The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nalue mesri, 2019-06-04 07:39:24

การสร้างเอกสารวิชาการ

3204-2002 unit 1

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยท่ี 1

หลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สูง (ปวส.) พทุ ธศักราช 2557

เรียบเรียงโดย นฤมล มศี รี

วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยนี ครราชสีมา

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

หนว่ ยท่ี 1

เรื่อง การสร้างเอกสารเชงิ วิชาการ

1. สาระสาคญั

ในการสร้างเอกสารที่มคี วามซับซ้อน เช่น การจัดทาคู่มือ หนงั สอื หรือรายงานการวิจัย จะมี
ส่วนประกอบอนื่ ๆ เพ่มิ ข้ึนภายในเอกสารทีเ่ ราต้องทา เช่น ดัชนี (Index) การใส่ลาดบั เลขหนา้ (Page No.)
การใช้หวั กระดาษ และทา้ ยกระดาษ (Header and Footer) เปน็ ตน้ ในบทนเี้ ราจะกล่าวถึงการใช้คาสง่ั
อัตโนมตั ิเพ่ือสรา้ งสว่ นประกอบเหลา่ นี้ ซงึ่ จะชว่ ยลดเวลาในการสรา้ งเอกสารได้เปน็ อย่างมาก

2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจความหมายของเทคนคิ การสร้างเอกสารเชิงวชิ าการ
2. มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั ขัน้ ตอนในการทางานเชิงวชิ าการ
3. มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับรปู แบบตา่ งๆ ที่ใช้ในการทางานเชงิ วชิ าการ
4. มคี วามร้คู วามสามารถในการใช้เทคนคิ ในการสร้างเอกสารเชิงวิชาการ

การสร้ างเอกสารทางวิชาการ

บทความทางวชิ าการ เป็นเอกสารทางวชิ าการประเภทหนง่ึ ซง่ึ ทบวงมหาวิทยาลยั ได้ให้คาจากดั
ความเพื่อใช้ประกอบการพจิ ารณาแตง่ ตงั้ ตาแหนง่ ทางวชิ าการไว้วา่ “หมายถงึ เอกสารซง่ึ เรียบเรียงจาก
ผลงานทางวิชาการของตนเอง หรือของผ้อู ่ืนในลกั ษณะที่เป็นการวิเคราะห์ วิจารณ์ หรือเสนอ
แนวความคดิ ใหมๆ่ จากพืน้ ฐานทางวชิ าการนนั้ ๆ” (ทบวงมหาวทิ ยาลยั , เอกสารอดั สาเนา) จาก
ความหมายข้างต้นจงึ อาจกลา่ วได้วา่ บทความทางวิชาการมีวตั ถปุ ระสงค์ในการนาเสนอความรู้ความคิด
ใหมๆ่ รวมทงั้ ประสบการณ์ของผ้เู ขียนเกี่ยวกบั เรื่องนนั้ ๆ บนพืน้ ฐานของวิชาการในเรื่องนนั้ ๆ หรืออาจจะ
เป็นการแสดงความคิดเหน็ ในเชิงวิเคราะห์ วจิ ารณ์ วชิ าการในเรื่องนนั้ ๆ เพ่ือนาเสนอแนวคดิ ใหมๆ่
เก่ียวกบั เรื่องนนั้ ๆ หรือเพื่อตงั้ คาถามหรือประเดน็ ใหมๆ่ ท่ีจะกระต้นุ ให้ผ้อู า่ นเกิดความสนใจท่ีจะศกึ ษา
ค้นคว้าในเร่ืองนนั้ ตอ่ ไป บทความทางวิชาการเป็นชอ่ งทางหนงึ่ ท่ีจะเผยแพร่ความรู้ ความคดิ และ
ประสบการณ์ของสานกั วิชาการออกสวู่ งวิชาการและสาธารณชน ซงึ่ ชว่ ยให้นกั วชิ าการได้ทราบวา่
ความคดิ และความรู้ใหมๆ่ ที่ตนได้พฒั นาขนึ ้ นนั้ ได้รับการยอมรับหรือไมย่ อมรับ หรือมีจดุ ออ่ น จดุ เดน่
ประการใด ความรู้และความคดิ เหลา่ นีค้ วรจะได้มาจากการที่ผ้เู ขียนได้ศกึ ษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจารณ์
มาอยา่ งดีแล้วจนกระทงั่ เกิดแนวคดิ ใหมๆ่ ตอ่ เนื่องออกไป ในทางท่ีจะสร้างสรรค์วิชาการเร่ืองนนั้ ๆ ให้งอก
งามตอ่ ไปอีก บทความทางวิชาการท่ีดี ควรมีสว่ นชว่ ยกระต้นุ ให้ผ้อู า่ นได้แนวคดิ แนวทางในการนา
ความคดิ นนั้ ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในรูปแบบหนง่ึ หรือช่วยกระต้นุ ให้ผ้อู า่ นเกิดการพฒั นาความคิดในเร่ือง
นนั้ ๆ ตอ่ ไป
ลกั ษณะสาคญั ของบทความทางวชิ าการ

จากการอภิปรายข้างต้น บทความทางวชิ าการจงึ ควรมีลกั ษณะสาคญั ๆ ดงั นี ้
1. มีการนาเสนอความรู้ ความคิดท่ีตงั้ อยู่บนพืน้ ฐานทางวิชาการที่เช่ือถือได้ในเร่ืองนนั้ ๆ โดยมี
หลกั ฐานทางวชิ าการอ้างองิ
2. มีการวิเคราะห์ วจิ ารณ์ ให้ผ้อู า่ นเห็นประเดน็ สาคญั อนั เป็นสาระประโยชน์ที่ผ้เู ขียนต้องการ
นาเสนอแกผ่ ้อู า่ น ซงึ่ อาจจาเป็นต้องใช้ประสบการณ์สว่ นตวั หรือประสบการณ์และผลงานของผ้อู ื่นมาใช้
3. มีการเรียบเรียงเนือ้ หาสาระอยา่ งเหมาะสม เพื่อชว่ ยให้ผ้อู า่ นเกิดความกระจา่ งในความรู้
ความคดิ ท่ีนาเสนอ
4. มีการอ้างอิงทางวชิ าการและให้แหลง่ อ้างอิงทางวชิ าการอยา่ งถกู ต้อง เหมาะสมตามหลกั
วชิ าการ และจรรยาบรรณของนกั วชิ าการ
5. มีการอภิปรายให้แนวคิด แนวทางในการนาความรู้ ความคดิ ที่นาเสนอไปใช้ให้เป็น
ประโยชน์ หรือมีประเดน็ ใหมๆ่ ที่กระต้นุ ให้ผ้อู า่ นเกิดความต้องการสืบเสาะหาความรู้หรือพฒั นาความคดิ
ในประเดน็ นนั้ ๆ ตอ่ ไป

สว่ นประกอบของบทความทางวิชาการ
โดยทวั่ ไป บทความทางวิชาการ ควรมีสว่ นประกอบท่ีสาคญั ๆ ดงั นี ้
1. สว่ นนา
สว่ นนาจะเป็นสว่ นที่ผ้เู ขียนจงู ใจให้ผ้อู า่ นเกิดความสนใจในเร่ืองนนั้ ๆ ซงึ่ สามารถใช้วิธีการและ

เทคนิคตา่ งๆ ตามแตผ่ ้เู ขียนจะเห็นสมควร เชน่ อาจใช้ภาษาท่ีกระต้นุ จงู ใจผ้อู า่ นหรือยกปัญหาท่ีกาลงั
เป็นท่ีสนใจขณะนนั้ ขนึ ้ มาอภิปราย หรือตงั้ ประเดน็ คาถามหรือปัญหาท่ีท้าทายความคดิ ของผ้อู า่ นหรือ
อาจจะกลา่ วถงึ ประโยชน์ท่ีผ้อู า่ นจะได้รับจากการอ่าน เป็นต้น นอกจากจะเป็นสว่ นท่ีใช้จงู ใจผ้อู า่ นแล้ว
สว่ นนาเป็นสว่ นท่ีผ้เู ขียนสามารถกลา่ วถึงวตั ถปุ ระสงค์ของการเขียนบทความนนั้ หรือให้คาชีแ้ จงท่ีมาของ
การเขียนบทความนนั้ ๆ รวมทงั้ ขอบเขตของบทความนนั้ เพ่ือชว่ ยให้ผ้อู า่ นไมค่ าดหวงั เกินขอบเขตท่ี
กาหนด นอกจากนนั้ ผ้เู ขียนอาจใช้สว่ นนานีใ้ นการปพู ืน้ ฐานที่จะเป็นในการอา่ นเรื่องนนั้ ให้แกผ่ ้อู า่ น หรือ
ให้กรอบแนวคิดที่จะชว่ ยให้ผ้อู า่ นเข้าใจเนือ้ หาสาระท่ีนาเสนอตอ่ ไป

2. สว่ นสาระสาคญั ของเร่ือง
ถดั จากสว่ นนาก็จะถึงสว่ นท่ีเป็นการนาเสนอเนือ้ หาสาระสาคญั ของเร่ืองซง่ึ ในสว่ นนีผ้ ้เู ขียนควร
คานงึ ถึงประเดน็ สาคญั ๆ ดงั ตอ่ ไปนี ้

2.1 การจดั ลาดบั เนือ้ หาสาระ ผ้เู ขียนควรมีการวางแผนจดั โครงสร้างของเนือ้ หา
สาระท่ีจะนาเสนอ และจดั ลาดบั เนือ้ หาสาระให้เหมาะสมตามธรรมชาติของเนือ้ หาสาระนนั้ การนาเสนอ
เนือ้ หาสาระควรมีความตอ่ เน่ืองกนั เพ่ือชว่ ยให้ผ้อู า่ นเข้าใจสาระนนั้ ได้โดยง่าย

2.2 การเรียบเรียงเนือ้ หา ในสว่ นนีต้ ้องอาศยั ความสามารถของผ้เู ขียนในหลายด้าน
นอกเหนือจากความเข้าใจในเนือ้ หาสาระ เชน่ ด้านภาษา ด้านสไตล์การเขียน ด้านวธิ ีการนาเสนอเป็น
ต้น

2.2.1 ด้านการใช้ภาษา การเขียนบทความทางวชิ าการ จะต้องใช้คาใน
ภาษาไทยหากคาไทยนนั้ ยงั ไมเ่ ป็นท่ีเผยแพร่หลาย ควรใสค่ าภาษาตา่ งประเทศไว้ในวงเล็บ ในกรณีที่ไม่
สามารถหาคาไทยได้ จะเป็นต้องทบั ศพั ท์ก็ควรเขียนคานนั้ ให้ถกู ต้องตามหลกั เกณฑ์ของราชบณั ฑิตสถาน

ไมค่ วรเขียนภาษาไทยและตา่ งประเทศปะปนกนั ในลกั ษณะท่ีเรียกวา่ “ไทยคา องั กฤษคา” เพราะจะทา

ให้งานเขียนนนั้ มีลกั ษณะของความเป็นทางการ (formal) ลดลง ผ้เู ขียนบทความทางวชิ าการ
จาเป็นต้องพถิ ีพิถนั ในเร่ืองการเขียนตวั สะกดการันต์ตา่ งๆ ให้ถกู ต้องตามพจนานกุ รมฉบบั
ราชบณั ฑิตยสถาน และควรตรวจทานงานของตนไมใ่ ห้ผิดพลาด เพราะงานนนั้ จะเป็นแหลง่ อ้างองิ ทาง
วชิ าการตอ่ ไป

2.2.2 ด้านสไตล์การเขียน ผ้เู ขียนแตล่ ะคนย่อมมีสไตล์การเขียนของตน
ซงึ่ จะเป็นเอกลกั ษณ์และเป็นเสรีภาพของผ้เู ขียน อยา่ งไรก็ตาม ไมว่ า่ ผ้เู ขียนจะใช้สไตล์อะไร สิง่ ที่ควร

คานงึ ก็คอื ผ้เู ขียนจะต้องเขียนอธิบายเรื่องนนั้ ๆ ให้ผ้อู า่ นเกิดความกระจา่ งมากที่สดุ ซง่ึ อาจต้องใช้เทคนคิ
ตา่ งๆ ที่
จาเป็น เชน่ การจดั ลาดบั หวั ข้อ การยกตวั อยา่ งที่เหมาะสม การใช้ภาษาที่กระชบั ชดั เจน และเหมาะสม
กบั ผ้อู ่าน เป็นต้น

2.2.3 ด้านวธิ ีการนาเสนอ การนาเสนอเนือ้ หาสาระให้ผ้อู า่ นเข้าใจได้ง่าย
และได้อยา่ งรวดเร็วนนั้ จาเป็นต้องใช้เทคนิคตา่ งๆ ในการนาเสนอเข้าชว่ ย เชน่ การใช้ส่ือประเภทภาพ
แผนภมู ิ ตาราง กราฟ เป็นต้น ผ้เู ขียนควรมีการนาเสนอส่ือตา่ งๆ นีอ้ ย่างเหมาะสม และถกู ต้องตาม
หลกั วิชาการ เชน่ การเขียนช่ือตาราง การให้หวั ข้อตา่ งๆ ในตาราง เป็นต้น

2.3 การวเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ และการนาเสนอความคดิ ของผ้เู ขียน บทความ
ท่ีดี ควรมีการนาเสนอความคดิ เห็นของผ้เู ขียน ซงึ่ อาจออกมาในลกั ษณะของการวิเคราะห์ วจิ ารณ์
ข้อมลู เนือ้ หาสาระ ให้เป็นประเดน็ ท่ีเป็นสว่ นของการริเร่ิมสร้างสรรคข์ องผ้เู ขียน ซง่ึ อาจจะนาเสนอไป
พร้อมๆ กบั การนาเสนอเนือ้ หาสาระ หรืออาจจะนาเสนอก่อนการนาเสนอข้อมลู หรือเนือ้ หาสาระก็ได้
แล้วแตส่ ไตล์การเขียนของผ้เู ขียน หรือความเหมาะสมกบั ลกั ษณะเนือ้ หาของเร่ืองนนั้ ๆ

3. สว่ นสรุป
บทความทางวชิ าการที่ดคี วรมีการสรุปประเด็นสาคญั ๆ ของบทความนนั้ ๆ ซง่ึ อาจทาใน
ลกั ษณะที่เป็นการยอ่ คือการเลือกเก็บประเดน็ สาคญั ๆ ของบทความนนั้ ๆ มาเขียนรวมกนั ไว้อยา่ งสนั้ ๆ
ท้ายบท หรือ อาจใช้วิธีการบอกผลลพั ธ์วา่ สง่ิ ท่ีกลา่ วมามีความสาคญั อยา่ งไร สามารถนาไปใช้อะไรได้
บ้าง หรือจะทาให้เกิดอะไรตอ่ ไป (ปรีชา ช้างขวญั ยืน และคณะ . 2539 : 14 ) หรืออาจใช้วธิ ีการตงั้
คาถามหรือให้ประเดน็ ทงิ ้ ท้ายกระต้นุ ให้ผ้อู า่ นไปสืบเสาะแสวงหาความรู้ หรือคดิ ค้นพฒั นาเรื่องนนั้ ต่อไป
งานเขียนท่ีดคี วรมีการสรุปในลกั ษณะใดลกั ษณะหนงึ่ เสมอ
4. สว่ นอ้างองิ
เน่ืองจากบทความทางวิชาการ เป็นงานที่เขียนขนึ ้ บนพืน้ ฐานของวชิ าการที่ได้มีการศกึ ษา
ค้นคว้า วิจยั กนั มาแล้ว และการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์อาจมีการเชื่อมโยงกบั ผลงานของผ้อู ่ืนจงึ จาเป็นต้องมี
การอ้างองิ เมื่อนาข้อความหรือผลงานของผ้อู ่ืนมาใช้ โดยการระบใุ ห้ชดั เจนวา่ เป็นงานของใคร ทาเม่ือไร
และนามาจากไหน เป็นการให้เกียรตเิ จ้าของงาน และประกาศให้ผ้อู า่ นรับรู้ว่า ส่วนนนั้ ไมใ่ ชค่ วามคดิ ของ
ผ้อู ื่น รวมทงั้ เป็นการให้หลกั ฐานแก่ผ้อู า่ น ให้ผ้อู ่านสามารถไปสืบเสาะแสวงหาความรู้เพิ่มเตมิ หรือ
ตดิ ตามตรวจสอบหลกั ฐานได้
โดยทว่ั ไป การอ้างอิงทาได้หลายแบบท่ีนยิ มกนั ก็แทรกปนไปในเนือ้ หา การอ้างองิ แบบลง
เชิงอรรถ และการทาบรรณานกุ รม
4.1 การอ้างองิ แบบแทรกปนไปในเนือ้ หา มี 2 ระบบ คือ

4.1.1 ระบบนามปี เป็นการอ้างอิงโดยลงชื่อผ้แู ตง่ ปีท่ีพมิ พ์ และเลขหน้าของเอกสารที่อ้างองิ
ตวั อยา่ งเชน่

“กิจการพมิ พ์ในเมืองไทย เกิดขนึ ้ เป็นครัง้ แรก ตงั้ แต่ ปี
พ.ศ. 2371 (สภุ าพรรณ บญุ สะอาด , 2517 : 38)”

4.1.2 ระบบหมายเลข ใช้วิธีระบหุ มายเลขสาคญั เอกสารอ้างองิ ท่ีเรื่องลาดบั ไว้ในบรรณานกุ รม
และบอกเลขหน้าของเอกสารที่นามาอ้างองิ เชน่

“การพิมพ์หนงั สือเร่ิมขนึ ้ ในประเทศจีน ตงั้ แตร่ าวปี
ค.ศ. 105 และมีวิวฒั นาการมาโดยลาดบั (2:186)”

4.2 การอ้างองิ แบบลงเชงิ อรรถ มีหลายแบบ เชน่ เป็นเชงิ อรรถอ้างองิ ซงึ่ ทาในรูปของข้อความที่แยกไว้
ท้ายหน้า โดยลงช่ือผ้แู ตง่ ช่ือเร่ือง สถานที่พิมพ์ สานกั พมิ พ์ ปีท่ีพมิ พ์ และเลขหน้า ในบางกรณีอาจรวม
ไว้ท้ายบทก็ได้ นอกจากเชงิ อรรถอ้างองิ แล้ว ยงั มีเชิงอรรถเสริมความหรือเชงิ อรรถอธิบาย เพ่ือให้
คาอธิบายเพ่มิ เตมิ และเชงิ อรรถโยง ซง่ึ ใช้บอกแหลง่ ความรู้ที่ผ้อู า่ นจะหาได้จากส่วนอื่นของเรื่องท่ีเขียน
นนั้ เพ่ือจะได้ไมต่ ้องนาข้อมลู ซงึ่ เขียนแล้วมากลา่ วซา้ อีก นอกจากนนั้ การอ้างซงึ่ มีลกั ษณะเป็นการองิ คือ
ไมไ่ ด้นาผลงานสว่ นใดสว่ นหนง่ึ มากลา่ วอ้างโดยตรง แตเ่ ป็นการนาความคดิ หรือข้อมลู ของเขามาเลา่ ก็ต้อง
อ้างชื่อเจ้าของผลงาน และบอกที่มาไว้ในบรรณานกุ รม (ปรีชา ช้างขวญั ยืนและคณะ , 2539:76)

ตวั อย่างการลงเชิงอรรถอ้างองิ
“งบประมาณเพ่ือการศกึ ษานอกระบบโรงเรียนของกระทรวงศกึ ษาธิการเพมิ่ ขนึ ้ จาก 569.1

ล้านบาท หรือร้อยละ 1.7 ของงบประมาณเพ่ือการศกึ ษาทงั้ หมดในปี 2536.............”
สานกั งบประมาณ สานกั นายกรัฐมนตรี.งบประมาณโดยสงั เขป ประจาปีงบประมาณ 2535.

กรุงเทพมหานคร:บริษัทฉลองรัตน์ จากดั , ม.ป.ป.
“.....รูปแบบของการศกึ ษาท่ีสามารถนาอปุ กรณ์โทรคมนาคมมาใช้เพ่ือการสื่อสารสองทาง

ในขณะนี ้ ได้แก่ โทรศพั ท์เพื่อการศกึ ษา โทรประชมุ เพื่อการศกึ ษา และดาวเทียมเพ่ือการศกึ ษา*....”
*นอกจากรูปแบบทงั้ 3 แล้ว ยงั สามารถใช้ระบบและอปุ กรณ์โทรคมนาคมตา่ งๆ ได้แก่โทรพิมพ์

ระบบเคเบลิ ทีวี การสง่ สญั ญาณไมโครเวฟ videotext และ teletext ในการศกึ ษาทางไกลได้อีก
ด้วย

4.3 การเขียนบรรณานกุ รม
บรรณานกุ รมเป็นรายการเอกสารท่ีใช้อ้างองิ และใช้ประกอบการเขียนบทความนนั้ ๆ ซงึ่ บอก

รายละเอียดเกี่ยวกบั เอกสารนนั้ โดยจดั เรียงตามลาดบั พยญั ชนะ ประกอบด้วย ช่ือผ้แู ตง่ ช่ือหนงั สือ
จานวนเลม่ ครัง้ ที่พิมพ์ สถานที่พมิ พ์ ปีที่พิมพ์ ผ้อู า่ นสามารถตรวจสอบหลกั ฐาน หรือศกึ ษาเพมิ่ เตมิ ได้
บรรณานกุ รมนบั เป็นสว่ นสาคญั ของบทความทางวิชาการ เน่ืองจากวตั ถปุ ระสงคส์ าคญั ข้อหนงึ่ ของการ
เขียนบทความทางวิชาการก็เพื่อกระต้นุ ให้ผ้อู า่ นมีการสืบเสาะและค้นคดิ พฒั นาในเร่ืองนนั้ ๆ ตอ่ ไป

ตวั อยา่ งการเขียนบรรณานกุ รม (บณั ฑติ วทิ ยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั , 2536)
ภาษาไทย

ชาญวทิ ย์ เกษตรศริ ิ และชชู าติ สวสั ดศิ รี , บรรณาธิการ. ประวตั ศิ าสตร์และนกั ประวตั ศิ าสตร์
ไทย .

กรุงเทพมหานคร: สานกั พมิ พ์ประพนั ธ์สาส์น , 2519 .
พระราชวรมนุ ี. ปรัชญาการศกึ ษาของคนไทย. พระนคร : สานกั พมิ พ์เคล็ดไทย, 2519.
วจิ ติ รวาทการ,หลวง. ศาสนาสากล เปรียบเทียบศาสนา สทั ธิและปรัชญาตา่ งๆ ทวั่ โลก. 5 เลม่ .

พิมพ์ครัง้ ที่ 2 . พระนคร : โรงพมิ พ์ ส.ธรรมภกั ดี, 2498-2501.
วชิ าการ,กรม.จดุ ประสงคใ์ นการสอน. พระนคร : กรมวิชาการ กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2518.
สมบรู ณ์ ไพรินทร์. บนั ทกึ เหตกุ ารณ์ทางการเมืองตงั้ แต่ 24 มถิ นุ ายน 2475-25 ธันวาคม 2515.

2 เล่ม. (ม.ป.ท. , ม.ป.ป.).
ชมเพลิน จนั ทร์เร่ืองเพญ็ , สมคดิ แก้วสนธิ และทองอินทร์ วงศโ์ สธร. การสอนแบบตา่ งๆ

ในระดบั อดุ มศกึ ษา. วารสารครุศาสตร์. 6 พฤษภาคม-มถิ นุ ายน 2519 : 34-49.
ภาษาองั กฤษ

Fontana,D.Jr. Classroom control: Understanding and
Building classroom behavior.

London :The British Psychological Society,1985.
Katz, W.A. Introduction to reference work. 2 Vols. 2nd ed.

Now York : McGraw-Hill
Book Co., 1974.

Thailand. Office of the National Education Commission. A
research report on higher

Education system : A case study of Thailand . Bangkok :
Office of the National

Education Commission, 1977.
รายละเอียดเกี่ยวกบั เรื่องของการอ้างอิงนนั้ มีอีกมาก ซงึ่ ผ้เู ขียนบทความทางวชิ าการควร
แสวงหาความรู้เพ่ิมเตมิ เพราะมีแบบให้เลือกหลายแบบที่ยกมาเป็นเพียงแบบหนง่ึ เท่านนั้ อยา่ งไรก็ตาม
หลกั สาคญั ที่ควรกลา่ วไว้ในท่ีนีก้ ็คือ การอ้างองิ ควรจะเป็นการกระทาอยา่ งมีจดุ หมาย เพ่ือให้ผ้อู า่ นได้
ทราบแหลง่ ท่ีมาของความรู้ และชว่ ยให้ผ้อู ่านมีโอกาสหาความรู้เพ่ิมขนึ ้ และเป็นการแสดงวา่ สงิ่ ท่ีนามา
กลา่ วมีหลกั ฐานควรเชื่อถือได้เพียงใด ความรู้พืน้ ๆ ท่ีเป็นสิ่งที่ผ้อู า่ นเข้าใจได้งา่ ย ไมจ่ าเป็นต้องมีการ
สืบค้นอะไรอีก ไมจ่ าเป็นต้องมีการอ้างอิง ควรอ้างอิงเทา่ ที่จาเป็น การอ้างองิ มากเกินจาเป็น จะทาให้

บทความดรู ุ่มร่าม และก่อความราคาญในการอ่านได้ นอกจากนนั้ พงึ ตระหนกั อยเู่ สมอวา่ การคดั ลอก
งานของผ้อู ่ืนนนั้ ทาได้ แตต่ ้องเป็นการนามาเพื่ออธิบายสนบั สนนุ เทา่ นนั้ ไมใ่ ชล่ อกเอามาเป็นเนือ้ งานของ
ตน

รายละเอียดปลีกยอ่ ยในการเขียนบทความทางวิชาการให้ได้ดีนนั้ คงยงั มีอีกมาก อาทเิ ชน่
ลกั ษณะจาเพาะของบทความเฉพาะสาขา ความยาวที่เหมาะสม แบบฟอร์ม
และรายละเอียดเกี่ยวกบั การพมิ พ์ เป็นต้น ผ้เู ขียนบทความควรให้ความสนใจท่ีจะศกึ ษาตอ่ ไป ท่ีกลา่ วมา
ทงั้ หมดนี ้ เป็นเพียงสว่ นสาคญั ที่ไมค่ วรขาดในบทความทางวิชาการโดยทวั่ ไปเทา่ นนั้
บรรณานกุ รม
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ลกั ษณะของผลงานทางวชิ าการที่ใช้ประกอบการพิจารณาแตง่ ตงั้ ตาแหนง่

วชิ าการตามตขิ อง ก.ม. (อดั สาเนา) )(ม.ป.ป.).
บณั ฑติ วิทยาลยั จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . คมู่ ือการพิมพ์วทิ ยานพิ นธ์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , 2536.
ปรีชา ช้างขวญั ยืน และคณะ. เทคนิคการเขียนและผลิตตารา . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์จฬุ าลงกรณ์
มหาวทิ ยาลยั , 2539

การแทรกหวั กระดาษ/ทา้ ยกระดาษ

ในเอกสารทีเ่ ปน็ หัวจดหมายหรือคู่มือ เราจะเห็นข้อความท่เี ปน็ ชือ่ บท ลาดบั หน้า วนั ที่ หรอื ตรา
สัญลักษณ์ (logo) ปรากฏทหี่ ัวและทา้ ยกระดาษทกุ หนา้ ซ่ึงโปรแกรม Word สามารถกาหนดหวั กระดาษ
(header) และท้ายกระดาษ (footer) ให้มีรปู แบบไดต้ ามต้องการ เชน่ กาหนดใหป้ รากฏเฉพาะหนา้ เอกสาร
หรอื ปรากฏในหน้าคหู่ รอื หน้าค่ี เปน็ ตน้

ขั้นตอนการแทรกหวั กระดาษ/ทา้ ยกระดาษ

ข้อความในสว่ นของหวั กระดาษและท้ายกระดาษนนั้ วธิ ีแทรกให้ใชค้ าสั่งจากแทบ็ lnsrt (แทรก) และ
เลอื ก Header (หัวกระดาษ) หรอื footer (ทา้ ยกระดาษ) ซ่งึ จะมผี ลกบั เอกวสาสรทกุ หนา้

1. เลอื กแทบ็ lnsert (แทรก) จากน้นั คลกิ ปุ่มคาสัง่ Header เพ่ือใส่หวั กระดาษให้กบั เอกสาร

2. เลอื กรูปแบบของหวั ดระดาษทีต่ ้องการจากตัวอยา่ งเลอื ก Blank (วา่ งเปลา่ ) จะปรากฏเส้นประแสดง
ขอบเขตของหัวกระดาษในเอกสาร
3. กรอกขอ้ ความ หรือใส่กราฟฟิกในส่วนของหัวกระดาษ
4. คลอกเมาส์ที่ปุ่ม Footer (ท้ายกระดาษ) เพ่ือสลบั ไปทางานยงั ท้ายกระดาษ ซงึ่ เราจะพบเสน้ ประแสดง
ขอบเขตท้ายกระดาษ เอกสาร
5. กรอกข้อความ หรือใส่กราฟฟิกในทา้ ยกระดาษ
6. คลิกเมาวสท์ ปี่ มุ X Close Header and Footer (ปิดหัวกระดาษและท้ายกระดาษ) เพ่ือกลบั ไปยังหน้าจอ
เอกสารปกติ สว่ นที่เปน็ หวั กระดาษและทา้ ยกระดาษจะปรากฏเปน็ สีจางๆใหเ้ ห็น ซ่งึ เราจะแก้ไขหวั กระดาษ
และทา้ ยกระดาษในมุมมองท่ีทางานกับเอกสารไม่ได้

แทรกข้อความแบบต่างๆบนหวั -ท้ายกระดาษ

บนแถบเค่ืองมือ Header&Footer Tools (เครื่องมือหวั กระดาษและท้ายกระดาษ) มีปมุ่ คาส่งั ทใ่ี หเ้ รา
สามารถเลือกแทรกข้อความท่ีมกั ใชบ้ อ่ ยๆบนเอกสารท่วั ไปไว้ให้ เช่น เลขหน้า วนั ที่ หรือเวลารวาทง้ั ปมุ่ คาสัง่
สาหรบั การแก้ไขรายละเอยี ดในหัวกระดาษและทา้ ยกระดาษ

ปรบั ขอบเขตของหวั กระดาษและท้ายกระดาษ

หากขอบเขตของหวั กระดาษและท้ายกระดาษมีขนาดเลก็ หรือใหญเ่ กินไป ใหเ้ ราปรบั ขนาดไดท้ ่ีแทบ็
Design (ออกแบบ) กลุ่มคาส่ัง position (ตาแหนง่ ) หรือใช้เมาสป์ รบั ขนาดของกรอบได้จากแถบไม้บรรทัดดัง
ตวั อย่างเป็นการปรบั ความกวา้ งของหวั กระดาษ
1. จากมุมมองเอกสารปกติ ให้เราดับเบิ้ลคลิกท่ีส่วนของหัวกระดาษ/ท้ายกระดาษเพ่อื ทาการแก้ไข
2. บริเวณเส้นบรรทัดของเอกสาร จะแสดงขนาดของกรอบหวั กระดาษ/ทา้ ยกระดาษที่มีอย๋ใู ห้เราเลื่อนเมาสม์ า
ท่ขี อบเวณน้ี ซ่งึ ตวั ชเ้ี มาส์จเั ปลือ่ นเปฯ็ สญั ลกั ษณ์
3. ลากเมาส์เพ่ือเพิ่มหรอื ลดขนาดของกรอบหัวกระดาษ/ท้ายกระดาษตาทท่ีต้องการ


Click to View FlipBook Version