1
ก
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จัดทาขึ้นเพ่ือ
กาหนดหรือวางแผนเร่ืองท่ีจะสอนอย่างเป็นระบบ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดของ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้ผู้เรียนได้เป็น ผู้คิดและ
ปฏิบัติด้วยตนเองตามสภาพแวดลอ้ มและบริบทของโรงเรียน คิด ออกแบบ จัดหา จัดซ้ือ สื่ออุปกรณ์ท่ีเหมาะ
กับสาระการเรียนรู้ วดั และประเมนิ ผลดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลาย เหมาะสมกับ จุดประสงคใ์ นการเรียนรแู้ ละวัย
ของผู้เรียน แผนการจดั การเรียนรใู้ หป้ ระโยชน์หลายประการ นอกจากจะช่วยทาให้ผู้สอนเกิดความมน่ั ใจ ใน
การสอนและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ยงั มีส่วนช่วยในการวางแผน การจัดการเรียน
การสอนให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งการสอนที่มีประสิทธิภาพ จะสะท้อนให้เห็นถึงคุณภาพ ของผู้เรียน เมื่อพบ
ข้อบกพร่องและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนจากการเขียนบันทึกหลังการสอน ผู้สอนได้นาประเด็น
ปญั หาที่พบเจอมาปรับปรงุ แก้ไขให้ถูกต้องเหมาะสมกบั ผู้เรยี นและสภาพห้องเรียนท่ี จัดการเรียนรู้ ซ่ึงช่วยให้
การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น อันจะส่งผลไปถึงศักยภาพการเรียนรู้ ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตาม
เป้าหมายทางการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ฉบบั น้ี ประกอบไปด้วย มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คาอธิบายรายวิชา กาหนดการสอนวชิ าภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 การประเมินและการ
ให้คะแนน หน่วยการเรียนรู้ จานวน 22 หน่วย ส่ือ ใบงาน แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิท่ีใช้ในการประเมิน
ความรู้ ความสามารถของผู้เรียน วิธีการและเกณฑก์ ารประเมนิ การ เรียนรขู้ องผู้เรยี น
ศริ พิ ร สีทา
ข
สำรบญั
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น...............................................................................................................................1
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค.์ ...............................................................................................................................1
มาตรฐานการเรียนรู้ และตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทยชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2...................................2
โครงสรา้ งเวลาเรยี นหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนบา้ นดง.........................................................................................3
โครงสร้างเวลาเรยี นหลักสตู รช้นั ป.ี ...................................................................................................................3
คาอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน.................................................................................................................................4
โครงสร้างรายวชิ าภาษาไทย.............................................................................................................................5
กาหนดการสอนสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 2..................................................................9
แผนการจัดการเรยี นร้หู นว่ ยที่ 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564................................................................14
แผนการจดั การเรียนรหู้ นว่ ยที่ 13 เร่ือง คาที่มอี ักษรนา.................................................................................23
แบบทดสอบก่อนเรียน....................................................................................................................................32
แบบทดสอบหลังเรียน………………………………………........................................................................................37
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 1 เรอ่ื ง คาทม่ี อี กั ษรกลางนาอักษรต่า......................................................................45
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 เรอ่ื ง คาที่มอี ักษรสูงนาอกั ษรตา่ ........................................................................49
แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 3 เรื่อง อา่ นสะกดคาทม่ี ีอักษรนา............................................................................57
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง การอา่ นและเขา้ ใจความหมายคา................................................................66
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 5 เรื่อง การอา่ นและเขยี นคาทมี่ อี กั ษรนา................................................................66
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 6 เร่อื ง คาที่มอี กั ษรนาในชีวิตประจาวนั ..................................................................66
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7 เรื่อง การคดั ลายมือคาท่มี ีอกั ษรนา......................................................................66
๑
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมใน การใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและ
ลดปญั หาความขัดแยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลกั เหตผุ ลและความถูกต้อง ตลอดจน
การเลือกใช้วธิ กี ารส่ือสาร ทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทีม่ ีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพอื่ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปล่ยี นแปลงของเหตุการณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกตค์ วามร้มู าใช้ในการ
ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม
และสิง่ แวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนร้ดู ้วยตนเอง การเรียนรอู้ ย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกนั ใน
สังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การมีเหตุผล กตัญญูกตเวที การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู้จักหลีกเล่ียงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อ่ืน การรักและภูมิใจในความ
เปน็ ไทยและรกั ษท์ อ้ งถิ่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยดี ้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การสอ่ื สาร การ
ทางาน การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝเ่ รยี นรู้
5. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง
6. มงุ่ ม่ันในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ
๒
สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้
สำระท่ี 1 กำรอำ่ น ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนิน
มาตรฐาน ท 1.1
ชวี ติ และมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ 2 การเขยี น
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเร่อื งราวในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอย่างมีประสิทธภิ าพ
สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และความร้สู ึกใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์
สาระท่ี 4 หลักการใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ
ภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัติของชาติ
สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตจริง
๓
1. โครงสรำ้ งเวลำเรียน
เป็นโครงสร้างทแี่ สดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลมุ่ สาระท่ีเป็น
เวลาเรียนพ้นื ฐาน เวลาเรียนเพ่มิ เติม และเวลาในการจดั กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี นจาแนกแต่ละชั้นปี
โครงสรำ้ งเวลำเรียนหลกั สูตรโรงเรียนชุมชนบ้ำนดง
เวลำเรียน
กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้/ กิจกรรม ระดับประถมศึกษำ
ป. 1 ป. 2 ป. 3 ป. 4 ป. 5 ป. 6
กล่มุ สำระกำรเรยี นรู้
ภำษำไทย 200 200 200 160 160 160
คณติ ศำสตร์ 160 160 160 160 160 160
วิทยำศำสตร์ 80 80 80 80 80 80
สังคมศึกษำ ศำสนำ และ 80 80 80 120 120 120
วฒั นธรรม (40) (40) (40) (40) (40) (40)
* ประวัตศิ ำสตร์
* ศำสนำ ศลี ธรรม จรยิ ธรรม
* เศรษฐศำสตร์ (40) (40) (40) (80) (80) (80)
* ภูมศิ ำสตร์
* กำรปอ้ งกันกำรทจุ ริต
สขุ ศกึ ษำและพลศึกษำ 40 40 40 80 80 80
ศลิ ปะ 40 40 40 80 80 80
กำรงำนอำชีพและเทคโนโลยี 40 40 40 40 40 40
ภำษำตำ่ งประเทศ 200 200 200 120 120 120
รวมเวลำเรียน (พ้ืนฐำน) 840 840 840 840 840 840
หนำ้ ทีพ่ ลเมือง 40 40 40 40 40 40
รวมเวลำเรียนรำยวชิ ำเพมิ่ เติม 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมพัฒนำผูเ้ รยี น
* กจิ กรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
* กิจกรรมนักเรยี น
- ลูกเสือ 30 30 30 30 30 30
- ชมุ นุม 40 40 40 40 40 40
* กจิ กรรมเพื่อสงั คมและสำธำรณะประโยชน์ 10 10 10 10 10 10
รวมเวลำเรียนกิจกรรมพัฒนำผเู้ รียน 120 120 120 120 120 120
รวมเวลำเรียนทง้ั หมด 1,000 ช่ัวโมง/ปี
๔
2. โครงสรำ้ งหลกั สูตรชน้ั ปี
เปน็ โครงสร้างท่แี สดงรายละเอียดเวลาเรยี นของรายวชิ าพน้ื ฐาน รายวิชา / กจิ กรรมเพิ่มเตมิ
และกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นในแต่ละช้นั ปี
โครงสร้ำงหลักสูตรโรงเรียนชุมชนบ้ำนดง ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 2
รำยวชิ ำ / กจิ กรรม เวลำเรียน
(ชม. / ป)ี
รำยวิชำพื้นฐำน 840
ท12101 ภำษำไทย 200
ค12101 คณติ ศำสตร์ 160
ว12101 วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี 80
ส12101 สงั คมศึกษำ ศำสนำและวฒั นธรรม 40
ส12102 ประวัตศิ ำสตร์ 40
พ12101 สุขศกึ ษำและพลศึกษำ 40
ศ12101 ศลิ ปะ 40
ง12101 กำรงำนอำชพี 40
อ12101 ภำษำองั กฤษ 200
รำยวิชำเพ่ิมเตมิ 40
ส12232 หน้ำท่พี ลเมอื ง 40
กิจกรรมพัฒนำผเู้ รยี น 120
กิจกรรมแนะแนว 40
กจิ กรรมนักเรยี น
ลูกเสอื 30
ชมุ นุม 40
กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสำธำรณะประโยชน์ 10
รวมเวลำเรียนท้ังสิน้ 1,000
๕
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำพน้ื ฐำน
ท 12101 ภำษำไทย 2 กลมุ่ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย
ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ่ี 2 เวลำ 200 ชัว่ โมง
ฝึกอ่านออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ อธิบายความหมายของคา
และข้อความท่ีอ่าน ต้ังคาถาม ตอบคาถาม ระบุใจความสาคัญและรายละเอียด แสดงความคิดเห็นและ
คาดคะเนเหตุการณ์ เลือกอ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและนาเสนอเรอ่ื งท่ีอ่าน อ่านข้อเขียน
เชงิ อธิบาย และปฏิบตั ิตามคาส่ังหรือขอ้ แนะนา มมี ารยาทในการอ่าน
ฝึกคัดลายมอื ด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขยี นเร่ืองส้ันๆ เก่ียวกับประสบการณ์ เขียนเรื่องส้ันๆ ตาม
จนิ ตนาการ มมี ารยาทในการเขยี น
ฝึกทักษะการฟัง ฟังคาแนะนา คาสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม เล่าเรื่อง บอกสาระสาคัญของ
เรื่อง ต้ังคาถาม ตอบคาถาม พูดแสดงความคิดเห็น ความร้สู ึก พูดสื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวัตถุประสงค์
มมี ารยาทในการฟัง การดูและการพูด
ฝึกทักษะการเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลขไทย เขียนสะกดคาและบอกความหมาย
ของคา เรียบเรียงคาเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการส่ือสาร บอกลักษณะคาคล้องจอง เลือกใช้
ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถนิ่ ได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
ฝึกจับใจความสาคัญจากเรอ่ื ง ระบุข้อคิดท่ีได้จากการอา่ นหรือการฟังวรรณกรรมสาหรับเด็ก เพ่ือ
นาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน ร้องบทรอ้ งเล่นสาหรบั เดก็ ในท้องถน่ิ ทอ่ งจาบทอาขยานตามทก่ี าหนดและบทรอ้ ย
กรองท่ีมีคุณค่าตามความสนใจ โดยใช้กระบวนการอ่าน กระบวนการเขียน กระบวนการแสวงหาความรู้
กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการส่ือความ กระบวนการแก้ปัญหา การฝึกปฏิบัติ
อธิบาย บันทึก การตั้งคาถาม ตอบคาถาม ใช้ทักษะการฟัง การดูและการพูด พูดแสดงความคิดเห็น
กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบยอด
เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารได้ถูกต้อง รกั การเรียนภาษาไทย เหน็ คุณคา่ ของ
การอนุรักษ์ภาษาไทย และตวั เลขไทย สามารถนาความรู้ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์โดยใช้หลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งและสามารถนาไปประยุกตใ์ ชก้ ับชีวิตประจาวันได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสม
มำตรฐำน/ตวั ชี้วดั
ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8
ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4,
ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7
ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5
ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3
รวม 5 มำตรฐำน 27 ตัวชี้วัด
๖
ท 12101 ภาษาไทย 2 โครงสร้ำงรำยวชิ ำพน้ื ฐำน
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
เวลา 200 ช่ัวโมง
หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
ท่ี (ชั่วโมง) คะแนน
หลักภาษาไทย ท 4.1 ป. 2/1 ตวั อกั ษรไทยประกอบด้วย พยญั ชนะ สระ วรรณยุกต์ และเลข 7 3
2
1 ตวั อกั ษรไทย ไทย ซึง่ สามารถนามาประกอบเปน็ คา เพอ่ื ใชใ้ นการสอ่ื สาร 2
2
2 มาตรา ก กา ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 มาตรา ก กา เป็นคาทีไ่ มม่ ีตัวสะกดการอ่าน การเขยี น และรู้ 6 2
2
ท 2.1 ป. 2/1 ความหมายของคาทถี่ ูกต้อง ทาใหส้ ามารถนาคาไปใชใ้ น 2
2
ท 4.1 ป. 2/2 ชวี ติ ประจาวนั ได้ 2
2
3 มาตรา กง ท1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 มาตรา กง เป็นคาที่มี ง เปน็ ตวั สะกดการอ่าน การเขยี น และรู้ 6 2
ท 2.1 ป. 2/1 ความหมายของคาทถ่ี กู ต้อง ทาใหส้ ามารถนาคาไปใชใ้ น 3
ท 4.1 ป. 2/2 ชีวติ ประจาวันได้
4 มาตรา กม ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 มาตรา กม เปน็ คาท่ีมี ม เป็นตวั สะกดการอา่ น การเขียน และรู้ 6
ท 2.1 ป. 2/1 ความหมายของคาทถ่ี ูกต้อง ทาใหส้ ามารถนาคาไปใชใ้ น
ท 4.1 ป. 2/2 ชีวิตประจาวันได้
5 มาตรา เกย ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 มาตรา เกย เป็นคาท่ีมี ย เป็นตัวสะกดการอา่ น การเขียน และรู้ 6
ท 2.1 ป. 2/1 ความหมายของคาทถ่ี ูกตอ้ ง ทาใหส้ ามารถนาคาไปใชใ้ น
ท 4.1 ป. 2/2 ชีวิตประจาวนั ได้
6 มาตรา เกอว ท1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 มาตรา เกอว เป็นคาทมี่ ี วเป็นตัวสะกด การอ่าน การเขียน 6
ท 2.1 ป. 2/1 และร้คู วามหมายของคาทถี่ กู ต้อง ทาใหส้ ามารถนาคาไปใช้
ท 4.1 ป. 2/2 ในชวี ติ ประจาวนั ได้
7 มาตรา กก ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 มาตรา กก เปน็ คาทมี่ ี ก ข ค ฆ เปน็ ตัวสะกด ออกเสียงเหมอื น 6
ท 2.1 ป. 2/1 ท 4.1 ป. 2/2 ก สะกด การอา่ น การเขียน และรคู้ วามหมายของคาทถ่ี กู ต้อง
ทาให้สามารถนาคาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้
8 มาตรา กด ท 1.1 ป. 2/1, มาตรา กด เป็นคาทมี่ ีพยญั ชนะท่เี ป็นตวั สะกดได้หลายตัว ซึง่ 6
ป. 2/2 ท 2.1 ป. 2/1 ออกเสียงเหมือน ด สะกด การอ่าน การเขียน และรูค้ วามหมาย
ท 4.1 ป. 2/2 ของคาทถ่ี กู ต้องทาใหส้ ามารถนาคาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
9 มาตรา กน ท 1.1 ป. 2/1,ป. 2/2 มาตรา กน เปน็ คาทมี่ ี น ญ ณ ร ล ฬ เปน็ ตวั สะกด ออกเสียง 6
ท 2.1 ป. 2/1 เหมือน น สะกด การอ่าน การเขียน และรคู้ วามหมายของคาท่ี
ท 4.1 ป. 2/2 ถูกตอ้ งทาใหส้ ามารถนาคาไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้
10 มาตรา กบ ท 1.1 ป. 2/1,ป. 2/2 มาตรา กบ เป็นคาทีม่ ี บ ป พ ฟ ภ เปน็ ตัวสะกด ออกเสียง 6
ท 2.1 ป. 2/1 ท 4.1 ป. 2/2 เหมือน บ สะกด การอา่ น การเขยี น และรูค้ วามหมายของคาท่ี
ถูกต้องทาให้สามารถนาคาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
11 การผนั อกั ษร ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 การผนั อกั ษร เปน็ การเปลี่ยนเสียงคาต่าง ๆ ตามเสียงวรรณยุกต์ 6
ท 2.1 ป. 2/1 ให้ไดค้ าใหม่ทมี่ คี วามหมายแตกต่างจากคาเดิม การเข้าใจอกั ษร
ท 4.1 ป. 2/2 สงู อกั ษรกลาง และอักษรต่า จะทาใหผ้ ันอักษรได้ถูกต้องและ
สามารถนาคาไปใช้ในชวี ิตประจาวันได้
11 คาที่มี ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 คาทมี่ พี ยญั ชนะควบกล้าเปน็ คาที่มพี ยญั ชนะต้น ๒ ตวั ประสม 7
พยัญชนะ ท 2.1 ป. 2/1 สระตัวเดยี วกัน พยัญชนะทมี่ าควบคอื ร ล ว บางคาออกเสยี ง
ควบกล้า ท 4.1 ป. 2/2 พยญั ชนะต้น ๒ ตวั กลา้ กนั บางคาออกเสียงเฉพาะพยัญชนะตวั
แรก และบางคาออกเสยี ง ทร เป็นเสียง ซ การอา่ น การเขียน
และรคู้ วามหมายของคาทถ่ี กู ต้อง ทาใหส้ ามารถนาคา ไปใชใ้ น
ชีวติ ประจาวันได้
๗
หน่วย ช่ือหนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ัด สาระสาคัญ เวลา นา้ หนัก
ที่ (ชว่ั โมง) คะแนน
12 คาที่มี ท 1.1 ป. 2/1, คาที่มพี ยัญชนะควบกล้าเป็นคาทีม่ ีพยัญชนะตน้ ๒ ตัว ประสม 7 3
พยญั ชนะ ป. 2/2 สระตวั เดยี วกัน พยญั ชนะทีม่ าควบคือ ร ล ว บางคาออกเสียง 3
ควบกล้า ท 2.1 ป. 2/1 พยัญชนะต้น ๒ ตัวกลา้ กนั บางคาออกเสยี งเฉพาะพยัญชนะตวั 3
ท 4.1 ป. 2/2 แรก และบางคาออกเสียง ทร เปน็ เสยี ง ซ การอ่าน การเขยี น 3
และรู้ความหมายของคาทถ่ี ูกตอ้ ง ทาใหส้ ามารถนาคา ไปใชใ้ น 3
3
ชวี ติ ประจาวันได้ 3
13 คาทีม่ ีอกั ษรนา ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 คาทีม่ อี ักษรนา เป็นคาทม่ี ีพยัญชนะต้น ๒ ตัว ประสมสระ 7
ท 2.1 ป. 2/2 เดียวกัน พยัญชนะต้นตวั แรก จะเปน็ อักษรสูงหรอื อกั ษรกลาง
ท 4.1 ป. 2/2 ส่วนพยัญชนะตัวทสี่ องจะเป็นอักษรตา่ บางคาออกเสียงพยางค์
เดยี วบางคาออกเสยี ง ๒ พยางค์ โดยพยางคแ์ รกออกเสียง อะ
กง่ึ เสียง สว่ นพยางคห์ ลังออกเสียงเหมือนมี ห นา การอ่าน การ
เขียน และรคู้ วามหมายของคาทถ่ี ูกต้องทาให้สามารถนาคาไปใช้
ในชีวติ ประจาวันได้
14 คาทมี่ ีตัว ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 คาทมี่ ีตวั การนั ต์ เป็นคาทีม่ ไี ม้ทณั ฑฆาต ( –์ ) กากบั อยูบ่ น 7
การันต์ ท 2.1 ป. 2/1 พยัญชนะท่ีไมต่ ้องการออกเสยี ง ตัวการนั ตม์ ีท้ังพยัญชนะ
ท 4.1 ป. 2/2 ตัวเดียว พยัญชนะ ๒ ตัว พยญั ชนะ และสระ การอา่ นจะไม่
อ่านออกเสียงพยัญชนะและสระน้ัน การเขียน และรูค้ วามหมาย
ของคาท่ถี กู ต้องทาใหส้ ามารถนาคาไปใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้
15 คาทม่ี ี รร ท 1.1 ป. 2/1,ป. 2/2 คาที่มี รร อา่ นออกเสียงเหมือนพยัญชนะต้น ประสมสระ อะ ถา้ 7
ท 2.1 ป. 2/1 คานน้ั ไมม่ ีตัวสะกดจะออกเสียงเหมอื นมี น เปน็ ตวั สะกด แต่ถา้
ท 4.1 ป. 2/2 คานั้นมีตวั สะกดจะออกเสียงตามเสียงตวั สะกดของคา การ
เขียน และรู้ความหมายของคา ที่ถูกตอ้ ง ทาใหส้ ามารถนาคาไป
ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
16 คาทมี่ ี ท 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2 คาบางคามีพยัญชนะและสระ ทีไ่ ม่ออกเสียง บางคาไมอ่ อกเสยี ง 7
ร ซ่ึงเป็นตวั สะกดตวั ท่สี องบางคาไม่ออกเสยี ง ห
พยญั ชนะ ท 2.1 ป. 2/1 บางคาไมอ่ อกเสยี งสระ −ิ หรอื สระ −ุ ซ่งึ ประสมอยู่กับตัวสะกด
และสระท่ไี ม่
ออกเสยี ง
17 คาทม่ี ี ท 4.1 ป. 2/2 คาในภาษาไทยมีคาท่มี ีความหมายตรงขา้ มกนั ใช้เปรยี บเทียบ 7
ความหมาย เพอื่ ส่ือความหมายใหช้ ัดเจน การเข้าใจความหมายของคา ทาให้
ตรงขา้ มกัน สามารถนาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้ถกู ต้อง
18 คาคลอ้ งจอง ท 1.1 ป. 2/1 คาคลอ้ งจองเป็นคาทม่ี เี สยี งสระและเสียงตัวสะกดเหมอื นกนั ทา 7
ท 2.1 ป. 2/1 ให้ภาษาไทยมีความไพเราะและจดจาได้ง่าย
ท 4.1 ป. 2/4
๘
หน่วยที่ ชือ่ หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสาคญั เวลา นา้ หนกั
๑๙ ตัวชีว้ ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
ภาษาไทย ภาษาไทยมาตรฐานเปน็ ภาษาทีใ่ ช้ตดิ ต่อสอ่ื สารกนั ท่ัวไป สว่ น
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป. ๒/๕ ภาษาถิ่น เป็นภาษาที่ใชต้ ดิ ต่อสอื่ สารกันภายใน ๗ ๓
และภาษาถนิ่ ท้องถนิ่ ใดท้องถน่ิ หนงึ่ การเรยี นรู้ภาษาถิน่ ทาใหเ้ ข้าใจการ ๑๓ ๖
ท ๒.๑ ป. ๒/๒, ส่อื สารของคนกลุ่มตา่ ง ๆ และเลือกใช้ภาษา
๒๐ การเขียน ป. ๒/, ป. ๒/๔ ๑. การแต่งประโยคได้ตรงตามจุดประสงค์จะทาใหก้ ารส่ือสาร ๓๐ ๑๒
ท ๔.๑ ป. ๒/๓ ชัดเจน
๒๑ การฟงั การดู ๒. การเขยี นเร่ืองสัน้ ๆ เก่ียวกบั ประสบการณเ์ ปน็ การเขียน ๓๒ ๑๔
และการพดู ท ๓.๑ ป. ๒/๑, เรื่องราวทเ่ี กิดจากการกระทา หรือไดพ้ บเหน็ มาด้วยตนเอง
ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ถ่ายทอดให้ผู้อื่นรับรู้ เพอ่ื แลกเปล่ยี นประสบการณ์
วรรณคดี ป. ๒/๔, ป. ๒/๕, ซงึ่ กนั และกนั
๒๒ และวรรณกรรม ป. ๒/๖, ป. ๒/๗ ๓. การเขียนเร่ืองสน้ั ๆ ตามจินตนาการ ทาให้มคี วามคิด
สร้างสรรค์
ดอกสร้อย ท ๑.๑ ป. ๒/๑, ๔. การมมี ารยาทในการเขยี น จะทาให้งานเขยี นมคี ุณภาพเปน็ ที่
แสนงาม ป. ๒/๒, ป. ๒/๓, ชื่นชมของผู้ท่ีไดอ้ า่ นงานเขียนน้ัน
ป. ๒/๔, ป. ๒/๕, ๑. การฟงั คาแนะนาหรือคาส่งั อย่างต้งั ใจและคิดตามจะทาให้
ป. ๒/๖, ป. ๒/๗, เขา้ ใจและสามารถปฏบิ ัตติ ามไดถ้ ูกต้อง
ป. ๒/๘ ๒. การฟังและดเู รอื่ งราวตา่ ง ๆ อย่างต้งั ใจจะทาให้สามารถ จบั
ท ๕.๑ ป. ๒/๑, ใจความของเรือ่ งได้ สามารถนาไปถ่ายทอดแสดงความคดิ เหน็
และความรู้สกึ ได้อยา่ งถกู ต้อง
๓. การพูดสอ่ื สารในชีวิตประจาวันตอ้ งเลอื กใชถ้ ้อยคาและแสดง
กิรยิ าท่าทางใหเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบคุ คล
๔. การมมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด เกิดข้นึ จากความ
ตงั้ ใจ ทาใหผ้ ้อู ื่นชน่ื ชม และการสอ่ื สารประสบความสาเรจ็
การอา่ นและการฟังวรรณคดีและวรรณกรรมร้อยแกว้ และรอ้ ย
กรองสาหรบั เดก็ ทาให้ได้ข้อคดิ ทน่ี ามาประยกุ ตใ์ ช้ใน
ชวี ติ ประจาวัน
รวมระหวา่ งปี ๑๙๘ ๘๐
ปลายปี ๒ ๒๐
๒๐๐ ๑๐๐
รวมตลอดปี
รายวิชาภาษาไทย แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้ท่ี ๑๓ ๙
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหัสวชิ า ท๑๒๑๐๑
หน่วยการเรยี นรู้ เร่ือง อกั ษรนา ภาคเรยี นท่ี ๒ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
สอนวันท่ี ๗-๑๕ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕
เวลา ๗ ชว่ั โมง
ครูผสู้ อน ครูศริ ิพร สที า
๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชีว้ ดั
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ัดสนิ ใจแก้ปัญหาใน
การดาเนนิ ชวี ิต และมีนิสัยรกั การอ่าน
ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป. ๒/๑ อ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ
ได้ถูกต้อง
ท ๑.๑ ป. ๒/๒ อธิบายความหมายของคาและขอ้ ความทอี่ า่ น
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขียนสอื่ สาร เขียนเรียงความ ย่อความ
และเขยี นเรอ่ื งราวในรปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้า
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ตัวช้วี ัด
ท ๒.๑ ป. ๒/๑ คดั ลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัด
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา และ
พลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ
ตัวชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
๒.สาระสาคัญ
คาทมี่ ีอกั ษรนา เป็นคาทม่ี พี ยัญชนะตน้ ๒ ตวั ประสมสระเดียวกนั พยัญชนะตน้ ตัวแรก
จะเป็นอกั ษรสูงหรอื อกั ษรกลาง ส่วนพยัญชนะตวั ท่ีสองจะเป็นอกั ษรต่า บางคาออกเสยี ง
พยางคเ์ ดยี ว บางคาออกเสยี ง ๒ พยางค์ โดยพยางค์แรกออกเสยี ง อะ กึ่งเสียง ส่วนพยางคห์ ลงั
ออกเสียงเหมือนมี ห นา การอ่าน การเขียน และรู้ความหมายของคาท่ีถกู ตอ้ ง ทาให้สามารถนา
คาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้
๑๐
ความเข้าใจที่คงทน (Enduring Understanding)
นักเรยี นสามารถสรุปได้วา่ คาที่มอี กั ษรนา เปน็ คาที่มีพยัญชนะต้น ๒ ตวั ประสมสระเดยี วกัน พยัญชนะตน้
ตัวแรกจะเปน็ อักษรสูงหรืออกั ษรกลาง สว่ นพยัญชนะตัวทสี่ องจะเป็นอกั ษรตา่ บางคาออกเสยี งพยางคเ์ ดยี ว
บางคาออกเสยี ง ๒ พยางค์ โดยพยางคแ์ รกออกเสียง อะ กง่ึ เสยี ง สว่ นพยางค์หลังออกเสยี งเหมือนมี ห นา
การอ่าน การเขยี น และรู้ความหมายของคาทถ่ี ูกต้อง ทาใหส้ ามารถนาคาไปใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้
๓.สาระการเรียนรู้
คาทมี่ อี ักษรนา
๔. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
- ทักษะการอ่าน
- ทกั ษะการเขยี น
- ทักษะการฟงั การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก
- การให้เหตุผล
- การวิเคราะห์
- การจดั ระบบความคดิ เป็นแผนภาพ
- การประยกุ ต/์ การปรับปรงุ
- การสรปุ ความรู้
- การประเมินคา่
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิ
๕. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝเ่ รยี นรู้
ตวั ชี้วัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งมน่ั ในการทางาน
ตัวชี้วัดที่ ๖.๑ ตง้ั ใจและรับผิดชอบในการปฏบิ ัติหน้าท่กี ารงาน
ตัวชว้ี ดั ที่ ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมายรักความเปน็ ไทย
ตัวชี้วัดท่ี ๗.๒ เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
๖. ช้ินงาน/ภาระงาน
๑. กจิ กรรมการอา่ นออกเสียงคาท่มี ีอกั ษรนา
๒. ใบงานท่ี ๒๖ เร่ือง การเขยี นคาทีม่ ีอกั ษรนาให้ตรงกับภาพและอ่านขอ้ ความ
๓. ใบงานที่ ๒๗ เรือ่ ง การคัดลายมอื คาท่ีมีอักษรนา
๔. แผนภาพความคิดสรุปความรูเ้ รื่อง คาทีม่ อี กั ษรนา
๑๑
๗. การประเมนิ ผล
กำรประเมนิ ผลตวั ชี้วดั
เรือ่ ง การอา่ นออกเสียงคาทม่ี ีอกั ษรนา
ระดับคะแนน
๔ ๓ ๒๑
เกณฑ์การประเมนิ อ่านออกเสียงคา
ที่มอี กั ษรนา
การอา่ น อา่ นออกเสยี งคา ทกุ คาได้ อ่านออกเสยี งคา อา่ นออกเสียงคา
ดว้ ยตนเอง ทม่ี ีอักษรนา ที่มีอักษรนาได้
ออกเสียงคา ท่ีมอี ักษรนาได้ สามารถแก้ไขคา ไดถ้ ูกต้อง แต่ตอ้ งมีผ้แู นะนา
ที่อ่านผิดได้ เปน็ สว่ นใหญ่
ท่ีมอี ักษรนา ถูกต้องทุกคา และเมอ่ื มีผู้แนะนา
ก็สามารถแกไ้ ขได้
ดว้ ยตนเอง
และสามารถอา่ น
นาผอู้ ืน่ ได้
ใบงานท่ี ๒๖ เรอื่ ง การเขียนคาท่มี อี กั ษรนาให้ตรงกบั ภาพ และอ่านขอ้ ความ
ระดับคะแนน
๔๓๒ ๑
เกณฑ์การประเมิน เขยี นคาทีม่ ี
ความหมายสมั พันธ์
การเขียนคา เขยี นคาทม่ี ี เขยี นคาทมี่ ี เขียนคาที่มี กบั ภาพและอา่ น
ออกเสยี งได้
ทม่ี ีอักษรนา ความหมายสมั พันธ์ ความหมายสัมพันธ์ ความหมายสมั พันธ์ แตต่ อ้ งมผี แู้ นะนา
ให้ตรงกับภาพ กับภาพและอา่ น กบั ภาพและอ่าน กบั ภาพและอ่าน
และอ่านข้อความ ออกเสียง ออกเสียงด้วย ออกเสยี ง
ไดถ้ กู ตอ้ งทุกคาดว้ ย ตนเองได้ ไดถ้ กู ต้อง
ตนเอง บางคาท่ีเขียนหรอื เปน็ ส่วนใหญ่
อา่ นผิดก็สามารถ และเมือ่ มผี ู้แนะนา
แกไ้ ข กส็ ามารถแกไ้ ข
ดว้ ยตนเองได้ ตามได้
ใบงานที่ ๒๗ เร่อื ง การคัดลายมือคาที่มอี กั ษรนา ๑๒
ระดับคะแนน ๑
๔๓ ๒ คดั ลายมอื
ได้ถกู ตอ้ ง แต่ยงั ไม่
เกณฑก์ ารประเมิน คดั ลายมอื เปน็ ระเบียบนัก
ไดถ้ ูกตอ้ ง มรี อยลบ
การคัดลายมอื คา คดั ลายมอื คัดลายมือ และเปน็ ระเบยี บ ที่ไม่สะอาด
ความสะอาด หลายแห่ง
ทีม่ อี กั ษรนา ได้ถูกต้อง ไดถ้ กู ต้อง พอใช้ได้
เป็นระเบยี บ เปน็ ระเบยี บ
สะอาด และสะอาดดี
และสวยงาม แตย่ ังไมส่ วยงาม
แสดงถงึ มากนัก
ความตั้งใจ
กำรประเมนิ ผลคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
ตัวชี้วดั ท่ี ๔.๑ ต้ังใจ เพยี รพยำยำมในกำรเรียนและเขำ้ ร่วมกิจกรรมกำรเรียนรู้
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผ่ำน (๑) ไมผ่ ่ำน (๐)
ไม่ตง้ั ใจเรยี น
๔.๑.๑ ตัง้ ใจเรียน ต้ังใจเรยี น ต้ังใจเรียน ตงั้ ใจ เอาใจใส่
๔.๑.๒เอาใจใส่และมีความ เอาใจใส่ และมคี วาม เอาใจใส่ ในการเรียน
เพยี ร-พยายามในการ และมีความ
เพยี รพยายามในการ เรียนรู้ เขา้ รว่ ม เพียร-
เรยี นรู้ กจิ กรรม พยายาม
๔.๑.๓ สนใจเข้าร่วม การเรียนรตู้ า่ ง ๆ ในการเรียน
กิจกรรมการเรยี นรู้
ต่าง ๆ
มุ่งมัน่ ในกำรทำงำน
ตัวช้ีวัดท่ี ๖.๑ ตั้งใจและรบั ผดิ ชอบในกำรปฏบิ ตั หิ น้ำท่ีกำรงำน
พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ดีเยีย่ ม (๓) ดี (๒) ผำ่ น (๑) ไม่ผำ่ น (๐)
๖.๑.๑ เอาใจใส่ตอ่ การปฏิบัติ ตง้ั ใจและ ตงั้ ใจและ เอาใจใส่ต่อการ ไมต่ ้ังใจปฏบิ ัติ
หนา้ ที่ที่ได้รับมอบหมาย รบั ผดิ ชอบในการ รบั ผดิ ชอบในการ ปฏิบตั หิ น้าที่ท่ี หน้าท่ีการงาน
ปฏบิ ัติหนา้ ที่ท่ี ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีที่ ได้รบั มอบหมาย
๖.๑.๒ ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบ ได้รบั มอบหมายให้ ไดร้ ับมอบหมาย
ในการทางาน ให้สาเรจ็ สาเร็จ มกี าร ใหส้ าเร็จ
ปรับปรุงการ
๖.๑.๓ ปรับปรงุ แลtพฒั นาการ ทางานให้ดขี น้ึ
ทางาน ด้วยตนเอง
๑๓
ตัวชี้วดั ที่ ๖.๒ ทำงำนด้วยควำมเพยี รพยำยำมและอดทนเพอ่ื ให้งำนสำเร็จตำมเป้ำหมำย
พฤติกรรมบ่งชี้ ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผำ่ น (๑) ไมผ่ ่ำน (๐)
๖.๒.๑ ท่มุ เททางาน ทางานดว้ ย ทางานด้วย ทางานด้วย ไม่ขยัน อดทน
อดทน ความขยนั อดทน ความขยนั ความขยนั ในการทางาน
ไม่ย่อท้อต่อปญั หา พยายาม พยายามให้งาน เพือ่ ใหง้ านเสรจ็
และอปุ สรรค ให้งานสาเรจ็ สาเรจ็ ตามทไ่ี ดร้ ับ
ในการทางาน ตามเป้าหมาย ตามเปา้ หมาย มอบหมาย
ชน่ื ชมผลงาน
๖.๒.๒ พยายามแกป้ ญั หา ด้วยความ
และอปุ สรรค ภาคภูมิใจ
ในการทางาน
ให้สาเรจ็
๖.๒.๓ ชนื่ ชมผลงานด้วย
ความภาคภูมิใจ
รกั ควำมเปน็ ไทย
ตวั ช้ีวดั ท่ี ๗.๒ เหน็ คณุ ค่ำและใช้ภำษำไทยในกำรส่ือสำรได้อย่ำงถูกตอ้ งเหมำะสม
พฤติกรรมบง่ ช้ี ดีเยย่ี ม (๓) ดี (๒) ผำ่ น (๑) ไม่ผ่ำน (๐)
๗.๒.๑ ใชภ้ าษาไทยและ เป็นแบบอยา่ งที่ดี ใช้ภาษาไทย ใชภ้ าษาไทยและ ไมส่ นใจ
เลขไทยในการ ในการใช้ เลขไทยในการ เลขไทยในการ ใช้ภาษาไทย
ส่อื สารไดอ้ ยา่ ง ภาษาไทย ส่ือสาร บอกให้ สอ่ื สารได้ อย่างถกู ต้อง
ถกู ตอ้ งเหมาะสม เลขไทยในการ ผูอ้ น่ื ใช้ภาษาไทย
สอื่ สาร บอกให้ ท่ีถกู ต้อง
๗.๒.๒ชักชวน แนะนาให้ ผอู้ ื่นใชภ้ าษาไทย
ผอู้ ่ืนเห็นคุณคา่ ท่ถี กู ตอ้ ง
ของการใช้
ภาษาไทยที่
ถกู ตอ้ ง
๘. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑. ให้นกั เรยี นอา่ นบตั รคาคาท่ีมพี ยัญชนะควบกล้าและคาทีม่ ีอักษรนา แล้วสังเกตความแตกต่าง
๒. ให้นักเรียนดภู าพและอ่านออกเสยี งคาที่มอี กั ษรนาพร้อมกนั เชน่ จรวด ตลาด หนอน ข้าวหลาม
แลว้ อธิบายลกั ษณะของคา
๓. ให้นักเรยี นศกึ ษาความรู้เร่อื ง คาที่มอี กั ษรนา
๑๔
๔. ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นสะกดคาที่มอี กั ษรนา จากแถบประโยคทีค่ รูกาหนด
๕. ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นออกเสียงคาทมี่ อี ักษรนาที่ใชใ้ นชีวิตประจาวัน
๖. ใหน้ กั เรียนแบง่ กล่มุ กลุ่มละ ๓ – ๔ คน แข่งขันกนั จับคบู่ ัตรคาให้เปน็ คาท่มี ีความหมาย
กลมุ่ ใดทาเสร็จกอ่ น และถูกต้องเป็นฝา่ ยชนะ
๗. ให้นักเรยี นอา่ นออกเสียงคาจากบัตรคาแลว้ ร่วมกันบอกความหมาย ครูชว่ ยแนะนา
และอธิบายเพมิ่ เตมิ
๘. ใหน้ ักเรยี นอา่ นประโยคตามท่ีครกู าหนด และเรยี นร้คู วามหมายของคา
๙. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่มแตง่ เพลงงา่ ย ๆ โดยใชค้ าที่มีอกั ษรนา จากนน้ั ออกมานาเสนอผลงานหน้า
ชน้ั เรยี น ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั ประเมนิ ผลงาน
๑๐. ให้นักเรียนทาใบงานท่ี ๒๖ เรื่อง การเขยี นคาทม่ี อี ักษรนาให้ตรงกับภาพและ อา่ นข้อความ
จากนั้นรว่ มกันตรวจสอบความถกู ต้อง
๑๑. ใหน้ กั เรยี นเล่นเกมปรศิ นาอกั ษรไขว้ โดยระบายสคี าท่ีมอี กั ษรนา จากนนั้ อา่ นออกเสยี งแลว้
รว่ มกนั อธบิ ายความหมายของคา
๑๒. ให้นักเรยี นแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย ผลดั กนั บอกและเขยี นคาท่ีมีอกั ษรนาตามทีก่ าหนด เช่น ช่ือส่งิ ของ
เครอ่ื งใช้ ชือ่ พชื ผัก ผลไม้ ชอื่ สตั ว์ ฝา่ ยใดได้คะแนนมากกว่าเป็นฝ่ายชนะ
๑๓. ให้นกั เรยี นเลอื กคาท่กี าหนดไปเตมิ ลงในช่องว่างในประโยค จากน้นั รว่ มกันตรวจสอบความ
ถกู ตอ้ ง
๑๔. ใหน้ ักเรียนอ่านเรอ่ื ง จ้งิ หรดี ที่ครูตดิ บนกระดานพรอ้ มกัน และสังเกตคาท่ีมอี กั ษรนา
๑๕. ใหน้ ักเรียนทาใบงานท่ี ๒๗ เรอ่ื ง การคัดลายมอื คาท่ีมีอักษรนา ครปู ระเมนิ ผลงานของนักเรียน
เปน็ รายบคุ คล
๑๖. ให้นักเรยี นวาดภาพระบายสีประกอบคาทมี่ อี ักษรนา คนละ ๑ คา พร้อมทง้ั เขยี นคาไวใ้ ต้ภาพ
จากนัน้ นามาแลกเปล่ียนกันอ่านกับเพอ่ื น
๑๗. ให้นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี
คาทีม่ อี ักษรนา เป็นคาทม่ี พี ยัญชนะต้น ๒ ตัว ประสมสระเดยี วกนั พยญั ชนะต้น ตัวแรกจะเปน็
อักษรสูงหรืออักษรกลาง ส่วนพยัญชนะตัวท่ีสองจะเป็นอกั ษรต่า บางคาออกเสียงพยางค์เดยี ว บางคาออกเสียง
๒ พยางค์ โดยพยางค์แรกออกเสยี ง อะ กึ่งเสียง ส่วนพยางค์หลงั ออกเสยี งเหมอื นมี ห นา การอ่าน การเขียน และ
รูค้ วามหมายของคาท่ีถกู ต้อง ทาให้สามารถนาคาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้
๑๘. ให้นกั เรียนเขียนแผนภาพความคิดสรปุ ความรู้เร่ือง คาทม่ี อี ักษรนา แล้วรว่ มกันตรวจสอบความ
ถกู ต้อง
๙. สอ่ื การเรยี นรู้ ๒. บัตรคา
๑. ภาพ ๔. แถบประโยค
๓. บัตรตัวอกั ษร ๖. ใบงานที่ ๒๖-๒๗
๕. ชดุ คาในชวี ิตประจาวัน
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-Test) ๑๕
ชอ่ื ____________ นามสกลุ ______________ เลขท่ี _____ ชนั้ _____
ได้__________คะแนน
คะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน
๑. คาใดไม่เข้าพวก
๑ ตลก ๒ ผลิต ๓ แผล
๒. คาใดเป็นคาทีม่ อี กั ษรนา
๑ จรงิ ๒ จรัส ๓ ทราย
๓. “เขาเขยี นดว้ ยมือซ้ายไม่ ถ ด ” พยัญชนะในช่องว่างคอื ตวั ใด
๑ น ๒ม ๓ล
๔. พี่พบั กระดาษมปี กี เลก็ ๆ ปลายแหลม แล้วเรียกน้องว่า
“มาพุ่ง กนั ” คาในชอ่ งวา่ งคอื คาใด
๑ ไศล ๒ ปรอท ๓ จรวด
๕. “ใคร ๆ ออกไปธุระกนั หมด เหลือเรา ๒ คน ชา่ งเงยี บ จรงิ ”
คาในชอ่ งว่างคือคาใด
๑ หงัด ๒ เหงา ๓ หงอย
๖. “พ่ออ่าน ยาที่ขวดกอ่ นใชย้ า” คาในช่องวา่ งคือคาใด
๑ ฉลาก ๒ ผลิต ๓ หนังสอื
๗. “เขาสะดุดรากไมจ้ นเซ ” ๒ ถลา ๓ ถลา
คาในชอ่ งว่างคือคาใด
๑ ไถล
๘. “ฉัน รบั ประทาน ยวงเหลือง ๆ กลนิ่ หอม ”
๒ อยาก ขนุน ๓ อยาก ทุเรียน
ควรเติมคาใดลงในช่องวา่ ง
๑ อยู่ กลว้ ย
๙. คาทม่ี ีอกั ษรนาขอ้ ใดสะกดคาผิด ๒ เหลวไหล ๓ หยากไย่
๑ หลงไหล
๑๐. คาทม่ี อี ักษรนาในข้อใดสะกดถูกต้องท้ัง ๒ คา
๑ สจุ ริต นา้ ใหล
๒ หยดน้า อดหยาก
๓ เทขยะ หลายอยา่ ง
แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-Test) ๑๖
ช่ือ ____________ นามสกุล ______________ เลขที่ _____ ช้ัน _____
ได_้ _________คะแนน
คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
๑. คาใดเปน็ คาทม่ี ีอกั ษรนา
๑ จรงิ ๒ จรสั ๓ ทราย
๒. คาใดไม่เข้าพวก
๑ ตลก ๒ ผลิต ๓ แผล
๓. พีพ่ ับกระดาษมปี ีกเลก็ ๆ ปลายแหลม แล้วเรียกน้องวา่
“มาพุ่ง กัน” คาในชอ่ งว่างคือคาใด
๑ ไศล ๒ ปรอท ๓ จรวด
๔. “พ่ออา่ น ยาที่ขวดกอ่ นใช้ยา” คาในช่องว่างคอื คาใด
๑ ฉลาก ๒ ผลิต ๓ หนังสือ
๕. “เขาเขยี นด้วยมือซ้ายไม่ถ ด” พยัญชนะในช่องวา่ งคือตัวใด
๑ น ๒ม ๓ ล
๖. “ใคร ๆ ออกไปธรุ ะกนั หมด เหลือเรา ๒ คน ช่างเงยี บ จริง”
คาในชอ่ งว่างคอื อะไร
๑ หงัด ๒ เหงา ๓ หงอย
๗. “ฉนั รบั ประทาน ยวงเหลือง ๆ กล่นิ หอม ”
๒ อยาก ขนุน ๓ อยาก ทุเรยี น
ควรเติมคาใดลงในช่องวา่ ง
๑ อยู่ กลว้ ย
๘. คาทม่ี ีอกั ษรนาขอ้ ใดสะกดคาผิด ๒ เหลวไหล ๓ หยากไย่
๑ หลงไหล
๙. คาท่ีมีอกั ษรนาในขอ้ ใดสะกดถกู ต้องท้งั ๒ คา
๑ สจุ รติ นา้ ใหล
๒ หยดน้า อดหยาก
๓ เทขยะ หลายอย่าง
๑๐. “เขาสะดุดรากไม้จนเซ ” ๓ ถลา
คาในชอ่ งวา่ งคือคาใด ๒ ถลา
๑ ไถล
๑๗
เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-Test) เร่ือง คำทมี่ ีอักษรนำ ๕. ๒
๑. ๓ ๒. ๒ ๓. ๑ ๔. ๓ ๑๐. ๓
๖. ๑ ๗. ๒ ๘. ๒ ๙. ๑
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน (Post-Test) เรื่อง คำที่มีอักษรนำ
๑. ๒ ๒. ๓ ๓. ๓ ๔. ๑ ๕. ๑
๑๐. ๒
๖. ๒ ๗. ๒ ๘. ๑ ๙. ๓
๑๘
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ี ๑๓
รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๒๑๐๑ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๑ ช่ัวโมง
ครูผู้สอน ครูศิรพิ ร สที า
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรอื่ ง คาทม่ี อี กั ษรกลางนาอกั ษรตา่
สอนวันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
ตัวชี้วัด๐ อ่านออกเสยี งคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง (ท ๑.๑ ป. ๒/๑)
๐ อธิบายความหมายของคาและข้อความที่อา่ น (ท ๑.๑ ป. ๒/๒)
๐ คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั (ท ๒.๑ ป. ๒/๑)
๐ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา (ท ๔.๑ ป. ๒/๒)
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตัดสินใจ แกป้ ัญหาใน
การดาเนนิ ชวี ิต และมีนสิ ยั รักการอ่าน
ตวั ชว้ี ดั
ท ๑.๑ ป. ๒/๑ อ่านออกเสียงคา คาคลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองง่าย ๆ ได้ถูกต้อง
จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั
๑. อธบิ ายลกั ษณะของคาท่มี อี ักษรกลางนาอกั ษรต่า (K)
๒. อา่ นออกเสยี งคาทม่ี ีอักษรกลางนาอกั ษรต่าได้ (P)
๓. มคี วามต้งั ใจท่ีจะอา่ นออกเสียงคาใหถ้ กู ต้อง (A)
สำระสำคญั
คาที่มีพยัญชนะต้นสองตวั ประสมสระเดียวกัน บางคาออกเสียง ๒ พยางค์ บางคาออกเสียงพยางค์
เดยี วเรยี กว่า อักษรนา พยญั ชนะต้นตัวแรกจะเปน็ อกั ษรกลางหรืออักษรสงู
คาทีม่ อี ักษรกลางนาอักษรต่า จะออกเสยี งพยางค์แรกมีเสยี ง อะ กึ่งเสยี ง ส่วนพยางค์หลัง
ออกเสยี งเหมือนมี ห นา สว่ นคาท่ีมีอกั ษรกลางนาอักษรต่าซงึ่ ออกเสยี งพยางค์เดียว ไดแ้ ก่ อยา่ อยู่
อย่าง อยาก
สำระกำรเรียนรู้
คาที่มีอักษรกลางนาอักษรต่า
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑๙
๑. ความสามารถในการส่ือสาร
- ทกั ษะการอา่ น
- ทักษะการเขียน
- ทักษะการฟงั การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก
- การสรปุ ความรู้
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝเ่ รยี นรู้
ตวั ชว้ี ัดท่ี ๔.๑ ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้มงุ่ มนั่ ในการทางาน
ตวั ชีว้ ัดท่ี ๖.๑ ตง้ั ใจและรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ทีก่ ารงาน
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพยี รพยายามและอดทนเพื่อใหง้ านสาเร็จ ตามเปา้ หมาย
รักความเป็นไทย
ตวั ชว้ี ัดที่ ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม
ช้ินงำนหรอื ภำระงำน (หลักฐำน ร่องรอยแสดงควำมร)ู้
-
คำถำมทำ้ ทำย
นักเรียนสามารถแยกคาควบกลา้ และคาอักษรนา ไดอ้ ย่างไร
กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้
๑. ครูตดิ บตั รคาใหน้ กั เรียนอา่ นและสงั เกตคาบนกระดาน และสนทนาเกีย่ วกับลักษณะของคาและคาอ่าน
ของคา
ตราด ขวาน กราบ
ตลาด จมูก ขยะ
๒๐
๒. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ ๓ - ๕ คน รว่ มกันอธิบายลักษณะของคา โดยให้นกั เรยี นคิดและตอบตาม
ความเข้าใจของตนเอง
๓. ใหน้ กั เรียนศกึ ษาความรูเ้ ร่ือง คาทีม่ ีอักษรนา แลว้ รว่ มกนั สรุปความเข้าใจ ครูชว่ ยแนะนาและ
อธิบายเพมิ่ เติม
๔. ใหน้ กั เรยี นดูภาพ แลว้ บอกคาอักษรกลางนาอกั ษรต่าจากภาพ จากนัน้ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง
ตวั อย่ำงคำ
จรวด ตลบั ปรอทวดั ไข้
ตลาด งานสุจริต
๕. นักเรยี นชว่ ยกนั อภิปรายสรุปและเขยี นคาอ่าน คาท่ีมีอกั ษรกลางนาอักษรต่า ครชู ว่ ยแนะนาเพิ่มเติมและ
กระตนุ้ ความคิดของนกั เรียน
๖. ใหน้ กั เรียนฝึกอา่ นคาทม่ี ีอกั ษรกลางนาอักษรต่าตามครู จากนน้ั อา่ นด้วยตนเอง
กนก อ่านวา่ กะ – หฺนก จรัส อ่านว่า จะ – หฺรัด
ตล่ิง อ่านว่า ตะ – หฺล่ิง สุจริต อ่านว่า สุด – จะ – หฺริด
องุ่น อ่านวา่ อะ – หฺงุ่น อร่าม อ่านวา่ อะ – หฺร่าม
๗. ใหน้ ักเรยี นจับฉลากคาทมี่ ีอกั ษรกลางนาอักษรตา่ คนละ ๑ ใบ แล้วอ่านออกเสียงคา จากน้ันรว่ มกนั
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
(ตัวอย่างคา)
จรด ตลก จรติ ปรอท อนาถ
ตลงิ่ อรา่ ม อรอ่ ย อยาก จมูก
๒๑
๘. ใหน้ กั เรียนและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้
๏ คาทมี่ ีพยัญชนะตน้ สองตัวประสมสระเดยี วกนั บางคาออกเสียง ๒ พยางค์ บางคาออกเสยี ง
พยางคเ์ ดยี วเรียกวา่ อกั ษรนา พยญั ชนะต้นตัวแรกจะเป็นอกั ษรกลางหรืออักษรสงู
คาทม่ี อี กั ษรกลางนาอักษรตา่ จะออกเสียงพยางคแ์ รกมีเสยี ง อะ ก่ึงเสยี ง สว่ นพยางคห์ ลงั
ออกเสียงเหมือนมี ห นา สว่ นคาที่มีอกั ษรกลางนาอกั ษรต่าซึง่ ออกเสียงพยางคเ์ ดียว ไดแ้ ก่ อยา่ อยู่
อยา่ ง อยาก
๙. ให้นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดงั น้ี
๏ นักเรียนสามารถแยกคาควบกล้าและคาอักษรนา ไดอ้ ยา่ งไร
กำรจดั บรรยำกำศเชิงบวก
ให้นกั เรียนฝกึ อ่านออกเสยี งคาทมี่ อี กั ษรนา สังเกตเสยี งพยัญชนะต้น และเปรียบเทยี บกับ
การอ่านออกเสียงพยญั ชนะตน้ ของคาควบกลา้ ครใู ช้คาถามกระตุ้นความคิดของนกั เรียนเพื่อใหเ้ ข้าใจทั้งการ
อา่ นและการเขยี น
ส่ือกำรเรียนรู้
๑. ภาพ
๒. บัตรคา
๓. ฉลาก
กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
๑. วธิ ีการวดั และประเมินผล
๑.๑ สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
๑.๒ สังเกตพฤติกรรมของนกั เรียนในการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลุ่ม
๒. เครือ่ งมือ
๒.๑ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
๒.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
๓. เกณฑ์การประเมนิ
๓.๑ การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
ผา่ นต้งั แต่ ๒ รายการ ถอื ว่า ผ่าน
ผา่ น ๑ รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่าน
๓.๒ การประเมนิ พฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลุ่ม
คะแนน ๙-๑๐ ระดับ ดีมาก
คะแนน ๗-๘ ระดบั ดี
คะแนน ๕-๖ ระดบั พอใช้
คะแนน ๐-๔ ระดับ ควรปรบั ปรงุ
๒๒
ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ_________________________ (ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา)
( นางพรพิมล กลนาวา)
________/________/_______
๒๓
บันทกึ หลังกำรสอน
ผลกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน
นกั เรยี นจานวน ๑๘ คน คดิ เป็นร้อยละ ๗๒ สามารถอ่านคาทมี่ อี ักษรกลางนาอกั ษรต่าไดถ้ กู ต้องทกุ คา
ส่วนอีก ๗ คนยงั อา่ นไมค่ อ่ ยถูก คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๘
ปญั หำ/อปุ สรรค
นกั เรียนขาดความสนใจ ไม่ต้ังใจ ไม่เห็นความสาคญั ของการอ่านและเขียน
นักเรยี นขาดทกั ษะในการอา่ นและเขียน
แนวทำงแก้ไข
สอนซอ่ มเสริมหลังเลิกเรยี น ฝึกอ่านฝึกเขยี นใหม้ ากข้นึ โดยใหเ้ พอ่ื นช่วยเพอื่ นพาฝึกอา่ น
ลงช่อื . ศริ ิพร (ผูบ้ ันทกึ )
(นางสาว ศิรพิ ร สีทา)
________/________/_______
๒๔
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๑๓
รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๒๑๐๑ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
ปีการศึกษา ๒๕๖๕
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๑ ชว่ั โมง
ครูผู้สอน ครูศริ พิ ร สีทา
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๒ เรือ่ ง คาทีม่ อี ักษรสูงนาอกั ษรต่า
สอนวันท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชีว้ ดั
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหาใน
การดาเนินชีวิต และมนี สิ ยั รกั การอา่ น
ตัวชวี้ ัด
ท ๑.๑ ป. ๒/๑ อา่ นออกเสยี งคา คาคลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ย ๆ ไดถ้ กู ต้อง
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้สตู่ ัวชี้วดั
๑. อธิบายลักษณะของคาท่มี ีอักษรสงู นาอกั ษรตา่ (K)
๒. อ่านออกเสียงคาท่ีมีอกั ษรสูงนาอกั ษรต่าได้ (P)
๓. มคี วามต้งั ใจท่ีจะอา่ นออกเสียงคาให้ถูกตอ้ ง (A)
สาระสาคัญ
คาที่มีอกั ษรสงู นาอกั ษรตา่ อา่ นออกเสยี ง ๒ พยางค์ พยางคแ์ รกออกเสียง อะ ก่งึ เสียง
พยางค์หลงั ออกเสยี งเหมอื นมี ห นา ส่วนคาท่ีมี ห นาอกั ษรตา่ ได้แก่ ง น ญ ม ย ร ล ว อ่านออกเสียง ๑
พยางค์
สาระการเรยี นรู้
คาท่มี ีอกั ษรสงู นาอักษรต่า
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
- ทกั ษะการอ่าน
- ทกั ษะการเขียน
- ทกั ษะการฟัง การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก
- การใหเ้ หตุผล
- การสรุปความรู้
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
๒๕
คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
ใฝเ่ รียนรู้
ตัวช้วี ัดที่ ๔.๑ ตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้
มงุ่ มนั่ ในการทางาน
ตวั ชี้วัดที่ ๖.๑ ตัง้ ใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัติหน้าทก่ี ารงาน
ตัวชว้ี ดั ที่ ๖.๒ ทางานดว้ ยความเพยี รพยายามและอดทนเพ่อื ใหง้ านสาเร็จตามเปา้ หมาย
รกั ความเป็นไทย
ตัวช้วี ดั ท่ี ๗.๒ เหน็ คณุ คา่ และใช้ภาษาไทยในการสอ่ื สารไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง เหมาะสม
ช้ินงานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความร)ู้
คาถาม-ท้าทาย
คาท่ีมอี กั ษรสูงนาอกั ษรตา่ อ่านออกเสยี งตา่ งกับคาทม่ี ีอกั ษรกลางนาอักษรตา่ หรือไม่ อย่างไร
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
๑. ครตู ิดบัตรคาให้นกั เรียนอ่านและสงั เกตคาบนกระดาน แล้วสนทนาเก่ยี วกบั ลักษณะของคาและคาอ่าน
ของคา
แหวน สวาย เหงา
๒. ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุ่มละ ๓ - ๕ คน รว่ มกันอธิบายลกั ษณะของคา โดยให้นักเรียนคิดและตอบตาม
ความเขา้ ใจของตนเอง
(ตวั อย่างคาตอบ)
แหวน อา่ นว่า แหฺวน เปน็ อักษรนา ห นา ว
สวาย อา่ นวา่ สะ – หฺวาย เป็นอักษรนา อา่ นออกเสยี ง ๒ พยางค์
เหงา อ่านวา่ เหฺงา เปน็ อักษรนา ห นา ง
๓. ให้นกั เรยี นฝกึ อ่านออกเสยี งคาอักษรนาพรอ้ มกนั ตามบตั รคาที่ครกู าหนด
ตวั อยา่ งคา
ขณะ ขนาด ฉลู เฉลิม ถลม่
ไถล ผงก ผงะ ไศล สง่า
สวสั ดี
สนุก หรหู รา สลาก สงบ
๒๖
๔. ใหน้ ักเรียนดภู าพ แล้วบอกคาจากภาพ จากน้ันอ่านออกเสียงพร้อมกนั ครูและนกั เรยี นรว่ มกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
ตวั อย่ำงคำ
หมึก หนอน ปลาหมกึ
จงิ้ หรีด กะหล่าปลี ดอกหงอนไก่
๕. ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั อภิปรายสรปุ และเขียนคาอ่าน คาที่มอี ักษรสงู นาอักษรตา่ ครชู ว่ ยแนะนาเพม่ิ เตมิ และ
กระต้นุ ความคิดของนักเรยี น
๖. ใหน้ กั เรียนฝึกอา่ นคาท่ีมีอกั ษรสูงนาอักษรตา่ ตามครู จากนัน้ อ่านด้วยตนเอง
ขนาด อ่านว่า ขะ – หฺนาด เฉลมิ อ่านว่า ฉะ – เหลฺ ิม
ถลม่ อา่ นวา่ ถะ – หลฺ ่ม
ไศล อ่านวา่ สะ – ไหลฺ ผงะ อ่านว่า ผะ – หงฺ ะ
สลงึ อา่ นว่า สะ – หลฺ งึ
๗. ให้นกั เรยี นจับฉลากคาทมี่ ีอักษรสงู นาอกั ษรตา่ คนละ ๑ อัน แล้วอา่ นออกเสยี งคา จากนั้นร่วมกนั
ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
(ตัวอยา่ งคา)
หงาย สงบ สนาม หญา้ ใหญ่ ผวา หนีบ
เหน่ือย หมี หมอ มหาสมทุ ร หยิบ หยดุ เหรียญ
หลาย ไฟไหม้ ไหว้ หวาน ขยบั แหวน หลงใหล
เหลวไหล นกหวีด ผหู้ ญิง
๘. ใหน้ กั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี
๏ คาทมี่ อี ักษรสูงนาอกั ษรต่า อา่ นออกเสยี ง ๒ พยางค์ พยางคแ์ รกออกเสียง อะ กง่ึ เสียง
พยางค์หลังออกเสียงเหมือนมี ห นา สว่ นคาทมี่ ี ห นา อกั ษรตา่ ได้แก่ ง น ญ ม ย ร ล ว อ่านออกเสยี ง
๑ พยางค์
๒๗
๙. ให้นกั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามท้าทาย ดงั นี้
๏ คาท่มี อี กั ษรสงู นาอกั ษรต่าอ่านออกเสียงตา่ งกับคาทม่ี ีอกั ษรกลางนาอกั ษรตา่ หรอื ไม่ อย่างไร
การจดั บรรยากาศเชิงบวก
ใหน้ ักเรียนฝึกอ่านออกเสียงคา สังเกตเสยี งพยัญชนะต้น และเปรียบเทยี บกบั การออกเสียง
ของคาทมี่ ีอักษรกลางนาอักษรตา่ ครูใช้คาถามกระตุน้ ความคดิ ของนกั เรยี น เพ่อื ให้เขา้ ใจท้งั การอ่าน
และการเขยี น
ส่อื การเรยี นรู้
๑. ภาพ
๒. บัตรคา
๓. ฉลาก
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๑. วธิ ีกำรวดั และประเมินผล
๑.๑ สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเขา้ รว่ มกิจกรรม
๑.๒ สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการเข้าร่วมกิจกรรมกล่มุ
๒. เครอ่ื งมอื
๒.๑ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกิจกรรม
๒.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกล่มุ
๓. เกณฑก์ ำรประเมนิ
๓.๑ การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกจิ กรรม
ผ่านตั้งแต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผ่ำน
ผา่ น ๑ รายการ ถือว่า ไม่ผำ่ น
๓.๒ การประเมินพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกิจกรรมกลมุ่
คะแนน ๙-๑๐ ระดบั ดีมาก
คะแนน ๗-๘ ระดับ ดี
คะแนน ๕-๖ ระดบั พอใช้
คะแนน ๐-๔ ระดับ ควรปรบั ปรงุ
๒๘
ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ
____________________________________________________________________________
ลงชอ่ื _________________________ (ผ้บู ริหารสถานศึกษา)
(นางพรพิมล กลนาว)
________/________/_______
๒๙
บนั ทึกหลังกำรสอน
ผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
๑. ดำ้ นควำมรู้
นักเรียนจานวน ๒๒ คนสามารถอา่ นคาที่มอี ักษรสูงนาอักษรตา่ ไดถ้ ูกตอ้ งและสามารถอา่ นเน้อื เรอ่ื ง
ไดเ้ ขา้ ใจ สามารถแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบั เนื้อเรอื่ งได้ ส่วนอีก ๓ คนท่เี หลือ ครไู ด้อธิบายเพ่ิมเตมิ จนผ่าน
กิจกรรม
๒. ดำ้ นทกั ษะกระบวนกำร
นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๒ ทกุ คนมีทักษะกระบวนการในการจดั การเรยี นร้ตู ามเกณฑท์ คี่ รู
กาหนด สามารถทาแบบฝึกหัดไดถ้ กู ต้องดว้ ยตนเอง
๓. ดำ้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒ ทุกคนมีความต้ังใจในการเรียนและงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย บางคน
อาจจะเรียนรูช้ า้ แตก่ ็ถอื วา่ นกั เรยี นมีความตัง้ ใจและพยายามเรยี นรู้
ปญั หำ/อุปสรรค
นกั เรียนบางคนขาดความสนใจ ไมต่ ั้งใจ ไม่เห็นความสาคญั ของการอา่ นและเขยี น
นักเรยี นขาดทกั ษะในการอ่านและเขียน
แนวทำงแกไ้ ข
สอนซ่อมเสรมิ หลังเลกิ เรยี น ฝกึ อา่ นฝกึ เขยี นใหม้ ากข้ึนโดยให้เพื่อนชว่ ยเพือ่ นพาฝึกอ่าน
วางเง่อื นไขข้อตกลงในการเรยี นรว่ มกนั
ลงชื่อ ศริ พิ ร (ผู้บนั ทกึ )
(นางสาวศิรพิ ร สที า)
________/________/_______
๓๐
แผนกำรจดั กำรเรียนร้ทู ่ี ๑๓
รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๒๑๐๑ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง
ครผู ู้สอน ครูศิริพร สที า
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ เรื่อง อา่ นสะกดคาท่ีมีอกั ษรนา
สอนวนั ท่ี ๙ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพือ่ นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาใน
การดาเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน
ตวั ชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป. ๒/๑ อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ขอ้ ความ และบทร้อยกรองง่าย ๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง
จุดประสงค์การเรยี นรสู้ ตู่ วั ชี้วัด
๑. เขา้ ใจลกั ษณะของคาท่มี ีอกั ษรนา (K)
๒. อ่านออกเสยี งคาทีม่ อี ักษรนาได้ (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของการอ่านออกเสยี งคาอย่างถกู ตอ้ ง (A)
สาระสาคัญ
การอ่านออกเสียงคาท่มี ีอกั ษรนาให้ถกู ต้อง ต้องสังเกตพยญั ชนะตน้
สาระการเรียนรู้
คาทมี่ ีอักษรนา
สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
- ทกั ษะการอ่าน
- ทกั ษะการเขยี น
- ทักษะการฟัง การดู และการพดู
๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก
- การสรุปความรู้
๓. ความสามารถในการแกป้ ญั หา
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
ใฝ่เรียนรู้
๓๑
ตวั ช้ีวัดท่ี ๔.๑ ต้งั ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
มุ่งมัน่ ในการทางาน
ตัวชว้ี ัดท่ี ๖.๑ ตงั้ ใจและรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ีการงาน
ตัวชว้ี ดั ท่ี ๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายามและอดทนเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเป้าหมาย
รักความเปน็ ไทย
ตัวชวี้ ดั ท่ี ๗.๒ เห็นคุณคา่ และใชภ้ าษาไทยในการสอ่ื สารได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสม
ชน้ิ งานหรอื ภาระหลกั ฐาน
กจิ กรรมการอ่านออกเสยี งคาท่ีมอี ักษรนา
คาถามท้าทาย
นกั เรยี นสามารถออกเสยี งพยัญชนะต้นของคาทมี่ ีอักษรนาให้เหมือนกับพยัญชนะต้นของคาควบกลา้
ไดห้ รือไม่
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑. ใหน้ ักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถามทา้ ทาย ดังน้ี
๏ นักเรียนสามารถออกเสยี งพยญั ชนะตน้ ของคาที่มีอกั ษรนาให้เหมอื นกบั พยัญชนะต้น
ของคาควบกล้าได้หรือไม่
๒. ให้นักเรยี นฝกึ อา่ นสะกดคาจากแถบประโยคพรอ้ มกัน
คา สะกดว่า อ่านว่า
จง้ิ หรีด จอ - อิ - งอ - จิง - ไมโ้ ท - จิ้ง จ้ิง - หรฺ ดี
หอ - รอ - อี - ดอ - หฺรีด
หลายตัว หอ - ลอ - อา - ยอ - หฺลาย หลฺ าย - ตัว
ตอ - อัว - ตัว
พืน้ หญา้ พอ - อือ - นอ - พนื - ไมโ้ ท - พน้ื พืน้ - หยฺ ้า
หอ - ญอ - อา - หฺยา - ไมโ้ ท - หยฺ า้
หนังสอื หอ - นอ - อะ - งอ - หฺนัง หฺนงั - สือ
สอ - อือ - สอื ขะ - หฺยับ
ขยับ ขอ - ยอ - อะ - บอ - ขะ - หยฺ ับ ขะ - หฺนะ
ขณะ ขอ - ณอ - อะ - ขะ - หฺนะ
อร่อย ออ - รอ - ออ - ยอ - อะ - หฺรอย - อะ - หรฺ ่อย
ไม้เอก - อะ - หรฺ อ่ ย
สนุกสนาน สอ - นอ - อุ - กอ - สะ - หนฺ ุก สะ - หฺนกุ - สะ - หฺนาน
สอ - นอ - อา - นอ - สะ - หฺนาน
๓๒
๓. ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกนั ยกตวั อย่างคาที่มอี กั ษรนา ครูเขียนคาบนกระดาน แลว้ ให้ฝึกอ่านสะกดคาพรอ้ มกนั
๔. ให้นกั เรยี นสอบอา่ นคาในชวี ติ ประจาวนั ๑๐ คา โดยจับคู่ฝกึ อา่ นออกเสยี งให้นักเรียนรู้จัก
ชว่ ยเหลอื เพอ่ื นทอี่ ่านหนังสือไมค่ ลอ่ ง
ชุดท่ี ๑ คณุ ปลดั คัดจมกู ปลกู องุ่น ขนนุ อรอ่ ย
สอยฝรัง่
ผนงั ห้อง ท้องถนน ผลผลิต สถติ อยู่
หรหู รา
อยา่ กลวั ตัวอยา่ ง ทางสงบ สลบไสล
ชุดท่ี ๒ ไม่อยาก
หยากไย่ ไฟไหม้ ใหญ่โต โหลแกว้
แถวหน้า
ปลาสวาย หงายมือ ถอื สวิง หญิงชรา
ชุดที่ ๓ ผวาต่นื
พืน้ สนาม สนกุ สนาน หนนุ หมอน นอนหลับ
สนบั สนุน
วุ้นสงั ขยา ปลาไหล ใส่หมวก หนวกหู
ชุดที่ ๔ หนูหริ่ง
อรา่ มเรอื ง เมืองสยาม งามสงา่ ฉลาดลา้
นาสมัย
(ใหค้ รปู ระเมินผลตัวชี้วดั โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics) เร่อื ง การอ่าน
ออกเสียงคาทมี่ อี กั ษรนา )
๕. ให้นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดังน้ี
๏ การอ่านออกเสยี งคาท่มี ีอักษรนาใหถ้ ูกตอ้ ง ตอ้ งสังเกตพยญั ชนะต้น
การจัดบรรยากาศเชิงบวก
ให้นักเรียนช่วยกันฝกึ อา่ นออกเสยี ง คนทีอ่ า่ นคล่องแนะนาเพอ่ื นท่ีอ่านไม่คลอ่ ง
และพฒั นาทกั ษะไปพร้อมกนั ครูช่วยดูแลและแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด
ส่ือกำรเรียนรู้
๑. แถบประโยค
๒. ชุดคาในชวี ิตประจาวัน
๓๓
การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๑. วธิ กี ำรวดั และประเมินผล
สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในการเข้ารว่ มกจิ กรรม
๒. เครอื่ งมอื
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้าร่วมกจิ กรรม
๓. เกณฑก์ ำรประเมนิ
การประเมินพฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกิจกรรม
ผ่านตั้งแต่ ๒ รายการ ถอื วา่ ผำ่ น
ผา่ น ๑ รายการ ถอื ว่า ไม่ผำ่ น
การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ (Rubrics)
การประเมินผลการอา่ นออกเสยี งนี้ให้ผู้สอนพจิ ารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง
(Rubrics) เรอ่ื ง การอ่านออกเสียงคาทีม่ ีอักษรนา
ระดบั คะแนน
๔ ๓๒๑
เกณฑ์การประเมนิ
การอา่ นออกเสยี ง อ่านออกเสียงคา อา่ นออกเสยี งคา อา่ นออกเสยี งคา อ่านออกเสียงคา
ท่มี อี กั ษรนาทกุ คา ทมี่ อี ักษรนา ทมี่ อี ักษรนาได้
คาที่มีอักษรนา ท่มี อี กั ษรนา ได้ดว้ ยตนเอง ไดถ้ ูกตอ้ ง แตต่ ้องมีผแู้ นะนา
สามารถแก้ไขคา เปน็ ส่วนใหญ่
ไดถ้ กู ตอ้ งทุกคา ท่ีอ่านผดิ ได้ และเมือ่ มีผูแ้ นะนา
ก็สามารถแก้ไขได้
ด้วยตนเองและ
สามารถอา่ นนา
ผูอ้ ่ืนได้
๓๔
ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงช่ือ_________________________ (ผ้บู ริหารสถานศกึ ษา)
(นางพรพมิ ล กลนาวา)
________/________/_____
๓๕
บนั ทกึ หลังกำรสอน
ผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
๑. ดำ้ นควำมรู้
นักเรียนจานวน ๒๐ คนสามารถเข้าใจลกั ษณะของอักษรนาอ่านคาท่มี อี กั ษรนาไดถ้ ูกต้องและ
สามารถอา่ นเน้ือเรอ่ื งไดเ้ ข้าใจ สามารถแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั เน้ือเรือ่ งได้ สว่ นอกี ๓ คนทีเ่ หลือ ครูได้
อธบิ ายเพิ่มเตมิ จนผ่านกิจกรรม
๒. ด้ำนทักษะกระบวนกำร
นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ทกุ คนมที ักษะกระบวนการในการจัดการเรยี นร้ตู ามเกณฑ์ที่ครู
กาหนด สามารถทาแบบฝกึ หัดไดถ้ ูกต้องดว้ ยตนเอง
๓. ดำ้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ทุกคนมีความต้ังใจในการเรียนและงานที่ได้รับมอบหมาย บางคน
อาจจะเรยี นรชู้ า้ แต่ก็ถือว่านกั เรยี นมคี วามตง้ั ใจและพยายามเรยี นรู้
ปญั หำ/อปุ สรรค
นกั เรียนบางคนขาดความสนใจ ไม่ตง้ั ใจ ไมเ่ หน็ ความสาคญั ของการอา่ นและเขียน
นักเรียนขาดทักษะในการอ่านและเขียน
แนวทำงแกไ้ ข
สอนซ่อมเสรมิ หลงั เลกิ เรยี น ฝกึ อา่ นฝึกเขยี นใหม้ ากขึ้นโดยใหเ้ พื่อนช่วยเพื่อนพาฝกึ อ่าน
วางเงือ่ นไขข้อตกลงในการเรยี นร่วมกนั
ลงช่อื ศริ ิพร (ผูบ้ ันทกึ )
(นางสาวศริ พิ ร สีทา)
________/________/_______
๓๖
แผนกำรจดั กำรเรียนรู้ท่ี ๑๓
รายวิชาภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๒๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๔ เรื่อง อ่านและเขา้ ใจความหมายคา เวลา ๑ ชั่วโมง
สอนวันท่ี ๑๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ ครผู ้สู อน ครูศิรพิ ร สีทา
มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคิดเพือ่ นาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ัญหาใน
การดาเนินชีวิต และมนี สิ ัยรักการอ่าน
ตัวช้ีวัด
ท ๑.๑ ป. ๒/๑ อ่านออกเสยี งคา คาคลอ้ งจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ ไดถ้ กู ต้อง
ท ๑.๑ ป. ๒/๒ อธบิ ายความหมายของคาและข้อความที่อ่าน
จดุ ประสงค์การเรยี นรสู้ ตู่ ัวชี้วดั
๑. อธบิ ายความหมายของคาที่มอี ักษรนา (K)
๒. อ่านและเขา้ ใจความหมายของคาท่ีมอี ักษรนาได้ (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของการเรียนรูค้ วามหมายของคาท่ีอา่ น (A)
สาระสาคัญ
คาที่มีอักษรนามีความหมายแตกตา่ งกัน
สาระการเรยี นรู้
คาอักษรนาในชวี ิตประจาวัน
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
๑. ความสามารถในการสือ่ สาร
- ทกั ษะการอ่าน
- ทักษะการเขียน
- ทกั ษะการฟัง การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก
- การให้เหตุผล
- การวิเคราะห์
- การสรุปความรู้
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
๓๗
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝเ่ รยี นรู้
ตวั ชวี้ ัดท่ี ๔.๑ ต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้
มุง่ มั่นในการทางาน
ตวั ช้ีวัดที่ ๖.๑ ตัง้ ใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหน้าท่กี ารงาน
ตวั ชี้วดั ท่ี ๖.๒ ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพอ่ื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
รกั ความเป็นไทย
ตวั ช้ีวัดที่ ๗.๒ เหน็ คุณคา่ และใช้ภาษาไทยในการสอื่ สารไดอ้ ย่างถกู ต้อง เหมาะสม
ช้ินงานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความร้)ู
-
คาถามทา้ ทาย
ถา้ นักเรยี นไม่ร้คู วามหมายของคาจะทาอยา่ งไร
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
๑. ใหน้ ักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเห็น โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดงั น้ี
๏ ถา้ นกั เรียนไม่รู้ความหมายของคาจะทาอย่างไร
๒. ให้นกั เรียนแบ่งกล่มุ กลมุ่ ละ ๓ - ๔ คน ชว่ ยกันคิดคาท่มี ีอักษรนา ผลัดกันบอกคา และให้กลมุ่ อื่น
พิจารณาวา่ ใช่คาอักษรนาหรือไม่ เช่น
ไหม ใช่ ครวั ไมใ่ ช่
๓. ใหน้ ักเรยี นทากจิ กรรมเสริมความรู้ โดยระบายสลี กู โป่งท่ีเปน็ คาอักษรนา แลว้ ร่วมกันตรวจสอบความ
ถูกตอ้ ง
๔. ให้นกั เรียนกลุม่ เดิมแข่งขันกันจบั คู่ บัตรคาใหเ้ ป็นคาทม่ี คี วามหมาย กลมุ่ ใดทาเสรจ็ ก่อนและถูกตอ้ งเป็น
ฝา่ ยชนะ
หยาก ไย่ หนวก หู ริม ตล่ิง
ฝา ผนงั ขา้ ว หลาม นก หวดี
จด หมาย ลูก ขนุน ผล ฝร่ัง
๕. ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสียงคาจากบัตรคาที่จับคู่แล้ว จากน้นั รว่ มกันบอกความหมายของคา ครูชว่ ยแนะนา
และอธบิ ายเพม่ิ เตมิ
๖. ให้นักเรยี นทากจิ กรรมเสรมิ ทกั ษะการเรียนรู้ โดยโยงเสน้ คาที่ต่อกนั แลว้ มคี วามหมาย แลว้ รว่ มกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
๓๘
๗. ให้นกั เรยี นอา่ นประโยคตอ่ ไปน้ี และเรียนรูค้ วามหมายของคา
๏ หมากฝึกทาขนมครกได้อรอ่ ยแลว้
(ขนมครก ( ขะ – หนฺ ม – ครฺ ก) หมายถึง ขนมทาด้วยแป้งกบั กะทหิ ยอดในภาชนะ
กระเบอื้ งหรอื โลหะที่ทาเปน็ หลุม ๆ ตัง้ บนไฟ)
๏ หนุ่มไดร้ บั การสนับสนนุ ใหท้ างานน้ี
(สนับสนนุ (สะ – หนฺ บั – สะ – หนฺ ุน) หมายถึง สง่ เสรมิ ช่วยเหลอื อปุ การะ)
๏ ไหมงำมสง่ำเพราะเดินตวั ตรงเสมอ
(งามสง่า (งาม – สะ – หฺงา่ ) หมายถงึ มีทา่ ทางท่ีแลดูงาม)
๏ หมวยยกมือไหว้กล่าวคาสวสั ดีผใู้ หญอ่ ย่างสภุ าพออ่ นนอ้ ม
(สวสั ดี (สะ – หฺวดั – ดี) หมายถงึ คาทักทายหรือพดู ขนึ้ เม่ือพบหรือจากกัน)
๏ เหมยี วเขียนจดหมำยด้วยลายมอื สวยงาม สะอาดเรยี บรอ้ ย
(จดหมาย หมายถงึ หนังสือทม่ี ไี ปมาถึงกัน)
๘. ให้นกั เรียนและครูร่วมกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี
๏ คาท่มี ีอักษรนามีความหมายแตกต่างกัน
การจดั บรรยากาศเชิงบวก
ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั คดิ คา สังเกต ฝกึ อา่ นออกเสียง และเรยี นรคู้ วามหมายของคา ครูชื่นชมนกั เรยี นท่ี
มีความกระตอื รอื ร้นและต้ังใจเรียน
ส่อื การเรียนรู้
๑. บตั รคา
๒. แถบประโยค
๓. สไี มห้ รือสเี มจกิ
การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้
๑. วธิ กี ำรวัดและประเมินผล
๑.๑ สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
๑.๒ สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุม่
๒. เครือ่ งมือ
๒.๑ แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
๒.๒ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกิจกรรมกลุ่ม
๓. เกณฑ์กำรประเมิน
๓.๑ การประเมินพฤตกิ รรมการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
ผา่ นตั้งแต่ ๒ รายการ ถือวา่ ผำ่ น
ผา่ น ๑ รายการ ถอื ว่า ไม่ผำ่ น
๓.๒ การประเมนิ พฤตกิ รรมการเข้ารว่ มกจิ กรรมกลุ่ม
คะแนน ๙-๑๐ ระดับ ดมี าก คะแนน ๗-๘ ระดบั ดี
คะแนน ๕-๖ ระดบั พอใช้
คะแนน ๐-๔ ระดบั ควรปรบั ปรงุ
๓๙
ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
ลงชื่อ_________________________ (ผู้บรหิ ารสถานศึกษา)
( นางพรพมิ ล กลนาวา )
________/________/_______
๔๐
บนั ทึกหลังกำรสอน
ผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
๑. ดำ้ นควำมรู้
นักเรยี นจานวน ๒๐ คนสามารถเข้าใจลกั ษณะของอกั ษรนาอ่านคาท่มี ีอกั ษรนาได้ถูกตอ้ งและ
สามารถอา่ นเน้อื เร่ืองไดเ้ ข้าใจ สามารถแสดงความคดิ เห็นเก่ยี วกบั เนอื้ เรือ่ งได้ สว่ นอกี ๕ คนทเ่ี หลือ ครู
ได้อธิบายเพมิ่ เติมและให้เพอื่ นช่วยสอนอา่ นจนผา่ นกจิ กรรม
๒. ด้ำนทกั ษะกระบวนกำร
นกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ ทกุ คนมีทักษะกระบวนการในการจดั การเรยี นรู้ตามเกณฑ์ท่ีครู
กาหนด สามารถทาแบบฝึกหัดได้ถูกตอ้ งด้วยตนเอง
๓. ด้ำนคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ ทุกคนมีความต้ังใจในการเรียนและงานทไี่ ด้รับมอบหมาย บางคน
อาจจะเรียนร้ชู ้าแต่กถ็ ือว่านักเรียนมคี วามต้งั ใจและพยายามเรียนรู้
ปญั หำ/อุปสรรค
นกั เรยี นบางคนขาดความสนใจ ไม่ตงั้ ใจ ไม่เหน็ ความสาคญั ของการอ่านและเขียน
นกั เรียนขาดทกั ษะในการอ่านและเขียน
แนวทำงแกไ้ ข
สอนซ่อมเสรมิ หลงั เลกิ เรียน ฝกึ อ่านฝกึ เขียนใหม้ ากขน้ึ โดยใหเ้ พอ่ื นช่วยเพือ่ นพาฝึกอา่ น
วางเง่ือนไขข้อตกลงในการเรียนรว่ มกัน
ลงชอ่ื ศิริพร (ผ้บู นั ทกึ )
(นางสาวศริ ิพร สที า)
________/________/_______
๔๑
แผนกำรจดั กำรเรยี นรทู้ ่ี ๑๓
รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท๑๒๑๐๑ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๒
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๑ ช่วั โมง
หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๕ เรื่อง การอา่ นและเขียนคาที่มีอักษรนา ครูผู้สอน ครศู ิรพิ ร สีทา
สอนวนั ท่ี ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ
แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ และมนี สิ ัยรกั การอา่ น
ตัวชว้ี ัด
ท ๑.๑ ป. ๒/๑ อา่ นออกเสียงคา คาคล้องจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ
ตวั ช้ีวัด
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
จุดประสงค์กำรเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั
๑. อธบิ ายความหมายของคาทมี่ ีอกั ษรนา (K)
๒. อา่ นและเขียนคาท่ีมอี กั ษรนาได้ (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของการอา่ นและเขียนคาถูกต้อง (A)
สำระสำคญั
การอา่ นออกเสียงและเขียนคาที่มีอกั ษรนา ตอ้ งอ่านและเขยี นให้ถกู ต้องจึงจะสื่อความได้
ตรสงตำรามะคกวำารมเรหียมนายรู้
การอ่านและเขยี นคาทมี่ ีอักษรนา
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ทักษะการอ่าน
- ทักษะการเขยี น
- ทักษะการฟัง การดู และการพูด
๔๒
๒. ความสามารถในการคิด
- การสรุปความรู้
- การประเมนิ คา่
๓. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ใฝ่เรียนรู้ ตัวช้วี ัดท่ี ๔.๑ ต้ังใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้
มงุ่ ม่ันในการทางาน
ตัวช้ีวัดท่ี ๖.๑ ต้งั ใจและรบั ผิดชอบในการปฏิบัตหิ น้าท่กี ารงาน
ตวั ชว้ี ดั ที่ ๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายามและอดทนเพ่ือให้งานสาเร็จ
ตามเป้าหมาย
รักความเปน็ ไทย ตวั ชวี้ ดั ท่ี ๗.๒ เห็นคณุ ค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง
เหมาะสม
ชิน้ งำนหรือภำระงำน (หลกั ฐำน ร่องรอยแสดงควำมรู้)
ใบงานเรอื่ ง การเขยี นคาทมี่ อี กั ษรนาใหต้ รงกับภาพและอ่านขอ้ ความ
คำถำมท้ำทำย
นกั เรียนจะทาอยา่ งไรให้อ่านและเขียนคาได้คล่องแคลว่
กำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนรู้
๑. ใหน้ กั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทาย ดังน้ี
๏ นกั เรียนจะทาอย่างไรใหอ้ ่านและเขียนคาไดค้ ล่องแคลว่
๒. ใหน้ กั เรียนเรยี งตวั อกั ษรจากบตั รตวั อกั ษร ทค่ี รกู าหนด ใหเ้ ป็นคาท่ีมีความหมาย จากนน้ั
อ่านออกเสียง และบอกความหมายของคา เชน่
บ ย ัั ข = ขยับ
ัุ ห ล ม = หลมุ
า ส ง ัั ข ย = สงั ขยา
๓. ให้นักเรียนผลัดกันเขียนคาใหเ้ พื่อนเติมพยัญชนะท่ีเป็นอกั ษรนาให้เป็นคาท่มี คี วามหมาย
เช่น ก่ า ง แวน่ าย อ ก่ น
กุ
๔๓
๔. ให้นกั เรียนทาใบงานท่ี ๒๖ เรื่อง การเขยี นคาทมี่ อี ักษรนาให้ตรงกบั ภาพและอ่านขอ้ ความ
จากน้ันร่วมกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง
๕. ให้นักเรียนร้องเพลงทช่ี อบ สงั เกตเนอื้ เพลงวา่ มีคาใดบา้ งเป็นคาท่มี อี กั ษรนา แลว้ ฝึกเขียนคาเหลา่ นนั้
๖. ใหน้ กั เรียนแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ ๓ - ๕ คน แต่งเพลงโดยใช้คาที่มอี ักษรนาท่ีเปน็ ทานองและจังหวะ
งา่ ย ๆ เชน่ ทานองเพลงช้าง ทานองเพลงมดตัวนอ้ ยตวั นิด หรอื ทานองเพลงทน่ี ักเรยี นชื่นชอบ
โดยเนอื้ เพลงต้องมคี วามหมายและมีคาอักษรนาอย่ดู ้วย จากน้นั ออกมานาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น
ครแู ละนกั เรียนรว่ มกนั ประเมินผลงาน
๗. ให้นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดังน้ี
๏ การอ่านออกเสยี งและเขียนคาท่มี อี กั ษรนา ตอ้ งอา่ นและเขยี นใหถ้ กู ต้องจึงจะสอ่ื ความได้
ตรงตามความหมาย
กำรจดั บรรยำกำศเชิงบวก
ใหน้ ักเรียนร้องเพลงทช่ี อบและแตง่ เพลงท่ีมคี าอกั ษรนาเพือ่ ใหเ้ กิดความสนุกสนานในการเรียน และ
เกดิ การเรยี นร้ทู ีค่ งทน
ส่ือกำรเรียนรู้
๑. บตั รตวั อักษร
๒. เนือ้ เพลง
๓. ใบงาน
กำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรียนรู้
๑. วธิ กี ำรวดั และประเมนิ ผล
๑.๑ สงั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในการเขา้ ร่วมกิจกรรม
๑.๒ สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมกล่มุ
๑.๓ ตรวจใบงานท่ี ๒๖
๒. เครือ่ งมอื
๒.๑ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ ร่วมกิจกรรม
๒.๒ แบบสงั เกตพฤติกรรมการเขา้ รว่ มกจิ กรรมกลมุ่
๓. เกณฑก์ ำรประเมิน
๓.๑ การประเมนิ พฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม
ผา่ นตง้ั แต่ ๒ รายการ ถอื วา่ ผำ่ น
ผ่าน ๑ รายการ ถอื วา่ ไมผ่ ่ำน
๓.๒ การประเมินพฤตกิ รรมการเข้าร่วมกจิ กรรมกลมุ่
คะแนน ๙-๑๐ ระดบั ดีมาก
คะแนน ๗-๘ ระดบั ดี
คะแนน ๕-๖ ระดับ พอใช้
คะแนน ๐-๔ ระดับ ควรปรับปรงุ
๔๔
กำรประเมนิ ผลตำมสภำพจริง (Rubrics)
การประเมินใบงานนี้ให้ผสู้ อนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตามสภาพจริง (Rubrics)
เร่ือง การเขียนคาทีม่ อี กั ษรนาให้ตรงกับภาพ และอา่ นขอ้ ความ
ระดับคะแนน ๔ ๓ ๒ ๑
เกณฑก์ ารประเมิน เขียนคาทม่ี ี เขียนคาท่มี ี เขียนคาที่มี เขยี นคาท่ีมี
ความหมาย ความหมาย ความหมาย ความหมาย
การเขยี นคา สมั พันธก์ ับภาพ สัมพนั ธ์กบั ภาพ สมั พันธก์ บั ภาพ สมั พนั ธ์กบั ภาพ
ทมี่ ีอักษรนา และอา่ นออกเสยี ง และอ่านออกเสยี ง และอ่านออกเสยี ง และอา่ น
ใหต้ รงกบั ภาพ ได้ถกู ตอ้ งทกุ คา ดว้ ยตนเองได้ ไดถ้ กู ต้อง ออกเสียงได้
และอ่านขอ้ ความ ดว้ ยตนเอง บางคาทเี่ ขยี น เปน็ สว่ นใหญ่ แต่ต้องมีผู้แนะนา
หรืออา่ นผดิ ก็ และเม่อื มีผแู้ นะนา
สามารถแก้ไขด้วย ก็สามารถแกไ้ ข
ตนเองได้ ตามได้
ข้อเสนอแนะของผู้บริหำรสถำนศึกษำ
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
______________________________________________________________________________
ลงช่ือ_________________________ (ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา)
(นางพรพิมล กลนาวา)
________/________/_______
๔๕
บนั ทึกหลงั กำรสอน
ผลกำรจัดกำรเรยี นกำรสอน
๑. ด้ำนควำมรู้
นกั เรียนจานวน ๒๕ คนสามารถใบงานเร่ือง การเขยี นคาทมี่ อี กั ษรนาให้ตรงกับภาพและอ่าน
ข้อความไดถ้ ูกต้องทุกคน
๒. ดำ้ นทักษะกระบวนกำร
นักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๒ ทกุ คนมีทักษะกระบวนการในการจัดการเรียนรตู้ ามเกณฑท์ คี่ รู
กาหนด สามารถทาแบบฝึกหัดไดถ้ ูกต้องด้วยตนเอง
๓. ด้ำนคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒ ทกุ คนมีความต้งั ใจในการเรียนและงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย บางคน
อาจจะเรียนรูช้ ้าแต่กถ็ ือวา่ นกั เรยี นมคี วามตง้ั ใจและพยายามเรียนรู้
ปญั หำ/อุปสรรค
นกั เรียนบางคนขาดความสนใจ ไมต่ ั้งใจ ไมเ่ หน็ ความสาคัญของการอ่านและเขียน
นักเรยี นขาดทกั ษะในการอา่ นและเขยี น
แนวทำงแกไ้ ข
สอนซอ่ มเสรมิ หลงั เลกิ เรียน ฝกึ อา่ นฝกึ เขยี นให้มากข้นึ โดยให้เพอื่ นช่วยเพือ่ นพาฝึกอ่าน
วางเง่ือนไขขอ้ ตกลงในการเรียนรว่ มกนั
ลงช่อื ศริ ิพร (ผบู้ ันทกึ )
(นางสาวศริ ิพร สีทา)
________/________/_______
๔๖
แผนกำรจดั กำรเรียนรูท้ ่ี ๑๓
รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท๑๒๑๐๑ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕
กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ภาคเรยี นที่ ๒ เวลา ๑ ชั่วโมง
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๖ เร่อื ง คาท่มี ีอักษรนาในชีวติ ประจาวัน ครูผู้สอน ครศู ริ ิพร สีทา
สอนวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตวั ชีว้ ดั
มำตรฐำนกำรเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา
และพลังของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ
ตวั ชว้ี ัด
ท ๔.๑ ป. ๒/๒ เขยี นสะกดคาและบอกความหมายของคา
จุดประสงค์กำรเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั
๑. เข้าใจความหมายของคาทม่ี ีอักษรนา (K)
๒.ใชค้ าในประโยคไดถ้ กู ต้องตามความหมาย (P)
๓. เหน็ ความสาคญั ของการใชค้ าอยา่ งถูกต้อง (A)
สำระสำคญั
การใช้คาในการสื่อสารตอ้ งใชใ้ ห้ถูกต้องตามความหมาย
สำระกำรเรียนรู้
คาอักษรนาในชีวติ ประจาวัน
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น
๑. ความสามารถในการสอ่ื สาร
- ทกั ษะการอ่าน
- ทักษะการเขยี น
- ทกั ษะการฟงั การดู และการพูด
๒. ความสามารถในการคิด
- การจาแนก
- การให้เหตุผล
- การวิเคราะห์
- การสรปุ ความรู้
๔๗
๓. ความสามารถในการแก้ปญั หา
๔. ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
ใฝเ่ รยี นรู้
ตวั ชว้ี ัดที่ ๔.๑ ตง้ั ใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้มุ่งมน่ั ในการทางาน
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๖.๑ ตั้งใจและรับผดิ ชอบในการปฏิบัติหนา้ ทก่ี ารงาน
ตวั ชีว้ ัดที่ ๖.๒ ทางานด้วยความเพยี รพยายามและอดทนเพ่อื ใหง้ านสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย
รักความเป็นไทย
ตวั ชี้วดั ท่ี ๗.๒ เหน็ คณุ ค่าและใชภ้ าษาไทยในการสื่อสารไดอ้ ย่างถูกต้องเหมาะสม
ช้นิ งำนหรือภำระงำน (หลกั ฐำน ร่องรอยแสดงควำมรู้)
-
คำถำมท้ำทำย
การใชค้ าเพื่อสอื่ สารในชวี ิตประจาวันตอ้ งคานงึ ถงึ อะไรบา้ ง
กำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้
๑. ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ าถามท้าทาย ดังน้ี
๏ การใช้คาเพ่อื สื่อสารในชวี ติ ประจาวนั ต้องคานึงถงึ อะไรบา้ ง
๒. ให้นักเรียนเล่นเกมปรศิ นาอกั ษรไขว้ โดยระบายสคี าทีม่ อี กั ษรนา ๑๐ คา จับเวลา ๕ นาที
น ย น ส ย า ม ค์ ก ต
ขยสว ไ ดตนบจ
น โ นสา มล งด ไ
ม ท า ต ล่ิ ง า ส ส ส
พ คุ ม ต ห น ด น ว ว
สะหพดวนร ง ข
เ ขยายงยนลช
โ สะฟพถลอกด
กุ ห ล า บ น บ ร ร น
อ ง จ ร ว ดลดนย