The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน (Agri-Modern Safety Kitchen) [Paper]

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by planning13.workgroup, 2021-09-21 10:00:59

ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน (Agri-Modern Safety Kitchen) [Paper]

ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน (Agri-Modern Safety Kitchen) [Paper]

รายงานการศึกษากลมุ่

ภาพอนาคต : ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทกุ บ้าน
Scenario Projection : Agri-Modern Safety Kitchen

โดย
กลุ่มปฏบิ ตั งิ าน GP 5
หลักสตู ร นกั บริหารการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับสูง (นบส.) รนุ่ ที่ 79

ภายใต้การดแู ลของ
ดร.นริศรา อนิ ทะสิริ
อาจารย์ประจำภาควชิ าส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

เสนอ
สถาบันเกษตราธกิ าร
สำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พ.ศ. 2564



รายงานการศึกษากลมุ่

ภาพอนาคต : ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทกุ บ้าน
Scenario Projection : Agri-Modern Safety Kitchen

โดย
กลุ่มปฏบิ ตั งิ าน GP 5
หลักสตู ร นกั บริหารการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับสงู (นบส.) รนุ่ ที่ 79

ภายใต้การดแู ลของ
ดร.นริศรา อนิ ทะสิริ
อาจารย์ประจำภาควชิ าส่งเสริมและนิเทศศาสตรเ์ กษตร
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์

เสนอ
สถาบันเกษตราธกิ าร
สำนักงานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พ.ศ. 2564

2

บทสรปุ สำหรบั ผบู้ รหิ าร

ปจั จบุ ันกระแสความนยิ มของผู้บริโภคที่ห่วงใยสขุ ภาพมีมากข้ึน สง่ ผลทำใหค้ วามต้องการอาหารท่ีมี
คุณภาพและปลอดภัยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับรูปแบบและพฤติกรรมการสัง่ ซื้อสินค้าด้าน
อาหารได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เอื้อต่อการดำเนินธุรกิจดังกล่าว
ถูกนำประยุกต์ใช้มากขึ้นตามความเจริญทางด้านเทคโนโลยี ทำให้ขั้นตอนและกระบวนการตลอดห่วงโซ่
อุปทานของสินค้า ทั้งด้านการผลิต การเก็บเกี่ยว การจัดการหลังเก็บเกี่ยว การแปรรูป โลจิสติกส์ การบริการ
จดั ส่งสนิ ค้าถงึ มือผู้บริโภคสะดวกรวดเร็วมากข้ึน อีกทั้งกระทรวงเกษตรและสหกรณไ์ ด้ดำเนนิ โครงการส่งเสริม
และสนับสนุนให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยมากยิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นยกระดับการผลิตให้ได้มาตรฐาน
เป็นที่ยอมรับในระดับสากล และสนับสนุนการเชื่อมโยงตลาดเพื่อรองรับผลผลิตของเกษตรกร ด้วยการ
เผยแพร่องค์ความรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสู่เกษตรกร ควบคู่กับการออกกฏหมาย การกำหนดระเบียบ
ข้อบังคับ ข้อกำหนดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย อย่างไรก็ตาม ในการขับเคลื่อน
นโยบายส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืนของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้วยการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตร
ปลอดภัย ยังคงประสบปัญหาหลายประการ อาทิ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเกษตรปลอดภัยยังมีความยุ่งยาก
ซับซ้อน เข้าถึงยาก ทำให้เกษตรกรส่วนใหญ่ซึ่งอยู่ในกลุ่มเกษตรกรผู้สูงวัยไม่สามารถนำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีเกษตรที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงการขาดความเชื่อมโยงสอดคล้องกันใน
ระดับนโยบายของภาครัฐ ทั้งในด้านแผนการดำเนินงานของหน่วยงานต่างๆ ที่ขาดการบูรณาการทำงานของ
ภาคส่วนตา่ งๆทเี่ ก่ียวขอ้ ง ระบบงบประมาณ ระเบียบข้อกฎหมายทเี่ กย่ี วข้อง ยงั ไม่เหมาะสม และไม่สอดคล้อง
กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปแบบ Disruptive ที่อาจทำให้การพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่
อปุ ทานจากการดำเนินนโยบายตา่ งๆของภาครฐั ผ่านโครงการสำคัญตา่ ง ๆ ในปัจจบุ นั ไมบ่ รรลุเป้าหมายสงู สุด

จากสภาพปัญหาดงั กล่าว คณะผู้จัดทำตระหนักถึงความสำคญั ในการวางแผนกลยุทธ์ ด้วยการศึกษา
ภาพอนาคตในอีก 10 ปี ข้างหน้า เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงท่ีอาจจะส่งผลต่อภาคการผลิตสินค้าเกษตร
ปลอดภัยของประเทศไทย โดยการวิเคราะห์ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในปัจจุบัน และแนวโน้มอนาคตในระยะยาว
โดยอาศัยเครื่องมือในการวิเคราะห์พยากรณ์แนวโน้ม (Scenario Analysis) มาประยุกต์ใช้ เพื่อวิเคราะห์หา
ปัจจยั ทมี่ ีท่ีมีผลต่อการขับเคล่ือนการพัฒนาสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั ในอนาคต พบวา่ มปี ัจจยั ทส่ี ำคัญท่สี ่งผลการ
ต่อการเกิดภาพอนาคต “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Scenario Projection :
Agri-Modern Safety Kitchen” จำนวน 2 ปัจจัย คือ 1) ตัวบทกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาและคุ้มครอง
ผู้บริโภค และ 2) การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ซึ่งทั้ง 2 ปัจจัย ได้นำมาผูกโยงกันจน
นำมาสู่กรอบแนวคิดภาพอนาคต “ครัวเกษตรปลอดภยั ทันสมยั วิถใี หม่ ถูกใจทกุ บ้าน : Agri-Modern Safety
Kitchen” ที่ต้องการให้ภาคเกษตรไทยก้าวสู่จุดหมายดังกล่าว ซึ่งเป็นทั้งศูนย์กลางระบบการจัดการด้านการ
ผลิต และระบบการตลาด Online สินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อุปทานด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่
ทันสมัยในอีก 10 ปีข้างหน้า สำหรับเป้าหมายของ Agri-Modern Safety Kitchen ประกอบด้วย 2
องค์ประกอบหลกั ได้แก่

1. เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ที่มุ่งเน้นการนำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น มาประยุกต์ใช้ เพื่อรองรับ Agri-Modern Safety Kitchen ของเกษตรกรและสถาบัน
เกษตรกรผู้ผลิตโดยได้รวบรวมความรู้ที่จำเป็นต่อการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่การผลติ ทั้งด้าน

3

พืช ปศุสัตว์ และประมง มาเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลกลางของหน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ ภาคเี ครือข่ายภาคเอกชน และสถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ เพ่ือใหเ้ กษตรกรสามารถนำความรู้
ไปประยกุ ต์ใช้กับการผลติ เพ่อื ก่อให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ

2. มีระบบบริหารจัดการตลอดห่วงโซ่อุปทาน โดยเฉพาะด้านการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตร
ปลอดภัย ที่มุ่งให้ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านบริหารจัดการด้านการตลาด
สินค้าเกษตรออนไลน์ไปประยุกต์ใช้ ทั้งที่เกี่ยวข้องกับระบบการสั่งซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชันให้สินค้าส่งถึง
ผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว ระบบการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับจากผู้บริโภคถึงผู้ผลิต ระบบการวางแผนผลิต และ
ระบบการจำหนา่ ยสนิ คา้ เกษตรที่เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร ผปู้ ระกอบการสินค้าเกษตร ได้ร่วมขับเคล่ือนกับ
หน่วยงานกลาง เพื่อรองรับ Agri-Modern Safety สำหรับการจัดตั้งหน่วยงานกลางเพื่อทำหน้าที่เป็นแหลง่
รวบรวมองค์ความรู้ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสินค้าเกษตรปลอดภัยที่ และประสานเชื่อมโยงบูรณาการ
ทำงานกับหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวขอ้ ง เกษตรกร สถาบนั เกษตรกร ภาคเอกชน หรือสถาบนั ต่าง ๆ นอกจากน้ี
หน่วยงานกลางยังทำหน้าที่ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการแอพลิเคชันระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค หน่วยงาน
ภาครัฐ และเอกชนที่เก่ยี วข้อง ใหส้ ามารถดำเนนิ งานไดต้ ามระบบบริหารจดั การทกี่ ำหนดไว้

ผลการศึกษาฉากทัศน์ตามทิศทางสถานการณ์ใน 4 ฉาก ได้ใช้ภาพ “เหล้าที่ถูกกฎหมาย/ผิด
กฎหมาย” เป็นตวั แทนข้อจำกัดด้านกฎหมาย และ “คณุ ภาพ/เกรด/ รสชาติของเหลา้ /ความเชื่อม่ันต่อแบ
รนด์สินค้า” เป็นตัวแทนของข้อจำกัดทางด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยกำหนดภาพเป็นเหล้า 4
ประเภท ท่ีคณะผจู้ ดั ทำได้พิจารณาการเปลยี่ นแปลงของปัจจัยสำคัญในสถานการณ์ท่แี ตกต่างกนั ไป อันได้แก่
ฉากเหล้าต้ม ฉากเหล้าขาว ฉากเหล้าเถื่อน และฉากเหล้านอก ซึ่งสามารถอธิบายถึงความเชื่อมโยงของแต่
ละฉาก กับภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen ว่าในแต่ละฉาก (Scenario) ที่อยู่ในสถานการณ์
แตกตา่ งกัน ควรวางแผนจดั ทำกลยุทธใ์ นแตล่ ะฉากอย่างไร ท้งั น้ี เพ่อื ใช้เป็นข้อเสนอแนะต่อผบู้ ริหารระดับสูง
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณน์ ำไปใชป้ ระกอบการพิจารณากำหนดมาตรการ นโยบาย และโครงการสำคัญ
ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้สอดคล้องกับภาพอนาคต ซึ่งกลยุทธ์ที่นำเสนอนี้จะเน้นบูรณาการ
เชื่อมโยงด้านการขับเคลื่อนกับหน่วยงานภาคีต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคสถาบันการศึกษา และภาค
ประชาชน ทง้ั น้ี คณะผูจ้ ัดทำ เห็นวา่ ฉากทศั นท์ ่สี ะท้อนสถานการณ์ และประเด็นปัญหาต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง
ในปัจจุบัน คือ ฉากที่ 1 “เหล้าต้ม” ซึ่งได้นำไปวิเคราะห์สังเคราะห์ต่อยอดการสร้างภาพอนาคต “ครัว
เกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-Modern Safety Kitchen” ได้ มาจารณาสรปุ ผล
ประเด็นปัญหา ภายใต้สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงแบบผกผันของปัจจัยด้านกฎหมายและเทคโนโลยีมา
พิจารณา ทำให้ทราบถึงประเด็นสำคัญที่ต้องเร่งแก้ไข ปรับปรุง ยกระดับ พัฒนา และปรับปรุงในหลายด้าน
อาทิ ด้านบุคลากร ด้านระบบบริหารจัดการสินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อุปทาน ด้านความพร้อมของ
นวัตกรรม เทคโนโลยี เครื่องมือ ช่องทางการติดต่อสื่อสาร งบประมาณ การบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อ
ขับเคลือ่ นงานให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน และด้านกฎหมายท่จี ะสนับสนุน ผลักดนั ใหเ้ กดิ การขบั เคล่ือนงานให้
บรรลุผลสำเร็จได้ตามเป้าหมายภาพอนาคต “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-
Modern Safety Kitchen” ได้ภายในอกี 10 ปขี า้ งหน้า.

4

กติ ตกิ รรมประกาศ

รายงานการศึกษาฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยความร่วมมือของคณะผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตร นัก
บริหารการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระดับสูง (นบส) รุ่นที่ 79 กลุ่มปฏิบัติงาน GP 5 ซึ่งได้บูรณาการ
ทำงานโดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ร่วมมือร่วมใจทำงานอย่างเต็มกำลังความสามารถ จน
บรรลุผลสำเร็จ โดยได้รับการทอดถ่ายทอดองค์ความรู้ คำแนะนำ แนวความคิดใหม่ ๆ ด้วยความเอาใจใส่
อย่างดียิ่ง จาก คณะอาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในตลอดระยะเวลาการศึกษา รวมถึงเจ้าหน้าที่
โครงการ หลักสูตร นกั บริหารการพฒั นาการเกษตรและสหกรณร์ ะดับสงู (นบส.) ร่นุ ท่ี ๗๙ ทุกท่านที่ได้อำนวย
ความสะดวกในการศกึ ษาคร้งั น้ี

ขอขอบพระคุณ ดร.นริศรา อินทะสิริ อาจารย์ภาควิชาส่งเสริมและนิเทศศาสตร์เกษตร
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นอย่างสูง ที่ได้สละเวลาอันมีค่ายิ่งในการให้
คำปรึกษา คำแนะนำ รวมถึงกำลังใจ และแรงบันดาลใจ ในแนวทางการจัดการทำรายงานการศึกษากลุ่ม
(Group Project: GP) จนได้ข้อมลู นำมาจัดทำรายงานฉบบั นี้ สำเร็จดว้ ยดี

รายงานการศึกษากลุ่ม (Group Project: GP) เรื่อง ภาพอนาคต : “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย
วิถีใหม่ ถกู ใจทกุ บ้าน หรือ Agri-Modern Safety Kitchen” ไดด้ ำเนินการสำเร็จบรรลวุ ัตถุประสงค์ทีต่ งั้ ไว้
เป็นอย่างดี หากท่านเห็นว่าจะมีคุณค่าทำให้เกิดประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
๒๐ ปี แผนปฏิรูปประเทศ แผนแม่บทประเด็นเกษตร ประเด็นย่อยเกษตรปลอดภัย และประเด็นย่อนเกษตร
อัจฉริยะ กรอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ( ปี 2566-2570) นโยบายรัฐบาล
นโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และแผนปฏิบัติการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 20 ปี และแผน
ปฏิบัติการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี ภายใตก้ รอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ
ที่ 13 คณะผู้ศึกษาขอมอบความดีทั้งหมดให้แก่บุคคลข้างต้น และหากมีสิ่งที่ขาดตกบกพร่องหรือผิด พลาด
ประการใด คณะผู้ศึกษาขออภยั มา ณ โอกาสนี้

กลุม่ ปฏบิ ตั ิงาน GP 5 นบส. รนุ่ ท่ี 79
กนั ยายน 2564

สารบญั 5

บทสรุปสำหรบั ผู้บริหาร หน้า
กิติกรรมประกาศ 2
บทที่ 1 บทนำ 4
8
1.1 หลกั การและเหตผุ ล 8
1.2 วัตถุประสงคข์ องการหาภาพอนาคต 14
1.3 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 14
1.4 นยิ ามศพั ท์ 14
บทท่ี 2 ปัจจยั และการวิเคราะห์ปัจจัย 16
บทท่ี 3 วิธีการวิเคราะหข์ ้อมลู เพ่ือการฉายภาพอนาคต 33
3.1 กระบวนการกำหนดกรอบภาพอนาคต 33
3.2 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 33
3.3 การวิเคราะห์ข้อมูล 34
3.4 การสรา้ งฉากทัศน์ 35
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 36
4.1 ผลการวิเคราะหข์ ัน้ Deep Horizon Scanning 36
4.2 ผลการวเิ คราะหข์ ้ัน Delphi 39
4.3 ผลการวิเคราะห์การสร้างฉากทศั น์ และการกำหนดกรอบยุทธศาสตร์ 40
4.4 ผลการวิเคราะห์ข้ันกรอบยุทธศาสตรภ์ าพอนาคต และการเทียบเคียงกับ
41
ยุทธศาสตร์ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 52
บทท่ี 5 สรุปและข้อเสนอแนะตามทิศทางภาพอนาคต 52
58
5.1 การสรุปภาพ Scenario ทัง้ 4 ฉาก 65
5.2 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายจากภาพอนาคต 67
บรรณานุกรม
ประวัติคณะผูศ้ ึกษา

6

สารบัญตาราง หน้า

ตารางที่ 1 สภาพปัญหาและการวิเคราะห์ Now New Next ของเร่ืองของเร่ือง“ครัวเกษตร 10
ปลอดภัย ทนั สมัย วถิ ใี หม่ ถูกใจทกุ บา้ น : Agri-Modern Safety Kitchen” 17
36
ตารางท่ี 2 ผลการสำรวจสภาพแวดลอ้ มเชิงลึก (Driving Force) 42
ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ คา่ คะแนนระดบั ผลกระทบ และระดบั ความเปน็ พลวตั
ตารางท่ี 4 แผนกลยทุ ธ์ของภาพอนาคต และการเทียบเคียงกับยทุ ธศาสตร์กระทรวง

7

สารบัญภาพ หน้า

ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดภาพอนาคตของ “ครวั เกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ 13
ถกู ใจทุกบ้าน หรอื Agri-Modern Safety Kitchen” 16
34
ภาพที่ 2 ผลการวิเคราะห์ PESTEL 35
ภาพที่ 3 สญั ญาณตอ่ ภาพอนาคต 38
ภาพที่ 4 ฉากทศั น์ (Scenario) 39
ภาพที่ 5 ผลการวเิ คราะห์ Deep Horizon Scanning 40
ภาพที่ 6 ผลการวิเคราะห์ Delphi 52
ภาพท่ี 7 ภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen 4 ฉากทศั น์ 54
ภาพท่ี 8 กรอบกลยุทธ์สำหรับฉากท่ี 1 เหล้าต้ม 56
ภาพท่ี 9 กรอบกลยุทธส์ ำหรับฉากที่ 2 เหลา้ ขาว 57
ภาพที่ 10 กรอบกลยทุ ธส์ ำหรับฉากที่ 3 เหล้าเถ่ือน 64
ภาพที่ 11 กรอบกลยทุ ธ์สำหรับฉากที่ 4 เหล้านอก
ภาพที่ 12 การวิเคราะห์ Business Model ภาพรวมของ Agri-Modern Safety Kitchen

8

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 หลักการและเหตผุ ล

การเกษตรของไทยมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จากเดิมที่ผลิตเพื่อเป็นอาหารบริโภคในครัวเรือน
พัฒนาเป็นสินค้าที่จำหน่ายในชุมชน และกลายเป็นสินค้าส่งออกที่สร้างมูลค่าทางการค้าให้กับประเทศ
ประมาณร้อยละ 8-10 ต่อปี GDP ไทยเป็นผู้ส่งออกสนิ คา้ เกษตรอันดับต้นๆ ของโลก ซึ่งทำให้การกำหนด
นโยบายผลักดนั ให้ “ประเทศไทย เป็นครวั โลก” จึงมคี วามเป็นไปได้สูงมาก และเมือ่ พิจารณาพฤติกรรมของ
ผู้บริโภคในปัจจุบัน เห็นได้ว่าผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจ ห่วงใยสุขภาพ ตระหนักถึงความปลอดภัยของ
อาหารที่บริโภคมากขึ้น จึงทำให้ความต้องการอาหารคุณภาพมาตรฐานปลอดภัยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง อีกทั้งรูปแบบอาหาร และรูปแบบการสั่งซื้อสินค้าได้เปลี่ยนไปความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยี
สภาพแวดลอ้ ม และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเรว็ แบบ Disruptive สิง่ เหลา่ น้ีจึงล้วนเป็นเหตุปัจจัยที่ทำ
ให้ภาคเกษตรไทยต้องปรับตัวให้ทันกับกระแสความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปตามนวัตกรรมและ
เทคโนโลยี เพื่อให้เกษตรกร สถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบการค้าสินค้าเกษตรสามารถสร้างความมั่นคง
ทางด้านอาหาร และสร้างรายได้ให้กับตนเองและประเทศได้อย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ยังสามารถเพิ่มส่วนแบ่ง
การตลาดสินค้าเกษตรและผลิตภณั ฑข์ องไทยให้มากขึ้นในตลาดโลก

ปัจจุบันเกษตรกรบางส่วนได้หันมาทำการเกษตรปลอดภัย โดยยกระดับการสินค้าเข้าสู่ระบบ
มาตรฐาน GAP และมาตรฐานตา่ ง ๆ แลว้ แต่การผลิตและจำหนา่ ยสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั ยงั มีปริมาณน้อย ไม่
เพียงพอกับความต้องการ ผลผลิตยังจำหน่ายจำกัดอยู่ในวงแคบ มีช่องทางการจำหน่ายที่ไม่หลากหลายมาก
นัก ระบบการตลาดที่มีอยู่ยังทำให้ผู้บริโภคเข้าถึงแหล่งจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ได้ยาก อีกทั้งการ
ขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ด้านการส่งเสริมการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยยัง
ประสบปัญหาหลายประการ อาทิ การนำนวัตกรรมเทคโนโลยีเกษตรมาประยุกตใ์ ช้ในการผลติ น้อย เนื่องจาก
เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงวัย และลูกหลานทำงานนอกภาคเกษตรมากไม่สามารถช่วยเหลือด้านการนำองค์
ความรู้จากสื่อออนไลน์มาใช้ประโยชน์ได้มากนัก โดยเกษตรกรเห็นว่าเทคโนโลยีเกษตรที่มีอยู่ในปัจจุบันมี
ความยุง่ ยากซับซอ้ น เขา้ ถึงยาก ราคาแพง หากลงทุนอาจทำให้ไม่คมุ้ คา่ การผลิตเพราะความแตกต่างของราคา
สินค้าระหว่างสินค้าท่ีได้มาตรฐานปลอดภัยและสินค้าที่ใชเ้ คมีทัว่ ไปน้อยมาก โดยเฉพาะการผลิตเพื่อจำหนา่ ย
ในตลาดชุมชนพื้นบ้านที่ราคาแทบไม่แตกต่างกัน ประกอบกับภาครัฐยังขาดการดำเนินงานท่ีต่อเนื่อง การ
สนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยงานปฏิบัติที่เกี่ยวข้องไม่เพียงพอ การคิดค้นวิจัยและพัฒนานวัตกรรมและ
เทคโนโลยียังไม่ครบถ้วนโดยเฉพาะด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ตลอดจนขาดการบูรณางานร่วมกัน
ของหน่วยงานภาคีท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบนั ศึกษา (อว.) และภาคประชาชน ในการวางแผนกำหนดแนว
ทางการพัฒนาสินค้าเกษตรปลอดภัยทันสมัยตามความต้องการตลาดตลอดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain) ให้
สอดคล้องกับกรอบแนวคิดของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ที่กำหนด จาก
มุมมองที่กลา่ วมาขา้ งต้น จงึ เห็นไดว้ ่า ปจั จยั สำคญั ต่างๆทีก่ ล่าวมา ลว้ นสง่ ผลให้การประกอบธรุ กิจสินค้าเกษตร
ปลอดภัยยงั ไมเ่ ติบโตเท่าที่ควร ศึกษาภาพอนาคตในอีก 10 ปีข้างหน้าของการพัฒนาสินคา้ เกษตรปลอดภัย
ตงั้ แต่ตน้ นำ้ จนถงึ ปลายนำ้

9

ดังนน้ั คณะผ้จู ดั ทำ จึงตระหนักถงึ สำคญั ของสภาพปัญหาและปัจจยั สำคัญต่างๆ ดงั กล่าว ทจี่ ะชว่ ย
ผลักดันให้สินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นอาหารที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานรองรับมีความหลากหลายตรงกับความ
ต้องการของผู้บริโภค สามารถกระจายสินค้าถึงผู้บริโภคทั่วประเทศได้อย่างรวดเร็ว ทันต่อการเปลี่ยนแปลงด้าน
เทคโนโลยแี ละความผันผวนตา่ งๆ ซง่ึ จะส่งผลให้เกิดขยายตัวทางการตลาด สรา้ งรายได้ให้กับภาคส่วนท่ีเก่ียวข้อง
ได้อยา่ งมั่นคง มั่งค่ัง และย่งั ยนื จึงสนใจศกึ ษาประเด็นสภาพปัญหาและการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน (Now)
ว่าสง่ิ ใหม่ใดบ้างท่ีจะเกิดขน้ึ (New) และสิ่งใหมน่ น้ั จะส่งผลกระทบให้เห็นถึงการตอบสนองต่อความต้องการใหม่
ในอนาคตได้อย่างไร(Next) ซึ่งจะนำมาสู่การวิเคราะห์ฉากทัศน์ที่สะท้อนให้เหน็ ภาพอนาคตจากการเปลี่ยนแปลง
ของแต่ละปัจจัยโดยผลการวิเคราะห์การสร้างฉากทัศน์ เพื่อนำไปกำหนดกรอบยุทธศาสตร์ หรือกลยุทธ์ที่
เหมาะสมในแต่ละฉากทัศน์ที่แตกต่างกันตามทิศทางภาพอนาคตทั้ง 4 ฉากทัศน์ของ “ครัวเกษตรปลอดภัย
ทันสมยั วถิ ใี หม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-Modern Safety Kitchen” ทงั้ นเ้ี พอื่ ให้ภาคเกษตรกรไทยมีนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีเกษตรที่หลากหลายสนับสนุนด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยท่ีใช้งานและเข้าถึงง่าย ราคาไม่
แพง สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ต้นทุนการผลิตลดลง มีมาตรฐานรับรองความปลอดภัยสร้างความ
เชื่อมั่นให้ผู้บริโภค สินค้าที่ผลิตได้มีตลาดรองรับแน่นอน สามารถความแตกต่างด้านราคา เพื่อเป็น
แรงจูงใจให้เกษตรกรรุ่นใหม่ปรับเปลี่ยนมาทำเกษตรวิถีใหม่มากขึ้น อีกท้ังเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
พิจารณาตัดสินใจของผู้บรหิ ารระดบั สูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และหน่วยงานด้านการกำหนดนโยบาย
และการขับเคลื่อนปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง สามารถใช้เปน็ ทางเลือกในการเผชิญกบั เหตุการณ์และเตรียมความพร้อมรับ
สถานการณ์ท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคตอีก 10 ปีข้างหนา้ ได้อย่างเหมาะสม

ตารางท่ี 1 สภาพปญั หาและการวเิ คราะห์ Now New Next ของเร่ือง“ครวั เกษตรป

Now
สภาพปัญหาและเหตุผลท่ีสนใจ (ส่ิงท่มี ีอยู/่ เปน็ อย/ู่ เผชญิ อยู่ในปจั จบุ นั ) ส

1.เกษตรกรพยายามปรับเปลี่ยนการ 1. ตวั เกษตรกร 1

ผลิตเข้าสู่ระบบมาตรฐานต่าง ๆ - ขาดแรงจงู ใจ รายไดน้ ้อย

แต่ต้องพบกับปัญหา อาทิ ด้านการ - หน้ีสนิ เยอะ ไม่มีแหลง่ ทุน

ส่งเสริมจากภาครัฐ ขาดความ - กลัวแข่งขนั ไม่ได้ ไม่ยั่งยืน

ต่อเนอื่ ง งบประมาณทีไ่ ม่เพยี งพอ - ไม่กลา้ เสย่ี งทำเชงิ พาณชิ ย์

2.การส่งเสริมกระแสนิยมให้คนไทย - ไมซ่ อื่ สัตย์ เอาของผูอ้ นื่ ขาย
ห่วงใยสุขภาพ ทั้งผู้ผลิตและ - แรงงานเกษตรลดลง
ผู้บริโภค โดยเฉพาะด้านผู้ผลิตเน้น - แรงงานสูงวัย ขาดเกษตรกรรนุ่ ใหม่
ผลิตสินค้าเกษตรที่เป็นมิตรต่อ - ขอ้ จำกัด Safety เยอะ-ย่งุ
สิ่งแวดลอ้ ม มมี าตรฐานระดบั สากล - ไม่ปรับตัว ใช้เทคโนโลยีไมเ่ ป็น

2. ระบบประกนั ภัยพืชผล 2

- ไมม่ รี ะบบประกันภัยของ

สนิ คา้ Safety ตน้ ทุนสูง

10

ปลอดภัย ทนั สมัย วถิ ีใหม่ ถกู ใจทกุ บ้าน : Agri-Modern Safety Kitchen”

New Next

สงิ่ ใหม่ทจี่ ะเกิดขึ้น และส่ิงใหม่จะตอบสนอง อนาคตจะเกิดอะไร จะเป็นอย่างไร

ตอ่ ความต้องการใหม่อยา่ งไร

1. ตัวเกษตรกร 1. ตัวเกษตรกร

- ปรับโครงสร้างภาคเกษตร - มีสถาบนั เกษตรกรมากขน้ึ

มีการวางแผนการผลิต - เกษตรกรห่วงใยสุขภาพข้ึน

- แรงงานเกษตรคืนถิ่น

- เกษตรกรใช้เทคโนโลยีเปน็ มากขึ้น

- รกั ษาระยะห่างกายภาพวิถีใหม่

▪ ปรับโครงสร้างบรหิ ารน้ำ

▪ ปรบั โครงสร้าง บริหาร VUCA

โควดิ -19 และภยั พิบตั ิ

▪ ปรบั โครงสรา้ งการผลิตดว้ ยเทคโนโลยี

2. ระบบประกนั ภยั พชื ผล 2. ระบบประกันภยั พชื ผล

- จัดโซนนิ่งเพื่อให้สินค้าเกษตรสำคัญ - เกดิ การสนบั สนนุ ระบบ

ของปท.เดียวกันปลูกในพท.เดียวกัน การประกนั ภยั พืชผล

เพื่อความสะดวกต่อการบริหารจัดการ

ด้านการอุดหนุนเรื่องเบี้ยประกัน/

ช่วยเหลือเรอ่ื งเงนิ ชดเชย

Now
สภาพปญั หาและเหตผุ ลทีส่ นใจ (ส่งิ ที่มีอย/ู่ เปน็ อยู่/เผชิญอยใู่ นปจั จบุ ัน) ส

3.แรงงานส่วนเกินจากภาวะชะงักงัน 3. ประสิทธิภาพสนิ ค้าปลอดภัย 3

ของเศรษฐกิจโลก หรือบางธุรกิจใช้ - ผลผลิตยงั ปลอดภยั ตำ่

AI ในกระบวนการผลติ มากขน้ึ ในขณะ - ตอ้ งใชเ้ วลา รายได้ไม่พอ

ที่แรงงานภาคเกษตรส่วนใหญ่เป็น ทำใหเ้ กษตรกรขาดกำลงั ใจ

แรงงานสูงอายุ และมีทักษะน้อย

สถานการณ์เหล่านี้จะทำให้แรงงาน 4. ระดับประเทศ 4
ต้องกลับคืนถิ่นฐานของตน เพ่ือ - ขาด Big Data
ป ร ะ ก อ บ อ า ช ี พ เ ป ็ น ก า ร ถ า ว ร - ขาดบคุ ลากรท่ชี ำนาญ

โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกร - ขาดกระบวนการที่ชัดเจน

4. ขาดการวางแผนผลิตและจำหน่าย - ขาดมาตรการ /กม. รองรับ
อุปสงค์ - อุปทานสมดุลยกัน ทำให้ - ขาดการเช่อื มโยงบรู ณาการ

สินค้าล้นตลาด ราคาตกต่ำ รัฐบาล 5. ด้านเทคโนโลยี 5
ตอ้ งช่วยพยุงราคา
- เทคโนโลยที ่นี ำมาใช้ในการผลิต

น้อย ต้นทนุ สูง

- เกษตรกรขาดเงินลงทุน กลัวการ

ลงทุนทไี่ ม่คุม้

11

New Next

สง่ิ ใหมท่ จี่ ะเกิดขึ้น และสง่ิ ใหมจ่ ะตอบสนอง อนาคตจะเกิดอะไร จะเป็นอย่างไร

ต่อความต้องการใหม่อยา่ งไร

3. ประสทิ ธภิ าพสนิ ค้าปลอดภัย 3. ประสิทธภิ าพสินคา้ ปลอดภยั

- สนิ ค้าท่ีผลิตผ่านมาตรฐาน - ตน้ ทนุ ตรวจรับรองลดลง

- แปลงใหญผ่ า่ นมาตรฐาน - Brand ไมน่ ่าเชื่อถือ

- พัฒนาตลาดสนิ ค้า Safety - ถูกกีดกันทางการคา้

โดยประยุกต์ Model ญ่ปี ุน่ - การส่งออกลดลง

4. เกดิ การขบั เคลอื่ นนโยบาย 4. เกิดการขับเคล่ือนนโยบาย

- มาตรการจงู ใจใหผ้ า่ นมาตรฐาน - มี Big Data ท่ีเข้าถึงง่าย

- กษ.ตอ้ ง Quick Win ส่งเสริม - สรา้ ง Digital Plat from

การตลาดตน้ ทุนตำ่ สร้างรายไดเ้ ร็ว สำหรบั รวบรวมข้อมลู

- ส่งสินคา้ รวดเร็ว คงความสด - เกิดการบูรณาการข้อมลู

5. ดา้ นเทคโนโลยี 5. ด้านเทคโนโลยี
- งานวจิ ยั พฒั นาฟ้นื ฟดู ิน - พฒั นาเทคโน+นวัตกรรม
- ปรบั โครงสรา้ งการตลาด - ต้นทุนพฒั นาลดลง
และขายให้งา่ ย เร็ว มมี าตรฐาน - มีระบบซ้อื ออนไลน์
- รฐั และภาคี ออนไลน์ แพลตฟอร์ม - เข้าถงึ เทคโนโลยไี ด้งา่ ย

Now
สภาพปัญหาและเหตผุ ลทสี่ นใจ (สิ่งทม่ี ีอยู่/เปน็ อย/ู่ เผชญิ อยู่ในปัจจบุ ัน) ส

5. ข้อจำกัดและปัญหาต่างๆ ตลอด 6. ด้านผ้ผู ลติ และผู้บริโภค 6
7
ห่วงโซ่อุปทานของสินค้าเกษตร - ไม่เชือ่ มนั่ มาตรฐาน Safety

ปลอดภัยยังไม่ได้รับการแก้ปัญหา - เข้าถงึ แหล่งจำหน่ายยาก

อย่างชดั เจน

6. ประเทศไทยเป็นแหล่งผลิตสินค้า 7. สถานการณโ์ ควิด + VUCA
เกษตรที่มีศักยภาพ มีอัตลักษณ์ที่โดด - รูปแบบธุรกจิ เปลีย่ นวถิ ใี หม่
- ขาดความม่ันคงด้านอาหาร
เด่นหลายกลุ่มสินค้า ซึ่งมีความสำคัญ หาซือ้ ยาก
ตอ่ เศรษฐกิจประเทศ

7. การเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี
และวิถีการใชช้ ีวิตประจำวนั
โดยเฉพาะ Covid-19 และ VUCA ทำ
ใหผ้ ้บู ริโภคเปลย่ี นพฤตกิ รรมการซอ้ื
แบบใหม่ ผู้ประกอบการตอ้ งเปลยี่ น
รูปแบบใหก้ า้ วทันวถิ ปี กติใหม่ (New
Normal

12

New Next

ส่ิงใหมท่ ่จี ะเกิดข้ึน และสงิ่ ใหมจ่ ะตอบสนอง อนาคตจะเกิดอะไร จะเปน็ อย่างไร

ต่อความต้องการใหม่อยา่ งไร

6. ดา้ นผผู้ ลติ และผู้บริโภค 6. ด้านผูผ้ ลติ และผบู้ ริโภค

- เปลยี่ นพฤติกรรมซ้ือออนไลน์ - เปล่ียนพฤติกรรมซื้อออนไลน์

- วางแผนผลิตใหต้ รงตลาด - วางแผนผลติ ให้ตรงตลาด

- สบั สนกบั มาตรฐานทม่ี มี ากไป - สับสนกบั มาตรฐานท่มี มี ากไป

7. สถานการณ์โควิด + VUCA 7. สถานการณ์โควดิ + VUCA

- เศรษฐกิจชะงกั ปรบั ตัวใหม่ - เศรษฐกจิ ชะงัก ปรบั ตัวใหม่

New Normal New Normal

- เกิดภัยพิบตั ริ นุ แรงมากขนึ้ - เกิดภยั พิบัติรุนแรงมากข้นึ

จากสภาพปัญหาในปจั จบุ นั และการวิเคราะห์ในตารางขา้ งต้น จึงนำมาส
ทกุ บ้าน หรอื Agri-Modern Safety Kitchen” ให้เป็นศูนยก์ ลางองค์ความรดู้ า้ นการผ
จดั การตลาดออนไลน์สินคา้ เกษตรปลอดภยั ครบวงจรในประเทศไทยอีก 10 ปีขา้ งหนา้

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ภาพอนาคตของ “ครัวเกษตรปลอดภัย ทนั ส

13
ส่กู รอบแนวคิดการสร้างภาพอนาคตของ “ครัวเกษตรปลอดภยั ทนั สมัย วิถใี หม่ ถูกใจ
ผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยที ที่ ันสมัย และมีระบบบริหาร
า สรุปกรอบแนวคิดภาพในอนาคต ได้ดังภาพท่ี 1

สมัย วิถใี หม่ ถูกใจทุกบา้ น หรือ Agri-Modern Safety Kitchen”

14

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการหาภาพอนาคต

1.2.1 เพื่อศึกษาภาพอนาคตของ “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-
Modern Safety Kitchen” ให้เป็นศูนย์กลางองค์ความรดู้ ้านการผลติ สินค้าเกษตรปลอดภัยด้วยนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีระบบบริหารจัดการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตรปลอดภัยครบวงจรในประเทศไทย
อีก 10 ปีขา้ งหน้า

1.2.2 เพื่อนำเสนอแผนกลยุทธ์ตามทิศทางภาพอนาคตทั้ง 4 ฉากทัศน์ของ “ครัวเกษตรปลอดภัย
ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-Modern Safety Kitchen” ให้แก่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (กษ.)
เปน็ ทางเลือกในการเผชญิ กับเหตกุ ารณ์และเตรียมความพร้อมรบั สถานการณ์ท่ีอาจเกิดขึน้

1.3 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั

1.3.1 เกษตรกรมีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตร
ปลอดภัยที่ใช้งานและเข้าถึงง่าย ส่งผลให้ได้ผลผลิตสูง คุณภาพผ่านมาตรฐาน ต้นทุนการผลิตลดลง
โดยเฉพาะสินค้าที่ผลิตได้มีตลาดรองรับอย่างมั่นคงและยั่งยืน อีกทั้ง เป็นแรงจูงใจให้เกษตรกรรุ่นใหม่
ปรบั เปลยี่ นมาทำเกษตรวิถใี หม่มากขึน้

1.3.2 มีนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่รองรบั การบริหารจัดการ Agri-Modern Safety Kitchen ครบ
วงจร ตั้งแต่กระบวนการผลิตไปจนถึงผู้บริโภคและเป็นศูนย์รวมอาหารเกษตรปลอดภัยที่หลากหลายประเภท
คุณภาพดี มีมาตรฐาน เพียงพอและตรงกับความต้องการของผู้บริโภค เกิดความพึงพอใจส่งผลให้ตลาด
ขยายตวั เพ่มิ ขึ้นเรอื่ ย ๆ

1.3.3 คนไทยสามารถเข้าถึงอาหารปลอดภัยไดง้ า่ ยดายข้ึน ส่งผลใหม้ สี ขุ ภาพดี
1.3.4 ทุกหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รวมถึงหน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องบูรณาการ
งานร่วมกนั เพอ่ื ขบั เคลือ่ นให้การดำเนนิ งานมปี ระสทิ ธภิ าพ
1.3.5 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์นำข้อเสนอแนะแผนกลยุทธ์ของแต่ละฉากทัศน์ที่อาจเกิดขึ้นได้ใน
อีก 10 ปีข้างหน้า มาจัดทำแผนเผชิญเหตุ เพื่อเตรียมความพร้อมรับสถานการณ์จากภาพในอนาคตทั้ง 4
สถานการณ์ (4 Scenarios) รวมถงึ ผลักดันการขบั เคลื่อนให้ “ครัวเกษตรปลอดภยั ทันสมยั วถิ ีใหม่ ถูกใจทุก
บา้ น : Agri-Modern Safety Kitchen” สามารถเกิดข้นึ ได้จริง

1.4 นยิ ามศัพท์

1.4.1 เกษตรปลอดภยั ดว้ ยนวตั กรรมและเทคโนโลยที ่ีทันสมัย หมายถงึ ระบบการเกษตรที่จะให้
ผลิตผลที่ปลอดภัยจากสารพิษหรือปลอดภัยจากการปนเปื้อนของสารและโลหะที่จะมีผลต่อผู้บริโภค รวมถึง
ระบบการผลิตจะต้องปลอดภัยกับสิ่งแวดล้อมและเกษตรกรผู้ผลิตด้วย นอกจากนี้ ในเกษตรกรปรับตัวให้ทัน
กับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ โดยนำมาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือและค้นหาองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อ
กระบวนการผลิตให้มปี ระสิทธภิ าพ

1.4.2 สินค้าเกษตรปลอดภัย หมายถึง ผลิตผลและสินค้าแปรรูปที่มาจากการทำเกษตรปลอดภัย
ปราศจากสารปนเปื้อน และผ่านมาตรฐาน ซึ่งหมายความรวมถึงสินค้าด้านการเกษตร ด้านประมง และด้าน
ปศสุ ัตว์

1.4.3 ครัวสินคา้ เกษตรปลอดภัย หมายถึง ศูนย์รวมสินคา้ เกษตรปลอดภัย คุณภาพดี มีมาตรฐาน
ท่ีมีมากมายหลายชนดิ ซงึ่ จำเป็นในการประกอบอาหารในหอ้ งครัว ทงั้ อาหารสดและอาหารแปรรูป

15

1.4.4 ศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการผลิต หมายถึง นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นรองรับ
Agri-Modern Safety Kitchen ในด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของเกษตรกร โดยรวบรวมความรู้ที่
จำเปน็ ตอ่ การผลติ สนิ คา้ ทั้งด้านเกษตร ดา้ นประมง และดา้ นปศุสัตวท์ ุกชนิด และครบท้ังกระบวนการผลิต โดย
เชื่อมโยงกับฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันต่าง ๆ เพ่ือให้เกษตรกรนำความรู้ไป
ประยกุ ต์ใช้กับการผลิตของตนเองไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

1.4.5 ระบบบริหารจัดการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตรปลอดภัยครบวงจร หมายถึง นวัตกรรม
และเทคโนโลยีท่ีพัฒนาขึ้นรองรับ Agri-Modern Safety Kitchen ในด้านบริหารการตลาดออนไลน์ นอกจาก
จะเป็นระบบการสั่งซื้อสินค้าผ่านแอพพริเคชันให้สินค้าส่งถึงผู้บริโภคอย่างรวดเร็วแล้ว ยังมีระบบการ
ตรวจสอบข้อมูลสินค้าย้อนกลับถึงผู้ผลิต ระบบการวางแผนผลิตและจำหน่ายร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
ตวั กลางกับผ้ผู ลิต

16

บทที่ 2
ปจั จยั และการวเิ คราะห์ปจั จัย

การศึกษาภาพอนาคตของ “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-
Modern Safety Kitchen” เพื่อให้เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยด้วย
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย มีระบบบริหารจัดการตลาดออนไลน์สินค้าเกษตรปลอดภัยครบวงจรใน
ประเทศไทยอีก 10 ปีข้างหน้า ได้อาศัยเครื่องมือเพื่อวิเคราะห์และประเมินสภาพแวดล้อมเชิงลึก(Driving
Force) ด้วย PESTEL Analysis ของการสร้างภาพอนาคตเรื่อง“ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่
ถูกใจทุกบ้าน : Agri-Modern Safety Kitchen” ซึ่งได้ทำการวิเคราะห์โอกาส (ปัจจัยเชิงบวก) และความ
เสี่ยง/ข้อจำกัด (ปจั จยั เชงิ ลบ) ในแต่ละปัจจัยทง้ั 6 ปจั จยั ประกอบดว้ ย ปัจจัยดา้ นการเมือง (Political) ปจั จยั
ด้านเศรษฐกิจ (Economic) ปัจจัยด้านสังคม (Social) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technological) ปัจจัยด้าน
กฎหมาย (Legal) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม (Environmental) ทั้งนี้ ผลการศึกษาในแต่ละปัจจัยมีประเด็น
หลกั และจำนวนปจั จยั เชงิ บวกและปจั จัยเชิงลบ ดังภาพที่ 2

P : 18 ปจั จัย T : 11 ปัจจัย

เชิงบวก 9 ปัจจัย เชงิ บวก 9 ปัจจัย
เชงิ ลบ 9 ปจั จยั เชงิ ลบ 2 ปัจจยั

E : 67 ปัจจยั S : 6 ปัจจยั E : 27 ปัจจัย L : 13 ปัจจัย

เชงิ บวก 44 ปจั จัย เชงิ บวก 5 ปัจจยั เชงิ บวก 13 ปัจจัย เชิงบวก 9 ปัจจยั
เชงิ ลบ 23 ปจั จยั เชิงลบ 1 ปัจจยั เชงิ ลบ 14 ปจั จยั เชงิ ลบ 4 ปจั จยั

ภาพท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ PESTEL

จากภาพที่ 2 คณะผู้ศึกษาได้การรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ PESTEL ในแต่ละด้าน ได้ปัจจัย
รวมทั้งสิ้น 142 ประเด็น แยกเป็น ปัจจัยเชิงบวกรวม 89 ปัจจัย และปัจจัยเชงิ ลบรวม 53 ปัจจัย เมื่อนำมา
พิจารณาและตัดสินใจร่วมกันคัดเลือกปัจจัยที่มีความสำคัญในแต่ละด้าน PESTEL คงเหลือ 16 ประเด็นหลัก
ซ่งึ มีรายละเอียดผลการสำรวจสภาพแวดลอ้ มเชิงลึก (Driving Force) ดงั ตาราง 2



ตารางท่ี 2 ผลการสำรวจสภาพแ

“ครวั เกษตรปลอดภยั ทนั สมัย วถิ ีใหม่ ถูกใจท

ปจั จัย PESTEL ประเดน็ หลัก

P : Political P01 เชิงบวก
ดา้ นการเมือง
แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมฯ 1. นโยบายภาครัฐด้านกา

/ นโยบายของรฐั บาลท่ีเกีย่ วข้อง อาหารทผ่ี ลติ ได้มีความ

อาทิ นโยบายด้านการนำเข้า 2. ประเด็นการพัฒนาขอ

ส่งออก/ กฎระเบยี บการแขง่ ขัน เกษตรไทย สนิ ค้าต้องม

การค้า /การวางแผนขบั เคล่ือน กลุ่ม (Niche Market)

นโยบายดา้ นเศรษฐกิจการเกษตร สินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศ

ของประเทศ / ขอ้ จำกัดด้านการ ต่างประเทศ

นำเข้า – สง่ ออก ภาษี การมีสว่ น 3. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ก

ร่วมของรฐั บาลกับเอกชน พัฒนาอตุ สาหกรรมโลจสิ

งบประมาณท่ีได้รับจากรัฐบาล / อุตสาหกรรมการท่อง

เสถียรภาพของรฐั บาล กระทรวงเกษตรและสห

เกิดความยั่งยืนภายใต

ดำเนินกิจกรรมการพ

Chain Mode / เป้าหม

ทางด้านความหลากหล

หลักสําคัญในการพัฒน

ไทย ที่กำหนดเป้าหมา

น้อยกว่า 1.33 ล้านไร

ตลาดตา่ งประเทศ 60%

17

แวดล้อมเชงิ ลึก (Driving Force)
ทุกบ้าน : Agri-Modern Safety Kitchen)”

ปัจจัยทเ่ี ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)

ารพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน มุ่งเป้าหมายให้ผู้ผลิตสินค้าเกษตร และสินค้ากลุ่ม
มปลอดภยั
องแผนแต่ละระดับให้ความสำคัญต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาค
มีคุณภาพ เอกลกั ษณ์ และสร้างมูลคา่ สูงตามความต้องการ เน้นขยายตลาดเฉพาะ

ยกระดับความแตกต่างของราคา สร้างตราสินค้าเกษตรปลอดภัย คุ้มครอง
ศาสตร์ (GI) สร้างศูนย์จำหน่าย และเพิ่มจำนวนตลาดเฉพาะในพื้นที่ และตลาด

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เน้นการสร้างเกษตรมูลค่าสูง : High Value Added การ
สติกส์ การแปรรูปสนิ คา้ เกษตรจากวตั ถุดบิ ทงั้ ในประเทศและประเทศเพ่ือนบ้าน/
งเที่ยว ฯลฯ / แนวคิดและทิศทางการพัฒนาของแผนพัฒนาการเกษตรของ
หกรณ์ภายใต้ New Normal เน้นสร้างปัจจัยพื้นฐานการผลิต และสนับสนุนให้
ต้หลักตลาดนำการผลิต โดยให้เกษตรกรเป็นศูนย์กลางการพัฒนา /ยกระดับการ
พัฒนาภาคเกษตรด้วยหลัก Bio-Circular-Green Economy หรือ BCG Value
มายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) มีสาขาเกษตรและอาหารเป็นตัวชูโรงด้วยจุดแข็ง
ลายทางชีวภาพ สอดรับกับหลักการของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) ซึ่งเป็น
นาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ/การขับเคลื่อนนโยบายเกษตรปลอดภัยของ
ายแผนปฏิบัติการด้านเกษตรอินทรีย์ ไว้ว่า ไทยจะมีพื้นที่เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้นไม่
ร่ เกษตรกรเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 96,700 ราย สัดส่วนตลาดภายในประเทศ 40%
% ในปี 2564

ปจั จัย PESTEL ประเด็นหลกั

4. นโยบายสำคัญของกระ
สินค้าที่ผลิตได้สมดุลก
ชอ่ งทางการผลติ และก

5. นโยบายภาครฐั ในการจ
6. แนวทางการพัฒนากา

เพื่อสนับสนุนการตลาด
3) สร้างผู้ประกอบการ
นวัตกรรม 5) พัฒนา
ความเชื่อมั่นในสินค้าเ
ต้องการบริโภคสินค้าเ
จดั ตงั้ ศูนยเ์ ทคโนโลยีเก
7. สำนักงานเศรษฐกจิ การ
ไทยควรเร่งพัฒนาด้าน
ส่งเสริมเกษตรกรให้สา
อาทิ เกษตรทฤษฎีใหม
หันกลับมาทำการเกษต
สินค้าเกษตร ส่งเสริมก
ความเป็นอัตลักษณ์ด้า
Food) ส่งเสริมการสร
การขนส่ง การบริหาร
พาณชิ ยต์ ลาด” ให้เกษ
การวางแผนการผลิต ก
จากการขาดทนุ การผล

18

ปจั จัยทเี่ ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)
ะทรวงเกษตรและสหกรณ์และรัฐบาล ต่างๆ อาทิ ตลาดนำการผลิต เน้นบริหาร
กับความต้องการและสร้างมูลค่าเพิ่ม นโยบายส่งเสริมการลงทุน จับคู่ธุรกิจ เพ่ิม
การกำหนดเปา้ หมาย Thailand 4.0
จัดทำฐานขอ้ มลู ทางการเกษตรของประเทศ (Big Data)
ารตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ ได้แก่ 1) พัฒนาฐานข้อมูลด้านการผลิตให้ทันสมัย
ดสินค้าเกษตรอินทรีย์ 2) ส่งเสริม สนับสนุนการเพิม่ ตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์
รสินค้าเกษตรอินทรีย์รายใหม่ 4) ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปเชิง
าตลาด สร้างความโดดเด่นด้วยอัตลักษณ์เชิงพื้นที่เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม 6) สร้าง
เกษตรอินทรีย์ด้วยการพัฒนาระบบการตรวจรับรองมาตรฐาน 7) กระตุ้นความ
เกษตรอินทรีย์ให้เพิ่มมากขึ้น 8) พัฒนาคุณภาพผลผลิตและผลิตภัณฑ์ / การ
กษตร และนวตั กรรม (AgriTech and Innovation Center: AIC)
รเกษตรให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ว่าภาคเกษตร
นการบริหารจัดการน้ำอย่างเป็นระบบ พัฒนาระบบเตือนภัยด้านการเกษตร และ
ามารถประกอบอาชีพได้อย่างม่นั คงด้วยการทำเกษตรในรูปแบบเกษตรกรรมยั่งยืน
ม่ เกษตรผสมผสาน และเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งช่วยเหลือให้แรงงานที่กลับคืนถิ่น
ตรให้สามารถเลี้ยงตนเองและครอบครัว สร้างมูลค่าเพิ่มและยกระดับมาตรฐาน
การผลิตสินค้าเกษตรและอาหารแปรรูป ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยเน้น
านอาหารที่ผสมผสานระหว่างวัฒนธรรมท้องถิ่นและวิถีชีวิตรูปแบบใหม่ (Fusion
ร้างแบรนด์ของกลุ่มเกษตรกร พัฒนาระบบโลจิสติกส์ทั้งด้านการรักษาคุ ณภาพ
รจัดการส่งออกนำเข้า / ภาครัฐต้องเร่งพัฒนาแพลตฟอร์มกลาง “เกษตรผลิต
ษตรกรสามารถใชป้ ระโยชน์ได้จริง อยา่ งท่ัวถึงเพอ่ื เพม่ิ โอกาสทางการคา้ และใชใ้ น
การระบายผลผลิตในแต่ละฤดูกาลเพื่อรักษาสมดุลราคา เกษตรกรไม่เดือดร้อน
ลติ

ปจั จยั PESTEL ประเดน็ หลัก

E : Economic เชิงลบ
ดา้ นเศรษฐกิจ
1. กฎกติกาการค้าระหว่า

การค้าที่มิใช่ภาษี อาท

ประเด็นการทำประมงผ

2. ค่าเฉลี่ย Growth GDP

สาเหตุประการหนึ่ง อา

ดักประเทศรายได้ปาน

การขับเคลื่อนแผนปฏ

โดยเฉพาะสินคา้ หลักข

ยังคงเน้นการปฏิบัติงา

ขาดความชดั เจน/ ขอ้ จ

3. นโยบายพฒั นาด้านการ

4. เงื่อนไข กฎระเบียบ แล

ภาคเอกชน แตกต่างกัน

นำเข้าต้นทุนการผลติ ส

ระดับสูง

E01 เชงิ บวก

ความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลก 1. การพัฒนานวัตกร

จาก VUCA (Climate Change/ Value creation สร้างประ

ภัยธรรมชาตโิ รคและแมลง FTA เพ่ือขยายโอกาสดา้ นก

ศัตรพู ชื ระบาด / สถานการณ์การ 2. รัฐบาลยกระดับกา

แพรร่ ะบาดของโรคไวรสั Covid- เน้นพัฒนาทง้ั Area Base

เกดิ ผลลัพธ์ต่อภาคเกษตรท

19

ปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)

างประเทศที่มีมากขึ้นเพื่อกีดกันทางการค้า ด้วยการดำเนินมาตรการกีดกันทาง
ทิ ประเด็นทางสังคม(แรงงาน สิ่งแวดล้อม) ประเด็นด้านมาตรฐานสุขอนามัย
ผดิ กฎหมายขาดการรายงาน ไร้การควบคมุ ฯลฯ
P ในระยะ 10 ปีที่ผ่านมา อยู่ในระดับต่ำยาวนานตอ่ เนื่องกว่า 10 ปี (ร้อยละ 3)
าจเกิดจากการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจที่ไม่สามารถทำให้ประเทศก้าวข้าม “กับ
นกลาง” และยังเกิดปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของคนในประเทศอีกด้วย/
ฏิบัติการ หรือแผนพัฒนารายสินค้าสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ค่อนข้างน้อย
ของประเทศ อาทิ ขา้ ว สบั ปะรด/ หนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
าน และกิจกรรมตามภารกิจ ซึ่งมีความซ้ำซ้อน เป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนฯ
จำกัดดา้ นประสิทธผิ ลของการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ทั้งการเงนิ และการคลงั
รเกษตรขาดความต่อเน่อื งจากการเปลีย่ นรัฐบาล
ละมาตรการต่างๆ ในการประสานงานทางการค้าระหว่างหน่วยงานภาครฐั -รัฐ/รฐั -
น ทำให้ผู้ประกอบการค้าขาดความชัดเจน เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการส่งออก
สูง มีการใช้ปัจจยั การผลิตอยา่ งไม่เหมาะสม สัดส่วนต้นทุนการผลิตต่อรายไดย้ ังอยู่

รรมและเทคโนโลยีในทุกสาขาแบบผกผัน(Disruptive Innovation)ในลักษณะ
ะโยชน์ต่อระบบเศรษฐกิจประเทศ และโลก / WTO ให้ความสำคัญในการเจรจา
การแข่งขนั ทางการค้าให้แกส่ มาชกิ มากขึ้น
ารขับเคลื่อนงานที่อาศัยกระบวนการส่วนร่วม และทำงานเชิงบูรณาการมากข้ึน
+ Function Base ม่งุ เน้นสนับสนนุ งบประมาณโครงการท่ีมองเป้าหมายเดียวกัน
ที่สามารถวัดได้จริง

ปจั จยั PESTEL ประเดน็ หลกั

19) ทำให้โลกเข้าสู่ยุค เชิงลบ

Disruptive (ผกผนั แบบไร้ทิศทาง) 1. ประเทศที่ขาดความพ

2. อปุ สงค์ในทุกสาขาลด

3. อุตสาหกรรมอาหาร

รุนแรงของโรคไวรัส Covid

4. ภาคเกษตรทั่วโลก

ครอบคลุมทวั่ ถึงทุกพ้ืนที่เกษ

เห็นได้จากปรากฏการณ์เอ

สร้างความเสียหายทางเศรษ

5. อุณหภูมิพื้นผิวโลก

2558 - 2561 ซ่งึ เป็นช่ว

เป็น อันดับ 4 นับต้งั แต่มบี

E02 เชิงบวก

ความมั่นคงทางอาหารของ รัฐบาลยกระดับการขับ

ประเทศไทยและของโลก พัฒนาท้งั Area Base + Fu

เชิงลบ

อุปสงค์ในทุกสาขาลดล

หดตัวรุนแรงต่อเนอื่ ง

E03 เชงิ บวก

การเปลย่ี นแปลงข้วั อำนาจทาง ไทยมีความมั่นคงด้าน

เศรษฐกิจ และการรวมกลุ่มทาง คะแนน, อันดับ 52 จากท

เศรษฐกจิ ของกล่มุ ประเทศต่างๆ อาหารที่เพียงพอ 2) การเข

ส่งผลกระทบต่อภาวะการคา้ โลก

20

ปจั จัยทเ่ี ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)

พร้อมในการจัดทำแผนเชงิ รับ และไม่มีแผนเชิงรกุ จากสถานการณ์ VUCA World
ดลง นักลงทุนตา่ งชาติอาจเคลอ่ื นย้ายเงินทนุ ไปประเทศอนื่ ทำให้เศรษฐกิจหดตัวรุนแรง
รของโลกได้รับผลกระทบอย่างหนกั จากขอ้ จำกัดการสง่ ออก-นำเข้าช่วงการระบาด
d 19
ก รวมถึงไทย พึ่งพาธรรมชาติค่อนข้างมาก เนื่องจากระบบชลประทานยังไม่
ษตรในประเทศ อกี ทั้งสภาพภมู อิ ากาศโลกเปลีย่ นแปลงรนุ แรงขน้ึ และบ่อยครั้งขึ้น
อลนีโย (แล้ง) และลานียา (น้ำท่วม) ที่เกิดขึ้นบ่อยครั้งและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
ษฐกจิ ทางการเกษตรของประเทศ
ที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเร่งสูงขึ้นมากในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะช่วงปี
วงทภี่ มู ิอากาศโลกร้อนสูงสดุ ติดต่อกัน 4 ปี สำหรับปี 2561 เป็นปีที่โลกร้อนที่สุด
บันทกึ อณุ หภูมิโลกในปี 2423

บเคลื่อนงานที่อาศัยกระบวนการส่วนร่วม และทำงานเชิงบูรณาการมากขึ้น เน้น
unction Base

ลง นักลงทุนต่างชาติอาจเคลื่อนย้ายเงินทุนไปประเทศอื่น อาจส่งผลต่อเศรษฐกจิ

นอาหาร โดยมีคะแนนความมั่นคงทางอาหารอยู่ในเกณฑ์สูง ( 65.1 จาก 100
ทั้งหมด 113 ประเทศ) โดยวัดจากเกณฑ์ตัวช้ีวัด 4 ประการ ได้แก่ 1) การได้รับ
ข้าถึงอาหาร 3) การใช้ประโยชน์จากอาหาร 4) การมีเสถียรภาพด้านอาหาร การ

ปจั จยั PESTEL ประเดน็ หลัก

E04 บริหารจัดการมปี ระสทิ ธิภา
สถานการณ์ และวงจรธรุ กิจ คะแนนความมน่ั คงทางอาห
(ด้านการผลติ การตลาด) ของ เชิงลบ
สนิ ค้าและผลิตภัณฑ์แปรรปู จาก
สนิ ค้าเกษตรไทย อุตสาหกรรมอาหารของ

เชิงบวก
ปจั จัยทม่ี อี ทิ ธิพลต่อกา

ความสมดลุ ระหวา่ งราคา ป
ของสินค้า (ขึ้นอยู่กับราค
ความสำเร็จท่สี นบั สนนุ ให้ต
เชื่อมั่นของผู้บริโภค ด้าน
ย้อนกลับได้ทุกขั้นตอน แล
ส่งออกได้แก่ กลุ่มอาหารอ
ในเกณฑ์ดี ได้แก่ ข้าว ทุเร
เปลีย่ นเปน็ บริโภคอาหารป
ตอ้ งไดรบั การรับรองมาตรฐ
เกษตร ๆ ได (Traceabilit
เชิงลบ

1.ผลการประเมินคู่แข
เน่ืองจากราคาขายสินคา้ ไท
ที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ราคาสิน
สินค้าเกษตรลดลง โดยเฉพ
และเวียดนาม ดังนั้น ควร
คู่แข่ง และเร่งผลักดันผลไม

21

ปัจจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)
าพเพียงพอทีจ่ ะทำใหป้ ระชาชนทุกคนเข้าถึงอาหารไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ไม่อดอยาก
หารของประเทศไทย

งโลกได้รับผลกระทบอย่างหนักจากข้อจำกัดการส่งออก-นำเข้าชว่ งการระบาดรนุ แรง

ารตดั สนิ ใจเลือกซ้ือสนิ ค้าของผู้บรโิ ภค ประกอบด้วย ประโยชนต์ อ่ ร่างกาย รสชาติ
ปรมิ าณ คุณภาพ เวลาทใี่ ชท้ ำอาหาร และรสชาติทชี่ ื่นชอบ ความพึงพอใจ คุณค่า
คา คุณภาพ และความสะดวก) ความโดดเด่นของบรรจุภัณฑ์ / ปัจจัยแห่ง
ตลาดสินคา้ อนิ ทรยี ์ในสหภาพยุโรปขยายตวั ตอ่ ไปได้ในอนาคต คือ การรักษาความ
มาตรฐานการผลิต ที่มีการตรวจสอบควบคุมอย่างเข้มงวด สามารถตรวจสอบ
ละมีการรับรองมาตรฐานจากองค์กรที่น่าเชื่อถือ / กลุ่มสินค้าที่มีการขยายตัวของ
อินทรีย์ อาหารที่ทานเป็นยา อาหารกลุ่มดูแลสุขภาพ/ ปี 2564 ราคาสินค้าที่อยู่
รียน มังคุด สุกร และโคเนื้อ / พฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรโลก
ปลอดภัย มีคุณคาทางโภชนาการบรโิ ภคนอยลง เพมิ่ โปรตีนและผัก สินค้าเกษตร
ฐาน เปน็ มิตรต่อส่ิงแวดลอม และตอ้ งสามารถตรวจสอบยอนกลับแหล่งผลิตสินค้า
ty) เพื่อสรา้ งความมน่ั ใจในคณุ ภาพ

ข่งทางการค้า พบว่า ขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรไทยลดลง
ทยสูงกว่าประเทศคู่แขง่ เพราะตน้ ทนุ การผลิตสนิ ค้าไทยสูงกว่าจากปัจจัยการผลิต
นค้าผันผวน ค่าเงินบาทแข็งขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลอื่นๆ ทำให้กำไรจากการส่งออก
พาะข้าวไทยสูงกว่าประเทศผู้ส่งออกข้าวสำคัญของโลก ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน
เร่งพัฒนาขีดความสามารถของข้าวที่กำลังลดน้อยถอยลงเมื่อเทียบกับประเทศ
ม้ท่ีเป็นดาวรุ่ง อาทิ มะพร้าวน้ำหอม มังคุด มะม่วง ทุเรียน เพื่อสร้างมลู ค่าการค้า

ปัจจยั PESTEL ประเดน็ หลัก

E05 ให้เพิ่มมากขึ้น ด้วยการลด
ภาวะเศรษฐกจิ ครวั เรือนเกษตร ต้นทนุ และผลกระทบตอ่ สง่ิ
(รายได้ ทรัพยส์ นิ -หนสี้ นิ เงนิ
ออม) ของไทย 2.กระแสแนวโน้มควา
ประเทศจะเริ่มหดตัว การ
S : Social S01 โครงสร้างการผลิต และโอก
ดา้ นสงั คม การเปลีย่ นแปลงของพฤติกรรม
การบริโภคอาหารของคนในยุค 3. แนวโน้มเกิดการ
ปจั จุบัน ท่นี ิยมอาหารเพ่ือ แรงงานดังกล่าว และจะ
สุขภาพ มคี ุณค่าอาหารสูง เน้น โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่เ
สะดวก และการส่ังอาหารผา่ น สูงขึ้นในระยะยาว /แรงงา
ความสามารถในการแข่งขัน

เชงิ บวก
การเปลย่ี นขวั้ อำนาจทางเศ
อำนาจทางเศรษฐกิจไปยังก
กลุ่มประเทศอื่นๆในโลก/ก
อปุ สงค์และอุปทานสนิ ค้าให
อาทิ กลมุ่ Next Eleven (N

เชงิ บวก
1. พฤติกรรมการบริโ

มากทีส่ ดุ ซ่งึ กลุ่มนี้มพี ฤติกร
ต่อสุขภาพ นิยมซื้อนค้าออ
แหล่งที่มาได้ ผ่านการปรุงแ
มิตรกับส่งิ แวดล้อม

2. การสั่งอาหารผา่ นแ

22

ปัจจยั ทเ่ี กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)
ด Yield Gap และเร่งนำ R&D , R&I มาประยุกต์ใช้กับเกษตรกรไทย โดยคำนึงถึง
งแวดลอ้ มประกอบ
ามต้องการสินค้าและอาหารของไทย พบว่า อุปสงค์สินคา้ จากกำลังซื้อของคนใน
รลงทุนเริ่มชะลอตัว สืบเนื่องจากสังคมสูงวัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ
กาสในการเตบิ โต รวมทงั้ ความอยู่รอดของธุรกจิ ต่างๆที่อาจแตกต่างกนั ไป
รว่างงานของแรงงานด้อยฝีมือมีมากขึ้น เนื่องจากตลาดแรงงานจะเลิกจ้าง
ะต้องการเฉพาะแรงงานที่มีทักษะระดับสูงเพื่อปฏิบัติงานร่วมกับนวัตกรรม
เน้นการใช้แรงงาน (Labor Intensive Industry) เพราะคาดหวังต่อผลิตภาพที่
านภาคเกษตรเป็นแรงงานสูงวัยเป็นหนึ่งในปั จจัยที่จะส่งผลลบต่อศักยภาพและ
นของเศรษฐกจิ ไทยในอนาคต

ศรษฐกจิ ของกโลกท่ีเน้นการสร้างเศรษฐกิจแบบยั่งยืนดว้ ยนวัตกรรม/การย้ายฐาน
กลุ่มประเทศ BRICS ที่มีทรัพยากรมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติมากกว่า
การรวมกลุ่มประเทศของประเทศกำลังพัฒนาจะนำไปสู่การสร้างกระแสให้เกิดทง้ั
หม่ๆ ซ่งึ ขณะน้ีมีสัดสว่ นมลู ค่าทางเศรษฐกิจอย่ทู ่ีร้อยละ 57 ของมลู ค่าเศรษฐกิจโลก
N-11) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) กลุ่ม ASEAN Five, กลมุ่ CLMV ฯลฯ

โภคอาหารของกลุ่มคนช่วงอายุ10 - 39 ปี หรือ Gen Yและ Gen Z มีสัดส่วน
รรมแสวงหาการบริโภคอาหารแปลกใหม่ ยินดีที่จะจ่ายเพ่ิมเมื่อเห็นว่ามีประโยชน์
อนไลน์ เน้นความสะดวก ชอบสินค้าที่มีให้เลือกหลากหลาย โดยสามารถแสดง
แต่งน้อยที่สุด มีคุณค่าอาหารสูง ช่วยเสริมสุขภาพ มีบรรจุภัณฑ์ที่ย่ังยนื และเป็น

แอพพลิเคช่นั ขยายตวั สงู ถึงประมาณร้อยละ150 เมอ่ื เทียบกับชว่ งเดียวกนั กบั ปีก่อน

ปจั จยั PESTEL ประเดน็ หลกั

แพลตฟอร์มสงู ข้นึ แบบก้าว 3. การคน้ หาสตู รอาหา

กระโดด ค้นหาบริการส่งอาหารออนไล

S02 เชงิ บวก

การพฒั นาเทคโนโลยใี หม่ และ 1. เกษตรกรไทยเริ่มเข

นวตั กรรมดา้ นการเกษตร ท่ี ทำให้สามารถนำมาพัฒนา

เปล่ยี นแปลงไป ช่วยเปิดมมุ มอง ผลติ พัฒนาคณุ ภาพผลผล

ใหม่ ท้ังด้านการผลิต ท่ีมุ่งให้ 2. เทคโนโลยีสมัยใหม

เกษตรกรพัฒนาระบบการผลิต การเกษตรมีคุณภาพ และป

เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ เพิ่ม ให้แก่ผูบ้ ริโภคมากข้ึน

ผลติ ภาพการผลติ และ 3. มเี ทคโนโลยีเกี่ยวกบั

ผปู้ ระกอบการสินคา้ เกษตร sensor วัดความเป็นกรดด

พัฒนาดา้ นการตลาด ผลิตภาพการผลติ ความคุ้ม

แตอ่ ย่างไรกต็ าม ยังพบวา่ ผูม้ ีส่วน 4. มีเทคโนโลยีด้านกา

เก่ยี วขอ้ ง โดยเฉพาะเกษตรกร พืชให้ปรบั ตัวได้กับอากาศ

ยงั มีข้อจำกดั เร่ืองการประยุกต์ใช้ 5. ผู้ขายและผซู้ ื้อสามา

ประโยชน์ 6. ชอ่ งทางการตลาดส

7. ชว่ ยลดการสญู เสียข

เชงิ ลบ

1. เกษตรกรไทยสว่ นให

องคค์ วามรู้เพือ่ แกป้ ัญหาแล

ลูกหลานทำงานนอกภาคเ

ยุ่งยาก /รายได้จากการผล

ยางพารา

23

ปัจจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)
ารบน Google Search ปี พ.ศ. 2563 เพมิ่ ขึ้นกว่า 55% เม่อื เทียบกบั ปี 2562 การ
ลน์ครง้ั แรกบน Google Search ปี 2563 เพิม่ ข้นึ กว่า 36% เมอ่ื เทียบกบั ปี 2562

ข้าถึงเทคโนโลยีด้านการเกษตรมากขน้ึ / แนวโน้มต้นทุนการใชเ้ ทคโนโลยีเร่ิมลดลง
าต่อยอดแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการเกษตรได้มากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการ
ลิตได้ และเพิ่มผลติ ภาพทางการผลติ ใหเ้ พม่ิ มากข้นึ
ม่ และนวัตกรรมการเกษตรด้านเกษตรปลอดภัย สนับสนุนให้เกิดการผลิตสินค้า
ปลอดภัยมากขึ้น ทำให้ผลผลิตสินค้าเกษตรที่ผลิตได้ สามารถสร้างความเชื่อมั่น

บระบบ sensor และ AI เขา้ มาชว่ ยในการบรหิ ารจัดการ เชน่ sensor วัดความช้ืน
ด่าง (pH) ในดินและน้ำ ซึ่งถือเป็น Smart Farm ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลติ
มคา่ และการใช้ทรพั ยากรอย่างย่งั ยืน
ารพัฒนาพันธุ์พืชให้สามารถปลูกในในพื้นท่ีที่ไม่เคยปลูกได้ ด้วยการปรับปรงุ พันธุ์
อาทิ พชื ทนแล้ง ทนเคม็ ทนนำ้ ทว่ มขัง
ารถซ้ือขายกันไดโ้ ดยตรง ไม่ต้องผา่ นพ่อค้าคนกลาง
สำหรบั การจำหนา่ ยสนิ ค้าการเกษตรเพิ่มมากข้ึน
ของผลผลิตท้งั ด้านกระบวนการผลิต การเกบ็ รกั ษา การขนสง่ จนถึงมอื ผู้บรโิ ภค

หญ่ยังมกี ารประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีนวัตกรรมการเกษตรน้อย โดยเฉพาะการสืบค้น
ละพัฒนารายสนิ ค้าผ่านสมาร์ทโฟน เนือ่ งจากมีแรงงานเกษตรสงู อายุค่อนข้างมาก
เกษตรไม่ได้ช่วยเหลือสนับสนุน ทำให้เห็นว่าการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มีความ
ลิตสินค้าเกษตรหลักยังค่อนข้างต่ำ อาทิ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

ปจั จยั PESTEL ประเดน็ หลกั 2. เกษตรกรยังคงเข้าถ
ทำให้เกษตรกรสว่ นใหญ่ไมส่
T: T01 :
Technological การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ และ เชงิ บวก
ดา้ นเทคโนโลยี นวตั กรรมดา้ นการเกษตร ท่ี 1. เกษตรกรไทยเริ่มเข
เปลยี่ นแปลงไป ช่วยเปดิ มุมมอง
ใหม่ ท้ังด้านการผลิต ทีม่ ่งุ ให้ ทำให้สามารถนำมาพัฒนา
เกษตรกรพัฒนาระบบการผลิต ผลิต พฒั นาคณุ ภาพผลผล
เพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ เพิ่ม
ผลติ ภาพการผลติ และ 2. เทคโนโลยีสมัยใหม
ผู้ประกอบการสนิ คา้ เกษตร การเกษตรมีคณุ ภาพและปล
พัฒนาด้านการตลาด แต่อยา่ งไร
กต็ าม ยงั พบว่าผมู้ ีสว่ นเกย่ี วข้อง 3. มเี ทคโนโลยีเกีย่ วกับ
โดยเฉพาะเกษตรกร ยังมี sensor วัดความเป็นกรดด
ข้อจำกดั เรอื่ งการประยกุ ต์ใช้ ผลิตภาพการผลติ ความคมุ้
ประโยชน์
4. มีเทคโนโลยีดา้ นกา
พชื ใหป้ รบั ตัวได้กับอากาศ

5. ผู้ขายและผซู้ ื้อสามา
6. ช่องทางการตลาดส
7. ชว่ ยลดการสูญเสียข
เชงิ ลบ
1.เกษตรกรส่วนใหญย่
เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนารา
นอกภาคเกษตรไม่ได้ช่วยเห
การผลิตสินค้าเกษตรหลกั ข
2. เกษตรกรยงั คงเข้าถ

24

ปัจจัยทเ่ี กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)
ถึงเทคโนโลยีดา้ น GIS และ Sensor ไดย้ าก เนอ่ื งจากมีความซับซ้อน และราคาสูง
สนใจทำ Smart Farm เพราะเหน็ วา่ รายได้อาจไม่คมุ้ คา่ ตอ่ การลงทุนผลิต

ข้าถึงเทคโนโลยีดา้ นการเกษตรมากข้นึ / แนวโน้มตน้ ทนุ การใช้เทคโนโลยีเริ่มลดลง
าต่อยอดแก้ไขปัญหาและพัฒนาด้านการเกษตรได้มากขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพการ
ลติ ได้ และเพม่ิ ผลติ ภาพทางการผลติ ให้เพิม่ มากขน้ึ
ม่และนวัตกรรมการเกษตรด้านเกษตรปลอดภัย สนับสนุนให้เกิดการผลิตสินค้า
ลอดภยั มากขนึ้ สามารถสร้างความเช่อื มัน่ ใหแ้ ก่ผู้บรโิ ภคมากขึ้น
บระบบ sensor และ AI เขา้ มาชว่ ยในการบรหิ ารจดั การ เช่น sensor วดั ความชื้น
ด่าง (pH) ในดินและน้ำ ซึ่งถือเป็น Smart Farm ที่ช่วยเพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ
มคา่ และการใช้ทรัพยากรอยา่ งยั่งยืน
ารพัฒนาพันธุ์พืชให้สามารถปลูกในในพื้นที่ที่ไม่เคยปลูกได้ ด้วยการปรับปรงุ พันธุ์
อาทิ พืชทนแลง้ ทนเคม็ ทนน้ำท่วมขัง
ารถซือ้ ขายกนั ได้โดยตรง ไมต่ ้องผ่านพอ่ คา้ คนกลาง
สำหรับการจำหน่ายสนิ ค้าการเกษตรเพม่ิ มากขึน้
ของผลผลติ ทงั้ ดา้ นกระบวนการผลิต การเก็บรักษา การขนสง่ จนถงึ มือผบู้ รโิ ภค

ยังประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยนี วตั กรรมการเกษตรนอ้ ย โดยเฉพาะการสืบค้นองคค์ วามรู้
ายสินค้าผ่านสมาร์ทโฟน เนื่องจากมีแรงงานเกษตรสูงอายุมาก ลูกหลานทำงาน
หลือสนับสนุน ทำให้เห็นว่าการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่มีความยุ่งยาก /รายได้จาก
ของเกษตรกรยงั ค่อนขา้ งต่ำ อาทิ ข้าว มันสำปะหลงั ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ ยางพารา
ถึงเทคโนโลยีดา้ น GIS และ sensor ไดย้ าก เนอื่ งจากมีความซับซอ้ น และราคาสูง

ปัจจัย PESTEL ประเด็นหลกั

E : En01 เชิงบวก
1. มีฐานข้อมูลและแผ
Environmental การผลิตสินคา้ เชงิ เดีย่ วซ้ำซาก / 2. มีการใช้ระบบเทคโ

ดา้ นสิ่งแวดล้อม การใช้ท่ีดินไม่เหมาะสม ไม่ตรง สำหรับปลกู พชื ในแต่ละแปล
3. มีกฎ ระเบยี บควบค
ศักยภาพทำใหป้ ระสิทธิภาพการ 4. ปัจจุบันมีการใช้ระ

ผลติ และผลติ ภาพการผลติ ต่ำ / sensor วัดความเป็นกรดด
5. การเปลี่ยนแปลงสภ
แนวโนม้ การใชป้ ัจจัยการผลิต
ปรบั ปรุงพันธ์พุ ชื ใหป้ รบั ตวั ไ
จำพวกสารเคมีเพ่ิมมากขนึ้ ทำให้ เชงิ ลบ

การผลติ ไม่เปน็ มิตรตอ่ 1. เกษตรกรใชัที่ดินไม
เหมาะสมตำ่ ของพืชแต่ละช
สิ่งแวดล้อม/ พื้นทเี่ กษตรเส่อื ม
2. อยู่ใกล้แหล่งมลพิษ
โทรม เกษตรกรทำการเกษตรแบบ

3. เกษตรกรบางราย
หมุนเวยี นของธาตอุ าหารภ

4. การเปลี่ยนแปลงส
กระจายตัวของฝนไม่สม่ำเส
ผลติ ทำได้ยาก

5. เกษตรกรยังเขา้ ถึงเ
6. แหล่งนำ้ ยังไม่เพยี งพ

25

ปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)

ผนท่ดี ินและความเหมาะสมในการใชท้ ดี่ นิ
โนโลยี GIS เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการแปลง เช่น การระบุความเหมาะสม
ลง ใช้สำหรบั วเิ คราะห์โอกาสทจี่ ะรับการปนเป้ือนด้าน ดิน น้ำ และอากาศ
คมุ เชน่ การทำเกษตรอินทรีย์ ตอ้ งการปลูกพชื หมุนเวียน
ะบบ sensor และ AI เข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ เช่น sensor วัดความช้ืน
ดา่ ง (pH) ในดนิ และน้ำ
ภาพอากาศให้พืชบางชนิดปลูกได้ในพื้นที่ที่ไม่สามารถปลูกได้มาก่อน และมีการ
ไดก้ บั อากาศที่เปลยี่ นไป เชน่ พชื ทนแล้ง ทนเค็ม ทนนำ้ ท่วมขงั

ม่ตรงศักยภาพทำให้ได้ผลผลิตไม่ตรงศักยภาพที่ดิน การปลูกพืชในพื้นที่ความ
ชนดิ ทำใหไ้ ด้ผลผลติ ต่ำและต้องใช้ปัจจยั การผลติ มากกว่าปกติ
ษทำให้เสี่ยงหรือหลีกเลี่ยงการปนเปื้อนจากมลพิษด้านดิน น้ำ อากาศ ซึ่งทำให้
บ GAP และ อินทรีย์ยาก
ยังขาดการวางแผนการใช้ที่ดิน เข่น การปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อให้เกิดการ
ภายในแปลง
สภาพอากาศ และความแปรปรวนของสภาพอากาศ เช่น น้ำท่วม ฝนแล้ง การ
สมอ ทำให้ผลผลิตพืชบางชนิดลดลง ฤดูกาลปลูกพืชเปลี่ยนไป การวางแผนการ

เทคโนโลยดี า้ น GIS และ sensor ได้ยาก เนอ่ื งจากซบั ซ้อนและราคาสูง
พอ และตอ้ งการพัฒนาระบบการกระจายน้ำ และระบบการบรหิ ารจัดการน้ำในแปลง

ปจั จยั PESTEL ประเดน็ หลัก

En02 เชิงบวก

การบรหิ ารจัดการวัสดเุ หลอื ใช้ 1. มีโปรแกรมปุ๋ยราย

ทางการเกษตร / การใช้ป๋ยุ เพื่อ 2. มีการสง่ เสรมิ การว

เพิ่มความอดุ มสมบูรณ์ของดิน 3. มกี ารสง่ เสรมิ ให้ใช

และลดมลพิษทางดนิ และนำ้ 4. มีกฎ ระเบยี บควบ

ใช้ วัสดทุ ม่ี าใชต้ ้องไมป่ นเป

เชงิ ลบ

1. เกษตรบางรายปุ๋ยม

2. เกษตรบางรายยังไ

3. ปุ๋ยอินทรีย์โดยทั่ว

ต้องใชเ้ วลา 1 -2 เดือน ข้ัน

4. การตรวจสอบแหล่ง

ทำให้วัสดุไม่เพียงพอ และ

มีการเผาวสั เดหลือใช้ในแป

En03 เชงิ บวก

พ้นื ท่เี พาะปลูกเกษตรอินทรยี ์เพ่ิม 1. มีการวจิ ัยการใชส้ าร

มากข้ึนแบบกา้ วกระโดด / การ 2. การปลกู พชื ในบางร

บริหารจดั การการใชส้ ารเคมี เชงิ ลบ

กำจัดวชั พชื และโรคพชื ทางดินให้ 1. เกษตรบางรายการใ

มปี ระสทิ ธิภาพและลดมลพษิ ทาง 2. เกษตรบางรายการย

ดิน นำ้ และอากาศ 3. แรงงานในการกำจดั

26

ปจั จยั ทเี่ กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)

ยแปลง
วิเคราะห์ดินเพือ่ ใชป้ ๋ยุ ให้ตรงความต้องการของพชื
ช้ปยุ๋ อินทรีย์ทดแทนปยุ๋ เคมี
บคมุ การใช้ปุ๋ยท่ีชัดเจน เช่น การทำเกษตรอนิ ทรีย์ ตอ้ งทราบแหล่งที่มาของวสั ดุที่
ป้ือนสารเคมี หากใช้ต้องผ่านกระบวนการหมัก

มากเกนิ ความจำเป็นและใชผ้ ิดวิธี
ไมใ่ ห้ความสำคัญกบั การวิเคราะห์ดนิ ก่อนปลกู และการบำรุงรกั ษาดนิ
วไปยังใช้เวลานานในการเตรียม เช่น พืชปุ๋ยสดต้องใช้เวลา 45-60 วัน ปุ๋ยหมัก
นตอนยุ่งยากในการเตรียม ราคายงั ค่อนข้างสูง ทำให้เกษตรกรไมน่ ิยมใช้
งที่มาทำไดย้ าก มีการใชว้ สั ดุเหลือใช้ทางการเกษตรไปเพ่ิมมูลค่า เชน่ พลังงานชีวมวล
ะวัสดุบางชนิดราคาค่อนขางสูงในบางพื้นที่ เกษตรกรไม่ทราบแหล่งซื้อราคาถูก
ปลงปลูกเพอ่ื ให้การจัดการง่ายขนึ้ เช่น การเตรียมแปลง การเก็บเกีย่ ว

รอินทรีย์กำจัดวัชพชื แตป่ ระสิทธิภาพยังไม่สูงเพยี งพอ
ระบบสามารถลดปัญหาจากวชั พชื เช่น การปลกู พืชในโรงเรือน การใชว้ สั ดคุ ลมุ ดนิ

ใชส้ ารเคมีกำจดั วชั พืชและโรคพืชทางดินมากเกนิ ความจำเปน็
ยังขาดความเชือ่ มนั่ ต่อการงดใชส้ ารเคมีกำจัดวัชพืช
ดวชั พืชมนี อ้ ย

ปจั จัย PESTEL ประเด็นหลัก เชงิ บวก
1. มาตรฐานสินค้าเก
L : Legal L01
ด้านกฎหมาย มาตรฐานสนิ ค้าเกษตร และ (GAP) /Quality (Q)/ Goo
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มหี ลาย (HACCP) / Halal / Gi แล
มาตรฐานทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และสหกรณ์ (มกษ.9000
ทัง้ ในและตา่ งประเทศกำหนด เล่ม 3 – 2552/ มกษ 9
2556/ มกษ.8201-25
ภาคเอกชน (สำนักงานมาต
มาตรฐานรบั รองของตา่ งปร

2. ประเทศไทยมกี าร
ภาค ร่วมกัน ไม่เกิดการเอ
กลมุ่ (WTO/ FTA/ GSP) เ
ละประเทศคู่คา้ ตา่ งมมี าตร
ขั้นตอน กระบวน วิธีปฏิบ
น่าเชื่อถือในคุณภาพ โดย
กำหนด พร้อมไดร้ บั การตรว
ปลอดภัยตอ่ ผู้บรโิ ภค
เชงิ ลบ

1. หน่วยงานที่กำหน
กำหนดมาตรฐานส

ตามแต่หน่วยงานกำหนด แ
เกษตรกรเกิดความยุ่งยาก

27

ปจั จัยทเ่ี กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)

กษตรมี คุณภาพและปลอดภัย หลายด้าน ได้แก่ Good Agriculture Practices
od Manufacturing Practice (GMP) /Hazard Analysis Critical Control Point
ละ มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรอินทรีย์ ได้แก่ มาตรฐานรับรองของ กระทรวงเกษตร
0 เล่ม 1(G)– 2557/ มกษ.9000 เล่ม 2 – 2554 และ 2561/ มกษ. 9000
9000 เล่ม 4 – 2553/ มกษ 9000 เล่ม 5 – 2553/ มกษ.9000 เล่ม 6 –
560 /มกษ 8202-2560 /มกษ 8203 เล่ม 1 – 2560) มาตรฐานรับรอง
ตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.)/ PGS/ มอน./ มก.สร. /มก.พช. / มก.เกาะพงัน )
ระเทศ (Codex/ - IFOAM/ EU/ NOP/ COR/JAS mark/ Bioagricert)
รคา้ ขายกับประเทศสมาชิกหรือ ประเทศคูค่ า้ ทำให้ไดร้ ับผลประโยชน์อย่างเสมอ
ารัดเอาเปรียบกัน อาทิ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของโลก ภูมิภาค และเฉพาะ
เป็นการเปิดช่องทางการค้ากบั ประเทศคู่คา้ ที่มีปรมิ าณจำหน่ายที่มากยิ่งข้ึน ซ่ีงแต่
รฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยกำหนดไว้ โดยเหน็ ได้ว่าแตล่ ะมาตรฐานมีการกำหนด
บัติในการผลิตสินค้าเกษตร เพื่อให้สินค้ามีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และเป็นท่ี
เกษตรกรต้องมาจดทะเบียนเพ่ือขอรับการรับรองและปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ท่ี
วจสอบคุณภาพ จงึ เปน็ การส่งเสริมสนบั สนนุ ใหส้ นิ ค้าการเกษตรของประเทศไทย

นดมาตรฐานสินค้าเกษตร มีทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศมีการ
สินค้าเกษตรท่ีหลากหลาย
และแตกต่างกันที่กลุ่มคู่ค้า หรือผู้ซื้อสินค้าทั้งในและต่างประเทศกำหนด ทำให้
กในการผลิตสินค้าปลอดภัย และผู้ซื้อเกิดความไม่แน่ใจในความปลอดภัยของ

ปจั จยั PESTEL ประเด็นหลัก

มาตรฐานสินค้าเกษตรแต่ล

การเกิดความเชื่อม่ันตอ่ ผูซ้ ื้อ

L02 : เชงิ บวก

มตี วั บทกฎหมายในประเทศไทย 1. มีตัวบทกฎหมายด้า

ทก่ี ำหนดให้มกี ารรักษาคุณภาพ พระราชกำหนดการประมง

และค้มุ ครองผูบ้ รโิ ภคให้ปลอดภัย เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ที่ ห้ามเล

ดว้ ยการผลติ อาหารปลอดภัย ทงั้ ประมง ที่กำหนดมาตรฐาน

ในกลุ่มสินคา้ ประมง ปศสุ ัตว์ เป็นอันตรายต่อ มนษุ ยห์ รอื

ด้านผลติ ภัณฑอ์ าหาร และดา้ น 2. ตัวบทกฎหมายด้าน

สารเคมี และวตั ถุอนั ตราย พระราชบัญญัติ ควบคุมกา

การ ฆ่าสัตว์ในโรงฆ่าสัตว์ เ

ประกาศ กรมปศสุ ตั ว์ กำหน

ปศุสัตว์อีกหลายฉบับ ได้แ

สัตว์ (ต้นน้ำ)/พระราชบัญ

สำหรบั สตั ว์ (ต้นนำ้ )/ พระร

ผลิต จำหน่าย เนื้อสัตว์เพื่อ

รายชนิดสัตว์ (ต้นน้ำ) ซึ่งจ

ยอมรับต่างประเทศ)

3. มีตัวบทกฎหมายเก

2522 ที่กำหนดควบคุมกร

การโฆษณา รวมถึงเรื่องอื่น

ผู้บริโภค รวมถึงพระราชบ

การเกษตร เชน่ สารป้องกัน

28

ปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)
ละประเภท ดังนั้นเพื่อให้เกิดมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยสะดวกแก่การผลิต
อควรมีมาตรฐานกลางกำหนดให้ชดั เจน

านประมงที่ให้ความสำคัญต่อการผลิตให้ได้การรับรองมาตรฐานปลอดภัย ได้ แก่
ง พ.ศ.2558 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่กำหนดการ ขอหนังสือรับรองมาตรฐานการ
ลี้ยงสัตว์น้ำ การดูแลรักษาเรือประมง ตลอดถึง แรงงานประมง และประกาศกรม
นสัตว์น้ำ ทั้งด้านการเลี้ยง การจับ ท่าเทียบ เรือ สารปนเปื้อนของสารพิษ ที่อาจ
อตอ่ สตั วน์ ้ำท่จี ับไว้
นปศุสัตว์ที่ให้ความสำคัญต่อการผลิตให้ได้การรับรองมาตรฐานปลอดภัย ได้แก่
ารฆ่าสัตว์และจำหน่ายสัตว์ พ.ศ.2535 ที่ระบุหลักเกณฑ์การตั้ง การดูแลรักษา
เพื่อให้การฆ่าสัตว์มีสุขอนามัยที่ดี ไม่ก่อเหตุรำคาญ และป้องกันโรคระบาด และ
นดโรคสตั ว์ทีห่ า้ มนำมาจำหน่ายไว้ เป็นการเฉพาะ และยังมีกฎหมายเก่ียวข้องกรม
แก่ พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2558 เพื่อควบคุม ป้องกันโรคระบาด
ญญัติควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อควบคุมการผลิต จำหน่าย
ราชบญั ญัติควบคุมการฆ่าสตั ว์การจำหน่ายเน้ือสตั ว์ พ.ศ. 2559 เพ่ือควบคุมการ
อการบริโภค (กลางน้ำ)/ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ฟาร์มปศุสัตว์ 11
จะทำให้มีประสิทธิภาพการผลิตมากขึ้น (ผลผลิดสูงขึ้น การสูญเสียน้อย เป็นที่

กี่ยวกับการผลิตและจำหน่ายอาหารปลอดภัย ได้แก่ พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.
ระบวนการผลิต การจัดตั้ง โรงงาน การนำเข้าและส่งออกเพื่อจำหน่าย ทั้งฉลาก
นๆที่เกี่ยวข้องกับอาหาร เพื่อ ควบคุมคุณภาพอาหารให้เกิดความปลอดภัยต่อ
บัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ.2535 ได้ระบุ ควบคุมอันตรายจากการใช้สารเคมีทาง
นศัตรูพืช สารบำรุงพชื เพือ่ ใหส้ นิ ค้าทางการ เกษตรปลอดภัยตอ่ ผู้บริโภค

ปจั จัย PESTEL ประเด็นหลกั

4. มีตัวบทกฎหมายก
การเกษตร เชน่ สารป้องกัน
มุ่งให้อาหารที่ผลิตได้ในป
พระราชบญั ญัติวัตถุอันตรา
เชงิ ลบ

1.หน่วยงานที่กำหนด
กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษ
สินคา้ ทง้ั ในและตา่ งประเทศ
ความไม่แน่ใจในความปลอ
เกษตรปลอดภยั สะดวกแกก่

2.เกษตรกรยังเข้าถึงร
เป็นการตรวจรบั รองดา้ นพชื
การลงทุนในการตรวจฯ
อินทรียล์ งทนุ สงู เปน็ ภาคส

3.เกษตรกรที่เพิ่งเริ่ม
มาตรฐานที่ตนเองจะขอรับ
ทำใหอ้ าจตรวจแลว้ ไมผ่ ่าน

4. หากภาครัฐไม่มีกา
อินทรีย์ของประเทศ อาจท
หลายประเทศ เพราะปัจจ
นำเขา้ ในเร่ืองการติดฉลาก

5. หากตวั บทกฏหมาย
ซึ่งนำไปสู่การผลิตสินค้าที่ไ

29

ปจั จัยที่เก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)
กลางที่มีผลบังคับใช้กับวัตถุอันตรายโดยทั่วไป และวัตถุอันตรายที่ใช้ในทาง
นกำจดั ศตั รพู ชื ผลิตภัณฑท์ ่ใี ชค้ วบคุมการ เจรญิ เตบิ โตของพืช ซ่งึ กฎหมายเหล่าน้ี
ประเทศมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภคมากที่สุด สำหรับด้านวัตถุอันตราย มี
าย พ.ศ. 2535 บญั ญัติขน้ึ เพื่อควบคุมการใช้วัตถุอนั ตราย ทกุ ประเภท

ดมาตรฐานสินค้าเกษตร มีทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศมีการ
ษตรที่หลากหลายตามแต่หน่วยงานกำหนด และแตกต่างกันที่กลุ่มคู่ค้า หรือผู้ซื้อ
ศกำหนด ทำให้เกษตรกรเกดิ ความย่งุ ยากในการผลติ สินค้าปลอดภยั และผู้ซ้ือเกิด
อดภัยของมาตรฐานสินค้าเกษตรแต่ละประเภท ดังนั้นเพื่อให้เกิดมาตรฐานสินค้า
การผลติ การเกดิ ความเชอ่ื มน่ั ต่อผ้ซู ้อื ควรมมี าตรฐานกลางกำหนดให้ชดั เจน
ระบบการผลิตและตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรปลอดภัยได้น้อย ส่วนใหญ่จะ
ช ซง่ึ ไมท่ ราบหนว่ ยรับผิดชอบ/ ค่าตรวจแพง ถ้าไม่มีตลาดรองรบั อาจไม่คุ้มค่าใน
เช่นเดียวกับด้านปศุสัตว์ ที่เกษตรกรเห็นว่าการผลิตปศุสัตว์ปลอดภัยและ
สมคั รใจ ข้นั ตอนยุง่ ยาก
มทำเกษตรอินทรีย์ ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการหรือวิธีการผลิตที่ถูกต้องใน
บการตรวจมาตรฐาน เพราะแต่ละมาตรฐานมีความเข้มข้นของเกณฑ์แตกต่างกัน
จึงไม่ได้รับการรบั รอง
ารเจรจากับประเทศผู้นำเข้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ให้ยอมรับมาตรฐานเกษตร
ทำให้เกษตรกรหรือผู้ประกอบการส่งออกมีต้นทุนค่าใช้จ่ายเพิ่มขึน้ หากมีการส่งไป
จุบันสินค้าเกษตรอินทรีย์ที่ส่งออก ได้รับผลกระทบจากมาตรฐานของประเทศผู้
กทมี่ คี วามแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะประเทศ
ยไม่ชดั เจน อาจทำให้การทำเกษตรพันธสัญญาเกดิ ความไม่เป็นธรรมแกเ่ กษตรกร
ไม่มีคุณภาพและมาตรฐาน เพราะบางสัญญามีการผูกขาดการใช้ปัจจัยการผลิตที่

ปจั จัย PESTEL ประเด็นหลกั

กำหนดไว้ในข้อสัญญาว่า เก
การควบคมุ หรือตรวจสอบค

6. ในกฎกระทรวงฯ เก
รับผิดในความเสียหายท่ีเก
ความผิด เพราะถือเป็นผู้ร
ผู้บรโิ ภค

7. ยังขาดตัวบทกฎหม
8. ปัญหา กฎหมายเก
โดยที่ระบบควบคุมความป
ได้แก่ GMP HACCP บังคับ
สามารถตรวจสอบติดตาม
กฎหมายที่เป็นรูปธรรม แล
9. ปัญหาการบังคับใ
ตรวจสอบยอ้ นหลงั กระบวน
ของทั้งภาครัฐและเอกชนเก
ทำให้เกิดอุปสรรคในการย
ดำเนินการดังกล่าวอยา่ งเป
ไม่สามารถควบคุมได้อย่างท
ชดั เจน พร้อมทั้งมีการแต่งต
ระบบมาตรฐานความปลอด
หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
หนา้ ท่ขี องแตล่ ะหน่วยงานโ


Click to View FlipBook Version