The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 การลำเลียงของพืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thanya Iew, 2022-10-08 07:12:26

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 การลำเลียงของพืช

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 การลำเลียงของพืช

แผนการจัดการเรยี นรู้

วชิ าชีววิทยา 3 ว32243
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 10 เรือ่ ง การลาเลยี งของพืช
ระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 โรงเรยี นหนองวัวซอพทิ ยาคม

นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ
รหัสประจาตวั นักศกึ ษา 61100147112

นกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชพี สาขาวิทยาศาสตร์ (เนน้ ชีววิทยา)

การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศกึ ษา 1
รหัสวชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1)
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2565

แผนการจัดการเรียนรู้

วิชาชีววิทยา 3 ว32243
กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง การลำเลียงของพชื
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5 โรงเรียนหนองววั ซอพทิ ยาคม

นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ
รหสั ประจำตวั นกั ศกึ ษา 61100147112
นักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ สาขาวทิ ยาศาสตร์ (เนน้ ชีววิทยา)

การฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารสอนในสถานศึกษา 1
รหัสวชิ า ED18501 (INTERSHIP IN SCHOOL 1)

คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏอุดรธานี
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565



คำนำ

แผนการจัดการเรยี นรู้ รายวิชาชีววิทยา 3 รหสั วชิ า ว32243 ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 3 นี้
จัดทำขึน้ เพอ่ื ใช้เปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นการสอนใหม้ ีประสิทธิภาพ และใหน้ ักเรียน บรรลุตาม
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) ผู้จัดทำจึงได้ศึกษาสาระการเรียนรู้ เทคนิค วิธีการสอน
การวดั และประเมนิ ผล มาจดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้ในครั้งนี้

แผนการจดั การเรียนรู้ในเล่ม 3 น้ี ประกอบไปดว้ ย แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่
10 การลำเลียงของพืช สื่อ นวัตกรรมและกิจกรรมที่ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนบรรลุ
มาตรฐานการเรียนร้ไู ด้เตม็ ศกั ยภาพอยา่ งแทจ้ รงิ

จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่าแผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ จะสามารถนำไปใช้ประกอบการจัดการ
เรยี นการสอนรายวิชาชวี วิทยา 3 นำไปส่กู ารพฒั นาท่ีถูกตอ้ งและเกิดผลแกผ่ เู้ รียนเป็นอย่างดี

ธญั ญาเรศ ทบอาจ
8 ตลุ าคม 2565



สารบญั
เรอื่ ง หน้า

คำนำ……………………………………………………………………………………………………………………………… ก
สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………… ข
หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 การลำเลียงของพืช

แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 13 เรื่อง การลำเลียงน้ำของพืช ……………..…………………………… 1
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 14 เรื่อง การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายนำ้ ………………………. 16
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 15 เรื่อง การลำเลียงธาตุอาหาร…………………………………………. 33
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16 เร่อื ง การลำเลียงอาหาร……………………………………………… 47

1

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13

กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5
รายวิชา ชีววิทยา 3 รหัส ว 32243
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 10 การลำเลยี งของพชื เวลา 9 ชว่ั โมง
เรื่อง การลำเลียงน้ำของพืช เวลา 2 ช่ัวโมง
ภาคเรยี นท่ี 1/2565
ครผู ูส้ อน นางสาวธญั ญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้
สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช

การลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ
ตอบสนองของพืชรวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรียนรู้
8. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธบิ ายกลไกการลำเลียงนำ้ และธาตอุ าหารของพืช

2. สาระสำคัญ
พืชมีระบบลำเลียงเพื่อใช้ลำเลียงน้ำ แร่ธาตุต่างๆจากดินไปสู่ส่วนต่างๆ ของพืช โดยการ

ลำเลยี งนำ้ ใช้ท่อลำเลียง เรยี กว่า ไซเล็ม (Xylem) เมอื่ พืชสร้างอาหารแล้วก็จะลำเลียงไปสู่ส่วนต่างๆ
ของพชื โดยอาศยั ท่อลำเลยี ง เรียกว่า โฟลเอ็ม (Phloem) โดยระบบการลำเลยี งนำ้ และอาหารแตกตา่ ง
กนั ระหวา่ งพืชใบเลี้ยงค่แู ละพืชใบเลยี้ งเด่ยี ว การคายน้ำ มสี ่วนชว่ ยในการลำเลียงน้ำของพืช

3. สาระการเรียนรู้
- กลไกการลำเลียงนำ้ จากดนิ เขา้ สรู่ ากและการลำเลยี งไปยงั สว่ นต่าง ๆ ของพชื

4. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. ด้านความรู้ (K)
อธบิ ายกลไกการลำเลยี งน้ำของพืชได้
2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
เปรยี บเทียบรูปแบบการลำเลยี งน้ำแบบอโพพลาสตแ์ ละแบบซิมพลาสตไ์ ด้
3. ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
รับผิดชอบต่อหน้าทีแ่ ละงานที่ไดร้ บั มอบหมาย

2

5. กิจกรรมการเรียนรู้
รปู แบบการสอนที่ใชใ้ นการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ คือ การสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5E

ช่วั โมงท่ี 1

1. ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement)
1.1 นักเรยี นตอบคำถามทคี่ รูถามเพ่อื กระตุ้นความสนใจโดยถามคำถาม Prior Knowledge โดยมี

แนวคำถามดงั นี้
- เนื้อเยอ่ื ทอ่ ลำเลยี งน้ำและแร่ธาตุของพืชคืออะไร
(แนวคำตอบ ท่อไซเลม็ (Xylem))

1.2 นกั เรยี นตอบคำถามท่ีครูถามให้คดิ ต่อไปว่า “พืชขนาดใหญห่ รอื พืชทม่ี คี วามสูงมากจำเป็นต้อง
มที ่อลำเลียงน้ำ (Xylem) หรอื ไมเ่ พราะเหตใุ ด”

(แนวคำตอบ จำเป็น เพราะทอ่ ลำเลียงนำ้ หรอื ไซเล็ม (Xylem) ใช้สำหรับลำเลียงน้ำและ
ธาตุอาหารจากรากไปยังสว่ นตา่ ง ๆ)

2. ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration)
2.1 นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ซึ่งครูแบ่งให้โดยคละความสามารถ (อ่อน

ปานกลาง เกง่ ) สืบคน้ รูปแบบการลำเลียงน้ำและธาตุอาหารในแนวระนาบ จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
เช่น อินเทอร์เน็ต หรือหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 แล้วสรุปลงในกระดาษโฟร์ชาร์ต พร้อม
นำเสนอในรูปแบบท่สี วยงาม

2.2 ตวั แทนกลุม่ ออกมานำเสนอผลงานหนา้ ชนั้ เรยี น
2.3 นักเรยี นและครรู ่วมกนั อภิปรายผลจากการสบื คน้ รปู แบบการลำเลยี งนำ้ และธาตุอาหาร

3. ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation)
3.1 ครเู ขยี นคำศพั ท์บนกระดาน ดงั ต่อไปนี้
- Apoplast
- Symplast
- Plasmodesmata
- Casparian strip
- Cytoplasm
- Cell wall
- Endodermis
- Cortex
3.2 นกั เรยี นลอกคำศพั ท์บนกระดานลงในสมดุ บนั ทกึ แล้วเขยี นความหมายของคำศพั ทแ์ ตล่ ะคำ

พร้อมอธิบายความเชื่อมโยงของคำศพั ท์กบั การลำเลียงน้ำของพชื โดยมแี นวคำตอบดังน้ี

3

- Apoplast

(แนวคำตอบ นำ้ ในดนิ จะเข้าสู่รากผ่านชั้นคอรเ์ ทกซ์ (Cortex) ของรากไปจนถึงช้นั เอนโด
เดอร์มิส(Endodermis) โดยน้ำจะผ่านจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งทางผนังเซลล์ หรือผ่านทาง
ชอ่ งว่างระหวา่ งเซลล์)

- Symplast
(แนวคำตอบ นำ้ จะเคล่ือนผา่ นเซลลห์ น่งึ ไปอกี เซลล์หนึง่ ทางไซโทพลาซมึ (Cytoplasm)
พลาสโมเดสมา (Plasmodesmata) และเยือ่ หุ้มเซลล์ (Plasma membrane) ผา่ นชั้นเอนโดเดอร์มิส
(Endodermis) ก่อนเขา้ สูไ่ ซเลม็ (Xylem) ต่อไป)
- Plasmodesmata
(แนวคำตอบ ทำหนา้ ทเี่ ชอ่ื มเซลล์ทอี่ ยใู่ กล้เคยี งกนั เพอื่ ชว่ ยในการขนถ่ายสิง่ ๆตา่ งๆระหวา่ ง
เซลล์พชื แบบอโพพลาสต์ (Apoplast) เช่น นำ้ สารอาหาร และฮอรโ์ มน เป็นต้น)
- Casparian strip
(แนวคำตอบ ทำหน้าท่ีป้องกนั การเคลอ่ื นที่ของน้ำและธาตอุ าหาร เมอ่ื เซลล์มอี ายมุ ากขน้ึ จะมี
ลกิ นิน (Lignin) มาสะสม)
- Cytoplasm
(แนวคำตอบ เปน็ สว่ นหนง่ึ ของโพรโทพลาสซมึ (protoplasm) ทอี่ ยู่รอบ ๆ นวิ เคลียส
(Nucleus) ซึ่งเป็นสว่ นที่ไม่มีชีวิตภายในเซลล์เป็นของเหลว ซึ่งภายในมหี ลายอย่างที่สำคญั เช่น คลอ
โรพลาสต์ (Chloroplast) ในคลอโรพลาสต์มีคลอโรฟิลล์ (chlorophyll) เอาไว้สังเคราะห์แสง มีออ
แกเนล (Organelle) ซงึ่ ทำให้เซลล์มชี ีวติ อย่ไู ด้เป็นต้น ซึ่งสามารถพบได้ทง้ั เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์)
- Cell wall
(แนวคำตอบ ผนงั เซลล์ เป็นส่วนท่ีอย่รู อบนอกของเซลล์ ทำหน้าที่เสริมความแขง็ แรง เป็นตวั
คำ้ จนุ โครงสร้างทำให้เซลล์คงรูป ช่วยปกป้องเซลล์และมกี ลไก คัดกรองสารทผี่ ่านเข้า-ออกเซลล์ด้วย
ผนังเซลลข์ องพืช ทำหนา้ ทปี่ อ้ งกันการขยายตวั มากเกินไปหากน้ำไหลผา่ นเข้าสู่ภายในเซลล์)
- Endodermis
(แนวคำตอบ เป็นชั้นของเซลลท์ อ่ี ยถู่ ัดจากชน้ั คอรเ์ ทกซ์ (Cortex) เขา้ ไป ประกอบด้วยเซลล์
เพียงแถวเดียวโดยมีคิวทิน (Cutin) เคลือบอยู่บนผนังชั้นนอกของเซลล์ ช่วยป้องกันเนื้อเยื่อภายใน
เน่ืองจากเซลล์ช้ันนี้มีผนงั เซลล์บาง บางส่วนของเซลล์ช้ันนมี้ ีผนงั เซลล์บาง บางส่วนของเซลล์ช้ันน้ีจะ
ยื่นออกไป ทำหน้าที่ดูดน้ำและแร่ธาตุต่าง ๆ เซลล์ชั้นนี้มักจะพบในราก (Root) มากกว่าในลำต้น
(Stem))
- Cortex
(แนวคำตอบ เป็นช้ันของเซลลท์ อ่ี ยูถ่ ดั จากช้ันเอพเิ ดอรม์ สิ (Epidermis) สว่ นใหญ่
ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา (Parenchyma) เรียงตัวกันหลายแถว ไม่มีครอโรพลาสต์
(Chloroplast) ทำหน้าทีส่ ะสมอาหาร จะเหน็ ไดช้ ดั ในพืชใบเล้ียงเดย่ี ว)
3.3. นักเรียนจับคู่แลกเปลี่ยนความรู้ ความหมาย และความเชื่อมโยงของคำศัพท์กับการลำเลียง
น้ำของพชื ระหว่างคขู่ องตนเอง

ชั่วโมงท่ี 2

4

2. ขน้ั สำรวจและคน้ หา (Exploration)
2.1 นกั เรยี นแบ่งกลุม่ ออกเป็น 4 กลุ่ม กล่มุ ละ 4 คน ซงึ่ ครูแบง่ ให้โดยคละความสามารถ (อ่อน

ปานกลาง เก่ง) สืบค้นรูปแบบการลำเลียงน้ำและธาตุอาหารในแนวดิ่งจากแหล่งการเรียนรู้ เช่น
อนิ เทอร์เนต็ หรอื หนังสือเรยี นชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 3 เร่ือง แรงดงึ จากการคายน้ำของพชื

2.2 ครูถามคำถามใหน้ ักเรียนร่วมกันสบื ค้นคำตอบ ตอ่ ไปน้ี
- ภายในรากมแี รงดึงชนดิ ใดบา้ งทสี่ ง่ ผลใหน้ ้ำจากดนิ เขา้ มาในท่อไซเล็ม
(แนวคำตอบ แรงดึงจากการคายน้ำ (Transpiration pull) แรงดันราก (Root pressure)
แอดฮีชนั (Adhesion) และ โคฮีชัน (Coesion))
- ปรากฏการณ์กตั เตชนั (Guttation) เกดิ ขนึ้ เม่ือพืชอยู่ในสภาพแวดล้อมอย่างไร
(แนวคำตอบ ความชน้ื สมั พัทธ์สงู ในเวลากลางคืน)
- ปรากฏการณก์ ัตเตชนั (Guttation) แตกตา่ งกับการคายน้ำของพชื ท่ัวไปอย่างไร
(แนวคำตอบ โดยทั่วไปพืชจะคายน้ำในรูปแบบไอน้ำ แต่ปรากฏการณ์กตั เตชัน (Guttation) พืช
จะคายนำ้ ในรูปแบบหยดนำ้ )

3. ขน้ั อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
3.1 ครสู มุ่ เรยี กนกั เรยี นออกมานำเสนอแรงดงึ จากการคายนำ้ ของพืช ประมาณ 2-3 คน
3.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายผลจากการนำเสนอ และสรุปความรู้เพื่อให้ได้ประเด็น

ดังต่อไปน้ี
- กระบวนการคายน้ำของพืชมีขน้ั ตอนเป็นอยา่ งไร
(แนวคำตอบ การคายนำ้ ( transpiration ) เปน็ การแพรข่ องนำ้ ออกไปทางปากใบ ซึง่ จะ

เกิดมากในตอนกลางวันที่อุณหภูมิ อากาศมีความชื้นน้อย การคายน้ำจะส่งผลให้เกิดแรงดึงน้ำจาก
ส่วนล่างของลำต้นขึ้นไปสู่ส่วนที่อยู่สูงกว่า ช่วยลดอุณหภูมิที่ใบ พืชถ้าคายน้ำมากเกินไปจะทำให้ใบ
เหี่ยว ทำใหพ้ ืชเจริญชา้ ลง)

- รปู การณ์ลำเลียงนำ้ แบบอโพพลาสตแ์ ละแบบซิมพลาสตแ์ ตกต่างกันอย่างไร
(แนวคำตอบ รูปแบบการลำเลียงน้ำแบบซิมพลาสต์ (symplast pathway) เป็นการ
ลำเลียงนำ้ ผา่ นเซลล์พืชแต่ละเซลล์ทางช่องพลาสโมเดสมาตา (วธิ นี ีไ้ ม่ผา่ นเยอื่ หุม้ เซลล์) ส่วนรูปแบบ
การลำเลยี งนำ้ แบบอโพพลาสต์ (apoplast pathway) เป็นการลำเลยี งน้ำ ผ่านชอ่ งว่างระหว่างเซลล์
(intercellular space) . แต่เมื่อน้ำผา่ นแถบแคสพาเรียน (casparian strip) ต้องเปลี่ยนรูปแบบเปน็
ซิมพลาสต์ หรือทรานส์เมมเบรน เพราะแถบแคสพาเรยี นจะกนั้ ไมใ่ หน้ ้ำผ่าน)
- ปรากฏการณก์ ตั เตชนั (Guttation) จะเกดิ ขน้ึ ในสภาวะใด
(แนวคำตอบ กตั เตชัน (guttation) เปน็ การเสยี น้ำในรูปของหยดน้ำของพชื ซง่ึ เกิดใน
กรณที ่ใี นอากาศอิ่มตวั ด้วยน้ำ มคี วามชืน้ สูง)

4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
4.1 ครูอธบิ ายเพม่ิ เตมิ วา่ การคายนำ้ จะทำใหเ้ กิดแรงดงึ นำ้ จากบริเวณใบต่อเน่ืองไปจนถงึ

รากทำใหน้ ำ้ เคลื่อนที่ขึน้ สดู่ ้านบนนอกจากนก้ี ารลำเลยี งนำ้ จากรากสู่ยอดของพืชยงั ใช้การซึมตามรเู ล็ก

5

ภาพท่ี 3 รปู การซึมตามรูเล็ก
ท่ีมา : หนังสอื คมู่ ือครชู ีววทิ ยาชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 สสวท.

การซมึ ตามรเู ล็ก เป็นผลจากแรงโคฮชี นั และแรงแอดฮชี นั จะเหน็ ได้ว่าในหลอด
ขนาดเล็กนำ้ สีจะข้ึนสงู ไดม้ ากกว่าหลอดขนาดใหญ่ ดังนัน้ ไซเลม็ ซงึ่ มเี ซลล์ท่ีมีรปู ร่างยาวเรียงต่อกันจน
คล้ายทอ่ ขนาดเล็กจึงสามารถลำเลียงน้ำข้นึ ไปโดยอาศัยการซึมตามรเู ลก็ ไดเ้ ชน่ กนั

4.2 ครูอธบิ ายเพิ่มเติมวา่ การซึมตามรเู ลก็ เพยี งอยา่ งเดียวไมเ่ พยี งพอท่จี ะลำเลียงนำ้ ข้ึน
ไปถึงส่วนยอดของพืชท่ีมีความสูงมาก ๆ ได้จึงตอ้ งอาศยั แรงดงึ จากการคายนำ้ รว่ มดว้ ย ครูใชร้ ปู 10.4
การคายน้ำและการเคลือ่ นทข่ี องน้ำจากบริเวณข้างเคียงและ 10.5 การเคลือ่ นท่ีของน้ำแบบต่อเน่อื งใน
ไซเลม็ ซึ่งเปน็ ผลจากการคายนำ้ ในหนังสอื เรียนชวี วิทยา ม.5 เล่ม 3 เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นบอกได้วา่ การคาย
น้ำเกิดขึ้นที่ใบและเน่ืองจากแรงยึดเหน่ียวระหว่างโมเลกุลของน้ำทำให้เกิดแรงดึงต่อเน่ืองกนั จากใบ
จนถึงราเป็นผลให้นำ้ ภายในไซเล็มลำเลยี งจากรากข้นึ มาจนถงึ ลำตน้ และใบตามลำดับ

5. ขนั้ ประเมนิ (Evaluation)
5.1 นักเรยี นตอบคำถามทีค่ รูถามโดยมแี นวคำถามดังนี้
- แคสพาเรยี นสตปิ ในช้นั เอนโดเดอร์มิสสง่ ผลต่อการลำเลยี งน้ำและธาตุอาหารของพืชอยา่ งไร
(แนวคำตอบ แคสพาเรยี นสตริป (Casparian strip) คอื สารซูเบอริน (suberin) ทสี ะสม

ตัวที่ผนังด้านรัศมี (Radial wall) และด้านตัดขวาง (Transverse wall) ของเซลล์ ทำให้น้ำและธาตุ
อาหารรวมท้งั น้ำตาลซโู ครส (Sucrose) ไมส่ ามารถผา่ นได้ จึงตอ้ งเปลี่ยนรูปแบบการลำเลียงผ่านทาง
ไซโทพลาซมึ (Symplast) หรือชอ่ งวา่ งระหว่างเซลล์เรียกว่า พลาสโมเดสมาตา (Plastmodesmata)
เทา่ นน้ั )

5.2 นกั เรียนเขียนแผนผงั ความคิดเรอื่ ง การลำเลยี งน้ำและธาตอุ าหารของพืชและทำแบบฝึกหดั ใน
หนังสอื เรียนชีววทิ ยา ม.5 เลม่ 3 หนา้ 102 และ 105

6. สื่อ / แหล่งเรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิม่ เติมวิทยาศาสตรช์ ีววิทยา เล่ม 3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 สสวท.
2. เพาเวอร์พอยต์ เรือ่ ง การลำเลยี งน้ำของพชื

6

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหัดในหนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เลม่ 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 10 เรอื่ ง การลำเลยี งนำ้

ของพชื หน้า 102 และ 105
2. เขียนแผนผงั ความคดิ เรอ่ื ง การลำเลียงนำ้ และธาตอุ าหารของพืช

8. การวัดและประเมนิ ผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธีวดั ผล เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารผา่ น
จุดประสงค์

ดา้ นความรู้ (K) - สังเกตจากการ ตรวจแผนผัง ระดับคุณภาพพอใช้ขน้ึ
อธิบายกลไกการลำเลยี งน้ำของพืชได้ ตอบคำถามและ
แสดงความคิดเหน็
ความคดิ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
- แผนผังความคิด

ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) - สังเกตจากการ ตรวจแบบฝึกหัด ระดบั คุณภาพพอใช้ขึ้น
เปรียบเทียบรูปแบบการลำเลียงน้ำ ตอบคำถามและ ในหนงั สือเรียน ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
แสดงความคิดเหน็
แบบอโพพลาสต์และแบบซมิ พลาสต์ได้

- แบบฝกึ หดั ใน

หนังสือเรยี น

ด้านคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ (A)

รับผิดชอบต่อหน้าที่และงานที่ได้รับ ประเมิน แบบประเมิน ผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ 70

มอบหมาย คุณลกั ษณะอนั พึง คณุ ลักษณะอนั พึง ข้นึ ไป

ประสงค์ ประสงค์

7

8

เกณฑก์ ารประเมินผลการทำแผนผังความคดิ

ประเด็นการประเมนิ คาํ อธบิ ายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน
ทำแผนผังความคิด
ทำแผนผงั ความคดิ ทำแผนผงั ความคดิ ทำแผนผังความคดิ ถูกตอ้ ง
ความถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ ง น้อยกว่ารอ้ ยละ 50
ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ ง ทำแผนผงั ความคิด
เปน็ ระเบยี บ สะอาด
ร้อยละ 80 ข้ึนไป ร้อยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 เรยี บรอ้ ยพอใช้

ความเป็นระเบียบ ทำแผนผงั ความคิดมี ทำแผนผงั ความคดิ มี ทำแผนผังความคดิ ส่งแผนผังความคิด
ความเปน็ ระเบียบ ความเป็นระเบยี บ เปน็ ระเบยี บ สะอาด ลา่ ชา้ กว่าเวลาท่ี
สะอาด เรยี บร้อยดี สะอาด เรียบรอ้ ยดี กำหนดมากกว่า 3
เรียบร้อยปานกลาง วนั
มาก

สง่ แผนผงั ความคิด สง่ แผนผงั ความคดิ สง่ แผนผังความคดิ

ความตรงต่อเวลา ทันตามเวลาท่ี ล่าช้ากว่าเวลาท่ี ลา่ ช้ากวา่ เวลาที่
กำหนด กำหนดไป 1 วนั กำหนดไป 3 วนั

เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ ระดบั คุณภาพ
ชว่ งคะแนน ควรปรับปรงุ อยา่ งยง่ิ
0-4 ควรปรบั ปรุง
5-6
7-8 พอใช้
9 – 10 ดี

11 - 12 ดีมาก

เกณฑ์การผา่ น ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไปถือว่าผา่ นเกณฑ์

9

10

เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการทำแบบฝึกหัด

ประเดน็ การประเมนิ คําอธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดับคะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ความถูกต้อง ทำแบบฝกึ หดั ถกู ต้อง ทำแบบฝกึ หัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหัดถูกต้อง ทำแบบฝึกหดั ถูกตอ้ ง
ร้อยละ 80 ข้ึนไป รอ้ ยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50

ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝกึ หัดมีความ ทำแบบฝึกหดั เป็น ทำแบบฝึกหดั เปน็
ระเบยี บ สะอาด
ความเป็นระเบียบ เป็นระเบยี บ สะอาด เปน็ ระเบียบ สะอาด ระเบียบ สะอาด เรยี บรอ้ ยพอใช้
ความตรงต่อเวลา
เรยี บร้อยดีมาก เรยี บรอ้ ยดี เรยี บรอ้ ยปานกลาง สง่ แบบฝึกหดั ล่าช้า
กว่าเวลาท่ีกำหนด
สง่ แบบฝกึ หัดทนั ตาม ส่งแบบฝึกหดั ลา่ ชา้ กวา่ สง่ แบบฝึกหัดลา่ ชา้ มากกว่า 3 วัน

เวลาที่กำหนด เวลาท่ีกำหนดไป 1 วนั กว่าเวลาท่ีกำหนดไป

3 วัน

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ ระดับคณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ควรปรับปรุงอยา่ งยงิ่
0-4
5-6 ควรปรบั ปรงุ
7-8 พอใช้
9 – 10 ดี
11 - 12
ดมี าก

เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คุณภาพพอใช้ขึน้ ไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์

11

12

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน
ประเมิน
3 2 1
1. มวี นิ ัย
- มีความตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สตั ย์ - มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ
2. มคี วาม สจุ ริต - มีความตั้งใจท่ีจะทำงาน ทำงาน
ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตัง้ ใจท่จี ะ - มีความรับผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ
ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์
- มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อน่ื ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต
- มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสียสละ
- เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผ้อู นื่ - เข้าร่วมกิจกรรม
- มคี วามอดทนขยันหมั่นเพยี ร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
- รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
- เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ
เรยี นรู้ - เอาใจใสแ่ ละมีความ
- ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรยี นรู้
- เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง
- มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรียน เรียน
- จดสรุปจากทค่ี รเู ขยี น

3. มคี วาม - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัติหน้าทท่ี ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่
ม่งุ ม่นั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน
ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน
ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาใน - เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ
การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
- มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน
ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7
คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7
คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน
คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน
คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน
คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ
3 คะแนน ดี
2 คะแนน พอใช้
1 คะแนน ปรบั ปรงุ

13

14

15

16

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 14

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5
รายวชิ า ชวี วิทยา 3 รหัส ว 32243
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 10 การลำเลยี งของพชื เวลา 9 ชั่วโมง
เรื่อง การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายนำ้ เวลา 3 ชว่ั โมง
ภาคเรยี นท่ี 1/2565
ครูผู้สอน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้
สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ
ตอบสนองของพชื รวมทั้งนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรยี นรู้
9. สืบคน้ ขอ้ มูล สงั เกต และอธิบายการแลกเปลยี่ นแก๊สและการคายน้ำของพชื

2. สาระสำคัญ
พืชมีการแลกเปลีย่ นแก๊สและการคายนำ้ ผ่านทางปากใบเปน็ ส่วนใหญ่ ปากใบพบได้ที่ใบและ

ลำต้นอ่อน เมื่อความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศภายนอกต่ำกว่าความชื้นสัมพัทธ์ภายในใบ ทำให้ไอน้ำ
ภายในใบแพรอ่ อกมาทางรูปากใบ เรยี กวา่ การคายน้ำ โดยมหี ลายปจั จยั ที่มีผลต่อการคายน้ำของพืช
เช่น ความช้ืนสัมพทั ธ์ ลม อุณหภูมิ ปริมาณนำ้ ในดนิ ความเข้มแสง

3. สาระการเรียนรู้
- การแลกเปลีย่ นแก๊สและการคายนำ้

4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. ดา้ นความรู้ (K)
อธบิ ายการแลกเปล่ยี นแกส๊ และการคายน้ำของพชื ได้
2. ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)
1. สืบค้นขอ้ มูลการคายน้ำของพืช การแลกเปล่ยี นแก๊สและการคายนำ้ ของพชื ผ่านทาง ปาก
ใบได้
2. วิเคราะหป์ ัจจัยที่มีผลต่อการคายนำ้ ของพชื ได้
3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
มีความกระตอื รอื รน้ และความอยากรอู้ ยากเห็น

17

5. กจิ กรรมการเรียนรู้
รปู แบบการสอนที่ใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ คือ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E

ช่วั โมงที่ 1
1. ข้ันสร้างความสนใจ (Engagement)

1.1 ครูใชค้ ำถามกระตนุ้ ความคิดของนกั เรยี น โดยมีแนวคำถาม ดงั น้ี
- การคายน้ำของพชื (Transpiration) สว่ นใหญเ่ กดิ ขึน้ ทใี่ ด
(แนวคำตอบ สว่ นใหญ่เกดิ ขึ้นท่ใี บ)
- เซลลช์ นดิ ใดมีส่วนช่วยควบคุมสมดุลของน้ำภายในรา่ งกายของพืช
(แนวคำตอบ เซลลค์ มุ (Guard cell))
- นกั เรียนคดิ วา่ “ปากใบของพืช (Stomata)” เปรยี บเสมอื นอวยั วะใดบ้างของร่างกาย
เพราะเหตุใด นักเรียนจงึ คิดเช่นนนั้
(แนวคำตอบ จมูก เพราะ ทำหน้าทีแ่ ลกเปล่ียนแก๊ส)
- ต้นไม้บางชนิดมีรอยแตกบรเิ วณลำตน้ นักเรยี นคดิ ว่า รอยแตกนี้เกิดขน้ึ ได้อยา่ งไร และมี
ประโยชนก์ ับพชื หรือไม่
(แนวคำตอบ เลนทิเซล (Lenticel) เป็นรอยแตกที่เกิดจากการแบ่งเซลล์ของคอร์กแคม
เบียม (Cork Cambium) ทำให้ลำต้นมีรัศมีกว้างขึ้น ส่งผลให้บริเวณเปลือกไม้เกิดรอยแตกและน้ำ
ภายใน ลำต้นบางส่วน จงึ ระเหยออกมาทางเลนทเิ ซล)

2. ขน้ั สำรวจและค้นหา (Exploration)
2.1 นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ 8 คน โดยสมาชกิ ภายในกล่มุ แบง่ หนา้ ทีอ่ อกเปน็ 2 ทีม ทีม

ละ 4 คน เพอื่ ศึกษาใบความรู้
- ทมี ท่ี 1 ศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง การปรับตวั โครงสรา้ งภายในใบของพืช
- ทมี ท่ี 2 ศึกษาใบความรู้ เรื่อง กลไกการเปดิ -ปิดของปากใบ

2.2 ทมี ที่ 1 ของแตล่ ะกลมุ่ สรปุ ใบความรู้ เร่ือง การปรบั ตวั โครงสรา้ งภายในใบของพืช
2.3. ทีมที่ 2 ของแต่ละกลุ่มสรปุ กลไกการเปิด-ปดิ ของปากใบ ในรปู แบบทตี่ นเองเข้าใจ
2.4 สมาชกิ ของแต่ละทีมแลกเปล่ยี นความรกู้ ันภายในกลมุ่

3. ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
3.1. ครสู ุ่มตวั แทนกลุ่มออกมานำเสนอและอธิบายความรู้ที่ได้จากการแลกเปล่ียนความรู้

ภายในกลุ่ม
3.2 นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั อภปิ รายผลจากการศึกษาใบความรเู้ รอ่ื ง การปรบั ตวั

โครงสร้างภายในใบของพืช และใบความรู้ เรื่อง กลไกการเปิด-ปิดของปากใบ
3.3 นกั เรียนรว่ มกนั วเิ คราะห์และแสดงความคดิ เห็นว่า “ปัจจยั ใดบา้ งทม่ี สี ว่ นเกยี่ วข้อง

กับการคายนำ้ ของพืช”

18

(แนวคำตอบ ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อการคายนำ้ ของพืช มีทัง้ ปจั จยั ภายในและภายนอก ดังน้ี
1. ปจั จยั ภายใน มีดงั นี้
- ขนาดและรูปร่างของใบ
- การจัดเรยี งตัวของใบ
- จำนวนราก
2. ปจั จัยภายนอก มีดงั นี้
- อณุ หภูมิ
- ความเข้มของแสง
- ความชื้นในอากาศ
- แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์
- สภาพน้ำในดิน
- ความกดอากาศ
- กระแสลม)

ช่ัวโมงท่ี 2 - 3

2. ขัน้ สำรวจและค้นหา (Exploration)
2.1 นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ออกเปน็ 4 กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ซงึ่ ครูแบ่งใหโ้ ดยคละความสามารถ

(อ่อน ปานกลาง เกง่ ) ศกึ ษากิจกรรม เร่อื ง ปากใบของพชื กบั การคายนำ้ ในหนังสอื เรยี นชีววทิ ยา ม.5
เล่ม 3 หน้า 106 โดยมจี ดุ ประสงค์เพอื่ 1) ศึกษารูปแบบการคายน้ำของพชื 2) ศกึ ษาปจั จัยท่ีส่งผลตอ่
การคายน้ำของพืช

2.2 สมาชิกภายในกลมุ่ แบง่ หน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบ โดยสมาชิกในกลุ่มมบี ทบาท
และหน้าท่ี
- สมาชิกคนท่ี 1 เตรยี มวัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีใช้ในกิจกรรมการคายนำ้ ของพืช
- สมาชิกคนที่ 2 และ 3 ทำการทดลอง
- สมาชกิ คนท่ี 4 บนั ทกึ ผลและนำเสนอผลทไ่ี ด้จากการทำกิจกรรม

3. ขัน้ อธิบายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
3.1 ครสู มุ่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานำเสนอผลการทำกจิ กรรมหนา้ ช้นั เรียน
3.2 นักเรียนและครูรว่ มกันอภิปรายผลกิจกรรม โดยครูถามคำถามท้ายกิจกรรม โดยมี

แนวคำถาม ดังน้ี
- พืชคายน้ำออกมาในรปู อะไร (แนวคำตอบ ไอน้ำ)
- ปากใบ (Stomata) มีลักษณะอย่างไร เซลลท์ เี่ ป็นองคป์ ระกอบของปากใบแตกตา่ ง

จากเซลล์อ่นื ในช้ันเอพิเดอรม์ สิ (Epidermis) อยา่ งไร
(แนวคำตอบ เป็นชอ่ งวา่ งท่ีบรเิ วณขอบมีลกั ษณะคล้ายเมล็ดถั่วแดงประกนั 1 คู่ เรียกวา่

เซลล์คุม (Guard cell) ซึ่งเป็นเซลล์ที่เปลี่ยนไปทำหน้าที่เฉพาะในชั้นเอพิเดอร์มิส (Epidermis) ซึ่ง
แตกต่างไปจากเซลล์อ่นื ในชัน้ เอพิเดอร์มสิ )

19

- ความหนาแนน่ ของปากใบ (Stomata) ในชัน้ เอพเิ ดอร์มิส (Epidermis) ด้านบนและ
ด้านล่างของใบพืชแต่ละชนดิ แตกต่างกันหรอื ไม่อยา่ งไร

(แนวคำตอบ แตกตา่ งกนั พืชบกส่วนใหญจ่ ะพบปากใบพชื ในช้ันเอพเิ ดอรม์ ิส
(Epidermis) ดา้ นล่างมากกวา่ )

- ความหนาแนน่ ของปากใบ (Stomata) พืชในแต่ละกลุ่ม สามารถอธิบายอะไรได้บ้าง
อย่างไร

(แนวคำตอบ พืชที่มีปากใบ (Stomata) จำนวนน้อยกว่าพืชปกติ มีแนวโน้มว่า
สภาพแวดลอ้ มของ พชื ประเภทนี้ มอี ากาศคอ่ นข้างรอ้ น หรือรอ้ นจัด นอกจากน้พี ืชบางชนิดไม่มีปาก
ใบ มแี นวโนม้ ว่าสภาพแวดล้อมของพืชประเภทน้ลี ว้ นประกอบไปด้วยน้ำ หรอื อยใู่ ต้น้ำ)

3.3 นักเรียนทำแบบฝึกหัดท้ายกิจกรรมที่ 10.1 ปากใบของพืชและการคายน้ำ จาก
หนงั สอื เรียนชวี วิทยา ม.5 เลม่ 3 หนา้ 108 ลงในสมุดบันทกึ ของตนเอง

4. ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration)
4.1 นักเรียนตอบคำถามที่ครูเตรียมมา โดยครูช่วยอธิบายคำตอบเพิ่มเติมเพื่อให้

นักเรียนเกดิ เขา้ ใจย่ิงข้ึน มแี นวคำถาม ดงั นี้
- แสงมีผลต่อการเปดิ -ปดิ ของปากใบพืชอย่างไร
(แนวคำตอบ แสงสง่ ผลใหป้ ริมาณนำ้ ตาลท่ีไดจ้ ากกระบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแสง

เพมิ่ ข้นึ ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์คุม (Guard cell) จึงเพิม่ ขน้ึ น้ำจากเซลล์ขา้ งเคียงจึง
ออสโมซสิ (Osmosis) เขา้ สู่เซลลค์ ุม ทำให้เซลลค์ มุ เตง่ ปากใบพชื จงึ เปดิ เมื่อไม่มีแสงกระบวนการ
สงั เคราะห์ด้วยแสงของพชื เพอ่ื ผลติ น้ำตาลจงึ หยุดลง สง่ ผลให้ความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์
คมุ ลดลง ปรมิ าณน้ำภายในเซลลค์ มุ จงึ ออสโมซิสออกจากเซลล์ เซลล์คมุ เห่ยี ว ปากใบพชื จึงปดิ

- จงเปรียบเทียบอัตราการคายน้ำของต้นจามจุรีที่ปลูกบริเวณริมถนนกับบริเวณ
อุทยาน

(แนวคำตอบ ต้นจามจุรีที่ปลูกบริเวณริมถนนมีอัตราการคายน้ำต่ำกว่าบริเวณอุทยา
เนอ่ื งจากปริมาณแกส๊ คาร์บอน (CO2) ริมถนนมปี รมิ าณสงู กวา่ สง่ ผลใหป้ ากใบพชื หรีล่ ง อัตราการคาย
นำ้ ของพืชจึงต่ำลง)

- หากปลกู พชื ในสภาพดินทไ่ี ม่อมุ้ น้ำ พืชจะมกี ลไกรกั ษาดลุ ยภาพของนำ้ อย่างไร
(แนวคำตอบ พชื จะสงั เคราะห์กรดแอบไซซิก (Abscisic acid, ABA) ทำใหป้ ากใบพชื
ปิด เพ่ือลดการสญู เสียน้ำภายในรา่ งกายของพืช)
- อตั ราการคายนำ้ มีผลตอ่ การดูดน้ำและธาตุอาหารของพชื หรอื ไม่ อย่างไร
(แนวคำตอบ อัตราการคายน้ำของพืชมีผลทำให้รากพืชดูดน้ำและธาตุอาหารที่อยู่
ภายในดินมากขึน้ เนื่องจากมีแรงดงึ จากการคายน้ำ (Transpiration pull))
- ความกดอากาศมีผลตอ่ อตั ราการคายนำ้ ของพืชอยา่ งไร
(แนวคำตอบ ในบรเิ วณทีม่ ีความกดอากาศต่ำ ไอน้ำทอ่ี ยู่ภายในใบจะระเหยออกมาได้
งา่ ย แตถ่ า้ ความกดอากาศสงู ไอนำ้ ในใบจะระเหยออกมาไดน้ ้อยลง)

20

- จงเปรียบเทียบอัตราการคายน้ำระหว่างใบของต้นมะม่วงกับใบของต้นคุณนายต่ืน
สาย

(แนวคำตอบ ใบของต้นมะม่วงมีอัตราการคายที่สูงกว่าใบของต้นคุณนายตื่นสาย
เน่อื งจากใบพชื ทม่ี ีขนาดใหญ่และกวา้ งจะคายน้ำไดม้ ากกวา่ ใบพชื ท่ีมขี นาดเลก็ )

- การจัดเรียงตัวของใบมีผลต่ออัตราการคายน้ำของพืชอยา่ งไร
(แนวคำตอบ ถ้าใบพชื อยูต่ รงข้ามกับดวงอาทติ ย์เปน็ มุมแคบจะเกดิ การคายน้ำไดน้ อ้ ย
กว่าใบทที่ ำมมุ กวา้ ง)

5. ขัน้ ประเมิน (Evaluation
5.1 ครตู รวจแบบฝกึ หัดทา้ ยกิจกรรมที่ 10.1 ปากใบของพชื และการคายน้ำ จากหนังสือ

เรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3
5.2 นกั เรียนร่วมกันตอบคำถามทคี่ รูถามเพื่อทดสอบความเขา้ ใจ โดยมีแนวคำถามดังนี้
- เซลลค์ ุม (Guard cell) และปากใบของสาหรา่ ยหางกระรอก และใบกระเพรามีความ

เหมือนและ แตกต่างกนั อย่างไร
(แนวคำตอบ เหมอื นกัน คือ มลี ักษณะเหมือนเมลด็ ถวั่ ประกบกัน 1 ค)ู่
- อัตราการคายนำ้ ของต้นมะม่วงในเวลาเชา้ และบา่ ยมคี วามแตกตา่ งกนั หรอื ไม่ อย่างไร
(แนวคำตอบ แตกต่างกัน ต้นมะม่วงจะมีอัตราการคายน้ำในเวลาเช้าต่ำกว่าเวลาบ่าย

เนอ่ื งจากในเวลาบา่ ย ความเข้มของแสงจะสงู ขนึ้ ทำใหป้ ากใบพืชยิง่ เปิดมากขนึ้ แต่ถา้ ความเข้มแสงมี
มากเกิดกว่าปกติ ปากใบพืชจะหรี่ลงจนกระทั่งปากใบปิด เพื่อลดการสูญเสียน้ำภายในร่างกายของ
พืช)

6. ส่ือ / แหล่งเรียนรู้
1. หนงั สอื เรียนรายวิชาเพ่มิ เตมิ วิทยาศาสตรช์ ีววทิ ยา เลม่ 3 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 สสวท.
2. เพาเวอร์พอยต์ เรื่อง การแลกเปล่ยี นแกส๊ และการคายน้ำ
3. วัสดุอปุ กรณท์ ีใ่ ชใ้ นการทดลอง
4. ใบความรู้ เรอ่ื ง การปรับตัวโครงสรา้ งภายในใบของพชื
5. ใบความรู้ เรอ่ื ง กลไกการเปิด-ปดิ ของปากใบ
6. วัสดอุ ุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นกจิ กรรมท่ี 10.1 ปากใบของพืชและการคายนำ้

7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
1. แบบฝกึ หัดท้ายกิจกรรมที่ 10.1 ปากใบของพืชและการคายนำ้ จากหนังสือเรียนชีววิทยา

ม.5 เลม่ 3 หนา้ 108
2. กจิ กรรมท่ี 10.1 ปากใบของพชื กับการคายน้ำ

21

8. การวดั และประเมินผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีวัดผล เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การผ่าน
จุดประสงค์
ด้านความรู้ (K) แบบฝึกหัดท้าย
กจิ กรรมที่ 10.1 ระดบั คณุ ภาพพอใช้
อธิบายการแลกเปลี่ยนแก๊สและการ - สังเกตจากการ ปากใบของพืชและ ขึน้ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์
คายนำ้ ของพชื ได้
ตอบคำถามและ การคายนำ้ ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดขี ึน้
ไป
แสดงความคิดเหน็ กจิ กรรมท่ี 10.1
ปากใบของพืชกับ ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70
- ตรวจแบบฝึกหัด ขน้ึ ไป
การคายน้ำ
ทา้ ยกจิ กรรมที่
แบบประเมนิ
10.1 ปากใบของ คุณลกั ษณะอันพึง

พืชและการคายน้ำ ประสงค์

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P)

1. สืบค้นข้อมูลการคายน้ำของพืช - การปฏบิ ัติ

การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ กจิ กรรม

ของพืชผ่านทางปากใบได้ - สงั เกตจากการ

2. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการคาย ตอบคำถามและ

น้ำของพืชได้ แสดงความคิดเหน็

- การนำเสนอ

ด้านคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ (A) ประเมนิ
คุณลักษณะอนั พงึ
มคี วามกระตือรอื ร้นและความอยากรู้
อยากเห็น ประสงค์

22

23

เกณฑ์การประเมินผลการทำแบบฝกึ หัด

ประเด็นการประเมิน คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ทำแบบฝกึ หัดถูกต้อง ทำแบบฝกึ หัดถกู ต้อง ทำแบบฝึกหัดถกู ต้อง ทำแบบฝึกหัดถูกตอ้ ง

ความถูกตอ้ ง ร้อยละ 80 ขึ้นไป รอ้ ยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 น้อยกว่ารอ้ ยละ 50

ทำแบบฝกึ หัดมีความ ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝึกหัดเปน็ ทำแบบฝึกหัดเป็น
เปน็ ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด
ความเปน็ ระเบยี บ เรยี บร้อยดมี าก เป็นระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด เรียบรอ้ ยพอใช้
ความตรงต่อเวลา
สง่ แบบฝกึ หัดทันตาม เรยี บรอ้ ยดี เรยี บร้อยปานกลาง สง่ แบบฝกึ หัดล่าช้า
เวลาท่ีกำหนด กว่าเวลาท่ีกำหนด
ส่งแบบฝกึ หดั ลา่ ช้ากวา่ ส่งแบบฝกึ หดั ล่าชา้ มากกวา่ 3 วัน

เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน กว่าเวลาที่กำหนดไป

3 วัน

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

0 - 4 ควรปรับปรงุ อยา่ งยงิ่

5 - 6 ควรปรับปรงุ

7 - 8 พอใช้

9 – 10 ดี

11 - 12 ดมี าก

เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คณุ ภาพพอใช้ข้นึ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

24

25

เกณฑ์การประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรม

ประเดน็ ท่ปี ระเมนิ ระดบั คะแนน 321

1. การปฏบิ ตั ิ 4 ทำกิจกรรมตาม ต้องใหค้ วาม ตอ้ งใหค้ วาม
กิจกรรม
ทำกิจกรรมตาม ข้นั ตอน และใช้ ช่วยเหลือบ้างใน ชว่ ยเหลอื อย่าง
ขน้ั ตอน และใช้
อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง การทำกจิ กรรม มากในการทำ
ถกู ต้อง
ถกู ตอ้ ง แต่อาจ และการใช้ กิจกรรม และ

ตอ้ งไดร้ บั อุปกรณ์ การใช้อปุ กรณ์

คำแนะนำบา้ ง

2. ความ มีความ มีความ ขาดความ ทำกจิ กรรมเสร็จ
คล่องแคลว่ คล่องแคลว่
ในขณะ ในขณะทำ คลอ่ งแคลว่ คลอ่ งแคล่ว ไม่ทนั เวลา และ
ปฏบิ ัติ กิจกรรมโดยไม่
กิจกรรม ตอ้ งได้รับคำ ในขณะทำ ในขณะทำ ทำอุปกรณ์
ชีแ้ นะ และทำ
กิจกรรมเสร็จ กิจกรรมแตต่ อ้ ง กิจกรรมจึงทำ เสียหาย
ทนั เวลา
ได้รบั คำแนะนำ กจิ กรรมเสรจ็ ไม่
3. การบนั ทึก บนั ทกึ และ
สรปุ และ สรปุ ผลการทำ บา้ ง และทำ ทันเวลา
นำเสนอผล กิจกรรมได้
การปฏิบัติ ถกู ตอ้ ง รดั กุม กิจกรรมเสร็จ
กจิ กรรม นำเสนอผลการ
ทำกจิ กรรมเป็น ทันเวลา
ขั้นตอนชดั เจน
บนั ทึกและ ต้องให้ ต้องใหค้ วาม

สรปุ ผลการทำ คำแนะนำในการ ช่วยเหลอื อย่าง

กิจกรรมได้ บันทกึ สรุป มากในการ

ถกู ตอ้ ง แตก่ าร และนำเสนอผล บันทกึ สรุป

นำเสนอผลการ การทำกิจกรรม และนำเสนอผล

ทำกิจกรรมยงั ไม่ การทำกจิ กรรม

เป็นขัน้ ตอน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ช่วงคะแนน ดมี าก
10-12 ดี
7-9 พอใช้
4-6 ปรบั ปรงุ
0-3

สรปุ คะแนนรวม 0 - 7 คะแนน ไมผ่ ่าน

26

27

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คุณลกั ษณะของนกั เรียน
ประเมิน
3 2 1
1. มวี นิ ัย
- มีความตรงตอ่ เวลา มีความซอ่ื สัตย์ - มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ
2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจท่ีจะทำงาน ทำงาน
ใฝเ่ รยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความต้ังใจท่จี ะ - มีความรับผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ
ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์
- มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อืน่ ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต
- มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสียสละ
- เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผ้อู นื่ - เข้าร่วมกิจกรรม
- มคี วามอดทนขยันหมั่นเพียร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
- รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
- เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ
เรยี นรู้ - เอาใจใสแ่ ละมีความ
- ต้งั ใจในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้
- เข้าร่วมกิจกรรมการเรยี นรู้ต่าง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง
- มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรยี น เรียน
- จดสรุปจากท่ีครเู ขยี น

3. มีความ - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ที ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่
ม่งุ มน่ั ในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน
ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน
ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อตอ่ ปัญหาใน - เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ
การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
- มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน
ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7
คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7
คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน
คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน
คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน
คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ณุ ภาพ
3 คะแนน ดี
2 คะแนน พอใช้
1 คะแนน ปรบั ปรงุ

28

29

30

31

ใบความรูท้ ี่ 1
เรือ่ ง การปรับตัวโครงสรา้ งภายในใบของพชื

นอกจากพืชมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างภายนอกให้เหมาะสมกับหน้าที่แล้ว พืชยังมี
การปรับตัวของโครงสร้างภายในของใบ ทำให้พืชนั้นสามารถเจริญเติบโตและขยายพันธุ์ได้ภายใต้
สภาพแวดล้อมทไ่ี มเ่ หมาะสมต่าง ๆ เชน่ พืชท่ีข้นึ ในทแ่ี ห้งแล้ง นอกจากจะมีการลดรปู ของใบใหเ้ ล็กลง
หรอื กลายเป็นหนามแล้ว ใบพืชยงั มีการปรับตวั ของโครงสร้างภายในของใบเพื่อลดการสูญเสียน้ำโดย
ชั้นเนื้อเยื่อผิวจะมีคิวติเคิลหนา มีปากใบแบบ sunken stomata ที่เซลล์คุมอยู่ในระดับท่ีต่ำกว่า
เซลล์ผิว (รูป ก) และในพืชบางชนิดมีโครงสร้างพิเศษ เรียกว่า stomatal crypt (รูป ข) โดยช้ัน
เนื้อเยื่อผิวเว้าเป็นแอ่ง มีปากใบอยู่ในบริเวณนี้และยังมีขนยาวปกคลุมไว้อีกชัน้ หนึ่ง นอกจากนี้พืชที่
ขึ้นในที่แห้งแล้งบางชนิด โครงสร้างภายในของใบบริเวณเนื้อเยื่อผิว หรือบริเวณเนื้อเยื่อพื้นในมีโซ
ฟลิ ล์ อาจมเี ซลล์ขนาดใหญท่ ี่ทำหนา้ ที่เกบ็ สะสมน้ำ เรยี กว่า water storage tissue (รปู ค) ส่วนพืช
ที่ขึ้นอยู่ในน้ำหรือใกล้แหล่งน้ำ ก็มีการปรับตัวของโครงสร้างเหมือนกัน โดยในชั้นมีโซฟิลล์มักจะมี
ช่องว่างระหว่างเซลล์ (intercellular space) จำนวนมากหรือมีขนาดใหญ่ เพื่อกักเก็บอากาศ ช่วย
เพิม่ ปริมาณออกซิเจนและช่วยใหพ้ ืชลอยน้ำได้ (รูป ง)

32

ใบความรทู้ ี่ 2
เรอ่ื ง กลไกการคายน้ำของพชื

การคายน้ำของพืช คือ กระบวนการที่พืชกำจัดน้ำออกมาในรูปของไอน้ำ ส่วนใหญ่เกิดขึ้นท่ี
ปากใบ ประมาณ 80 – 90 % หรอื เกิดขึ้นท่ผี ิวใบประมาณ 10 % หรอื ตามรอยแตกของลำตน้

ในแต่ละวันร่างกายพืชต้องการน้ำในปริมาณที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่ปัจจัยภายในและภายนอก
โดยการเปิด-ปิดของปากใบพืชเป็นกลไกรักษานำ้ ในรา่ งกายของพืชใหอ้ ยูใ่ นสภาวะสมดลุ ซ่งึ ปากใบพืช
เปิด-ปดิ ได้อย่างไร นักเรยี นจะได้ศกึ ษาดังตอ่ ไปน้ี

การเปดิ -ปดิ ของปากใบเกิดจากการตอบสนองของพชื แบง่ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ ดงั น้ี
1. การตอบสนองต่อแสง (Blue light) แสงจากดวงอาทิตยก์ ระตนุ้ ให้เอนไซม์ H+- ATPase ไป
กระตุ้นให้ตัวรับแสงหรือโฟโตรีเซปเตอร์ (PHOT1) ปั๊มไฮโดรเจนไอออนออกจากเซลล์คุม
โพแทสเซยี มไอออนจงึ เข้าสู่เซลล์คมุ และไปกระตุน้ ให้คลอไรด์ไอออนเข้าสู่เซลล์คมุ ด้วย สง่ ผลให้ความ
เข้มข้นของสารละลายภายใน เซลล์คุมสูง น้ำจากบริเวณข้างเคียงจึงออสโมซิสเข้ามา จนกระทั่ง
เซลลค์ มุ เตง่ ปากใบพชื จงึ เปิด

2. การตอบสนองตอ่ ฮอรโ์ มนพืช (ABA) เมอ่ื รา่ งกายพชื ขาดนำ้ สว่ นหนง่ึ ทท่ี ำให้พชื เปิดปากใบ
คือ พืชจะหลั่ง ABA ส่งผลให้ตัวรับแสงหรอื โฟโตรเี ซปเตอร์ (PHOT1) หยุดปั๊มไฮโดรเจนไอออนออก
จากเซลลค์ ุม โพแทสเซียมไอออนไหลออกจากเซลล์คมุ และไปกระตนุ้ ให้คลอไรด์ไอออนออกจากเซลล์
คมุ ดว้ ย สง่ ผลใหค้ วามเข้มขน้ ของสารละลายภายในเซลล์ต่ำลง น้ำจากบริเวณข้างเคียงจึงออสโมซิสอ
อกจากเซลล์ ทำให้เซลล์เหย่ี ว ปากใบพชื จงึ ปดิ

33

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 15

กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5
รายวิชา ชีววทิ ยา 3 รหัส ว 32243
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 10 การลำเลียงของพืช เวลา 9 ชั่วโมง
เรอ่ื ง การลำเลยี งธาตุอาหาร เวลา 2 ชว่ั โมง
ภาคเรียนที่ 1/2565
ครูผ้สู อน นางสาวธัญญาเรศ ทบอาจ

1. มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้
สาระชีววิทยา 3 เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊สและคายน้ำของพืช การ

ลำเลียงของพืช การสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการ
ตอบสนองของพืชรวมทั้งนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

ผลการเรยี นรู้
10. สืบค้นขอ้ มูล อธิบายความสำคญั ของธาตอุ าหาร และยกตวั อย่างธาตอุ าหารที่สำคัญท่ีมี
ผลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื

2. สาระสำคญั
พืชแต่ละชนิดต้องการธาตุอาหารที่ต่างกันทั้งชนิดและปริมาณ พืชได้รับธาตุอาหารจากดิน

ผ่านทางรากแล้วเคลื่อนที่ไปยังส่วนต่างๆ ของพืช พร้อมกับการลำเลียงน้ำในไซเล็ม ความรู้เกี่ยวกบั
สมบัติของธาตุอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชใน
สารละลายธาตุอาหาร

3. สาระการเรยี นรู้
- การลำเลียงธาตุอาหาร

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ด้านความรู้ (K)
1. อธบิ ายกลไกการลำเลียงธาตุอาหารของพืชได้
2. อธบิ ายความสำคัญของธาตอุ าหารท่ีมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพืชได้
3. ยกตัวอย่างธาตุอาหารที่สำคัญที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และยกตัวอย่างการ
นำมาใช้ประโยชน์ในการปลูกพชื ได้

34

2. ด้านทกั ษะกระบวนการ (P)
1. สืบคน้ ข้อมูลและอภปิ รายเก่ียวกับชนดิ ของธาตอุ าหารทจ่ี ำเปน็ ตอ่ การเจริญเตบิ โต

ของพืชได้
2. สบื คน้ ขอ้ มูลและอภปิ รายอาการของพชื เม่อื ขาดอาหารได้

3. ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A)
มคี วามรับผดิ ชอบตอ่ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายและมคี วามซอ่ื สตั ย์

5. กิจกรรมการเรียนรู้
รปู แบบการสอนทใี่ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คือ การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5E

1. ขน้ั สร้างความสนใจ (Engagement)
1.1 นกั เรยี นตอบคำถามท่ีครูถาม เพือ่ ใหน้ กั เรยี นเห็นถึงบทบาทของธาตอุ าหารทีม่ ีต่อการ

ดำรงชวี ิตของพชื โดยมแี นวคำถาม ดงั นี้
- โพแทสเซยี มไอออนมบี ทบาทในการเปดิ ปิดปากใบอย่างไร
- พืชไดร้ บั โพแทสเซียมไอออนมาจากแหลง่ ใด
- นอกจากโพแทสเซยี มแล้วมีธาตุอาหารชนดิ อ่นื อกี หรอื ไมท่ ี่จำเป็นตอ่ การดำรงชวี ติ

ของพชื
(แนวคำตอบ ธาตุอาหาร เช่น โพแทสซียม มีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการ

เจริญเติบโตของพืช ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืชมีหลายชนิด โดยทั่วไปพืชจะได้รับ
ธาตุอาหารเหล่าน้ีจากดนิ ผ่านทางราก)

2. ขั้นสำรวจและคน้ หา (Exploration)
2.1 ครูทบทวนความรู้นักเรียนเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของน้ำเข้าสู่รากพืช จากนั้นถาม

นักเรยี นว่า
- ธาตอุ าหารสามารถเคลอื่ นทเ่ี ข้าสู่รากพชื ดว้ ยวธิ กี ารเดยี วกบั น้ำหรอื ไม่
- น้ำสามารถเคล่ือนที่ผา่ นเยือ่ ห้มุ เซลล์โดยออสโมซิสรวมท้ังการแพร่แบบฟาซิลิเทต แล้วธาตุ

อาหารเคลอ่ื นท่ผี ่านเยือ่ หมุ้ เซลลโ์ ดยวิธใี ด
2.2 นกั เรยี นสืบคน้ ขอ้ มลู จากหนงั สือเรยี นชวี วทิ ยา ม.5 เลม่ 3 โดยใชต้ าราง 10.1 ธาตุ

อาหารที่พืชต้องการ แบ่งตามหน้าที่และการทำงาน และรูป 10.12 อาการของต้นแตงกวาที่ขาดธาตุ
อาหารบางชนิด เพอ่ื ประกอบการสืบคน้ โดยใชค้ ำถามเพ่อื นำการสบื คน้ ดังน้ี

- การแบง่ กล่มุ ธาตอุ าหารสำหรับพืชสามารถแบ่งโดยใช้เกณฑ์ใดบ้าง
- ถา้ พชื ขาดธาตอุ าหารจะสง่ ผลต่อการเจริญเตบิ โตของพชื อยา่ งไร

35

2.3 นกั เรยี นแบง่ กล่มุ ออกเปน็ 4 กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ซึ่งครูแบง่ ใหโ้ ดยคละความสามารถ
(อ่อน ปานกลาง เก่ง) ทำกิจกรรม 10.2 ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช โดยมี
จุดประสงค์เพอ่ื 1) สบื คน้ ขอ้ มูลและอภิปรายเกย่ี วกับชนิดของธาตุอาหารท่จี ำเป็นตอ่ การเจริญเติบโต
ของพืชได้ 2) สืบค้นข้อมูลและอภิปรายอาการของพืชเมื่อขาดอาหาร โดยวิธีการทำกิจกรรม คือ
สบื ค้นข้อมลู และเลอื กพชื ในท้องถน่ิ หรือพืชทน่ี กั เรียนสนใจ เพอื่ ทำการศึกษาในหวั ข้อ ดงั นี้

- ธาตุอาหารท่จี ำเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพชื
- ชนิดของพชื ท่นี กั เรยี นเลอื กศึกษา และเหตผุ ลทน่ี ักเรียนเลอื กพืชชนิดดงั กล่าว
- อาการเมื่อพืชที่นักเรียนเลือกได้รับธาตุอาหารบางชนิดน้อยเกินไป โดยนักเรียน
อาจไมจ่ ำเป็นต้องสบื ค้นข้อมูลของธาตุอาหารทกุ ชนิด
- แนวทางในการแกไ้ ขการขาดธาตุอาหารของพชื

3. ขัน้ อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation)
3.1 ครสู ุม่ ตวั แทนกลมุ่ ออกมานำเสนอผลการทำกิจกรรมหน้าช้ันเรียน
3.2 นกั เรียนและครูร่วมกันอธบิ ายและลงขอ้ สรปุ ว่า การลำเลยี งธาตุอาหารในพืชมีความ

ซบั ซ้อนกว่าการลำเลียงน้ำน้ำสามารถแพร่ผา่ นเยือ่ หุ้มเซลลโ์ ดยออสโมซิสหรอื การแพร่แบบฟาซิลิเทต
ในขณะท่ีธาตุอาหารจะเคล่อื นที่ผ่านเยอ่ื ห้มุ เซลลแ์ ละเขา้ สเู่ ซลลพ์ ืชไดต้ อ้ งอาศัยโปรตนี ลำเลียงบนเย่ือ
หุ้มเซลล์ การแบ่งกลุ่มธาตุอาหารสามารถทำได้โดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ กัน เช่น ปริมาณที่พืชต้องการ
บทบาทหน้าที่ ธาตุอาหารแต่ละชนิดล้วนมีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของพืช หากพืชได้รับธาตุ
อาหารชนดิ ใดกต็ ามในปรมิ าณท่ีมากหรอื น้อยกวา่ ความตอ้ งการจะทำใหพ้ ชื แสดงอาการต่าง ๆ กนั

3.3 ครูเพ่ิมเติมความรู้แก่นักเรียนว่า เมื่อพืชได้รับธาตุอาหารบางชนิดในปริมาณที่มาก
เกินไป เช่น เมื่อข้าวได้รับไนโตรเจนมากเกินไป จะแสดงอาการเฝือใบหรือบ้าใบ ใบมีขนาดใหญ่
สีเขียวเข้ม ลำต้นสูง ออ่ นแอ ลม้ ง่าย เมล็ดลีบ ผลผลติ ลดลงหรอื เมื่อไดร้ ับเหลก็ มากเกินไป จะพบจุดสี
นำ้ ตาลท่ใี บซง่ึ อยู่บริเวณดา้ นลา่ งของลำตน้

4. ขัน้ ขยายความรู้ (Elaboration)
ครูเพมิ่ เติมความร้เู กยี่ วกบั การปลูกพชื ในสารละลายหรอื ไฮโดรพอนกิ ส์ โดยเชื่อมโยงกับ

ชีวติ ประจำวันวา่ ถา้ หากตอ้ งการปลูกพืชแต่ไมม่ พี ื้นทีเ่ พียงพอท่ีจะปลูกพืชบนดินได้ หรือหากต้องการ
ปลูกพชื โดยควบคุมปรมิ าณธาตุอาหารทพี่ ืชไดร้ ับนกั เรียนคิดว่าจะมีวธิ ีใดบ้าง ครูให้นักเรียนอภิปราย
ร่วมกนั ทั้งนเี้ พ่ือนำไปสู่ขอ้ สรปุ เก่ียวกบั การปลกู พืชไฮโดรพอนิกส์ โดยครูใช้รปู 10.13 ตัวอยา่ งวธิ ีการ
ปลูกพืชในสารละลายธาตุอาหาร ในหนังสือเรียนชีววิทยา 3 เพื่อเป็นตัวอย่างให้นักเรียนดู จากน้ัน
นักเรียนตอบคำถามท่คี รถู าม ดงั น้ี

36

รปู 10.3 ตัวอย่างวธิ ีการปลูกพชื ในสารละลายธาตอุ าหาร

- เพราะเหตใุ ดจงึ มีการปม๊ั อากาศเตมิ ลงในสารละลายธาตอุ าหารในการปลูกพืช
ไฮโดรพอนิกส์

(แนวคำตอบ เปน็ การใหอ้ อกซิเจนแกร่ ากพชื เพอื่ นำไปใช้ในกระบวนการหายใจ
ระดับเซลล์ เพราะหากรากพชื ไมไ่ ด้รบั ออกซเิ จนเปน็ เวลานาน พืชอาจจะตายได้)

- ในการปลกู พชื ไฮโดรพอนิกส์ ปัจจัยใดบา้ งท่มี ีผลตอ่ การนำธาตุอาหารเข้าสู่รากพชื
(แนวคำตอบ รปู ของธาตอุ าหาร pH ของสารละลาย ออกซเิ จน )

5. ขั้นประเมนิ (Evaluation)
5.1 นกั เรียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยกิจกรรมที่ 10.2 ธาตุอาหารที่จำเป็นตอ่ การเจรญิ เตบิ โต

ของพืช จากหนังสอื เรยี นชีววิทยา ม.5 เลม่ 3 หนา้ 118
5.2 นกั เรียนร่วมกนั ตอบคำถามท่ีครถู ามเพ่อื ทดสอบความเขา้ ใจ โดยมีแนวคำถามดงั น้ี
- หากดินมธี าตุอาหารนอ้ ย รากพืชจะลำเลยี งอาหารแบบใด
(แนวคำตอบ ไม่ได้ เพราะธาตแุ ต่ละชนิดล้วนมีความสำคญั แต่พชื แต่ละชนดิ ตา่ งมี

ลักษณะที่แตกต่างกัน จึงอาจมีความตอ้ งการของธาตแุ ตล่ ะชนิดไม่เท่ากนั )
- หากใบพืชทเ่ี จริญใหม่หงกิ งอ ตายอดไม่เจริญ มีจดุ ดำที่เส้นใบ พชื ชนดิ นข้ี าดธาตอุ าหาร

อะไร
(แนวคำตอบ ธาตแุ คลเซียม (Ca))
- ธาตอุ าหารชนดิ ใดบ้างท่ีพชื ต้องการในปริมาณมากและน้อย ตามลำดับ
(แนวคำตอบ ธาตอุ าหารหลกั ไดแ้ ก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)

แคลเซยี ม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กำมะถัน (S) เป็นธาตุอาหารทพ่ี ืชตอ้ งการในปรมิ าณมาก ธาตุ
อาหารรอง ได้แก่ เหล็ก (Fe) สงั กะสี (Zn) โมลบิ ดนิ มั (Mo) แมกกานสี (Mn) ทองแดง (Cu) โบรอน
(B) คลอรีน (Cl) เป็นธาตุอาหารทพ่ี ชื ต้องการในปริมาณน้อย แตข่ าดไม่ได้)

37

6. สอื่ / แหล่งเรยี นรู้
1. หนังสอื เรียนรายวิชาเพม่ิ เติมวิทยาศาสตร์ชีววทิ ยา เลม่ 3 ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 สสวท.
2. เพาเวอร์พอยต์ เรอ่ื ง การลำเลยี งธาตุอาหาร

7. ชนิ้ งาน/ภาระงาน
1. แบบฝึกหัดท้ายกิจกรรมที่ 10.2 ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จาก

หนังสือเรียนชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 หน้า 118
2. กิจกรรม 10.2 ธาตอุ าหารทจี่ ำเปน็ ตอ่ การเจริญเตบิ โตของพืช

8. การวัดและประเมนิ ผล

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ วี ัดผล เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การผ่าน
จุดประสงค์
ดา้ นความรู้ (K) แบบฝกึ หดั ท้าย ระดบั คุณภาพพอใช้
กิจกรรมที่ 10.2 ขึ้นไปถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
1. อธบิ ายกลไกการลำเลียงธาตุ - สงั เกตจากการ
กิจกรรมท่ี 10.1 ผา่ นเกณฑ์ระดบั ดขี ึน้
อาหารของพืชได้ ตอบคำถามและ ปากใบของพชื กับ ไป
แสดงความคิดเหน็
2. อธบิ ายความสำคญั ของธาตุอาหาร - ตรวจแบบฝกึ หัด การคายน้ำ ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ 70
ทมี่ ีผลตอ่ การเจรญิ เติบโตของพืชได้ ทา้ ยกิจกรรมที่ ขน้ึ ไป
3. ยกตัวอย่างธาตุอาหารท่ีสำคญั ทม่ี ี 10.2 แบบประเมิน
ผลต่อการเจริญเติบโตของพชื และ คุณลกั ษณะอนั พึง
ยกตวั อยา่ งการนำมาใชป้ ระโยชนใ์ น
ประสงค์
การปลูกพชื ได้

ด้านทักษะกระบวนการ (P)

1. สบื ค้นขอ้ มูลและอภปิ รายเกี่ยวกบั - การปฏบิ ตั ิ

ชนิดของธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการ กจิ กรรม

เจริญเตบิ โตของพชื ได้ - สังเกตจากการ

2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายอาการ ตอบคำถามและ

ของพืชเมอ่ื ขาดอาหารได้ แสดงความคิดเห็น

- การนำเสนอ

ด้านคุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ (A) ประเมนิ
มคี วามกระตือรือรน้ และความอยากรู้

อยากเหน็ คณุ ลกั ษณะอันพงึ

ประสงค์

38

39

เกณฑ์การประเมินผลการทำแบบฝกึ หัด

ประเด็นการประเมิน คาํ อธิบายระดับคณุ ภาพ/ระดบั คะแนน

4 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 1 คะแนน

ทำแบบฝกึ หัดถูกต้อง ทำแบบฝกึ หัดถกู ต้อง ทำแบบฝึกหัดถกู ต้อง ทำแบบฝึกหัดถูกตอ้ ง

ความถูกตอ้ ง ร้อยละ 80 ขึ้นไป รอ้ ยละ 65 – 79 รอ้ ยละ 50 - 64 น้อยกว่ารอ้ ยละ 50

ทำแบบฝกึ หัดมีความ ทำแบบฝกึ หดั มีความ ทำแบบฝึกหัดเปน็ ทำแบบฝึกหัดเป็น
เปน็ ระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด
ความเปน็ ระเบยี บ เรยี บร้อยดมี าก เป็นระเบียบ สะอาด ระเบยี บ สะอาด เรียบรอ้ ยพอใช้
ความตรงต่อเวลา
สง่ แบบฝกึ หัดทันตาม เรยี บรอ้ ยดี เรยี บร้อยปานกลาง สง่ แบบฝกึ หัดล่าช้า
เวลาท่ีกำหนด กว่าเวลาท่ีกำหนด
ส่งแบบฝกึ หดั ลา่ ช้ากวา่ ส่งแบบฝกึ หดั ล่าชา้ มากกวา่ 3 วัน

เวลาท่ีกำหนดไป 1 วัน กว่าเวลาที่กำหนดไป

3 วัน

เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ

ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ

0 - 4 ควรปรับปรงุ อยา่ งยงิ่

5 - 6 ควรปรับปรงุ

7 - 8 พอใช้

9 – 10 ดี

11 - 12 ดมี าก

เกณฑก์ ารผา่ น ระดบั คณุ ภาพพอใช้ข้นึ ไปถือวา่ ผ่านเกณฑ์

40

41

เกณฑ์การประเมินการปฏิบตั กิ จิ กรรม

ประเดน็ ท่ปี ระเมนิ ระดบั คะแนน 321

4. การปฏบิ ตั ิ 4 ทำกิจกรรมตาม ต้องใหค้ วาม ตอ้ งใหค้ วาม
กิจกรรม
ทำกิจกรรมตาม ข้นั ตอน และใช้ ช่วยเหลือบ้างใน ชว่ ยเหลอื อย่าง
ขน้ั ตอน และใช้
อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง อปุ กรณไ์ ดอ้ ยา่ ง การทำกจิ กรรม มากในการทำ
ถกู ต้อง
ถกู ตอ้ ง แต่อาจ และการใช้ กิจกรรม และ

ตอ้ งไดร้ บั อุปกรณ์ การใช้อปุ กรณ์

คำแนะนำบา้ ง

5. ความ มีความ มีความ ขาดความ ทำกจิ กรรมเสร็จ
คล่องแคลว่ คล่องแคลว่
ในขณะ ในขณะทำ คลอ่ งแคลว่ คลอ่ งแคล่ว ไม่ทนั เวลา และ
ปฏบิ ัติ กิจกรรมโดยไม่
กิจกรรม ตอ้ งได้รับคำ ในขณะทำ ในขณะทำ ทำอุปกรณ์
ชีแ้ นะ และทำ
กิจกรรมเสร็จ กิจกรรมแตต่ อ้ ง กิจกรรมจึงทำ เสียหาย
ทนั เวลา
ได้รบั คำแนะนำ กจิ กรรมเสรจ็ ไม่
6. การบนั ทึก บนั ทกึ และ
สรปุ และ สรปุ ผลการทำ บา้ ง และทำ ทันเวลา
นำเสนอผล กิจกรรมได้
การปฏิบัติ ถกู ตอ้ ง รดั กุม กิจกรรมเสร็จ
กจิ กรรม นำเสนอผลการ
ทำกจิ กรรมเป็น ทันเวลา
ขั้นตอนชดั เจน
บนั ทึกและ ต้องให้ ต้องใหค้ วาม

สรปุ ผลการทำ คำแนะนำในการ ช่วยเหลอื อย่าง

กิจกรรมได้ บันทกึ สรุป มากในการ

ถกู ตอ้ ง แตก่ าร และนำเสนอผล บันทกึ สรุป

นำเสนอผลการ การทำกิจกรรม และนำเสนอผล

ทำกิจกรรมยงั ไม่ การทำกจิ กรรม

เป็นขัน้ ตอน

เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ ระดบั คุณภาพ
ช่วงคะแนน ดมี าก
10-12 ดี
7-9 พอใช้
4-6 ปรบั ปรงุ
0-3

สรปุ คะแนนรวม 0 - 7 คะแนน ไมผ่ ่าน

42

43

ตารางเกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์

ประเด็นการ คณุ ลกั ษณะของนกั เรียน
ประเมิน
3 2 1
1. มีวนิ ยั
- มีความตรงตอ่ เวลา มีความซือ่ สตั ย์ - มคี วามซือ่ สตั ยส์ ุจรติ - มีความตั้งใจทจ่ี ะ
2. มีความ สจุ ริต - มีความตั้งใจท่ีจะทำงาน ทำงาน
ใฝ่เรยี นรู้ - มีความรบั ผดิ ชอบ มีความตัง้ ใจท่จี ะ - มีความรับผิดชอบ - รจู้ กั เสียสละ
ทำงาน - มีความอดทน - มีความซ่ือสตั ย์
- มเี คารพในสทิ ธขิ องผู้อ่ืน ขยนั หมน่ั เพยี ร สุจริต
- มรี ะเบียบและปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ์ - รจู้ ักเสียสละ
- เห็นอก เหน็ ใจผ้อู ืน่ - เห็นอก เห็นใจผ้อู นื่ - เข้าร่วมกิจกรรม
- มคี วามอดทนขยันหมั่นเพยี ร การเรยี นรู้ตา่ ง ๆ
- รจู้ กั เสยี สละ รจู้ กั กาลเทศะ - เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
- เอาใจใส่และมคี วามพยายามในการ ตา่ ง ๆ
เรยี นรู้ - เอาใจใสแ่ ละมีความ
- ต้งั ใจในการเรียนรู้ พยายามในการเรยี นรู้
- เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ -มกี ารบนั ทกึ ความรใู้ นระหว่าง
- มีการบันทึกความรูใ้ นระหว่างเรียน เรียน
- จดสรุปจากทค่ี รเู ขยี น

3. มคี วาม - เอาใจใสต่ อ่ การปฏบิ ัตหิ น้าทท่ี ไ่ี ด้รับ - ทุ่มเท อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ต่อ - ทุ่มเท อดทน ไม่
มุ่งม่ันในการ มอบหมาย ปัญหาในการทำงาน ย่อท้อต่อปัญหาใน
ทำงาน - มีความตงั้ ใจและรับผิดชอบในการ - มกี ารปรับปรงุ และ การทำงาน
ทำงานใหส้ ำเรจ็ พฒั นาการทำงานด้วยตนเอง

- ทมุ่ เท อดทน ไม่ยอ่ ท้อต่อปัญหาใน - เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ
การทำงาน หน้าทที่ ่ไี ดร้ ับมอบหมาย
- มีการปรับปรงุ และพฒั นาการทำงาน
ด้วยตนเอง

เกณฑ์การประเมิน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 มคี ะแนนมากกวา่ หรือเทา่ กบั 7
คะแนน 9-8 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5 คะแนน ไม่ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ 70 มคี ะแนนน้อยกว่า 7
คะแนน 7 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4 คะแนน
คะแนน 6-5 คิดเป็นรอ้ ยละ 3 คะแนน
คะแนน 4 คดิ เปน็ ร้อยละ 2 คะแนน
คะแนน 3 คดิ เปน็ ร้อยละ 1 คะแนน

เกณฑค์ ุณภาพ
3 คะแนน ดี
2 คะแนน พอใช้
1 คะแนน ปรบั ปรงุ

44

45

46


Click to View FlipBook Version