The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภูมิปัญญาท้องถิ่น : ชื่อบ้านนามเมือง ของเก่าเล่าเรื่อง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 美麗mèimei, 2020-11-12 06:31:52

ภูมิปัญญาท้องถิ่น : ชื่อบ้านนามเมือง ของเก่าเล่าเรื่อง

ภูมิปัญญาท้องถิ่น : ชื่อบ้านนามเมือง ของเก่าเล่าเรื่อง

49

50





53

54

55

56

57

58

59

60

61

62

63

64

65

66





69

70

71

72

73

74

75

76

77

78





ภูมปิ ัญญาทอ้เฉงลถมิิน่ ฉชล่อื อบงเ้ามนอื นงามมกุ เดมาอื หงาขรอคงรเกบา่ รเอลบา่ เร๒ื่อ๕ง๐ชปมุ ชี นคณุ ธรรม ศาสนสถาน - ความศรทั ธา
วดั ขวั สะพานภู (มหานกิ าย) องคพ์ ระประธาน พระพทุ ธรปู ใหญว่ ดั บวั สะพานภู
วดั ขวั สะพานภบู า้ นบาก จดั ตงั้ ขน้ึ ประมาณป ี พ.ศ.๒๔๐๐ เจา้ อาวาสรปู แรกคอื
หลวงพอ่ ตว๋ ย และเจา้ อาวาสรูปปัจจบุ ันคอื พระอธิการ อทุ ิน เบตติโก การตัง้ ชอ่ื วัด
แตก่ ่อนบริเวณรอบวดั และรอบหมบู่ า้ น จะมีลา� ห้วยกนั้ ระหวา่ งหมู่บา้ น กบั ภูเขา
(ภผู ากดู ) ชาวบา้ นจงึ ไดพ้ ากนั กอ่ สรา้ งสะพานไมข้ น้ึ เพอื่ ใชเ้ ปน็ เสน้ ทางการดา� รงชวี ติ
หลงั จากสรา้ งสะพานเสรจ็ ชาวบา้ นกไ็ ดจ้ ดั ตงั้ เวรยาม เฝา้ สะพานเพราะกลวั สตั วร์ า้ ย
มาจับกินสัตว์เลี้ยงในหมู่บ้าน ต่อมาจึงได้เปล่ียนช่ือวัดตามชื่อสะพานคือ วัดขัว
สะพานภู (ขัว ในภาษาผไู้ ทย แปลว่า สะพาน)

บ้านชุ มบชานกคุ ณหธ รมร่ทูม ่ี ๑ พระอธิการ อุทนิ เบตตโิ ก
เจา้ อาวาสวดั ขวั สะพานภู
ตำาบลคาำ บก อำาเภอคำาชะอี จังหวดั มุกดาหาร วดั ภผู ากดู (ธรรมยุติกนิกาย) ตง้ั อย่บู นภูผากดู บา้ นบาก หม่ทู ่ ี ๑ บา้ นบาก
บ้านบาก หมทู่ ี ่ ๑ ต�าบลค�าบก อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร ชือ่ เดิมบ้าน ต�าบลค�าบก อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร ปัจจุบันมีพระอธิการสุพรรณ
คา้ งผกั เนา ซง่ึ อยทู่ างทศิ ใตข้ องหมบู่ า้ นในปจั จบุ นั และอกี กลมุ่ หนง่ึ อยบู่ า้ นหนอง เอกคฺตจติ ฺโต เป็นเจา้ อาวาสวดั วัดภูผากดู เปน็ วัดที่ พระอาจารย์เสาร์ กันตสโี ล
นอ่ ง อยทู่ างทศิ เหนอื ของหมบู่ า้ น ตอ่ มามสี ตั วป์ า่ ดรุ า้ ยมาจบั กนิ สตั วเ์ ลยี้ งของชาว เคยจ�าพรรษาอยู่ โดยที่ท่านได้เลือกปฏิบัติธรรมท่ีวัดภูผากูด ถึง ๕ ปี เพราะ
บา้ นตลอด สรา้ งความหวาดกลวั ใหก้ บั ชาวบา้ น ผเู้ ฒา่ ผแู้ กท่ ง้ั สองบา้ นไดป้ รกึ ษา ถ�้าภูเขาแถวน้ันก็ไม่อับชื้น ทั่วบริเวณ จึงเหมาะส�าหรับจะเป็นที่ปฏิบัติธรรม
หารอื กนั วา่ เรานา่ จะมาอยรู่ วมกนั เปน็ หมเู่ ดยี วกนั ทโ่ี นนปา่ บากจากนนั้ ทงั้ สองหมู่ ถา้ เปน็ ดงดบิ มองไมเ่ หน็ พระอาทติ ยแ์ ลว้ จะอยกู่ นั นานไมไ่ ด ้ เพราะจะทา� ใหส้ ขุ ภาพเสยี
กต็ กลงกันยา้ ยมาอยู่รวมกันทีโ่ นนป่าบาก จึงไดต้ ้งั ช่อื หมู่บา้ นวา่ บ้านบาก ภผู ากดู คอื มผี กั กดู ขน้ึ อยตู่ ามตลงิ่ ธารนา้� นนั้ มาก เมอ่ื ผกั กดู ขนึ้ ผกั ทจี่ ะขน้ึ ตามผกั กดู
มากเ็ ชน่ ผกั หนาม ผกั เตา่ เกยี ด และเมอื่ ป ี พ.ศ. ๒๔๕๙ พระอาจารยม์ น่ั ภรู ทิ ตั โต
ไดจ้ า� พรรษา กบั พระอาจารยเ์ สาร ์ กนั ตสโี ล ซงึ่ เปน็ การพบกนั ครงั้ แรก ณ ถา้� ภผู ากดู
ก่ิงอ�าเภอค�าชะอ ี จงั หวดั นครพนม

81

วัฒนธรรมและมรดกภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น : ผลิตภณั ฑช์ มุ ชน

หมอเปา่ งสู วดั ผา้ ฝา้ ยทอมอื

นายผาย หว้ ยทราย กลว้ ยฉาบ
ไมก้ วาดดอกแขม

พาแลงสีเขียว กลมุ่ คดั เมลด็ พนั ธข์ุ า้ ว
พาแลง หมายถึงพาข้าวส�าหรับรับประทานอาหารตอนเย็น บางทีก็เรียก ข้อมลู ติดต่อ :
“พาข้าวแลง” ซงึ่ เปน็ วัฒนธรรมการกินอยา่ งหนง่ึ ท่ีทุกคนในครอบครวั มารว่ มกนั บจ..งั.้า.หน..วบ.ดั.า.ม.ก.ุก. .หด..มา..หทู่ ..าี่ .๑ร.. .๔ต. .ำ๙..บ๑..ล.๑.ค .๐.ำ.บ..ก.. .อ. .ำ.เ.ภ...อ.ค. .ำ..ช..ะ.อ.. ี.
รับประทานอาหารพร้อมหน้าพร้อมตากันซ่ึงก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดีภายใน
ครอบครัวและผู้ร่วมจัดงานพาแลง ก็เพ่ือจัดโอกาสให้คนในครอบครัว หรือคนใน ๐นา๘ย๑สำ-๓เน๖ีย๙ง ๘หว้๐ย๑ท๕ราย (ผใู้ หญ่บ้าน)
หมู่บ้านเดียวกนั
พาแลงสเี ขยี ว ทชี่ มุ ชนบา้ นบาก นา� มาประกอบอาหารสว่ นใหญเ่ ปน็ วตั ถดุ บิ ท่ี
หาได้จากท้องถน่ิ เช่น ผกั กูด หนอ่ ไม้ ดอกแค ข่า เปน็ ต้น
ประเพณี - วัฒนธรรม
ประชาชนในชมุ ชนคณุ ธรรมบา้ นบาก เปน็ ชาวผไู้ ทย มคี วามเชอ่ื และศรทั ธาใน
พระพุทธศาสนามาก โดยรกั ษาศีล ๕ ท�าบญุ เขา้ วดั ปฏบิ ัติธรรมทกุ วนั ธรรมสวนะ
มีวัดและส�านักสงฆ์หลายแห่ง จึงเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมทางศาสนาและ
วัฒนธรรมประเพณี โดยชุมชนมีการสืบทอดวฒั นธรรมประเพณ ี ตามฮตี ๑๒ คอง
๑๔ ด้วยวิถขี องชาวผูไ้ ทย ประเพณที ี่สา� คญั คือ งานบุญขา้ วจ่ี เดอื นสาม บญุ บงั้ ไฟ
บุญข้าวประดับดนิ เป็นต้น

82

ภูมปิ ญั ญาทอ้เฉงลถมิ่นิ ฉชลือ่ อบงเ้ามนอื นงามมุกเดมาือหงาขรอคงรเกบ่ารเอลบา่ เร๒่ือ๕ง๐ชปุมชี นคณุ ธรรม นับจากยุคแรก อัญญาท้าวค�าอ้อสิงหลใหญ ่
(เจา้ ผขู้ า้ ฯ) หลกั บา้ นกบั ทา้ วสวุ รรณะ (คา� หยา) คบู่ า่ วสาว
กบั มอ้ มนางมนุ่ เกลา้ พาลกู หลาน ญาตพิ นี่ อ้ งอพยพมา
จากบ้านเมืองวงั จ�านวน ๖ ครัวเรอื น พร้อมวัวควาย
มาตง้ั บา้ นเรอื น พรอ้ มชา้ งอา้ ยเอก แลว้ กแ็ ยกแกน่ ทา้ ว
หลายคนแยกยา้ ยกนั ไปอยู่ในระแวกใกล้เคียง

ศาสนสถาน - ความศรทั ธา
วดั ปา่ วเิ วกวฒั นาราม หรอื วดั หลวงปจู่ ามตงั้ อย่ ู
บา้ นหว้ ยทราย ตา� บลคา� ชะอ ี รมิ ทาง หลวงหมายเลข
๒๐๔๒ (มกุ ดาหาร-กาฬสนิ ธ)์ุ หลวงปจู่ าม มหาปญุ โญ
เปน็ หนงึ่ ในอาจารยิ าจารยท์ ถี่ อื เครง่ ในพระธรรมวนิ ยั
วัดปา่ ชุวม ิเชวนกคุ วณฒัธ รนร มาราม มน่ั คงในพระปรมตั ถว์ ปิ สั สนากรรมฐาน ดา� เนนิ ชวี ติ
ในมรรคธรรม ทา่ นมรณภาพเมอ่ื วนั ท ี่ ๑๙ มกราคม
บ้านห้วยทราย หมู่ท่ี ๙ ๒๕๕๖ รวมอาย ุ ๑๐๔ ป ี ภายในวดั มสี ว่ นจดั แสดง
อตั ถประวตั แิ ละหลกั ธรรมคา� สอนของทา่ นทา่ มกลาง
ตำาบลคาำ ชะอี อำาเภอคาำ ชะอี จังหวดั มุกดาหาร บรรยากาศรม่ รน่ื นอกจากนนั้ ลกั ษณะเดน่ ของวดั อกี พระบรมธาตเุ จดยี ์
ตน้ ตระกลู ผไู้ ทย บรรพบรุ ษุ บา้ นหว้ ยทรายถนิ่ ฐานเดมิ อยทู่ ส่ี บิ สองปนั นาสบิ อยา่ งหนง่ึ คอื เจดยี บ์ ทู่ องกติ ต ิ เปน็ เจดยี ล์ กั ษณะหา้ ยอด ตง้ั อยบู่ นฐานกวา้ ง ๑๓ เมตร
สองผไู้ ทย เมอื งนา้� นอ้ ยออ้ ยหนตู อนใตข้ องอาณาจกั รนา่ นเจา้ ตอ่ มาไดย้ า้ ยถนิ่ ฐาน ยาว ๑๓ เมตร ความสูงจากพื้น ถึงยอดเจดีย์ ๔๕ เมตร เป็นศิลปะประยุกต์
ลงใตเ้ รอื่ ยมา เพราะเหตจุ ากสภาพภมู อิ ากาศหนาวเยน็ ภยั สงคราม จา� นวนประชากร สรา้ งขนึ้ เมอื่ ป ี พ.ศ. ๒๕๓๐ เพอ่ื บรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตขุ องพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้
ทม่ี ากขนึ้ ทง้ั อตั คดั ขาดแคลน และตอ้ งการอพยพเสาะหาแหลง่ ทา� มาหากนิ ถน่ิ ฐานใหม ่ และพระอรหนั ตส์ าวก เชน่ พระสวี ล ี พระอปุ คตุ พระองคลุ มี าล เปน็ ตน้ ในวนั มาฆบชู าและ
จนมาเมอื งแถงหรอื ปอ้ มเดยี นเบยี นหมใู่ นเวยี ดนาม แลว้ มาตง้ั รกรากอยทู่ เ่ี มอื งวงั วนั วสิ าขบชู าของทกุ ป ี จะมพี ธิ สี รงนา้� อยา่ งยงิ่ ใหญ ่ การเดนิ ทางจากตวั อา� เภอคา� ชะอ ี
หรอื เมอื งวลบี ลุ แี ละสะหวนั นะเขต สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ใชท้ างหลวงหมายเลข ๑๒ (คา� ชะอ-ี สมเดจ็ ) เลยโรงเรยี นวดั หลวงปจู่ ามฯ ซงึ่ ตงั้ อยรู่ มิ ถนน
บา้ นหว้ ยทราย ตง้ั ชอ่ื ตามลา� นา้� หว้ ยทราย หว้ ยทไี่ หลมาจากตน้ นา�้ ผนื ปา่ ภสู ฐี าน ทางซา้ ยมอื ราว ๑ กโิ ลเมตร
ทอดตวั จากผนื ปา่ บา้ นนาปงุ่ ยาวจรดบา้ นหนองเอย่ี นดง บา้ นคา� บก เปน็ สภาพลา� หว้ ย จะพบทางเข้าวัดป่าวิเวก
ทม่ี ดี นิ ทรายรองพน้ื วฒั นาราม อยู่รมิ ถนนทาง
ขวามือ รวมระยะทางจาก
ตวั อา� เภอคา� ชะอ ี ประมาณ
๗ กโิ ลเมตร พระบรมธาตเุ จดยี ์ พระพุทธเจา้ ตมุ้ บา้ นหม่ เมอื ง

83

สาำ นกั แมช่ แี กว้ พระธาตขุ องคณุ แมแ่ กว้ เสยี งลา�้ พระอรหนั ตแ์ หง่ บา้ นคา� ชะอ ี ธรรมฮเตนี ียหมรอื ปจารระตี เพ แปณลี วคา่ วคาวมามปปรระะพพฤฤตติิ
จงั หวัดมกุ ดาหาร เจดยี ์คณุ แมช่ ีแก้ว หรือ เจดียศ์ รีไตรรัตนานสุ รณ ์ ต้งั อยทู่ ่สี า� นักชี อนั ดีงาม
บ้านห้วยทราย ต�าบลค�าชะอี อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร ก่อสร้างเมื่อ
กรกฎาคม ๒๕๔๘ และสร้างเสร็จเม่ือเมษายน ๒๕๔๙ โดยมีแพทย์หญิงเพ็ญศรี สิบสอง หมายถึง ๑๒ เดือน
มกรานนท ์ บรจิ าคเปน็ ปฐมฤกษ์ในการรเิ ริม่ กอ่ สรา้ งเจดยี ์ พรอ้ มคณะศรัทธาจาก รวมความวา่ เป็นขนบธรรมเนียม
ศิษยานุศิษย์ เจดีย์ศรีไตรรัตนานุสรณ์ จัดสร้างข้ึนเพ่ือ ประเพณที ถ่ี อื ปฏบิ ตั กิ นั มาในโอกาสตา่ งๆ ทงั้ ๑๒ เดอื นในรอบป ี เปน็ การผสมผสาน
เป็นอนุสรณบ์ ชู าวิสุทธธิ รรม ในฐานะเปน็ ถูปารหบุคคล พธิ ีกรรมทเี่ กยี่ วกับวถิ ีพุทธ ผ ี พราหมณ ์ ผนวกกับวถิ ีการเป็นอย ู่ การทา� มาหากิน
ฝ่ายสตรี ผูป้ ฏบิ ัตดิ ี ปฏิบตั ิชอบตามหลกั พระธรรมวนิ ัย การอาชพี การละเล่น การสร้างขวัญและกา� ลังใจ
ตามปฏิปทาเพ่อื ทางพ้นทกุ ข์ จนบรรลุมรรคผลถงึ ที่สดุ
ซ่ึงพุทธบริษัทได้พร้อมใจกันสร้างขึ้นถวายไว้ในบวร ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ : ผลติ ภัณฑช์ ุมชน
พระพุทธศาสนา เจดีย์แห่งนี้เป็นเจดีย์ทรงแปดเหลี่ยม ผา้ ไหมทอมอื
ขนาดสูง ๒๕ คณู ๓๐ เมตร กว้าง ๑๖ เมตร ภายในเจดีย์ช้นั แรก มรี ปู เหมอื นอิรยิ า
บทน่งั ของ คุณแมช่ แี ก้ว มเี ครื่องใช้สว่ นตัว พร้อมภาพชีวประวตั ิ ชนั้ สอง(ชนั้ บน) ขอ้ มลู ตดิ ต่อ :
มีรูปเหมือนอิริยาบท น่ังสมาธิ เป็นท่ีบรรจุอัฐิธาตุของคุณแม่ชีแก้วบริเวณรอบๆ บจ..ัง.า้ .หน..วห.ัด.ว้.ม.ย.ุก.ท.ด.ร.าา..หย..า .หร.. ม.๔.ู่ท.๙.่ ี.๙๑.. .๑ต..๐า�..บ..ล..ค..�า.ช..ะ..อ.. ี .อ..�า.เ.ภ..อ..ค. า� ชะอ ี
เจดยี ์มีความสงบรม่ รนื่ ด้วยตน้ ไมเ้ ลก็ ใหญ่ เหมาะแกก่ ารสงบจิตใจ ๐น...า๘.ย..๒เ.ฉ.-.ล๑..ีย.๐.ว..๘.ส.๒.ุว..๙ร.ร.๗.ณ..๗.ม..ง.ค..ล.. .(.ผ..ูใ้.ห...ญ..่บ..า้..น.. .ห..ม..ู่ .๙..)
๐.น..า๘.ย..๗ภ..-ัก.๘.ด..๖ี.เ.ส.๐.ยี.๔.ง..ล๕..้ำา๔. .(.๙ผ..ู้ใ.ห..ญ...บ่ ..้า..น.. .ห..ม.. ู่ .๓.. .).........
ภมู ปิ ญั ญา - ความเชอื่ ๐.น..า๘.ย..๙ส..อ-.๙.ง..๔.ผ..๓วิ ..ข๗..าำ .๙ .(.๑ผ..ู้ใ.๗ห..ญ...บ่ ..า้ ..น.. .ห..ม..ู ่ .๑..๒..)...........
ความเชื่อของคนโบราณท่ีช่างสังเกต
จดจา� ทา� เปน็ สถติ ิ บนั ทกึ เปน็ ตา� ราเพอื่ เปน็ ๐นา๘ย๙เส-น๙่ห๔์ ผ๓วิ ๗ข๙ำา ๑(ผ๗้ใู หญบ่ า้ น หมู ่ ๑๓)
ภมู ชิ วี ติ ภมู ปิ ญั ญา ตา� ราเรยี น หรอื สรา้ งขวญั
กา� ลงั ใจหรอื มงุ่ ไปในทางดบั อาถรรพ ์ แกก้ รรม
แกเ้ ขด็ แกข้ ดึ แกพ้ ษิ กลบั สคู่ วามสงบรม่ เยน็
ปูพ้ืนมาหมู่บ้าน มีท้ังพุทธ-ผี- พราหมณ์-
ไสยศาสตร ์ จงึ มปี มู พนื้ ของความเชอื่ ตามภมู ิ
ของศาสนา วถิ ชี วี ติ ปกตมิ น่ั คงในพระพทุ ธศาสนา ทงั้ มหานกิ าย และธรรมยตุ กิ นกิ าย

ประเพณี - วฒั นธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี ท่ีปฏิบัติสืบกันมาจนปัจจุบัน ยังคงอิงอยู่กับ
ฮีตสิบสองคองสิบส่ี อันเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาติพันธุ์ลาว
ซ่ึงชนเผ่าอิสานยังคงถือปฏิบัติ แม้จะเป็นวิถีเก่าแก่ แต่ยังคงน�ามาซ่ึงความผาสุก
ความเจริญรุ่งเรืองเป็นเอกลักษณ์ เป็นอัตลักษณ์ของชาติพันธุ์และท้องถิ่น และ
ยงั คงเปน็ ปัจจัยหลกั ในการด�ารงความเป็นชนชาตขิ องชนเผา่ มาโดยตลอด

84

ภูมิปญั ญาท้อเฉงลถมิ่นิ ฉชลือ่ อบงเา้ มนอื นงามมกุ เดมาือหงาขรอคงรเกบา่ รเอลบ่าเร๒ื่อ๕ง๐ชปุมชี นคุณธรรม โดยม ี นายพรมมา บตุ รดวี งค ์ (ผใู้ หญบ่ า้ นคนแรก), นายอทิ ธพิ ล เสยี งลา้� , นาย
วรี พนั ธ ์ สภาพนั ธ,์ นางอทุ ศิ า สรุ เสยี ง, นายสรุ ศกั ด ์ิ สงู เนนิ และนายธรี พล อาจหาญ
(คนปจั จบุ นั )

วดั พชุทุ ม ชธนนคคุ ณรธารภร มิบาล ศาสนสถาน - ความศรทั ธา
วดั พทุ ธนคราภบิ าล ตงั้ อยเู่ ลขท ี่ ๒๒๕ บา้ นดอนสวรรค ์ หมทู่ ่ี ๑ ตา� บลนา้� เทยี่ ง
ตำาบลบนา้ าำ้ เนที่ยดงออนำาเภสอวคาำรชระคอี ์จหังหมวัดู่ทมี่กุ ๑ดาหาร อา� เภอคา� ชะอ ี จงั หวดั มกุ ดาหาร สงั กดั คณะสงฆม์ หานกิ าย ทด่ี นิ ทต่ี งั้ วดั มเี นอ้ื ท ี่ ๘ ไร ่
๓๗ ตารางวา โฉนดท่ีดินเลขท่ี ๗๕๓ อาณาเขต ทศิ เหนอื ประมาณ ๓ เส้น ๔ วา
หมู่บา้ นดอนสวรรค์ ย้ายออกจากบ้านน้า� เทีย่ ง หมู่ท ่ี ๖ ตา� บลบา้ นซง่ อา� เภอ จดถนนสาธารณะ ทศิ ใต้ประมาณ ๔ เสน้ ๑๐ วา จดทงุ่ นา ทศิ ตะวนั ออกประมาณ
ค�าชะอี เม่ือพ.ศ. ๒๕๑๗ มาเป็นบ้านดอนสวรรค ์ หมู่ท ่ี ๑๒ ต�าบลบ้านซ่ง เดอื น ๑ เสน้ ๑๔ วา จดหมบู่ า้ น ทศิ ตะวนั ตกประมาณ ๒ เสน้ ๑๖ วา จดหมู่บ้าน อาคาร
สงิ หาคม ๒๕๒๕ ไดข้ อแยกจากต�าบลซ่งมาเป็นต�าบลน้�าเทยี่ ง ก�านันคอื นายเคน เสนาสนะประกอบด้วยอโุ บสถกวา้ ง ๗ เมตร ยาว ๑๒ เมตร สรา้ ง พ.ศ.๒๔๙๓ เป็น
ศรีสาพันธ์ ผูใ้ หญ่บ้านคอื นายพรมมา บุตรดีวงค์ ต่อมาคือ นายอิทธิพล เสยี งลา�้ อาคารทรงไทยครงึ่ ตกึ ครง่ึ ไม้ ศาลาการเปรยี ญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๘ เมตร สรา้ ง
ปัจจบุ ันคอื นายธีระพล อาจหาญ พ.ศ.๒๕๑๑ เปน็ อาคารทรงไทยชนั้ เดยี ว กฏุ สิ งฆ ์ จา� นวน ๕ หลงั เปน็ อาคารไม ้ ๒ หลงั
คร่งึ ตกึ ครง่ึ ไม ้ ๓ หลงั สร้าง พ.ศ.๒๕๑๕ ศาลาเอนกประสงค์ กวา้ ง ๑๒ เมตร ยาว
๑๒ เมตร สรา้ ง พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นอาคารทรงไทย ห้องนา้� ๒ หลัง ๑๒ ห้อง โรงทาน

๑ หลงั โรงเรยี นปริยตั ธิ รรม ๑ หลงั ปูชนียวตั ถุมพี ระพุทธ
รูปแบบพระพทุ ธชนิ ราชจา� ลอง ขนาดหน้าตกั กว้าง ๖๕ น้ิว
ประดิษฐานในอุโบสถ ขนาดหน้าตักกว้าง ๔๗ นิ้ว ๑ องค ์
๓๗ น้วิ ๒ องค์ นอกจากน้มี ีพระพทุ ธรปู ขนาดหน้าตกั กว้าง
๓๐ น้วิ ๓ องค์ สร้างเม่อื พ.ศ. ๒๕๐๙, พ.ศ.๒๕๓๐ และ
พ.ศ.๒๕๓๖ ตามล�าดับ วัดพุทธนคราภิบาล ต้ังเมื่อ พ.ศ.
๒๔๖๑ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๑
เขตวิสุงคามสมี า กวา้ ง ๔๐ เมตร ยาว ๘๐ เมตร การบรหิ าร
และการปกครอง มเี จา้ อาวาสเท่าทท่ี ราบนาม คอื รูปท ี่ ๑

85

พระถ่อนแกว้ พ.ศ. ๒๔๖๑-๒๔๙๓, รปู ท ี่ ๒ พระเล่ยี ม ขา� คม พ.ศ.๒๔๙๔-๒๕๑๑, ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ : ผลติ ภัณฑ์ชุมชน
รปู ท ี่ ๓ พระครูสาธติ พนมการ พ.ศ.๒๕๑๒-๒๕๑๘, รปู ท ่ี ๔ พระครนู วการคณุ ากร การเขยี นภาพจิตรกรรมไทย
พ.ศ.๒๕๑๙-๒๕๒๓, รูปท่ี ๕ พระครูสิริปภากร ต้ังแต่พ.ศ.๒๕๒๔-๒๕๓๘,
รปู ท ี่ ๖ พระครวู มิ ลฉนั ทกจิ พ.ศ.๒๕๓๙-ปจั จบุ นั การศกึ ษามโี รงเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม สานสวงิ ไมก้ วาดจากดอกแขม
แผนกธรรม เปิดสอนเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๓ แผนกบาลี เปิดสอนเม่ือ พ.ศ.๒๕๒๗
ศนู ยศ์ กึ ษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทติ ย ์ เปดิ สอนเมอื่ พ.ศ.๒๕๓๐-๒๕๓๓ ศนู ยอ์ บรม ขอ้ มูลตดิ ตอ่ :
เดก็ กอ่ นเกณฑใ์ นวดั เปดิ สอนเมอ่ื พ.ศ.๒๕๓๖ และโรงเรยี นผใู้ หญใ่ นวดั เปดิ สอนเมอื่ บ้านดอนสวรรค์ หม่ทู ี่ ๑ ต�าบลนา้� เทย่ี ง
พ.ศ.๒๕๑๑-๒๕๓๐ นอกจากนมี้ ีหนว่ ยอบรมประชาชนประจา� ตา� บล (อ.ป.ต.) อ�าเภอคา� ชะอี จังหวัดมกุ ดาหาร ๔๙๑๑๐

ภูมิปญั ญา - ความเชอ่ื .........................................................
ชาวบ้านดอนสวรรค์ นับถือศาสนาพุทธ
ส่ิงศักด์ิสิทธิ์ท่ีชาวบ้านนับถือคือ พ่อปู่ศรีสุราษ และ น๐า๙ย๕ธีร-๑ะพ๙ล๒อ๗า๐จห๓า๓ญ (ผู้ใหญ่บา้ น)
พ่อปู่สอื มีทล่ี านร่มโพธิ ์ วัดพุทธนคราภบิ าล
กลองมโหระทึก ที่พบที่อ�าเภอค�าชะอ ี
มีขนาดเสน้ ผ่าศูนย์กลาง ๘๐ เซนตเิ มตร สูง
๗๐ เซนติเมตร ที่หน้ากลองมีลายนูนเป็น
รูปคล้ายดวงอาทิตย์หรือ ดวงจันทร์มีรัศม ี
๓๒ แฉก ไม่มี
ประติมากรรม
รูปกบอยูห่ น้ากลอง
ประเพณี - วัฒนธรรม
บุญประเพณี เดือน ๖ / บุญบ้ังไฟ / สรงน�้า
พระพุทธรูปก่ึงศตวรรษภูน้อย / ประเพณีแห่เทียน
เข้าพรรษา / ประเพณีสรงน�้า / รดน�้าด�าหัวขอพร
ผใู้ หญผ่ สู้ งู อาย ุ / ประเพณอี อกพรรษาฟงั ธรรมเทศนาฯ

86

ภมู ิปัญญาทอ้เฉงลถมิ่นิ ฉชล่ืออบงเ้ามนอื นงามมุกเดมาอื หงาขรอคงรเกบา่ รเอลบา่ เร๒่อื ๕ง๐ชปุมชี นคุณธรรม จากค�าเล่าขานกันต่อๆ มาจากรุ่นสู่รุ่น ผู้ก่อต้ังบ้านซ่งน้ันคือหลวงปู่
จลุ ลาวงวสั สา และมเี จา้ เมอื งชอื่ วา่ อญั ญาขดั ตยิ ะ เปน็ ผปู้ กครองในสมยั นนั้ ไดร้ ว่ มกนั
ก่อตั้งบ้านซ่งข้ึนมา จนถึงยุคสมัยเปล่ียนการปกครองเป็นลูกหลานท่านเจ้าเมือง
อญั ญาขดั ตยิ ะ ปัจจุบันการปกครองผนู้ า� ชมุ ชนรวมทัง้ สน้ิ ๑๘ คน

วัดชบุสม้านาชซนมง่ คคั ุ ณหคมธธีทู่ รี่รร๒มรม ศาสนสถาน - ความศรัทธา อญั ญเจาา้คอราบู วาาอส้อวนดั น้อย
วดั สามคั คธี รรม รา� (วดั ปา่ บา้ นซง่ ) ตงั้ เมอ่ื
ตาำ บลซ่ง อาำ เภอคาำ ชะอี จงั หวดั มุกดาหาร พ . ศ . ๒ ๔ ๖ ๘ โ ด ย ส ร ้ า ง ข้ึ น บ ริ เ ว ณ ท ี่ 87
เดิมท่ีบ้านซ่งน้ันช่ือว่าบ้านขัวแป้น ต่อมาเกิดโรคห่าระบาด จึงได้ย้ายมา ป ่ า ส า ธ า ร ณ ป ร ะ โ ย ช น ์ ป ร ะ จ� า ห มู ่ บ ้ า น
ต้ังบ้านใหม่ที่ชุมชนปจั จบุ ัน และไดต้ ั้งชือ่ หม่บู ้านใหมว่ ่า “บ้านซ่ง” การตง้ั ชื่อวา่ (ป่าช้าหนองเม็ก) ปัจจุบันตั้งอยู่ที่ บ้านเลขท ่ี
บ้านซ่งน้ันถือเอาจากชัยภูมิท่ีตั้งชุมชนเพราะมีป่ามากต้นไม้เยอะหรือเรียกอีก ๗๖ หม ู่ ๒ บา้ นซง่ ตา� บลบา้ นซง่ อ�าเภอค�าชะอ ี
อยา่ งหนึ่งว่าปา่ ละเมาะ มคี วามหมายและเรียกเปน็ ภาษาทอ้ งถน่ิ วา่ “ซ่ง” จังหวัดมุกดาหาร มีเน้ือที่ ๒๘ ไร่ ๒ งาน
มีบนั ทกึ ใบลานนิทานธรรมสมัยก่อนเล่มทีเ่ ขียนลงในใบลานวา่ มีการบันทึก ปัจจุบันวัดสามัคคีธรรม (วัดป่าบ้านซ่ง) ได้มี
เมอ่ื จลุ ศกั ราช ๑๗๒ ถา้ นับเป็น พ.ศ.๒๓๖ ฉะน้ันชาวบ้านซ่ง จึงมีความเช่ืออย่าง ผลงานอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนไดร้ บั การแตง่ ตงั้ จากหนว่ ยงาน
หนักแน่นวา่ หมบู่ ้านของตนได้มีอายุเก่าแก ่ ถงึ ๑,๒๐๐ กวา่ ปมี าแล้ว สา� นกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวดั มกุ ดาหารและ
สา� นกั งานวฒั นธรรมจังหวดั มกุ ดาหาร คือ
๑. ศนู ยป์ ฏบิ ตั ธิ รรมประจา� อา� เภอคา� ชะอี
๒. ศูนย์พัฒนาคณุ ธรรมประจา� อา� เภอ
คา� ชะอี
๓. ศูนยพ์ ระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์

ภูมปิ ัญญา - ความเชอื่ ภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ : ผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน
สิ่งศักด์ิสิทธ์ิที่ชาวบ้านให้ความเคารพกันมาตลอดคือ องค์หลวงปู่จุลลา
ผู้น�าพาความสุขสู่ลูกหลาน และมีวัตถุมงคลโบราณที่สิมเก่าท่ีชาวบ้านถือเป็น
สง่ิ ศกั ดท์ิ ธแิ์ ละกราบไหวข้ อพร

เสื้อเยบ็ มือ

ประเพณี - วัฒนธรรม เครือ่ งจักสาน
ประเพณขี องชุมชนบ้านซ่งน้ันคอื บุญเดือน ข้อมลู ติดตอ่ :
๔ หรือ บุญผะเหวดนั้นเอง ชาวบ้านก็จะลงมา บ้านซง่ หมู่ที ่ ๒ ต�าบลซง่ อ�าเภอค�าชะอ ี
ช่วยกันเตรียมงานและตกแต่งวัดวาอาราม จ. .ัง. .ห. .ว.ัด. .ม. .ุก. .ด. .า. .ห. .า.ร. . .๔. .๙. .๑. . .๑. .๐. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
พร้อมน�าวัฒนธรรมชุมชนของตนมาถ่ายทอดให้
ลูกหลานรุ่นตอ่ ไป การละเลน่ ประจา� หมู่บ้าน คือ นายแวว อาจหาญ (ผู้ใหญบ่ ้าน บา้ นซ่ง หมู่ที่ ๒)
การบรรเลงกลองกิ่งและการฟ้อนร�า ๐. . .๖. . .๑. .-. ๔. . .๖. . .๕. .๑. . .๖. .๒. . .๐. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

88 นายประใส สภุ าพนั ธ์ (ผใู้ หญบ่ า้ น บา้ นซง่ หมทู่ ่ี ๖)
๐. . .๖. . .๕. .-. ๒. . .๔. . .๘. .๔. . .๑. .๒. . .๒. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

อัญญาครู บาอ้อนน้อย
Anyaaon๒๕๓๓
๐. . .๙. . .๕. .-. ๖. . .๖. . .๓. .๙. . .๔. .๒. . .๔. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

ภมู ิปญั ญาท้อเฉงลถมิน่ิ ฉชลอ่ื อบงเา้ มนือนงามมกุ เดมาอื หงาขรอคงรเกบ่ารเอลบา่ เร๒อ่ื ๕ง๐ชปมุ ชี นคณุ ธรรม บา้ นหนองบง มผี ู้กอ่ ตงั้
คนแรก ช่ือ นายเชียง จ�าปา
ซ่ึงเป็นบุคคลย้ายถ่ินฐาน
ม า จ า ก แ ข ว ง จ� า ป า ศั ก ดิ์ ,
น า ย ห ล ว ง น า ม บุ ต ร ,
นายสุนทอน รัตนวงค์,
นายสม รัตนวงค์, นายวิลัย
รัตนวงค์, นายอ�านวย
รัตนวงค์ และนายโจม
รัตนวงค ์ (คนปัจจบุ นั )

วดั บศ้าชนรุ มหีปชนรนอะงคบุดณงิษธหรฐมราูท่มรี่ ๙าม ศาสนสถาน - ความศรทั ธา
วัดศรปี ระดษิ ฐาราม ดว้ ยผคู้ นท่ีอพยพมา
ตำาบลหนองเอ่ยี น อาำ เภอคำาชะอี จังหวดั มุกดาหาร ล้วนแตศ่ รัทธาเคารพนับถอื พระพทุ ธศาสนา
ในอดีตบ้านหนองบง มีช่ือเดิม คือ บ้านหัวหนองบง ต้ังแต่ปี พ.ศ.๒๔๕๕ จึงได้ปรึกษาหารือกัน เพ่ือสร้างวัดจึงเห็น
ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๖๐ ไดเ้ ปล่ียนช่อื หมู่บา้ นมาเป็น บ้านหนองบง จนถึงปัจจุบัน พร้อมตกลงกันเอาสถานที่ด้านทิศตะวันออก
ตั้งแต่สมยั โบราณประมาณ ๒๔๕๐ ปีที่ผา่ นมา มผี ู้คนยา้ ยถิน่ ฐานมาจากเมือง เฉยี งเหนอื ของหมบู่ า้ น เดมิ ชอื่ วดั ศรฐี าน ตอ่ มา
จา� ปา จากสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวมาตง้ั ถน่ิ ฐานอยทู่ ห่ี นองในบรเิ วณ ชาวบา้ นเหน็ วา่ หา่ งไกลกบั ชมุ ชน จงึ ยา้ ยมาตง้ั
หม่บู า้ น จึงต้งั ชือ่ ว่า บา้ นหัวหนองบง ตอ่ มาประมาณ ๑๐ ป ี ได้เปลี่ยนชอื่ บา้ นเป็น อยใู่ นทป่ี จั จบุ นั ชอ่ื วดั เปน็ วดั ศรปี ระดษิ ฐาราม
บา้ นหนองบง มาจนถงึ ปจั จบุ ัน มาจนถึงปัจจุบัน การบริหารการปกครองม ี
เจ้าอาวาส คือ พระครูสิทธิการโกวิท ด�ารง
ตา� แหนง่ เมื่อป ี พ.ศ.๒๕๒๘ ถงึ ปัจจบุ นั

89

ภูมิปัญญา - ความเชอ่ื ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ : ผลิตภณั ฑช์ ุมชน กลว้ ยฉาบ
พิธีกรรมเหยาเป็นการติดต่อส่ือสารกันระหว่างมนุษย์กับวิญญาณ ขา้ วต้มมดั
โดยใชบ้ ทกลอนและทา� นองลา� มแี คนประกอบการใหจ้ งั หวะ ผทู้ า� หนา้ สอื่ สารคอื หมอเหยา
การเหยาแต่ละครั้งจะมีเคร่ืองคายประกอบพิธีกรรมเหยาถือว่าเป็นวิธีการบ�าบัด
รักษาพื้นบ้านอย่างหน่ึงที่รักษาการเจ็บป่วยของชาวบ้าน อันเน่ืองจากการละเมิด
หรือสรา้ งความไมพ่ อใจตอ่ ผี ซ่ึงชาวบา้ นเชือ่ ว่าเปน็ ผีมอี �านาจ ความร้สู กึ อารมณ์
ความโลภ โกรธ หลง เมอื่ เกดิ การเจบ็ ปว่ ย หรอื ประสบภยั ธรรมชาติ กจ็ ะเชอื่ วา่ เกดิ
จากการละเมดิ ตอ่ ผจี งึ ตอ้ งมพี ธิ บี วงสรวง กราบไหว ้ บชู า เพอ่ื ใหผ้ มี าชว่ ยบา� บดั ขจดั
ปัญหาความเดอื ดร้อน และเชือ่ วา่ ผีจะดลบันดาลใหเ้ ปน็ ไปตามตอ้ งการได้

กระติ๊บขา้ วจากเชือก ผ้าทอมือ ผา้ ขาวมา้

ประเพณี - วัฒนธรรม ธุง ไมก้ วาดจากดอกแขม
ชาวบา้ นหนองบง มกี ารสบื สานประเพณี ฮตี ๑๒ คอง ๑๔ ครบทุกประเพณี
และมกี ารฟอ้ นผหี มอ หรอื หมอเหยา อกี ทง้ั มกี จิ กรรมรว่ มกบั ชาวบา้ นและโรงเรยี น ข้อมูลติดต่อ :
โดยจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติขึ้นภายในบริเวณวัด และมีการจัดอบรมนักเรียน บา้ นหนองบง หม่ทู ่ ี ๙ ต ำบลหนองเอ่ยี น อ ำเภอค ำชะอี
(ค่ายคณุ ธรรม จริยธรรม) มีการบรรพชาเณรภาคฤดรู อ้ น มีกจิ กรรมตักบาตรถนน .จ.งั. .ห. .ว.ัด. .ม. .ุก. .ด. .า. .ห. .า.ร. . .๔. .๙. . .๑. .๑. .๐. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
สายวัฒนธรรมที่โดดเด่นและสืบทอดมานานนับปี มีความสวยงาม พ้ืนบ้าน นายโจม รัตนวงค์ (ผู้ใหญ่บ้าน)
ความเปน็ อสี าน ๐. . .๘. . .๒. .-. ๑. . .๔. . .๔. .๗. . .๘. .๔. . .๔. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
นายทมุ่ รตั นวงค์ (ผู้ช่วยผใู้ หญบ่ า้ น)
90 ๐. . .๘. . .๙. .-. ๒. . .๗. . .๖. .๙. . .๙. .๗. . .๔. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
พระครสู ทิ ธกิ ารโกวทิ เจา้ อาวาสวดั ศรปี ระดษิ ฐาราม
๐๘๓-๓๓๒๓๗๕๘

ภมู ปิ ญั ญาท้อเฉงลถมิ่ินฉชล่ืออบงเ้ามนอื นงามมกุ เดมาือหงาขรอคงรเกบ่ารเอลบ่าเร๒อ่ื ๕ง๐ชปมุ ชี นคุณธรรม เลา่ วา่ ผนู้ า� มาคนแรกชอ่ื โคตร และนางเพยี ปจั จบุ นั มศี าลทรี่ า� ลกึ ถงึ คนเกา่ แก่
ท่ีเป็นผูน้ า� ทางจติ วญิ ญาณคอื ปสู่ ดี า ชาวบ้านจะจดั งานไหวศ้ าลขึ้น ๓ ค�่า เดือน ๓
ทกุ ปี สว่ นทางศาสนามพี ระสงฆ์ทค่ี นนับถือมากคือ พระญาคูใหม ่ ซ่งึ ไดม้ รณภาพ
เมือ่ ปี ๒๕๖๑

ชบุ ม้านวชแนดั ขคแุ้ ณหจมธง้ ู่ทร ี่ รม ศาสนสถาน - ความศรทั ธา
วัดแจ้ง บา้ นแข้ ม ี ๓ วัด แตม่ ชี ่อื เดียวกนั คือ วดั แจ้ง และได้แยกสาขาปฏบิ ัติ
๕ ออกไปอีก ๒ แหง่ คือ ป่าชา้ และ โรงเรียนไทยรัฐวิทยา ๑๑ มีเจดีย์สุรยิ ะมงคล
ตาำ บลบา้ นค้อ อำาเภอคำาชะอี จังหวัดมกุ ดาหาร ต้ังอยทู่ ่ีป่าชา้

บ้านแข้ ต�าบลบ้านค้อ อ�าเภอค�าชะอี จังหวัดมุกดาหาร ขนาดประมาณ 91
๓๐๐ ครวั เรอื น แบง่ เปน็ ๒ หมบู่ า้ น คอื หมทู่ ี่ ๕ และหมทู่ ี่ ๖ ประชากรราว ๑,๐๐๐ คน
ตง้ั อยใู่ นทร่ี าบลอ้ มดว้ ยทงุ่ นา มแี หลง่ นา�้ คอื ลา� หว้ ยสามสาย หว้ ยอตี า่ ง หว้ ยกลุ า และ
หว้ ยฮองนา้� คา� หนองนา้� ทสี่ า� คญั คอื หนองผอื และหนองชาด
ชาวบ้านแข้ เล่าต่อกันมาว่า อพยพมาจากฝั่งซ้ายแม่น้�าโขงบ้างว่ามาจาก
เมอื งวงั อา่ งคา� (วรี ะบรุ ใี นปจั จบุ นั ) ขา้ มมาราว ๆ ๒๐๐ - ๓๐๐ ป ี มาตงั้ ชมุ ชนอยใู่ นทลี่ มุ่
เรยี กวา่ ทงุ่ แข ้ เพราะสมยั กอ่ นพบจระเขแ้ ถว ๆ หว้ ยกลุ า (หรอื หว้ ยแข)้ ทางตอนเหนอื
ของหมบู่ า้ น

ประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ : ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน
ศลิ ปะประเพณวี ฒั นธรรมกเ็ ปน็
แบบชาวอสี านทว่ั ๆ ไป ปัจจบุ ันการ หมวกสาน
นับถือผี ลดลงมากงานเด่นของ
หมู่บ้านคือ ประเพณีสงกรานต ์ ผา้ ทอมือ ไม้กวาดดอกแขม
มรี ปู แบบการจดั เดน่ ชดั คอื แหข่ บวน
เลน่ นา้� รอบบา้ น ขอ้ มูลติดตอ่ :
บ้านแข ้ หมทู่ ี ่ ๕ ต�าบลบ้านค้อ อ�าเภอคา� ชะอี
92 จ. .ัง. .ห. .ว.ดั. .ม. .ุก. .ด. .า. .ห. .า.ร. . .๔. .๙. .๑. . .๑. .๐. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

นายนรศิ ปัญญาบุตร
(ขา้ ราชการบา� นาญทีป่ รกึ ษาดา้ นวัฒนธรรม)

๐๖๓-๔๘๙๖๖๘๘

ภมู ิปญั ญาทอ้เฉงลถิมิน่ ฉชลื่ออบงเา้ มนอื นงามมุกเดมาอื หงาขรอคงรเกบา่ รเอลบา่ เร๒่อื ๕ง๐ชปุมชี นคณุ ธรรม

ชวุ มดั ชศนรคุสี ณมุ ธ รงั รคม์ คนเผา่ ไทยอสี านเป็นชนเผ่าทใี่ หญท่ ่สี ุดในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื บา้ นโคก
สวา่ ง ตา� บลเหลา่ สรา้ งถอ่ ภาคอสี านของประเทศไทย มวี ถิ ชี วี ติ และขนบธรรมเนยี ม
บา้ นโคกสวา่ ง หมทู่ ่ี ๓ ประเพณีที่เป็นเอกลกั ษณ์ในทอ้ งถิ่น เม่ือประมาณป ี พ.ศ. ๒๓๗๑ มชี นกลมุ่ หนึง่ ได้
อพยพจากฝงั่ ซ้ายของแม่น้�าโขงเขา้ มาอยใู่ นประเทศไทย ในป ี พ.ศ. ๒๓๗๑ ซ่งึ ตรง
ตาำ บลเหล่าสรา้ งถ่อ อาำ เภอคำาชะอี จังหวัดมุกดาหาร กบั สมัยของรชั กาลที ่ ๓-๔ ประมาณนี้
บา้ นโคกสวา่ ง ตา� บลเหลา่ สรา้ งถอ่ อา� เภอคา� ชะอ ี จงั หวดั มกุ ดาหาร บา้ นโคกสวา่ ง ชนเผา่ ของชมุ ชนบา้ นโคกสวา่ งไดอ้ พยพมาจากเมอื งหนองบก แขวงสะหวนั นะเขต
แตเ่ ดมิ ขน้ึ ตา� บลหนองเอย่ี น อา� เภอคา� ชะอ ี จงั หวดั นครพนม ในสมยั นน้ั ชอ่ื บา้ นโคกเลาะ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว อยู่ตรงข้ามกับอ�าเภอธาตุพนม จังหวัด
หม่ทู ี ่ ๓ ตอ่ มาเมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๐๒ ตัดค�าวา่ เลาะออกเหลือบา้ นโคกเฉยๆ ในเขต นครพนม โดยอพยพมาดว้ ยกัน ๑๓ ครอบครวั แรกๆ ไปอาศัยอยแู่ ถวบา้ นชะโนด
ปกครองของอา� เภอคา� ชะอ ี มบี า้ นทใ่ี ชช้ อ่ื วา่ บา้ นโคก ๒ หมบู่ า้ น คอื บา้ นโคก ตา� บล เขตอา� เภอหวา้ นใหญ่ ปจั จุบนั ท้ัง ๗ ครอบครวั โดยการนา� กล่มุ ท้าวคา� แก้ว นางทง
บ้านค้อ ทางราชการจงึ เพิม่ ค�าว่าสว่างใส่ห้อยหลงั เป็น บ้านโคกสว่าง เม่อื พ.ศ. ผู้เป็นภรรยา กไ็ ด้อพยพมาเร่อื ยๆ จนถงึ ล�าห้วยมุก อาศยั อยใู่ นเขตบา้ นโคก บา้ น
๒๕๔๓ บา้ นโคกสวา่ ง แบง่ การปกครองออกเปน็ ๒ หมบู่ า้ น คอื หมทู่ ี่ ๗ นายดวงจนั ทร ์ พังคอง อ�าเภอเมอื งมกุ ดาหาร ปัจจบุ ันชนกลมุ่ นีเ้ ป็นเผ่าไทยข่า ชนเผา่ ไทยขา่ มี
สาลีส ี เปน็ ผู้ใหญบ่ ้านคนแรกของหมทู่ ี่ ๗ ปัจจุบนั นายคณู บตุ รโคตร เป็นผใู้ หญ่ ภาษาพูดเป็นของตน กลุ่มของท้าวค�าแก้ว ได้ปรึกษากันว่าอยู่ไปก็ล�าบากในการ
บา้ นหมู่ท ี่ ๗ สอื่ สาร เพราะภาษาพดู ตา่ งกนั เลยตกลงกนั วา่ ตอ้ งอพยพไปอกี เพอื่ หาทเ่ี หมาะสม
แตก่ ย็ งั ยดึ ลา� หว้ ยมกุ เปน็ หลกั ในการอพยพ มาตงั้ หลกั อยดู่ อนหมากงอ้ ง อยตู่ รงนนั้
ประมาณ ๓ ป ี บางปถี งึ ฤดฝู นน้�าในลา� หว้ ยมกุ ทว่ ม ทา� ใหเ้ กิดความยากลา� บาก จึง
ปรกึ ษากนั ยา้ ยมาจากตรงนนั้ ถงึ ทอ่ี ยใู่ นปจั จบุ นั ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร เหน็ วา่ ตรงน้ี
เปน็ โนน นา้� ในลา� หว้ ยมกุ ทว่ มไมถ่ งึ เปน็ แหลง่ ทอี่ ดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยของปา่ เชน่ ตน้ เลาะ
ต้นหวาย ต้นปรง ดอกกระเจียว ของป่าต่างๆ เพราะตรงนี้เป็นป่าโคกป่ากุง
(ป่าพลวง) โดยอาศัยพี่น้องบ้านเหล่าสร้างถ่อ ที่เป็นชุมชนมาก่อนแล้ว ไกลกัน
ประมาณ ๑ กโิ ลเมตร ท้าวค�าแกว้ พร้อมคณะได้ตกลงกันต้ังชื่อหม่บู ้าน โคกเลาะ
บ้านชุมชนใหญ่ข้ึนตามล�าดับ ก็ได้สร้างวัดเพ่ือเป็นท่ียึดเหน่ียวทางจิตใจและได้
เปลีย่ นชอื่ หมู่บา้ นตามลา� ดบั บา้ นโคกสวา่ ง หมทู่ ี่ ๓ ตา� บลเหล่าสร้างถ่อ อ�าเภอ
ค�าชะอ ี จังหวดั มกุ ดาหาร

93

ศาสนสถาน - ความศรทั ธา ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น : ผลติ ภัณฑช์ ุนชน
หลวงพ่อก�าไร ชยั มงคล พระพทุ ธรปู ประธานในอโุ บสถวดั ศรีสุมังค ์ หลวงพอ่ ตะกรา้ สานพลาสตกิ ไมก้ วาดจากดอกแขม

สขุ สบายพระพุทธรปู ประธานในศาลาการเปรยี ญวัดศรสี มุ ังค ์
ศาลเจ้าป่ตู า บา้ นโคกสว่าง เปน็ ส่ิงศกั ดิ์สิทธ์ทิ ่ีชมุ ชนโคกสวา่ ง
นบั ถือเคารพบชู ามาตลอด

กลว้ ยฉาบ

พระครูสมุ ังค์ กจิ โกศล ภูมปิ ญั ญา - ความเช่อื
หลักค�าสอนของพระพุทธศาสนา คือ ศีล สมาธิ
ปัญญา เป็นหลักความเชื่อและยึดเหน่ียวจิตใจของ มะม่วงกวน ปา้ ยตกแต่งจากไม้ เครือ่ งจกั สาน
ชมุ ชนโคกสวา่ งมาโดยตลอดไมเ่ คยละเวน้ มกี ารทา� บญุ
ตกั บาตร ฟงั ธรรมเทศนา ปฏบิ ตั ธิ รรม ถอื ศลี อโุ บสถ ใน
ช่วงเข้าพรรษา เช่อื ในการทา� ดีได้ดี ท�าชว่ั ได้ช่วั

ประเพณีวฒั นธรรมท้องถิ่น
ตามฮตี ๑๒ คอง ๑๔ ของไทยอสี านประเพณที ป่ี ฏบิ ตั สิ บื ทอดกนั โดยไมล่ ะเวน้ เห็ดนางฟ้าและเหด็ ขอนขาว
ทา� กันทุกๆ ปี เชน่ ข้อมลู ติดต่อ :
บบุญญุ เเดดอืือนน ๕๓ มาฆบูชา (บญุ ก่องข้าวใหญ่ ขา้ วจ่ที าไข่ร่วมใจวนั มาฆบชู า) บ้านโคกสว่าง หมู่ท ่ี ๓, ๗ ต�าบลเหลา่ สร้างถอ่ อา� เภอค�าชะอี
รดน�้าขอพร ใหข้ องขวัญผู้สงู อาย ุ (บุญตีโปงแลง จ. .งั. .ห. .ว.ัด. .ม. .ุก. .ด. .า. .ห. .า.ร. . .๔. .๙. .๑. . .๑. .๐. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
แกงหยวกกลว้ ยหวาน สงกรานต์บ้านโคกสวา่ ง)
บบบญุุญุญเเเดดดืืือออนนน ๘๙๖ วสิ าขบูชาใหญร่ วมใจเวียนเทยี น นายเดวิทย์ คนเพยี ร (ผใู้ หญบ่ า้ น บา้ นโคกสวา่ ง หมทู่ ่ี ๓)
อาสาฬหบชู า ลดละเลกิ กอ่ นเข้าพรรษา ๐. . .๖. . .๕. .-. ๓. . .๘. . .๑. .๖. . .๕. .๕. . .๗. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ข้าวประดบั ดิน
บบบญญุุญุ เเเดดดอืือือนนน ๑๑๑๒๑๐ กขจุด้าฐวนิตสใูมหากกมาร่บวูชมาใดจอสกบื ขท้าอวด ร อวัฒพรนะธพรรทุ มธ เจา้ เสด็จจากสวรรค์ นายคูณ บุตรโคตร (ผใู้ หญบ่ า้ น บา้ นโคกสวา่ ง หมทู่ ี่ ๗)
ประเพณีทไ่ี ด้กลา่ วมาน้ีชุมชนโคกสว่างจดั กนั มาทกุ ๆ ป ี ไมเ่ คยเว้น เพราะเป็น ๐. . .๘. . .๐. .-. ๓. . .๑. . .๘. .๐. . .๒. .๓. . .๔. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
ศิลปะวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชนโคกสว่าง จัดสืบทอดกันมาเป็นเวลานานแล้ว
และยงั เป็นประเพณีเลย้ี งเจ้าปู่ตาอกี ด้วยที่ปฏบิ ตั กิ นั ทุกๆ ปี พระครูสมุ งั คกจิ โกศล เจา้ อาวาสวัดศรสี ุมงั ค์
๐๖๔-๘๙๐๐๕๘๘

94





ภูมิปัญญาท้อเฉงลถิมิน่ ฉชลอ่ื อบงเา้ มนอื นงามมกุ เดมาือหงาขรอคงรเกบ่ารเอลบา่ เร๒ือ่ ๕ง๐ชปมุ ชี นคุณธรรม ศาสนสถาน - ความศรัทธา
วัดโพธศ์ิ รแี ก้ว กอ่ สรา้ งเสรจ็ เม่ือ พ.ศ.๒๓๓๙ โดยมีท่านญาครอู รณุ จารูธัมโม
ชุ ม ช น คุ ณ ธ ร ร ม และกลุม่ ขนุ ศรสี งคราม กลุ่มเจ้านุลี ซ่งึ อพยพมาจากเมืองวงั เมอื งคา� ออ้ ประเทศ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เป็นผู้น�าในการสร้างวัด แล้วต้ังชื่อว่า
บ้านวกดัา้ นโเพหลธือ์ิศงดรงแี หกม้วูท่ ่ี ๕ “วัดอรุณสี” ได้มีค�าประกาศให้เป็นวัดถูกต้องตามกฎหมาย เม่ือ พ.ศ.๒๔๓๙
ในปีพ.ศ. ๒๓๕๘ ขุนศรีสงครามได้น�าต้นโพธิ์มาจากเมืองวัง ซ่ึงเป็นต้นโพธิ์จาก
ตำาบลหนองแคน อาำ เภอดงหลวง จงั หวดั มกุ ดาหาร อินเดียมาปลูกที่วัด จึงได้เปล่ียนช่ือของขุนศรีสงคราม และช่ือต้นโพธ์ิรวมกัน
จากการบอกเล่าของผู้เฒ่าผู้แก่และการสัมภาษณ์ผู้สูงอายุในหมู่บ้านบอกว่า ให้ชอ่ื วา่ “วดั โพธศิ์ รีแก้ว”
ชาวผู้ไทยบ้านก้านเหลืองดง เดิมอพยพมาจากเมืองวัง ประเทศสาธารณรัฐ ในรัชกาลที่ ๗ ได้มีพระบรมราชทานวิสุงคามสีมาครั้งแรก เม่ือวันท ่ี
ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ไดอ้ พยพมาพรอ้ มกบั ชาวผไู้ ทย อา� เภอหนองสงู ครงั้ แรก ๒๔ สิงหาคม พ.ศ.๒๔๕๖ เขตวิสงุ คามสมี ายาว ๔ วา กวา้ ง ๒ วา ๑ ศอก โดยมี
ตง้ั ถนิ่ ฐานบรเิ วณดงปา่ ไร ่ อยหู่ า่ งจากหมบู่ า้ นปจั จบุ นั ประมาณ ๔ กโิ ลเมตร อยไู่ ด้ พระอธิการอบุ าฬ ิ กราบบังคมทูลพระกรุณาขอเป็นทว่ี ิสุงคามสมี า ตอ่ มาเมอ่ื วันท่ ี
ประมาณ ๑๕ ป ี กย็ า้ ยมาอยทู่ รี่ มิ หว้ ยคา� บอน (หว้ ยคา� บอนเยอ้ื งๆ กบั โรงเรยี น) ซงึ่ ๒๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๕ ในสมัยรัชกาลท่ี ๙
เปน็ ทต่ี ง้ั หมบู่ า้ นมาจนถงึ ปจั จบุ นั แรกๆ ตงั้ ชอื่ วา่ “กา้ นเหลอื ง” ตามชอ่ื หว้ ยครงั้ แรก ไ ด ้ มี พ ร ะ บ ร ม ร า ช โ อ ง ก า ร พ ร ะ ร า ช ท า น
ตอ่ มากเ็ ลยเพมิ่ คา� วา่ ดง ลงทา้ ยเปน็ “กา้ นเหลอื งดง” เพราะทางการเหน็ วา่ สบั สน วิสุงคามสีมา ครั้งท่ี ๒ เขตวิสุงคามสีมา กว้าง
กบั บา้ นกา้ นเหลอื ง อา� เภอนาแก จงั หวดั นครพนม ซงึ่ สมยั นนั้ บา้ นกา้ นเหลอื งดงจะ ๓๐ เมตร ยาว ๗๐ เมตร โดยมพี ระครสู ทิ ธสิ ารธรรม
ขน้ึ กบั จงั หวดั นครพนม ตอ่ มาแยกมาขน้ึ กบั จงั หวดั มกุ ดาหาร คา� วา่ “ดง” ลงทา้ ยได้ เป็นผู้ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาต
มาจาก อา� เภอดงหลวงนนั้ เอง
97

ภมู ปิ ญั ญา - ความเชอื่ ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ : ผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน
ความเชอื่ ดง้ั เดมิ ของชาวผไู้ ทย ชาวผไู้ ทย ผา้ ไหมทอมอื
บ้านก้านเหลืองดง อ�าเภอดงหลวง
จังหวัดมุกดาหาร มีความเชื่อและ กระติ๊บข้าว
พิธีกรรมมาต้ังแต่คร้ังโบราณได้รับ
อิทธิพลมาจากพิธีกรรมของศาสนา ขอ้ มลู ตดิ ต่อ :
พราหมณห์ รอื ฮนิ ด ู และพระพทุ ธศาสนา บา้ นก้านเหลอื งดง หมู่ท ี่ ๕ ต�าบลหนองแคน
แบบเถรวาทและมหายานทคี่ ลกุ เคลา้ อ�าเภอดงหลวง จงั หวดั มุกดาหาร ๔๙๑๔๐
ป ร ะ ส ม ก ล ม ก ลื น กั น จ น ค ล ้ า ย
เปน็ หนง่ึ เดยี ว ประกอบกบั เปน็ ชมุ ชน .........................................................
เกษตรกรรมส่วนใหญ่ มีวิถีชีวิต
ที่ปฏิบัติกันมายาวนานเป็นแบบ นายสญั ญา เหงา้ โอสา (ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บา้ น)
พึ่งพาธรรมชาติ อ�านาจเหนอื ธรรมชาต ิ สิ่งศกั ด์สิ ิทธ ์ิ อิทธิฤทธ ์ิ ปาฏหิ ารยิ ์ ผสี าง ๐๙๓-๔๒๓๘๘๐๐
เทวดา และพญานาค เป็นต้น ซึ่งคติความเช่ือเหล่าน้ี ได้ประยุกต์รวมเข้ากับ
พิธีกรรมทางศาสนา กลายเป็นธรรมเนียมประเพณีขนบประเพณี และจารีต
ประเพณีถือปฏิบัติในการด�ารงชีวิตประจ�าวันตั้งแต่เกิดจนตาย ท่ีเกี่ยวเนื่องกับ
ศาสนาพราหมณ ์ ความเชอ่ื ดงั้ เดมิ และความเชอ่ื ทางพระพทุ ธศาสนาซง่ึ ในงานวจิ ยั น้ี
จะศกึ ษาถงึ ความเชอ่ื เรอ่ื งสงิ่ ศกั ดส์ิ ทิ ธอิ์ ทิ ธฤิ ทธป์ิ าฏหิ ารยิ ค์ วามเชอ่ื เรอื่ งผ ี ความเชอ่ื
เรอื่ งพญานาค และบงั้ ไฟพญานาค ความเชอื่ เรอ่ื งกรรม บญุ -บาป นรก-สวรรค์

ประเพณวี ฒั นธรรมทอ้ งถนิ่
การละเล่นกลองต้มุ

98


Click to View FlipBook Version