The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน (Agri-Modern Safety Kitchen) [Paper]

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by planning13.workgroup, 2021-09-21 10:00:59

ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน (Agri-Modern Safety Kitchen) [Paper]

ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน (Agri-Modern Safety Kitchen) [Paper]

30

ปจั จัยท่เี กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)
กษตรกรจะต้องใช้ปัจจัยการผลิตที่บริษัทจัดหาและส่งมอบให้เท่านั้น ซึ่งหากไม่มี
คณุ ภาพปัจจัย อาจก่อใหเ้ กดิ อนั ตรายตอ่ ผบู้ ริโภคได้
ก่ียวกบั ระบบเกษตรพันธสัญญา ทก่ี ำหนดไว้วา่ ผู้ประกอบการทกุ คนตอ้ งร่วมกัน
กิดขึ้นหากสินค้าที่ผลิตก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภค แต่เกษตรกรได้รับยกเว้น
รับจ้างผลิตเท่านั้น ทำให้เกษตรขาดความตระหนักถึงการผลิตที่ปลอดภัยต่อ

มายในการชดใชค้ วามเสียหาย หรือเยยี วยาผบู้ ริโภคท่ีได้รับอันตรายจากการบรโิ ภค
กี่ยวกับความปลอดภัยของอาหารมีหลายฉบับไม่เป็นมาตรฐานเดียว ไม่ชัดเจน
ปลอดภัยอาหารของประเทศไทยได้กำหนดหลักเกณฑ์ควบคุมอาหารขั้นพื้นฐาน
บใช้เป็นกฎหมาย แต่เป็นเพียงมาตรฐานสมัครใจ หากพบอาหารไม่ปลอดภัยจึงไม่
มย้อนกลับในกระบวนการผลิตอาหารได้ ประเทศไทยจึงยังไม่มีการบังคับใช้
ละการทำงานของหน่วยงานกำกบั ดูแลขาดความร่วมกันไมส่ อดคล้องกัน
ใช้กฎหมายไม่เป็นเอกภาพ โดยที่ปัญหากฎหมายที่เกี่ยวกับการติดตามและ
นการผลติ อาหารปลอดภัยให้มีมาตรฐานเดยี วกนั ตลอดห่วงโซ่ทำให้การดำเนินการ
กิดมีหลายมาตรฐาน ขึ้นกับสินค้าอาหารแต่ละประเภทเกี่ยวข้องกับหน่วยงานใด
ยกระดับความปลอดภัยและคุณภาพต่อผู้บริโภค และยังไม่มีการบังคับใช้และ
ปน็ รปู ธรรม ทำให้เมอ่ื เกิดโรคระบาดหรือโรคติดต่อท่ีมีทมี่ าจากอาหารเป็นสื่อ อาจ
ทันท่วงที ดังนั้นเพื่อจึงควรมีมาตรฐานความปลอดภัยด้านอาหารเป็นกฎหมายที่
ต้ังหนว่ ยงานท่ีกำกับดูแลความปลอดภยั ของอาหารและจัดต้ังศนู ย์กลางการจัดทำ
ดภัยของอาหาร รวมถึงกำหนดบทบาท หน้าที่ และมาตรฐานการให้บริการของ
งเพ่ือใหม้ ีการจัดหาข้อมลู และเผยแพร่ขอ้ มูลและลดปญั หาการทำงานซ้ำซ้อนของ
โดยการพฒั นากฎหมายในประเทศไทยให้สอดคล้อง

ปจั จัย PESTEL ประเด็นหลกั

10. ปัญหากฎหมา
โดยทีใ่ นปัจจบุ นั ภาครฐั มีมา
อาหาร พ.ศ.2522 พรบ.
ปลอดภัย เช่นการสุ่มตรวจ
ปฏบิ ตั ิต่างๆ เหล่านข้ี าดการ
เปน็ การควบคุมเพื่อการสง่ อ
ความปลอดภัยอาหาร: ผัก
กระทรวงเกษตรและสหกรณ
ตั้งแต่การผลิต การแปรรูป
อุตสาหกรรมอาหารใหม่ (N
ชนิดเป็นสัตว์เศรษฐกิจตัว
เม็กซิโก และกลุ่มบริษัทให
จิ้งหรีด เท่านั้นที่ได้มีการก
นำไปเป็นอาหาร อนาคตห
เชื่อมั่นของตลาดในอนาคต
ตั๊กแตน หนอน รถด่วน แม

11. ปัญหากฎหมายล
ควบคุมคุณภาพอาหารข
ผู้ประกอบการต้องได้รับอน
ยา ภายหลังได้รับอนุญาต
แต่พบกระบวนการติดตาม
การกำหนดมาตรการทางก
อาหารที่ไม่ปลอดภัย โดย

31

ปัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้อง (เชิงบวกและเชิงลบ)
ายไม่ครอบคลุมอาหารทุกประเภท เช่น ผักในแปลงปลูก หรือ อาหารจากแมลง
าตรการควบคุมความปลอดภยั ทางอาหารดว้ ยกฎหมายต่างๆ ท่เี กี่ยวข้องทง้ั พรบ.
.วัตถุอันตราย พ.ศ.2535 เป็นต้น และมีกลไกการตรวจสอบมาตรฐานความ
จหาสารเคมีตกค้าง และการอบรมความรู้แก่เกษตรกร แต่การควบคุมและหลัก
รควบคุมและกลไกการลงโทษโดยตรงในกระบวนการผลิตผกั อย่างแทจ้ รงิ และมัก
ออก ไมม่ ีการบงั คบั ใชก้ บั การจำหน่ายผักในประเทศ ตามผลการศกึ ษายุทธศาสตร์
ก” โดย ดร. ชวนพิศ อรุณรังสิกุล และคณะ (2559) รวมทั้ง รัฐมนตรีว่าการ
ณไ์ ดก้ ำหนดนโยบายใหป้ ระเทศไทยเปน็ ฮบั แมลงโลกโดยมีเป้าหมายในการพัฒนา
ปและการตลาดด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่เพื่อสนับสนุนฟาร์มจิ้งหรีด และ
Novel Food)ในการเจาะตลาดโลก 3 หมื่นล้าน โดยจิ้งหรีดและแมลงอีกหลาย
วใหม่ที่น่าสนใจ ล่าสุดกระทรวงเกษตรฯ ประสบความสำเร็จในการเปิดตลาด
หญ่ของญี่ปุ่นก็สนใจ แต่จากการตรวจสอบเบื้องต้นพบว่ามีเพียงแมลง ตัวไหม
กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรไว้ ไม่มีการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรแมลงท่ี
หากยังไม่มีการกำหนดอาจทำให้เกิดอาหารไม่ปลอดภัย ส่งผลกระทบต่อความ
ต จึงควรมีการกำหนดกฎหมายแมลงที่นำไปเป็นอาหารเพื่อเติมให้ครอบคลุม ทั้ง
มงดานา เป็นตน้
ล้าสมัยต้องปรับปรุง กรณีพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 โดยที่กระบวนการ
ของประเทศไทยมีเพียงการควบคุมในชั้นวัตถุดิบ การผลิตหรือแปรรูปที่
นุญาตผลติ อาหารหรือขอใบรับรองการนำเขา้ อาหารตอ่ คณะกรรมการอาหารและ
หน่วยงานของรัฐมีหน้าที่ตรวจสอบติดตามว่าอาหารได้มาตรฐานความปลอ ดภัย
มตรวจสอบย้อนหลังเมื่อได้รบั อนุญาตแล้ว หากพบอาหารที่ไม่ปลอดภัยไม่พบว่ามี
กฎหมายเกี่ยวกับการเรียกคืนผลิตภัณฑ์จากท้องตลาด , การควบคุมแหล่งผลิต
ยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงควรมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย

ปจั จยั PESTEL ประเด็นหลัก

พระราชบัญญัติอาหาร พ.

อาหารคนื จากผ้บู ริโภคหรือ

L03 เชงิ บวก

มมี าตรการด้านกฎหมายเพ่ือ การตลาด และมีมาตร

สนับสนนุ เกษตรกร จดทะเบยี น กลุ่มเกษตรกรหรือเกษตรก

พาณชิ ย์อิเล็กทรอนกิ สเ์ พื่อยนื ยัน ทะเบียนมีตัวตนในการค้าพา

การมตี วั ตนของผู้ประกอบการ ช่องทางการจำหน่ายได้สะด

VUCA อยา่ งมาก

L04 เชิงบวก

ผลการศึกษาวิจยั ของ สกว. เร่อื ง เพื่อประโยชน์แก่ประเ

“กฎหมาย หรือมาตรฐานความ การเอารัดเอาเปรียบกัน อ

ปลอดภยั ของสินคา้ ผกั ปลอดภัย” GSP) เป็นการเปิดชอ่ งทางก

และเรือ่ ง “มาตรฐานความ

ปลอดภัยสนิ ค้า ตลอดหว่ งโซ่การ

ผลติ ” / กระทรวงเกษตรและ

สหกรณ์ ตัง้ เป้าให้ไทยเป็น Hub

โลก ของอาหารแมลงโปรตนี สูง

32

ปจั จัยทีเ่ กี่ยวข้อง (เชิงบวกและเชงิ ลบ)
.ศ.2522 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจเรียกเก็บหรืออกคำสั่งเก็บผลิตภัณฑ์
อผขู้ าย

รการด้านเศรษฐศาสตร์เพื่อ สนับสนุนหรือจัดหาแหล่งสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำให้แก่
กร เพื่อส่งเสริมให้การค้าออนไลน์เพิ่มมากขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้เกษตรกรจด
าณิชย์อิเล็กทรอนิคส์ นับเป็นปัจจัยสนับสนุนให้การจำหน่ายสินค้าด้านการเกษตรมี
ดวกรวดเร็ว เป็นการค้าการเกษตรสมัยใหม่ที่เหมาะสมกับสถานการณ์โควิด 19 หรือ

เทศสมาชิกหรือ ประเทศคู่ค้ำให้ได้รับผลประโยชน์อย่างเสมอภาค ร่วมกัน ไม่เกิด
อาทิ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของโลก ภูมิภาค และเฉพาะกลุ่ม ( WTO/ FTA/
การคา้ กับประเทศคู่คา้ ท่ีมีปรมิ าณจำหนา่ ยทมี่ ากยง่ิ ข้ึน

33

บทท่ี 3
วธิ ีการวิเคราะหข์ ้อมูลเพอ่ื การฉายภาพอนาคต

การมองภาพอนาคตต้องใช้ความคิดเชิงวิพากษ์ ประกอบกับ ความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ
โดยมฐี านขอ้ มูลท่ชี ่วยสนับสนุนให้เกดิ การมองอนาคตอย่างมีหลักการ เป็นการวิเคราะห์ และคาดการณอ์ นาคต
ในระยะยาว เป็นแนวคิดที่เป็นนามธรรม และเป็นกระบวนการคิดในสิ่งที่สังคมโดยทั่วไปมิได้คาดคิดมาก่อน
ด้วยเหตุนี้การมองอนาคตท่ีมปี ระสทิ ธิภาพจงึ มวี ธิ ีการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเพื่อการฉายภาพอนาคต ดงั น้ี

3.1 กระบวนการการกำหนดกรอบภาพอนาคต

การกำหนดกรอบภาพอนาคต เป็นขั้นตอนแรกของการมองอนาคตที่ต้องการวิเคราะห์ คาดการณ์
และสื่อสารไปยังสังคมภายนอก โดยการวิเคราะห์สภาพปัญหาในปัจจุบัน (Now) อนาคตหากไม่มีการปรับตวั
(New) และอนาคตภายใต้การปรับตัว (Next) จะต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ สร้างความคิด
ใหม่เก่ียวกับอนาคตขององคก์ ร ผ่านกระบวนการประชมุ กลมุ่ เพ่ือระดมความคดิ เห็นรว่ มกนั สิ่งต่าง ๆ เหลา่ น้ี
จึงนำไปสู่กรอบแนวคิดในเรื่องที่สนใจ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคาดการณ์และเตรียมความพร้อมรองรับการ
เปลีย่ นแปลงในอนาคต ภายใต้กรอบระยะเวลา 10 ปขี ้างหนา้

3.2 การเกบ็ รวมรวมข้อมลู

ในการศึกษาครั้งน้ีได้เก็บข้อมูลจากเอกสาร (Documentary) ซึ่งสืบค้นหาข้อมูลและรวบรวมข้อมูล
จากเอกสารงานวิจยั ยุทธศาสตร์/แผนแม่บท/นโยบายที่เกยี่ วข้อง ตลอดจนขอ้ มูลจากเอกสารงานวิชาการจาก
หน่วยงานราชการ และสถาบันการศึกษา โดยนำข้อมูลที่รวบรวมมาประชุมกลุ่มปรึกษาหารือและหาข้อสรุป
ร่วมกัน โดยรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการสำรวจสภาพแวดล้อมเชิงลึกเพื่อวิเคราะห์ว่า “ปัจจัยขับเคลื่อน
(Driver)” หรือ “แรงขับเคล่ือน (Driving Force)” ใด มีความเป็นไปได้ในการเปล่ยี นแปลงสูงและมีผลกระทบ
ต่ออนาคตที่ต้องการวิเคราะห์มากที่สุด ซึ่งต้องรวบรวมข้อมูลทุกมิติท่ีจำเป็นตอ่ การวิเคราะห์และวางแผนเพอ่ื
รองรับอนาคต จงึ ใช้เทคนคิ PESTEL Analysis หรือทีเ่ รียกว่า “การวเิ คราะห์กา้ งปลา”

PESTEL Analysis เปน็ การวเิ คราะห์และตรวจสอบปจั จัยภายนอกเขา้ มากระทบทั้งเชงิ บวกและเชิงลบ
PESTEL Analysis ประกอบด้วย 6 ปจั จัย ได้แก่

(1) ปัจจัยด้านการเมือง (Political Factors : P ) ปัจจัยทางการเมืองที่มีเข้ามามีผลต่อภาวะ
เศรษฐกิจเปน็ ปัจจยั ท่ีเราต้องให้ความสำคัญอย่างมาก ซงึ่ มผี ลตอ่ องค์กรหรือธุรกิจอย่างมากซ่ึงอาจเป็นผลบวก
หรือผลกระทบการองคก์ รหรอื ธรุ กจิ ได้

(2) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (Economic Factors : E) เป็นหนึ่งอีกตัวแปรสำคัญมากในการ
วิเคราะห์บริษัท และมีหลายสิ่งในปัจจัยเศรษฐกิจที่เราควรให้ความสำคัญ เช่น ตัวเลข GDP ภายในประเทศ
อตั ราการวา่ ง อัตราดอกเบย้ี หนีส้ นิ ภายในประเทศ ค่าเงนิ บาท สภาวะการตลาด เป็นตน้

(3) ปัจจัยด้านสังคม (Social Factors : S) เป็นการวิเคราะห์ถึงสภาพความเป็นอยู่ โครงสร้าง
ประชากร วัฒนธรรม ประเพณตี า่ งๆของคนในประเทศ

(4) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology Factors : T) ปัจจัยทางเทคโนโลยีที่กระทบต่อตลาด
และการบรหิ ารจัดการธรุ กจิ สามารถแบ่งได้เป็น 3 แนวทาง คอื แนวทางใหม่ในการผลิตสินคา้ แนวทางใหม่ใน
การส่งสินคา้ และบริการให้ถงึ มอื ผู้บรโิ ภค แนวทางใหม่ในการส่งสารถึงกลุ่มเปา้ หมาย นอกจากนี้การวิเคราะห์

34

ถึงเทคโนโลยีที่มีอยู่และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ทถี่ ูกพฒั นาข้ึนสง่ ผลกระทบหรือไม่ องคก์ รสามารถนำเทคโนโลยีมีใช้
ประโยชน์หรอื นำมาลดตน้ ทุนการผลิตได้หรอื ไม่

(5) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environment Factors : E) ปัจจัยนี้มีความสำคัญอย่างมากใน
15 ปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะปัญหาโลกร้อน การลดใช้ถุงพลาสติก บางประเทศออกกฎหมาย Carbon credit
การขายรถใหม่ต้องมีการคิดเครดิตคาร์บอน ทำใหร้ ถท่ีใช้น้ำมันมีปัญหาอย่างย่ิงโดยเฉพาะการขายในประเทศยุโรป
ในฐานะองค์กรหรือการทำธุรกจิ ตอ้ งใสเ่ รอ่ื งน้ี ซงึ่ เปน็ แนวโนม้ ของโลกและผู้บริโภคเรมิ่ เขา้ ใจและใส่ใจมากขน้ึ

(6) ปัจจัยด้านกฎหมาย (Legal Factors : L) กฎหมายมีข้อจำกัดอะไร มาส่งผลลบหรือ
ผลบวกต่อองค์กรหรือไม่ เช่น กฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงานต่างด้าว กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
กฎหมายเกีย่ วกบั ภาษี กฎหมายเก่ยี วกบั การโฆษณา ฯลฯ

3.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล

3.3.1 Deep Horizon Scanning หลังจากได้สำรวจและประเมนิ สภาพแวดล้อมเชิงลกึ ในแต่ละ
ปัจจัย PESTEL ที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์และวางแผนเพื่อรองรับอนาคตเป้าหมายที่ต้องการได้มากที่สุดแล้ว
การใช้เครื่องมือ Deep Horizon Scanning โดยการนำผลการประเมินปัจจัยต่าง ๆ มาเรียงลำดับใหม่ตาม
ความเป็นไปได้และพลวัตที่จะเกิดการเปลี่ยนแปลง และระดับของผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากปัจจัยนั้น ๆ ต่อ
ภาพหรือเป้าหมายอนาคตที่ต้องการ ซึ่งจำแนกปัจจัยที่จะส่งสัญญาณต่อภาพอนาคตออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่
ปจั จยั ท่ีไม่สำคัญ ปจั จยั ทต่ี ้องเฝ้าระวงั ปจั จยั ซ่อนเร้นทส่ี ำคัญ ปัจจัยทม่ี ีความสำคัญ สรุปได้ดังภาพท่ี 3

ภาพท่ี 3 สัญญาณต่อภาพอนาคต

3.3.2 Delphi Technique เป็นวิธีการวินจิ ฉัยหรือตัดสินใจปัญหาต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ โดยไม่
มีการเผชิญหน้ากันโดยตรงของกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ เช่นเดียวกันกับการระดมสมอง (Brain storming) ทำให้
ผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนสามารถแสดงความคิดเห็นของตนเองอย่างเต็มที่และอิสระ โดยไม่ต้องคำนึงถึงความ
คิดเหน็ ของผู้อื่น นอกจากน้ีผู้เช่ียวชาญยังมโี อกาสกลัน่ กรองความคิดเห็นของตนอยา่ งรอบคอบ ทำให้ได้ข้อมูล
ที่น่าเช่ือถอื และนำไปใชป้ ระกอบการตัดสนิ ใจในดา้ นต่าง ๆ ได้

35

ในการศึกษาครั้งน้ีให้สมาชิกกลุ่มผู้ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญ โดยนำปัจจยั ที่มีความสำคัญทุกปัจจัย ซึ่ง
ได้จากขั้นตอน Deep Horizon Scanning มาให้จับคู่พิจารณาให้ความสำคัญทีละ 1 คู่ แบบพบกันหมด
ตัดสินว่าปัจจัยใดสำคัญกว่ากัน ผลการตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญทุกคนและทุกคู่ จะนำมาคำนวณคะแนนรวม
โดยการสร้างสูตร Excel ที่พัฒนาโดย รศ.ดร.ชนินทร์ ทินนโชติ ปัจจัยที่มีคะแนนสูงสุด 2 ปัจจัย จะถูกเลือก
นำไปดำเนนิ การข้ันตอนการสรา้ งฉากทัศน์ต่อไป

3.4 การสร้างฉากทศั น์

3.4.1 เข็มทิศอนาคต (Future Compass) เป็นการสร้างเข็มทิศของฉากทัศน์ (Scenario)
แหง่ อนาคต ในรปู ของ Matrix 2x2 และแต่ละเข็มทศิ จะมี 4 Quadrant โดยที่แต่ละ Quadrant เรยี กวา่ ฉาก
ทัศน์ (Scenario) คณะผู้ศึกษาได้ทำการวิเคราะห์ผลกระทบในเชิงบวก หรือลบของปัจจัย ออกเป็น 4 ฉากหลัก
ได้แก่ 1) Scenario A (+,-) เป็นปัจจัยซ่อนเร้น (Latent Factor) 2) Scenario B (+,+) เป็นปัจจัยสำคัญ
(Important Factor) 3) Scenario C (-,-) เป็นปัจจัยไม่สำคัญ (Unimportant Factor) และ 4) Scenario
D (-,+) เปน็ ปจั จยั ท่ตี ้องเฝา้ ระวัง (Monitored Factor)

ภาพที่ 4 ฉากทัศน์ (Scenario)

ประโยชน์ที่สำคัญฉากทัศน์ คือ การกำหนด “ทางเลือก (Alternative)” หรือ “สถานการณ์แห่ง
อนาคต (Future Situation)” สำหรับประกอบการตัดสินใจ การวางแผนกลยทุ ธ์ หรอื การกำหนดนโยบายเพ่ือ
รองรับ “ความเป็นไปได้” และ “ความไม่แน่นอน” ของอนาคตดังนั้นการสร้างและวิเคราะห์ฉากทัศน์จึง
เหมาะสมกับสถานการณ์ ได้แก่ การสำรวจทิศทางการเปล่ียนแปลงจากอดีตถึงปัจจุบนั และรูปแบบอนาคตท่มี ี
ความเปน็ ไปได้ การวางแผนยทุ ธศาสตร์ระยะยาว กระบวนการตดั สนิ ใจเพื่อกำหนดแผนและกลยทุ ธ์ในระดับ
ยทุ ธศาสตร์องค์กร กระบวนการวางแผนในระดบั ปฏบิ ัติการขององคก์ ร

3.4.2 การบรรยาย/การอธิบายแบบเล่าเรื่อง (Narrative) เป็นการเล่าเรื่องแต่ละฉากที่ถือเป็น
หัวใจสำคัญของเทคนิคการสร้างและวิเคราะห์ฉากทัศน์ ที่ต้องมีการเล่าข้อมูลให้ครบถ้วน ครอบคลุมพลวัตร
การเปล่ยี นแปลงในทุกด้าน และมกี ารเรียบเรยี งที่ดี ง่ายตอ่ การเข้าใจเพื่อทำให้การมองภาพอนาคตเป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ ขั้นตอนย่อยของกระบวนการนี้จะทำการตั้งชื่อฉากแต่ละฉากกำกับ อธิบายข้อมูล นำเสนอ
ความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผล และสะท้อนผลกระทบที่คาดว่าจะเกดิ ข้ึน

3.4.3 การปรับตัว/การเปลี่ยนแปลง (Adaptation) เป็นการวิพากษ์ผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น แนว
ทางการแกไ้ ข ตลอดจนการประยุกต์ทศิ ทางและแผนกลยุทธ์การพัฒนาทสี่ ำคญั ขององค์กรในแตล่ ะฉากทศั น์

36

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

4.1 ผลการวิเคราะห์ขนั้ Deep Horizon Scanning

ผลจากการสำรวจสภาพแวดล้อมเชิงลึกในแต่ละมิติของ PESTEL ที่จำเป็นต่อการวิเคราะห์และ
วางแผนเพื่อรองรับอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen พบว่า มีปัจจัยที่นำมาวิเคราะห์ Deep
Horizon Scanning จำนวน 16 ปจั จัย ผลการประเมินค่าคะแนนเฉลีย่ ระดับผลกระทบ และระดับความเป็น
พลวตั ของแตล่ ะปจั จัย สรปุ ไดด้ ังตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 ผลการประเมนิ ค่าคะแนนระดับผลกระทบ และระดับความเป็นพลวัต

PESTEL ปัจจัย ปัจจัยสำคญั ระดับ ระดับ
พลวัต
ท่ี ผลกระทบ 7.63

P-Politic P01 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมฯ / นโยบายของรัฐบาลที่ 8.11 7.95

เกี่ยวข้อง อาทิ นโยบายด้านการนำเข้า ส่งออก/ 6.63
6.11
กฎระเบียบการแข่งขัน การค้า /การวางแผนขับเคลื่อน
6.95
นโยบายด้านเศรษฐกิจการเกษตรของประเทศ / ข้อจำกัด 5.84
7.21
ด้านการนำเข้า – ส่งออก ภาษี การมีส่วนร่วมของรัฐบาล
5.58
กับเอกชน งบประมาณท่ีไดร้ บั /เสถียรภาพของรฐั บาล

E-Economics E01 ความผันผวนของเศรษฐกิจโลกจาก VUCA (Climate 8.05

Change) / ภัยธรรมชาติโรคและแมลงศัตรูพืชระบาด

/ สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคไวรสั Covid-19)

ทำใหโ้ ลกเขา้ สู่ยคุ Disruptive (ผกผนั แบบไร้ทิศทาง)

E02 ความม่นั คงทางอาหารของประเทศไทยและของโลก 7.47

E03 การเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจทางเศรษฐกิจ และการ 6.68

รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศต่างๆส่งผล

กระทบต่อภาวะการค้าโลก

E04 สถานการณ์ และวงจรธุรกิจ (ด้านการผลิต การตลาด) 7.74

ของสนิ คา้ และผลติ ภณั ฑ์แปรรปู จากสนิ คา้ เกษตรไทย

E05 ภาวะเศรษฐกิจครัวเรือนเกษตร (รายได้ ทรัพย์สิน- 7.32

หนีส้ ิน เงินออม) ของไทย

S-Social S01 ในปัจจุบันที่นิยมอาหารเพื่อสุขภาพ มีคุณค่าอาหารสูง 8.05

เน้นสะดวก และการสั่งอาหารผ่านแพลตฟอร์มสูงข้ึน

แบบกา้ วกระโดด

S02 ปัญหาสุขภาพและเกิดโรคจากสารพิษตกค้างใน 7.42

ร่างกายมากขึน้ โดยเฉพาะกลุม่ ผผู้ ลิตและผู้บรโิ ภค

37

PESTEL ปัจจัย ปจั จัยสำคัญ ระดับ ระดับ
พลวัต
ท่ี ผลกระทบ 7.42

T- T01 การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ และนวัตกรรมด้าน 8.05 5.63

Technology การเกษตร ที่เปลี่ยนแปลงไป ช่วยเปิดมุมมองใหม่ ทั้ง 5.68
5.63
ด้านการผลิต ที่มุ่งให้เกษตรกรพัฒนาระบบการผลิต
5.89
เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลติ เพ่ิมผลติ ภาพการผลิต และ 6.79

ผ้ปู ระกอบการสินค้าเกษตรพัฒนาด้านการตลาด 6.21
6.68
แต่อย่างไรก็ตาม ยังพบว่าผู้มีส่วนเกีย่ วข้อง โดยเฉพาะ

เกษตรกร ยังมีข้อจำกดั เรื่องการประยกุ ต์ใชป้ ระโยชน์

E- E01 การผลิตสินค้าเชิงเดี่ยวซ้ำซาก / การใช้ที่ดินไม่ 7.53

Environment เหมาะสม ไม่ตรงศักยภาพทำให้ประสิทธิภาพการผลิต

และผลิตภาพการผลิตต่ำ /แนวโน้มการใช้ปัจจัยการ

ผลิตจำพวกสารเคมีเพิ่มมากขึ้นทำให้การผลิตไม่เป็น

มติ รต่อส่งิ แวดล้อม/ พ้ืนท่ีเกษตรเส่ือมโทรม

E02 การบริหารจัดการวัสดุเหลือใชท้ างการเกษตร / การใช้ 7.16

ปุ๋ยเพื่อเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และลดมลพิษ

ทางดนิ และน้ำ

E03 พื้นที่เพาะปลูกเกษตรอินทรีย์เพิ่มมากขึ้นแบบก้าว 7.21

กระโดด / การบริหารจดั การการใชส้ ารเคมกี ำจดั วัชพืช

และโรคพืชทางดินให้มีประสิทธิภาพและลดมลพิษทาง

ดิน นำ้ และอากาศ

L-Legal L01 มาตรฐานสินค้าเกษตร และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มี 7.95

หลายมาตรฐานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ทั้งในและ

ต่างประเทศกำหนด

L02 มีตัวบทกฎหมายในประเทศไทย ที่กำหนดให้มีการรักษา 8.26

คุณภาพและคุ้มครองผู้บริโภคให้ปลอดภัย ด้วยการผลิต

อาหารปลอดภัย ทั้งในกลุ่มสินค้าประมง ปศุสัตว์ ด้าน

ผลติ ภณั ฑอ์ าหาร และดา้ นสารเคมี และวตั ถุอนั ตราย

L03 มีมาตรการด้านกฎหมายเพื่อสนับสนุนเกษตรกร จด 6.95

ทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อยืนยันการมีตัวตน

ของผูป้ ระกอบการ(พาณิชย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์)

L04 ผลการศึกษาวิจัยของ สกว. เรื่อง “กฎหมาย หรือ 6.84

มาตรฐานความปลอดภัยของสินค้าผักปลอดภัย” และ

เร่อื ง “มาตรฐานความปลอดภยั สินคา้ ตลอดห่วงโซก่ าร

ผลิต” / กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตั้งเป้าให้ไทย

เป็น Hub โลก ของอาหารแมลงโปรตีนสงู

ท่ีมา : จากการคำนวณ

38
จากตารางที่ 3 เมื่อนำมาวิเคราะห์ในลักษณะของแกน Matrix โดยที่แต่ละมิติที่ศึกษาค่าเฉลี่ย
(Mean) ของระดับผลกระทบและระดับความเป็นพลวัตรของแต่ละปัจจัย เพื่อสร้างมโนภาพเกี่ยวกับ
สถานการณใ์ นอนาคตทมี่ คี วามเป็นไปได้ ดงั ภาพท่ี 5

ภาพที่ 5 ผลการวเิ คราะห์ Deep Horizon Scanning
จากภาพที่ 5 ผลการจำแนกปัจจัยทั้ง 16 ปัจจัย จะเห็นได้ว่า สามารถจำแนกสัญญาณต่อภาพ
อนาคตออกเปน็ 3 กล่มุ ประกอบด้วย ปัจจยั ทไ่ี ม่สำคัญ 2 ปจั จัย ปัจจัยซอ่ นเรน้ ทสี่ ำคัญ 7 ปจั จยั และปัจจัย
ที่มีความสำคัญ 7 ปัจจัย ดังนั้น ในการวิเคราะห์ขั้นต่อไปจึงนำปัจจัยที่อยู่ในกลุ่ม “ปัจจัยสำคัญ” จำนวน 7
ปจั จัย ได้แก่
ปจั จัยท่ี 1 P01 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมฯ / นโยบายของรฐั บาลทีเ่ กย่ี วข้อง อาทิ นโยบาย
ด้านการนำเข้า ส่งออก/ กฎระเบียบการแข่งขัน การค้า /การวางแผนขับเคลื่อนนโยบายด้านเศรษฐกิจ
การเกษตรของประเทศ / ข้อจำกัดด้านการนำเข้า – ส่งออก ภาษี การมีส่วนร่วมของรัฐบาลกับเอกชน
งบประมาณท่ีได้รบั จากรฐั บาล / เสถยี รภาพของรฐั บาล
ปจั จยั ที่ 2 E01 ความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลกจาก VUCA (Climate Change/ ภยั ธรรมชาติโรค
และแมลงศัตรูพืชระบาด / สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัส Covid-19) ทำให้โลกเข้าสู่ยุค
Disruptive (ผกผันแบบไรท้ ศิ ทาง)
ปัจจัยที่ 3 E04 สถานการณ์ และวงจรธุรกิจ (ด้านการผลิต การตลาด) ของสินค้าและผลิตภัณฑ์
แปรรูปจากสินค้าเกษตรไทย
ปัจจัยที่ 4 S01 การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนในยุคปัจจุบัน ที่นิยม
อาหารเพือ่ สุขภาพ มีคณุ ค่าอาหารสูง เน้น สะดวก และการส่ังอาหารผา่ นแพลตฟอร์มสงู ขน้ึ แบบกา้ วกระโดด

39

ปัจจัยที่ 5 T01 การพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ และนวัตกรรมด้านการเกษตร ที่เปลี่ยนแปลงไป ช่วย
เปิดมุมมองใหม่ ทั้งด้านการผลิต ที่มุ่งให้เกษตรกรพัฒนาระบบการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เพิ่มผลิต
ภาพการผลิต และผู้ประกอบการสินค้าเกษตรพัฒนาด้านการตลาด แต่อย่างไรก็ตาม ยังพบว่าผู้มีส่วน
เกย่ี วข้อง โดยเฉพาะเกษตรกร ยังมีข้อจำกัดเร่ืองการประยุกต์ใช้ประโยชน์ทางเทคโนโลยี

ปัจจัยที่ 6 L01 มาตรฐานสินค้าเกษตร และมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ มีหลายมาตรฐานทั้งภาครฐั
ภาคเอกชน ทัง้ ในและตา่ งประเทศกำหนด

ปัจจัยที่ 7 L02 มีตัวบทกฎหมายในประเทศไทย ที่กำหนดให้มีการรักษาคุณภาพและคุ้มครอง
ผู้บริโภคให้ปลอดภัย ด้วยการผลิตอาหารปลอดภัย ทั้งในกลุ่มสินค้าประมง ปศุสัตว์ ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร
และด้านสารเคมี และวตั ถุอันตราย

4.2 ผลการวิเคราะห์ Delphi

การวิเคราะห์ Delphi สำหรบั การศึกษาครงั้ นี้ โดยใหส้ มาชิกกลุม่ ผู้ศึกษาเปน็ ผเู้ ช่ียวชาญ ซงึ่ นำปจั จยั
ที่มีความสำคัญ 7 ปัจจัย ซึ่งได้จากขั้นตอน Deep Horizon Scanning มาให้จับคู่พิจารณาให้ความสำคัญที
ละ 1 คู่ แบบพบกันหมด ตัดสินว่าปัจจัยใดสำคัญกว่ากัน ผลการตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญทุกคนและทุกคู่ จะ
นำมาคำนวณคะแนนรวมโดยการสร้างสูตร Excel ที่พัฒนาโดย รศ.ดร.ชนินทร์ ทินนโชติ ผลการวิเคราะห์
Delphi สรปุ ได้ดังภาพที่ 6

ภาพที่ 6 ผลการวิเคราะห์ Delphi

จากภาพที่ 6 ผลการวิเคราะห์ Delphi ปัจจัยที่มีคะแนนสูงสุด 2 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัย L02 ตัว
บทกฎหมายในประเทศไทยที่กำหนดให้มีการรักษาคุณภาพและคุ้มครองผู้บริโภคปลอดภัย ด้วยการผลิต
อาหารปลอดภัย ทั้งในกลุ่มสินค้าประมง ปศุสัตว์ ด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ด้านสารเคมี และวัตถุอันตราย ได้
คะแนนรวม 98 คะแนน และปัจจัย T01 การพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการเกษตรทีเ่ ปลี่ยนแปลง
ชว่ ยเปิดมมุ มองใหม่ ทง้ั ด้านการผลติ ที่มุง่ ให้เกษตรกรพฒั นาระบบการผลิต เพ่ิมประสทิ ธิภาพการผลิต เพิ่มผล
ติภาพการผลิต และผู้ประกอบการสินค้าเกษตร พัฒนาด้านการตลาด แต่อย่างไรก็ตาม ยังพบว่าผู้มีส่วน
เกี่ยวขอ้ ง โดยเฉพาะเกษตรกรยังมีข้อจำกัดเรื่องการประยุกต์ใช้ประโยชน์ ไดค้ ะแนนรวม 88 คะแนน

40

4.3 ผลการวิเคราะห์การสร้างฉากทศั น์ และการกำหนดกรอบยทุ ธศาสตร์

4.3.1 การอธิบายเล่าเรื่อง (Narrative) กระบวนการวิเคราะหก์ ารสร้างฉากทัศน์ เริ่มจากการนำ
ขอ้ มลู พ้ืนฐานและการรับฟังความคดิ เห็นจากการประชุมกลุ่ม ผ่านกระบวนการพัฒนาภาพอนาคต (Scenario
building) โดยเฉพาะการพิจารณาถึงปัจจยั เส่ยี งที่อาจส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภาพอนาคต ซึ่งชี้ให้เห็นว่า
ปัจจัยขับเคลื่อนที่ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงหรือปัจจัยวิกฤติ (Critical uncertainty) ที่ต้องนำมาพิจารณาในการ
กำหนดภาพอนาคต Agri-Modern Safety Kitchen ประกอบด้วย 1) ตัวบทกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาคุณภาพ
และการคุ้มครองผ้บู รโิ ภค 2) การพัฒนาเปลย่ี นแปลงของนวตั กรรมและเทคโนโลยี ปจั จยั วิกฤตทิ ้ัง 2 เรอื่ งน้ี ได้
ถูกนำมาผูกโยงกันจนนำมาสู่ภาพอนาคต Agri-Modern Safety Kitchen ที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต 4 ฉาก
โดยใช้ภาพ “เหล้าทถ่ี ูกกฎหมาย/ผดิ กฎหมาย” เป็นตัวแทนสถานการณ์ด้านกฎหมาย และ “เกรดเหลา้ ” เปน็
ตวั แทนสถานการณ์ดา้ นการพัฒนาเปลี่ยนแปลงของนวัตกรรมและเทคโนโลยี ดงั ภาพที่ 7

ภาพท่ี 7 ภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen 4 ฉากทัศน์
ภาพอนาคตท่ี 1 : เหล้าต้ม เป็นภาพอนาคตภายใตส้ ถานการณ์ท่ีปจั จัยด้านกฎหมายและเทคโนโลยี
เป็นเชิงลบ กลา่ วคือ การใช้เทคโนโลยนี วัตกรรมการเกษตรยังมีน้อย ต้นทุนสงู โดยเฉพาะการเข้าถึงองค์ความรู้
ดา้ นการเกษตรผา่ นสมาร์ทโฟน ยงุ่ ยากซับซ้อน เกษตรกรสว่ นใหญ่ไม่สนใจทำ Smart Farm เพราะเห็นว่ารายได้
ไม่คุ้มค่าต่อการลงทุนผลิต ประกอบกับ กฎหมายที่เกี่ยวข้องยังขาดความชัดเจน ข้อกำหนดไม่ครบถ้วนไม่
ครอบคลุม และไม่เป็นเอกภาพ โดยเฉพาะมาตรฐานสินค้าเกษตรที่มีเป็นจำนวนมาก ก่อให้เกิดความสับสน
การเข้าถึงระบบการผลิตและตรวจรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยน้อย สำหรับความไม่ชัดเจนของ
กฎหมาย อาทิ เงื่อนไขของพันธสญั ญา ยังขาดตัวบทกฎหมายในการชดใช้ความเสียหาย หรือเยียวยาผูบ้ ริโภค

41

ที่ได้รับอันตรายจากการบริโภค การบังคับใช้กฎหมายไม่เป็นเอกภาพขึ้นอยู่กับสินค้าและหน่วยรับผิดชอบ/
กฎหมายล้าสมัยต้องปรับปรุงอาทิพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 เป็นต้น ดังนั้น กรอบยุทธศาสตร์และ
แผนกลยุทธ์จึงมุ่งเน้นการแก้ปัญหา เร่งพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเกษตรให้เข้าถึง ใช้งานง่าย ราคาถูก
ผ่านตัวกลาง และ Plat Form ที่จะสร้างขึ้น ควบคู่กับการปรับแก้กฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ให้มี
ความชดั เจนเปน็ เอกภาพ

ภาพอนาคตท่ี 2 : เหล้าขาว เป็นภาพอนาคตภายใต้สถานการณ์ที่ปัจจัยด้านกฎหมายต่าง ๆ
เอื้ออำนวยและรองรับในเชิงบวก แต่ปัจจัยด้านเทคโนโลยีเป็นอุปสรรค (เชิงลบ) กล่าวคือ ปัญหาด้านผู้ใช้
เทคโนโลยีเป็นเกษตรกรสูงวัย คนรุ่นใหม่ท่ีสามารถใช้เทคโนโลยีได้แต่ไม่สนใจทำการเกษตร ประกอบกับ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่มีในปัจจุบันเข้าถึงและใช้งานยาก ต้นทุนสูงไม่คุ้มค่าการลงทุน นอกจากนี้ การ
พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่รองรับยังไม่ครบถ้วน อาทิ ระบบแพลตฟอร์มการซื้อขายออนไลน์ การจัดการ
ฟาร์มแบบออร์โตเมชัน ศูนย์รวมองค์ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เป็นต้น ในขณะที่มีกฎหมาย
รองรบั ในเรือ่ งของอาหารปลอดภัยและจำกัดการใชส้ ารเคมี ดงั นน้ั กรอบยทุ ธศาสตร์และแผนกลยุทธ์จึงมุ่งเน้น
การแกป้ ญั หา สง่ เสริม การใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยี โดยใชก้ ฎหมายทมี่ ีอยแู่ ลว้ ผลักดัน

ภาพอนาคตท่ี 3 : เหล้าเถื่อน เป็นภาพอนาคตภายใต้สถานการณ์ที่ปัจจัยด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ
เอื้ออำนวยและรองรับในเชิงบวก แต่ปัจจัยด้านกฎหมายเป็นอุปสรรค (เชิงลบ) กล่าวคือ ตัวบทกฎหมาย
เกีย่ วกบั การรักษาคณุ ภาพ การคุม้ ครองผู้บริโภคให้ปลอดภัยดว้ ยการผลิตอาหารปลอดภัย ท้ังในการผลิตสินค้า
เกษตร (พืช ปศุสัตว์ ประมง) ด้านผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูป ด้านสารเคมี และวัตถุอันตรายความชัดเจน ไม่
ครอบคลุม ไม่เป็นเอกภาพ ขาดการกำหนดเรื่องการชดใช้ค่าเสียหายต่อผู้บริโภค ในขณะที่มีนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีต่าง ๆ สนับสนุนด้านการผลิตและด้านการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัยให้แก่เกษตร ดังนั้น กรอบ
ยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์จึงมุง่ เน้นการปรับปรุงและเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวขอ้ งให้สอดคล้องกับนวตั กรรม
และเทคโนโลยีด้านมาตรฐานสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั

ภาพอนาคตท่ี 4 : เหล้านอก เป็นภาพอนาคตภายใต้สถานการณ์ที่ปัจจัยด้านกฎหมายและ
เทคโนโลยีเอื้ออำนวยและรองรับในเชงิ บวก กล่าวคือ มีกฎหมายต่าง ๆ ที่ช่วยส่งเสรมิ สนับสนุน และผลักดัน
การขยายฐานการผลติ การตลาดสินค้าและผลติ ภณั ฑ์แปรรูปเกษตรปลอดภัยครบถ้วนสมบูรณ์แบบ ประกอบ
กับมนี วัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการผลติ และการตลาดสนิ ค้าเกษตรทล่ี ำ้ สมัย ต้นทนุ ตำ่ ครบถ้วน ใช้งานและ
เข้าถึงงา่ ย ซง่ึ สามารถนำสินค้าและผลติ ภณั ฑเ์ กษตรปลอดภยั ชนั้ เลิศ ทะยานสู่ครวั โลก (World Kitchen) ดดัง
นั้น กรอบยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์จึงเป็นเชิงลุก โดยใช้ปัจจัยเชิงบวกด้านกฎหมายและด้านเทคโนโลยี
เกษตร ผลักดันใหส้ ินค้าเกษตรปลอดภยั สคู่ วามเปน็ เลศิ และขยายตวั สู่ World Kitchen

4.4 ผลการวิเคราะห์ยุทธศาสตร์ภาพอนาคต และการเทยี บเคยี งกบั ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง

ในการศึกษาภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen เพื่อให้เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ดา้ น
การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีระบบบริหารจัดการตลาด
ออนไลน์สินค้าเกษตรปลอดภัยครบวงจรในประเทศไทยอีก 10 ปีข้างหน้า ซึ่งคณะผู้ศึกษาได้เสนอแผนกลยุทธ์
ตามทิศทางภาพอนาคตทั้ง 4 ฉาก เพื่อเป็นทางเลือกในการเผชิญกับเหตุการณ์และเตรียมความพร้อมรับ
สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้น โดยในแต่กรอบยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ต่าง ๆ ได้เชื่อมโยงยุทธศาสตร์เกษตร
และสหกรณ์ระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13
ดงั ตารางท่ี 4



ตารางท่ี 4 แผนกลยุทธ์ของภาพอนาคต และการเทียบเคยี งกับยุทธศาสตรก์ ระทรว

แผนกลยุทธ์

ฉากท่ี 1 เหล้าต้ม (L- T-)

กรอบยุทธศาสตร์ : แผนระดบั ท่ี 1 : ยุทธศาสตร

เรง่ พัฒนาเกษตรกรรนุ่ ใหม่แทนแรงงานสงู วัย ให้ เป้าหมายภาพรวม : โดยม

ประยุกตใ์ ชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยเี กษตรผา่ น เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเน

ตวั กลาง และ แพลตฟอรม์ ท่ีสรา้ งข้นึ ควบคู่กับ ประเทศในหลากหลายมิติ พ

การปรับแก้กฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ขอ้ บังคับ ความเสมอภาคทางสังคม สร

ใหม้ ีความชัดเจนเปน็ เอกภาพ ลดขอ้ จำกัด ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้

สนบั สนุน บรกิ ารให้ความชว่ ยเหลือ Stakeholders ยง่ั ยนื

พร้อมผลักดนั ใหเ้ กิดการขับเคลื่อนของภาคี ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ด้า

เครอื ข่ายแบบบรู ณาการ เพือ่ พัฒนาสนิ คา้ เกษตร โอกาสให้ทกุ ภาคส่วนเข้ามาส

ปลอดภัยตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 5 ด้า

กลยุทธ์ย่อย : ทัศน์บนหลักการมสี ว่ นรว่ ม

1. Big Data ด้านการเกษตรสนับสนุนการ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ดา้ น

วิเคราะห์ตัดสินใจ - องค์ความรู้ การจัดการฟาร์ม แผนระดบั ที่ 2 :

นวตั กรรมและเทคโนโลยี เป้าหมายภาพรวม : แผนแ

2. ยกระดับ SME/YSM เพ่ิมเกณฑ์คัดสรร (เน้น ยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร

ศักยภาพมากกวา่ ปริมาณ) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นทีเ่ กี่ยวข้อ

3. ผลักดนั การสร้างทักษะและสนบั สนุน เยาวชน, เกีย่ วขอ้ งใหบ้ รรลุเปา้ หมายก

กลุ่ม Start-up/SME สูก่ ารแข่งขนั ใน ตลาดโลก

โดยเชือ่ มโยงบรู ณาการกับ อว. - คดิ คน้ วิจยั พัฒนา

42

วง
ความสอดคล้อง

ร์ชาติ 20 ปี
มีเป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข
นื่อง สังคมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของ
พัฒนาคนในทุกมติ ิและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและ
รา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่เี ปน็ มติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม
านการสร้างความสามารถในการแข่งขันให้ประเทศเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและ

านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม กระจายความเจริญสู่ภูมิภาค เพ่ิม
สนับสนนุ การพัฒนาประเทศ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการพึง่ พาตนเอง
านการใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยกระดับกระบวน

นการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ

แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นส่วนสำคัญในการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็น
ร์ชาติลงสู่แผนระดับต่าง ๆ ในลักษณะที่มีการบูรณาการและเชื่อมโยงระหว่าง
อง เพ่อื ให้ส่วนราชการสามารถนำไปใชเ้ ป็นกรอบในการดำเนนิ การของหนว่ ยงาน ที่
การพฒั นาประเทศตามท่ีกำหนดไวใ้ นยุทธศาสตรช์ าติ

แผนกลยทุ ธ์

และประยุกต์ใช้ นวตั กรรมใหม่ เพอื่ แกป้ ญั หาการ 2.1 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศา

ผลติ ต้นทุน และแรงงาน ฉบับที่ 3 ดา้ นการเกษตร ดา้

4.จดั ตัง้ หนว่ ยงานกลางเพ่ือสนบั สนนุ เกษตรกรรุ่นใหม่ วิสาหกจิ ขนาดกลางและขนา

ในการผลิตสนิ คา้ ปลอดภยั ตลอดหว่ งโซ่การผลติ กฎหมายและกระบวนการยตุ

5.ปรับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั และกำหนด 2.2 รา่ งแผนพัฒนาแผนพฒั น

นโยบาย เพ่อื กระตนุ้ และส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยี หมุดหมายที่ 1 เกี่ยวกับไท

และนวัตกรรมในการผลติ สินคา้ เกษตร และกำหนด ไทยมี SMEs ทเี่ ข้มแขง็ มศี ักย

บทลงโทษผู้ผลิตทผ่ี ลติ สินค้าท่กี ่อใหเ้ กดิ อันตราย หมุดหมายท่ี 13 ไทยมีภาคร

6.ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการชว่ ยตรวจรับรอง 2.2 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศ

สนิ คา้ เช่น AI 2.2.1 แผนย่อยเกษต

7. ปรบั ปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณให้ ความสำคัญกับความปลอด

หน่วยงาน ในลักษณะบูรณาการตลอดห่วงโซ่การผลติ มาตรฐานความปลอดภัยของ

8. กำหนดใหม้ ีการขึ้นทะเบียนเกษตรกร สถาบัน เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่ที่มีคุณ

เกษตรกร ท่ีจำหน่ายสนิ คา้ ปลอดภัยบน แพลตฟอร์ม สารเคมีที่เป็นอันตราย ในส

ออนไลน์ กับ หนว่ ยงานกลาง ครัวเรือน ๒) พัฒนาระบบคุณ

9. กำหนดให้มีการประกนั ราคาสนิ คา้ เกษตร ความน่าเชื่อถือ ระบบการต

ปลอดภยั เพื่อยกระดบั ความแตกต่างจากสนิ คา้ ต่างประเทศ ๓) ส่งเสริมแล

ทั่วไป สรา้ งแรงจูงใจแก่เกษตรกร อาหารทีม่ ีคณุ ภาพมาตรฐาน

10. ผลกั ดันให้เกิดศูนยร์ วบรวมและกระจายสินคา้ 2.2.2 แผนย่อยเกษตร

เกษตร ปลอดภัยท่ีทันสมัยสำหรบั เกษตรกร สินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่อุป

สถาบันเกษตรกร ส่งเสริมการพัฒนาเกษตรที่เช

เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในก

มูลค่าสินค้าเกษตร ๒) ส่งเสร

43

ความสอดคล้อง
าสตรช์ าติ
านท่ี 7 โครงสร้างพน้ื ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ และดจิ ิทัล ดา้ นที่ 8 ผู้ประกอบการและ
าดย่อมยุคใหม่ ด้านที่ 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ ดา้ นท่ี 22
ตธิ รรม ด้านที่ 23 การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม
นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 13
ทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง หมุดหมายที่ 7
ยภาพสูง และสามารถแข่งขนั ได้
รฐั ทีม่ สี มรรถนะสงู
ศาสตรช์ าติ ประเดน็ การเกษตร
ตรปลอดภัย ผลจากกฎกติกาการค้าระหว่างประเทศ และกระแสการบริโภคที่ให้
ดภัยอาหารทำให้การผลิตสินค้าเกษตรต้องมีการปรับตัวให้เข้าสู่ระบบคุณภาพ
งอาหาร เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและภาพลักษณ์ที่ดีต่อสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ท่ี
ณภาพ และความปลอดภัย มีแผนดำเนินการ ๑) สนับสนุนการลด ละ เลิกการใช้
สินค้าเกษตรและอาหาร และสร้างความปลอดภัยและมั่นคงด้านอาหารในระดับ
ณภาพมาตรฐานความปลอดภัยและระบบการตรวจรับรองคุณภาพจากสถาบันที่มี
ตรวจสอบย้อนกลับให้เป็นที่ยอมรับกับความต้องการของตลาดทั้งในประเทศและ
ละสนับสนุนผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่เกษตรให้สามารถผลิต สินค้าเกษตรและ
ตามหลักการปฏบิ ัติที่ดที าง และพัฒนาต่อยอดไปจนถึงมาตรฐานข้นั สูง
รแปรรูป การสร้างมูลค่าโดยการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตและแปรรปู
ปทาน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรขั้นสูง โดยมีแผนการดำเนินการ ๑)
ชื่อมโยงไปสู่กระบวนการแปรรูปในอุตสาหกรรมต่อเนื่อง โดยการนำนวตั กรรมและ
กระบวนการผลิตตลอดห่วงโซ่อุปทานให้แก่เกษตรกรและ สถาบันเกษตรกรเพ่ือเพ่ิม
ริมการแปรรูปโดยประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี รวมถึงองค์ความรู้และ ภูมิ

แผนกลยทุ ธ์

ปัญญาที่ทันสมัย มีประสิทธิภ
เชิงพาณิชย์ ๓) สนับสนุนการ
การแปรรูป อาทิ บรรจภุ ัณฑ
ยดื อายขุ องอาหารและสินค้าเ

2.2.3 แผนย่อยเกษตร
ปริมาณและคุณภาพ โดยอา
เข้าถึงเทคโนโลยีการเกษตร
เป็นเกษตรกรอจั ฉรยิ ะ ทส่ี าม
ส่งเสริมการพัฒนาพันธุ์พืช พ
และเทคโนโลยีการเกษตรแห
และทดแทน แรงงานภาคเกษ
ประโยชน์จากนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีอวกาศ ภมู สิ ารสน
การเกษตร และพัฒนาเกษต
ส่งเสริมการทำระบบฟาร์มอ
เกษตรกรในราคาที่สามารถ
ทดแทนการผลิตดง้ั เดิม
แผนระดบั ท่ี 3 :
3.1 ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการ
สร้างความเข้มแข็งให้กับเก
Enterprise ยุทธศาสตร์ที่ 2
ฟาร์ม โรงงาน สถานประก

44

ความสอดคล้อง
ภาพในการแปรรูปคุณภาพสูงที่สอดคล้องกับคว ามต้องการของตลาดไปสู่การผลิต
รนำเทคโนโลยี นวัตกรรมสมัยใหมม่ าใช้ในกระบวนการผลิตหลังการเก็บเกี่ยว และ
ฑอ์ จั ฉรยิ ะ ควบคุมคณุ ภาพและความปลอดภัย ติดตามผลติ ภณั ฑ์ระหว่างขนส่ง และ
เกษตรในบรรจุภัณฑ์ เพือ่ เพ่มิ มูลคา่ ใหแ้ กส่ นิ คา้
รอัจฉริยะ การพัฒนาศักยภาพการผลิต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตทั้งในเชิง
าศัย นวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตรในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงการใช้และการ
เทคโนโลยีดิจิทัลและระบบข้อมูลสำหรับวางแผนการผลิต เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้
มารถนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้พัฒนาไปสรู่ ูปแบบฟาร์มอัจฉรยิ ะ โดยแผนการ ๑)
พันธุ์สัตว์ ปัจจัยการผลิต เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ การเกษตร รวมทั้งนวัตกรรม
ห่งอนาคต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตการเกษตรทั้งเชิงปริมาณและ คุณภาพ
ษตรที่ลดลงและเข้าสู่สังคมสงู อายุ ๒) พัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงและใช้
ะเทคโนโลยี ทางการเกษตร การผลิตและการตลาด ตลอดจนการใช้ประโยชน์จาก
นเทศ เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล ฐานข้อมูล สารสนเทศทางการเกษตรต่างๆ เพือ่ การวางแผน
ตรกรให้เป็นเกษตรกรอจั ฉริยะท่ีมี ขีดความสามารถในการแข่งขัน ๓) สนับสนุนและ
อัจฉริยะ โดยการถ่ายทอดและสนับสนุนให้ เข้าถึงองค์ความรู้และเทคโนโลยีแก่
ถเข้าถึงได้ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและ เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต และ

รเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (ปี 2560-2579) ในประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 1
กษตรกรและสถาบันเกษตรกร ให้เป็น Smart Farmer , Smart Group , Smart
2 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร ให้ได้ GDP สร้าง
กอบการ ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วย

แผนกลยทุ ธ์

นวัตกรรมและเทคโนโลยี ยทุ
เกษตรและสหกรณ์ ปรบั ปรุง
3.2 ยทุ ธศาสตร์พฒั นาการเ
ประเดน็ ท่ี 1 เสริมสร้างความ
มนั่ คงทางการเกษตร ประเดน็
ปลอดภยั มมี ูลค่าเพ่มิ ขึ้น สนิ ค
จากเทคโนโลยใี หม/่ อจั ฉริยะม
ประเดน็ ท่ี 3 เกษตรอัจฉรยิ ะ
การเกษตร รวมทัง้ นวตั กรรม
เกษตรแนวตง้ั เพอ่ื นำมาใชใ้
คุณภาพ ตลอดจน เปน็ มติ รก
แรงงานภาค เกษตรท่ีลดลงแ
ประเด็นที่ 4 โครงสรา้ งพ้ืนฐา
จสิ ตกิ ส์ในรปู แบบต่าง ๆ ท่ีสอ
สอดรบั กับรปู แบบการค้าระห
ระบบเช่ือมโยงหนว่ ยงานภาค
ประเด็นที่ 9 การสร้างความ
เทคโนโลยี นวัตกรรม และค
การตลาด การสร้างตราสินค
รวมทั้งการปรับตัวสู่ธุรกิจรูป
การจัดการฐานข้อมลู สามาร

45

ความสอดคล้อง
ทธศาสตรท์ ่ี 5 การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการภาครัฐ ปรบั ปรงุ โครงสร้างในกระทรวง
งกฎหมายให้ทันสมยั สร้าง Smart officer , Smart Researcher
เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566-2570)
มมั่นคงทางการเกษตร ดา้ นการป้องกนั และแก้ไขปญั หาท่ีมีผลกระทบต่อความ
นท่ี 2 ยกระดบั ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันภาคเกษตร ด้านสินค้าเกษตร
ค้าเกษตรแปรรูปและผลติ ภัณฑ์มมี ูลคา่ เพิม่ ขึ้น สินค้าเกษตร,ผลติ ภัณฑ์ ฟารม์ มา
มีมลู ค่าเพิ่มขึ้น ตน้ ทนุ โลจิสติกสภ์ าคเกษตรลดลง
ะ สง่ เสริมการพัฒนาพันธพ์ุ ืช พันธ์ุสตั ว์ ปัจจยั การผลิต เครือ่ งจักรกลและอุปกรณ์
มและเทคโนโลยีการเกษตรแห่งอนาคต อาทิ เกษตรแมน่ ยำ เกษตรในรม่ และ
ในกระบวนการผลิต และเพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ การเกษตรทัง้ เชงิ ปรมิ าณและ
กับส่งิ แวดล้อม รองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และทดแทน
และเขา้ สู่สงั คมสงู อายุ
านและระบบโลจสิ ตกิ ส์การเกษตร พฒั นาสิ่งอำนวยความสะดวกและศนู ย์บริการโล
อดรับกบั ความต้องการ การขนส่งสนิ ค้าตอ่ เน่ืองหลายรูปแบบอยา่ งไรร้ อยต่อและ
หว่างประเทศในอนาคต ตลอดจนพฒั นาระบบ การชำระเงินทางอเิ ล็กทรอนิกส์ผ่าน
ครัฐและภาคเอกชนในรปู แบบอิเลก็ ทรอนิกส์
มเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกรให้เป็นผู้ประกอบการอัจฉริยะขับเคลื่อนธุรกิจด้วย
ความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ การขยายช่องทาง
ค้าให้เป็นที่ยอมรับ และการใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญาในเชิงพาณิชย์
ปแบบใหม่ ๆ พัฒนาผู้ประกอบการให้มีทักษะในการวิเคราะห์และมีองค์ความรู้ดา้ น
รถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่

แผนกลยุทธ์ แผนระดบั ท่ี 1 : ยุทธศาสตร
สอดคล้องกับเป้าหมายภาพ
ฉากท่ี 2 เหลา้ ขาว (L+ T-) สังคมเป็นธรรม ฐานทรพั ยาก
ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให
กรอบยุทธศาสตร์ : เติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป
พฒั นานวตั กรรมและเทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่ ส่วนรวม อีกทั้งสอดคล้องกับ
อปุ ทาน (IOT) ผา่ นสมาร์ทโฟนให้เกษตรกรใช้ได้ เตบิ โตอย่างมเี สถียรภาพและ
งา่ ยและสะดวก ไมย่ ุ่งยากซับซ้อน มีประสิทธภิ าพ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 4 ด้า
ตลอดกระบวนการผลติ เปน็ ไปตามมาตรฐานท่ี โอกาสใหท้ ุกภาคส่วนเข้ามาส
เกี่ยวข้องกบั กระบวนการผลติ สนิ ค้าเกษตร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้า
ปลอดภัยตลอดหว่ งโซอ่ ุปทาน ทศั น์บนหลักการมสี ่วนรว่ ม
กลยทุ ธ์ย่อย : แผนระดับท่ี 2 :
1. ปรับโครงสรา้ งหน่วยงานผูร้ บั ผิดชอบหลัก และ 2.1 ร่างแผนพัฒนาแผนพัฒ
บรู ณาการงานรว่ มกบั ภาคีเครือขา่ ย เพ่อื ขบั เคล่ือน ส่งเสริมให้ไทยพัฒนาเป็นปร
การบรหิ ารจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยเี กษตร Value-Added Economy)
2. พฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีใชง้ านงา่ ย มี อตั โนมัติ และเทคโนโลยดี ิจิทัล
ประสทิ ธิภาพ ภายใต้แพลตฟอร์มท่ี เพ่อื รองรับการ นำมาใชจ้ ดั การกับความเสี่ยงแ
บริหารจัดการตลอดห่วงโซ่ 2.2 แผนแมบ่ ทประเด็นเกษ
3. พฒั นา และปลูกฝังทกั ษะความชำนาญด้าน
นวตั กรรมและเทคโนโลยี (Agri -Tech Literacy) 2.2.1 แผนย่อยเกษตร
ใหแ้ กย่ ุวชน บุคลากร ทงั้ ภาครัฐ ภาคเอกชน การผลิตทเ่ี ป็นมิตรต่อสงิ่ แวด
เกษตรกร โดยขอรบั การสนบั สนนุ จาก ในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
สถาบันการศึกษา (อว.) ปลอดภัยและระบบการตรว
4. จับค่พู ื้นที่ทำการเกษตรกับนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีใหเ้ หมาะสมต่อการเพิ่มประสิทธภิ าพ

46

ความสอดคล้อง

ร์ชาติ 20 ปี
พรวม “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
กรธรรมชาตยิ ั่งยนื ” โดยยกระดบั ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคน
ห้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการ
็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์
บประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ให้ประเทศ
ะยงั่ ยนื
านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม กระจายความเจริญสู่ภูมภิ าค เพ่ิม
สนบั สนุนการพฒั นาประเทศ เพม่ิ ขดี ความสามารถในการพง่ึ พาตนเอง
านการใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยกระดับกระบวน

ฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 ในหมุดหมายที่ 1 เกี่ยวกับการ
ระเทศชั้นนำด้านการผลิตสินค้าเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (High
) และส่งเสริมความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยี
ล จะเปน็ เครื่องมือสำคัญที่ภาคการเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตรสามารถ
และข้อจำกัด
ษตร
รปลอดภัย เกี่ยวกับสนับสนุนการบริหารจัดการฐานทรัพยากรทางเกษตรและระบบ
ดลอ้ ม ทั้งจากการลด ละ เลิกการใชส้ ารเคมีทเ่ี ปน็ อนั ตราย ตลอดจนสง่ เสริมการผลิต
สร้างความปลอดภัยและมั่นคงด้านอาหาร พัฒนาระบบคุณภาพมาตรฐานความ
วจรับรองคุณภาพ พัฒนาระบบการตรวจสอบย้อนกลับ ส่งเสริมและสนับสนุน

แผนกลยุทธ์ เกษตรกร ผู้ประกอบการ ให
พื้นฐาน ต่อยอดไปจนถึงมาต
และผลติ ภาพการผลิต (Land &Technology มาตรฐานความปลอดภยั แล
Matching) ของความปลอดภัย เพื่อสุขภ
5. สง่ เสรมิ ยกระดับ และผลกั ดันให้ SFM YSM สินคา้ เกษตรและอาหารปลอ
เปน็ กลมุ่ Start-Up และ SME ทีส่ ามารถพัฒนา
และประยุกต์ใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยี ในการ 2.2.2 แผนย่อยเกษต
ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภยั เทคโนโลยีการเกษตรในรูปแ
6. พัฒนาการบรหิ ารจัดการฟาร์มแบบ ระบบข้อมูลสาหรับวางแผน
Automation ทงั้ แบบฟารม์ เปิดและฟาร์มปิดเพ่อื อัจฉรยิ ะ
ลดความเส่ยี งจากภยั ธรรมชาติ 2.3 แผนปฏิรปู ประเทศด้าน
7. สง่ เสรมิ และสนับสนุนงบประมาณเพือ่ นำ พ.ศ.2561-2580 เกยี่ วกบั
เทคโนโลยีสมัยใหมใ่ ชใ้ นการผลิตสนิ ค้าการเกษตร เทคโนโลยดี จิ ิทลั อยา่ งเต็มศัก
8. ประชาสมั พนั ธ์และผลกั ดันให้เกดิ อน่ื ๆ เพื่อขับเคล่ือนการพฒั น
ความนิยมใชบ้ รกิ ารผา่ นแพลตฟอร์มท่ีพฒั นาใหม่ แผนระดบั ที่ 3 :
3.1 ยุทธศาสตรพ์ ัฒนาการ
เพิ่มความสามารถในการแข
เทคโนโลยีเพื่อการขับเคลื่อน
การเกษตร ให้เกษตรกรเขา้ ถ
3.2 ยุทธศาสตร์พัฒนากา
ขบั เคลื่อนงานสำคัญของกร
เน้นพัฒนาปัจจัยพื้นฐานการ
ยงั่ ยืนภายใต้หลกั ตลาดนำกา
ศพก.

47

ความสอดคล้อง
ห้สามารถผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มคี ุณภาพมาตรฐาน ทั้งมาตรฐานที่เป็นขนั้
ตรฐานขั้นสูง ส่งเสริมการวิจัยพัฒนาสินค้า พร้อมทั้งดูแลการผลิตอาหาร ภายใต้
ละการคุ้มครองผูบ้ รโิ ภค สร้างความตระหนักรู้ของผู้ผลิตและผบู้ ริโภคถึงความสำคัญ
ภาวะและโภชนาการที่เหมาะสม และการส่งเสริมด้านการขยายตลาดการบริโภค
อดภัย
ตรอัจฉริยะ เกี่ยวกับการพัฒนาศักยภาพการผลิต โดยอาศัยนวัตกรรมและ
แบบต่าง ๆ รวมถึงการใช้และการเข้าถึงเทคโนโลยีการเกษตร เทคโนโลยีดิจิทัลและ
นการผลิต เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้เป็นเกษตรกรอัจฉริยะ นำไปสู่การจัดทำฟาร์ม

นนโยบายและแผนระดบั ชาติว่าดว้ ยการพัฒนาดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม
บการปฏริ ปู ประเทศไทยสู่ดิจทิ ัลไทยแลนดส์ รา้ งสรรค์ และใช้ประโยชนจ์ าก
กยภาพในการพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐาน นวตั กรรม ข้อมูล ทนุ มนุษย์และทรพั ยากร
นาเศรษฐกิจและสงั คมของประเทศไปสู่ความมั่นคง มั่งค่ัง และยัง่ ยืน

รเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (ปี 2561-2580) ในประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 3
ข่งขันภาคการเกษตรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยเน้นพัฒนานวัตกรรมและ
นเกษตร 4.0 ภายใต้ Thailand 4.0 และบริหารจัดการเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่
ถึงและนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้อย่างทว่ั ถึง
ารเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (ปี 2566-2570) เกี่ยวกับแนวทางการ
ระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปี 2565 ภายใตก้ ารปรบั ตวั ส่วู ถิ ใี หม่ New Normal
รผลิตด้านการเกษตร ดำเนินการและสนับสนุนการขับเคลื่อนภาคเกษตรสู่ความ
ารผลิต 13 เรอื่ ง โดยเฉพาะดา้ นการบริการหน่วยงานภาคสี นับสนุนองค์ความรู้ผ่าน

แผนกลยทุ ธ์

ฉากท่ี 3 เหลา้ เถ่ือน (L- T+)

กรอบยุทธศาสตร์ : แผนระดบั 1 ยทุ ธศาสตร์ชา

1. ปรับปรุงและเพิ่มเติมกฎหมายที่เกีย่ วข้องให้ ยุทธศาสตรช์ าตทิ ่ี 2 ดา้ นกา

สอดคล้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีด้าน ความตระหนักแกผ่ ู้ผลิตและผ

มาตรฐานสินคา้ เกษตรปลอดภัย ของอาหาร นำนวัตกรรมและ

กลยุทธ์ย่อย : พฒั นาระบบการบริหารจัดกา

1.1 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี พัฒนาแพลตฟอร์ม และมเี ท่าทีจ่ ำเปน็ โดยภาครฐั

เพือ่ ใหส้ ะดวกต่อการเขา้ ถึง วิธกี ารตรวจสอบของระบบ แผนระดับ 2 กรอบแผนพัฒ

การรับรองมาตรฐานการผลติ สินค้าเกษตรปลอดภยั ประตูการค้าและการลงทนุ แล

เช่น นำนวัตกรรมและเทคโนโลยใี หป้ ระชาชนใช้ 1. กฎระเบียบ กระบวนการ

บริการในแพลตฟอร์ม และพฒั นาแพลตฟอร์มโดยใช้ ดำเนินธรุ กิจ และสามารถลด

AI เพื่อยกระดับมาตรฐานการตรวจรับรองเป็น เป็นเอกภาพ

มาตรฐานเดยี วกนั ลดข้ันตอน ลดเวลา ฯลฯ 4. กฎหมาย กฎระเบียบ และ

1.2 ยกระดบั ห้องปฏบิ ตั ิการในการตรวจสอบ แผนระดับ 3 ยทุ ธศาสตรเ์ ก

มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั ทม่ี ีมาตรฐาน ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การเพ่ิมปร

เดียวกนั ทกุ จังหวัดในประเทศไทย กล่าวคือ พัฒนา 1) พัฒนาประสทิ ธิภาพก

ปรับปรงุ ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานสากลและ ๒) ส่งเสริมการเกษตรตล

เกษตรกรในพนื้ ทีเ่ ข้าถงึ ได้งา่ ย ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การเพม่ิ ควา

1.3 ยกระดบั องค์ความรู้ ใหแ้ ก่ เจ้าหนา้ ทภี่ าครฐั กับไทยแลนด์ 4.0

และเกษตรกรในดา้ นกฎหมาย นวตั กรรม ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาร

เทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่การผลติ สินค้าเกษตร

ปลอดภัย เช่น การผลิตสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยให้ได้

48

ความสอดคล้อง

าติ 20 ปี
ารสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน การสรา้ งเกษตรมูลคา่ เกษตรปลอดภัย สรา้ ง
ผ้บู ริโภคทว่ั โลกในเรื่องความสำคัญของมาตรฐานระบบการจดั การความปลอดภยั
ะเทคโนโลยีนำมาประยุกต์ใช้ในการพฒั นา ยุทธศาสตร์ที่ 6 ดา้ นการปรับสมดลุ และ
ารภาครัฐ ประเด็นที่ 7 หลักกฎหมายมีความสอดคลอ้ ง เหมาะสมกับบริบทตา่ ง ๆ
ฐจัดให้มีกฎหมายที่สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ท่ีเปลย่ี นแปลง
ฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566–2570) หมุดหมายที่ 5
ละจุดยทุ ธศาสตรท์ างโลจสิ ตกิ ส์ท่ีสำคัญ
รนำเข้าส่งออก และข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมศักยภาพ เอื้อต่อการ
ดต้นทนุ โลจิสตกิ ส์ หมดุ หมายที่ 13 ไทยมีภาครัฐทม่ี สี มรรถนะสูง ภาครฐั บูรณาการ

ะมาตรการภาครัฐทันสมยั สนบั สนุนการพลิกโฉมประเทศ
กษตรและสหกรณ์ระยะ 20 ปี
ระสทิ ธิภาพการผลติ และยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร
การผลิตและคุณภาพมาตรฐานสนิ ค้า
ลอดโซ่อุปทานสอดคล้องกบั ความต้องการของตลาด
ามสามารถในการแข่งขนั ภาคการเกษตรดว้ ยนวตั กรรมและเทคโนโลยีใหส้ อดคล้อง

ระบบบรหิ ารจัดการภาครฐั ได้แก่ การปรับปรงุ และพัฒนากฎหมายด้านการเกษตร

แผนกลยุทธ์

มาตรฐานโดยใช้เทคโนโลยนี วตั กรรม กฎหมายดา้ น

มาตรฐานสินคา้ เกษตร

กรอบยุทธศาสตร์ : แผนระดับ 1 ยุทธศาสตร์ชา

2. วางระบบการเช่ือมโยง เพื่อเข้าถึง ๔.๖ ยุทธศาสตร์ชาติด้านกา

ระบบการรบั รองมาตรฐานสินค้า ให้สอดคล้อง สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาคร

กบั การใชน้ วตั กรรมเทคโนโลยีการผลิตสินค้า ภาครฐั ต้องมขี นาดท่เี หมาะสม

เกษตรปลอดภัย เนน้ ประยกุ ต์ใช้นวตั กรรม ในการให้บริการในระบบเศ

เทคโนโลยตี ลอดหว่ งโซก่ ารผลิตสินคา้ ปลอดภยั ทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และ

กลยุทธ์ย่อย : เปลี่ยนแปลงของโลกอยูต่ ลอ

2.1 นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยพฒั นา ทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามาปร

แพลตฟอรม์ เพอ่ื ให้สะดวกต่อการเข้าถึง วธิ ีการ เปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันแล

ตรวจสอบของระบบการรับรองมาตรฐานการผลิต ประชาชนไดอ้ ย่างสะดวก รว

สินคา้ เกษตรปลอดภัย เชน่ นำนวัตกรรมและ สุจริต ความมัธยัสถ์ และส

เทคโนโลยีเพ่อื ให้ประชาชนใชบ้ ริการใน นอกจากนนั้ กฎหมายตอ้ งมคี ว

แพลตฟอรม์ และพัฒนาแพลตฟอร์มโดยใช้ AI เพอ่ื แผนระดบั 2 แผนพฒั นาเศร

ยกระดบั มาตรฐานการตรวจรับรองเป็นมาตรฐาน หมดุ หมายท่ี 7 ไทยมี SMEs

เดยี วกัน ลดขน้ั ตอน ลดเวลา เป็นต้น 1. SMEs มศี กั ยภาพสงู

2.2ยกระดบั ห้องปฏบิ ัติการในการตรวจสอบ 2. SMEs มบี ทบาทในภ

มาตรฐานสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยทม่ี ีมาตรฐาน หมุดหมายท่ี 13 ไทยมีภาคร

เดยี วกันทุกจงั หวัดในประเทศไทย กลา่ วคือ พฒั นา 2. โครงสร้างภาครัฐมคี

ปรับปรงุ ใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานสากลและ 3. การบริหารงานภาครัฐ

เกษตรกรในพื้นทีเ่ ขา้ ถงึ ไดง้ ่าย

49

ความสอดคล้อง

าติ 20 ปี
ารปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี
รัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ ส่วนรวม” โดย
มกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหนว่ ยงานของรฐั ที่ทำหน้าที่ ในการกำกับหรือ
ศรษฐกิจที่มีการแข่งขัน มีสมรรถนะสูง ยึดหลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการ
ะผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะปรับตัว ให้ทันต่อการ
อดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการ
ระยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทั้ง มีลักษณะ
ละเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการ ของ
วดเรว็ และโปร่งใส โดยทกุ ภาคส่วนในสงั คมตอ้ งร่วมกันปลกู ฝงั คา่ นยิ ม ความซ่ือสัตย์
สร้างจิตสำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบ อย่างสิ้นเชิง
วามชัดเจน มีเพยี งเท่าทจ่ี ำเปน็ มคี วามทนั สมยั มคี วามเป็นสากล
รษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570)
s ทเ่ี ข้มแขง็ มีศักยภาพสงู และสามารถแข่งขนั ได้
ง สามารถพฒั นาและใช้เทคโนโลยเี พ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพ
ภาคการสง่ ออก
รัฐทีม่ สี มรรถนะสูง ภาครัฐบรู ณาการเป็นเอกภาพ
ความยืดหยุน่ และมีความยั่งยืนทางการคลัง
ฐและการใหบ้ รกิ ารสาธารณะปรบั สรู่ ูปแบบดิจทิ ลั อย่างเตม็ รปู แบบ

แผนกลยุทธ์

2.3 ยกระดับองค์ความรู้ ให้แก่ เจ้าหน้าท่ภี าครฐั แผนระดับ 3 ยุทธศาสตร์เก

และเกษตรกรในด้านกฎหมาย นวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพม่ิ ปร

เทคโนโลยตี ลอดหว่ งโซก่ ารผลิตสนิ ค้าเกษตร 1) พฒั นาประสทิ ธิภาพ

ปลอดภยั เชน่ การผลติ สนิ คา้ เกษตรปลอดภยั ให้ได้ ๒) ส่งเสริมการเกษตรต

มาตรฐานโดยใช้เทคโนโลยีนวัตกรรม กฎหมายดา้ น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเพิ่มคว

มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร ฯลฯ กบั ไทยแลนด์ 4.0

ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนา

Researcher การเชอื่ มโยงระ

ฉากที่ 4 เหลา้ นอก (L+ T+)

กรอบยุทธศาสตร์ : แผนระดบั ที่ 1 : ยทุ ธศาสตร

นวัตกรรมเทคโนโลยเี กษตรล้ำ นำสนิ ค้าและ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ด้าน

ผลติ ภัณฑเ์ กษตรปลอดภัยชัน้ เลศิ ทะยานสู่ World และประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5

Kitchen เน้นยกระดบั เกษตรกร SFM/ YSM สู่การ กระบวนทศั นบ์ นหลักการมสี

เป็นผปู้ ระกอบการเกษตร Smart Entrepreneur แผนระดบั ที่ 2 : ร่างแผนพัฒ

ด้วยการนำความรู้ดา้ นนวตั กรรมและเทคโนโลยี หมุดหมายที่ 1 : พัฒนาเป็น

เกษตร และกฎหมาย มาสง่ เสรมิ สนบั สนุน และ Value-Added Economy)

ผลักดนั การขยายฐานการผลติ การตลาดสินค้าและ เทคโนโลยีดิจิทลั /แผนแม่บท

ผลติ ภัณฑ์แปรรูปเกษตรปลอดภยั ชน้ั เลศิ ของไทย ทรัพยากรทางเกษตร/ระบบ

ทะยานสคู่ รวั โลก (World Kitchen) พัฒนาระบบคุณภาพมาตรฐ

เกษตรกร ผู้ประกอบการ ให

ยอดไปถึงขั้นสูง/ ส่งเสริมการ

50

ความสอดคล้อง
กษตรและสหกรณ์ระยะ 20 ปี
ระสิทธภิ าพการผลติ และยกระดบั มาตรฐานสนิ คา้ เกษตร
พการผลิตและคณุ ภาพมาตรฐานสินค้า
ตลอดโซ่อปุ ทานสอดคล้องกบั ความต้องการของตลาด
วามสามารถในการแข่งขนั ภาคการเกษตรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหส้ อดคล้อง

าระบบบริหารจัดการภาครัฐ การพัฒนาบุคลากรเป็น Smart Officer และ Smart
ะบบการทำงานของทุกหน่วยงานในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ร์ชาติ 20 ปี
นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขนั ให้ประเทศเตบิ โตอย่างมีเสถยี รภาพและยั่งยืน
5ด้านการใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยกระดับ
สว่ นรว่ ม
ฒนาแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 13
นประเทศชน้ั นำดา้ นการผลติ สินค้าเศรษฐกจิ มลู คา่ สงู ท่เี ป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม (High
และส่งเสริมความก้าวหน้าของเทคโนโลยี โดยเฉพาะเทคโนโลยีอัตโนมัติ และ
ทประเด็นเกษตร แผนย่อยเกษตรปลอดภยั เกี่ยวกับสนับสนนุ การบริหารจัดการฐาน
บการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม/สร้างความปลอดภัยและมั่นคงด้านอาหาร/
ฐานความปลอดภัย/พัฒนาระบบการตรวจสอบย้อนกลับ/ส่งเ สริมและสนับสนุน
ห้สามารถผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่มีคุณภาพมาตรฐาน ทั้งขั้นพื้นฐานและต่อ
รวิจยั พัฒนาสินคา้ ภายใต้มาตรฐานความปลอดภัยและการคุ้มครองผู้บริโภค/แผน

แผนกลยทุ ธ์ ย่อยเกษตรอัจฉริยะ เกี่ยวก
รูปแบบต่าง ๆ
กลยุทธ์ย่อย : แผนระดับที่ 3: ยุทธศาสต
1. พฒั นาเกษตรกรจากแรงงานเกษตร ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความเ
เพอ่ื กา้ วสู่การเปน็ ผปู้ ระกอบการเกษตรอยา่ แท้จริง ความรู้ของเกษตรกรสู่เกษต
(SFM/ YSM) จาก Smart Farmer สู่ ปลอดภัย การวางแผนการผ
Entrepreneur พัฒนาไปสู่ผู้ประกอบการธุร
2. เรง่ ประยุกต์ใชน้ วัตกรรมเทคโนโลยี ชุมชน จังหวัด และตลาดต่าง
เกษตรปลอดภัย พรอ้ มนำกฎหมายมาส่งเสรมิ และสถาบันเกษตรกร /ประ
ผลกั ดันดา้ นการบรหิ ารจดั การตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน เกษตร2 เพิม่ ประสิทธภิ าพก
(การผลิต การแปรรูป การตรวจรับรอง การตลาด) เกษตรให้ได้มาตรฐานรองรับ
เพอ่ื สรา้ งการเติบโตทยี่ ่ังยนื ของ Agri- เกี่ยว เพื่อรักษาคุณภาพ ลด
Entrepreneur และภาคเกษตรไทย สร้างมูลค่าเพิ่ม ให้แก่สินค้าเ
จัดการโลจิสติกส์ ในระดับฟ
(Cluster) เครือข่ายวิสาหกิจ
ความสามารถในการแข่งขั
เทคโนโลยีเพ่ือการขับเคลอ่ื น
จัดการภาครัฐ ไดแ้ ก่ การพฒั
ทำงานของทุกหน่วยงานในก
และสนับสนุนการควบคุม ก
สง่ ผลตอ่ ความเชอื่ มั่นของผูบ้ ร

51

ความสอดคล้อง
กับการพัฒนาศักยภาพการผลิต โดยอาศัยนวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตรใน

ตร์พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (ปี 2561-2580) ในประเด็น
เข้มแข็งให้กับเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร แนวทางที่ 4 กำหนดให้พัฒนาองค์
ตรกรมืออาชีพ (Smart Farmer) ด้วยการให้ความรู้เกี่ยวกับการผลิตสินค้าเกษตร
ผลิตบริหารจัดการสินค้าเกษตร และการผลิตสินค้าตามมาตรฐานสินค้าเกษตรเพื่อ
รกิจเกษตรมืออาชีพ (Smart Entrepreneur) รวมถึงบริหารการตลาดตั้งแต่ระดับ
งประเทศ และแนวทางที่5สร้างความเข้มแข็งและเชื่อมโยงเครือข่ายของเกษตรกร
ะเด็นยุทธศาสตร์ที่2การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและยกระดับมาตรฐานสินค้า
การบริหารจัดการสินคา้ เกษตรตลาดโซ่อุปทานในแนวทางที่1ส่งเสริมการผลิตสินค้า
บความต้องการของตลาด พัฒนากระบวนการก่อนการเก็บเกี่ยว และหลังการเก็บ
ดการสูญเสีย การออกแบบผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ ตามความต้องการของตลาดเพื่อ
เกษตร พร้อมพัฒนาระบบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) และการบริหาร
ฟาร์ม ส่งเสริมเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ทำการเกษตรแบบกลุ่มการผลิต
จ และเกษตรพันธะสัญญา (Contract Farming)/ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่3 การเพ่ิม
นภาคการเกษตรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี ในการพัฒนานวัตกรรมและ
นเกษตรให้สอดคล้องกบั ไทยแลนด์ 4.0 และยทุ ธศาสตรท์ 5ี่ การพัฒนาระบบบริหาร
ฒนาบุคลากรเป็น Smart Officer และ Smart Researcher การเชื่อมโยงระบบการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และการปรับปรุงและพัฒนากฎหมายด้านการเกษตร
การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสินค้าเกษตรเพิ่มขึ้น และให้ตระหนักถึงปัญหาที่จะ
ริโภคและการส่งออก

52

บทที่ 5
สรุป และข้อเสนอแนะตามทศิ ทางภาพอนาคต

5.1 การสรุปภาพ Scenario ท้ัง 4 ฉาก

5.1.1 ฉากที่ 1 เหล้าต้ม มีกรอบยุทธศาสตร์เพื่อรองรับฉากนี้ คือ “เร่งพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่แทน
แรงงานสูงวยั ใหป้ ระยกุ ตใ์ ชน้ วัตกรรม และเทคโนโลยเี กษตร ผ่านตัวกลาง และ แพลตฟอร์ม ทสี่ รา้ งขน้ึ ควบคู่กับ
การปรบั แกก้ ฎหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ ข้อบังคบั ให้มคี วาม ชดั เจนเปน็ เอกภาพ ลดข้อจำกัด สนบั สนนุ บริการให้
ความช่วยเหลือ Stakeholders พร้อมผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนของภาคีเครือข่าย แบบบูรณาการ เพ่ือพัฒนา
สินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อปุ ทาน”

ภาพท่ี 8 กรอบกลยุทธส์ ำหรับฉากที่ 1 เหล้าต้ม
จากภาพที่ 8 มีแผนกลยุทธ์ย่อย 10 กลยุทธ์ ซึ่งเมื่อนำมาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์เกษตรและ
สหกรณ์ระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 13 มี
ขอ้ เสนอแนะ 3 ประเด็น ดังน้ี

ประเด็นที่ 1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแผน/โครงการเดิมที่สอดคล้องและสนับสนุนภาพ
อนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) ปรับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และกำหนด นโยบาย เพื่อกระตุ้น และส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการผลิตสินค้าเกษตร และกำหนด บทลงโทษผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าที่ก่อให้เกิด
อันตราย สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบ

53

บริหารจัดการภาครัฐ ปรับปรุงโครงสร้างในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย
ประกอบกับ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติด้าน ด้านที่ 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
ดา้ นที่ 22 กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม ด้านท่ี 23 การวิจยั และพฒั นานวตั กรรม

(2) กำหนดให้มีการขึ้นทะเบียนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ที่จำหน่ายสินค้าปลอดภัยบน
แพลตฟอร์ม ออนไลน์ กับ หน่วยงานกลาง สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ระยะ
5 ปี ประเด็นโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์การเกษตร ด้านรูปแบบการค้าระหว่างประเทศในอนาคต
ตลอดจนพัฒนาระบบ การชำระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์ผ่านระบบเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนใน
รูปแบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์

(3) Big Data ดา้ นการเกษตรสนับสนุน การวเิ คราะห์ตดั สินใจ - องค์ความรู้ การจัดการฟาร์ม
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สอดคลอ้ งกบั แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ การเกษตร แผนย่อยเกษตร
อัจฉริยะ ในด้านการพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมและเทคโนโลยี
เทคโนโลยีดิจทิ ลั ฐานขอ้ มลู สารสนเทศทางการเกษตรต่างๆ เพ่อื การวางแผนการเกษตร และพัฒนาเกษตรกร
ใหเ้ ปน็ เกษตรกรอัจฉริยะท่ีมี ขีดความสามารถในการแข่งขัน สนบั สนนุ และส่งเสรมิ การทำระบบฟาร์มอัจฉริยะ
โดยการถ่ายทอดและสนับสนุนให้ เข้าถึงองค์ความรู้และเทคโนโลยีแก่เกษตรกรในราคาที่สามารถเข้าถึงได้
ควบคู่กบั การใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพอ่ื เพิม่ ผลิตภาพการผลติ และ ทดแทนการผลิตดัง้ เดิม

ในระยะแรกของการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร ควรเนน้ ให้มีการใช้ IOT
อยา่ งกวา้ งขวางกอ่ น ควบคู่กับการสรา้ งองค์ความรเู้ กีย่ วกบั นวตั กรรมและเทคโนโลยีการเกษตรในสนิ ค้าเกษตร
สำคัญแตจ่ ะชนดิ เพอ่ื ใหเ้ กษตรกรได้รบั รู้ เข้าใจถงึ ประโยชน์ และเกดิ ความตอ้ งการในระบบ Automated แล้ว
ในระยะต่อไปจึงจะดำเนินการขับเคลื่อนการส่งเสริมสนับสนุนให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยด้วย
ระบบ Automated นอกจากน้ีในการสนับสนุน Innovation Technology หรือเรียกว่าเป็นการติดอาวุธ
Cyber ให้กับเกษตรกร ภาครัฐควรพิจารณาศักยภาพและความพร้อมของเกษตรกรในการนำเทคโนโลยีไปใช้
ประโยชน์อย่างคุ้มค่าได้หรือไม่ ซึ่งภาครัฐต้องเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร/เกษตรกรให้พร้อมก่อนเริ่มติด
อาวุธ Cyber ให้กับเกษตรกร

ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนะปรับปรุง/เพิ่มเติมแผน/โครงการเดิม เพื่อให้สอดคล้องและ
สนับสนนุ ภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการช่วยตรวจรับรอง สินค้า เช่น AI /สอดคล้องกับ แผนแม่บท
ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการเกษตร แผนย่อยเกษตรปลอดภัย ที่กำหนดให้มีระบบตรวจรับรองคุณภาพจาก
สถาบันทนี่ า่ เชื่อถือ และแผนย่อยเกษตรอัจฉริยะ ในการนำเทคโนโลยแี ละนวัติกรรม เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิภาพทั้ง
เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ แต่ยุทธศาสตร์มิได้กำหนดให้มีการพัฒนาในส่วนการสร้างเทคโนโลยีช่วยตรวจ
รับรองผลผลิตสินค้าปลอดภัย จึงควรกำหนดแผนยุทธศาสตร์ให้มีการพัฒนาระบบ AI ขึ้นเพื่อสร้าง Agri-
Modern Safety Kitchen

(2) จัดตงั้ หน่วยงานกลางเพ่ือสนบั สนนุ เกษตรกรรุ่นใหม่ ในการผลติ สนิ คา้ ปลอดภัย ตลอดห่วง
โซ่การผลิต สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์พัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบ
บริหารจัดการภาครัฐ ปรับปรุงโครงสร้างในกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปรับปรุงกฎหมายให้ทันสมัย
ประกอบกับ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้าน ด้านท่ี 20 การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
ดา้ นที่ 22 กฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรม ด้านท่ี 23 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม แต่เนือ่ งจากไม่ได้ระบุ
ชัดในการกำหนดไว้ จึงควรปรับปรุงให้สอดคล้องกับแนวคิดการจัดตั้งหน่วยงานกลางขึ้นเพื่อพัฒนาอาหาร
ทนั สมยั ปลอดภยั ภายใต้ Agri-Modern Safety Kitchen

54
ประเด็นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะแผน/โครงการใหม่
(1) จดั ตัง้ หน่วยงานกลางขึ้นเพ่ือสนับสนนุ ภารกิจ Agri-Modern Safety Kitchen
(2) ปรับปรุงระบบการจัดสรรงบประมาณให้หนว่ ยงาน ในลักษณะบูรณาการตลอดห่วงโซก่ าร
ผลติ เพื่อเป็นการสรา้ ง สนบั สนุน พฒั นาระบบสนิ คา้ เกษตรปลอดภัยทั้งตลอดหว่ งโซ่อปุ ทาน
(3) กำหนดให้มีการประกันราคาสินค้าเกษตรปลอดภัย เพื่อยกระดับสร้างความแตกต่างจาก
สินค้าทั่วไป สร้างแรงจูงใจแก่เกษตรกร ผลักดันให้เกิดศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าเกษตร ปลอดภัยท่ี
ทนั สมยั สำหรับเกษตรกร สถาบันเกษตรกร
(4) ผลักดันการสร้างทักษะ และสนับสนุน เยาวชน, กลุ่ม Start-up/SME สู่การแข่งขันใน
ตลาดโลก โดยเชื่อมโยงบูรณาการกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) คิดค้น
วจิ ัยพัฒนา และประยุกต์ใช้ นวตั กรรมใหม่ เพอื่ แก้ปัญหาการผลิต ต้นทุน และแรงงาน /ยกระดบั SME/ YSM
เพม่ิ เกณฑ์การคัดสรร (เนน้ ศกั ยภาพมากกวา่ ปรมิ าณ) ทงั้ ระบบตลอดห่วงโซอ่ ปุ ทาน
5.1.2 ฉากที่ 2 เหล้าขาว มีกรอบยุทธศาสตร์เพื่อรองรับฉากน้ี คือ “เน้นประยุกต์ใช้เกษตร
อัจฉริยะ ภายใต้กฎหมายมาตรฐานสินค้าปลอดภัย ไร้สารพิษ” โดยพัฒนาพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีตลอด
ห่วงโซ่อุปทาน (IOT) ผ่าน Smart Phone ให้เกษตรกรใช้ได้ง่ายและสะดวก ไม่ยุ่งยากซับซ้อน มีประสิทธิภาพ
ตลอดกระบวนการผลิต รวมถึงการตรวจสอบย้อนกลับด้านความปลอดภัยตลอดกระบวนการผลิตสินค้าเกษตร
ปลอดสารพษิ

ภาพที่ 9 กรอบกลยุทธ์สำหรับฉากท่ี 2 เหล้าขาว

จากภาพที่ 9 มีแผนกลยุทธ์ย่อย 8 กลยุทธ์ ซึ่งเมื่อนำมาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์เกษตรและ
สหกรณ์ระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13
มขี อ้ เสนอแนะ 3 ประเด็น ดงั น้ี

55

ประเด็นที่ 1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแผน/โครงการเดิมที่สอดคล้องและสนับสนุนภาพ
อนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ได้แก่
โครงการเกษตรกรสธู่ ุรกจิ เกษตร โครงการเกษตรอนิ ทรีย์

(2) ยุทธศาสตร์ท่ี 2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
ไดแ้ ก่ แผนพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน แผนบรหิ ารจดั การตลอดโซ่อุปทาน แผนสรา้ งมูลค่าเพมิ่ สินค้าเกษตร

(3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยนวัตกรรมและ
เทคโนโลยี ไดแ้ ก่ แผนเสรมิ สร้างระบบการวิจยั และพัฒนานวตั กรรมและเทคโนโลยีดา้ นการเกษตร

ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนะปรับปรุง/เพิ่มเติมแผน/โครงการเดิม เพื่อให้สอดคล้องและ
สนบั สนุนภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) ส่งเสริม ยกระดับ และผลักดันให้ SFM YSM เป็นกลุ่ม Start-Up ด้าน AgTech
และ SME ที่สามารถพฒั นาและประยุกต์ใชน้ วัตกรรมและเทคโนโลยี ในการผลิตสินคา้ เกษตรปลอดภยั

(2) ส่งเสริมการประชาสมั พนั ธน์ วัตกรรมและเทคโนโลยีท่ีมอี ย่ใู หเ้ กษตรกรเข้าถึงง่าย
และใช้ประโยชน์ เช่น โครงการแพลตฟอรม์ เช่ือมโยงเกษตรกรกบั สตาร์ทอัพด้านการเกษตรสู่การเปน็ เกษตรกร
ท่ีประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยี” หรอื เรยี กสน้ั ๆ ว่า “AgTech Connext

ประเด็นท่ี 3 ข้อเสนอแนะแผน/โครงการใหม่
(1) ปรับโครงสร้างหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก และบูรณาการงานร่วมกับภาคี

เครอื ข่าย เพ่ือขบั เคลือ่ นการบริหารจดั การนวัตกรรมและเทคโนโลยเี กษตร
(2) ปรบั ปรงุ กฎหมายเพ่อื รองรบั นวัตกรรมและเทคโนโลยที จ่ี ะพฒั นาข้นึ ในอนาคต
(3) พัฒนานวัตกรรมแพลตฟอร์มทรี่ องรับการบรหิ ารจัดการ
(4) พัฒนา และปลูกฝังทักษะด้านเทคโนโลยีการเกษตรให้แก่ยุวชน โดยขอรับการ

สนบั สนนุ จากสถาบันการศกึ ษา (อว.)
(5) จับคู่พื้นที่ทำการเกษตรกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีให้เหมาะสมต่อการเพ่ิม

ประสทิ ธิภาพ และผลติ ภาพการผลติ (Land & Technology Matching)
(6) ประชาสมั พันธ์และผลักดนั ใหเ้ กษตรกรและผู้บรโิ ภคนยิ มใชบ้ รกิ ารบนแพลตฟอรม์

5.1.3 ฉากท่ี 3 เหลา้ เถ่ือน มกี รอบยุทธศาสตร์เพ่ือรองรับฉากน้ี คือ ปรบั ปรงุ เพ่ิมเติมกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้อง และวางระบบการเชื่อมโยง เพื่อเข้าถึงระบบการรับรองมาตรฐานสินค้า ให้สอดคล้องกับการใช้
นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เน้นประยุกต์ใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่การผลิต
สินคา้ ปลอดภัย

56

ภาพที่ 10 กรอบกลยุทธ์สำหรบั ฉากที่ 3 เหล้าเถื่อน
จากภาพที่ 10 มีแผนกลยุทธ์ย่อย 5 กลยุทธ์ ซึ่งเมื่อนำมาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์เกษตรและ
สหกรณ์ระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 มี
ข้อเสนอแนะ 3 ประเด็น ดังน้ี

ประเด็นที่ 1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแผน/โครงการเดิมที่สอดคล้องและสนับสนุนภาพ
อนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen ได้แก่ การยกระดับองค์ความรู้ ให้แก่ เจ้าหน้าที่ภาครัฐ และ
เกษตรกรในด้านกฎหมาย นวัตกรรม เทคโนโลยีตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เช่น การผลิต
สินคา้ เกษตรปลอดภัยให้ไดม้ าตรฐานโดยใช้เทคโนโลยนี วตั กรรม กฎหมายดา้ นมาตรฐานสินคา้ เกษตร เปน็ ตน้

ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนะปรับปรุง/เพิ่มเติมแผน/โครงการเดิม เพื่อให้สอดคล้องและ
สนบั สนนุ ภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) ปรับปรุงกฎหมาย กำหนดสภาพบังคับ บทลงโทษในระบบด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร
ปลอดภัยตลอดห่วงโซ่ เช่นกฎหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรด้านพืช ประมง ปศุสัตว์ ให้สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของผบู้ ริโภคมีความเปน็ สากล

(2) ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม กฎหมายในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการผลิตสินค้า
เกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่ เช่น กฎหมาย Biotech เกี่ยวกับเครื่องจักรกร IOT ด้านการผลิต กฎหมาย
การตลาดของ แพลตฟอร์ม เป็นต้น

ประเด็นที่ 3 ขอ้ เสนอแนะแผน/โครงการใหม่
(1) จัดตั้งหน่วยงานกลางที่มีเจ้าหน้าที่รับผิดชอบเรื่องการกำหนดมาตรฐานและการใช้
เทคโนโลยีในการตรวจรับรองตลอดห่วงโซ่การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เนื่องจากกฎหมายสินค้าเกษตร
ปลอดภัยอยู่ในความรับผิดชอบของหลายหน่วยงาน เพื่อให้เป็นเอกภาพเดียวกัน ควรมีหน่วยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
ตลอดห่วงโซ่เป็นหน่วยงานเดียว เพื่อให้ประชาชนสามารถติดต่อใช้บริการได้ในหน่วยงานเดียว (One stop
service)

57
(2) ยกระดับห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยที่มีมาตรฐาน
เดียวกันทุกจังหวัดในประเทศไทย กล่าวคือ พัฒนาปรับปรุงให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและเกษตรกรใน
พื้นทีเ่ ข้าถึงไดง้ า่ ย
(3) นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยพัฒนาแพลตฟอร์ม เพื่อให้สะดวกต่อการเข้าถึง
วิธีการตรวจสอบของระบบการรับรองมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เช่น นำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยเี พื่อให้ประชาชนใชบ้ ริการในแพลตฟอร์ม และพัฒนาแพลตฟอร์มโดยใช้ AI เพื่อยกระดับมาตรฐาน
การตรวจรบั รองเปน็ มาตรฐานเดียวกัน ลดข้ันตอน ลดเวลา ฯลฯ
ทั้งนี้ กลยุทธ์ในภาพอนาคตของเหล้าเถื่อนเน้นการปลดล็อคด้านกฎหมายและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งต้องศึกษาเกี่ยวกับรายละเอียดของช่องว่างที่อาจเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก การปลดล็อคโดย
ปรบั แกต้ วั บทกฎหมายในแต่ละดา้ นจะสง่ ผลกระทบต่อด้านอื่น ๆ อยา่ งไรบ้าง จำเป็นตอ้ งศึกษาพิจารณาอย่าง
รอบคอบ โดยยึดประโยชน์สูงสุดต่อภาพรวมของประเทศเป็นสำคัญ ควบคู่กับการอุดช่องว่างหรือเตรียม
มาตรการรองรบั สำหรบั ผลกระทบเชงิ ลบท่ีอาจเกดิ ขึ้น
5.1.4 ฉากที่ 4 เหล้านอก มีกรอบยุทธศาสตร์เพื่อรองรับฉากน้ี คือ “นวัตกรรมเทคโนโลยี
เกษตรล้ำ นำสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรปลอดภัยชั้นเลิศ ทะยานสู่ World Kitchen” โดยมุ่งเน้นยกระดับ
เกษตรกร SFM/ YSM สู่การเป็นผู้ประกอบการเกษตร Smart Entrepreneur ด้วยการนำความรู้ด้านนวัตกรรม
และเทคโนโลยเี กษตร และกฎหมาย มาสง่ เสริม สนบั สนุน และผลักดนั การขยายฐานการผลิต การตลาดสนิ ค้าและ
ผลิตภัณฑ์แปรรปู เกษตรปลอดภยั ชน้ั เลศิ ของไทย ทะยานสู่ครวั โลก (World Kitchen)

ภาพท่ี 11 กรอบกลยุทธส์ ำหรับฉากที่ 11 เหลา้ นอก
จากภาพที่ 11 มีแผนกลยุทธ์ย่อย 2 กลยุทธ์ ซึ่งเมื่อนำมาเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์เกษตรและ
สหกรณ์ระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 13 มี
ข้อเสนอแนะ 3 ประเดน็ ดงั นี้

58

ประเด็นที่ 1 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแผน/โครงการเดิมที่สอดคล้องและสนับสนุนภาพ
อนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) ปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่เดิมให้เกิดความเหมาะสมและสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม สามารถคุ้มครองผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างถูกต้องและเป็นธรรม โดยเฉพาะการคุ้มครองสิทธิ
ของเกษตรกร การสนับสนุนช่วยเหลือเกษตรกรที่ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เช่น ระบบสวัสดิการเกษตรกร การ
ควบคมุ มาตรฐานสินค้าเกษตรและปัจจัยการผลิตทางการเกษตร ระบบเกษตรพันธะสัญญาทเี่ ป็นธรรม

(2) เพิ่มช่องทางให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลติ ลดตน้ ทุน และบรหิ ารจัดการการผลติ และการตลาดไดอ้ ย่างเหมาะสม

ประเด็นที่ 2 ข้อเสนอแนะปรับปรุง/เพิ่มเติมแผน/โครงการเดิม เพื่อให้สอดคล้องและ
สนับสนนุ ภาพอนาคตของ Agri-Modern Safety Kitchen

(1) พัฒนาเกษตรกรผูน้ ำ (Smart Farmer/Young Smart Farmer) ให้เป็นศูนย์เรยี นรู้ บ่ม
เพาะ การผลิตสนิ ค้าเกษตรปลอดภัย ใหค้ รอบคลุมในทุกพ้ืนท่ี

(2) สร้างการรับรู้ให้กับเกษตรกรได้เห็นประโยชน์ ความสำคัญของการผลิตสินค้าเกษตร
ปลอดภัย และความจำเป็นของการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของภาคเกษตรในอนาคตข้างหน้า ใน
ระยะเวลา 10 ปี และระยะเวลา 20 ปี

ประเดน็ ที่ 3 ขอ้ เสนอแนะแผน/โครงการใหม่
(1) จดั ต้งั ศูนยก์ ลาง การพัฒนาระบบตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย โดยไดร้ ับการสนับสนุนและ
ความร่วมมือทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกร เพือ่ กบั กบั ควบคุม ประสานงาน บรหิ ารจดั การ ตั้งแตต่ ้นทาง กลาง
ทาง และปลายทาง โดยเนน้ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ลำ้ สมัยมาเป็นเครื่องมือในการขับเคล่ือนการดำเนินงาน
(2) จดั ใหม้ ีเนื้อหาวิชาด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยีบรรจใุ นหลกั สตู รการเรียนการสอนทุกระดบั
(3) เร่งสร้างและขยายเครือข่าย Custer เกษตรกรต้นแบบของการยกระดับจาก Smart
Farmer ส่ผู ู้ประกอบการเกษตรมืออาชพี (Smart Entrepreneur)
(4) ส่งเสริม สนับสนุนเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ ระยะยาว Soft Loan ให้แก่เกษตรกรที่เป็น
ผู้ประกอบการภาคเกษตร
(5) แกไ้ ขกฎหมายให้เป็นไปตามหลักสากล เพ่อื ส่งเสรมิ และสนับสนุนการค้าและการลงทุน
กับต่างประเทศ ปรับปรุง/แก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคทางการค้าและการลงทุนทั้งภายในและ
ต่างประเทศ สนบั สนนุ การบังคบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเครง่ ครัด เช่น กฎหมายดา้ นมาตรฐานสินค้าเกษตร กฎหมาย
ควบคมุ คณุ ภาพปจั จัยการผลติ กฎหมายว่าดว้ ยแหลง่ กำเนดิ สินค้า เพ่ือประโยชนใ์ นการอา้ งองิ ท่มี าสนิ คา้
(6) สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรในรูปแบบใหม่ ท่มี คี ุณภาพสงู และเอกลักษณ์ที่แตกต่าง
จากคู่แข่ง New Hight Quality Products และ Premium Products โดยประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี
สมัยใหม่ผสมผสานกับภูมิปัญญาท้องถิ่น เช่น การพัฒนาต่อยอดสินค้า GI (Geographical Indications)
ผลติ ภัณฑช์ มุ ชน สินค้าอตั ลกั ษณพ์ ืน้ ถ่นิ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการลกู คา้ เฉพาะกลุ่ม (Niche Market) ฯลฯ

5.2 ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายจากภาพอนาคต “ครัวเกษตรปลอดภยั ทันสมยั วถิ ีใหม่ ถกู ใจทุกบา้ น
: Agri-Modern Safety Kitchen”

ในการศึกษาภาพอนาคตของ “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-Modern
Safety Kitchen” ให้เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยด้วยนวัตกรรมและ
เทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีระบบบริหารจัดการตลาด Online สินค้าเกษตรปลอดภยั ครบวงจรในประเทศไทย

59

อีก 10 ปีข้างหน้า ซึ่งเป้าหมายของ Agri-Modern Safety 2 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ศูนย์กลางองค์
ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย ที่มุ่งเน้นให้นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นเพื่อรองรับ
Agri-Modern Safety Kitchen ในด้านการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยของเกษตรกร โดยรวบรวมความรู้ที่
จำเป็นต่อการผลิตสินค้าตลอดห่วงโซ่การผลิตทั้งด้านเกษตร ด้านประมง และด้านปศุสัตว์ พร้อมเชื่อมโยงกับ
ฐานข้อมูลหน่วยงานภาครัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงเกษตรละสหกรณ์ ภาคีเครือข่ายภาคเอกชน และ
สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เพื่อให้เกษตรกรนำความรู้ไปประยุกต์ใช้กับการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2)
ระบบบริหารจัดการตลาด Online สินค้าเกษตรปลอดภัยครบวงจร ที่มุ่งให้นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ด้านบริหารการตลาดสินค้าเกษตร Onlineไปประยุกต์ใช้ ทั้งระบบการสั่งซื้อสินค้าผ่านแอพพลิเคชันให้สินคา้
ส่งถึงผู้บริโภคอย่างรวดเร็ว ระบบการตรวจสอบข้อมูลสินค้าย้อนกลับถึงผู้ผลิต ระบบการวางแผนผลิต และ
ระบบการจำหน่ายสินค้าเกษตรร่วมกับหน่วยงานตัวกลาง ที่ล้วนมีการพัฒนาและยกระดับ เพื่อรองรับ Agri-
Modern Safety Kitchen ซง่ึ ต้องอาศยั การวางระบบบริหารจัดการไว้ตลอดหว่ งโซ่อุปทาน สำหรับการจัดตั้ง
หน่วยงานตัวกลาง 2 หน่วยงาน ประกอบด้วย ตัวกลางภาครัฐ ซึ่งทำหน้าที่ในการรวบรวมองค์ความรู้ท่ี
เกี่ยวข้อง และประสานงานกับหน่วยงานกลางอีก 1 หน่วยงาน ซึ่งอาจเป็นภาคเอกชน หรือสถาบันต่าง ๆ ที่มี
ความพร้อมในการดำเนินงานตามระบบที่กำหนดไว้ ซึ่งหน่วยงานกลางที่ 2 จะมีหน้าที่ในการบริหารจัดการแอพ
พลเิ คชันระหว่างผูผ้ ลติ ผ้บู ริโภค และหนว่ ยงานภาครัฐเพ่ือดำเนินงานตามระบบบรหิ ารจัดการท่ีกำหนด

ผลการศึกษาได้นำเสนอฉากทัศน์ตามทิศทางสถานการณ์ใน 4 ฉาก ได้แก่ ฉากเหล้าต้ม ฉากเหล้าขาว
ฉากเหล้าเถื่อน และฉากเหล้านอก ซึ่งสามารถอธิบายถึงความเชื่อมโยงของแต่ละฉากกับภาพอนาคต“ครัวเกษตร
ปลอดภยั ทนั สมยั วถิ ใี หม่ ถูกใจทุกบา้ น : Agri-Modern Safety Kitchen” วา่ ควรจัดทำแผนและกำหนดกลยุทธ์
ในแต่ละฉากอย่างไร เพื่อให้สามารถนำไปสู่ภาพอนาคตที่กำหนดไว้ ทั้งนี้เพื่อนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูงของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นำไปใช้ประกอบการพิจารณากำหนดมาตรการ นโยบาย และโครงการสำคัญของ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสามารถนำไปใช้เปน็ แนวทางในการจัดทำแผนเผชญิ เหตุ และเตรียมความพร้อม
รับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นได้ในแต่ละฉากทัศน์ ซึ่งกลยุทธ์ที่นำเสนอนี้ จะเน้นบูรณาการเชื่อมโยงด้านการ
ขบั เคลอ่ื นกับหน่วยงานภาคตี ่างๆ ท้งั ภาครฐั ภาคเอกชน ภาคสถาบันการศึกษา และภาคประชาชน สำหรับภาพ
หรือฉากทัศน์ที่คณะผู้จัดทำ (กลุ่มปฏิบัติงาน : GP 5) เห็นว่าสะท้อนสถานการณ์ และประเด็นปัญหาต่างๆที่
เกี่ยวข้อง ณ ปัจจุบัน ต่อการสร้างภาพอนาคต “ครัวเกษตรปลอดภัย ทันสมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุกบ้าน : Agri-
Modern Safety Kitchen” ได้ คอื ฉากที่ 1 “เหลา้ ต้ม” ด้วยการนำผลสรุปประเด็นปญั หา และสถานการณ์
ต่างๆ มาพิจารณาทำให้ทราบถึงประเด็นของปัจจัยสำคัญที่ต้องเร่งแก้ไขมีหลายด้าน อาทิ ด้านบุคลากร ด้าน
ระบบบริหารจัดการสินค้าเกษตรปลอดภัยตลอดห่วงโซ่อุปทาน ด้านความพร้อมของนวัตกรรม เทคโนโลยี
เครื่องมือ ช่องทางการติดต่อสื่อสาร งบประมาณ การบูรณาการเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานให้บรรลุ
เป้าหมายเดียวกัน และด้านกฎหมายที่จะสนับสนุน ผลักดันให้เกิดการขับเคลื่อนงานให้บรรลุผลสำเร็จได้ตาม
เป้าหมาย ดังนน้ั จงึ ขอเสนอแนะกลยุทธ์ หรือขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย เพ่อื ใหก้ ระทรวงเกษตรและสหกรณ์นำไป
พจิ ารณาเพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางสู่เป้าหมายให้ภาพอนาคตเกดิ ขึ้นไดจ้ รงิ พิจารณาได้ดังน้ี

5.2.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายท่ีมกี ารขับเคลื่อนอยู่ ณ ปจั จุบัน ใหม้ ีความสอดคลอ้ งเช่ือมโยงกับ
แผนระดับตา่ งๆ ทีส่ นบั สนุนให้เกิดภาพอนาคต

(1) ตน้ ทาง
▪ กำหนดให้มีการขึ้นทะเบียนเกษตรกร สถาบันเกษตรกร ที่จำหน่ายสินค้าปลอดภัย

บนแพลตฟอร์ม ออนไลน์ กับ หน่วยงานกลาง ตลอดจนพัฒนาระบบ การชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่าน
ระบบเชื่อมโยงหน่วยงานภาครฐั และภาคเอกชนในรูปแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์

60

▪ Big Data ด้านการเกษตรสนับสนุน การวิเคราะห์ตัดสินใจ องค์ความรู้ การจัดการ
ฟาร์มนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยกษ. สั่งการให้ทุกหน่วยงาน ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องในภาพอนาคตของ “Agri-Modern Safety Kitchen” เข้าถึงองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้าน
การเกษตรตลอดห่วงโซอุปทานสินค้าเกษตรปลอดภัยในราคาที่สามารถเข้าถึงได้ ควบคู่กับการส่งเสริมการ
ประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีดจิ ิทัล เพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพการผลติ ผลติ ภาพการผลิต

(2) กลางทาง
▪ สร้างความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ไดแ้ ก่ โครงการเกษตรกรสู่

ธุรกิจเกษตร โครงการพัฒนาเกษตรกรรมย่ังยนื (เกษตรปลอดภัย เกษตรอนิ ทรีย)์
▪ เพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตรด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดย

เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน (จัดทำแผนเสริมสร้างระบบการวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีด้านการเกษตร แผนพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้า แผนบริหารจัดการสินคา้
เกษตรตลอดโซ่อุปทาน แผนสรา้ งมูลคา่ เพม่ิ สินค้าเกษตร ฯลฯ)

(3) ปลายทาง
▪ เพมิ่ ช่องทางให้เกษตรกรสามารถเขา้ ถึงนวตั กรรมและเทคโนโลยีดา้ นการเกษตร เพอ่ื

เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตลดต้นทุน และบริหารจัดการการผลิตและการตลาดได้อย่างเหมาะสม อาทิ AIC:
Agritech and Innovation Center ศนู ย์เทคโนโลยเี กษตรและนวตั กรรม

5.2.2 ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย เพ่ือนำไปปรับปรุงหรือเพ่ิมเติมในแผนงานโครงการเดิมท่ีมีอยู่
ให้มีความสอดคลอ้ งเชอ่ื มโยงกับแผนระดับต่างๆ ทสี่ นับสนนุ ใหเ้ กดิ ภาพอนาคต

(1) ต้นทาง
▪ พัฒนาเกษตรกรผู้นำ (Smart Farmer/Young Smart Farmer) ให้เป็นศูนย์เรียนรู้

บ่มเพาะการผลติ การตลาดสินคา้ เกษตรปลอดภยั ใหค้ รอบคลมุ ในทุกพ้ืนท่ี
▪ สร้างการรับรู้ให้กับเกษตรกรได้เห็นประโยชน์ ความสำคัญของการผลิตสินค้า

เกษตรปลอดภัย และความจำเป็นของการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของภาคเกษตรในอนาคต
ข้างหน้า ระยะ 10 ปี และระยะ 20 ปี

▪ ประยุกต์ใช้นวตั กรรมและเทคโนโลยีเกษตรด้านการผลิต เน้นเพิ่มประสิทธิภาพทั้ง
เชิงคณุ ภาพและเชงิ ปรมิ าณ ในขณะที่ดา้ นระบบตรวจรับรองคุณภาพสนิ ค้าเกษตร ภายใต้แผนระดบั ต่างๆไม่ได้
กำหนดให้มีการสร้างและพัฒนาระบบเทคโนโลยี AI เขา้ มาชว่ ยตรวจรบั รองผลผลิตสนิ ค้าเกษตร ท้ังนี้สามารถ
ดำเนินการแบบคู่ขนานกับหน่วยงานที่รับผดิ ชอบหลักของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และสถาบัน/องค์กรมี
ความนา่ เช่อื ถือในการตรวจรบั รองมาตรฐานสินคา้ ทมี่ อี ยใู่ นพื้นที่

▪ ส่งเสริม ผลักดันให้ SFM YSM เป็นกลุ่ม Start-Up ด้าน Agri-Tech ควบคู่กับ
ยกระดับ SME ใหส้ ามารถคิดคน้ วิจัย พฒั นานวัตกรรมและเทคโนโลยีตลอดกระบวนการผลิต การตลาดสินค้า
เกษตรปลอดภยั ใหน้ ำไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ดง้ า่ ย ไม่ซบั ซอ้ น และเขา้ ถึงง่าย

(2) กลางทาง
▪ ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคับ และกำหนดนโยบาย เพ่ือกระตนุ้ และส่งเสริม

การประยุกต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิตสินค้าเกษตร กำหนดบทลงโทษผู้ผลิตสินค้าที่ก่อให้เกิด
อันตรายกบั ผู้บริโภคโดยเน้นใหเ้ หมาะสมสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจสังคมและส่ิงแวดล้อมสามารถคุ้มครองผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องอย่างเป็นธรรมโดยเฉพาะการคุ้มครองสิทธิของเกษตรกรการสนับสนุนช่วยเหลือเกษตรกรและ
ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรปลอดภัย เช่น ระบบสวัสดิการเกษตรกร ที่กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร (FARMER

61

AID FUND) ควรพฒั นาระบบการจดั การกองทนุ สงเคราะห์เกษตรกรตามหลักธรรมาภบิ าล ตลอดจนส่งเสริมและ
สนับสนุนองค์กรเกษตรกรให้เข้าถึงกองทุนอย่างท่วั ถึงทว่ั ประเทศ การควบคมุ มาตรฐานสินค้าเกษตร และปัจจัย
การผลติ ทางการเกษตร ระบบเกษตรพันธสัญญาที่เปน็ ธรรมใหท้ ้ังผซู้ ื้อและผู้ขาย

▪ ส่งเสริมการประชาสัมพันธ์นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่มีอยู่ให้เกษตรกรเข้าถึงง่าย
และใช้ประโยชน์ เช่น โครงการแพลตฟอร์มเชื่อมโยงเกษตรกรกับ Start-Up ด้านการเกษตรสู่การเป็น
เกษตรกรที่ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี”ของสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. ร่วมกับ
หน่วยงานพันธมิตร ได้แก่ กรมส่งเสริมการเกษตร กรมการข้าว กรมประมง กรมปศุสัตว์ ธนาคารเพ่ือ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร และ บริษัท อินโนสเปซ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อเป็นพื้นที่ทดสอบโดย
เปดิ โอกาสใหน้ ำเสนอนวตั กรรม ด้วยการร่วมทดสอบกับกล่มุ เกษตรกรผ่านแพลตฟอร์มการทำงานร่วมระหว่าง
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สตาร์ทอัพ และกลุ่มเกษตรกร ที่สร้างโอกาสให้ได้พบกับกลุ่มเกษตรกรทุกกลุ่ม
และเป็นตน้ แบบการประยกุ ต์ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยี หรือเรียกวา่ “AgTech Connext”

▪ ปรับปรุงกฎหมาย ข้อบังคับ บทลงโทษในระบบด้านมาตรฐานสินค้าเกษตร
ปลอดภัยตลอดห่วงโซ่ อาทิ กฎหมายรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรดา้ นพืช ประมง ปศุสัตว์ ให้สอดคล้องและ
เปน็ ธรรมทั้งผูผ้ ลติ ผ้ปู ระกอบการสินค้าและผลิตภัณฑแ์ ปรรูป และผู้บรโิ ภค

▪ ปรับปรุง แก้ไข เพิ่มเติม กฎหมายให้เอื้อต่อการนำเทคโนโลยีที่มีอยู่ หรือคิดค้น
พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่มาใช้ในกระบวนการผลิตและพัฒนาสนิ คา้ เกษตร และผลิตภณั ฑเ์ กษตรแปรรูป
ปลอดภัยตลอดห่วงโซ่ ซึ่งต้องประสานเชื่อมโยงการดำเนินงานขับเคลื่อนกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดย
ด้านการผลิต อาทิ กฎหมาย Bio-Tech ที่ควรคุ้มครองให้ความเป็นธรรมกับผู้ประกอบการที่กู้ยืมเงินจาก
สถาบันการเงนิ เอกชน เนื่องจากเป็นธุรกิจทีต่ อ้ งมรี ะยะเวลากูย้ าวนาน จึงมีความเส่ียงสูงจากการเปล่ียนแปลง
อัตราแลกเปลีย่ น กฎหมายการใช้เคร่ืองจักรกลทางการเกษตร IOT ที่ภาครัฐส่งเสรมิ ให้มกี ารนำไปประยุกต์ใช้
แต่ไม่ได้กำหนดกรอบแนวทางที่ชัดเจน และการให้บริการช่วยเหลือกลุ่มผู้ประกอบการเกษตรต่างๆ (ได้แก่
กลุ่มผู้ผลิตสินค้าเกษตรที่เป็น Contract Farming ให้กับผู้ประกอบการรายใหญท่ ี่มีตลาดรองรับชัดเจน กลุ่ม
ผู้ผลติ สินคา้ เกษตรทมี่ ีมลู ค่าเพ่ิมหรือเน้นเจาะตลาดเฉพาะกลุ่ม (Niche Market) เช่น สนิ ค้าเกษตรท่ีปลอดภัย
และกลุ่มผู้ประกอบการธุรกิจร้านอาหารที่ผลิตวัตถุดิบทางการเกษตรเอง โดยเฉพาะในกลุ่มร้านอาหารที่เน้น
ตอบโจทย์ด้านสุขภาพ ) ในขณะที่ด้านการตลาด อาทิ การจัดทำแพลตฟอร์มจำหน่ายสินค้าผ่านช่องทาง
ออนไลน์ ที่หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ต้องกำกับดูแล และแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการธุรกรรมทาง
อเิ ลก็ ทรอนิกส์ภายใต้ พ.ร.บ. ว่าด้วยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 (และทแี่ กไ้ ขเพ่ิมเติม) โดยเฉพาะ
ประเด็นปัญหาที่ผู้ซื้อและผู้ขายสินค้าบนแพลตฟอร์มได้รับผลกระทบจากปัญหาการซื้อขายของออนไลน์ผ่าน
แพลตฟอร์มดิจิทัล ไม่ว่าจะเป็นการแสดงรายละเอียดของสินค้า หรือบริการที่ไม่ชัดเจน การจำกัดตัวเลือกใน
การขนส่ง ได้รับสินค้าล่าชา้ มีความเสียหาย ไม่ตรงปก การฉ้อโกง ผู้ขายไม่สามารถทำตามคำสั่งจองได้ ราคา
ไม่เป็นธรรม ขณะที่ระบบการช่วยเหลือ รับแจ้งร้องเรียนไม่มีประสิทธิภาพ ล่าช้า และที่สำคัญคือ ปัญหาการ
ร่วั ไหลของขอ้ มลู สว่ นบคุ คล

(3) ปลายทาง
▪ ประชาสมั พันธ์และผลักดันใหเ้ กษตรกรและผู้บริโภคนยิ มใชบ้ ริการบนแพลตฟอร์ม

5.2.3 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่ือจัดทำแผนงานโครงการใหม่
(1) ต้นทาง
▪ ปรับโครงสรา้ งหน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก เนน้ สร้างการบรู ณาการทำงานร่วมกับ

ภาคีเครอื ขา่ ย เพื่อขับเคลอ่ื นการบริหารจัดการนวตั กรรมและเทคโนโลยเี กษตร

62

▪ จดั ตง้ั หนว่ ยงานกลางเพื่อส่งเสริม สนบั สนนุ บริการและให้ความช่วยเหลือ กำกับ
ดูแลควบคุมประสานงาน บริหารจัดการตลอดห่วงโซ่อุปทานเพื่อนำไปสู่ Agri-Modern Safety Kitchen โดย
เน้นนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยมาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน ทั้งการจัดการองค์
ความรู้ด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีเกษตรปลอดภัย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านการส่งเสริมการผลติ การกำหนด
มาตรฐานและการใช้เทคโนโลยใี นการตรวจรบั รองมาตรฐานใหเ้ ป็นเอกภาพ มีหน่วยงานทรี่ ับผิดชอบตลอดห่วง
โซ่เปน็ หนว่ ยงานเดียว ที่ประชาชนสามารถติดต่อใชบ้ ริการได้ ณ จดุ เดียว (One stop service) และการตลาด
สินค้าเกษตรปลอดภัยออนไลน์ผ่าน Digital Platform ให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งเกษตรกรรุ่นใหม่ กลุ่ม
Start-Up SME โดยเชื่อมโยงกับ อว.หรือหน่วยงานอื่นๆ เพื่อขอรับการสนับสนุนความร่วมมือทั้งภาครัฐ
เอกชน และเกษตรกร

▪ จัดทำแผนการจัดสรรงบประมาณให้แตล่ ะหนว่ ยงานแบบบรู ณาการตลอดห่วงโซ่
การผลิต เพือ่ สรา้ ง สนับสนนุ พัฒนา และยกระดับระบบสินคา้ เกษตรปลอดภยั ใหเ้ กิดขนึ้ จริงและเป็นรปู ธรรม

▪ ผลักดันการสร้างทักษะ และสนับสนุน เยาวชน, กลุ่ม Start-up/SME สู่การ
แข่งขันในตลาดโลก โดยเชื่อมโยงบูรณาการกับกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม
(อว.) - คิดค้น วิจัยพัฒนา และประยุกต์ใช้ นวัตกรรมใหม่ เพื่อแก้ปัญหาการผลิต ต้นทุน และแรงงาน /
ยกระดบั SME/ YSM เพมิ่ เกณฑก์ ารคัดสรร (เนน้ ศกั ยภาพ > ปรมิ าณ)

▪ พัฒนา และปลูกฝังทักษะดา้ นเทคโนโลยีการเกษตรให้แก่ยุวชน โดยขอรบั การ
สนับสนุนจากสถาบนั การศึกษา (อว.) จับคู่พื้นที่ทำการเกษตรกับนวตั กรรมและเทคโนโลยีให้เหมาะสมตอ่ การ
เพม่ิ ประสิทธภิ าพ และผลิตภาพการผลติ (Land & Technology Matching)

▪ สร้าง leadership Sustainable แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้สามารถขับเคลื่อน
เชิงบรู ณาการด้วย Disruption Leadership ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมาย อยา่ งตอ่ เนือ่ ง เพ่ือนำพา Agri Modern Safty
Kitchen ให้เกิดความย่ังยืนถาวรในโลกอนาคต

▪ จัดให้มีเนื้อหาวิชาด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีบรรจุในหลักสูตรการเรียนการ
สอนทกุ ระดับ

▪ เร่งสร้างและขยายเครือข่าย Cutter เกษตรกรต้นแบบของการยกระดับจาก
Smart Farmer ส่ผู ้ปู ระกอบการเกษตรมอื อาชีพ (Smart Entrepreneur)

▪ ส่งเสริม สนับสนุนเงินทุน ดอกเบี้ยต่ำ ระยะยาว Soft Loan ให้แก่เกษตรกรท่ี
เป็นผู้ประกอบการภาคเกษตร

(2) กลางทาง
▪ นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี โดยพัฒนาแพลตฟอร์ม เพื่อให้สะดวกต่อการเข้าถึง

วิธีการตรวจสอบของระบบการรับรองมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เช่น นำนวัตกรรมและ
เทคโนโลยเี พื่อให้ประชาชนใช้บริการในแพลตฟอร์ม และพัฒนาแพลตฟอร์มโดยใช้ AI เพื่อยกระดับมาตรฐาน
การตรวจรบั รองเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ลดขั้นตอน ลดเวลา

▪ ยกระดับห้องปฏิบัติการในการตรวจสอบมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัยที่มี
มาตรฐานเดียวกันทุกจังหวัดในประเทศไทย กล่าวคือ พัฒนาปรับปรุงให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและ
เกษตรกรในพ้ืนที่เข้าถึงไดง้ ่าย

▪ แกไ้ ขกฎหมายให้เป็นไปตามหลักสากล เพ่ือสง่ เสรมิ และสนับสนุนการค้าและการ
ลงทุนกับต่างประเทศ ปรับปรุง/แก้ไขกฎหมาย กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคทางการค้าและการลงทุน ทั้ง
ภายในประเทศและต่างประเทศ สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด เช่น กฎหมายด้านมาตรฐาน

63

สินค้าเกษตร กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมภาพปัจจัยการผลิตทางการเกษตร รวมทั้งเพิ่มการใช้กฎหมายว่า
ดว้ ยแหลง่ กำเนดิ สินค้า เพื่อประโยชนใ์ นการอ้างอิงทีม่ าของสินคา้

(3) ปลายทาง
▪ สร้างและพัฒนาผลิตภัณฑ์เกษตรในรูปแบบใหม่ ที่มีคุณภาพสูง และเอกลักษณ์ที่

แตกต่างจากคู่แข่ง New Hight Quality Products และ Premium Products โดยประยุกต์ใช้นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีสมยั ใหม่ผสมผสานกบั ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ เชน่ การพัฒนาต่อยอดสนิ ค้า GI (Geographical Indications)
ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน สนิ ค้าอัตลักษณพ์ น้ื ถ่ิน เพื่อตอบสนองความต้องการของลกู ค้าเฉพาะกลุ่ม (Niche Market)

▪ กำหนดให้มีระบบการประกันราคาสินค้าเกษตรปลอดภัย เพื่อยกระดับความ
แตกต่างจากสินค้าทั่วไป สร้างแรงจูงใจแก่เกษตรกร ผลักดันให้เกิดศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้าเกษตร
ปลอดภัยที่ทนั สมัย สำหรบั เกษตรกร สถาบันเกษตรกร

5.2.4 ข้อเสนอแนะดา้ นอ่นื ๆ
(1) ก่อนเริ่มการขับเคลื่อนกลยุทธ์ต่าง ๆ ไปสู่การดำเนินกิจกรรม แผนงานโครงการ

มาตรการ และนโยบาย ควรศึกษาข้อมูลทางเกี่ยวกับ Demand Size ให้มากขึ้น เพื่อให้ทราบถึงส่วนแบ่งทาง
การตลาดและรูปแบบสินค้าเกษตรปลอดภัยที่ตรงความต้องการของผู้บริโภคมากที่สุด เพื่อนำไปสู่การพัฒนา
คิดค้น วิจัย พัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปใหม่ที่มีความต้องการของตลาดสูงสุด ซึ่งเป็นไปตาม
นโยบายตลาดนำการผลติ

(2) กรณีที่มีนักวิจัยที่สนใจพัฒนาต่อยอดทางด้านการวางแผนสร้างระบบการผลิต
การตลาดสินค้าเกษตรผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปที่ปลอดภัยได้มาตรฐานอย่างครบวงจร ควรเน้นการศึกษาถึง
ระบบการตลาดที่ดีและเหมาะสมที่สุด ในแต่ละ Scenario ควรเป็นอย่างไร โดยเฉพาะการสร้างช่องทางการ
จำหนา่ ยและจัดส่งสินค้าท่มี ีความชัดเจนในรายละเอียด โดยเฉพาะข้อมลู ด้านคุณประโยชน์ของสินค้าปลอดภัย
ที่มีต่อผบู้ ริโภค เพอ่ื ให้ผู้บรโิ ภคพึงพอใจและยนิ ดที ี่ซือ้ สนิ คา้ ถึงแมร้ าคาสูงกว่าสินคา้ อน่ื ก็ตาม

(3) การลงทุนด้านนวัตกรรมเทคโนโลยีที่อาจส่งผลกระทบต่อภาพรวมประเทศด้าน
เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม จึงควรสนับสนุนให้มีการศึกษาผลกระทบทางด้านสังคม และเศรษฐกิจที่จะ
เกิดขึ้น หากเห็นว่าการลงทุนในสิ่งเหล่านั้นมีความจำเป็นต่อการพัฒนาที่จะนำไปสู่ภาพอนาคต ซึ่งควรแยก
การศึกษาผลกระทบเป็นรายชนิดนวัตกรรมและเทคโนโลยี เพื่อให้สามารถวิเคราะห์เปรียบ เทียบให้เห็นถึง
ความคุ้มคา่ ในการลงทนุ ด้านการส่งเสรมิ สนับสนนุ การลงทุนน้ัน

(4) ในการลงทุนด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเกษตรสำหรับการผลิต การแปรรูป และ
การจำหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์สินค้าเกษตรรูปแบบใหม่ภายใต้มาตรฐานปลอดภัย อาจมีค่าใช้จ่ายในการ
ลงทุนค่อนข้างสูงสำหรับภาครัฐ เกษตรกร ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรปลอดภัย ดังนั้น ควรวิเคราะห์
Business Model เพื่อให้การดำเนินงานมีทิศทางท่ชี ัดเจน โดยเฉพาะความสัมพันธร์ ะหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ที่
นำไปสกู่ ารสรา้ งคณุ ค่าและมลู คา่ ทางธรุ กิจ โดยเปน็ คุณคา่ ท่สี ามารถนำส่งและแบง่ ปันระหวา่ งผมู้ ีส่วนเก่ียวข้อง
กลยุทธ์ในการแข่งขัน การสร้างสรรค์สินค้าและบริการเพื่อส่งมอบคุณค่าให้กับลูกค้า และสังคมสิ่งแวดล้อม
ทัง้ น้ี ในการวิเคราะห์ Business Model ของการดำเนินงาน “ครัวเกษตรปลอดภัย ทนั สมัย วิถีใหม่ ถูกใจทุก
บ้าน : Scenario Projection : Agri-Modern Safety Kitchen” สามารถแยกออกเป็นรายสินค้าและ
รายกิจกรรมย่อย ๆ ได้ เพื่อความชัดเจน สำหรับรายงานฉบับนี้ขอนำเสนอการวิเคราะห์ Business Model
ภาพรวมของ Agri-Modern Safety Kitchen ดังภาพที่ 12

ภาพท่ี 12 การวเิ คราะห์ Business Model ภ

64
ภาพรวมของ Agri-Modern Safety Kitchen

65

บรรณานกุ รม

Thaipublica (๒๕๖๓). กล้าพูดความจริง. แหล่งที่มา https://thaipublica.org/2020/09/kkp-
research10/ ๐๙ กนั ยายน ๒๕๖๓ ค้นเมอ่ื ๐๗ สิงหาคม ๒๕๖๔

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๒๕๖๓). การขับเคล่ือนศูนย์เทคโนโลยีเกษตรและนวตั กรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (๒๕๖๓). สื่อนำเสนอในการประชุมชี้แจงแนวทางการเสนอโครงการภายใต้

กรอบการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติด
เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ดา้ นเกษตรผ่านระบบทางไกลออนไลน์ (Web Conference)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. แผนปฏบิ ัตริ าชการของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ ๓ ปี (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ยุทธศาสตรเ์ กษตรและสหกรณ์ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙)
กลุ่มธุรกจิ การเงินเกียรตินาคินภัทร (๒๕๖๓). ทศวรรษถัดไปของไทย ธรุ กิจโตอย่างไร เมื่อคนไทยกว่า ๔๐% อยู่
ในวัยเกษียณ. แหล่งที่มา https://thaipublica.org/2020/09/kkp-research10/) ค้นเมื่อ ๐๗
สงิ หาคม ๒๕๖๔
กองนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (๒๕๖๔). การพัฒนาเศรษฐกิจของ
ภาคเกษตรตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คณะกรรมการยทุ ธศาสตร์ชาติ (๒๕๖๑). แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี. ราชกจิ จานุเบกษา
คณะทำงานพฒั นาสารสนเทศการเกษตรระดับประเทศ สำนกั งานเศรษฐกิจการเกษตร (๒๕๖๔). ขอ้ เสนอแนะ
การพฒั นาสินคา้ ข้าวของไทย
คณะอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ข้าวไทย กระทรวงพาณิชย์ (๒๕๖๓). แผนพัฒนาสินค้า และสถานการณ์
สนิ คา้ เกษตรสำคัญของประเทศ
ชวนพิศ อรุณรังสิกุล และ รุ่งนภา ก่อประดิษฐ์สกุล (๒๕๕๖). มาตรฐานความปลอดภัยสินค้าตลอดห่วงโซ่
การผลิต เพอื่ เปน็ ข้อมูลสนบั สนนุ การขบั เคล่ือนยทุ ธศาสตร์ ความปลอดภัยอาหาร: ผัก.
ชาติศิริ โสภณพนิช (๒๕๕๙). เออซี ี ๒๐๒๕ : เชพพงิ เดอะ ฟิวเจอร์ ออฟ อาเซียน" ประเทศไทยกบั ทศวรรษใหม่แห่ง
การพลิกโฉมเศรษฐกิจภายใต้วามร่วมมือเออีซี. เอกสารการประชุมการสัมมนา เออีซี บิสซิเนส
ฟอรมั ๒๐๑๖
มูลนิธิสัมมาชีพ (๒๕๖๑). อนาคตเกษตรอินทรีย์ในอียู : อนาคตเกษตรอินทรีย์ในอียู...? แหล่งที่มา right-
livelihoods.org) ค้นเมอื่ ๐๗ สิงหาคม ๒๕๖๔
ศศิมา สุขสว่าง (๒๕๖๔). กลยุทธ์นวัตกรรมในภาวะวิกฤติ. สื่อนำเสนอในหลักสูตรนักบริหารหารพัฒนาการ
เกษตรและสหกรณร์ ะดบั สงู (นบส.) รนุ่ ที่ ๗๙
ศุภชัย พานิชภกั ด์ิ (๒๕๕๙). เออีซี ๒๐๒๕ : เชพพงิ เดอะ ฟิวเจอร์ ออฟ อาเซยี น" ประเทศไทยกับทศวรรษใหม่แห่งการ
พลิกโฉมเศรษฐกิจภายใต้วามร่วมมือเออีซี. เอกสารการประชุมการสัมมนา เออีซี บิสซิเนส ฟอรัม
๒๐๑๖
สำนักงานเศรษฐกจิ การเกษตร (๒๕๖๓). สถติ ิการค้าสนิ คา้ เกษตรไทยกับต่างประเทศ ปี ๒๕๖๒
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. “การติดกับกับดักประเทศรายได้ปานกลาง” และเกิดความเหลื่อมล้ำด้านรายได้ของ
ประชากรในประเทศมาก. แหล่งที่มา https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-
econ/business/Pages/zero-waste-z3244.aspx ค้นเม่ือ ๐๗ สงิ หาคม ๒๕๖๔


Click to View FlipBook Version