รายงาน ประจําป 2566 กลุ มนโยบายและยุทธศาสตร สานักงานส ํ งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 5 กระทรวงการพัฒนาสงคมและความมั ั นคงของมนุษย ่ เอกสารทางวิชาการ สสว.5 ลําดับที่ 145 วย 02 เล มที่ 89/2566
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 1 ค าน า ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ ได้มอบหมำยให้ส ำนักงำน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 1-11 (สสว. 1-11) ด ำเนินกำรโครงกำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณทำงสังคมใน ระดับกลุ่มจังหวัด เพื่อรวบรวม วิเครำะห์ ข้อมูลสถำนกำรณ์ทำงสังคมที่เกิดขึ้นในเขตรับผิดชอบของส ำนักงำน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 ในกำรคำดกำรณ์แนวโน้มสถำนกำรณ์ทำงสังคมและผลกระทบ พร้อมทั้ง เสนอแนะแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำทำงสังคมในพื้นที่กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของส ำนักงำนส่งเสริม และสนับสนุนวิซำกำร 5 ส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 (สสว. 5) ได้ด ำเนินกำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม ระดับกลุ่มจังหวัด ในพื้นที่เขตรับผิดชอบของส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 จ ำนวน 7 จังหวัด ได้แก่ จังห วัดขอนแก่น จังหวัดร้อยเอ็ด จังห วัดมห ำส ำ รค ำม จังห วัดเลย จังห วัดหนองค ำย จังหวัดหนองบัวล ำภูและจังหวัดอุดรธำนีซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทน ำ ส่วนที่ 2 ข้อมูล พื้นฐำนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของสสว.5 ส่วนที่ 3 สถำนกำรณ์กลุ่มเป้ำหมำยทำงสังคมระดับ กลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 4 สถำนกำรณ์เชิงประเด็นทำงสังคมและสถำนกำรณ์เร่งด่วน (Hot Issues) ในระดับ กลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 5 กำรวิเครำะห์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 6 บทสรุปและ ข้อเสนอแนะ ผู้จัดท ำหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ รำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ประจ ำปี2566 ฉบับนี้ จะ เป็นประโยชน์ต่อหน่วยงำนระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัด สำมำรถน ำข้อมูลในพื้นที่ไปใช้ในกำรก ำหนด นโยบำย แผนงำน โครงกำร ในกำรคุ้มครอง ป้องกัน และแก้ไขปัญหำทำงสังคมในระดับพื้นที่ และหน่วยงำน ระดับกระทรวง สำมำรถน ำข้อมูลในภำพรวมไปใช้ประโยชน์วิเครำะห์สถำนกำรณ์ปัญหำทำงสังคมที่ส ำคัญและ ก ำหนดนโยบำย แผนงำนในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำสังคมภำพรวมต่อไป ส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 กันยำยน 2566
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 2 บทสรุปผู้บริหาร กำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มจังหวัดในพื้นที่เขตรับผิดชอบของส ำนักงำนส่งเสริมและ สนับสนุนวิชำกำร 5 (สสว.5) จ ำนวน 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดอุดรธำนี จังหวัดเลย จังหวัดหนองคำย จังหวัดหนองบัวล ำภู จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหำสำรคำม และจังหวัดร้อยเอ็ด มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อรวบรวม วิเครำะห์ กำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมที่เกิดขึ้นในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเขตรับผิดชอบ ของ สสว.5 2) เพื่อคำดกำรณ์แนวโน้มสถำนกำรณ์ทำงสังคมและผลกระทบในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเขตรับผิดชอบ ของ สสว.5 3) เพื่อเสนอแนะแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำทำงสังคมในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเขตรับผิดชอบของ สสว. 5 กำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม ฉบับนี้ ประกอบด้วยเนื้อหำ 6 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 บทน ำ ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐำนในพื้นที่กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 ส่วนที่ 3 สถำนกำรณ์กลุ่มเป้ำหมำยทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 4 สถำนกำรณ์เชิงประเด็นทำงสังคมและสถำนกำรณ์เร่งด่วน (Hot Issues) ในระดับกลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 5 กำรวิเครำะห์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มจังหวัด ส่วนที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ กำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มจังหวัดในพื้นที่เขตรับผิดชอบของส ำนักงำนส่งเสริมและ สนับสนุนวิชำกำร ๕ จังหวัดขอนแก่น สรุปได้ดังนี้ ที่ตั้งอาณาเขต ส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 มีเขตพื้นที่รับผิดชอบจ ำนวน 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด ขอนแก่น จังหวัดมหำสำรคำม และจังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดเลย จังหวัดหนองคำย จังหวัดหนองบัวล ำภู และ จังหวัดอุดรธำนี มีพื้นที่ในเขตรับผิดชอบรวมกัน 54,406.53 ตำรำงกิโลเมตร หรือ คิดเป็น 34,070,772 ไร่ จ านวนประชากร กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีประชำกรรวมทั้งสิ้น 7,244,886 คน สำมำรถแบ่งตำมช่วง อำยุ ดังนี้ เด็กอำยุ 0 – 14 ปี มีจ ำนวน 1,086,854 คน วัยแรงงำน 15 – 59 ปี มีจ ำนวน 4,791,459 คน วัย สูงอำยุ 60 ปีขึ้นปี มีจ ำนวน 1,366,571 คน และวัยที่จ ำแนกอำยุไม่ได้ มีจ ำนวน 2 คน โดยข้อมูลประชำกร ปี พ.ศ. 2563 – 2565 จ ำนวนสัดส่วนประชำกรวัยเด็ก อำยุ 0 – 14 ปี มีจ ำนวนลดลง ร้อยละ 0.8 จ ำนวน สัดส่วนวัยแรงงำน อำยุ 15 – 59 ปี มีจ ำนวนลดลง ร้อยละ 0.5 จ ำนวนสัดส่วน วัยสูงอำยุอำยุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนจ ำนวนประชำกรมำกขึ้นในปี พ.ศ. 2565 คิดเป็นร้อยละ 1.90 จำกข้อมูลดังกล่ำวสรุปได้ว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 ได้เข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุโดยสมบูรณ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2565 และคำดกำรณ์ ได้ว่ำประชำกรผู้สูงอำยุมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 3 ด้านสาธารณสุข กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีหน่วยบริกำรสำธำรณสุข จ ำนวนทั้งสิ้น 2,851 แห่ง ข้อมูลบุคลำกรทำงกำรแพทย์ ในปี พ.ศ. 2563 – 2564 พบว่ำ สัดส่วนบุคลำกรทำงกำรแพทย์ที่มีจ ำนวนมำก ที่สุด คือ พยำบำล มีจ ำนวน 218 คน รองลงมำเป็นแพทย์ มีจ ำนวน 39 คน เภสัชกร มีจ ำนวน 17 คน และ ทันตแพทย์ มีจ ำนวน 11 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ บุคลำกรทำงกำรแพทย์มีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น ข้อมูลสำเหตุกำรตำยจำกโรคต่ำงๆ 5 อันดับแรก ในปี พ.ศ. 2566 พบว่ำ สำเหตุกำรตำยส่วนใหญ่ อันดับที่ 1 คือ โรควัยชรำ อันดับที่ 2 คือ โรคหัวใจล้มเหลวไม่ระบุรำยละเอียด นอกจำกนี้ยังพบว่ำ กำรป่วย เป็นโรคซึมเศร้ำของประชำกรมีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น โดยจังหวัดที่มีกำรป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำของประชำกรมำก ที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด รองลงมำเป็น จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดอุดรธำนี ตำมล ำดับ ประเด็นด้านเศรษฐกิจ ข้อมูลด้ำนผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capital) ในปี พ.ศ. 2560 2562 และ 2564 พบว่ำ กลุ่ม จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงที่สุดปี พ.ศ. 2564 จังหวัดมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น อยู่ที่ 164,489 บำทต่อปี ข้อมูลด้ำนรำยได้และหนี้สินครัวเรือน ในปี พ.ศ. 2562 - 2564 พบว่ำ หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน จ ำนวน 207,329 บำท และรำยได้เฉลี่ยต่อเดือน 22,490 บำท มีแนวโน้มสัดส่วนประเภทหนี้สินเพื่อใช้ท ำธุรกิจ ที่ไม่ใช่ภำคกำรเกษตรเพิ่มมำกขึ้น และมีแนวโน้มสัดส่วนครัวเรือนที่มีกำรออมเงินเพิ่มมำกขึ้น กลุ่มจังหวัดใน เขตรับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีครัวเรือนที่มีกำรออมเงินมำกที่สุด คือ จังหวัดมหำสำรคำม มีครัวเรือนออมเงิน มำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 100.00 ด้ำนแรงงำน ในปีพ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ ก ำลังแรงงำนรวมจ ำนวนทั้งสิ้น 3,249,034 คน โดยแบ่งเป็น ประชำกรชำย จ ำนวน 1,752,054 คน ประชำกรหญิง จ ำนวน 1,496,980 คน เมื่อพิจำรณำ ข้อมูล พบว่ำ แนวโน้มจ ำนวนก ำลังแรงงำนประชำกรชำยมีจ ำนวนลดน้อยลง ในทำงตรงกันข้ำมก ำลังแรงงำน ประชำกรหญิงมีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้น ข้อมูลอัตรำกำรว่ำงงำน ในปี พ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ จังหวัดที่มีอัตรำ กำรว่ำงงำนมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดอุดรธำนีคิดเป็นร้อยละ 1.32 เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ แนวโน้มของอัตรำกำรว่ำงงำนของประชำกรมีจ ำนวนลดลง ซึ่งสอดคล้องกับจ ำนวนประชำกรแรงงำนหญิง ซึ่งมี จ ำนวนประชำกรเพิ่มมำกขึ้น ด้านการศึกษา ข้อมูลสถำนศึกษำในระบบ นอกระบบ รำยสังกัด ปีกำรศึกษำ 2566 พบว่ำ จังหวัดที่มีสถำนศึกษำมำก ที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 1,698 แห่ง ข้อมูลเด็กที่เข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับ ปีกำรศึกษำ 2566 มีจ ำนวนทั้งสิ้น 525,170 คน จังหวัดที่มีจ ำนวนเด็กเข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับมำกที่สุด ได้แก่ จังหวัด
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 4 ขอนแก่น จ ำนวน 119,854 คน ข้อมูลปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป ในปี พ.ศ. 2563 – 2564 พบว่ำ ข้อมูลปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป มีร้อยละมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น คิด เป็นร้อยละ 9.0 เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ แนวโน้มปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป จังหวัด ส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น ส ำหรับกลุ่มเด็กที่มีควำมเสี่ยงด้ำนกำรศึกษำ ข้อมูลในปีพ.ศ. 2565 พบว่ำ มีจ ำนวนเด็กที่ตกหล่นจำก ระบบกำรศึกษำมำกที่สุด คือ จังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 18.4 ข้อมูลเด็กนักเรียนยำกจนและยำกจน พิเศษ ในปี พ.ศ. 2565 พบว่ำ เด็กนักเรียนยำกจนมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 18,129 คน และเด็ก นักเรียนยำกจนพิเศษที่มีจ ำนวนมำกที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด จ ำนวน 58,874 คน รองลงมำ ได้แก่ จังหวัด ขอนแก่น จ ำนวน 48,901 คน จังหวัดมหำสำรคำม จ ำนวน 36,450 คน ตำมล ำดับ ด้านเด็กและเยาวชน ข้อมูลจ ำนวนและอัตรำเด็กแรกเกิด ในปี พ.ศ. 2564 – 2565 พบว่ำ จังหวัดที่มีจ ำนวนและอัตรำเด็ก แรกเกิดน้อยที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ - 11.7 ข้อมูลอัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก พบว่ำ จังหวัดเลย มี อัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็กมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 24.6 เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ อัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็กมี แนวโน้มที่ลดลง ข้อมูลจ ำนวนเด็กและเยำวชนจ ำแนกกลุ่มอำยุ ในปี พ.ศ. 2564 – 2565 พบว่ำ มีจ ำนวนเด็กและ เยำวชน อำยุ 0 - 5 ปี มีจ ำนวน 363,737 คน เด็ก 6 – 14 ปี มีจ ำนวน 723,117 คน เยำวชน อำยุ 15 – 18 ปี มีจ ำนวน 345,214 คน เยำวชน 19 – 24 ปี มีจ ำนวน 545,265 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ สัดส่วนจ ำนวน เด็กและเยำวชนมำกที่สุด คือ ช่วงอำยุ 6 – 14 ปี และสัดส่วนจ ำนวนเด็กและเยำวชนที่มีจ ำนวนน้อยที่สุด คือ ช่วงอำยุ 15 – 18 ปี ข้อมูลร้อยละกำรตั้งครรภ์ซ้ ำในสตรีที่อำยุต่ ำกว่ำ 20 ปี ในปีพ.ศ. 2563 - 2566 พบว่ำ จังหวัดที่มีร้อย ละกำรตั้งครรภ์ซ้ ำในสตรีที่อำยุต่ ำกว่ำ 20 ปี มำกที่สุด คือ จังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 21.1 เมื่อ พิจำรณำข้อมูล พบว่ำ จังหวัดที่มีแนวโน้มกำรตั้งครรภ์ซ้ ำในสตรีที่อำยุต่ ำกว่ำ 20 ปีเพิ่มมำกขึ้น ได้แก่ จังหวัด หนองบัวล ำภู จังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดขอนแก่น ในส่วนของข้อมูลแม่วัยใสและแม่วัยใสเลี้ยงเดี่ยวที่ได้รับ สิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อกำรเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ในปีพ.ศ. 2563 - 2566 พบว่ำ มีสัดส่วน 31,547 คน เมื่อพิจำรณำ ข้อมูล พบว่ำ อัตรำคนที่ได้รับสิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อกำรเลี้ยงดูเด็กแรกเกิดมีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้น ข้อมูลพฤติกรรมเด็กและเยำวชน และควำมรุนแรงต่อเด็กและเยำวชนในปี พ.ศ. 2563 - 2566 พบว่ำ เด็กและเยำวชนที่มีพฤติกรรมไม่เหมำะสม มีจ ำนวน 372 คน เด็กถูกกระท ำควำมรุนแรงในครอบครัว มีจ ำนวน 118 คน และเด็กถูกกระท ำควำมรุนแรงนอกครอบครัว มีจ ำนวน 139 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ เด็กถูก กระท ำควำมรุนแรงนอกครอบครัว มีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง โดยเฉพำะด้ำนกระท ำควำมรุนแรง ร่ำงกำยมำกที่สุด
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 5 ด้านสตรีและสถาบันครอบครัว สัดส่วนประชำกรเพศหญิงจ ำแนกกลุ่มอำยุ ในปี พ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ วัยแรงงำนหญิง (15 – 59 ปี) และ วัยเด็กหญิง (0 – 14 ปี) มีแนวโน้มที่ลดลง ตรงกันข้ำมกับวัยสูงอำยุหญิง (60 ปีขึ้นไป) มี แนวโน้มที่เพิ่มมำกขึ้น ข้อมูลอัตรำกำรว่ำงงำนในสตรี ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕ พบว่ำ อัตรำกำรว่ำงงำนในเพศชำยมี แนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ ๑.๐ และอัตรำกำรว่ำงงำนในเพศหญิงมีแนวโน้มที่ลดลง ร้อยละ ๐.๘ ข้อมูลควำมรุนแรงในสตรีและครอบครัว ในปี พ.ศ. 2563 - 2566 พบว่ำ มีจ ำนวน 202 ครอบครัว สตรีที่ถูกท ำร้ำยร่ำงกำย/ จิตใจ มีจ ำนวน 132 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ สตรีที่ถูกล่วงละเมิดทำงเพศมี แนวโน้มเพิ่มมำกขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง ข้อมูลอัตรำแรงงำนในระบบหญิงต่อชำย ในปี พ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ มี อัตรำแรงงำนในระบบเพศหญิงมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 49.6 และอัตรำแรงงำนในระบบเพศชำยมีแนวโน้ม ที่ลดลง ร้อยละ 50.4 ด้านคนพิการ ข้อมูลสัดส่วนคนพิกำรที่ได้รับกำรจดทะเบียนในปี 2565 มีจ ำนวนทั้งสิ้น 261,761 คน สัดส่วนคน พิกำรที่ได้รับกำรจดทะเบียนต่อประชำกร คิดเป็นร้อยละ 3.7 เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ สัดส่วนคนพิกำรมี แนวโน้มที่ได้รับกำรจดทะเบียนเพิ่มมำกขึ้น โดยสัดส่วนประเภทควำมพิกำรที่มีมำกที่สุด คือ พิกำรทำงกำร เคลื่อนไหวหรือทำงร่ำงกำย ร้อยละ 47.5 รองลงมำ คือ พิกำรทำงกำรได้ยินหรือสื่อควำมหมำย ร้อยละ 19.7 พิกำรทำงกำรมองเห็น ร้อยละ 11.7 ตำมล ำดับ ด้ำนกำรศึกษำ พบว่ำ ในปี พ.ศ. 2565 มีจ ำนวนนักเรียนพิกำรที่เข้ำเรียนในโรงเรียนแบบเรียนรวม จ ำนวนทั้งสิ้น 113,854 คน ข้อมูลจ ำนวนคนพิกำรได้รับกำรศึกษำในปี พ.ศ. 2563 - 2566 พบว่ำ คนพิกำรที่ ได้รับกำรศึกษำมีแนวโน้มที่ได้รับกำรศึกษำลดน้อยลง ด้ำนแรงงำน จ ำนวนสถำนประกอบกำรที่มีลูกจ้ำง ในปีพ.ศ. 2566 พบว่ำ ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป จังหวัดขอนแก่น มีจ ำนวนสถำนประกอบกำรมำกที่สุด จ ำนวน 91 แห่ง และจ ำนวนอัตรำส่วนที่ต้องรับคน พิกำรเข้ำท ำงำนมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น มีจ ำนวน 323 รำย ข้อมูลสัดส่วนกำรรับคนพิกำรเข้ำท ำงำน 2565 พบว่ำ กำรรับคนพิกำรท ำงำนตำม ม.33 มีมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 22.9 ข้อมูลสวัสดิกำรด้ำนคนพิกำร ในปี พ.ศ. 2563 – 2566 พบว่ำ มีสวัสดิกำรด้ำนคนพิกำร ได้แก่ กำร ให้บริกำรกำยอุปกรณ์ส ำหรับช่วยคนพิกำร มีจ ำนวนทั้งสิ้น 249 คน คนพิกำรที่ได้รับเบี้ยยังชีพ จ ำนวน 253,251 คน และจ ำนวนคนพิกำรที่ได้รับเบี้ยยังชีพมีแนวโน้มที่เพิ่มมำกขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 6 ด้านผู้สูงอายุ ข้อมูลจ ำนวนผู้สูงอำยุในปี พ.ศ. 2564 – 2565 พบว่ำ มีจ ำนวนผู้สูงอำยุที่มำกที่สุด คือ อำยุ 60 – 69 ปี มีจ ำนวนทั้งสิ้น 780,698 คน รองลงมำผู้สูงอำยุ 70 – 79 ปี มีจ ำนวน 421,221 คน และ ผู้สูงอำยุ 80 ปีขึ้น ไป มีจ ำนวน 165,154 คน ตำมล ำดับ จังหวัดที่มีจ ำนวนผู้สูงอำยุมำกที่สุด คือ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 19.9 และจ ำนวนผู้สูงอำยุที่ได้รับเบี้ยยังชีพ มีจ ำนวนทั้งสิ้น 1,291,825 คน โดยจังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มี ผู้สูงอำยุที่ได้รับเบี้ยยังชีพมำกที่สุด จ ำนวน 318,808 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ สัดส่วนผู้สูงอำยุต่อ ประชำกรกลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น ข้อมูลในปี พ.ศ. 2563 – 2566 พบว่ำ สัดส่วนผู้สูงอำยุติดบ้ำน และติดเตียง พบว่ำ มีแนวโน้มเพิ่มมำก ขึ้น และสัดส่วนผู้สูงอำยุติดสังคมมีแนวโน้มลดลง ข้อมูลผู้สูงอำยุที่อยู่คนเดียว ในปี พ.ศ. 2563 – 2564 พบว่ำ จังหวัดที่ผู้สูงอำยุอยู่คนเดียวมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 11.2 รองลงมำ ได้แก่ จังหวัด ร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 10.4 เมื่อพิจำรณำข้อมูล พบว่ำ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเลย จังหวัดหนองคำย และ จังหวัดหนองบัวล ำภู เป็นจังหวัดที่มีแนวโน้มของผู้สูงอำยุที่อยู่คนเดียวเพิ่มมำกขึ้น ข้อมูลควำมรุนแรงในผู้สูงอำยุในปี พ.ศ. 2563 – 2566 พบว่ำ มีจ ำนวนกำรแจ้งเหตุร้องเรียนควำม รุนแรงที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอำยุ ในปี พ.ศ. 2566 มีจ ำนวน 44 ครอบครัว เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสี่ปี พบว่ำ จ ำนวนกำรแจ้งเหตุร้องเรียนควำมรุนแรงที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอำยุมีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น ด้านกลุ่มคนเปราะบาง ข้อมูลชุมชนผู้มีรำยได้น้อย พบว่ำ กลุ่มจังหวัดที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีจ ำนวนชุมชนผู้มี รำยได้น้อย จ ำนวนทั้งสิ้น 35 ชุมชน โดยพบว่ำ จังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่มีจ ำนวนชุมชนผู้มีรำยได้น้อย มำกที่สุด และมีจ ำนวนคนเร่ร่อน/ไร้ที่ จ ำนวนมำกที่สุด จ ำนวน 73 คน เช่นเดียวกัน ในด้ำนจ ำนวนผู้แสดง ควำมสำมำรถ ในปี พ.ศ. 2566 พบว่ำ มีจ ำนวนผู้แสดงควำมสำมำรถทั้งสิ้น 1,269 คน โดยจังหวัดขอนแก่นมี จ ำนวนผู้แสดงควำมสำมำรถมำกที่สุด จ ำนวน 475 คน ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย จำกข้อมูลสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มผู้สูงอำยุในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเขตรับผิดชอบของ สสว.5 สำมำรถ แบ่งกลุ่มเป้ำหมำย 5 ด้ำน ดังนี้ 1. ด้านเด็กและเยาวชน 1.1 เตรียมพร้อมรับมือกับอัตรำกำรเกิด และขยำยควำมครอบคลุมของเงินอุดหนุนเพื่อกำร เลี้ยงดูเด็กแรกเกิดอย่ำงถ้วนหน้ำ 1.2 ส่งเสริมและสนับสนุนนโยบำยด้ำนสวัสดิกำรทำงกำรศึกษำทุกรูปแบบ เพื่อให้เด็กและ เยำวชนที่เรียนในระบบและนอกระบบได้เข้ำถึงกำรศึกษำ ส่งเสริมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตให้เยำวชน โดยบูรณำกำรข้อมูลจำกภำครัฐที่เกี่ยวข้องก ำหนดหลักสูตรกำรเรียนกำรสอนที่สอดคล้องกับควำมต้องกำร ตลำดแรงงำนปัจจุบัน
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 7 1.3 ทบทวนองค์ประกอบ อ ำนำจหน้ำที่ของคณะกรรมกำร/อนุกรรมกำร/คณะท ำงำน ที่เกี่ยวข้องกับงำนด้ำนเด็ก และยกระดับศักยภำพของผู้ปฏิบัติงำนด้ำนเด็ก ให้มีควำมรู้ ทักษะและควำม เชี่ยวชำญ ให้สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ปกป้อง คุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนำเด็กได้ทุกมิติ 2. ด้านสตรีและครอบครัว 1.2 ส่งเสริมบุคคลและครอบครัวต้นแบบ โดยก ำหนดหลักสูตรค่ำยครอบครัว สร้ำงองค์ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับสถำนบันครอบครัว 1.2 เฝ้ำระวัง และเตือนภัยในกำรป้องกันและคุ้มครอง กำรใช้ควำมรุนแรงในครอบครัว บรรจุกระบวนกำรจัดกำรสถำนกำรณ์ควำมรุนแรงในพื้นที่ลงในแผนพัฒนำจังหวัด ข้อบัญญัติของท้องถิ่น 3. คนพิการ 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนโอกำสให้ผู้พิกำรเข้ำถึงสิทธิสวัสดิกำรมำกขึ้น รวมไปถึงพิจำรณำ กำรจ่ำยเบี้ยคนพิกำรที่เพิ่มขึ้นตำมจ ำนวนประชำกร กำรรองรับจ ำนวนคนพิกำรในสถำนคุ้มครอง ศูนย์พัฒนำ ศักยภำพและอำชีพคนพิกำร และศูนย์คุ้มครองและดูแลคนพิกำร ให้มีมำตรฐำนและเพียงพอต่อจ ำนวนคน พิกำรที่เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งเพิ่มสิทธิประโยชน์ให้ผู้ดูแลคนพิกำรให้ได้รับกำรคุ้มครองอย่ำงครอบคลุมมำกขึ้น 3.2 พัฒนำกลไก และสร้ำงกำรกระจำยอ ำนำจ เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขับเคลื่อน กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตคนพิกำรได้อย่ำงเป็นองค์รวม ทั้งด้ำนสุขภำพ กำรศึกษำ อำชีพ ที่อยู่อำศัย 3.4 ศึกษำกำรท ำวิจัย และพัฒนำระบบกำรศึกษำ ในด้ำนกำรพัฒนำทักษะอำชีพของคน พิกำรที่สอดคล้องกับตลำดแรงงำนและควำมต้องกำรของสถำนประกอบกำร ควบคู่กับกำรหนุนเสริมศักยภำพ และทรัพยำกรเพื่อเป็นผู้ประกอบกำรด้วยตนเอง และรองรับอำชีพที่จะเกิดขึ้นในอนำคต 3.5 สร้ำงมำตรกำร และสร้ำงสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกส ำหรับคนพิกำร อำทิเช่น กำรจัดให้มี พำหนะ ที่พักชั่วครำว เพื่ออ ำนวยควำมสะดวกให้กับผู้พิกำรอย่ำงทั่วหน้ำ 4. ผู้สูงอายุ 4.1 บูรณำกำรหน่วยงำนท้องถิ่นและหน่วยงำนรัฐที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่ตรวจสอบ เยี่ยมเยียน และประชำสัมพันธ์ข้อมูลข่ำวสำร สวัสดิกำร และช่วยเหลือเครื่องใช้ที่จ ำเป็นอย่ำงสม่ ำเสมอ ตลอดจนกำร ปรับปรุงและซ่อมแชมสภำพที่อยู่อำศัยของผู้อำยุ เพื่อลดอัตรำกำรเกิดอุบัติเหตุของผู้สูงอำยุ 4.2 ส่งเสริมให้ผู้สูงอำยุมีรำยได้ที่เพียงพอต่อกำรด ำรงชีวิต และส่งเสริมกำรออมให้กับ ผู้สูงอำยุ ส่งเสริมสุขภำพทั้ง 4 มิติ ทั้งด้ำนร่ำงกำย ด้ำนอำรมณ์ ด้ำนสังคม ด้ำนจิตวิญญำณ ร่วมกับภำคี เครือข่ำย หน่วยสำธำรณสุขในท้องถิ่น และผลักดันให้กำรมี CG (Care Giver), CM (Case Management), อสม. และ อพม. ในพื้นที่เพื่อดูแลผู้สูงอำยุให้มีควำมแข็งแรง ทั้งด้ำนร่ำงกำยและจิตใจ 4.3 กำรบูรณำกำรต่อยอด และยกระดับคุณภำพชีวิตทุกมิติแบบองค์รวม โดยน ำสังคม ออนไลน์มำใช้ เช่น กำรแจ้งข่ำวสำร กำรแจ้งเหตุ อีกทั้งขับเคลื่อนโรงเรียนผู้สูงอำยุ และศูนย์พัฒนำคุณภำพ ชีวิตและส่งเสริมอำชีพผู้สูงอำยุ (ศพอส.) เพื่อให้เกิดเป็นระบบกำรดูแลและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอำยุ
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 8 5. กลุ่มคนเปราะบาง 5.1 กำรจัดตั้งคณะกรรมกำรและคณะท ำงำนศูนย์ประสำนงำนให้ควำมช่วยเหลือ เยียวยำ ฟื้นฟูผู้ได้รับผลกระทบจำกเหตุกำรณ์ควำมรุนแรงในพื้นที่เกิดเหตุ (One Stop Service Center: OSCC) ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติระดับกลุ่มจังหวัด จำกข้อมูลสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มผู้สูงอำยุในพื้นที่กลุ่มจังหวัดเขตรับผิดชอบของ สสว.5 สำมำรถ แบ่งกลุ่มเป้ำหมำย 5 ด้ำน ดังนี้ 1. ด้านเด็กและเยาวชน 1.1 สร้ำงกำรรับรู้ควำมเข้ำใจในกำรคุ้มครองสวัสดิภำพเด็กในด้ำนต่ำง ๆ และให้เกิดควำม ตระหนักในชุมชนสังคมวงกว้ำง ส่งเสริมและพัฒนำทักษะเด็กที่เหมำะสมในด้ำนกำรป้องกันและหลีกเลี่ยง สถำนกำรณ์เสี่ยงต่อกำรถูกล่วงละเมิดทำงเพศ 1.2 สร้ำงควำมเข้มแข็งให้สภำเด็กและเยำวชนในกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน แก้ไข พัฒนำ และ เครือข่ำยเฝ้ำระวัง พร้อมทั้งเปิดโอกำสให้เด็กได้เข้ำมำมีส่วนร่วมในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเด็ก ตั้งแต่ก ำหนด นโยบำยยุทธศำสตร์ แผนงำน จนสิ้นสุดทุกกระบวนงำน กิจกรรม 1.3 ส่งเสริมกำรคัดกรองตรวจสุขภำพจิตเพื่อลดอัตรำกำรเกิดภำวะซึมเศร้ำในเด็ก (หน่วยงำน ที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมกิจกำรเด็กและเยำวชน สำธำรณสุข สถำนศึกษำสภำเด็กและเยำวชน อปท. ฯลฯ) 4. ควรส่งเสริมและสนับสนุนกำรสอนทักษะชีวิตและทักษะทำงวิชำชีพให้เยำวชนเพื่อน ำมำ ประยุกต์ใช้ในกำรปฏิบัติงำนได้จริงเมื่อส ำเร็จกำรศึกษำหรือออกนอกระบบกำรศึกษำ 2. ด้านสตรีและครอบครัว 2.1 กำรส่งเสริมสวัสดิกำรที่ครอบคลุมและเหมำะสมให้กับวัยแรงงำนทั้งในระบบและนอก ระบบอย่ำงเท่ำเทียม สนับสนุนให้มีกิจกรรมและสถำนที่ที่ให้สมำชิกในครอบครัวและชุมชนประกอบกิจกรรม ร่วมกันเช่น สวนสำธำรณะสนำมกีฬำห้องสมุดเป็นต้น จัดท โครงกำรให้ควำมรู้แก่ประชำชนในกำรส่งเสริม สัมพันธภำพที่ดีในครอบครัวเพื่อสร้ำงควำมรัก ควำมอบอุ่นและควำมเข้ำใจภำยในครอบครัว 2.2 กำรสร้ำงระบบสวัสดิกำรในพื้นที่รองรับแรงงำนที่ว่ำงงำน ถูกเลิกจ้ำงด้วยเหตุกำรณ์ ต่ำงๆ เช่น โรคอุบัติใหม่ กำรถูกเลิกจ้ำง 2.3 กำรพัฒนำควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรเลี้ยงดูเด็กแก่ผู้ปกครอง โดยกำรอบรมผู้ปกครองใน กำรเลี้ยงดูเด็กที่เหมำะสมตำมช่วงวัย ส่งเสริมให้เด็กตระหนักรู้ในเรื่องสิทธิและหน้ำที่พลเมือง และสร้ำงควำม เข้ำใจเกี่ยวกับสื่อโซเชียล ส่งเสริมให้ครอบครัวเป็นสถำบันให้ควำมรู้พื้นฐำนในกำรสร้ำงควำมตระหนักรู้ให้กับเด็ก เรื่องควำมปลอดภัยในสภำวะแวดล้อมปัจจุบัน เช่น สื่อโซเชียล 2.4สร้ำงเสริมพัฒนำบุคคลและครอบครัวต้นแบบ โดยกระทรวง พม. ก ำหนดหลักสูตรกำร สร้ำงเสริมควำมสัมพันธ์ในครอบครัวในกำรดูแลเด็กบูรณำกำรร่วมกันทั้งภำครัฐ ภำคเอกชน ภำคประชำชน
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 9 เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพในกำรท ำงำน มีกฎหมำยรองรับ แต่ละหน่วยมีกำรบูรณำกำรร่วมกันทั้งด้ำนกำร ด ำเนินงำนและงบประมำณเพื่อไม่ให้เกิดควำมซ้ ำซ้อนกัน และท ำข้อตกลงร่วมกันในกำรดูแลและป้องกันยำเสพ ติดเด็กและเยำวชน (โดยใช้หลักกำร บวร. ในกำรดูแลเป็นหลัก) 3. คนพิการ 3.1 ประชำสัมพันธ์ควำมรู้ ข้อมูล ข่ำวสำร รวมไปถึง กำรประชำสัมพันธ์ป้ำยสัญลักษณ์สิ่ง อ ำนวยควำมสะดวกขั้นพื้นฐำน 5 ประเภทส ำหรับคนพิกำร เช่น ที่จอดรถ ลิฟท์ ทำงลำด ทำงขึ้นสะพำนลอย ฯลฯ เพื่อให้คนพิกำรเข้ำถึงสิ่งอ ำนวยควำมสะดวกอย่ำงทั่วถึง 3.2 ส่งเสริมอำชีพให้แก่คนพิกำร โดยจัดหลักสูตรที่มีควำมมั่นคง และเป็นที่ต้องกำรของ ตลำดแรงงำนให้กับคนพิกำรอย่ำงเหมำะสมมำกขึ้น 3.3ส่งเสริมให้อำสำสมัคร ครอบครัว ชุมชน หน่วยงำนในท้องถิ่นเข้ำมำมีบทบำทในกำรดูแล ช่วยเหลือ และฟื้นฟูสมรรถภำพ เพื่อพัฒนำคุณภำพชีวิตคนพิกำร 4. ด้านผู้สูงอายุ 4.1 ส่งเสริมให้ผู้สูงอำยุมีควำมตระหนักและมีควำมรอบรู้ในกำรดูแลสุขภำพตนเอง ตลอดจน กำรสร้ำงสัมพันธภำพที่ดีและกำรมีส่วนร่วมของสมำชิกในครอบครัว 4.2 ก ำหนดให้มีกำรจัดโครงกำร/กิจกรรมเพื่อพัฒนำศักยภำพผู้สูงอำยุ ในระดับต ำบล/ระดับ หมู่บ้ำน และส่งเสริมกำรเรียนรู้ผู้สูงอำยุในชุมชนจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติผู้สูงอำยุที่ประกอบคุณงำมควำมดี ให้ ผู้สูงอำยุมีควำมภำคภูมิใจในคุณค่ำของตัวเอง 5. กลุ่มเปราะบาง 5.1 พัฒนำศักยภำพอำสำสมัครพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ ให้มีทักษะกำรท ำงำน เป็นกลไกระดับพื้นที่ในกำรเฝ้ำระวัง ป้องกัน ช่วยเหลือเบื้องต้น และส่งต่อได้อย่ำงมืออำชีพ 5.2 เพิ่มช่องทำงกำรประชำสัมพันธ์เกี่ยวกับสิทธิ์ด้ำนสวัสดิกำรสงเครำะห์ผู้ด้อยโอกำสให้มี ควำมหลำกหลำย ช่อง ทำงกำรขอรับกำรสงเครำะห์ เพื่อให้ผู้ด้อยโอกำสมีสิทธิ์ได้เข้ำถึงสวัสดิกำรของ หน่วยงำนภำครัฐมำกขึ้น
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 10 สารบัญ ค ำน ำ.................................................................................................................................................................1 บทสรุปผู้บริหำร................................................................................................................................................2 สำรบัญ............................................................................................................................................................10 สำรบัญตำรำง..................................................................................................................................................14 สำรบัญภำพ ....................................................................................................................................................15 ส่วนที่ 1 บทน ำ..............................................................................................................................................17 1.1 หลักกำรและเหตุผล.............................................................................................................................17 1.2 วัตถุประสงค์.........................................................................................................................................18 1.3 วิธีกำรด ำเนินงำน .................................................................................................................................18 1.4 ผลที่คำดว่ำจะได้รับ..............................................................................................................................19 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐำนในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด....................................................................................20 2.1 ประเด็นด้ำนพื้นที่และประชำกร...........................................................................................................20 2.1.1 ที่ตั้งและอำณำเขต........................................................................................................................20 2.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอำกำศ..............................................................................................21 2.1.3 พื้นที่กำรปกครอง .........................................................................................................................21 2.1.4 โครงสร้ำงประชำกร......................................................................................................................23 2.2 ประเด็นด้ำนสุขภำพ.............................................................................................................................24 2.2.1 หน่วยบริกำรสำธำรณสุขภำครัฐและภำคเอกชน...........................................................................24 2.2.2 ทรัพยำกรด้ำนสำธำรณสุข............................................................................................................26 2.2.3 ภำวะสุขภำพ ควำมเจ็บป่วย และกำรตำย....................................................................................27 2.3 ประเด็นด้ำนเศรษฐกิจ รำยได้ และกำรท ำงำน.....................................................................................30 2.3.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด.............................................................................................................30 2.3.2 รำยได้ หนี้สิน ควำมไม่เสมอภำคของรำยได้และกำรออม............................................................32 2.3.3 ภำวะกำรมีงำนท ำ.........................................................................................................................34
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 11 2.3.4 ผู้ประกันตน ..................................................................................................................................38 2.4 ประเด็นด้ำนกำรศึกษำ.........................................................................................................................39 2.4.1 สถำนศึกษำ...................................................................................................................................39 2.4.2 เด็กที่เข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับ .........................................................................................39 2.4.3 กลุ่มเด็กที่มีควำมเสี่ยงด้ำนกำรศึกษำ............................................................................................40 2.4.4 ปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป ...........................................................................41 2.5 ประเด็นด้ำนควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน.................................................................................42 2.5.1 กำรรับแจ้งคดีอำญำตำมฐำนควำมผิด...........................................................................................42 2.5.2 อุบัติเหตุบนท้องถนน ....................................................................................................................42 2.6 ด้ำนที่อยู่อำศัย......................................................................................................................................44 ส่วนที่ 3 สถำนกำรณ์กลุ่มเป้ำหมำยทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด....................................................................45 3.1 ด้ำนเด็กและเยำวชน.............................................................................................................................45 3.1.1 สถำนกำรณ์ทั่วไปด้ำนเด็กและเยำวชน .........................................................................................45 3.1.2 สถำนกำรณ์เชิงประเด็น................................................................................................................47 3.1.2.1 เด็กและเยำวชนกลุ่มเปรำะบำง.................................................................................................47 3.1.2.2 แม่วัยรุ่น/ แม่วัยรุ่นเลี้ยงเดี่ยว....................................................................................................49 3.1.2.3 ควำมรุนแรงในเด็กและเยำวชน .................................................................................................52 3.1.3 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนเด็กและเยำวชน....................................................................................53 3.2 ด้ำนสตรีและสถำบันครอบครัว.............................................................................................................54 3.2.1 สถำนกำรณ์ทั่วไปด้ำนสตรีและสถำบันครอบครัว.........................................................................54 3.2.2 สถำนกำรณ์เชิงประเด็น................................................................................................................56 3.2.2.1 สตรีกลุ่มเปรำะบำง....................................................................................................................56 3.2.2.2 ควำมรุนแรงในสตรีและครอบครัว.............................................................................................56 3.2.2.3 ควำมเสมอภำคระหว่ำงเพศ.......................................................................................................57 3.2.3 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนสตรีและสถำบันครอบครัว....................................................................58
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 12 3.3 ด้ำนคนพิกำร........................................................................................................................................59 3.3.1 สถำนกำรณ์ทั่วไปด้ำนคนพิกำร.....................................................................................................59 3.3.2 สถำนกำรณ์เชิงประเด็น................................................................................................................60 3.3.2.1 กำรศึกษำของคนพิกำร..............................................................................................................60 3.3.2.2 กำรท ำงำนของคนพิกำร............................................................................................................61 3.3.3 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนคนพิกำร...............................................................................................64 3.4 ด้ำนผู้สูงอำยุ.........................................................................................................................................65 3.4.1 สถำนกำรณ์ทั่วไปด้ำนผู้สูงอำยุ......................................................................................................65 3.4.2 สถำนกำรณ์เชิงประเด็น................................................................................................................66 3.4.2.1 ผู้สูงอำยุกลุ่มเปรำะบำง .............................................................................................................66 3.4.2.2 ควำมรุนแรงในผู้สูงอำยุ.............................................................................................................67 3.4.2.3 กำรท ำงำนของผู้สูงอำยุ.............................................................................................................68 3.4.3 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนผู้สูงอำยุ................................................................................................68 3.5 ด้ำนกลุ่มคนเปรำะบำง .........................................................................................................................70 3.5.1 สถำนกำรณ์ทั่วไปด้ำนกลุ่มคนเปรำะบำง......................................................................................70 3.5.2 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนกลุ่มคนเปรำะบำง.................................................................................71 3.6 ภำคีเครือข่ำย/ สวัสดิกำรสังคม............................................................................................................71 ส่วนที่ 4 สถำนกำรณ์เชิงประเด็นทำงสังคมและสถำนกำรณ์เร่งด่วน (Hot Issues) ในระดับกลุ่มจังหวัด.....73 4.1 สถำนกำรณ์เชิงประเด็นในระดับพื้นที่ ..................................................................................................73 4.1.1 สถำนกำรณ์กลุ่มเปรำะบำงรำยครัวเรือน......................................................................................73 4.1.2 ผลกำรขับเคลื่อนโครงกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตกลุ่มเปรำะบำงรำยครัวเรือน..................................74 4.2 สถำนกำรณ์ประเด็นเร่งด่วน Hot Issues.............................................................................................75 ส่วนที่ 5 กำรวิเครำะห์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมกลุ่มจังหวัด...........................................................76 ส่วนที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ.................................................................................................................89 6.1 บทสรุป.................................................................................................................................................89
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 13 6.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย......................................................................................................................89 6.3 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติระดับกลุ่มจังหวัด.............................................................................................95 ภำคผนวก........................................................................................................................................................97
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 14 สารบัญตาราง ตำรำงที่ 1 พื้นที่ จ ำนวนประชำกร และควำมหนำแน่นของประชำกร............................................................20 ตำรำงที่ 2 สำเหตุกำรตำยจำกโรคต่ำงๆ 5 อันดับแรก....................................................................................27 ตำรำงที่ 3 สถำนศึกษำในระบบ นอกระบบ รำยสังกัด ปีกำรศึกษำ 2566......................................................39 ตำรำงที่ 4 เด็กที่เข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับ ปีกำรศึกษำ 2566............................................................39 ตำรำงที่ 5 ชุมชนผู้มีรำยได้น้อย ปี 2565........................................................................................................44 ตำรำงที่ 6 พฤติกรรมเด็กและเยำวชน และควำมรุนแรงต่อเด็กและเยำวชน...................................................53 ตำรำงที่ 7 สภำเด็กและเยำวชน......................................................................................................................54 ตำรำงที่ 8 ควำมรุนแรงในสตรีและครอบครัว.................................................................................................56 ตำรำงที่ 9 สตรีที่เป็นสมำชิกของกองทุนพัฒนำบทบำทสตรี...........................................................................57 ตำรำงที่ 10 คนพิกำรที่ได้รับกำรศึกษำ...........................................................................................................61 ตำรำงที่ 11 เครือข่ำยด้ำนคนพิกำร................................................................................................................64 ตำรำงที่ 12 สวัสดิกำรด้ำนคนพิกำร................................................................................................................64 ตำรำงที่ 13 ควำมรุนแรงในผู้สูงอำยุ...............................................................................................................67 ตำรำงที่ 14 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนผู้สูงอำยุ...............................................................................................69 ตำรำงที่ 15 จ ำนวนผู้แสดงควำมสำมำรถ.......................................................................................................71 ตำรำงที่ 16 เครือข่ำย/ สวัสดิกำรด้ำนกลุ่มคนเปรำะบำง ...............................................................................71 ตำรำงที่ 17 ภำคีเครือข่ำย/ สวัสดิกำรสังคม...................................................................................................72 ตำรำงที่ 18 กลุ่มคนเป้ำหมำยตำมฐำนข้อมูลระบบกำรพัฒนำคนแบบชี้เป้ำ TPMAP แยกรำยมิติ.................73 ตำรำงที่ 19 ข้อมูลครัวเรือนเปรำะบำง ...........................................................................................................73
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 15 สารบัญภาพ ภำพที่ 1 พื้นที่กำรปกครอง.............................................................................................................................22 ภำพที่ 2 จ ำนวนประชำกร ปี 2565................................................................................................................23 ภำพที่ 3 สัดส่วนประชำกร ปี 2563 - 2565...................................................................................................24 ภำพที่ 4 หน่วยบริกำรสำธำรณสุขภำครัฐและภำคเอกชน ..............................................................................25 ภำพที่ 5 บุคลำกรทำงกำรแพทย์ ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน..............................................................26 ภำพที่ 6 เตียงในสถำนพยำบำล ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน...............................................................26 ภำพที่ 7 อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำ......................................................................................28 ภำพที่ 8 อัตรำกำรฆ่ำตัวตำยส ำเร็จ.................................................................................................................29 ภำพที่ 9 ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนำกำรสมวัยและสูงดีสมส่วน.........................................................................30 ภำพที่ 10 ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per Capita)...................................................................................31 ภำพที่ 11 จ ำนวนรำยได้และหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ....................................................................................32 ภำพที่ 12 สัดส่วนประเภทหนี้สิน....................................................................................................................33 ภำพที่ 13 ดัชนีควำมไม่เสมอภำคของรำยได้...................................................................................................33 ภำพที่ 14 ร้อยละของครัวเรือนที่มีกำรออมเงิน..............................................................................................34 ภำพที่ 15 จ ำนวนก ำลังแรงงำน ......................................................................................................................35 ภำพที่ 16 จ ำนวนผู้ไม่อยู่ในก ำลังแรงงำน .......................................................................................................35 ภำพที่ 17 อัตรำกำรว่ำงงำน............................................................................................................................36 ภำพที่ 18 ร้อยละของแรงงำนนอกระบบ........................................................................................................37 ภำพที่ 19 จ ำนวนคนต่ำงด้ำวคงเหลือ.............................................................................................................38 ภำพที่ 20 สัดส่วนผู้ประกันตนในมำตรำ 33 และมำตรำ 39...........................................................................38 ภำพที่ 21 จ ำนวนเด็กที่ตกหล่นจำกระบบกำรศึกษำ.......................................................................................40 ภำพที่ 22 จ ำนวนเด็กนักเรียนยำกจนและยำกจนพิเศษ .................................................................................41 ภำพที่ 23 ปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป.............................................................................41 ภำพที่ 24 กำรรับแจ้งคดีอำญำตำมฐำนควำมผิด ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน.....................................42 ภำพที่ 25 สัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนน ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน.............................43 ภำพที่ 26 สัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนน ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน.............................44 ภำพที่ 27 จ ำนวนเด็กและเยำวชนจ ำแนกกลุ่มอำยุ.........................................................................................45 ภำพที่ 28 จ ำนวนและอัตรำเด็กแรกเกิด.........................................................................................................46 ภำพที่ 29 อัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก....................................................................................................................47
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 16 ภำพที่ 30 จ ำนวนเด็กในบ้ำนพักเด็กและครอบครัวจังหวัด.............................................................................48 ภำพที่ 31 จ ำนวนครอบครัว และเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์.............................................................................48 ภำพที่ 32 จ ำนวนเด็กและเยำวชนอำยุต่ ำกว่ำ 15 ปี ที่ตั้งครรภ์และอัตรำกำรเพิ่มขึ้น...................................49 ภำพที่ 33 อัตรำกำรคลอดมีชีพในเด็กและเยำวชน .........................................................................................50 ภำพที่ 34 ร้อยละกำรตั้งครรภ์ซ้ ำในสตรีที่อำยุต่ ำกว่ำ 20 ปี...........................................................................51 ภำพที่ 35 จ ำนวนแม่วัยใสและแม่วัยใสเลี้ยงเดี่ยวที่ได้รับสิทธิ์เงินอุดหนุนเพื่อกำรเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด.............51 ภำพที่ 36 จ ำนวนคดีเด็กและเยำวชนที่ถูกด ำเนินคดีโดยสถำนพินิจฯ.............................................................52 ภำพที่ 37 จ ำนวนครอบครัวและเด็กที่เงินสงเครำะห์เด็กในครอบครัวยำกจน ................................................53 ภำพที่ 38 สัดส่วนประชำกรเพศหญิงจ ำแนกกลุ่มอำยุ....................................................................................55 ภำพที่ 39 ครอบครัวที่จดทะเบียนสมรส หย่ำร้ำง และอัตรำกำรหย่ำร้ำง.......................................................55 ภำพที่ 40 อัตรำกำรว่ำงงำนในสตรี.................................................................................................................56 ภำพที่ 41 อัตรำแรงงำนในระบบหญิงต่อชำย.................................................................................................57 ภำพที่ 42 เครือข่ำยด้ำนสตรีและสถำบันครอบครัว........................................................................................58 ภำพที่ 43 จ ำนวนและสัดส่วนคนพิกำรที่ได้รับกำรจดทะเบียน.......................................................................59 ภำพที่ 44 สัดส่วนคนพิกำรจ ำแนกตำมประเภทควำมพิกำร...........................................................................60 ภำพที่45 จ ำนวนนักเรียนพิกำรที่เข้ำเรียนในโรงเรียนแบบเรียนรวม .............................................................61 ภำพที่ 46 กำรรับคนพิกำรเข้ำท ำงำน .............................................................................................................62 ภำพที่ 47 สัดส่วนกำรรับคนพิกำรเข้ำท ำงำน..................................................................................................63 ภำพที่ 48 จ ำนวนผู้สูงอำยุ..............................................................................................................................65 ภำพที่ 49 สัดส่วนผู้สูงอำยุต่อประชำกร..........................................................................................................66 ภำพที่ 50 กำรคัดกรองผู้สูงอำยุติดสังคม ติดบ้ำน ติดเตียง.............................................................................66 ภำพที่ 51 ผู้สูงอำยุที่อยู่คนเดียว.....................................................................................................................67 ภำพที่ 52 ผู้สูงอำยุที่กู้ยืมประกอบอำชีพจำกกองทุนผู้สูงอำยุ.........................................................................68 ภำพที่ 52 ผู้สูงอำยุที่ได้รับกำรสงเครำะห์ในกำรจัดกำรงำนศพผู้สูงอำยุตำมประเพณี.....................................69 ภำพที่54 จ ำนวนคนเร่ร่อน/ ไร้ที่อยู่ ..............................................................................................................70 ภำพที่ 55 อำสำสมัครพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ต่อครัวเรือน ....................................................72
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 17 ส่วนที่ 1 บทน า 1.1 หลักการและเหตุผล ตำมพระรำชกฤษฎีกำว่ำด้วยหลักเกณฑ์และวิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มีสำระส ำคัญเกี่ยวข้องกับกำรบูรณำกำร โดยก ำหนดว่ำ “ในกรณีที่ภำรกิจใดมีควำมเกี่ยวข้องกับหลำยส่วน รำชกำรหรือเป็นภำรกิจที่ใกล้เคียงหรือต่อเนื่องกัน ให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องนั้นก ำหนดแนวทำงปฏิบัติ รำชกำร เพื่อให้เกิดกำรบริหำรรำชกำรแบบบูรณำกำรร่วมกัน โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภำรกิจของรัฐ” (มำตรำ 10 วรรค 1) ในทำงปฏิบัติแม้ว่ำจะมีควำมพยำยำมในกำรบริหำรแบบบูรณำกำรในภำรกิจที่มี ควำมส ำคัญหลำยเรื่อง แต่ยังเกิดปัญหำควำมซ้ ำซ้อนในกำรปฏิบัติในหลำยๆ ภำรกิจ เป็นผลให้เป็นกำร สิ้นเปลืองทรัพยำกรเป็นอย่ำงมำก กำรปฏิรูปงบประมำณประเทศจำก “ระบบงำนงบประมำณเชิงยุทธศำสตร์” สู่ “ระบบงบประมำณเชิงพื้นที่” (Arae-Based Budgeting: ABB) ซึ่งเป็นแนวคิดของกำรท ำงบประมำณแบบมี ส่วนร่วม (Participatory Budgeting) โดยมีกำรฟังเสียงประชำชนในพื้นที่ มีกระบวนกำรท ำแผนพัฒนำจำก ล่ำงขึ้นบนตั้งแต่แผนชุมชนจนถึงแผนจังหวัด และให้หน่วยงำนทั้งภูมิภำคและท้องถิ่นร่วมกันกลั่นกรอง ท ำให้ งบประมำณสำมำรถใช้ให้ตรงกับปัญหำควำมต้องกำรของคนในพื้นที่ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น ซึ่งเป็นทั้ง กระบวนกำรเพิ่มประสิทธิภำพประสิทธิผลกำรใช้งบประมำณแผ่นดิน กำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำร บริหำรจัดกำรตนเอง กำรสร้ำงควำมโปร่งใสและธรรมำภิบำล กำรควบคุมพฤติกรรมนักกำรเมืองโดยประชำชน ในพื้นที่และกำรบูรณำกำรกำรท ำงำนของหน่วย Function และหน่วย Area ที่อยู่ในพื้นที่ร่วมกัน ซึ่งตำมแผน ปฏิรูปก ำหนดให้เริ่มตั้งแต่ปีงบประมำณ 2548 ส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร (สสว.) 1 – 11 เป็นส่วนรำชกำรส่วนกลำงที่ตั้งอยู่ในส่วน ภูมิภำค โดยมีอ ำนำจหน้ำที่ คือ ข้อ 1 พัฒนำงำนด้ำนวิชำกำรเกี่ยวกับกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ให้สอดคล้องกับพื้นที่ และเป้ำหมำย ข้อ 2 ส่งเสริมและสนับสนุนงำนด้ำนวิชำกำรองค์ควำมรู้ข้อมูลสำรสนเทศให้ค ำปรึกษำแนะน ำแก่ หน่วยงำนบริกำรกลุ่มเป้ำหมำยในพื้นที่ให้บริกำร ในควำมรับผิดชอบของกระทรวง รวมทั้ง องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง องค์กรภำคเอกชนและประชำชน ข้อ 3 ศึกษำวิเครำะห์สถำนกำรณ์และสภำพแวดล้อมเพื่อคำดกำรณ์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำง สังคมและผลกระทบ รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะกำรพัฒนำสังคมและกำรจัดยุทธศำสตร์ในพื้นที่กลุ่มจังหวัด ข้อ 4 สนับสนุนกำรนิเทศงำน ติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนเชิงวิชำกำรตำมนโยบำยและภำรกิจ ของกระทรวงในพื้นที่กลุ่มจังหวัด มีหน้ำที่เป็นกลไกขับเคลื่อนภำรกิจของกระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำม มั่นคงของมนุษย์ นอกจำกนี้กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ ได้มอบหมำยให้ส ำนักงำน ส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำรท ำหน้ำที่เชื่อมโยงประสำนนโยบำยระหว่ำงหน่วยงำนส่วนกลำงกับส่วนภูมิภำค ในกำรแปลงนโยบำย ข้อมูลสำรสนเทศ องค์ควำมรู้ และแผนต่ำงๆ ของกระทรวงฯ ให้เกิดกำรบูรณำกำรกำร
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 18 ปฏิบัติงำนของหน่วยงำนสังกัดกระทรวงฯ ในส่วนภูมิภำค ให้เหมำะสมกับบริบทพื้นที่ และมีกำรปฏิบัติงำน เป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ จึงตระหนักถึงควำมจ ำเป็นที่จะต้องขับเคลื่อนให้เกิดกำรบูรณำกำรโครงกำรด้ำน สังคมเชิงพื้นที่ในระดับพื้นที่จังหวัดและกลุ่มจังหวัด ทั้งในส่วนของแผนปฏิบัติงำนและแผนค ำของบประมำณ เชิงพื้นที่ เพื่อตอบสนองควำมต้องกำรของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในกำรบูรณำกำรกำรด ำเนินงำนพัฒนำสังคม และสวัสดิกำรสังคมที่สอดคล้องกับพื้นที่และยุทธศำสตร์อย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล ด้วยเหตุนี้ จึงได้จัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมและคำดกำรณ์แนวโน้มสถำนกำรณ์ทำงสังคมใน พื้นที่กลุ่มจังหวัด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 ที่ครอบคลุมจังหวัด ขอนแก่น มหำสำรคำม ร้อยเอ็ด เลย หนองบัวล ำภู หนองคำย และอุดรธำนีประจ ำปีพ.ศ. 2566 ขึ้น เพื่อรวบรวม วิเครำะห์สังเครำะห์ข้อมูลด้ำนสังคมในจังหวัด ประกอบด้วยสถิติกำรให้บริกำรที่เป็นปัจจุบัน ทัน ต่อสถำนกำรณ์ ครอบคลุมทั้งข้อมูลเชิงกลุ่มเป้ำหมำย ข้อมูลเชิงประเด็น ข้อมูลจำกระบบสำรสนเทศของ กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ข้อมูลด้ำนสังคมจำกหน่วยงำนแวดล้อมกระบวนงำน ข้อมูลที่บ่งชี้ถึงสถำนกำรณ์ทำงสังคมตัวชี้วัดที่เป็นสำกล รวมทั้งสถำนกำรณ์ทำงสังคมอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และ ข้อเสนอแนะในกำรป้องกัน แก้ไขปัญหำทั้งในเชิงนโยบำยและปฏิบัติอย่ำงมีประสิทธิภำพและประสิทธิผล 1.2 วัตถุประสงค์ 1) เพื่อรวบรวม วิเครำะห์ และจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมที่เกิดขึ้นในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ จังหวัด 2) เพื่อคำดกำรณ์แนวโน้มสถำนกำรณ์ทำงสังคมและผลกระทบในเขตพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด 3) เพื่อน ำประเด็นในพื้นที่และประเด็นเร่งด่วน Hot Issues แจ้งเตือนไปยังกลไกในของพื้นที่ น ำไปสู่กำร เฝ้ำระวังภัยทำงสังคมในเขตพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด 4) เพื่อเสนอแนะแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำทำงสังคมในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด 1.3 วิธีการด าเนินงาน 1) ชี้แจงวัตถุประสงค์และพิจำรณำหำรือแนวทำงกำรขับเคลื่อนรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับกลุ่ม จังหวัด 2) จัดท ำแผนปฏิบัติงำนกิจกรรมประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 เรื่อง กำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ ทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด เพื่อก ำหนดช่วงเวลำในกำรด ำเนินงำนตำมกระบวนงำนกำรขับเคลื่อนงำน ของกำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ฯ 3) ด ำเนินกำรศึกษำ วิเครำะห์ข้อมูลสถำนกำรณ์ทำงสังคมของแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็นข้อมูลในกำรก ำหนด ประเด็นกำรจัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด 4) จัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคม 2 ประเด็น ได้แก่ รำยงำนสถำนกำรณ์สถำนกำรณ์สังคมระดับ กลุ่มจังหวัด และรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับพื้นที่ หรือประเด็นเร่งด่วน (Hot Issues)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 19 5) น ำรำยงำนสถำนกำรณ์ทำงสังคมในระดับพื้นที่ หรือประเด็นเร่งด่วน (Hot Issues) ของ สสว. แจ้งต่อ ส ำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเพื่อให้ส ำนักงำนพัฒนำสังคมฯ เสนอต่อกำร ประชุมคณะกรมกำรจังหวัดของแต่ละจังหวัด หรือคณะกรรมกำร/อนุกรรมกำรในระดับจังหวัด อย่ำง น้อย 1 คณะเพื่อให้น ำไปใช้ประโยชน์ 6) น ำรำยงำนประเด็นเร่งด่วน (Hot Issues) แจ้งเตือนไปยังกลไกในระดับพื้นที่ เช่น ศูนย์ช่วยเหลือสังคม ต ำบล/ภำคีเครือข่ำย/ ทีม One Home 7) ด ำเนินกำรวิเครำะห์ สถำนกำรณ์และสภำพแวดล้อมทำงสังคมระดับจังหวัด (พื้นที่) และกลุ่มจังหวัด เพื่อท ำรำยงำนคำดกำรณ์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมซึ่งเป็นเนื้อหำของรำยงำนสถำนกำรณ์ และแนวโน้มสถำนกำรณ์สังคมกลุ่มจังหวัด 8) จัดท ำรำยงำนสถำนกำรณ์และแนวโน้มสถำนกำรณ์สังคมระดับกลุ่มจังหวัดฉบับสมบูรณ์ 9) น ำเสนอรำยงำนคำดกำรณ์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับจังหวัด (พื้นที่) และกลุ่มจังหวัดใน รูปแบบดิจิทัล (Dashboard) และส่งต่อให้ส ำนักงำนพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์จังหวัด และส ำนักงำนคณะกรรมกำรบริหำรยุทธศำสตร์กลุ่มจังหวัด (OSM) เพื่อใช้ประกอบกำรจัดท ำ แผนพัฒนำจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 10) เผยแพร่รำยงำนกำรคำดกำรณ์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมจังหวัดและกลุ่มจังหวัดรูปแบบ ดิจิทัล อย่ำงน้อย 3 ช่องทำง เช่น Facebook/ LINE OA/ เว็ปไซต์หน่วยงำน/ Youtube/ ฯลฯ 11) น ำแบบประเมินควำมพึงพอใจให้ผู้ใช้บริกำรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเมิน โดยเกณฑ์กำรประเมิน อย่ำงน้อยโดยถัวเฉลี่ยรวม สสว. 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 80 และให้ติดตำมผลกำรน ำรำยงำนกำร คำดกำรณ์แนวโน้มของสถำนกำรณ์ทำงสังคมไปใช้ประโยชน์อย่ำงน้อยโดยถัวเฉลี่ยรวม สสว. 11 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 60 12) ด ำเนินกำรจัดประชุมแบบ On-site ร่วมกับ สสว.1-11 เพื่อถอดบทเรียนกำรจัดท ำรำยงำน สถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ปี พ.ศ. 2566 และหำรือแนวทำงกำรด ำเนินงำนของรำยงำน สถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับกลุ่มจังหวัด ในปี 2567 13) จัดท ำรำยงำนสรุปผลกำรขับเคลื่อนงำนตำมตัวชี้วัดระดับควำมส ำเร็จของรำยงำนสถำนกำรณ์ทำง สังคมระดับกลุ่มจังหวัดประจ ำปี พ.ศ. 2566 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) มีข้อมูลสถำนกำรณ์ทำงสังคมระดับพื้นที่ ที่ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ำหมำย สำมำรถใช้ประโยชน์ในกำร ป้องกันและแก้ไขปัญหำสังคม 2) หน่วยงำนระดับท้องถิ่นและระดับจังหวัดสำมำรถน ำข้อมูลในพื้นที่ไปใช้ในกำรก ำหนดนโยบำย แผนงำนโครงกำรในกำรคุ้มครองป้องกันและแก้ไขปัญหำทำงสังคมในระดับพื้นที่และหน่วยงำนระดับ กระทรวงสำมำรถน ำข้อมูลในภำพรวมไปใช้ประโยชน์วิเครำะห์สถำนกำรณ์ปัญหำทำงสังคมที่ส ำคัญ และก ำหนดนโยบำยแผนงำนในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำสังคมภำพรวมต่อไป
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 20 ส่วนที่ 2 ข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่รับผิดชอบของจังหวัด 2.1 ประเด็นด้านพื้นที่และประชากร 2.1.1 ที่ตั้งและอาณาเขต ส ำนักงำนส่งเสริมและสนับสนุนวิชำกำร 5 มีเขตพื้นที่รับผิดชอบจ ำนวน 7 จังหวัด โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มจังหวัดในกำรรับผิดชอบ ได้แก่ 1. กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 (จังหวัดอุดรธำนี จังหวัดเลย จังหวัดหนองคำย จังหวัดหนองบัวล ำภู) ตั้งอยู่เส้นรุ้งที่ 16-18 องศำเหนือ และเส้นแวงที่ 100-103 องศำตะวันออก 2.กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (จังหวัดขอนแก่น จังหวัดมหำสำรคำม และจังหวัดร้อยเอ็ด) ตั้งอยู่ระหว่ำงเส้นรุ้งที่ 15-18 องศำเหนือและเส้นแวงที่ 101-103 องศำตะวันออกซึ่งอยู่บริเวณตอนกลำงของภำคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่ในเขตรับผิดชอบรวมกัน 54,406.53 ตำรำงกิโลเมตร หรือ คิดเป็น 34,070,772 ไร่ จังหวัดอุดรธานีมีพื้นที่ 11,730.302 ตำรำง กิโลเมตร หรือ 7,331,439 ไร่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่มำกที่สุด ในกลุ่มจังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 จังหวัดขอนแก่น รองลงมำคือ จังหวัดเลย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหำสำรคำม หนองบัวล ำภู และหนองคำย ตำมล ำดับ โดยมีจังหวัดเลยและจังหวัดหนองคำย ที่เป็นจังหวัดชำยแดนติดกับสำธำรณรัฐประชำธิปไตย ประชำชนลำว โดยมีอำณำเขตติดต่อกับพื้นที่จังหวัดอื่น ดังนี้ ด้ำนทิศเหนือ : ติดต่อกับสำธำรณรัฐประชำธิปไตยประชำชนลำว (สปป.ลำว) ด้ำนทิศตะวันออก : ติดต่อกับ จ.มุกดำหำร จ.ยโสธร จ.สกลนคร และจ.นครพนม ด้ำนทิศตะวันตก : ติดต่อกับ จ.ชัยภูมิ จ.เพชรบูรณ์ และจ.พิษณุโลก ด้ำนทิศใต้: ติดต่อกับ จ.ศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ และนครรำชสีมำ ตำรำงที่ 1 พื้นที่ จ ำนวนประชำกร และควำมหนำแน่นของประชำกร จังหวัด พื้นที่ จ านวนประชากร ความหนาแน่นของ ประชากร (ตร.กม./ คน) ขอนแก่น 10,885.991 1,291,131 163.94 มหำสำรคำม 5,291.683 637,341 178.51 ร้อยเอ็ด 8,299.449 515,795 155.57 เลย 11,424.612 637,341 55.79 หนองคำย 3,026.534 515,795 170.42 หนองบัวล ำภู 3,859.086 508,325 131.72 อุดรธำนี 11,730.302 1,563,048 133.25 รวม 54,517.66 5,668,776 989.2 ที่มำ : ส ำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 21 2.1.2 ลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศ กลุ่มจังหวัดภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 มีอำกำศร้อนชื้นสลับกับฤดูแล้ง มีฝนตกปำนกลำง มีี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน (มีนำคม - พฤษภำคม) ฤคูฝน (พฤษภำคม - ตุลำคม) และฤดูหนำว (พฤศจิกำยน - กุมภำพันธ์) ฤดูหนำว อำกำศหนำวเย็นเนื่องจำกได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ฤดูฝน ได้รับอิทธิพลจำกพำยุดีเปรสชั่น ฤดูรัอน อำกำสจะร้อนและแห้งแล้งมำก เพรำะอยู่ไกลจำกทะเล ปัจจัย ที่ควบคุมอุณหภูมิใน ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้รับอิทธิพลจำกลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีผลท ำให้ มีอำกำศหนำวเย็นกว่ำภำคอื่นๆ และพำยุดีเปรสชันจำกทะเลจีนใต้ท ำให้มีฝนตกเป็นบริเวณกว้ำง มีอุณหภูมิ เฉลี่ย 27. 3 องศำเซลเซียสต่อปีควำมกดอำกำศเฉลี่ยปีละ 1109.72 มิลลิเมตรปรอท และมีปริมำณน้ ำฝน ที่วัดได้ต่อปีเฉลี่ยอยู่ที่ 1,510 มิลลิเมตร อยู่ในระดับปำนกลำงถึงค่อนข้ำงมำก สำมำรถปลูกพืชหรือท ำ กำรเกษตรที่ต้องอำศัยน้ ำฝนตำมฤดูกำล กลุ่มจังหวัดภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลำง จัดอยู่ในกลุ่มที่มีฝนดกสลับกับแห้งแล้ง ได้รับอิทธิพล จำกลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งมีผลท ำให้อำกำศหนำวเย็น และพำยุ ดีเปรสชัน จำกทะเลจีนใต้ ท ำให้มีฝนตกเป็นบริเวณกว้ำง ระยะใกล้-ไกลทะเล จะท ำให้อำกำศมีควำมแตกต่ำง กันระหว่ำงฤดูร้อนและฤดูหนำวมำกเนื่องจำกไม่มีพื้นที่ติดต่อกับทะเล มีอุณหภูมิสูงสุดโดยเฉลี่ย 36.35 องศำเซลเซียสมี3 ฤดู คือ ฤคูร้อน ฤดูฝน ฤดูหนำว ในแต่ละฤดูจะมีช่วงเวลำไม่คงที่แน่นอน ขึ้นอยู่กับ ปรำกฎกำรณ์ทำงธรรมชำติและอิทธิพลของลมมรสุมเป็นหลัก 2.1.3 พื้นที่การปกครอง เขตกำรปกครองพื้นที่กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีพื้นที่รับผิดชอบจ ำนวน 7 จังหวัด มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ ำนวน 989 แห่ง ได้แก่ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด 7 แห่ง เทศบำลนคร 2 แห่ง เทศบำลเมือง 16 แห่ง เทศบำลต ำบล 301 แห่ง และองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล 663 แห่ง จังหวัดที่มีจ ำนวน เขตปกครองมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ ำนวนทั้งสิ้น 225 แห่ง องค์กร ปกครองส่วนต ำบล (อบต.) จ ำนวน 140 แห่ง เทศบำลต ำบล จ ำนวน 77 แห่ง เทศบำลเมือง จ ำนวน 6 แห่ง เทศบำลนคร จ ำนวน 1 แห่ง และองค์กรปกครองส่วนจังหวัด (อบจ.) จ ำนวน 1 แห่ง และจังหวัดที่มีจ ำนวน พื้นที่ทำงกำรปกครองน้อยที่สุด ได้แก่ จังหวัดหนองบัวล ำภู มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ ำนวนทั้งสิ้น 68 แห่ง ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนต ำบล (อบต.) จ ำนวน 43 แห่ง เทศบำลต ำบล จ ำนวน 23 แห่ง เทศบำลเมือง จ ำนวน 1 แห่ง และองค์กรปกครองส่วนจังหวัด (อบจ.) จ ำนวน 1 แห่ง และจังหวัดหนองคำย มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ ำนวนทั้งสิ้น 68 แห่ง ประกอบด้วย องค์กรปกครองส่วนต ำบล (อบต.) จ ำนวน 48 แห่ง เทศบำลต ำบล จ ำนวน 17 แห่ง เทศบำลเมือง จ ำนวน 2 แห่ง และองค์กรปกครองส่วนจังหวัด (อบจ.) จ ำนวน 1 แห่ง
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 22 ภำพที่1 พื้นที่กำรปกครอง ที่มำ : กรมส่งเสริมกำรปกครองส่วนท้องถิ่น 1 1 6 77 140 1 - 1 18 123 1 - 1 72 129 1 - 2 27 71 1 - 2 17 48 1 - 1 23 43 1 1 3 67 109 - 50 100 150 องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลต าบล องค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) ขอนแก่นมหาสารคามร้อยเอ็ดเลยหนองคายหนองบัวล าภูอุดรธานี พื ้นที่การปกครอง (หน่วย : แห่ง)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 23 2.1.4 โครงสร้างประชากร ข้อมูลประชำกร กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ มีจ ำนวนประชำกร จ ำนวนรวม ทั้งสิ้น 7,244,886 คน แบ่งเป็นจ ำนวนเด็กอำยุ 0 – 14 ปี จ ำนวน 1,086,854 คน จ ำนวนวัยแรงงำน 15 – 59 ปี จ ำนวน 4,791,459 คน จ ำนวนวัยสูงอำยุ 60 ปีขึ้นปี จ ำนวน 1,366,571 คน และจ ำนวนวัยที่จ ำแนกอำยุ ไม่ได้ จ ำนวน 2 คน ภำพที่ 2 จ ำนวนประชำกร ปี 2565 ที่มำ : ส ำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง ข้อมูลประชำกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว. 5 ปีพ.ศ. 2563 – 2565 จ ำนวนสัดส่วนประชำกรวัยเด็ก อำยุ 0 – 14 ปี มีจ ำนวนลดลง ร้อยละ 0.8 จ ำนวน สัดส่วนวัยแรงงำน อำยุ 15 – 59 ปี มีจ ำนวนลดลง ร้อยละ 0.5 จ ำนวนสัดส่วน วัยสูงอำยุ อำยุ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วนจ ำนวนประชำกรมำกขึ้น คิดเป็นร้อยละ 1.90 จำกสถำนกำรณ์ทำงสังคมดังกล่ำว คำดกำรณ์แนวโน้ม ว่ำสัดส่วนประชำกรในวัยสูงอำยุในอนำคตมีจ ำนวนเพิ่มขึ้น ผลรวม จ านวนเด็ก 0-14 ปี 1,086,854 จ านวนวัยแรงงาน 15-59 ปี 4,791,459 จ านวนวัยสูงอายุ 60 ปี ขึ ้นไป 1,366,571 จ าแนกอายุไม่ได้ 2 ประชากรรวม 7,244,886 1,086,854 4,791,459 1,366,571 2 7,244,886 จ านวนประชากร ปี 2565 (หน่วย : คน)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 24 ภำพที่ 3 สัดส่วนประชำกร ปี 2563 - 2565 ที่มำ : ส ำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง 2.2 ประเด็นด้านสุขภาพ 2.2.1 หน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐและภาคเอกชน ข้อมูลหน่วยบริกำรสำธำรณสุข พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีหน่วยบริกำร สำธำรณสุข จ ำนวนทั้งสิ้น 2,851 แห่ง จังหวัดที่มีจ ำนวนหน่วยบริกำรสำธำรณสุขมำกที่สุด คือ จังหวัดอุดรธำนี มีจ ำนวนทั้งหมด 637 แห่ง โดยแบ่งเป็น หน่วยบริกำรรัฐจ ำนวน 258 แห่ง และหน่วยบริกำรภำคเอกชน จ ำนวน 379 แห่ง และจังหวัดที่มีจ ำนวนหน่วยบริกำรสำธำรณสุขน้อยที่สุด คือ จังหวัดหนองบัวล ำภู มีจ ำนวน ทั้งหมด 189 แห่ง โดยแบ่งเป็นหน่วยบริกำรรัฐจ ำนวน 102 แห่ง และหน่วยบริกำรภำคเอกชนจ ำนวน 87 แห่ง 2563 2564 2565 สัดส่วนเด็ก 0-14 ปี 15.8 15.5 15.0 สัดส่วนวัยแรงงาน 15-59 ปี 66.5 66.1 66.0 สัดส่วนวัยสูงอายุ 60 ปี ขึ ้นไป 17.1 17.9 19.0 - 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 สัดส่วนประชากร ปี 2563 -2565 (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 25 ภำพที่ 4 หน่วยบริกำรสำธำรณสุขภำครัฐและภำคเอกชน ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข 335 88 206 217 274 336 156 177 93 143 102 87 258 379 - 50 100 150 200 250 300 350 400 หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน หน่วยบริการภาครัฐ หน่วยบริการภาคเอกชน ขอนแก่นมหาสารคามร้อยเอ็ดเลยหนองคายหนองบัวล าภูอุดรธานี หน่วยบริการสาธารณสุข (หน่วย : แห่ง)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 26 2.2.2 ทรัพยากรด้านสาธารณสุข (1) บุคลากรทางการแพทย์ ข้อมูลบุคลำกรทำงกำรแพทย์ ในปี พ.ศ. 2563 – 2564 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 มีสัดส่วนบุคลำกรทำงกำรแพทย์มีจ ำนวนมำกที่สุด คือ พยำบำล มีจ ำนวน 218 คน รองลงมำเป็นแพทย์มีจ ำนวน 39 คน เภสัชกร มีจ ำนวน 17 คน และทันตแพทย์ มีจ ำนวน 11 คน ตำมล ำดับ เมื่อพิจำรณำข้อมูลสองปีย้อนหลัง พบว่ำ แนวโน้มสัดส่วนจ ำนวนบุคลำกรทำงกำรแพทย์ ในกลุ่มจังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้น ภำพที่ 5 บุคลำกรทำงกำรแพทย์ ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข (2) เตียงในสถานพยาบาล ข้อมูลสัดส่วนเตียงในสถำนพยำบำล ในปี พ.ศ. 2563 –2564 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 สัดส่วนเตียงในสถำนพยำบำลที่มีจ ำนวนเตียงในสถำนพยำบำลมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น มีจ ำนวน 265 เตียง รองลงมำ คือ จังหนองคำย มีจ ำนวน 232 และจังหวัด ที่มีสัดส่วนเตียงในสถำนพยำบำลน้อยที่สุดคือ จังหวัดหนองบัวล ำภู มีจ ำนวน 133 เตียง ภำพที่ 6 เตียงในสถำนพยำบำล ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข 36 39 9 11 17 17 207 218 - 50 100 150 200 250 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาล สัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ (หน่วย : คน) 286 265 162 170 169 167 225 199 228 232 136 133 205 198 - 100 200 300 400 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี สัดส่วนเตียงในสถานพยาบาล (หน่วย : เตียง)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 27 2.2.3 ภาวะสขุภาพ ความเจบ็ ป่วย และการตาย (1) สาเหตุการตายจากโรคต่างๆ 5 อันดับแรก ข้อมูลสำเหตุกำรตำยจำกโรคต่ำงๆ 5 อันดับแรก ในปี พ.ศ. 2566 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขต รับผิดชอบของ สสว.5 ส่วนใหญ่มีสำเหตุกำรตำย อันดับที่ 1 คือ โรควัยชรำ จังหวัดที่มีเสียชีวิตจำก โรควัยชรำมำกที่สุด คือ จังหวัดอุดรธำนีมีจ ำนวน 1,033 คน สำเหตุกำรตำยจำกโรค อันดับที่ 2 คือ โรคหัวใจล้มเหลวไม่ระบุรำยละเอียด จังหวัดที่มีอัตรำกำรเสียชีวิตจำกโรคหัวใจล้มเหลวไม่ระบุ รำยละเอียดมำกที่สุด คือ จังหวัดอุดรธำนี มีจ ำนวน 978 คน ตำรำงที่ 2 สำเหตุกำรตำยจำกโรคต่ำงๆ 5 อันดับแรก จังหวัด สาเหตุการตายจากโรค จ านวนทั้งหมด (หน่วย : คน) อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4 อันดับที่ 5 ขอนแก่น วัยชรา หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด โรคเสื่อมของ สมองในวัยชรา หัวใจล้มเหลว การติดเชื ้อใน กระแสเลือด 957 547 463 426 370 มหำสำรคำม วัยชรา เบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด หัวใจล้มเหลว 338 200 185 157 94 ร้อยเอ็ด วัยชรำ เบำหวำน ควำมดันโลหิตสูง หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด โรคเสื่อมของ สมองในวัยชรำ 347 290 249 191 180 เลย วัยชรำ ควำมดันโลหิตสูง เบำหวำน หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด โรคอัมพำต ฉับพลัน 177 141 131 131 68 หนองคำย หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด วัยชรำ หัวใจหยุดเต้น ไม่ระบุรำยละเอียด หัวใจล้มเหลว ควำมดันโลหิตสูง ไม่ทรำบสำเหตุ 454 385 150 106 52 หนองบัว วัยชรำ หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด หัวใจล้มเหลว โรคเสื่อมของ สมองในวัยชรำ กำรติดเชื้อใน กระแสเลือด 230 207 146 111 92 อุดรธำนี วัยชรำ หัวใจล้มเหลว ไม่ระบุรำยละเอียด โรคเสื่อมของ สมองในวัยชรำ กำรติดเชื้อใน กระแสเลือด หัวใจล้มเหลว 1033 978 447 381 317 ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 28 (2) การป่วยเป็นโรคซึมเศร้าของประชากร ข้อมูลด้ำนกำรป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำของประชำกร พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีสัดส่วนกำรป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำของประชำกรมำกที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 5.2 รองลงมำเป็น จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดอุดรธำนี คิดเป็นร้อยละ 4.7 และจังหวัดที่สัดส่วนกำร ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำของประชำกรน้อยมำกที่สุด คือ จังหวัดหนองคำย เมื่อพิจำรณำข้อมูลสองปี ย้อนหลัง พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.๕ มีแนวโน้มกำรป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำของ ประชำกรเพิ่มมำกขึ้น ภำพที่ 7 อัตรำกำรเพิ่มขึ้นของผู้ป่วยเป็นโรคซึมเศร้ำ ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข (3) การฆ่าตัวตายส าเร็จ ข้อมูลด้ำนอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยส ำเร็จ พบว่ำจังหวัดอุดรธำนี มีอัตรำกำรฆ่ำตัวตำยส ำเร็จมำก ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 10.53 รองลงมำเป็น จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 9.94 และจังหวัดที่มีอัตรำกำร ฆ่ำตัวตำยส ำเร็จน้อยมำกที่สุดคือ จังหวัดหนองคำย คิดเป็นร้อยละ 6.47 0.1 4.7 1.7 3.6 1.4 5.2 -0.5 4.3 -1.2 3.0 -5.9 3.5 -0.6 4.7 -8.0 -6.0 -4.0 -2.0 - 2.0 4.0 6.0 2565 2566 2565 2566 2565 2566 2565 2566 2565 2566 2565 2566 2565 2566 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี การป่ วยเป็ นโรคซึมเศร้าของประชากร
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 29 ภำพที่8 อัตรำกำร ฆ่ำตัวตำยส ำเร็จ ที่มำ : ส ำนักงำน ปลัดกระทรวง กระทรวง สำธำรณสุข 8.00 8.00 8.00 8.00 8.00 8.00 8.00 8.18 8.57 7.97 9.94 6.45 7.48 10.53 - 2.00 4.00 6.00 8.00 10.00 12.00 14.00 16.00 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565 ขอนแก่นมหาสารคามร้อยเอ็ดเลยหนองคายหนองบัวล าภูอุดรธานี อัตราการฆ่าตัวตายส าเร็จ (หน่วย : ร้อยละ) อัตราในปี 2565 ค่าเป้ าหมายน้อยกว่าหรือเท่ากับ 8
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 30 (4) พัฒนาการและภาวะโภชนาการของเด็ก ข้อมูลด้ำนพัฒนำกำรและภำวะโภชนำกำรของเด็ก ในปี 2563 – 2566 พบว่ำ กลุ่มจังหวัด ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 เด็กอำยุ 0 – 5 ปี ที่มีพัฒนำกำรสมวัยมำกที่สุด คือ จังหวัด หนองคำย คิดเป็นร้อยละ 99.0 จังหวัดที่มีร้อยละเด็กอำยุ 0 – 5 ปี มีพัฒนำกำรสมวัยน้อยที่สุด คือ จังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 86.7 จังหวัดที่มีร้อยละของเด็กอำยุ 6 – 14 ปี สูงดีสมส่วนมำก ที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 62.9 และจังหวัดที่มีร้อยละของเด็กอำยุ 6 – 14 ปี สูงดีสม ส่วนน้อยที่สุดคือ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 53.7 ภำพที่ 9 ร้อยละของเด็กที่มีพัฒนำกำรสมวัยและสูงดีสมส่วน หมำยเหตุ ข้อมูลเปรียบเทียบไตรมำสที่ 1 ของทุกปี ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข 2.3 ประเด็นด้านเศรษฐกิจ รายได้ และการท างาน 2.3.1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ข้อมูลด้ำนผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per capital) ในปีพ.ศ. 2560 2562 และ 2564 พบว่ำ กลุ่ม จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวสูงที่สุดในกลุ่มจังหวัดมำกที่สุด คือ จังหวัด ขอนแก่น อยู่ที่ 164,489 บำทต่อปี และจังหวัดหนองบัวล ำภู มีผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัวต่ ำที่สุดในกลุ่มจังหวัด อยู่ที่ 63,658 บำทต่อปีเมื่อพิจำรณำข้อมูล ในปี พ.ศ. 2560 2562 และ 2564 จังหวัดที่มีแนวโน้มผลิตภัณฑ์ จังหวัดต่อหัวเพิ่ม ได้แก่ จังหวัดมหำสำรคำม ร้อยเอ็ด และจังหวัดหนองคำย 98.8 99.2 98.8 93.4 99.3 99.0 99.2 96.5 98.3 99.0 99.5 97.7 93.1 92.8 95.8 97.8 98.9 99.8 98.8 99.0 95.5 97.7 99.1 86.7 98.6 98.7 99.2 98.2 74.6 69.3 67.1 65.4 65.9 64.3 57.2 59.5 76.9 71.4 68.0 62.9 50.5 52.6 48.0 53.7 71.2 65.4 57.8 61.2 59.9 61.2 68.2 56.4 62.7 58.3 52.1 57.9 - 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 2563 2564 2565 2566 2563 2564 2565 2566 2563 2564 2565 2566 2563 2564 2565 2566 2563 2564 2565 2566 2563 2564 2565 2566 2563 2564 2565 2566 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี พัฒนาการและภาวะโภชนาการของเด็ก (หน่วย : ร้อยละ) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปี สูงดีสมส่วน
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 31 ภำพที่ 10 ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per Capita) ที่มำ : ส ำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ 124,729 121,648 124,489 75,334 80,422 85,228 73,567 76,334 78,688 101,527 95,989 105,205 91,068 92,947 97,617 63,002 59,157 63,568 90,269 85,982 90,818 - 20,000 40,000 60,000 80,000 100,000 120,000 140,000 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ปี 2560 ปี 2562 ปี 2564 ขอนแก่นมหาสารคามร้อยเอ็ดเลยหนองคายหนองบัวล าภูอุดรธานี ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP per Capita) (หน่วย : บาทต่อปี)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 32 2.3.2 รายได้ หนี้สิน ความไม่เสมอภาคของรายได้และการออม (1) รายได้และหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ข้อมูลด้ำนรำยได้และหนี้สินครัวเรือน ในปีพ.ศ. 2562 - 2564 เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี พบว่ำ กลุ่มจังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน จ ำนวน 207,329 บำท และรำยได้เฉลี่ยต่อเดือน 22,490 บำท ซึ่งมีแนวโน้มที่หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือนและรำยได้เฉลี่ย ต่อเดือนเพิ่มมำกขึ้น ภำพที่ 11 จ ำนวนรำยได้และหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ ข้อมูลสัดส่วนประเภทของหนี้สิน ในปีพ.ศ. 2562 - 2564 เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี พบว่ำ กลุ่มจังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีแนวโน้มสัดส่วนประเภทหนี้สินเพื่อใช้ท ำธุรกิจ ที่ไม่ใช่ภำคกำรเกษตรเพิ่มมำกขึ้น และแนวโน้มสัดส่วนประเภทหนี้สินเพื่อใช้จ่ำยในครัวเรือน และเพื่อใช้ในกำรศึกษำมีแนวโน้มที่ลดลง 20,662 21,540 22,409 161,019 157,326 207,329 - 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 2562 2563 2564 รายได้และหนี ้สินของครัวเรือน (หน่วย : บาท) รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน หนี ้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 33 ภำพที่ 12 สัดส่วนประเภทหนี้สิน ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ (2) ดัชนีความไม่เสมอภาคของรายได้ ข้อมูลดัชนีควำมไม่เสมอภำคของรำยได้ ในปีพ.ศ. 2560 2562 และ 2564 พบว่ำ กลุ่มจังหวัด เขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีดัชนีควำมไม่เสมอภำคของรำยได้ในปี พ.ศ. 2564 คิดเป็นร้อยละ 0.406 ซึ่งมีแนวโน้มที่ลดลงคงที่ ภำพที่13 ดัชนีควำมไม่เสมอภำคของรำยได้ ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ 42.4 40.3 36.0 23.8 26.7 25.2 21.8 19.7 24.1 7.8 10.6 12.0 2.4 2.2 2.0 1.9 0.5 0.7 - 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 2562 2563 2564 สัดส่วนประเภทของหนี ้สิน (หน่วย : ร้อยละ) เพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน เพื่อใช้ซื ้อ/เช่าซื ้อบ้านและที่ดิน เพื่อใช้ท าการเกษตร เพื่อใช้ท าธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร เพื่อใช้ในการศึกษา อื่นๆ 0.435 0.405 0.406 0.380 0.390 0.400 0.410 0.420 0.430 0.440 2560 2562 2564 ดัชนีความไม่เสมอภาคของรายได้(หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 34 (3) ครัวเรือนที่มีการออมเงิน ข้อมูลครัวเรือนที่มีกำรออมเงิน ในปีพ.ศ. 2564 - 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 ครัวเรือนที่มีกำรออมเงินมำกที่สุด คือ จังหวัดมหำสำรคำม คิดเป็นร้อยละ 100.0 และจังหวัดที่ครัวเรือนมีกำรออมเงินน้อยที่สุดคือ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 92.6 จำกข้อมูล ครัวเรือนที่มีกำรออมเงินดังปรำกฏด้ำนล่ำง พบว่ำ จังหวัดเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีแนวโน้ม ครัวเรือนมีกำรออมเงินในสัดส่วนที่เพิ่มมำกขึ้น ภำพที่14 ร้อยละของครัวเรือนที่มีกำรออมเงิน ที่มำ : กำรส ำรวจข้อมูลควำมจ ำเป็นพื้นฐำน (จปฐ.) กรมกำรพัฒนำชุมชน 2.3.3 ภาวะการมีงานท า (1) ก าลังแรงงาน ข้อมูลจ ำนวนก ำลังแรงงำน ในปีพ.ศ. 2563 - 2565 กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ ก ำลังแรงงำนรวม จ ำนวนทั้งสิ้น 3,249,034 คน โดยแบ่งเป็น ประชำกรชำย จ ำนวน 1,752,054 คน ประชำกรหญิง จ ำนวน 1,496,980 คน โดยจ ำนวนประชำกรแรงงำนชำยมำกกว่ำ ประชำกรแรงงำนหญิง เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี พบว่ำ แนวโน้มจ ำนวนก ำลังแรงงำน ประชำกรชำยมีจ ำนวนลดน้อยลง ในทำงตรงกันข้ำมก ำลังแรงงำนประชำกรหญิงมีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้น 90.7 96.0 98.5 100.0 98.2 99.9 82.4 92.6 94.9 98.4 93.9 98.1 87.7 96.7 - 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี ครัวเรือนที่มีการออมเงิน (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 35 ภำพที่15 จ ำนวนก ำลังแรงงำน หมำยเหตุ ข้อมูลเฉลี่ยทั้งปี ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะกำรท ำงำนของประชำกร ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ ข้อมูลผู้ที่ไม่อยู่ในก ำลังแรงงำน ในปีพ.ศ. 2563 – 2565 กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ สสว.5 พบว่ำ ผู้ที่ไม่อยู่ในก ำลังแรงงำน จ ำนวนทั้งสิ้น 1,859,807 คน โดยแบ่งเป็น ประชำกร ประเภทชำย จ ำนวน 672,615 คน และ ประชำกรประเภทหญิง จ ำนวน 1,857,192 คน เมื่อพิจำรณำ ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี พบว่ำ ประชำกรผู้ที่ไม่อยู่ในก ำลังแรงงำนมำกที่สุด คือ ประชำกรผู้หญิง และ ข้อมูลผู้ที่ไม่อยู่ในก ำลังวัยแรงงำน ประเภทชำยและหญิง มีแนวโน้มจ ำนวนลดน้อยลง ภำพที่16 จ ำนวนผู้ไม่อยู่ในก ำลังแรงงำน หมำยเหตุ ข้อมูลเฉลี่ยทั้งปี ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะกำรท ำงำนของประชำกร ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ 1,782,393 1,774,446 1,752,054 1,488,326 1,496,415 1,496,980 3,270,719 3,270,862 3,249,034 - - - - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2,500,000 3,000,000 3,500,000 2563 2564 2565 ก าลังแรงงานรวม (หน่วย : คน) ชาย หญิง รวม 691,361 696,446 672,615 1,211,578 1,202,705 1,187,192 1,902,938 1,899,151 1,859,807 - - - - 500,000 1,000,000 1,500,000 2,000,000 2563 2564 2565 ผู้ไม่อยู่ในก าลังแรงงาน (หน่วย : คน) ชาย หญิง รวม
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 36 (2) อัตราการว่างงาน ข้อมูลอัตรำกำรว่ำงงำน ในปีพ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ สสว.5 ที่มีอัตรำกำรว่ำงงำนมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดอุดรธำนีคิดเป็นร้อยละ 1.3 และจังหวัดที่มีอัตรำกำรว่ำงงำนน้อยที่สุดคือ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 0.2 เมื่อพิจำรณำข้อมูล ย้อนหลัง 3 ปี พบว่ำ แนวโน้มของอัตรำกำรว่ำงงำนของประชำกรมีจ ำนวนลดน้อยลง ภำพที่ 17 อัตรำกำรว่ำงงำน ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะกำรท ำงำนของประชำกร ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ (3) แรงงานนอกระบบ ข้อมูลแรงงำนนอกระบบ ในปีพ.ศ. 2563 – 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว. 5 ที่มีสัดส่วนของแรงงำนในระบบมำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 34.4 รองลงมำ ได้แก่จังหวัดหนองคำย คิดเป็นร้อยละ 26.1 และจังหวัดมหำสำรคำม คิดเป็นร้อยละ 24.5 ตำมล ำดับ โดยจังหวัดที่มีสัดส่วนของแรงงำนนอกระบบมำกที่สุด คือ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 86.9 จังหวัด ร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 80.6 และจังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 76.9 ตำมล ำดับ เมื่อพิจำรณำ ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปีพบว่ำ แนวโน้มของสัดส่วนแรงงำนนอกระบบมีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น ได้แก่ จังหวัดมหำสำรคำม จังหวัดหนองคำย และจังหวัดหนองบัวล ำภู 2.1 2.1 1.3 1.5 1.4 0.7 0.7 0.9 0.4 0.6 0.5 0.2 1.5 2.2 1.1 2.1 1.8 1.0 0.6 2.2 1.3 - 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี อัตราการว่างงาน (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 37 ภำพที่ 18 ร้อยละของแรงงำนนอกระบบ ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะกำรท ำงำนของประชำกร ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ (4) การท างานของคนต่างด้าว ข้อมูลกำรท ำงำนของคนต่ำงด้ำว ในปีพ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 มีจ ำนวนคนต่ำงด้ำวคงเหลือมำกที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น 8,168 คน รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดเลย จ ำนวน 3,418 คน จังหวัดอุดรธำนีจ ำนวน 2,969 คน จังหวัด หนองคำย จ ำนวน 2,533 คน ตำมล ำดับ จังหวัดที่มีจ ำนวนคนต่ำงด้ำวคงเหลือน้อยที่สุด คือ จังหวัด หนองบัวล ำภู เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ มีแนวโน้มกำรท ำงำนของคนต่ำงด้ำวเพิ่มมำกขึ้น 66.8 65.4 65.6 74.5 74.9 75.5 77.8 81.4 80.6 84.9 87.8 86.9 70.5 71.6 73.9 75.0 75.9 76.9 67.9 76.5 75.8 33.2 34.6 34.4 25.5 25.1 24.5 22.2 18.6 19.4 15.1 12.2 13.1 29.5 28.4 26.1 25.0 24.1 23.1 32.1 23.5 24.2 - 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี สัดส่วนของแรงงานนอกระบบ (หน่วย : ร้อยละ) แรงงานนอกระบบ แรงงานในระบบ
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 38 ภำพที่19 จ ำนวนคนต่ำงด้ำวคงเหลือ ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะกำรท ำงำนของประชำกร ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ 2.3.4 ผู้ประกันตน ข้อมูลสัดส่วนผู้ประกันตนต่อก ำลังแรงงำน ในปีพ.ศ. 2563 - 2564 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดใน เขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีสัดส่วนผู้ประกันตนต่อก ำลังแรงงำน ในมำตรำ 33 และมำตรำ 39 มำกที่สุด 3 อันดับแรกคือ จังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 18.2 รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดอุดรธำนี คิดเป็นร้อยละ 13.0 จังหวัดหนองคำย คิดเป็นร้อยละ 11.8 ตำมล ำดับ จังหวัดที่มีสัดส่วนผู้ประกันตน ต่อก ำลังแรงงำน ในมำตรำ 33 และมำตรำ 39 น้อยที่สุด คือ จังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 8.8 เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลัง 2 ปี จังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ มีแนวโน้มสัดส่วน ผู้ประกันตนต่อก ำลังแรงงำนเพิ่มมำกขึ้น ภำพที่ 20 สัดส่วนผู้ประกันตนในมำตรำ 33 และมำตรำ 39 ที่มำ : กำรส ำรวจภำวะกำรท ำงำนของประชำกร ส ำนักงำนสถิติแห่งชำติ 6,494 6,210 8,168 669 818 1,136 794 996 1,102 2,893 3,221 3,418 1,873 2,204 2,533 572 646 902 2,825 2,800 2,969 - 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี จ านวนคนต่างด้าวคงเหลือ (หน่วย : คน) 17.5 18.2 10.0 10.1 7.7 8.5 9.3 10.1 11.3 11.8 8.0 8.8 12.9 13.0 - 5.0 10.0 15.0 20.0 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี สัดส่วนผู้ประกันตนต่อก าลังแรงงานรวม (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 39 2.4 ประเด็นด้านการศึกษา 2.4.1 สถานศึกษา ข้อมูลสถำนศึกษำในระบบ นอกระบบ รำยสังกัด ปีกำรศึกษำ 2566 ในปี พ.ศ. 2566 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 มีสถำนศึกษำในระบบ นอกระบบ รำยสังกัด ปีกำรศึกษำ 2566 มำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 1,698 แห่ง รองลงมำ จังหวัดอุดรธำนี จ ำนวน 1,578 แห่ง และจังหวัดร้อยเอ็ด จ ำนวน 1,485 แห่ง และจังหวัดหนองคำย จ ำนวน 535 แห่ง ตำรำงที่ 3 สถำนศึกษำในระบบ นอกระบบ รำยสังกัด ปีกำรศึกษำ 2566 รายการสถานศึกษา (หน่วย : แห่ง) จังหวัด ในระบบ นอกระบบ รวม สถานศึกษา สพฐ. เอกชน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา ท้องถิ่น ส านักพุทธ กศน. รวม จังหวัดขอนแก่น 1,047 124 31 10 434 23 28 1,698 จังหวัดมหำสำรคำม 597 34 9 5 348 8 14 1,015 จังหวัดร้อยเอ็ด 829 59 22 2 538 13 22 1,485 จังหวัดเลย 431 25 9 3 342 15 15 840 จังหวัดหนองคำย 293 25 13 1 183 10 10 535 จังหวัดหนองบัวล ำภู 323 20 1 1 215 6 7 573 จังหวัดอุดรธำนี 822 60 29 3 622 21 21 1,578 ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษำธิกำร 2.4.2 เด็กที่เข้าถึงระบบการศึกษาภาคบังคับ ข้อมูลเด็กที่เข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับ ปีกำรศึกษำ 2566 พบ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่เด็กที่มี จ ำนวนเด็กเข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับมำกที่สุด ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 119,854คน รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดอุดรธำนีจ ำนวน 116,021 คน จังหวัดที่เด็กเข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับ ปีกำรศึกษำ 2566 น้อยที่สุด คือ จังหวัดหนองคำย ตำรำงที่ 4 เด็กที่เข้ำถึงระบบกำรศึกษำภำคบังคับ ปีกำรศึกษำ 2566 เด็กที่เข้าถึงระบบการศึกษาภาคบังคับ (หน่วย : คน) จ านวน จังหวัดขอนแก่น 119,854 จังหวัดมหาสารคาม 66,120 จังหวัดร้อยเอ็ด 90,678 จังหวัดเลย 50,048 จังหวัดหนองคาย 40,325 จังหวัดหนองบัวล าภู 42,124 จังหวัดอุดรธานี 116,021 ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษำธิกำร
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 40 2.4.3 กลุ่มเด็กที่มีความเสี่ยงด้านการศึกษา (1) เด็กที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา ข้อมูลเด็กที่ตกหล่นจำกระบบกำรศึกษำ ในปีพ.ศ. 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 มีจ ำนวนเด็กที่ตกหล่นจำกระบบกำรศึกษำมำกที่สุด คือ จังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 18.4 รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 16.3 จังหวัดมหำสำรคำม คิดเป็นร้อยละ 15.8 จังหวัดอุดรธำนี คิดเป็นร้อยละ 14.8 จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 13.1 จังหวัด หนองคำย คิดเป็นร้อยละ 9.8 จ ำนวนเด็กที่ตกหล่นจำกระบบกำรศึกษำน้อยที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 5.6 ภำพที่ 21 จ ำนวนเด็กที่ตกหล่นจำกระบบกำรศึกษำ ที่มำ : ระบบสำรสนเทศเพื่อควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ (iSEE) (2) เด็กนักเรียนยากจนและยากจนพิเศษ ข้อมูลเด็กนักเรียนยำกจนและยำกจนพิเศษ ในปีพ.ศ. 2565 ที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ เด็กนักเรียนยำกจนมำกที่สุด 3 อันดับแรก คือ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 18,129 คน จังหวัดอุดรธำนี จ ำนวน 18,113 คน และจังหวัดร้อยเอ็ด จ ำนวน 10,337 คน ตำมล ำดับ และเด็ก นักเรียนยำกจนพิเศษที่มีจ ำนวนมำกที่สุด 3 อันดับแรก คือ จังหวัดร้อยเอ็ด จ ำนวน 58,874 คน รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 48,901 คน จังหวัดมหำสำรคำม จ ำนวน 36,450 คน ตำมล ำดับ 5.6 15.8 16.3 13.1 9.8 18.4 14.8 - 2.0 4.0 6.0 8.0 10.0 12.0 14.0 16.0 18.0 20.0 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี 2565 เด็กที่ตกหล่นจากระบบการศึกษา (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 41 ภำพที่ 22 จ ำนวนเด็กนักเรียนยำกจนและยำกจนพิเศษ ที่มำ : ระบบสำรสนเทศเพื่อควำมเสมอภำคทำงกำรศึกษำ (iSEE) 2.4.4 ปีการศึกษาเฉลี่ยของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ข้อมูลปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป ในปีพ.ศ. 2563 – 2564 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป มำกที่สุด คือ จังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 9.0 รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดมหำสำรคำม คิดเป็นร้อย ละ 8.6 ตำมล ำดับ และจังหวัดกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไปน้อยที่สุด คือ จังหวัด ร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 7.7 เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสองปี พบว่ำ แนวโน้มปีกำรศึกษำเฉลี่ยของ ประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไปของแต่ละจังหวัดส่วนใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มมำกขึ้น ภำพที่ 23 ปีกำรศึกษำเฉลี่ยของประชำกรอำยุ 15 ปีขึ้นไป ที่มำ : ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำกำรศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร 18,129 8,268 10,337 6,429 5,554 5,610 18,113 48,901 36,450 58,874 12,008 6,933 14,455 35,101 - 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000 70,000 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี 2565 เด็กนักเรียนยากจน (หน่วย : คน) เด็กนักเรียนยากจน เด็กนักเรียนยากจนพิเศษ 8.6 9.0 8.4 8.6 7.9 7.7 8.0 7.9 8.2 8.3 7.7 7.9 8.2 8.4 7.0 7.5 8.0 8.5 9.0 9.5 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 2563 2564 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี ปี การศึกษาเฉลี่ยของประชากรอายุ 15 ปี ขึ ้นไป (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 42 2.5 ประเด็นด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 2.5.1 การรับแจ้งคดีอาญาตามฐานความผิด ข้อมูลกำรรับแจ้งคดีอำญำตำมฐำนควำมผิด ในปีพ.ศ. 2563 – 2565 ที่อยู่ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ จังหวัดที่มีกำรรับแจ้งคดีเกี่ยวกับชีวิต ร่ำงกำย และเพศมำกที่สุด คือ จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดขอนแก่น และจังหวัดเลย จังหวัดที่ได้รับแจ้งคดีควำมผิดเกี่ยวกับทรัพย์มำก ที่สุดคือ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดร้อยเอ็ด และจังหวัดเลย เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสำมปี พบว่ำ จังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 ส่วนใหญ่มีแนวโน้มกำรรับแจ้งคดีอำญำตำมฐำนควำมผิด มีสัดส่วนที่เพิ่มมำกขึ้น ภำพที่ 24 กำรรับแจ้งคดีอำญำตำมฐำนควำมผิด ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน ที่มำ : ส ำนักงำนต ำรวจแห่งชำติ 2.5.2 อุบัติเหตุบนท้องถนน ข้อมูลสัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนน ในปีพ.ศ. 2563 – 2565 ที่อยู่ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบของ สสว.5 พบว่ำ มีสัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนนมำกที่สุด 3 อันดับ ได้แก่ จังหวัดหนองบัวล ำภูมีจ ำนวน 1,361.2 คน จังหวัดหนองคำย มีจ ำนวน 1,263.1 คน และจังหวัด อุดรธำนี มีจ ำนวน 1236.9 คน ตำมล ำดับ และจังหวัดที่มีสัดส่วนผู้บำดเจ็บน้อยที่สุด คือ จังหวัด มหำสำรคำม มีจ ำนวน 877.5 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสำมปี พบว่ำ จังหวัดในเขตรับผิดชอบ ของ สสว.5 ส่วนใหญ่มีแนวโน้มสัดส่วนผู้บำดเจ็บลดลง 16.9 16.3 21.2 12.0 14.2 16.7 15.9 16.0 21.5 13.0 17.7 17.1 15.1 11.8 14.7 14.9 14.5 12.8 12.5 11.7 14.3 62.4 70.8 90.2 44.9 56.8 58.0 54.6 63.6 69.6 50.1 62.9 65.9 42.7 41.8 43.8 36.1 54.8 41.1 39.9 42.4 55.2 - 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 80.0 90.0 100.0 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี สัดส่วนการรับแจ้งคดีอาญาตามฐานความผิด (หน่วย : รับแจ้ง) การรับแจ้งคดีเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ การรับแจ้งคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 43 ภำพที่ 25 สัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนน ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน ที่มำ : ศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ เพื่อเสริมสร้ำงวัฒนธรรมควำมปลอดภัยทำงถนน (Thai RSC) ข้อมูลสัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนน ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน พบว่ำ จังหวัด ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีสัดส่วนผู้เสียชีวิตมำกที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดอุดรธำนี คิดเป็นร้อย ละ 24.1 จังหวัดมหำสำรคำม คิดเป็นร้อยละ 18.9 และจังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 14.7 ตำมล ำดับ และจังหวัดที่มีสัดส่วนทุพพลภำพมำกที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดอุดรธำนี คิดเป็นร้อยละ 78.2 รองลงมำ ไ ด้ แ ก่ จัง ห วั ด ข อน แ ก่ น คิ ดเ ป็น ร้ อ ย ล ะ 3 5 . 7 แ ล ะ จังห วั ด ร้ อ ยเ อ็ ด คิ ด เป็ น ร้ อ ย ล ะ 2 5 . 8 เมื่อพิจำรณำข้อมูลสัดส่วนผู้ทุพพลภำพ ในปี พ.ศ. 2563 - 2565 พบว่ำ จังหวัดอุดรธำนี มีสัดส่วนผู้ทุพพลภำพ ที่เพิ่มมำกขึ้น 1,429.7 1,260.6 1,217.8 1,041.4 814.0 877.5 1,126.5 1,051.9 982.9 1,184.8 1,049.0 1,004.0 1,551.9 1,289.2 1,263.1 1,663.3 1,402.7 1,423.5 1,361.2 1,239.8 1,236.9 - 200.0 400.0 600.0 800.0 1,000.0 1,200.0 1,400.0 1,600.0 1,800.0 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี สัดส่วนผู้บาดเจ็บ (หน่วย : คน)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 44 ภำพที่ 26 สัดส่วนผู้บำดเจ็บจำกอุบัติเหตุบนท้องถนน ต่อจ ำนวนประชำกร 100,000 คน ที่มำ : ศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุ เพื่อเสริมสร้ำงวัฒนธรรมควำมปลอดภัยทำงถนน (Thai RSC) 2.6 ด้านที่อยู่อาศัย ข้อมูลชุมชนผู้มีรำยได้น้อย พบว่ำ กลุ่มจังหวัดที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีชุมชน ผู้มีรำยได้น้อย จ ำนวนทั้งสิ้น 35 ชุมชน โดยจังหวัดที่มีชุมชนผู้มีรำยได้น้อยมำกที่สุด คือ จังหวัด ขอนแก่น จ ำนวนทั้งสิ้น 23 ชุมชน โดยอำศัยอยู่ในชุมชนแออัดจ ำนวน 23 ชุมชน ตำรำงที่ 5 ชุมชนผู้มีรำยได้น้อย จังหวัด จ านวน ชุมชน ชุมชนแออัด ชุมชนเมือง ชุมชนชานเมือง จ านวน บ้าน จ านวน ครัวเรือน จ านวน ชุมชน ครัวเรือน ชุมชน ครัวเรือน ชุมชน ครัวเรือน ประชากร ขอนแก่น 23 23 1,265 0 0 0 0 1,180 1,265 4,983 มหำสำรคำม 1 1 30 0 0 0 0 25 30 90 ร้อยเอ็ด 3 3 95 0 0 0 0 68 95 400 เลย 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 หนองคำย 1 1 17 0 0 0 0 17 17 56 หนองบัว 1 1 16 0 0 0 0 16 16 46 อุดรธำนี 6 5 101 0 0 1 32 133 133 446 รวม 35 34 3048 0 0 1 32 1439 1556 6021 ที่มำ : กองยุทธศำสตร์และสำรสนเทศที่อยู่อำศัย ฝ่ำยวิชำกำรพัฒนำที่อยู่อำศัย กำรเคหะแห่งชำติข้อมูล ณ มีนำคม 2565 20.0 14.7 14.6 24.4 20.6 20.2 16.2 18.7 16.0 29.1 19.9 20.2 27.6 24.8 25.6 21.0 19.6 23.0 28.7 20.6 24.1 197.4 89.5 35.7 9.5 113.8 18.9 - 25.9 25.8 - - - - 5.2 - - 20.4 - 47.0 47.0 78.2 - 50.0 100.0 150.0 200.0 250.0 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี สัดส่วนผู้เสียชีวิต และทุพพลภาพ (หน่วย : คน) สัดส่วนผู้เสียชีวิต สัดส่วนผู้ทุพพลภาพ
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 45 ส่วนที่ 3 สถานการณ์กลมุ่เป้าหมายทางสงัคมระดบักลุ่มจงัหวดั 3.1 ด้านเด็กและเยาวชน 3.1.1 สถานการณ์ทั่วไปด้านเด็กและเยาวชน (1) จ านวนเด็กและเยาวชนจ าแนกกลุ่มอายุ ข้อมูลจ ำนวนเด็กและเยำวชนจ ำแนกกลุ่มอำยุ ในปีพ.ศ. 2564 – 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัด ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีจ ำนวนเด็กและเยำวชน อำยุ 0 - 5 ปี จ ำนวน 363,737 คน เด็ก 6 – 14 ปี จ ำนวน 723,117 คน เยำวชน อำยุ 15 – 18 ปี จ ำนวน 345,214 คน เยำวชน 19 – 24 ปี จ ำนวน 545,265 คน เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสองปี พบว่ำ สัดส่วนจ ำนวนเด็กและเยำวชนมำก ที่สุด คือ ช่วงอำยุ 6 – 14 ปี และสัดส่วนจ ำนวนเด็กและเยำวชนที่มีจ ำนวนน้อยที่สุด คือ ช่วงอำยุ 15 – 18 ปีซึ่งคำดกำรณ์แนวโน้มในอนำคตว่ำจ ำนวนเด็กและเยำวชนมีสัดส่วนที่ลดน้อยลง ภำพที่ 27 จ ำนวนเด็กและเยำวชนจ ำแนกกลุ่มอำยุ ที่มำ : ส ำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง (2) จ านวนและอัตราเด็กแรกเกิด ข้อมูลจ ำนวนและอัตรำเด็กแรกเกิด ในปีพ.ศ. 2564 – 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดที่อยู่ในเขต รับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีจ ำนวนและอัตรำเด็กแรกเกิดน้อยที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ - 11.7 รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดมหำสำรคำม คิดเป็นร้อยละ - 10.8 จังหวัดหนองคำย คิดเป็นร้อยละ – 8.8 ตำมล ำดับ เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสองปี พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขต รับผิดชอบของ สสว.5 ส่วนใหญ่มีแนวโน้มจ ำนวนและอัตรำเด็กแรกเกิดที่ลดลงมำก 379,221 363,737 732,651 723,117 345,688 345,214 567,171 545,265 - 100,000 200,000 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 800,000 2564 2565 จ านวนเด็กและเยาวชนจ าแนกกลุ่มอายุ (หน่วย : คน) เด็ก 0 -5 ปี เด็ก 6 -14 ปี เยาวชน 15 -18 ปี เยาวชน 19 -24 ปี
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 46 ภำพที่28 จ ำนวนและอัตรำเด็กแรกเกิด ที่มำ : ส ำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง -5.4 -7.4 -4.2 -10.8 -1.6 -11.7 -4.1 -6.3 -6.0 -8.8 -6.6 -8.3 -7.8 -7.4 -15.0 -10.0 -5.0 - 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 2564 2565 ขอนแก่นมหาสารคามร้อยเอ็ดเลยหนองคายหนองบัวล าภูอุดรธานี จ านวนและอัตราเด็กแรกเกิด
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 47 (3) อัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก ข้อมูลอัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก ในปีพ.ศ. 2563 – 2565 พบว่ำ กลุ่มจังหวัดที่อยู่ในเขต รับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีอัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็กมำกที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อย ละ 24.6 รองลงมำ ได้แก่ จังหวัดหนองบัวล ำภูคิดเป็นร้อยละ 23.8 และจังหวัดหนองคำย คิดเป็น ร้อยละ 23.4 ตำมล ำดับ เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสองปี พบว่ำ กลุ่มจังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีแนวโน้มอัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็กที่ลดลง ภำพที่ 29 อัตรำส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก ที่มำ : ส ำนักบริหำรกำรทะเบียน กรมกำรปกครอง 3.1.2 สถานการณ์เชิงประเด็น 3.1.2.1 เด็กและเยาวชนกลุ่มเปราะบาง (1) เด็กในบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด ข้อมูลเด็กในบ้ำนพักเด็กและครอบครัว ในปีพ.ศ. 2563 – 2566 เมื่อพิจำรณำข้อมูล ย้อนหลังสี่ปี พบว่ำ จังหวัดในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 มีแนวโน้มจ ำนวนเด็กในบ้ำนพักเด็กและ ครอบครัว ช่วงอำยุ 0-17 ปี มีจ ำนวนเพิ่มมำกขึ้น และแนวโน้มจ ำนวนเด็กในบ้ำนพักเด็กและ ครอบครัว ช่วงอำยุ 18-25 ปี มีจ ำนวนลดน้อยลง 23.2 22.8 22.4 22.0 21.8 21.4 22.4 22.1 21.5 25.6 25.2 24.6 24.3 23.8 23.4 24.8 24.3 23.8 24.2 23.6 23.3 19.0 20.0 21.0 22.0 23.0 24.0 25.0 26.0 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 2563 2564 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี อัตราส่วนพึ่งพิงวัยเด็ก (หน่วย : ร้อยละ)
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 48 ภำพที่ 30 จ ำนวนเด็กในบ้ำนพักเด็กและครอบครัวจังหวัด ที่มำ : กรมกิจกำรเด็กและเยำวชน (2) เด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ ข้อมูลจ ำนวนครอบครัวและจ ำนวนเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ในปีพ.ศ. 2565 พบว่ำ จังหวัด ที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีจ ำนวนครอบครัวและจ ำนวนเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์มำกที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่จังหวัดหนองคำย จ ำนวน 104 คน รองลงมำ คือ จังหวัดขอนแก่น จ ำนวน 96 คน และจังหวัดอุดรธำนี จ ำนวน 80 คน ตำมล ำดับ และจังหวัดที่มีสัดส่วนจ ำนวนครอบครัวและเด็กใน ครอบครัวอุปถัมภ์น้อยที่สุดคือ จังหวัดหนองบัวล ำภูจ ำนวน 45 คน ภำพที่ 31 จ ำนวนครอบครัว และเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ ที่มำ : กรมกิจกำรเด็กและเยำวชน 2,794 1,439 1,022 2,975 1,006 95 29 27 - 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 2563 2564 2565 2566 จ านวนเด็กในบ้านพักเด็กและครอบครัวจังหวัด (หน่วย : คน) อายุ 0 - 17 ปี อายุ 18 - 25 ปี 96 47 47 57 104 44 80 96 47 47 59 105 45 80 - 20 40 60 80 100 120 2565 2565 2565 2565 2565 2565 2565 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี จ านวนครอบครัว และเด็กในครอบครัวอุปถัมภ์ (หน่วย : คน) ครอบครัวอุปถัมภ์ เด็กในครอบครัวอุปถัมภ์
รายงานสถานการณ์ทางสังคมกลุ่มจังหวัด ประจ าปี 2566 l 49 3.1.2.2 แม่วัยรุ่น/ แม่วัยรุ่นเลี้ยงเดี่ยว (1) จ านวนเด็กและเยาวชนอายุต่ ากว่า 15 ปี ที่ตั้งครรภ์ (กบรส.) ข้อมูลจ ำนวนเด็กและเยำวชนต่ ำกว่ำ 15 ปี ที่ตั้งครรภ์ (กบรส.) ในปี พ.ศ. 2565 พบว่ำ จังหวัดที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีจ ำนวนเด็กและเยำวชนต่ ำกว่ำ 15 ปี ที่ตั้งครรภ์ (กบรส.) มำกที่สุด 3 อันดับแรก คือ จังหวัดขอนแก่น คิดเป็นร้อยละ 1.3 จังหวัดมหำสำรคำม และจังหวัด ร้อยเอ็ด คิดเป็นร้อยละ 1.2 ตำมล ำดับ ภำพที่32 จ ำนวนเด็กและเยำวชนอำยุต่ ำกว่ำ 15 ปี ที่ตั้งครรภ์และอัตรำกำรเพิ่มขึ้น ที่มำ : ส ำนักงำนปลัดกระทรวง กระทรวงสำธำรณสุข (2) อัตราการคลอดมีชีพในเด็กและเยาวชน ข้อมูลอัตรำกำรคลอดมีชีพในเด็กและเยำวชน ในปีพ.ศ. 2563 - 2566 พบว่ำ จังหวัดที่อยู่ใน เขตรับผิดชอบของ สสว.5 ที่มีอัตรำกำรคลอดมีชีพในเด็กและเยำวชนมำกที่สุด ในช่วงอำยุ 10 – 14 ปี 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 0.99 จังหวัดหนองบัวล ำภูและจังหวัดอุดรธำนีคิด เป็นร้อยละ 0.95 จังหวัดที่มีอัตรำกำรคลอดมีชีพในเด็กและเยำวชนมำกที่สุด ในช่วงอำยุ 15 – 19 ปี 3 อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดอุดรธำนีคิดเป็นร้อยละ 25.18 จังหวัดเลย คิดเป็นร้อยละ 20.66 และ จังหวัดหนองบัวล ำภู คิดเป็นร้อยละ 19.59 เมื่อพิจำรณำข้อมูลย้อนหลังสี่ปี พบว่ำ จังหวัดในเขต รับผิดชอบของ สสว.5 มีแนวโน้มอัตรำกำรคลอดมีชีพในเด็กและเยำวชน ช่วงอำยุ 15 – 19 ปี มี จ ำนวนที่ลดลง 0.6 -0.6 1.3 1.2 -0.3 1.2 -0.2 0.1 1.2 1.0 -0.5 0.9 1.3 -0.4 0.8 -0.1 -0.5 0.9 2.6 -0.4 -0.1 -1.0 -0.5 - 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 2564 2565 2566 2564 2565 2566 2564 2565 2566 2564 2565 2566 2564 2565 2566 2564 2565 2566 2564 2565 2566 ขอนแก่น มหาสารคาม ร้อยเอ็ด เลย หนองคาย หนองบัวล าภู อุดรธานี จ านวนเด็กและเยาวชนอายุต ่ากว่า 15 ปี ที่ตั ้งครรภ์ และอัตราการเพิ่มขึ ้น