หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 กฎหมาย
กับการดาเนินชีวติ ประจาวัน
1. ความหมายและความสาคัญของกฎหมาย
1.1 ความหมาย
ความหมายของ “กฎหมาย” น้ัน มีนักปรัชญา
และนักกฎหมายให้คานิยามไว้แตกต่างกัน เช่น หลวง
จารูญเนติศาสตร์ อธิบายว่า “กฎหมาย คือ กฎข้อบังคับ
ว่าด้วยการปฏิบัติซ่ึงผู้มีอานาจของประเทศได้บัญญัติขึ้น
และบังคับให้ผู้ท่ีอยู่ในสังกัดของประเทศนั้นถือปฏิบัติ
ตาม”
จากท่ีกล่าวมาข้างต้น สรุปได้ว่า “กฎหมาย
หมายถึง ข้อบังคับของรัฐอันเป็นส่วนหน่ึงของการจัด
ระเบียบทางสังคม เพื่อใช้ควบคุมความประพฤติของ
พลเมือง หากผู้ใดกระทาการฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษหรือ
ผลร้ายอย่างใดอย่างหน่ึง โดยเจ้าหน้าท่ีของรัฐเป็น
ผู้ดาเนินการบงั คับ”
1.2 ความสาคัญของกฎหมาย
ทุกสังคมจาเป็นต้องมีการกาหนดกฎระเบียบ
ข้ึนมา เพื่อควบคุมและจัดระเบียบสังคม ซ่ึงกฎระเบียบ
ของสังคมขนาดใหญ่ก็คือกฎหมายนั่นเอง ความสาคัญของ
กฎหมายสรุปได้ ดงั น้ี
1. สร้างความเป็นระเบียบแก่สังคม
และประเทศชาติ หากทุกคนรู้ถึงสิทธิของตนตาม
บทบัญญัติของกฎหมายว่ามีมากน้อยเพียงใด และไม่
ล่วงล้าสิทธิของผู้อ่ืน สังคมน้ันก็จะมีแต่ความสงบสุข เช่น
สทิ ธใิ นทรพั ยส์ นิ สทิ ธิในการประกอบอาชพี
2. ทาให้การบริหารและพัฒนา
ประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การที่ประชาชนส่วน
ใหญ่ของประเทศรู้ถึงหน้าที่และปฏิบัติหน้าท่ีของตนตาม
กฎหมายอย่างเคร่งครัดก็จะทาให้การบริหารประเทศของ
รฐั บาลเปน็ ไปอยา่ งราบร่ืน
3. เป็นหลักในการจัดระเบียบการ
ดาเนินชีวิตให้แก่ประชาชน ทาให้สังคมเกิดความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยขึ้น เช่น เมื่อมีเด็กเกิดใหม่ กฎหมายก็
กาหนดให้เจ้าบ้านหรือบิดามารดาไปแจ้งเกิด เพ่ือขอรับสูติ
บัตรเป็นหลักฐานการเกิด เม่ืออายุครบ 7 ปี กฎหมายก็
กาหนดให้ต้องทาบัตรประจาตัวประชาชน เม่ือเสียชีวิต
กฎหมายก็กาหนดให้ต้องแจ้งเจ้าหน้าที่เพ่ือขอรับใบมรณ
บตั ร
กล่าวได้ว่า กฎหมายมีความสาคัญต่อสังคมเป็น
อย่างมาก หากคนในสังคมรู้และปฏิบัติตนตามกฎหมาย
นอกจากจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติแล้ว ผู้ท่ีได้รับ
ผลประโยชน์สูงสุดก็คือบุคคลผู้ปฏิบัติตนตามกฎหมาย
น่นั เอง
2. กระบวนการในการตรากฎหมาย
การตรากฎหมายแต่ละประเภท จะต้องเป็นไปตาม
บทบัญญตั ิแหง่ กฎหมายที่ใหอ้ านาจในการตรากฎหมายไว้ ดังน้ี
1. พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู
กฎหมายท่ีตราข้ึนในรูปแบบพระราชบัญญัติ เพ่ือ
กาหนดรายละเอียดท่ีเป็นกฎเกณฑ์สาคัญเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่ง
รัฐธรรมนูญในบางมาตราที่บัญญัติหลักการไว้อย่างกว้างๆ ใน
เรื่องใดเรื่องหน่ึง ให้มีความกระจ่างแจ้ง ชัดเจน และสมบูรณ์
ยงิ่ ขึ้น
2. พระราชบญั ญัติ
บทบัญญัติแห่งกฎหมายท่ีพระมหากษัตริย์ทรงตราข้ึน
โดยคาแนะนาและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภา
ผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา การเสนอร่างพระราชบัญญัติจะเสนอ
ไดก้ แ็ ตโ่ ดยคณะรฐั มนตรี สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรจานวนไม่น้อย
กวา่ 20 คน หรือผ้มู สี ทิ ธเิ ลอื กต้ังจานวนไมน่ ้อยกวา่ 10,000 คน
3. พระราชกาหนด
กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคาแนะนา
ของคณะรัฐมนตรี เพ่ือใช้ในกรณีฉุกเฉินท่ีมีความจาเป็นรีบด่วน
อันมิอาจจะหลีกเล่ียงได้ เพ่ือประโยชน์ในการรักษาความ
ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคง
ในทางเศรษฐกจิ ของประเทศ หรือป้องกนั ภัยพบิ ัตสิ าธารณะ
4. พระราชกฤษฎกี า
กฎหมายท่ีพระมหากษัตริย์ทรงตราข้ึน โดยคาแนะนา
ของคณะรัฐมนตรี หรือฝ่ายบริหาร ตามอานาจที่กาหนดไว้ใน
รัฐธรรมนูญ หรือตามพระราชบัญญัติ หรือตามพระราชกาหนด
เพื่อการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล โดยพระราชกฤษฎีกา
ถือวา่ มศี กั ดิ์ตา่ กวา่ พระราชบญั ญัติและพระราชกาหนด
5. กฎกระทรวง
กฎหมายที่ออกตามพระราชบัญญัติ หรือพระราช
กาหนด อันเป็นกฎหมายแม่บท ออกโดยฝ่ายบริหาร อันได้แก่
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวง โดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี
6. ขอ้ บญั ญัติองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
กฎหมายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งตรา
ขึ้นและใช้บังคับเป็นการทั่วไปภายในเขตอานาจขององค์กร
ปกครองส่วนส่วนท้องถ่ิน เช่น เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ
กรุงเทพมหานคร เปน็ ตน้
2.1 ข้นั ตอนการตรากฎหมาย
ในที่น้ีจะขอกล่าวถึงกระบวนการตราพระราชบัญญัติ
เพ่ือเป็นตัวอย่างในการศึกษา โดยทั่วไปร่างพระราชบัญญัตินั้น
สามารถกาหนดเร่ืองต่างๆ ตามหลักการท่ีประสงค์จะให้มีผล
บังคับในสังคมได้ทุกเรื่อง มีข้อจากัดเพียงว่าต้องไม่ขัดหรือแย้ง
กบั รฐั ธรรมนญู หรอื ขัดตอ่ หลกั กฎหมายอน่ื
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจะต้องเสนอให้สภา
ผู้แ ทน ร าษ ฎ รพิ จ าร ณ าก่ อ น โด ยมีก ร ะบ ว นก า รต ร า
พระราชบัญญัตใิ นรัฐสภา ดังตอ่ ไปนี้
1) การพจิ ารณาในสภาผแู้ ทนราษฎร ได้
กาหนดเป็น 3 วาระ ดงั น้ี
วาระท่ี 1 ขัน้ รับหลกั การ
สภาจะพิจารณาและลงมติว่า จะรับหลักการไว้
พิจารณาตอ่ ไปหรือไม่ โดยผู้เสนอรา่ งพระราชบัญญัติฉบับน้ันจะ
ช้ี แ จ ง ห ลั ก ก า ร แ ล ะ เ ห ตุ ผ ล ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ส น อ ข อ ง ร่ า ง
พระราชบัญญัติ เม่ือผู้เสนอช้ีแจงแล้วก็ให้สมาชิกสภาผู้แทน
ราษฎรอภิปรายได้ ไม่ว่าจะอภิปรายค้าน หรือสนับสนุน หรือ
ถามข้อสงสัย หรือตั้งข้อสังเกต ประธานสภาผู้แทนราษฎรจะ
เปิดโอกาสให้ผู้เสนอร่างตอบช้ีแจงตามที่มีผู้ตั้งคาถามหรือให้
ขอ้ สงั เกต
วาระท่ี 2 ข้นั พจิ ารณาในรายละเอียดของร่างพระราชบญั ญัติ
มี 2 ลักษณะ คือ
1. สภาผู้แทนราษฎรมีมติให้ดาเนินการพิจารณาร่าง
พระราชบญั ญัติโดยคณะกรรมาธิการเตม็ สภา ซึ่งจะใชส้ าหรับการ
พจิ ารณาร่างพระราชบัญญัติท่ีมีความจาเป็นรีบด่วนที่จะต้องออก
ใช้บังคับ หรือเป็นการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติท่ีมี
รายละเอยี ดไม่มากนกั โดยจะไม่มขี ้นั ตอนการยน่ื คาขอแปรญตั ติ
2. สภาผู้แทนราษฎรมีมติแต่งตั้งและมอบหมายให้
คณะกรรมาธิการคณะใดคณะหนึ่งเป็นผู้พิจารณา การพิจารณา
ในลักษณะนี้ หากว่าสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรท่ีไม่ได้รับการ
แต่งตั้งให้เป็นกรรมาธิการชุดนั้นเห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมร่าง
พระราชบัญญัติ ก็ให้เสนอคาขอ “แปรญัตติ” ต่อประธาน
คณะกรรมาธิการท่ีพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นได้ ภายใน 7
วนั
วาระท่ี 3 ข้ันลงมติเหน็ ชอบ
สภาผู้แทนราษฎรจะลงมติเห็นชอบ แล้วให้ส่งต่อไป
ยงั วุฒสิ ภา แตถ่ ้าไมเ่ หน็ ชอบรา่ งพระราชบญั ญตั ินั้นก็เป็นอันตก
ไป
2) การพิจารณาในวุฒิสภา ให้กระทาเป็น 3 วาระ
เช่นเดียวกับการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรแต่จะต้อง
พิจารณาตามกาหนดเวลา กล่าวคือ ถ้าหากเป็นกรณีของการ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติท่ัวไปต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จ
ภายใน 30 วนั เวน้ แต่วุฒสิ ภาจะไดล้ งมติขยายเวลาออกไปเป็น
กรณีพิเศษไม่เกิน 30 วัน หากวุฒิสภาพิจารณาไม่เสร็จทันตาม
ก า ห น ด เ ว ล า จ ะ ถื อ ว่ า วุ ฒิ ส ภ า ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ช อ บ ร่ า ง
พระราชบญั ญัตนิ ัน้ การพจิ ารณาของวฒุ สิ ภาทาได้ 3 กรณี คอื
1. เห็นชอบ แล้วให้นายกรัฐมนตรี
ดาเนินการนาขึ้นทูลเกล้าฯ เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และ
ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาใช้บงั คับเป็นกฎหมายต่อไป
2. ไม่เหน็ ชอบ เป็นการท่ีวุฒิสภายับย้ังร่าง
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ น้ั น ไ ว้ ก่ อ น แ ล ะ ส่ ง ก ลั บ คื น ไ ป ยั ง ส ภ า
ผูแ้ ทนราษฎร
3. แก้ไขเพิ่มเติม โดยดาเนินการแจ้งให้
สภาผู้แทนราษฎรทราบเพื่อจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกัน
พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น เม่ือพิจารณาเสร็จแล้วก็จะ
รายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติท่ีคณะกรรมาธิการได้
พิจารณาร่วมกันต่อสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ถ้าสภาทั้ง
สองเห็นชอบด้วยกับร่าง พระราชบัญญัติท่ีคณะกรรมาธิการ
รว่ มกันพจิ ารณาแล้วใหถ้ อื ว่าร่างพระราชบัญญัตินั้นได้รับความ
เหน็ ชอบของรัฐสภา ให้นายกรัฐมนตรีนาข้ึนทูลเกล้าฯ เพ่ือทรง
ลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาใช้บังคับ
เปน็ กฎหมายตอ่ ไป
2.2 การมีส่วนรว่ มของประชาชนในการตรากฎหมาย
เป็นแนวทางหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงอานาจอธิปไตย
เป็นของปวงชนชาวไทย ตามหลักการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยของไทย ดังที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
บัญญัติไว้ โดยก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับของรัฐ รัฐต้องจัด
ให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน วิเคราะห์ผลกระทบ
ต่อประชาชน เพื่อประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรา
กฎหมายทุกข้ันตอน นอกจากน้ี ประชาชนยังมีสิทธิในการมี
ส่วนร่วมเพ่ือตรากฎหมายด้วยตนเอง ท้ังในระดับชาติและ
ระดบั ทอ้ งถิ่น
3. กฎหมายท่เี ก่ียวขอ้ งกับตนเองและครอบครวั
กฎหมายท่เี กีย่ วข้องกับตนเองและครอบครัวที่
นักเรียนควรรู้ ได้แก่ กฎหมายแพ่งเก่ียวกับ
ความสามารถของผู้เยาว์ กฎหมายเกี่ยวกับบัตรประจาตัว
ประชาชน และกฎหมายแพ่งเกยี่ วกบั ครอบครัว
3.1 กฎหมายแพ่งเกีย่ วกบั ความสามารถของผ้เู ยาว์
ผู้เยาว์ คือ เด็กหรือบุคคลซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ
บุคคลที่จะพ้นจากการเป็นผู้เยาว์มี 2 กรณี คือ เมื่ออายุครบ
ย่ีสิบปีบริบูรณ์ และเมื่อทาการสมรสตามบทบัญญัติของ
กฎหมาย คือ ชายหญิงเม่ือมีอายุครบสิบเจ็ดปีบริบูรณ์ และ
ได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรม ซ่ึงได้แก่ บิดา
มารดาหรอื ผปู้ กครอง (ในกรณีท่ีไม่มีบิดามารดา จะมีบุคคลซงึ่
ศาลแตง่ ตัง้ ข้นึ เพื่อปกครองผู้เยาวเ์ ปน็ ผปู้ กครองแทน)
นติ กิ รรมที่ผเู้ ยาว์สามารถกระทาไดด้ ้วยตนเอง โดย
ไมต่ อ้ งได้รับความยนิ ยอมจากผแู้ ทนโดยชอบธรรม ไดแ้ ก่
1. การกระทาที่จะได้ซึ่งสิทธิอันใดอันหนึ่งหรือ
เพื่อเป็นการให้หลุดพ้นจากหน้าท่ีอันใดอันอันหน่ึง เป็นกิจการ
ท่ีเป็นประโยชน์แก่ผู้เยาว์ฝ่ายเดียว ไม่มีทางเสีย เช่น รับ
ทรัพย์สินของผู้อ่ืนโดยไม่มีข้อผูกมัดหรือเง่ือนไขใดๆ การรับ
ปลดหนจี้ ากเจา้ หนี้ เปน็ ตน้
2. กิจการท่ีจะต้องทาเองเฉพาะตัว เช่น การ
รับรองบตุ ร เปน็ ต้น
3. กิจการที่เป็นการสมควรแห่งฐานานุรูปและ
เป็นการจาเป็นเพื่อการเลี้ยงชีพตามสมควร เช่น การซื้อของ
กิน การซ้ืออุปกรณ์การเรียนที่เหมาะสม เป็นต้น กิจการท่ีเป็น
การสมควรแห่งฐานานุรูปน้ัน ให้พิจารณาดูว่าสิ่งใดสมควรกับ
สภาพของผเู้ ยาว์
4. ผู้เยาวอ์ าจทาพนิ ยั กรรมได้เมอ่ื อายุครบสบิ
ห้าปีบรบิ ูรณ์
ประโยชน์ของการปฏิบัติตนตามกฎหมายแพ่ง
เก่ียวกับความสามารถของผู้เยาว์ คือ การท่ีผู้เยาว์ทากิจการ
ใดๆ โดยได้รับความยินยอมจากผู้แทนโดยชอบธรรมก่อนนั้น
ทงั้ นยี้ กเวน้ นติ กิ รรมบางอยา่ งทผี่ ูเ้ ยาว์สามารถทาได้ด้วยตนเอง
ย่อมจะทาให้ผู้เยาว์ไม่ถูกผู้อื่นเอาเปรียบ ทั้งในด้านทรัพย์สิน
เงินทอง ด้านแรงงาน ด้านโอกาสในการพัฒนาตนเอง และ
ดา้ นการศกึ ษาและวชิ าชพี
3.2 กฎหมายเกยี่ วกบั บตั รประจาตวั
ประชาชน
บตั รประจาตวั ประชาชน คือ เอกสารสาคัญท่ีใช้
พิสูจน์ตัวบุคคล ภูมิลาเนา และสถานะบางอย่างของ
บคุ คลได้
1) ห ลั กเก ณฑ์ ข อง ผู้ที่จ ะ ต้อ ง มีบั ตร
ประจาตัวประชาชน ต้องเปน็ ผูท้ ่ีมีสญั ชาติไทยอายุต้ังแต่เจ็ดปี
บริบูรณ์จนถึงเจ็ดสิบปีบริบูรณ์ และมีช่ืออยูใ่ นทะเบียนบ้าน ผู้
ท่ีได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตรประจาตัวประชาชน เช่น ภิกษุ
สามเณร
2) การขอมีบัตรประจาตัวประชาชน ใน
การขอมีบัตรประจาตัวประชาชน ผู้ขอต้องยื่นขอต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ภายในหกสิบวันนับตั้งแต่วันท่ีมีอายุครบเจ็ดปี
บริบูรณ์ หรือวันที่ได้รับสัญชาติไทย หรือได้กลับคืนสัญชาติ
ไทยตามกฎหมายว่าด้วยสัญชาติ หรือวันที่ศาลได้มีคา
พิพากษาถึงท่ีสุดให้มีสัญชาติไทย หรือวันท่ีนายทะเบียนเพ่ิม
ชื่อในทะเบียนบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร
หรือวันที่พ้นสภาพจากการได้รับการยกเว้นไม่ต้องมีบัตร
ประจาตัวประชาชน
3) การขอเปลย่ี นบัตรประจาตัว
ประชาชนใหม่
ผู้ถือบัตรประจาตัวประชาชนจะขอเปลี่ยนบัตรใหม่
โดยยื่นคาขอต่อพนักงานเจ้าหน้าท่ีภายในกาหนดหกสิบวัน
นับตั้งแต่วันที่บัตรหายหรือถูกทาลายหรือวันท่ีบัตรชารุดใน
สาระสาคัญ หรือวันท่ีแก้ไขช่ือตัว ช่ือสกุล หรือชื่อตัวและชื่อ
สกุลในทะเบียนบ้าน (ในกรณีท่ีผู้ถือบัตรได้ย้ายที่อยู่จะขอ
เปล่ียนบตั รใหม่กไ็ ด้)
3.3 กฎหมายแพ่งเก่ยี วกับครอบครัว
นักเรียนในฐานะท่ีเป็นสมาชิกคนหนึ่งในครอบครัว
ควรเรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายแพ่งท่ีเกี่ยวกับ
ครอบครัว ซึ่งเป็นกฎหมายท่ีอยู่ในประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์ว่าด้วยเร่ืองของครอบครัว โดยเรื่องที่นักเรียนควร
ศึกษา ได้แก่ การหมั้น การสมรส มรดก การรับรองบุตร และ
การรับบุตรบุญธรรม
1) การหมั้น หมายถึง การที่ชายหญิงทา
สัญญากันว่าจะทาการสมรสกัน เมื่อมีการหม้ันเกิดข้ึนแล้ว ถ้า
ฝ่ายใดฝา่ ยหน่งึ ผิดสัญญาไม่อาจทาการสมรส อีกฝ่ายหน่ึงยอ่ ม
มีสิทธิเรียกค่าทดแทนได้ แต่จะฟ้องศาลให้ศาลบังคับให้อีก
ฝ่ายหนงึ่ ทาการสมรสไม่ได้
1.1) เงื่อนไขการหมั้น ชายและหญิงทีจ่ ะทาการ
หม้นั กันได้นนั้ ท้งั ชายและหญงิ ตอ้ งมีอายคุ รบสบิ
เจ็ดปีบริบูรณ์ และต้องได้รับรับความยินยอมจากบิดา
มารดาในกรณที ่ีมที ้ังบิดาและมารดา แตใ่ นกรณีที่บิดา
หรือมารดาเสียชีวิตหรือถูกถอนอานาจปกครองหรือไม่อยู่ใน
สภาพหรือฐานะท่ีอาจใหค้ วามยนิ ยอม ก็ให้บิดาหรือมารดาท่ีมี
อานาจสมบูรณ์ตามกฎหมายเป็นผู้ให้ความยินยอม ในกรณีที่
ผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมของผู้ใดก็ต้องให้ผู้น้ันเป็นผู้ให้ความ
ยนิ ยอม
ใ น ก ร ณี ที่ ไ ม่ มี บุ ค ค ล ซึ่ ง อ า จ ใ ห้ ค ว า ม
ยินยอมในข้อ 1.1) ได้ หรือบุคคลดังกล่าวถูกถอนอานาจ
ปกครอง ก็ให้ผู้ปกครองตามคาส่ังของศาลเป็นผู้ให้ความ
ยนิ ยอมแทน
1.2) ของหม้นั ในการหมั้นชายจะมอบของ
หมัน้ ใหแ้ ก่หญิงเพื่อเป็นหลกั ฐานการหม้ันและเป็น
ประกันว่าจะทาการสมรสกับหญิง การหม้ันจะสมบูรณ์
เมือ่ ฝ่ายชายไดส้ ่งมอบหรือโอนทรัพยส์ ินอันเป็นของหมั้นให้แก่
หญิง เม่ือหม้ันแล้วให้ของหมั้นตกเป็นสิทธิแก่หญิง โดยค่า
ทดแทนนนั้ อาจเรยี กได้ ดังต่อไปนี้
1. ทดแทนความเสียหายต่อกายหรือ
ชือ่ เสยี งแห่งชายหรอื หญงิ นั้น
2. ทดแทนความเสียหายเนื่องจากการท่ี
คู่หมั้น บิดามารดา หรือบุคคลผู้กระทาการในฐานะ เช่น บิดา
มารดาได้ใช้จ่ายหรือต้องตกเป็นลูกหนี้ เนื่องจากการ
เตรยี มการสมรสโดยสุจรติ และตามสมควร
3. ทดแทนความเสียหายเนื่องจากกรณี
คู่หมั้นได้จัดการทรัพย์สินหรือการอื่นอันเก่ียวแก่อาชีพหรือ
การทามาหากินของตนไปโดยสมควร โดยคาดหมายว่าจะมี
การสมรส
2) การสมรส หมายถึง การท่ีชายและหญิง
สมัครใจเข้ามาอยู่กนิ กันฉันสามภี รรยา โดยไม่
เกี่ยวข้องทางชู้สาวกับบุคลอ่ืนใดอีก การสมรสท่ี
สมบูรณ์จะต้องจดทะเบียนสมรสกับพนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งเป็น
นายทะเบียนหากชายและหญิงไม่ยินยอมสมรสกัน การสมรส
น้ันเป็นโมฆะ ในการสมรสน้ันคู่สมรสฝ่ายหน่ึงต้องเป็นชาย
และอีกฝ่ายหนึ่งต้องเป็นหญิง บุคคลเพศเดียวกันจะสมรสกัน
ไมไ่ ด้
เงื่อนไขการสมรส มดี ังนี้
1. ชายและหญงิ จะทาการสมรสกนั ได้
เมื่อมีอายุครบสิบเจ็ดปีบริบูรณ์ ในกรณีท่ีผู้เยาว์จะทา
การสมรสกันน้นั จะตอ้ งไดร้ บั ความยินยอมจากบิดามารดาหรือ
ผู้รับบุตรบุญธรรม หรือผู้ปกครองตามคาสั่งของศาลซึ่งมี
เง่ือนไขเช่นเดียวกับเงื่อนไขการหมั้น ข้อ 1.1) ในกรณีท่ีมีเหตุ
อนั สมควร ศาลอาจอนญุ าตใหท้ าการสมรสกอ่ นน้นั ก็ได้
2. ชายหรือหญิงจะต้องไม่เป็นบุคคล
วิกลจรติ หรอื เปน็ บุคคลซึ่งศาลสงั่ ให้เป็นคนไรค้ วามสามารถ
3. ชายและหญิงจะต้องไม่เป็นญาติ
สืบสายโลหิตโดยตรงข้ึนไปหรือลงมา ไม่เป็นพี่น้องร่วมบิดา
มารดาหรอื ร่วมแต่บิดาหรือมารดาเดียวกนั
4. ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมจะ
สมรสกันไมไ่ ด้
5. ชายหรือหญิงจะทาการสมรสในขณะที่
ตนมีคสู่ มรสอยูไ่ ม่ได้
3) มรดก หรอื กองมรดก ไดแ้ ก่ ทรพั ย์สนิ ทุก
ชนิดของผู้ตาย รวมท้ังสทิ ธแิ ละหน้าท่ีตลอดจน
ความรับผิดต่างๆ เก่ียวกับทรัพย์สิน เช่น หน้ีสิน เป็น
ต้น เว้นแต่ตามกฎหมายหรือโดยสภาพแล้วเป็นการเฉพาะตัว
ของผู้ตายโดยแท้ เช่น สิทธิในการไปสมัครสอบ สิทธิในการมี
อาวุธปนื
กรณีท่ีบุคคลใดตาย ถ้าทาพินัยกรรมไว้
มรดกจะตกทอดแก่บุคลที่ผู้ตายระบุไว้ในพินัยกรรม หากไม่ได้
ทาพินัยกรรมไว้มรดกจะตกแก่บุคคลท่ีเป็นทายาทและคู่สมรส
ซงึ่ ทายาทตามกฎหมายสามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. ทายาทโดยธรรม หมายถึง ทายาทที่มี
สิทธิตามกฎหมาย ได้แก่ ญาติ และคู่สมรส ซ่ึงทายาทที่เป็น
ญาติสามารถแบ่งเป็น 6 ลาดับ คือ ผู้สืบสันดาน บิดามารดา
พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน พ่ีน้องร่วมบิดาหรือร่วมมารดา
เดียวกัน ปู่ ย่า ตา ยาย และลุง ป้า น้า อา ซึ่งสิทธิได้รับมรดก
และส่วนแบ่งที่จะได้รับจะลดลงตามลาดับความห่างของญาติ
นนั้ ๆ
2. ทายาทตามพนิ ยั กรรม เป็นทายาทมี
สทิ ธติ ามพินยั กรรม พนิ ัยกรรม ได้แก่ คาสง่ั ยก
ทรัพย์สินหรือแบ่งทรัพย์สิน หรือวางข้อกาหนดใดๆ อัน
เกี่ยวกับทรัพย์สินของตนเม่ือตายแล้ว หรือในการอื่นๆ ที่
กฎหมายรบั รองซงึ่ มผี ลเมื่อตายแล้ว เช่น การตั้งผู้ปกครองเด็ก
และต้องทาให้ถูกต้องตามท่ีกฎหมายกาหนดไว้ด้วย จึงจะมีผล
เป็นพนิ ยั กรรมตามกฎหมาย
4) การรับรองบตุ ร บุตรซง่ึ เกดิ จากหญงิ ท่ีเปน็
ภรรยาโดยมไิ ดจ้ ดทะเบียนสมรสเป็นบตุ รท่ีชอบด้วย
กฎหมายของหญิง แต่เป็นบุตรนอกกฎหมายของชาย
กฎหมายได้เปิดโอกาสให้ชายจดทะเบียนรับรองบุตรได้ ซ่ึงทา
ให้เด็กเป็นบุตรที่ชอบด้วยกฎหมายของชาย และถือว่าเป็น
บุตรที่ชอบด้วยกฎหมายนับตั้งแต่วันจดทะเบียน ถ้าเป็นกรณี
บุตรนอกสมรส แต่ต่อมาชายหญิงได้จดทะเบียนสมรสกัน ก็ไม่
ต้องจดทะเบียนรับรองบุตรอีก
5) การรับบุตรบุญธรรม มีหลักเกณฑ์ที่ควรรู้
ดงั น้ี
1. บุคคลจะรับผู้อ่ืนเป็นบุตรบุญธรรมได้
จะตอ้ งมอี ายไุ ม่ต่ากว่ายสี่ ิบห้าปีบริบูรณ์ และต้องมีอายุแก่กว่า
ผทู้ จี่ ะเปน็ บตุ รบุญธรรมอยา่ งนอ้ ยสิบห้าปี
2. การรับบุตรบุญธรรม ถ้าผู้ท่ีจะเป็นบุตร
บุญธรรมมีอายุไม่ต่ากว่าสิบห้าปีบริบูรณ์ ผู้ที่จะเป็นบุตรบุญ
ธรรมน้ันตอ้ งให้ความยินยอมดว้ ย
3. การรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมจะกระทาได้ต่อเมื่อได้รับ
ความยินยอมจากบิดามารดาของผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรม ใน
กรณีท่ีบิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งตายหรือถูกถอนอานาจ
ปกครองต้องได้รับความยินยอมจากมารดาหรือบิดาซึ่งมี
อานาจปกครอง
4. การรับบุตรบุญธรรมจะสมบูรณ์ต่อเม่ือ
ไดจ้ ดทะเบยี นตามกฎหมาย
5. ผู้จะรับบุตรบุญธรรมหรือผู้ท่ีจะเป็น
บุตรบุญธรรม ถ้ามีคู่สมรสอยู่จะต้องได้รับความยินยอมจากคู่
สมรสกอ่ น
6. บตุ รบุญธรรมย่อมมีฐานะอย่าง
เดียวกับบตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรม
นน้ั แต่ไม่สูญสทิ ธแิ ละหนา้ ท่ีในครอบครวั ท่ีได้กาเนดิ มา
7. ผู้รับบุตรบุญธรรมไม่มีสิทธิรับมรดก
ของบุตรบญุ ธรรมในฐานะทายาทโดยธรรม
8. ผู้ท่ีเป็นบุตรบุญธรรมของบุคคลใดอยู่
จะเป็นบุตรบุญธรรมของผู้อ่ืนอีกในขณะเดียวกันไม่ได้ เว้นแต่
เปน็ บตุ รบญุ ธรรมของคสู่ มรสผรู้ ับบุตรบุญธรรม
4. กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ชุมชนและประเทศชาติ
ภาษีอากร คือ เงินท่ีรัฐหรือท้องถิ่นได้รับ
มอบหมายอานาจรัฐเรียกเก็บจากบุคคล เพ่ือนาไปใช้จ่าย
ในการบริหารประเทศหรือท้องถิ่น เช่น ภาษีเงินได้ ภาษี
บารุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษี
สรรพสามิต อากรแสตมป์ เปน็ ตน้
การเสียภาษีอากรให้รัฐเป็นหน้าที่สาคัญของ
พลเมือง เพราะเป็นการมอบรายได้หรือทรัพย์สินส่วนหน่ึง
ของตนให้แก่รัฐหรือท้องถ่ิน เพื่อนาไปใช้ทาประโยชน์แก่
ชุมชนส่วนรวมต่อไป ซึ่งภาษีอากรที่รัฐหรือท้องถ่ินเรียก
เก็บอย่ใู นปัจจุบันน้มี ีหลายประเภทด้วยกนั
ภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา มรี ายละเอยี ดพอสังเขป ดังนี้
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา คือ ภาษีท่ีจัดเก็บจาก
บุคคลทั่วไปหรือจากหน่วยภาษีท่ีมีลักษณะพิเศษตามท่ี
กฎหมายกาหนด และมีรายได้เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กาหนด
โดยปกติจะจัดเก็บเป็นรายปี รายได้ที่เกิดขึ้นในปีใดๆ ผู้มี
รายได้มีหน้าท่ีต้องนาไปแสดงรายการตนเองตามแบบ
แสดงรายการภาษีท่ีกาหนด ภายในเดือนมกราคมถึง
มนี าคมของปีถดั ไป
บุคคลผู้มีหน้าท่ีเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ไดแ้ ก่
1. บคุ คลธรรมดา
2. หา้ งหุน้ สว่ นสามญั หรือคณะบุคคลท่ี
มิใช่นติ ิบคุ คล
3. ผถู้ งึ แก่ความตายระหวา่ งปภี าษี
4. กองมรดกที่ยังไมไ่ ดแ้ บง่
5. วิสาหกิจชุมชน ตามกฎหมายว่า
ด้วยการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เฉพาะที่เป็นห้างหุ้นส่วน
สามญั หรือคณะบคุ คลท่ีไมใ่ ช่นิตบิ ุคคล
ลักษณะของภาษีเงนิ ได้บคุ คลธรรมดา
1. ภาษีเงินได้ หมายถึง ภาษีท่ีรัฐเรียก
เก็บจากบุคคลโดยคานวณอัตราจากรายได้ของบุคคลที่
ได้รับในปีหน่ึงๆ รายได้ดังกล่าวนี้ตามกฎหมายเรียกว่า
“เงินได้พึงประเมนิ ”
2. เงินได้พึงประเมิน หมายถึง ตัวเงิน
ทรัพย์สิน หรือประโยชน์ที่อาจคิดคานวณเป็นเงิน หรือ
ท้ังตัวเงินและทรัพยส์ ิน หรือประโยชน์ปะปนกัน โดยได้รับ
ระหวา่ งวันที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม ของปีเดียวกัน
การคานวณเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา สามารถกระทา
ได้ ดงั น้ี
1) การคานวณเงินไดส้ ุทธิ โดยนาเงิน
ได้พงึ ประเมินมาหกั ด้วยค่าใชจ้ า่ ยและค่าลดหยอ่ ย ดังนี้
เงินได้สุทธิ = เงินได้พึง
ประเมิน – (คา่ ใชจ้ า่ ย + ค่าลดหยอ่ น)
1.1) การหักค่าใช้จ่ายบุคคล ผู้มีเงิน
ได้มีสิทธิหักค่าใช้จ่ายเป็นการเหมาได้ร้อยละ 50 ของเงิน
ได้พึงประเมนิ แต่ต้องไม่เกนิ 100,000 บาท
1.2) การหักค่าลดหย่อน สามารถ
กระทาได้ในหลายกรณี ทส่ี าคัญดังน้ี
1. บุคคลผู้มีเงินได้ สามี
ภรรยา และบุตร โดยบุคคลผู้มีเงินได้มีสิทธิหกั ค่าลดหย่อน
ได้ 60,000 บาท ถ้ามีสามีหรือภรรยาท่ีไม่มีเงินได้ หักค่า
ลดหย่อนได้อีก 60,000 บาท บุตรให้หักค่าลดหย่อนคนละ
30,000 บาท
2. เบี้ยประกันชีวิต ให้บุคคลผู้มีเงินได้
หักลดหย่อนได้ตามจานวนท่ีจ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000
บาท โดยกรมธรรม์ประกันชีวิตนั้นต้องมีกาหนดเวลาต้ังแต่
10 ปขี ้นึ ไป
3. เงินสะสมท่ีจ่ายเข้ากองทุนสารอง
เลี้ยงชีพ บุคคลผู้มีเงินได้มีสิทธิหักลดหย่อนเงินสะสมได้
ตามจานวนเงนิ ทจ่ี า่ ยจริง ซ่ึงไมเ่ กินร้อยละ 15 ของคา่ จา้ ง
4. ดอกเบี้ยเงินกู้เพ่ือซ้ือ เช่าซ้ือ หรือ
สร้างอาคารที่อยู่อาศัย บุคคลผู้มีเงินได้มีสิทธิหักลดหย่อน
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่จ่ายให้แก่ธนาคาร หรือสถาบันการเงิน
อืน่ ตามจานวนทจี่ า่ ยจรงิ แต่ไม่เกิน 100,000 บาท
5. เงินบริจาค บุคคลผู้มีเงินได้มีสิทธิ
หักลดหย่อนเงินบริจาคเก่ียวกับการกุศลสาธารณะได้เท่า
จานวนท่ีบริจาคจริง แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของเงินได้
หลงั หกั คา่ ใชจ้ ่ายหกั ค่าลดหย่อนต่างๆ แล้ว
2) การนาเงินได้สุทธมิ าคานวณภาษี ให้นาเอาเงินได้สุทธิ
มาคานวณตามบัญชีหรือตารางอัตราภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา ดังน้ี
1. เงินได้สุทธิ 150,000 บาทแรกนั้น
ได้รับการยกเวน้ ภาษี
2. เงินได้สุทธิ 150,001 – 300,000
บาท ใหน้ ามาคานวณภาษเี งินได้ในอตั ราร้อยละ 5
3. เงินได้สุทธิตั้งแต่ 300,001 –
500,000 บาท ให้นามาคานวณภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ
10
4. เงินได้สุทธิตั้งแต่ 500,001 –
750,000 บาท ให้นามาคานวณภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ
15
5. เงินได้สุทธิตั้งแต่ 750,001 –
1,000,000 บาท ให้นามาคานวณภาษีเงินได้ในอัตราร้อย
ละ 20
6. เงินได้สุทธิต้ังแต่ 1,000,001 –
2,000,000 บาท ให้นามาคานวณภาษีเงินได้ในอัตราร้อย
ละ 25
7. เงินได้สุทธิตั้งแต่ 2,000,001 –
5,000,000 บาท ให้นามาคานวณภาษีเงินได้ในอัตราร้อย
ละ 30
8. เงินได้สุทธิตั้งแต่ 5,000,001 บาท
ข้ึนไป ให้นามาคานวณภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 35
ท้ังนี้ เฉพาะเงินได้สุทธิ (เงินได้พึงประเมิน หัก
ด้วยค่าใช้จา่ ยและคา่ ลดหย่อน) จากการคานวณภาษีเงินได้
ตามมาตรา 48 (1) แหง่ ประมวลรษั ฎากรเทา่ น้ัน
การปฏิบัติตนตามกฎหมายภาษีอากร จะส่งผลดี
ตอ่ ตนเอง สังคม และประเทศชาติในหลายๆ ดา้ นดงั
นี้
1. ด้านการคมนาคม รัฐนาเงินภาษีที่เก็บจาก
ประชาชนไปจัดสรรเป็นงบประมาณแก่กระทรวงคมนาคม
ไปซ่อมแซมปรับปรุงถนนและเส้นทางคมนาคมอื่นๆ ให้ได้
มาตรฐาน สะดวกต่อการเดินทางและการขนส่งสินค้าของ
ประชาชนมากข้นึ
2. ด้านสาธารณูปโภค รัฐนาเงินภาษีท่ีเก็บจาก
ประชาชนไปจัดสรรเป็นงบประมาณช่วยเหลือในด้านการ
ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ให้สะดวก รวดเร็ว และเป็น
ประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิตของประชาชนส่วนรวม
3. ด้านสาธารณสุข รัฐนาเงินภาษีท่ีจัดเก็บ
ประชาชนไปจัดสรรเป็นงบประมาณในการพัฒนาบุคลากร
และเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องทางด้านการแพทย์และการ
บริการพยาบาล ซึ่งจะเป็นประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
ท่วั ไปและผู้เข้ารบั บรกิ ารทางการแพทย์
4. ด้านการศึกษา รัฐนาเงินภาษีท่ีเก็บจาก
ประชาชนไปจัดสรรเป็นงบประมาณในการพัฒนาด้าน
การศึกษา เร่ิมต้ังแต่การสร้างโรงเรียน จัดซื้ออุปกรณ์การ
เรียน วัสดุและเทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์อย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน
5. ด้านการรักษาความสงบม่ันคงของประเทศ
รั ฐ น า เ งิ น ภ า ษี ท่ี เ ก็ บ จ า ก ป ร ะ ช า ช น ไ ป จั ด ส ร ร เ ป็ น
งบประมาณในการจัดซ้ืออุปกรณ์ที่ใช้ในการรักษาความ
สงบ และปลอดภัยของประเทศ ตลอดทั้งมีงบประมาณ
สนับสนุนบุคลากรให้มีจานวนเพียงพอต่อการรักษาความ
สงบมั่นคงของประเทศ
ทั้ ง ห ม ด ท่ี ก ล่ า ว ม า น้ี เ ป็ น เ พี ย ง ตั ว อ ย่ า ง จ า ก
ผลประโยชน์ท่ีได้รับจากการเสียภาษีอากรของประชาชน
ให้แกร่ ัฐ เพ่ือท่ีรัฐบาลจะได้นาเงินรายได้เหล่าน้ีมาเป็นส่วน
หนึง่ ของงบประมาณในการพัฒนาประเทศ
ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นท่ีประชาชนชาวไทยทุก
คนพึงปฏิบัติตนตามกฎหมายภาษีอากร เพื่อประโยชน์ต่อ
การพัฒนาประเทศ หากหลีกเลี่ยงการเสียภาษีย่อมทาให้
เงินรายได้ของรัฐลดน้อยลง ทาให้การพัฒนาประเทศทุก
ด้านต้องล่าช้าลง บางโครงการต้องหยุดชะงักไป ซ่ึงจะ
ส่งผลเสียต่อประชาชน และทาให้การพัฒนาประเทศไม่
เป็นไปตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้
4.2 กฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงาน หมายถึง ข้อบังคับที่รัฐได้
บัญญัติขึ้นเพื่อกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างกับ
ลูกจ้างเกี่ยวกับการจ้างและการทางาน องค์กรของฝ่าย
นายจ้างและลูกจ้าง การเจรจาต่อรองเก่ียวกับสภาพการ
จ้าง การระงับข้อพิพาทแรงงาน การนัดหยุดงาน ปิดงาน
งดจ้างสหภาพแรงงาน ตลอดจนการกาหนดและคุ้มครอง
เพ่ือความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้างการจัดหางาน
การสงเคราะหอ์ าชพี และการสง่ เสริมการทางาน เพื่อสร้าง
เสรมิ ประสทิ ธิภาพในการทางานใหเ้ พ่มิ พนู มากยิง่ ขน้ึ
กฎหมายแรงงาน เป็นกฎหมายที่กาหนด
ความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้างและกาหนด
คุ้มครองความปลอดภัยแก่ลูกจ้างในการทางานให้กับ
นายจ้าง ดังน้ัน กฎหมายแรงงานจึงสามารถแบ่งออกได้
เป็นหลายประเภท เช่น พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์
พ.ศ.2518 (แก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ.2534) พระราชบัญญัติเงิน
ทดแทน พ.ศ.2537 พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน
พ.ศ.2541 (แก้ไขเพ่ิมเติม ฉบับท่ี 7 พ.ศ.2562)
พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย อ า ชี ว อ น า มั ย แ ล ะ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ.2554 ซ่ึงสาระสาคัญ
ของกฎหมายแรงงาน มีดงั นี้
1) การปฏิบัติตนระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง
นายจ้างและลูกจ้างพึงปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมาย
คุม้ ครองแรงงาน ดังน้ี
1. ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างให้
ถูกตอ้ งตามสิทธแิ ละหน้าที่ท่กี าหนดไว้ในประมวลกฎหมาย
แพ่งและพาณิชย์ เว้นแต่กฎหมายคุ้มครองแรงงานจะ
กาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน
2. ให้นายจ้างปฏิบัติต่อลูกจ้างชาย
และหญิงในการจ้างงานโดยเท่าเทียมกัน เว้นแต่ลักษณะ
หรอื สภาพของงานไมอ่ าจปฏิบัติเช่นนั้นได้ เว้นแต่กฎหมาย
คมุ้ ครองแรงงานจะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น
3. ให้นายจ้างประกาศเวลาทางาน
ปกติให้ลูกจ้างทราบ โดยกาหนดเวลาเริ่มต้นและเวลา
สิ้นสุดของการทางานแต่ละวันของลูกจ้างได้ไม่เกินเวลา
ทางานของแตล่ ะประเภทงาน ตามบทบัญญัติของกฎหมาย
แต่ต้องไม่เกินแปดช่ัวโมงต่อวัน เว้นแต่งานท่ีอาจเป็น
อันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัยของลูกจ้าง โดย
เวลาทางานปกติตอ้ งไมเ่ กินเจ็ดชว่ั โมงต่อวัน
4. ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทางาน
ล่วงเวลาในวนั ทางาน เว้นแตไ่ ดร้ บั ความยินยอมจากลูกจ้าง
ก่อนเป็นคราวๆ ไป ในกรณีท่ีลักษณะหรือสภาพของงาน
ต้องทาตดิ ตอ่ กันไป ถา้ หยุดจะเสยี หายแกง่ าน หรือเป็นงาน
ฉุกฉิน นายจ้างอาจให้ลูกจ้างทางานล่วงเวลาได้เท่าท่ี
จาเปน็
6. ในวันที่มีการทางาน ให้นายจ้างจัด
ให้ลูกจ้างมีเวลาพักระหว่างการทางานในวันหน่ึงไม่น้อย
กว่าหนึ่งชั่วโมง หลังจากที่ลูกจ้างทางานมาแล้วไม่เกินห้า
ชั่วโมงติดต่อกัน นายจ้างและลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้า
ให้มีเวลาพักคร่ึงหน่ึงน้อยกว่าหนึ่งช่ัวโมงได้ แต่เมื่อรวมกัน
แล้ววันหนึง่ ตอ้ งไมน่ อ้ ยกว่าหนึ่งชัว่ โมง
7. ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างมีวันหยุด
ประจาสัปดาห์ สัปดาหห์ น่ึงไมน่ อ้ ยกว่าหน่ึงวัน โดยวันหยุด
ประจาสัปดาห์ต้องมีระยะห่างกันไม่เกินหกวัน นายจ้าง
และลูกจ้างอาจตกลงกันล่วงหน้ากาหนดให้มีวันหยุด
ประจาสัปดาหว์ ันใดก็ได้
8. ให้นายจ้างประกาศกาหนดวันหยุด
ตามประเพณีให้ลูกจ้างทราบ เป็นการล่วงหน้าปีหนึ่งไม่
น้อยกว่าสิบสามวันโดยรวมวันแรงงานแห่งชาติ การ
ก า ห น ด วั น ห ยุ ด ต า ม ป ร ะ เ พ ณี ใ ห้ พิ จ า ร ณ า จ า ก
วันหยุดราชการประจาปี วันหยุดทางศาสนาหรือ
ขนบธรรมเนียมประเพณีแหง่ ทอ้ งถิน่
9. ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันมาแล้ว
ครบหน่ึงปีมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจาปีได้ โดยไม่น้อยกว่า
หกวนั ทางานต่อปี
10. ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างทางาน
ล่วงเวลาหรือทางานในวนั หยดุ ในงานท่อี าจเปน็ อนั ตรายต่อ
สุขภาพ และความปลอดภยั ของลูกจา้ ง
11. ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาป่วยได้เท่าท่ี
ป่วยจรงิ การลาป่วยตัง้ แต่สามวันทางานขึ้นไปนายจ้างอาจ
ให้ลูกจ้างแสดงใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหน่ึง หรือ
ของสถานพยาบาลของทางราชการ
2) การว่าจ้างแรงงานเด็ก เด็กจะได้รับการ
คุ้มครองเกี่ยวกับการใช้แรงงานตามกฎหมายคุ้มครอง
แรงงาน ดังน้ี
1. ห้ามใช้แรงงานเด็กอายุต่ากว่าสิบ
ห้าปที างานโดยเดด็ ขาด
2. ห้ามใช้แรงงานเด็กอายุต่ากว่าสิบ
แปดปี ในกิจการบางประเภท เช่น งานปั๊มโลหะ งาน
เก่ียวกบั สารเคมีที่เป็นอันตราย งานเก่ียวกับวัตถุมีพิษ วัตถุ
ระเบิด หรอื วัตถุไวไฟ งานที่ใช้เล่ือยเดินด้วยพลังไฟฟ้าหรือ
เครื่องยนต์ งานที่เก่ียวกับกัมมันตภาพรังสี และห้ามใช้
แรงงานเด็กที่มีอายุต่ากว่า 18 ปี ทางานระหว่างเวลา
22.00 – 06.00 น. ทางานวนั หยดุ และทางานล่วงเวลา
3. ห้ามใช้แรงงานเด็กอายุต่ากว่าสิบ
แปดปีในสถานเต้นรา ราวง หรือรองเง็ง และสถานท่ีอ่ืน
เชน่ โรงฆ่าสัตว์ สถานท่ีเลน่ การพนัน
4. ใหล้ ูกจา้ งเด็กที่อายตุ ่ากว่าสิบแปดปี
มีสิทธิลาเพ่ือรับการอบรม สัมมนา ที่จัดโดยสถานศึกษา
หรือหน่วยงานของรัฐ โดยได้รับค่าจ้างแต่ไม่เกินสามสิบวัน
ตอ่ ปี
5. การว่าจ้างแรงงานเด็กอายุต่ากว่า
สิบแปดปี ต้องแจ้งพนักงานตรวจแรงงานภายในสิบห้าวัน
นับต้งั แตว่ ันที่เดก็ เข้าทางาน
3) การว่าจ้างแรงงานหญิง แรงงานหญิงจะ
ได้รับการคุ้มครองเกี่ยวกับการใช้แรงงานตามกฎหมาย
คมุ้ ครองแรงงาน ดงั น้ี
1. การใช้แรงงานหญิง ห้ามนายจ้างให้
ลูกจ้างหญิงทางานตามท่ีกาหนดในกฎหมาย เช่น งาน
เหมืองแร่หรืองานก่อสร้างที่ต้องทาใต้ดิน งานผลิตหรือ
ขนส่งวตั ถุระเบดิ เปน็ ตน้
2. ห้ามนายจ้างให้ลูกจ้างที่มีครรภ์
ทางานในระหว่างเวลา 22.00 – 16.00 น. ทางานล่วงเวลา
ทางานในวันหยุด หรือทางานอย่างหนึ่งอย่างใด เช่น งาน
เกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเคร่ืองยนต์ที่มีความส่ันสะเทือน
งานขับเคล่อื นหรือตดิ ไปกับยานพาหนะ
3. ห้ามนายจ้างเลิกจ้างลูกจ้างหญิง
เพราะเหตุมคี รรภ์
4. ให้แรงงานหญิงมีสิทธิลาเพื่อคลอด
บุตร ครรภห์ น่งึ ไม่เกนิ เกา้ สบิ แปดวนั
5. ห้ามนายจ้าง หัวหน้างาน ผู้ควบคุม
งาน หรือผู้ตรวจงาน ล่วงเกินทางเพศต่อแรงงานหญิงหรือ
เดก็
4 ) ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร ท า ง า น
พระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. 2554 มีสาระสาคัญ
เกยี่ วกับความปลอดภยั ในการทางาน ดงั นี้
1. ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง
เรยี กว่า “คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร ท า ง า น ” ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ปลัดกระทรวงแรงงานเป็นประธานกรรมการอธิบดีกรม
ควบคุมมลพิษ อธิบดีกรมควบคุมโรค อธิบดีกรมพัฒนา
ฝีมือแรงงาน อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง อธิบดีกรม
โรงงานอุตสาหกรรม อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครอง
ทอ้ งถิน่ และอธิบดีกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เป็น
กรรมการ กับผู้แทนฝ่ายนายจ้างและผู้แทนฝ่ายลูกจ้าง
ฝ่ายละแปดคน และผู้ทรงคุณวุฒิอีกห้าคนซึ่งรัฐมนตรี
แต่งต้ังเป็นกรรมการ ให้ข้าราชการกรมสวัสดิการและ
ค้มุ ครองแรงงานซึ่งรฐั มนตรแี ตง่ ตงั้ เปน็ เลขานุการ
2. ให้คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน มีอานาจหน้าท่ีใน
การเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรีเก่ียวกับนโยบาย แผนงาน
หรือมาตรการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และการ
พัฒนาสภาพแวดลอ้ มในการทางาน
3. ให้นายจ้างจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยใน
การทางาน บุคลากร หน่วยงาน หรือคระบุคคลเพื่อ
ดาเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ
ตามหลกั เกณฑ์วธิ ีการและเงอ่ื นไขท่กี าหนดในกากระทรวง
4. ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และ
ลูกจ้างทกุ คนได้รับการฝึกอบรม ความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน เพ่ือให้
บริหารจัดการ ดาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนา
มัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานไดอ้ ย่างปลอดภัย
นอกจากน้ี เน่ืองจากในปัจจุบันประเทศไทยมี
การว่าจ้างแรงงานต่างด้าวเข้ามาทางานมากข้ึน ดังน้ัน
นักเรียนควรเรียนรู้เกี่ยวกับการว่าจ้างแรงงานต่างด้าวใน
บางประการด้วย ดังน้ี
1. ในกรณีท่ีนายจ้างเป็นผู้นาคนต่างด้าวมา
ทางานกับตนในประเทศต้องได้รับอนุญาตจากอธิบดี และ
นายจ้าง ต้องวางหลักประกันไว้กับอธิบดีเพื่อประกันความ
เสียหายท่ีอาจเกิดจากการท่ีนายจ้างได้นาคนต่างด้าวมา
ทางานกับตนในประเทศ ทั้งนี้ หลักประกันดังกล่าวไม่อยู่
ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี ตราบเท่าท่ีนายจ้างยังมี
ความรบั ผดิ ทตี่ อ้ งชดใช้
2. ห้ามนายจ้างจ้างเรียกหรือรับเงินหรือทรัพย์
ใดๆ จากคนต่างด้าวในการนาคนต่างด้าว มาทางานกับตน
ในประเทศ
3. ผู้ใดประสงค์จะจ้างคนต่างด้าวซึ่งอยู่นอก
ราชอาณาจักรเข้ามาทางานในกจิ การของตนใน
ราชอาณาจักรให้ย่ืนคาขออนุญาตทางานต่อนายทะเบียน
และชาระค่าธรรมเนยี มแทนคนต่างด้าว
4.3 กฎหมายปกครอง
กฎหมายปกครอง คือ กฎหมายท้ังหลายที่
เก่ียวกบั การจัดระเบียบองค์กรฝ่ายปกครองการดาเนินงาน
ของฝ่ายปกครอง และความเกี่ยวพันในทางปกครอง
ระหวา่ งฝา่ ยปกครองกับเอกชน
กฎหมายปกครองประกอบด้วยเน้ือหาสาคัญ
ครอบคลมุ การจัดระเบียบองค์กรฝา่ ยปกครองบคุ ลากรและ
เจา้ หน้าท่ีฝา่ ยปกครอง ทรพั ยส์ ินของแผ่นดิน อานาจหนา้ ท่ี
และวิธีการจัดทากิจการของฝ่ายปกครอง ความรับผิดชอบ
ของหน่วยงานของรัฐและเจา้ หนา้ ท่ี
การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินของไทย
ในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ระเบียบบริหาร
ราชการส่วนกลาง ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
และระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น โดยส่วนภูมิภาค
จะใช้พระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พุทธศักราช
2457 รว่ มด้วย
1) ระเบยี บบริหารราชการส่วนกลาง คือ การที่
รัฐบาลได้จัดหน่วยราชการขึ้นเพื่อสนองความต้องการแก่
ประชาชนโดยส่วนรวมทั้งประเทศ เช่น การป้องกัน
ประเทศ การคมนาคม เป็นต้น การบริหารราชการ
ส่วนกลางจะมีหน้าท่ีรับผิดชอบในการวางนโยบายและ
ควบคุมบังคับบัญชาการปฏิบัติราชการท่ัวประเทศ
สามารถแบ่งออกได้ ดังนี้
1.1) สานักนายกรัฐมนตรี มีฐานะเป็น
กระทรวง มีนายกรัฐมนตรีเป็นทั้งหัวหน้ารัฐบาล เป็น
ผู้บังคับบัญชาข้าราชการ และกาหนดนโยบายของสานัก
นายกรัฐมนตรีให้สอดคล้องกับนโยบายท่ีคระรัฐมนตรี
กาหนดหรอื อนมุ ัติ
1.2) กระทรวง ในแต่ละกระทรวงมี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการ
กาหนดนโยบายของกระทรวงให้สอดคล้องกับนโยบายที่
คณะรัฐมนตรีกาหนด รับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ
กระทรวง