใช้รูปแบบกิจกรรมศิลปะสร้ำงสรรค์เพื่อกำรเรียนรู้. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต (สาขาการศึกษาปฐมวัย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ดารารัตน์ อุทัยพยัคฆ์. (2555). ประโยชน์ของกำรประกอบอำหำรในเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก http://daratim54.blogspot.com/2012/04/blog-post_08.html ทัศนีย์ ประธาน และคณะ. (2549). กำรสร้ำงชุดกำรสอนเพื่อฝึกทักษะกระบวนกำรทำง วิทยำศำสตร์ในระดับก่อนประถมศึกษำถึงอุดมศึกษำ. สงขลา : สถาบันราชภัฏสงขลา. ธงชัย ชิวปรีชาและทวีศักดิ์จินดานุรักษ. (2539). หนวยที่ 3 ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร2 ในเอกสำรกำรสอนชุดวิชำวิทยำศำสตร 3 : แนวคิดทางวิทยาศาสตร์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นิตยา ประพฤติกิจ. (2539). กำรพัฒนำเด็กปฐมวัย Developing Young Children. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. นุจรีย์ บูรณศิล. (2563). กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมกำรประกอบอำหำร เพื่อพัฒนำทักษะพื้นฐำนทำงวิทยำศำสตร์ของเด็กปฐมวัย. ภูเก็ต. บัญญัติ ช านาญกิจ. (2542). กระบวนกำรแสวงหำควำมรู้ทำงวิทยำศำสตร์. นครสวรรค์: ภาควิชา หลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร์สถาบันราชภัฏนครสวรรค์.


60 บุญประจักษ วงษมงคล. (2536). กำรศึกษำผลกำรจัดประสบกำรณแนวปฏิบัติกำรทดลอง ประกอบอำหำรและกำรจัดประสบกำรณแบบทั่วไปที่มีตอทักษะพื้นฐำนทำงคณิตศำสตร ของเด็กปฐมวัยที่มีควำมหมำยทำงสติปญญำแตกตำงกัน. ปริญญานิพนธกศ.บ. (การศึกษา ปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดส าเนา. ประสาท เนืองเฉลิม. (2545). ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตรปฐมวัยศึกษำ. วารสารการศึกษา ปฐมวัย. ปริญญา ภูหวล. (2563). กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำทักษะทำงวิทยำศำสตร์ของ เด็กปฐมวัยโดยใช้ 20 กิจกรรม โครงกำรบ้ำนนักวิทยำศำสตร์น้อย ประเทศไทย. กาฬสินธุ์. ปวีณา (นามแฝง). (2539). “งำน Cooking ของเด็กอนุบำล” รักลูก. ปยนันท แซจิว. (2550). ควำมชอบบริโภคผักของเด็กปฐมวัยทที่ไดรับกำรจัดประสบกำรณกำร ประกอบอำหำร. วิทยานิพนธ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย. มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ผ่องฉวี มณีรัตนพันธุ์. (2550). ทักษะกระบวนกำรวิทยำศำสตร์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://www.gotoknow.org/posts/200205 พร พันธุโอสถ. (2543). กำรเรียนรูของเด็กปฐมวัยไทยตำมแนวคิดวอลดอร์ฟ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์. พัชรี ผลโยธิน. (2544). เรียนรู้วิทยำศำสตร์อย่ำงไรในอนุบำล. วารสารเพื่อนอนุบาล. พัฒนา ชัชพงศ์. (2539). กำรสอนวิทยำศำสตร์เด็กอนุบำล : เอกสารประกอบการอบรมเชิง ปฏิบัติการ กรุงเทพฯ : ม.ป.พ. พัณณิตา ไชยสุวรรณ์. (2560). กำรพัฒนำพฤติกรรมกำรรับประทำนผักของนักเรียนชั้นอนุบำลปี ที่ 1/1 โรงเรียนเซนฟรังงซีสซำเวียร์คอนแวนต์ โดยใช้กิจกรรมกำรประกอบอำหำรร่วมกับ


61 กำรใช้แรงเสริมทำงบวก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิมพ์ธิวา วงค์ชมภู. (2562). กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเพื่อ พัฒนำทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ของเด็กปฐมวัย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : เชียงใหม่ พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2545). กำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส ำคัญ. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนา คุณภาพวิชาการ (พว) ภพ เลาหไพบูลย์. (2544). กำรพัฒนำทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนา พานิช. ยุพา วีระไวทยะและปรีชา นพคุณ. (2544). กำรสอนวิทยำศำสตร์แบบมืออำชีพ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิสดศรี – สฤษดิ์วงศ. เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). กำรจัดกำรศึกษำส ำหรับเด็กปฐมวัย. กรงเทพฯ : บริษัท ส านักพิมพ์ แม็ค จ ากัด. รุจิระ สุภรณ์ไพบูลย์. (2541). กำรส่งเสริมทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์และเทคนิคและ วิธีกำรสอนในระดับประถมศึกษำ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์. ล าดวล ปั่นสันเทียะ. (2545). ผลกำรจัดประสบกำรณ์แบบโครงกำรที่มีต่อทักษะกระบวนกำร วิทยำศำสตร์ส ำหรับเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาการศึกษา ปฐมวัย) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วนิดา บุษยะกนิษฐ์. (2532). ผลของกำรจัดประสบกำรณ์แบบปฏิบัติกำรกับแบบปกติที่มีต่อ ทักษะกำรเปรียบเทียบของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต (การศึกษา ปฐมวัย). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.


62 วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2544). กำรสอนวิทยำศำสตร์ที่เน้นกระบวนกำร (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ. วรรณทิพา รอดแรงคาและ พิมพันธเดชะคุปต. (2542). กำรพัฒนำกำรคิดของครูดวยกิจกรรม ทักษะกระบวน กำรทำงวิทยำศำสตร. กรุงเทพฯ : เดอะมาสเตอรกรุปแมเนจเมนท. วัชรีย์ ร่วมคิด. (2547). กำรพัฒนำหลักสูตรกำรศึกษำปฐมวัยในประเทศไทย. เลย : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2542). กำรวิเครำะห์งำนวิจัยทำงกำรศึกษำปฐมวัย. สกลนคร : คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏสกลนคร. _______. (2551). วิธีวิทยำกำรวิจัย. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น วิชชุดา งามอักษร. (2541). กำรศึกษำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำวิทยำศำสตร ทักษะ กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตรขั้นบูรณำกำรและควำมสำมำรถในกำรคิดอยำงมีเหตุผลของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 โดยกำรสอนแบบเอสซีกับกำรสอนตำมคูมือครู. ปริญญานิพนธกศ.ม. (การมัธยมศึกษา). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. วิไลพร พงษศรีทัศน. (2533). ผลของกำรจัดประสบกำรณแบบปฏิบัติกำรทำงวิทยำศำสตรของ เด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์กศ.ม. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อัดส าเนา. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2551). กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้ตำม แนวสะเต็มศึกษำในระดับกำรศึกษำปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). กรอบ กำรเรียนรู้และแนวทำงกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้บูรณำกำรวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี


63 และคณิตศำสตร์ในระดับปฐมวัย. กรงเทพฯ : บริษัท โกโกพริ้นท์ (ไทยแลนด์) จ ากัด. สนอง สุทธาอามาตย. (2545). ควำมสำมำรถดำนกำรฟังและกำรพูดของเด็กปฐมวัยที่ได้รับกำร จัดกิจกรรมเสริมประสบกำรณโดยกำรประกอบอำหำร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สรวงพร กุศลส่ง. (2553). เอกสำรค ำสอนชุดวิชำวิทยำศำสตร์ส ำหรับเด็กปฐมวัย. เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. สรศักดิ์ แพรด า. (2544). ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์. อุบลราชธานี : สถาบันราชภัฏ อุบลราชธานี. สวาท สมะวรรธนะ. (2565). กำรจัดประสบกำรณ์ด้วยกระบวนกำรวิจัย เพื่อพัฒนำทักษะ กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ส ำหรับเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/withayajarnjournal/article/view/246429 ส านักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน. (2535). คูมืออบรมกิจกรรมสงเสริมพัฒนำกำรเด็กอนุบำล (กิจกรรมในวงกลม). กรุงเทพฯ : หนวยศึกษานิเทศกส านักงานฯ. ส านวน ตาละลักษณ์. (2547). กำรพัฒนำชุดกิจกรรมฝึกทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ส ำหรับเด็กปฐมวัย จังหวัดเพชรบุรี. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2545). ศิลปะส ำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : โปรแกรมวิชาศึกษา ปฐมวัย คณะครุศสตรสถาบันราชภัฏสวนดุสิต. สุวีริยาสาสน. สิริมา สิงหผลิน. (2533). ทักษะกำรหำมิติสัมพันธ์และทักษะกำรลงควำมเห็นของเด็กปฐมวัยที่ ได้รับกำรจัดประสบกำรณ์แบบปฏิบัติกำรทดลองและแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.


64 สุดารัตน เปรมชื่น. (2551). ผลของกำรจัดกิจกรรมกำรประกอบอำหำรตำมแนวคิด คอนสตรัคติวิสตที่มีตอทักษะทำงวิทยำศำสตรขั้นพื้นฐำนด้ำนกำรจ ำแนกของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการปฐมวัยศึกษา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. สุนิสา สีมาวงษ์. (2562). ผลกำรจัดกิจกรรมประกอบอำหำรที่มีต่อควำมคิดสร้ำงสรรค์ของเด็ก ปฐมวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สุนีย เหมะประสิทธิ์. (2543). เอกสำรค ำสอน ปถ.421 วิทยำศำสตร์ส ำหรับครูประถมศึกษำ. กรุงเทพฯ : ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุภาวดี โสภาวัจน์. (2561). ผลของกำรจัดกิจกรรมประกอบอำหำรโดยใช้กระบวนกำรสืบเสำะหำ ควำมรู้เพื่อส่งเสริมควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำของเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สุมน อมรวิวัฒน์. (2531). สมบัติทิพย์ของกำรศึกษำไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สุรางค สากร. (2537). พฤติกรรมกำรสอนกลุมสรำงเสริมประสบกำรณชีวิต. กรุงเทพฯ : ภาควิชา หลักสูตรและการสอนคณะครุศาสตรสถาบันราชภัฎจันทรเกษม. สุรีย์ สุธาสิโนบล. (2541). กำรศึกษำผลกำรจัดกิจกรรมค่ำยเทคโนโลยีด้ำนพลังงำนจำกดวง อำทิตย์ส ำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 ที่มีต่อทักษะกระบวนกำรทำง วิทยำศำสตร์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาการศึกษามัธยมศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุวัฒก นิยมคา. (2531). ทฤษฎีและทำงปฏิบัติในกำรสอนวิทยำศำสตรแบบสืบเสำะหำควำมรู เล่ม 1. กรุงเทพฯ : เจเนอรัลบรุคสเซนเตอร์.


65 เสาวคนธ์ สาเอี่ยม. (2537). กำรศึกษำควำมสำมำรถในกำรจ ำแนกประเภทของเด็ก ปฐมวัยที่ ผู้ปกครองใช้, ชุดส่งเสริมควำมรู้แก่ผู้ปกครอง “ให้เวลำสักนิด ใกล้ชิด ลูกรัก”. วิทยานิพนธ์ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต (สาขาการศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร หัสชัย สิทธิรักษ์. (2550). ทักษะกระบวนกำรกับกำรเรียนกำรสอนวิทยำศำสตร์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://www.gotoknow.org/posts/165514 อัญชลี ไสยวรรณ. (2531). กำรศึกษำเปรียบเทียบผลของกำรจัดประสบกำรณ์แบปฏิบัติกำรแบบ ปฏิบัติกำรทดลองกับแบบผสมผสำนที่มีต่อทักษะกระบวนกำร ทำงวิทยำศำสตร์ของเด็ก ปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. Aksorn. (ม.ป.ป.). ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://www.aksorn.com/science-skills Banruknursery. (ม.ป.ป.). Cooking. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://www.banruk-nursery.com/17601657/cooking Fenny Roshayanti. (2019). IMPLEMENTATION OF STEAM (Science Technology Engineering Art Mathematics) - BASED EARLY CHILDHOOD EDUCATION LEARNING IN SEMARANG CITY, from http://journal.ikipsiliwangi.ac.id/index.php/ceria/index Heather White. (2023, 14 August). Children in the Kitchen: 8 Tips for Cooking with Your Child, from https://amshq.org/Blog/2023-08-14-8-Tips-for-Cooking-withHope K. Gerde, (2017). Early Childhood Educators’ Self-Efficacy in Science, Math, and Literacy Instruction and Science Practice in the Classroom, from https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/10409289.2017.1360127


66 Jackman, H.L. 1997. Early Education Curriculum: A Child’s Connection to the word. Albany. NY: Delmer. Krusmart. (2560). ทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ 14 ทักษะ รำยละเอียด 14 ทักษะ กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ในศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จากhttp://www.krusmart.com/science-process-skill/ Laksana Kachaban. (2564). ทักษะทำงวิทยำศำสตร์ 14 ทักษะ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 วิชำ วิทยำศำสตร์. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://blog.startdee.com/ NGThai. (2565). กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ ช่วยให้เรำทุกคนมีควำมสำมำรถในกำร แก้ปัญหำได้อย่ำงเป็นระบบและมีประสิทธิภำพ. สืบค้นเมื่อ 17 กันยายน 2566 จาก https://ngthai.com/science/21673/scienctificprocessing/ Peter J.n. DEJONCKHEERE. (2016). Exploring the Classroom: Teaching Science in Early Childhood, from https://dergipark.org.tr/en/pub/eujer/issue/35124/389526?fbclid Ross A. Thompson. (2016). What More Has Been Learned? The Science of Early Childhood Development 15 Years After Neurons to Neighborhoods, from https://sedlpubs.faculty.ucdavis.edu/wp content/uploads/sites -/192/2018/10 S. Ehrenberg. (2019, 1 November). Using repeated exposure through hands-on cooking to increase children's preferences for fruits and vegetables, from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/ Xavier Allirot. (2016, 1 August). Involving children in cooking activities: A potential strategy for directing food choices toward novel foods containing vegetables, from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S019566631630160


67 Youngciety. (2561). กำรจัดกิจกรรมกำรประกอบอำหำร (Cooking) ส ำหรับเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อ 16 กันยายน 2566. จาก https://www.youngciety.com/article/learning/.


68 ภำคผนวก


69 ภำคผนวก ก รำยชื่อผู้เชี่ยวชำญตรวจเครื่องมือ


70 รำยชื่อผู้เชี่ยวชำญตรวจเครื่องมือ 1. นางมะลิวัลย์ ทองกุล ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 2. นางวันวิสาข์ ช านาญสาร ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา อุดรธานี เขต 1 3. นางสาวเอมอร เทียมสินสังวร ครูช านาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1


71 ภำคผนวก ข ดัชนีควำมสอดคล้อง (IOC) ของแผนกำรจัดกิจกรรมประกอบอำหำร


72 ตารางที่ 5 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแผนแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร แผนที่ แผนกำรจัด กิจกรรม หัวข้อที่ประเมิน คะแนนควำม คิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชำญ R IOC 1 2 3 1 ผลไม้แสนอร่อย 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 3. สาระการเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 +1 +1 +3 1 5. สื่อการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 +1 +3 1 2 ลอยกระทง 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 3. สาระการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 +1 +1 +3 1 5. สื่อการเรียนรู้ +1 +1 0 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 0 +2 0.67 3 วันชาติ 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1 3. สาระการเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 +1 +1 +3 1 5. สื่อการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 +1 +3 1


73 ตารางที่ 5 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแผนแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร (ต่อ) แผนที่ แผนกำรจัด กิจกรรม หัวข้อที่ประเมิน คะแนนควำม คิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชำญ R IOC 1 2 3 4 ดิน หิน ทราย 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 3. สาระการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 +1 +1 +3 1 5. สื่อการเรียนรู้ +1 +1 0 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 0 +2 0.67 5 ฤดูหนาว 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1 3. สาระการเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 +1 +1 +3 1 5. สื่อการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 0 +1 +2 0.67 6 สวัสดีปีใหม่ 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 3. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 +1 +1 +3 1 5. สื่อการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 +1 +3 1


74 ตารางที่ 5 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแผนแผนการจัดกิจกรรมประกอบอาหาร (ต่อ) แผนที่ แผนกำรจัด กิจกรรม หัวข้อที่ประเมิน คะแนนควำม คิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชำญ R IOC 1 2 3 7 วันเด็ก วันครู 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 3. สาระการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 0 +1 +2 0.67 5. สื่อการเรียนรู้ +1 +1 0 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 0 +2 0.67 8 เสียง 1. สาระส าคัญ +1 +1 +1 +3 1 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 0 +1 +1 +2 0.67 3. สาระการเรียนรู้ +1 +1 +1 +3 1 4. ขั้นตอนการด าเนินกิจกรรม +1 0 +1 +2 0.67 5. สื่อการเรียนรู้ +1 0 +1 +2 0.67 6. การวัดและประเมินผล +1 +1 +1 +3 1


75 ภำคผนวก ค ดัชนีควำมสอดคล้อง (IOC) ของแบบประเมินทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ของเด็กปฐมวัย


76 ตารางที่ 6 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัย หัวเรื่อง สื่อ/อุปกรณ์ ค ำถำม/สถำนกำรณ์ คะแนนควำม คิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชำญ R IOC 1 2 3 ทักษะ การ สังเกต - ส้ม/ ผักกาดขาว 1. สังเกตสี รูปร่างและขนาด โดยใช้ตา +1 +1 +1 +3 1 - ส้ม/ ผักกาดขาว 2. สังเกตและรับรู้กลิ่นโดยใช้ จมูก 0 +1 +1 +2 0.67 - ส้ม/ ผักกาดขาว 3. สังเกตผิวสัมผัสโดยใช้มือ +1 +1 +1 +3 1 - ส้ม/ ผักกาดขาว 4. สังเกตและรับรู้รสชาติโดยใช้ ลิ้น +1 0 +1 +2 0.67 - ส้ม/ ผักกาดขาว 5. สังเกตและรับรู้เสียงโดยใช้หู +1 +1 0 +2 0.67 ทักษะ การ จ าแนก - แตงโม/ แอปเปิล 2.1 จัดกลุ่มสิ่งที่มีสีคล้ายกัน +1 +1 +1 +3 1 - แครร์อต/หัว ไชเท้า 2.2 จัดกลุ่มสิ่งที่มีลักษณะรูปร่าง คล้ายกัน +1 0 +1 +2 0.67 - ดอกกุหลาบ/ ดอกมะลิ 2.3 จัดกลุ่มสิ่งที่มีกลิ่นเดียวกัน หรือคล้ายกัน 0 +1 +1 +2 0.67 - กะหล ่าดอก/ บรอกโคลี 2.4 จัดกลุ่มสิ่งที่มีผิวสัมผัส เหมือนกัน +1 +1 +1 +3 1 - ฝอยทอง/ ทองหยอด 2.5 จัดกลุ่มสิ่งที่มีรสชาติ เหมือนกัน +1 +1 0 +2 0.67


77 ตารางที่ 6 ดัชนีความสอดคล้อง (IOC) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัย (ต่อ) หัวเรื่อง สื่อ/อุปกรณ์ ค ำถำม/สถำนกำรณ์ คะแนนควำม คิดเห็นของ ผู้เชี่ยวชำญ R IOC 1 2 3 ทักษะการ สื่อ ความหมาย ข้อมูล - เมนูอาหาร ไข่ตุ๋นแฟนซี 1. เรียงล าดับวัสดุและอธิบาย ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม ประกอบอาหารไข่ตุ๋นแฟนซี +1 0 +1 +2 0.67 - เมนูอาหาร บัวลอยหลาก สี 2. เรียงล าดับวัสดุและอธิบาย ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม ประกอบอาหารบัวลอยหลากสี +1 +1 +1 +3 1 - เมนูอาหาร ไอติมเขย่า 3. เรียงล าดับวัสดุและอธิบาย ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม ประกอบอาหารไอติมเขย่า +1 +1 +1 +3 1 - เมนูอาหาร ข้าวโพดคลุก เนย 4. เรียงล าดับวัสดุและอธิบาย ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม ประกอบอาหารข้าวโพดคลุกเนย 0 +1 +1 +2 0.67 - เมนูอาหาร เกี๊ยวน ้าของ หนู ๆ 5. เรียงล าดับวัสดุและอธิบาย ขั้นตอนในการปฏิบัติกิจกรรม ประกอบอาหารเกี๊ยวน ้าของหนู ๆ +1 +1 +1 +3 1


78 ภำคผนวก ง แผนกำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมประกอบอำหำร


79 แผนกำรจัดกิจกรรมแผนกำรจัดกิจกรรมกำรประกอบอำหำร แผนที่ 1 หน่วย ผัก/ผลไม้แสนอร่อย สำระที่ควรเรียนรู้ เรื่องรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เมนูสลัดผักผลไม้ชั้นอนุบำลปีที่ 2/7 โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี วัน....จันทร์....ที่...6...เดือน…พฤศจิกำยน……พ.ศ. 2566 เวลำ 50 นำที ............................................................................................................................................... 1. จุดประสงค์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1. บอกชื่อของผักและผลไม้ได้ 2. บอกลักษณะของผักและผลไม้ได้ 3. จ าแนกประเภทผักและผลไม้ได้ 4. น าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารสลัดจากผักและผลไม้ได้ 2. สำระกำรเรียนรู้ 2.1 สำระที่ควรเรียนรู้ ผักและผลไม้เป็นอาหารที ่มีประโยชน์ มีลักษณะและชื ่อที ่เหมือนและแตกต ่างกันไป สามารถน าผักและผลไม้มารับประทานสดจากการท าอาหารสลัดผักได้ 2.2 ประสบกำณ์ส ำคัญ 1. การประกอบอาหาร 2. การท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน 3. การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดย ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม 4. การบอกและเรียงล าดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา กำรจัดกิจกรรม ขั้นกำรเตรียมกำร 1. ครูน าผักและผลไม้ชนิดต่าง ๆ มาให้เด็กสังเกต บอกลักษณะของผักและผลไม้พร้อมทั้ง ให้เด็กสนทนาซักถามเกี่ยวกับชนิดของผักและผลไม้


80 2. ให้เด็กร่วมกันจ าแนกผักและผลไม้ลงในภาชนะและครูซักถามเกี่ยวกับความแตกต่าง ของผักและผลไม้ 3. ครูแนะน าสวนผสมและวัสดุอุปกรณ์ใชในการท าสลัดผักและผลไม้ และเปิดโอกาสให เด็ก ซักถาม หยิบ จับ สัมผัส เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการท า 4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับขั้นตอนการท าสลัดผักและผลไม้แล้วครูสาธิตวิธีการ ท า 5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงเบื้องตนถึงขอที่ควรปฏิบัติในการท ากิจกรรม ได้แก - ล้างมือใหสะอาดและเช็ดให้แห้งก่อนและหลังการท ากิจกรรมทุกครั้ง - ไม่พูดคุยเสียงดังหรือเล่นกันในขณะที่ท ากิจกรรมประกอบอาหาร - ไม่ลุกเดินไปเดินมาออกจากกลุ่มของตนเอง - หลังจากท ากิจกรรมแลวช่วยกันเก็บอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาด สถานที่ ใหเรียบร้อย ขั้นสำธิต 1. แบ่งกลุมเด็ก กลุมละ 4-5 คน เพื่อประกอบอาหารสลัดผักผลไม้ 2. ตัวแทนเด็กแต่ละกลุมออกมารับวัสดุ อุปกรณ์แลวลงมือท า 3. เด็กแต่ละกลุมชิมอาหารของกลุ่มตัวเอง 4. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาดสถานที่ ขั้นปฏิบัติกำรและสรุป 1. เด็กและครูร่วมกันสรุปขั้นตอนในการประกอบอาหารโดยใช้ค าถาม ดังนี้ - วันนี้ท าเมนูอะไร - วัตถุดิบ/อุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง - ขั้นตอนในการท า ท าอย่างไร สื่อกำรเรียนรู้ 1. สวนผสมของการท าสลัดผักและผลไม้ ได้แก่ผักและผลไม้ตามฤดูกาล ซอสมายองเนส 2. เครื่องครัว ได้แก ชาม ทัพพี


81 กำรประเมินผล 1. การบอกชื่อของผักและผลไม้ 2. การบอกลักษณะของผักและผลไม้ 3. การจ าแนกประเภทผักและผลไม้ 4. การน าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารสลัดจากผักและผลไม้ บันทึกหลังกิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………


82 แผนกำรจัดกิจกรรมแผนกำรจัดกิจกรรมกำรประกอบอำหำร แผนที่ 2 หน่วย ลอยกระทง สำระที่ควรเรียนรู้เรื่องรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เมนู พิซซ่ำขนมปัง ชั้นอนุบำลปีที่ 2/7 โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี วัน....จันทร์....ที่...13...เดือน…พฤศจิกำยน……พ.ศ. 2566 เวลำ 50 นำที ............................................................................................................................................... 1. จุดประสงค์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1. บอกชื่อของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 2. บอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3. จ าแนกประเภทวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 4. น าเสนอขั้นตอนการประกอบพิซซ่าจากขนมปังได้ 2. สำระกำรเรียนรู้ 2.1 สำระที่ควรเรียนรู้ พิซซ ่าเป็นอาหารอิตาลีและอาหารจานด ่วนประเภทหนึ ่ง ซึ ่งชาวอิตาลีเป็นผู้คิดค้น มี ลักษณะเป็นแป้งแผ่นกลมแบนราดด้วยซอสมะเขือเทศ แล้วท าให้สุกโดยการอบในเตาอบ 2.2 ประสบกำณ์ส ำคัญ 1. การประกอบอาหาร 2. การท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน 3. การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดย ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม 4. การบอกและเรียงล าดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา แนวกำรจัดกิจกรรม ขั้นกำรเตรียมกำร 1. ครูน าวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้มาให้เด็กสังเกต บอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ ใช้พร้อมทั้งให้เด็กสนทนาซักถามเกี่ยวกับวัตถุดิบและอุปกรณ์ 2. ให้เด็กร่วมกันสังเกตลักษณะวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้และครูซักถามเกี่ยวกับลักษณะที่ เด็ก ๆ เห็น


83 3. ครูแนะน าสวนผสมและวัสดุอุปกรณ์ใชในการท าพิซซ่าขนมปัง และเปิดโอกาสใหเด็ก ซักถาม หยิบ จับ สัมผัส เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการท า 4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับขั้นตอนการท าพิซซ่าขนมปังแล้วครูสาธิตวิธีการท า 5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงเบื้องตนถึงขอที่ควรปฏิบัติในการท ากิจกรรม ได้แก - ล้างมือใหสะอาดและเช็ดให้แห้งก่อนและหลังการท ากิจกรรมทุกครั้ง - ไม่พูดคุยเสียงดังหรือเล่นกันในขณะที่ท ากิจกรรมประกอบอาหาร - ไม่ลุกเดินไปเดินมาออกจากกลุ่มของตนเอง - หลังจากท ากิจกรรมแลวช่วยกันเก็บอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาด สถานที่ ใหเรียบร้อย ขั้นสำธิต 1. แบ่งกลุมเด็ก กลุมละ 4-5 คน เพื่อประกอบอาหารพิซซ่าขนมปัง 2. ตัวแทนเด็กแต่ละกลุมออกมารับวัสดุ อุปกรณ์แลวลงมือท า 3. เด็กแต่ละกลุมชิมอาหารของกลุ่มตัวเอง 4. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาดสถานที่ ขั้นปฏิบัติกำรและสรุป 1. เด็กและครูร่วมกันสรุปขั้นตอนในการประกอบอาหารโดยใช้ค าถาม ดังนี้ - วันนี้ท าเมนูอะไร - วัตถุดิบ/อุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง - ขั้นตอนในการท า ท าอย่างไร สื่อกำรเรียนรู้ 1. สวนผสมของการท าพิซซ่าขนมปัง ได้แก่ ขนมปัง ไส้กรอก ปูอัด ข้าวโพด ซอสมะเขือเทส ซอสมายองเนส 2. เครื่องครัว ได้แก กระทะไฟฟ้า ถ้วย จาน ที่คีบอาหาร กำรประเมินผล 1. การสังเกตการบอกชื่อของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 2. การบอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้


84 3. การจ าแนกวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 4. การน าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารพิซซ่าจากขนมปัง บันทึกหลังกิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………


85 แผนกำรจัดกิจกรรมแผนกำรจัดกิจกรรมกำรประกอบอำหำร แผนที่ 3 หน่วย วันชำติสำระที่ควรเรียนรู้ เรื่องรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เมนู ไข่ตุ๋นแฟนซีชั้นอนุบำลปีที่ 2/7 โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี วัน....จันทร์....ที่...27...เดือน…พฤศจิกำยน……พ.ศ. 2566 เวลำ 50 นำที ............................................................................................................................................... 1. จุดประสงค์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1. บอกชื่อของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 2. บอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3. จ าแนกประเภทวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 4. น าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารไข่ตุ๋นแฟนซีได้ 2. สำระกำรเรียนรู้ 2.1 สำระที่ควรเรียนรู้ ไข่ตุ๋นเป็นอาหารที่ท าได้ง่าสะดวกและรวดเร็วมีวิธีการท าที่ง่ายโดยการตีไข่ให้เข้ากันอย่าง สม ่าเสมอคล้ายกับที่ใช้ท าไข่เจียวปรุงรสชาติแล้วน าไปนึ่ง 2.2 ประสบกำณ์ส ำคัญ 1. การประกอบอาหาร 2. การท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน 3. การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดย ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม 4. การบอกและเรียงล าดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา แนวกำรจัดกิจกรรม ขั้นกำรเตรียมกำร 1. ครูน าวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้มาให้เด็กสังเกต บอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ ใช้พร้อมทั้งให้เด็กสนทนาซักถามเกี่ยวกับวัตถุดิบและอุปกรณ์ 2. ให้เด็กร่วมกันสังเกตลักษณะวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้และครูซักถามเกี่ยวกับลักษณะที่ เด็ก ๆ เห็น


86 3. ครูแนะน าสวนผสมและวัสดุอุปกรณ์ใชในการท าไข่ตุ๋นแฟนซีและเปิดโอกาสใหเด็ก ซักถาม หยิบ จับ สัมผัส เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการท า 4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับขั้นตอนการท าไข่ตุ๋นแฟนซีแล้วครูสาธิตวิธีการท า 5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงเบื้องตนถึงขอที่ควรปฏิบัติในการท ากิจกรรม ได้แก - ล้างมือใหสะอาดและเช็ดให้แห้งก่อนและหลังการท ากิจกรรมทุกครั้ง - ไม่พูดคุยเสียงดังหรือเล่นกันในขณะที่ท ากิจกรรมประกอบอาหาร - ไม่ลุกเดินไปเดินมาออกจากกลุ่มของตนเอง - หลังจากท ากิจกรรมแลวช่วยกันเก็บอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาด สถานที่ ใหเรียบร้อย ขั้นสำธิต 1. แบ่งกลุมเด็ก กลุมละ 4-5 คน เพื่อประกอบอาหารไข่ตุ๋นแฟนซี 2. ตัวแทนเด็กแต่ละกลุมออกมารับวัสดุ อุปกรณ์แลวลงมือท า 3. เด็กแต่ละกลุมชิมอาหารของกลุ่มตัวเอง 4. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาดสถานที่ ขั้นปฏิบัติกำรและสรุป 1. เด็กและครูร่วมกันสรุปขั้นตอนในการประกอบอาหารโดยใช้ค าถาม ดังนี้ - วันนี้ท าเมนูอะไร - วัตถุดิบ/อุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง - ขั้นตอนในการท า ท าอย่างไร สื่อกำรเรียนรู้ 1. สวนผสมของการท าไข่ตุ๋นแฟนซีได้แก่ ไข่ ซอสปรุงรส ผักชี แครร์อต 2. เครื่องครัว ได้แก กระทะไฟฟ้า ถ้วย ช้อน กำรประเมินผล 1. การสังเกตการบอกชื่อของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 2. การบอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 3. การจ าแนกวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 4. การน าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารไข่ตุ๋นแฟนซี


87 บันทึกหลังกิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………


88 แผนกำรจัดกิจกรรมแผนกำรจัดกิจกรรมกำรประกอบอำหำร แผนที่ 4 หน่วย ดิน หิน ทรำย สำระที่ควรเรียนรู้ เรื่องรำวเกี่ยวกับตัวเด็ก เมนู บัวลอยหลำกสี ชั้นอนุบำลปีที่ 2/7 โรงเรียนอนุบำลอุดรธำนี วัน....จันทร์....ที่...4...เดือน…ธันวำคม……พ.ศ. 2566 เวลำ 50 นำที ............................................................................................................................................... 1. จุดประสงค์ เพื่อให้เด็กสามารถ 1. บอกชื่อของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 2. บอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 3. จ าแนกประเภทวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ได้ 4. น าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารบัวลอยหลากสีได้ 2. สำระกำรเรียนรู้ 2.1 สำระที่ควรเรียนรู้ บัวลอยเป็นอาหารที่คู่ส ารับกับข้าวไทยมาตั้งแต่ครั้งโบราณ โดยทั่วไปประชาชนจะท าขนม ในงานเลี้ยง นับตั้งแต่การท าบุญเลี้ยงพระ งานมงคล และงานพิธีการ วัตถุดิบการท าที่พิถีพิถันในเรื่อง รสชาติ สีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลักษณะชวนรับประทาน 2.2 ประสบกำณ์ส ำคัญ 1. การประกอบอาหาร 2. การท ากิจกรรมร่วมกับกลุ่มเพื่อน 3. การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ โดย ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเหมาะสม 4. การบอกและเรียงล าดับกิจกรรมหรือเหตุการณ์ตามช่วงเวลา แนวกำรจัดกิจกรรม ขั้นกำรเตรียมกำร 1. ครูน าวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้มาให้เด็กสังเกต บอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ ใช้พร้อมทั้งให้เด็กสนทนาซักถามเกี่ยวกับวัตถุดิบและอุปกรณ์ 2. ให้เด็กร่วมกันสังเกตลักษณะวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้และครูซักถามเกี่ยวกับลักษณะที่ เด็ก ๆ เห็น


89 3. ครูแนะน าสวนผสมและวัสดุอุปกรณ์ใชในการท าบัวลอยหลากสีและเปิดโอกาสใหเด็ก ซักถาม หยิบ จับ สัมผัส เกี่ยวกับอุปกรณ์ในการท า 4. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับขั้นตอนการท าบัวลอยหลากสีแล้วครูสาธิตวิธีการท า 5. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงเบื้องตนถึงขอที่ควรปฏิบัติในการท ากิจกรรม ได้แก - ล้างมือใหสะอาดและเช็ดให้แห้งก่อนและหลังการท ากิจกรรมทุกครั้ง - ไม่พูดคุยเสียงดังหรือเล่นกันในขณะที่ท ากิจกรรมประกอบอาหาร - ไม่ลุกเดินไปเดินมาออกจากกลุ่มของตนเอง - หลังจากท ากิจกรรมแลวช่วยกันเก็บอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาด สถานที่ ใหเรียบร้อย ขั้นสำธิต 1. แบ่งกลุมเด็ก กลุมละ 4-5 คน เพื่อประกอบอาหารบัวลอยหลากสี 2. ตัวแทนเด็กแต่ละกลุมออกมารับวัสดุ อุปกรณ์แลวลงมือท า 3. เด็กแต่ละะกลุมชิมอาหารของกลุ่มตัวเอง 4. เด็ก ๆ ช่วยกันเก็บวัสดุอุปกรณ์ของกลุ่มและท าความสะอาดสถานที่ ขั้นปฏิบัติกำรและสรุป 1. เด็กและครูร่วมกันสรุปขั้นตอนในการประกอบอาหารโดยใช้ค าถาม ดังนี้ - วันนี้ท าเมนูอะไร - วัตถุดิบ/อุปกรณ์ที่ใช้มีอะไรบ้าง - ขั้นตอนในการท า ท าอย่างไร สื่อกำรเรียน 1. สวนผสมของการท าบัวลอยหลากสีได้แก่ แป้งข้าวเหนียว ใบเตย น ้าใบเตย น ้ากระเจี๊ยบ กะทิ น ้าตาล 2. เครื่องครัว ได้แก กระทะไฟฟ้า ทัพพี ถ้วย กำรประเมินผล 1. การบอกชื่อของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 2. การบอกลักษณะของวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้


90 3. การจ าแนกวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่ใช้ 4. การน าเสนอขั้นตอนการประกอบอาหารบัวลอยหลากสี บันทึกหลังกิจกรรม ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version