The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Max Kanokwara, 2021-10-19 09:07:59

คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

จัดทำโดย กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คมู่ ือการจัดทาแผนปฏิบัติการ

การพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ

กองพฒั นาอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
กระทรวงอตุ สาหกรรม



ชือ่ หนงั สอื คมู่ อื การจดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ
เจ้าของลิขสทิ ธิ์ กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม
๗๕/๖ ถนนพระรามท่ี ๖ เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ ๑๐๔๐๐
พมิ พค์ รงั้ ที่ ๑ โทรศพั ท์ ๐ ๒๒๐๒ ๔๑๔๓ หรือ ๐ ๒๒๐๒ ๔๐๒๕
พมิ พ์ท่ี โทรสาร ๐ ๒๓๕๔ ๓๑๑๔
จานวน ตุลาคม ๒๕๖๔
จัดทาโดย บรษิ ทั พญา พริ้นตงิ้ แอนด์ พับลซิ ช่ิง จากัด
๑๕๐ เลม่
กองพฒั นาอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ กรมโรงงานอตุ สาหกรรม รว่ มกับ
มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์

คานา

เพื่อให้การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ดำเนินไปอย่างมีทิศทางและมี
เป้าหมายที่ชัดเจนเป็นไปในลักษณะเดียวกันและสอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ดา้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวิตทเ่ี ป็นมิตรกับสง่ิ แวดล้อมที่มีการ
พัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติและนำไปสู่การเป็น
“เมืองน่าอยู่ ชนบทมน่ั คง เกษตรย่งั ยืน อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ” กองพฒั นาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้จัดทำ “คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ” สำหรับใช้เป็นแนวปฏิบัติให้แก่คณะกรรมการ คณะทำงาน และบุคลากร
ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของพื้นที่
เป้าหมาย ให้ได้มีเครื่องมือในการวางกรอบแผนปฏิบัติการฯ ของพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพและ
เกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์ที่คาดหวังไว้ โดยแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าวจะถูกนำเสนอต่อ
คณะกรรมการบริหารงานจงั หวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) เพ่อื พิจารณาแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนา
เมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศบรรจใุ นแผนพัฒนาจงั หวัดตามความเหมาะสมตอ่ ไป

คู่มือเล่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับที่มาและความสำคัญของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศ แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรอบแนวคิดท่ี
เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตลอดจนกล่าวถึง
ขั้นตอนและองค์ประกอบที่สำคัญในการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นเิ วศ

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม โดยกองพัฒนาอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ คาดหวงั เป็นอย่างย่ิงว่า
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อ
พื้นท่ใี นการใชเ้ ปน็ แนวทางดำเนินงานให้เกดิ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลสงู สดุ

กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
กระทรวงอตุ สาหกรรม

สารบญั หนา้

สารบัญภาพ ค

สารบญั ตาราง ๑

บทท่ี ๑ บทนา ๓
๑๓
๑.๑ หลกั การและเหตผุ ล ๑๕
๑.๒ ทีม่ าและความสำคัญของการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ๑๙
๑.๓ เป้าหมายการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศในระยะ ๒๐ ปี
๑.๔ ความกา้ วหน้าการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ๒๒
๑.๕ ประเดน็ ข้อจำกดั ปัญหา และอปุ สรรค เกยี่ วกับการจดั ทำแผนพฒั นาเมือง ๒๒
๒๔
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่ผา่ นมา ๒๕
๒๘
บทที่ ๒ แนวทางการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ๒๙
๓๒
๒.๑ แนวทางการจัดทำแผนระดับที่ ๓
๒.๒ กลไกการจดั ทำแผนระดับที่ ๓ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ๓๓
๒.๓ แนวทางการจดั ทำแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพืน้ ท่ี
๒.๔ กลไกการจดั ทำแผนพัฒนาระดับพ้ืนที่ ๓๖
๒.๕ แนวทางการจดั ทำแผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
๒.๖ วตั ถุประสงค์ หลักการดำเนนิ งาน และผลท่ีได้รบั ในการจัดทำแผนปฏิบตั กิ าร ๓๘

การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ๓๙
๒.๗ กลไกการจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ๔๐

บทที่ ๓ กรอบแนวคิดท่เี กี่ยวข้องกับการจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนาเมือง ๔๒
๔๕
อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ

๓.๑ Baseline Analysis: การวเิ คราะห์และจดั ทำข้อมลู พื้นฐานบริบทสภาวการณ์และ
ศักยภาพของพื้นที่เมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศตามเกณฑแ์ ละตวั ช้ีวดั การเป็นเมือง
อุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ

๓.๒ Gap Analysis: การวเิ คราะหช์ ่องว่าง
๓.๓ Scenario Analysis: การวิเคราะหค์ าดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทจี่ ะเกิดขน้ึ

ในอนาคต
๓.๔ SWOT Analysis: การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก
๓.๕ TOWS Matrix: การวเิ คราะหเ์ พ่ือกำหนดกลยุทธ์





สารบัญ

หนา้

๓.๖ การกำหนดตวั ชว้ี ดั ผลสำเรจ็ และค่าเปา้ หมายในการประเมินผลโครงการ ๔๗
๓.๗ PDCA: วงจรคุณภาพ ๔๙
๓.๘ Ongoing Evaluation: การประเมินผลในระหวา่ งการดำเนนิ โครงการ ๕๑

บทท่ี ๔ ขัน้ ตอนและองค์ประกอบการจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรม ๕๓

เชิงนิเวศ ๕๓

๔.๑ ข้นั ตอนการจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการนำ ๕๘
แผนไปปฏบิ ัติ ๖๒
๗๘
๔.๒ องค์ประกอบของเล่มแผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
๔.๓ รูปแบบการจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ

เอกสารอ้างอิง

ภาคผนวก

ภาคผนวก ๑ ตัวอย่างเกณฑ์การคัดเลือกพ้ืนท่ีเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศที่เหมาะสม ๗๙

ภาคผนวก ๒ ตวั อยา่ งคำสั่งแตง่ ตัง้ คณะกรรมการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ๗๙

ภาคผนวก ๓ ตัวอย่างคำส่งั แตง่ ต้ังคณะทำงานขับเคลือ่ นการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ๗๙

ภาคผนวก ๔ ตัวอยา่ งแผนปฏิบัติการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ๘๐

ภาคผนวก ๕ คู่มอื การประเมินผลการปฏบิ ัติราชการ: แนวทางการกำหนดตวั ชวี้ ัด ๘๐

และค่าเป้าหมาย

ภาคผนวก ๖ เกณฑ์การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ๘๐

ภาคผนวก ๗ แนวทางการจดั ทำแผนระดบั ท่ี 3 และการเสนอแผนระดับที่ 3 ในส่วนของ ๘๐

แผนปฏิบตั กิ ารด้าน...ต่อคณะรฐั มนตรี

ภาคผนวก ๘ แนวทางปฏบิ ัตริ องรับการดำเนนิ การตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ย ๘๐

การจดั ทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดบั อำเภอและตำบล

พ.ศ. ๒๕๖๒ ของแผนพฒั นาอำเภอ (ฉบบั ปรบั ปรุง ประจำปงี บประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๔)

ภาคผนวก ๙ ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจัดทำแผนและประสานแผนพฒั นา ๘๐

พ้ืนทใี่ นระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562

ภาคผนวก ๑๐ นโยบาย หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารจดั ทำแผนพัฒนาจังหวัดและแผนพัฒนากลุม่ ๘๐

จงั หวดั พ.ศ. 2566 -2570

ขขก


สารบญั ภาพ

หนา้

ภาพท่ี ๑-๑ ประโยชนท์ ีท่ ุกภาคสว่ นได้รับจากการจดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนาเมือง ๒
อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศในระดบั พนื้ ท่ี

ภาพที่ ๑-๒ การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศภายใต้หลัก ๗R ๖
ภาพท่ี ๑-๓ เป้าหมายการพัฒนาทีย่ ่ังยนื (SDGs) และการสรา้ งสมดลุ ท้ัง ๕ มิติ ๗
ภาพที่ ๑-๔ เป้าหมายการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศภายในปี ๒๕๗๐ ๘
ภาพที่ ๑-๕ สรปุ ทีม่ าของการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ ๙
ภาพที่ ๑-๖ การบรู ณาการการดำเนินงานรว่ มกันระหว่างกรมโรงงานอตุ สาหกรรมและหน่วยงาน
๑๒
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งในการพัฒนาพื้นท่ีไปสู่เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ๑๕ จงั หวดั ๑๘ พน้ื ที่ ๑๓
ระหวา่ ง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๔ ๑๔
ภาพที่ ๑-๗ ระดบั การเป็นเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ
ภาพท่ี ๑-๘ การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ๓ ระยะ ๑๙
ภาพที่ ๑-๙ ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เร่ือง กำหนดพ้ืนท่ีเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ๒๓
และมาตรการสนับสนุนการประกอบกิจการโรงงานในพ้ืนทเ่ี ปา้ หมายเมือง ๒๕
อุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ พ.ศ. 2561
ภาพท่ี ๑-๑๐ ขอ้ จำกัดของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ๒๘
ภาพที่ ๒-๑ การจำแนกแผน ๓ ระดบั ๒๙
ภาพท่ี ๒-๒ กลไกและขนั้ ตอนการของบประมาณของกรมโรงงานอตุ สาหกรรมสำหรบั การจัดทำ ๓๐
แผนระดบั ท่ี ๓ ๓๔
ภาพท่ี ๒-๓ กลไกและหว้ งระยะเวลาในการจดั ทำแผนพฒั นาระดบั พนื้ ที่ ๓๗
ภาพท่ี ๒-๔ กลไกการจัดทำแผนพัฒนาพ้นื ที่แบบบูรณาการในภาพรวมของประเทศ ๓๘
ภาพที่ ๒-๕ ความเชือ่ มโยงของแผนแมบ่ ทและแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ๓๙
ภาพท่ี ๒-๖ กลไกและห้วงระยะเวลาในการจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ๔๐
ภาพท่ี ๓-๑ กรอบแนวคิดท่เี กย่ี วข้องกับการจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๔๓
ภาพท่ี ๓-๒ เกณฑค์ ุณลกั ษณะการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มติ ิ ๒๐ ด้าน ๔๔
ภาพที่ ๓-๓ การวิเคราะห์ชอ่ งวา่ ง (Gap Analysis) ๔๖
ภาพที่ ๓-๔ องคป์ ระกอบของ STEEP Analysis ๔๘
ภาพท่ี ๓-๕ กรอบการวเิ คราะหส์ ภาพการณห์ รอื ปัจจยั ภายใน ๕๐
ภาพที่ ๓-๖ กรอบการวิเคราะห์สภาพการณ์หรอื ปจั จยั ภายนอก ๕๔
ภาพท่ี ๓-๗ ตาราง TOWS Matrix
ภาพท่ี ๓-๘ ประเภทของตัวช้ีวดั และคา่ เปา้ หมาย ๕๕
ภาพที่ ๓-๙ วงจรคณุ ภาพ PDCA
ภาพท่ี ๔-๑ ขนั้ ตอนการทบทวนและปรับปรงุ แผนปฏบิ ัตกิ ารการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
ระยะ 5 ปี สำหรับ ๑๕ จงั หวดั ๑๘ พืน้ ที่
ภาพที่ ๔-๒ ขัน้ ตอนการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ระยะ ๕ ปี
สำหรบั พ้นื ท่ีใหม่





สารบัญตาราง หนา้

ตารางที่ ๑-๑ จังหวดั เปา้ หมายในการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศในระยะที่ ๒ ๑๕
ตารางท่ี ๑-๒ ความก้าวหนา้ ของการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ๑๗
ตารางท่ี ๓-๑ ตัวอย่างการกำหนดตัวช้วี ัดเชงิ ปริมาณและค่าเป้าหมาย ๔๘
ตารางท่ี ๓-๒ ตัวอยา่ งการกำหนดตวั ชี้วัดเชงิ ปริมาณท่ีใชว้ ดั ส่ิงท่ีเปน็ นามธรรมและค่าเป้าหมาย ๔๘
ตารางที่ ๓-๓ ตวั อย่างการกำหนดตัวช้วี ัดเชงิ คุณภาพ ๔๙
ตารางที่ ๔-๑ อธิบายข้ันตอนการจัดทำแผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ๕๖

สำหรบั พนื้ ทใี่ หม่

งงก




บทท่ี ๑

บทนำ

๑.๑ หลักกำรและเหตุผล

กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนา
อุตสาหกรรมภายใต้หลกั การพ่ึงพาอาศัยกนั (Symbiosis) และดำรงอยู่รว่ มกับชมุ ชนไดอ้ ยา่ งยงั่ ยืน จึงประกาศ
น โ ย บ า ย กา ร พั ฒ น า เ มื อง อุ ต ส า ห กร ร มเ ช ิ ง น ิ เ ว ศ แ ล ะ กำ ห น ด เ ป ้ า ห มา ย ใน กา ร พั ฒ น า ย กร ะด ั บ พ ื ้ น ที ่ ท ี ่ มี
อุตสาหกรรมให้มุ่งสู่การเป็นเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town) ตามแนวคิดการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ 1) การพัฒนาพื้นท่ีเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
2) การพัฒนาคุณภาพชีวิตของชุมชนเดิมท่ีอยู่ในบรเิ วณใกล้เคยี งกับเขตอุตสาหกรรม และ 3) การพัฒนาเมือง
ใหม่หรือเมืองเชิงนิเวศ โดยภายใน พ.ศ.๒๕๗๙ มีเป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมให้เป็นต้นแบบ
“เมืองน่าอยู่ คู่อุตสาหกรรม” ไม่น้อยกว่า ๔๐ พื้นที่ ดังนั้นในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้บรรลุตาม
เป้าหมายที่ตั้งไว้ จึงต้องอาศัยการประยุกต์แนวคิด ทฤษฎี หลักการ สู่การปฏิบัติให้เห็นผลเป็นรูปธรรม
อันจะต้องอาศัยการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระดับพื้นที่ ระยะ ๕ ปี
(พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) เพื่อเป็นหมุดหมายนำทางให้พื้นที่เป้าหมายทุก ๆ พื้นที่ สามารถดำเนินการตาม
แผนงานและทิศทางทีก่ ำหนดได้อย่างเกิดประสิทธิภาพสอดรับกับสภาวการณ์ ศักยภาพและความต้องการของ
ผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ในพื้นที่เป้าหมาย

ดังนั้น คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พื้นที่...1 ในฐานะกลไกของผู้
ปฏิบัติในระดับพ้ืนท่ี สามารถนำคู่มือฉบับน้ีไปใช้เป็นแนวปฏิบัตใิ นการจัดทำแผนพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศที่จะสะท้อนผลการดำเนินงานผ่านการออกแบบโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม
ตอบโจทย์การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เกิดการบูรณาการการดำเนินงานของทุกภาคส่วนทั้งส่วน
ราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้ประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรม ภาคประชาชนและชุมชน
ตลอดจนภาคสถาบันการศึกษา อันจะนำมาซึ่ง “การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในลักษณะที่ทุก
ภาคส่วนได้ประโยชนร์ ่วมกันในทุกมิติ” กล่าวคือเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมขับเคลื่อนสู่ความมั่งคั่งไปพร้อม
กับการปกป้องรักษาสิ่งแวดล้อมและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน นอกจากนั้นการจัดทำแผนปฏิบัติ
การการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ยงั ใหป้ ระโยชน์ในแงข่ องการท่ีภาคส่วนราชการจะได้รบั งบประมาณ
สนับสนุนการดำเนินการพัฒนาพื้นท่ีที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมใน
พื้นที่ได้ใช้สมรรถนะหลักในการแสดงบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐาน CSR-DIW และชุมชนมี
ส่วนร่วมในการพัฒนาพื้นที่ของตนเองและรู้สึกถึงความเปน็ เจ้าของร่วมกัน อันจะนำมาซึ่งความสุขและความยั่งยืน
ตามระดบั ของการเป็น “เมืองน่าอยู่ คอู่ ตุ สาหกรรม” อย่างแทจ้ รงิ ดงั ภาพท่ี ๑-๑

๑ สามารถศกึ ษาโครงสร้างคณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ พื้นท.่ี .. ได้ในภาคผนวก ๓

1

ภาพที่ ๑-๑ ประโยชน์ท่ีทุกภาคส่วนได้รบั จากการจดั ทำแผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
ในระดบั พน้ื ที่

เมืองนา่ อยู่ ค่อู ุตสาหกรรม

ภาครฐั ผู้ประกอบกจิ การโรงงานฯ

- มีแนวทางในการดำเนินงานด้าน - ได้ใช้สมรรถนะของธุรกิจในการ
การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง แสดงความรับผิดชอบต่อสังคม
นิเวศที่ชัดเจนเพื่อมุ่งสู่เป้าหมายการ ตามมาตรฐาน CSR-DIW
พฒั นาทยี่ งั่ ยืน - เกิดความร่วมมือระหว่างโรงงาน
- ได้แสดงบทบาทด้านการพัฒนา และมีส่วนร่วมกับองค์กรอื่นในการ
ชุมชนและสังคมทั้งในมิติเศรษฐกิจ เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาที่
สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม ย่งั ยืน
- เกิดความร่วมมอื และการมสี ว่ นรว่ ม - สง่ เสริมภาพลกั ษณข์ องธรุ กิจ
ของภาคีเครือข่าย และหน่วยงานท่ี - ลดตน้ ทุนและเพิ่มกำไรใหธ้ ุรกิจ
เก่ียวข้องตา่ ง ๆ ในพน้ื ท่ี - พนักงานมีสุขภาพกายใจที่ดี
- ได้รับงบประมาณสนับสนุนการ มคี วามสุขในการทำงาน
ดำเนินการพัฒนาพื้นที่ที่สอดคล้อง - ฯลฯ
กบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
- ฯลฯ WIN – WIN – WIN – WIN

ภาคประชาสงั คม ชุมชน/สงั คม

- เกดิ การทำงานรว่ มกบั ภาครัฐและเอกชนใน - ยกระดับพฒั นาคณุ ภาพชีวติ คนในชมุ ชน
การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ - ขยายโอกาสธรุ กิจในทอ้ งถ่ิน
- ได้แสดงบทบาทของภาคประชาสังคมที่มี - เพิ่มโอกาสดา้ นอาชพี และการศึกษาใหแ้ กค่ นในชมุ ชน
ส่วนในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ - คนในชมุ ชนมสี ขุ ภาพกายและใจทดี่ ี
สง่ิ แวดล้อมในชุมชน - สร้างความเช่ือม่ันด้านคุณภาพสงิ่ แวดลอ้ มใหช้ มุ ชนมากข้ึน
- ฯลฯ - เกิดความรสู้ ึกเป็นเจ้าของและเป็นความภาคภมู ใิ จของชุมชน
- ทรพั ยากรธรรมชาติในพืน้ ที่/ชุมชน ไดร้ ับการปกป้องรักษา
ทมี่ า: พัฒนาโดยคณะผ้จู ัดทำ, ๒๕๖๔. - เกิดการใช้ทรัพยากรและพลงั งานอยา่ งคมุ้ ค่าและมปี ระสทิ ธภิ าพ
- ลดมลภาวะและมลพษิ ในพ้ืนท่ี/ชุมชน
- ฯลฯ

2

๑.๒ ที่มำและควำมสำคญั ของกำรพัฒนำเมืองอตุ สำหกรรมเชงิ นเิ วศ

การพัฒนาประเทศตามแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติในชว่ งทีผ่ ่านมาโดยเฉพาะฉบบั ท่ี ๘ ถงึ
ฉบับที่ ๑๐2 (พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๕๔) มุ่งเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจ โดยสนับสนุนการลงทุนใน
ภาคอุตสาหกรรมจากแหล่งทุนต่างประเทศ เน้นการกระจายรายได้และการพัฒนาไปสู่ภูมิภาคและชนบท
ก่อให้เกิดการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรม มีการเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของแรงงาน ขณะเดียวกันก็มีการใช้
ทรพั ยากรเพิ่มขนึ้ และก่อใหเ้ กดิ ปัญหาสะสมในมิติตา่ ง ๆ อาทิ ปัญหาด้านสงิ่ แวดล้อม ปญั หามลพิษทางน้ำและ
มลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อมิติทางสุขภาพของประชาชน นอกจากนี้ในบางพื้นที่ยังประสบปัญหา
เกี่ยวกับประชากรแฝงท่ีส่งผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรเพื่อการอุปโภคบริโภคและการสาธารณูปโภคข้ัน
พื้นฐานท่ีเกินกว่าศักยภาพของพ้ืนท่ีท่ีจะรองรับได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นท่ีท่ีมีการพัฒนาดา้ นอตุ สาหกรรม
ซึ่งประสบกับปัญหาการแย่งชิงทรัพยากรโดยเฉพาะเรื่องน้ำ รวมถึงปัญหาการเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมอืน่ ๆ จนกอ่ ให้เกดิ ความขัดแย้ง เกิดปรากฏการณ์คดั คา้ นจากประชาชนใน
พ้นื ท่ี ประกอบกับท่ีผา่ นมารฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ และรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักร
ไทย พ.ศ. 25๖0 ได้ให้สิทธิแก่ชุมชนในการเข้ามามีส่วนร่วมกำหนดทิศทางการพัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู และ
บำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ชุมชนของตนเอง ทำให้เกิดปรากฏการณ์ที่ประชาชนฟ้องร้องต่อศาล
ปกครองกลางให้ระงับการดำเนินโครงการต่าง ๆ ในพื้นทท่ี จ่ี ะมีการพฒั นาดา้ นอุตสาหกรรม เป็นตน้

 จำกสภำพปัญหำสู่วำระกำรปฏิรปู ประเทศวำ่ ด้วยแนวคดิ เมอื งนิเวศ (Eco - Town)

ในปี พ.ศ. 2556 คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2556 มอบหมายให้กระทรวง
อุตสาหกรรมร่วมกับกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รับไปพิจารณา
จัดตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษารูปแบบการจัดทำเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมายเดิม (จังหวัด
สมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง) โดยให้คำนึงถึงการจำกัด
การพิจารณาอนุญาตตั้งโรงงานในพื้นที่อย่างเข้มงวด สำหรับพื้นที่อุตสาหกรรมใหม่ (จังหวัดฉะเชิงเทรา และ
จังหวัดปราจีนบรุ ี) ให้พิจารณาจัดทำแผนการยกระดับนิคมอตุ สาหกรรมเข้าสูเ่ มืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเสนอ
คณะรัฐมนตรีตอ่ ไป

ใน พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาปฏิรูปประเทศเสนอ
วาระปฏริ ูปท่ี ๒๕ เร่อื ง ระบบการบรหิ ารจัดการทรพั ยากร: การอยู่รว่ มกนั อย่างย่งั ยนื ระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรมและ
ชุมชนด้วย “แนวคิดเมืองนิเวศ (Eco - Town)” โดยระบุว่าปัจจุบันการพัฒนาประเทศที่มุ่งสร้างความเข้มแข็ง
ของทุกภาคส่วนไม่วา่ จะเป็นเมือง ชนบท ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม รวมถงึ การประกอบอาชีพของทุก
ชุมชนใหเ้ ป็นไปอย่างเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและการใช้ทรัพยากรที่ดิน เพอื่ ความร่มเย็น อยู่ดีมีสุข
และมีความปรองดอง สร้างความมั่นคงทางสังคมและความมั่งค่ังทางเศรษฐกิจของประเทศนั้นยังไม่เกิดขึ้น
อย่างสมบูรณ์ เนื่องจากปัญหาความขัดแย้งของการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยัง
ปรากฏใหเ้ หน็ อยู่ทั่วไป โดยเฉพาะในภาคอตุ สาหกรรมและชมุ ชน

๒ กองพฒั นาอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ. 2561. แผนแมบ่ ทและแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ (Eco Industrial Town) (ปี 2561 – 2564). สืบคน้ จาก
https://ecocenter.diw.go.th/images/Download_Document/61-64.pdf

3

ดังนั้นทิศทางการพัฒนาเมืองในปัจจุบันจึงต้องคำนึงถึงบทบาทการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมและมี
มาตรการที่ก่อให้เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างเกื้อกูลระหว่างภาคอุตสาหกรรม ชุมชนและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ
ส่ิงแวดล้อมบรเิ วณโดยรอบพน้ื ทีอ่ ุตสาหกรรม ซง่ึ จะดำเนินไปภายใต้ หลัก ๗R คือ การลดการใช้ (Reduce) การใช้ซ้ำ
(Reuse) การนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) การซ่อมแซม (Repair) การปฏิเสธ (Refuse) การคืนกลับมาหรือการ
ตอบแทน (Return) และการปรับเปลี่ยนความคิด (Rethink) เพื่อสร้างดุลยภาพและความยั่งยืนของการ
พัฒนาเศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตประชาชนอันหมายถึงการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันเชิงเศรษฐกิจบน
พื้นฐานของการดำรงชวี ติ อย่างอยเู่ ย็นเป็นสุขของประชาชนโดยท่วั หนา้ เกิดบรรยากาศทเี่ กือ้ กลู กันระหว่างชมุ ชนและ
ภาคอุตสาหกรรมเพ่ือบรรลคุ วามสำเร็จดังกล่าวรว่ มกัน ดังภาพที่ ๑-๒

ภาพที่ ๑-๒ การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศภายใต้หลัก ๗R Reuse

Reduce

Recycle

๗R Repair

Rethink Refuse
Return

ทม่ี า: พัฒนาโดยคณะผูจ้ ดั ทำ, ๒๕๖๔.

ดว้ ยเหตนุ ้คี ณะกรรมาธกิ ารปฏิรปู ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม สภาปฏริ ูปแห่งชาติ จึงได้ทำการศกึ ษา
และเสนอรายงานเร่ือง “การอยรู่ ว่ มกันอย่างยั่งยืนระหวา่ งภาคอตุ สาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคดิ เมืองนิเวศ” โดยมี
วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื เป็นแนวทางการปฏริ ปู การจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมเพอื่ ยุติความขดั แย้ง และสรา้ งความเก้อื กูลกัน
ในการดำเนินชีวิตและการอยู่รว่ มกนั อย่างยัง่ ยนื ระหวา่ งอุตสาหกรรมและชุมชนด้วย “แนวคิดเมืองนเิ วศ (Eco -
Town)” โดยมีประเด็นการปฏิรูป ๑ ประเด็นหลัก ๓ ประเด็นรอง ได้แก่ ๑) ประเด็นหลัก เรื่องการปฏิรูปเมือง
อุตสาหกรรมในประเทศไทยให้เป็นเมืองนิเวศอุตสาหกรรม (หรือเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ: Eco Industrial
Town) ๒) ประเด็นรอง (๒.๑) ปฏิรูปการวางผังเมืองในเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (๒.๒) ปฏิรูปองค์กร
รับผิดชอบเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ (๒.๓) ปฏิรูปกฎหมายที่
เก่ยี วข้องการดำเนินงานเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

ในวันท่ี ๘ มนี าคม ๒๕๕๙ คณะกรรมาธิการปฏิรปู ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม สภาปฏิรปู แหง่ ชาติ
จึงได้เสนอรายงานวาระปฏิรูปที่ ๒๕ ระบบการบริหารจัดการทรัพยากร: การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่าง
ภาคอุตสาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคิดเมืองนิเวศ ให้คณะรัฐมนตรีพจิ ารณาและคณะรฐั มนตรีมมี ติ ดงั น้ี

4

๑) รับทราบผลการพิจารณาตามข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปตามมาตรา ๓๑ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรม
และชุมชนด้วยแนวคิดเมืองนิเวศ ของสภาปฏิรูปแห่งชาติ ซึ่งกระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เห็นด้วยกับการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศแห่งชาติ แต่ไม่จำเป็นต้องจัดตั้ง
องค์กรใหม่ เนื่องจากกระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง
ประเทศไทย มีการดำเนินการตามภารกิจเพื่อให้มีการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและ
ชมุ ชนด้วยแนวคดิ เมอื งนิเวศ นอกจากน้ียังเห็นชอบกับข้อเสนอการปรบั ปรงุ และพัฒนากฎหมายที่มีอยู่ให้เอ้ือต่อ
การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยต้องมีการรับฟังข้อคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วนตามท่ี
กระทรวงอตุ สาหกรรมเสนอ

๒) ให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับฟังความเห็นของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ ม กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักงบประมาณ และสำนักงาน ก.พ. ที่เห็นควรเพิ่มความชัดเจนในดัชนีตัวชี้วัด
ความสำเร็จเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในมิติทางด้านเศรษฐกิจ การนำแนวทางประชารัฐและวิสาหกิจเพ่ือ
สงั คม มาปรับใชใ้ นการจดั ทำแผนขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
กรอบแนวคิดและความหมายของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รวมทั้งการกำหนดมาตรการสนับสนุนและ
ผลักดันในเรื่อง (๑) การสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจจากผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมให้แก่ชุมชนโดยรอบนิคม
อตุ สาหกรรม (๒) การกำหนดท่ีต้ังและการดแู ลพน้ื ท่ีกันชนอุตสาหกรรม (Industrial buffer Zone) (๓) การป้องกัน
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากนิคมอุตสาหกรรมที่ตั้งขึ้นใหม่ (๔) การดำเนินการด้านบรรษัทภิบาลหรือความ
รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมและควรมีแผนการบริหารจัดการน้ำที่ชัดเจน เช่น การไม่ทิ้งน้ำเสียออก
นอกเขตอุตสาหกรรม (Zero Discharge) การจัดทำรายละเอียดเพิ่มเติมเพื่อเปรียบเทียบบทบาทและหน้าที่
ขององค์กรนิเวศอุตสาหกรรมกับหน่วยงานที่มีอยู่ภายในกระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงานภายนอก ที่มี
ลักษณะการทำงานใกล้เคียงกับประเภทขององค์กร การพิจารณาให้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ เรียกว่าการ
ประเมินวัฏจักรชีวิต (Life Cycle Assessment : LCA) เป็นส่วนหนึ่งของเกณฑ์การพิจารณาในตัวชี้วัดการอยู่
ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนในทุกมิติ การบูรณาการกฎหมาย/กฎระเบียบท่ี
เกี่ยวข้องให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน การปรับปรุงและพัฒนากลไกการบริหารจัดการความร่วมมือและการ
บังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ การบูรณาการและกำหนดแผนการทำงานที่ชัดเจนร่วมกันระหว่าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้ประชาชนใน
พนื้ ทอี่ ุตสาหกรรมท่ีได้รบั ผลกระทบเข้ามามสี ่วนรว่ ม

๓) ให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีส่งรายงานผลการพิจารณาดังกล่าวของกระทรวงอุตสาหกรรมแก่
คณะกรรมการประสานงานทั้ง ๓ ฝ่าย ไดแ้ ก่ คณะรฐั มนตรี สภานิติบัญญตั แิ ห่งชาติ และสภาขบั เคลื่อนการปฏิรูป
ประเทศ เพื่อพิจารณาความสอดคล้องและความเหมาะสมกับการปฏิรูปประเทศ และแจ้งสำนักงานคณะ
กรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในฐานะฝ่ายเลขานุการร่วมคณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติ
เพือ่ ดำเนนิ การในสว่ นที่เก่ียวข้องต่อไป

5

 ยุทธศำสตร์ชำติ ๒๐ ปี กับกำรพัฒนำเมืองอุตสำหกรรมเชิงนเิ วศ

ด้วยการเล็งเห็นถึงความสำคัญของการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชน
ด้วยแนวคิดเมืองนิเวศ ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศ
ไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทท่ี ุกภาคสว่ นต้องนำไปสู่การปฏบิ ตั ิเพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศ
มีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง” จึงได้กำหนดเรื่อง “การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” ไว้ในยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง
การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่การบรรลุ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals: SDGs) ในทุกมิติทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พื้นท่ี
เป็นตัวตั้งในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงาน และให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้
มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ โดยเป็นการดำเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกันและให้ความสำคัญกับ การสร้าง
สมดุลและความเช่อื มโยงกันท้ัง ๕ มิติ (๕P) ได้แก่ ๑) การพฒั นาคน (People) ๒) ส่ิงแวดลอ้ ม (Planet) ๓) เศรษฐกิจ
และความมั่งคั่ง (Prosperity) ๔) สันติภาพและความยุติธรรม (Peace) และ ๕) ความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา
(Partnership) อนั จะนำไปสู่ความย่ังยืนเพ่ือคนรนุ่ ตอ่ ไปอย่างแท้จริง ดงั ภาพที่ ๑-๓

ภาพที่ ๑-๓ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื (SDGs) และการสร้างสมดลุ ทัง้ ๕ มิติ

ท่มี า: ปรับปรงุ จาก United Nations, 20๒๑3

ทั้งน้ีในการดำเนินงานจะมุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรม และอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ให้มีความสำคัญกับความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง มีข้อกำหนด รูปแบบ และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับ
ลักษณะการใช้พื้นที่ตามศักยภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อนำไปสู่ “เมืองน่าอยู่ ชนบทมั่นคง เกษตร
ยั่งยืน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” ซึ่งให้ความสำคัญกับการจัดทำแผนผังภูมินิเวศ การพัฒนาเมือง ชนบท พื้นท่ี
เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษต์ ามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศ พัฒนาพื้นท่ี
ต้นแบบตามแผนผังภูมินิเวศในทุกจังหวัดอย่างยั่งยืน ลดการปล่อยมลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริม
เกษตรอัจฉริยะ สงวนรักษาและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อุทยานธรณีวิทยา แหล่งโบราณคดี
มรดกทางสถาปัตยกรรม ศลิ ปวฒั นธรรม อัตลกั ษณ์และวถิ ีชวี ติ พนื้ ถิ่นอยา่ งยง่ั ยนื

3 United Nations. ๒๐๒๑. SDGs. สบื คน้ จาก https://www.un.org/

6

กล่าวได้ว่า การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Industrial Town : EIT) ตามที่ระบุไว้ใน
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เป็นการพัฒนาที่สอดคล้องและเชื่อมโยงตามมติคณะรัฐมนตรี
เมือ่ วนั ท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ และวันท่ี ๘ มนี าคม ๒๕๕๙ ประกอบกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างความเข็มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ที่ได้มอบหมายให้
กระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเพื่อบรรลุตัวชี้วัดเป้าหมายแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี
๑๒ เพื่อให้พื้นที่ได้รับการพัฒนาสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จำนวน ๑๕ จังหวัด (จังหวัดปราจีนบุรี ระยอง
สงขลา ราชบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี สุราษฎร์ธานี พระนครศรีอยุธยา ขอนแก่น ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี นครปฐม นครราชสีมา และปทมุ ธานี) และได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ เพ่ือให้
สอดคล้องกับยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ไว้ไม่นอ้ ยกว่า ๔๐ พนื้ ที่ ใน ๓๗ จังหวัด

ระยะแรกภายใน พ.ศ. ๒๕๖๕ จะมีการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ทั้ง ๑๕ จังหวัด ๑๘ พื้นท่ี
นำรอ่ งใหเ้ ป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ระดับที่ ๓ ประสทิ ธิภาพในการใช้ทรัพยากร พฒั นาเมืองอุตสาหกรรม
เชงิ นเิ วศ ระยะที่ 2 ใน 11 จงั หวัดเดมิ และ 4 จงั หวดั SEZ (จงั หวัดมุกดาหาร สระแกว้ ตาก และตราด) รวม
15 พื้นที่ใหม่ ให้ได้รับการเตรียมความพร้อมและออกประกาศพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะที่ 2
ตลอดจนพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ระยะที่ 3 ใน 20 จังหวัดใหม่ ให้ได้รับการเตรียมความพร้อมและ
แตง่ ตง้ั คณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศระดับจงั หวดั และภายใน พ.ศ. ๒๕๗๐ ท้ัง ๑๕ จังหวัด ๑๘
พื้นที่จะต้องเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับที่ ๕ และประเทศไทยมีต้นแบบ “เมืองน่าอยู่ คู่อุตสาหกรรม” พัฒนา
เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะที่ 2 ใน 11 จังหวัดเดิม และ 4 จังหวัด SEZ (จังหวัดมุกดาหาร สระแก้ว
ตาก และตราด) รวม 15 พื้นท่ใี หม่ ให้ผ่านเกณฑก์ ารประเมินระดับที่ 3 และพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ
ระยะที่ 3 ใน 20 จังหวัดใหม่ 20 พื้นที่ ให้ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับที่ 1 การมีส่วนร่วม เป็นอย่างน้อย
ดงั ภาพท่ี ๑-๔

ภาพที่ ๑-๔ เป้าหมายการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศภายในปี ๒๕๗๐

1) EIT ระยะที่ 1 ใน 15 จังหวัด 18 พื้นที่ ผ่านเกณฑ์การ 1) EIT ระยะที่ 1 ใน 15 จังหวัด 18 พื้นที่ ผ่านเกณฑ์การ
ประเมนิ ระดบั ที่ 3 ประสทิ ธภิ าพในการใชท้ รพั ยากร ประเมินระดับที่ 5 และประเทศไทยมีต้นแบบ “เมืองน่าอยู่คู่
อตุ สาหกรรม”
2) EIT ระยะที่ 2 ใน 11 จังหวัดเดิม และ 4 จังหวัด SEZ
(จงั หวดั มุกดาหาร สระแกว้ ตาก และตราด) รวม 15 พืน้ ท่ใี หม่ ได้รับ 2) EIT ระยะที่ 2 ใน 11 จังหวัดเดิม และ 4 จังหวัด SEZ
การเตรียมความพร้อมและออกประกาศพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิง (จังหวัดมุกดาหาร สระแกว้ ตาก และตราด) รวม 15 พน้ื ทใี่ หม่ ผา่ น
นเิ วศ ระยะที่ 2 เกณฑก์ ารประเมนิ ระดบั ท่ี 3 ประสิทธิภาพในการใชท้ รัพยากร

3) EIT ระยะที่ 3 ใน 20 จังหวัดใหม่ ได้รับการเตรียมความ 3) EIT ระยะที่ 3 ใน 20 จังหวัดใหม่ 20 พ้ืนที่ ผา่ นเกณฑก์ าร
พร้อมและแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ประเมินระดับที่ 1 การมสี ว่ นร่วม เปน็ อย่างน้อย
ระดบั จังหวดั
พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐
พ.ศ. 256๑ - ๒๕๖๕

ท่ีมา: สรุปโดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

7

ภาพที่ 1-๕ สรุปทีม่ าของการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ

พ.ศ. ๒๕๕๖ • 31 มีนาคม 2556 คณะรัฐมนตรีได้มีมติมอบหมายให้กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับกระทรวงมหาดไทย และ
พ.ศ. ๒๕๕๘ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิจารณาจัดตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษารูปแบบการจัดทำเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมายเดิม (จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรสาคร และนิคมอุตสาหกรรม
พ.ศ. ๒๕๕๙ มาบตาพดุ จังหวัดระยอง) โดยให้คำนึงถงึ การจำกัดการพจิ ารณาอนญุ าตตั้งโรงงานในพื้นท่ีอยา่ งเขม้ งวด สำหรับพ้ืนท่ี
อุตสาหกรรมใหม่ (จังหวัดฉะเชิงเทรา และจังหวัดปราจีนบุรี) ให้พิจารณาจัดทำแผนการยกระดับนิคมอุตสาหกรรม
เขา้ สเู่ มืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศเสนอคณะรฐั มนตรตี อ่ ไป

• คณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาปฏิรูปแห่งชาติ ให้ความสำคัญกับวาระปฏิรูปที่
๒๕ เรื่องระบบการบริหารจัดการทรัพยากร : การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคดิ
เมอื งนิเวศ ท่ดี ำเนนิ การภายใต้หลัก ๗R

• คณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สภาปฏิรูปแห่งชาติ ทำการศึกษาและเสนอรายงานเรื่อง
“การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคดิ เมืองนิเวศ”เพือ่ เป็นแนวทางการปฏริ ูปการจัดการ
คณุ ภาพส่ิงแวดล้อมเพอ่ื ยตุ ิความขัดแยง้ และสร้างความเกื้อกลู กันในการดำเนินชีวิตและการอยู่รว่ มกันอย่างยง่ั ยนื ระหว่าง
อุตสาหกรรมและชุมชนดว้ ยเครอ่ื งมอื “แนวคดิ เมืองนิเวศ” (Eco - Town)

• ประเด็นการปฏิรปู คอื ๑) ประเด็นหลกั การปฏริ ูปเมืองอุตสาหกรรมในประเทศไทยให้เปน็ เมอื งนิเวศอุตสาหกรรม (หรือเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ : Eco Industrial Town) ๒) ประเด็นรอง (๒.๑) ปฏิรูปการวางผังเมืองในเมืองอุตสาหกรรมเชงิ
นิเวศ ๒.๒) ปฏิรูปองค์กรรับผิดชอบเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และ
๒.๓) ปฏริ ูปกฎหมายทีเ่ กย่ี วข้องการดำเนินงานเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ

• คณะกรรมาธิการปฏิรูปทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม สภาปฏริ ูปแห่งชาติ เสนอรายงานวาระปฏริ ปู ท่ี ๒๕ ระบบ
การบริหารจัดการทรัพยากร : การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคิดเมือง
นิเวศ ให้คณะรฐั มนตรีพจิ ารณา

• คณะรัฐมนตรมี มี ติ ดงั นี้
๑) รับทราบผลการพิจารณาตามข้อเสนอแนะเพื่อการปฏิรูปตามมาตรา ๓๑ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ เรื่อง การอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนระหว่างภาคอุตสาหกรรมและชุมชนด้วยแนวคิดเมือง
นิเวศของสภาปฏิรปู แห่งชาติ
๒) ให้กระทรวงอุตสาหกรรมรับฟังความเห็นของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ สำนักงบประมาณ และสำนักงาน ก.พ. ที่เห็นควรเพิ่มความชัดเจนในดัชนีตัวชี้วัดความสำเร็จเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศในมิติทางด้านเศรษฐกิจ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กรอบแนวคิดและความหมายของเมือง
อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ
๓) ให้สำนกั เลขาธกิ ารคณะรฐั มนตรีส่งรายงานผลการพิจารณาของกระทรวงอุตสาหกรรม ใหค้ ณะ กรรมการประสานงานท้ัง
๓ ฝ่าย ได้แก่ คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ เพื่อพิจารณาความ
สอดคล้องและความเหมาะสมกับการปฏิรูปประเทศ และแจ้งสำนักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคม
แห่งชาติ เพอ่ื ดำเนนิ การในส่วนทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
๔) ให้กระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการเพื่อบรรลุตัวชี้วัดเป้าหมายแผนพัฒนาเศรษฐกจิ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การสร้างความเข็มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
เพอ่ื ใหพ้ นื้ ท่ีได้รับการพฒั นาสูเ่ มอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ จำนวน ๑๕ จังหวัด และได้กำหนดเป้าหมายการพฒั นาเมอื ง
อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ไวไ้ ม่น้อยกวา่ ๔๐ พื้นท่ี ใน ๓๗ จังหวัด

พ.ศ. ๒๕๖๑ • ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ได้กำหนดเร่อื งการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศไว้ในยุทธศาสตรช์ าติ
ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่มีการพัฒนาที่สำคญั เพ่ือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย
พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕ การพัฒนาทีย่ ั่งยืนในทกุ มิติ เพื่อนำไปสู่ “เมืองน่าอยู่ ชนบทมน่ั คง เกษตรยั่งยนื อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ”
พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐
และ พ.ศ. ๒๕๗๙ • ภายในปี ๒๕๖๕ จะมีการขยายพื้นที่ในจังหวัดเดิมออกไปจังหวัดละ ๑ พื้นที่เป็นอย่างน้อย และจะมีการศึกษาเพื่อ
ดำเนนิ การในพืน้ ที่ ๑๘ จังหวัดใหม่

• ประเทศไทยมี “ต้นแบบเมืองน่าอยคู่ ู่อุตสาหกรรม” ไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๐ พื้นที่

ท่มี า: สรปุ โดยคณะผู้จัดทำ, ๒๕๖๔. 8

 กำรบูรณำกำรกำรดำเนินงำนร่วมกันระหว่ำงกรมโรงงำนอุตสำหกรรมและหน่วยงำนท่ี

เก่ยี วขอ้ งในกำรพัฒนำพ้ืนทไ่ี ปสู่กำรเป็นเมืองอตุ สำหกรรมเชงิ นิเวศ

กรมโรงงานอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับคุณลักษณะพึงประสงค์ของความเป็น เมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มิติ ๒๐ ด้าน ได้แก่ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ ตามโครงสร้างการบริหารความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับส่วนกลาง ระดับ
จังหวัด และระดับพื้นที่ ได้บูรณาการการดำเนินงานร่วมกันในการพัฒนาพื้นที่ไปสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๑๕
จงั หวัด ๑๘ พืน้ ที่ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๔ สรปุ ไดด้ งั ภาพท่ี ๑-๖ และมรี ายละเอียดตอ่ ไปน้ี

ภาพที่ ๑-๖ การบูรณาการการดำเนินงานร่วมกันระหว่างกรมโรงงานอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน
การพฒั นาพืน้ ที่ไปสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๑๕ จังหวัด ๑๘ พ้ืนที่ ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๔

ปงี บประมาณ

๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

 ศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทพัฒนา  ศึกษาจัดทำแผนแม่บทพัฒนา EIT  คดั เลือกพืน้ ที่เปา้ หมาย ๑๘ พื้นที่  ดำเนินการให้เข้าสู่การพัฒนา EIT ๑๕
EIT ตามมติคณะรัฐมนตรี ใน ๕ จังหวัด ในพื้นท่ีจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมหนาแน่น  จัดทำแผนปฏิบัติการ ภายใต้แผน จังหวัด ๑๘ พนื้ ที่
นำร่องของพื้นที่อุตสาหกรรมเดิม และ และพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนา แม่บทการพัฒนา EIT ๑๕ จังหวัด  นำ ๔๑ ตวั ช้วี ัด ไปใช้ทดลองประเมิน

พื้นที่อุตสาหกรรมใหม่ ตามมิติและ อุตสาหกรรม ๑๐ จังหวดั (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔) ซ่ึงเป็นจังหวัดที่ ระดับการพัฒนา EIT และพบว่าตัวชี้วัด
คุณลักษณะการพัฒนา ๕ มติ ิ ๒๐ ดา้ น ได้จัดทำแผนแม่บท EIT ไว้แล้ว บางตัวต้องปรับปรงุ ให้สามารถตรวจวดั
 จัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติ ได้
การของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ๔
จังหวดั

๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔

 ป รับ ป รุงเกณฑ์แล ะ ตัวช ี้วัด  พัฒนาตามแผนงานบูรณาการการ การพัฒนา EIT ระยะที่ 1 ใน 15 การพัฒนา EIT ระยะที่ 1 ใน 15
แล้วเสร็จตามเล่มเกณฑ์และตัวชี้วัดการ จังหวัด 18 พื้นที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน
เป็น EIT ฉบบั ปรับปรงุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ พัฒนา EIT และการจัดการมลพิษและ จงั หวัด 18 พื้นที่ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดับ ระดบั ท่ี 4 (Symbiosis) จำนวน 4 พน้ื ท่ี

 ดำเนินการโครงการทวนสอบตาม สิ่งแวดล้อม เป้าหมายที่ ๓ พัฒนา EIT ที่ 4 (Symbiosis) จำนวน 3 พื้นที่ คือ คือ จังหวัดระยอง จำนวน 2 พื้นที่
ตัวชี้วัดเพ่ือเทียบระดับหรือเล่ือนระดับ จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 พื้นท่ี
(๑ ถึง ๕) การพัฒนา EIT ตามตัวชี้วัด เพื่อนำไปสู่เมืองที่มีการเติบโตบนคุณภาพ จังหวัดระยอง จำนวน 2 พื้นที่ จังหวัด จังหวดั นครราชสมี า ๑ พ้นื ท่ี
๕ มติ ิ ๒๐ ด้าน ๔๑ ตวั ชี้วดั ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่ 3
 ผลการประเมินเบอื้ งตน้ พบวา่ ผา่ น ชีวิตท่ีดีและเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม ปทมุ ธานี จำนวน 1 พืน้ ท่ี (Resource efficiency) จำนวน 5 พน้ื ที่
ระดบั ท่ี ๒ จำนวน ๑ พน้ื ท่ี ผ่านระดับท่ี ๑ คือ จังหวัดนครปฐม จังหวัดฉะเชิงเทรา
 ผลการดำเนินงานตามแผนฯ พบว่า ผ่านระดับผ่านเกณฑ์ประเมินระดับ
จำนวน ๑๖ พน้ื ท่ี และยังไมผ่ ่านระดบั ที่ ๑ จังหวัดราชบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
จำนวน ๑ พ้ืนที่ พื้นที่เป้าหมายจังหวัดระยอง ๒ พื้นที่ ผ่าน ที่ 3 (Resource efficiency) จำนวน 2 จังหวดั สงขลา จำนวน 1 พน้ื ที่
พน้ื ทที่ ่เี หลอื 9 จังหวัด 9 พ้นื ท่ี
เกณฑ์การประเมินระดับที่ ๔ (Symbiosis) พื้นที่คือจังหวัดนครปฐมและจังหวั ด ผ่านเกณฑ์ประเมินระดบั ที่ 2
(Enhancement)
และพื้นที่ที่เหลือ ๑๔ จังหวัด ๑๖ พื้นที่ นครราชสีมา

ผ ่านเกณฑ์การป ระ เมินระดับ ที่ ๒ พ้นื ที่ทเ่ี หลือ 13 จังหวดั 13 พ้นื ทผ่ี า่ น

(Enhancement) เกณฑป์ ระเมนิ ระดับที่2 (Enhancement)

ท่มี า: สรปุ โดยคณะผ้จู ัดทำ, ๒๕๖๔.

9

๑) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ศึกษาเพื่อจัดทำแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศตามมติ
คณะรัฐมนตรี เมอื่ วนั ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖ จำนวน ๕ จงั หวดั นำร่องของพื้นท่ีอุตสาหกรรมเดิม ได้แก่ จังหวัด
สมุทรปราการ สมุทรสาคร และระยอง และพื้นที่อุตสาหกรรมใหม่ ได้แก่ จังหวัดฉะเชิงเทราและปราจีนบุรี
ตามมิติและคุณลักษณะการพัฒนา ๕ มิติ (มิติกายภาพ มิติเศรษฐกิจ มิติสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติการบริหาร
จดั การ) ๒๐ ดา้ น

๒) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ศึกษาจัดทำแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่
จังหวัดที่มีอุตสาหกรรมหนาแน่น และพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนาอุตสาหกรรม จำนวน ๑๐ จังหวัด
ประกอบด้วย จังหวัดชลบุรี นครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น
สรุ าษฎรธ์ านี และสงขลา

๓) ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ คัดเลือกพื้นที่เปา้ หมาย ๑๘ พื้นท่ี และจดั ทำแผนปฏิบตั ิการ ภายใต้แผน
แม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของ ๑๕ จังหวัด (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) ที่ได้จัดทำแผน
แม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศไว้แล้ว และจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการของเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พเิ ศษ ๔ จังหวดั ประกอบด้วย มุกดาหาร สระแกว้ ตาก และตราด

๔) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ดำเนินการให้เข้าสูก่ ารพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๑๕ จงั หวัด ๑๘ พนื้ ท่ี
ได้แก่ (๑) มีศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Center) ตั้งอยู่ที่สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด
และศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศส่วนกลาง ตั้งอยู่ ณ กรม โรงงานอุตสาหกรรม (๒) มีระบบ
ฐานข้อมลู การพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ตามคณุ ลกั ษณะ ๕ มิติ ๒๐ ดา้ น ๔๑ ตวั ช้ีวดั เพ่ือเป็นฐานขอ้ มูล
ในการประเมิน พัฒนา และยกระดับพื้นที่ในการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (๓) มีโครงสร้างการพัฒนา
เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ ในรูปแบบของคณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนิเวศระดับจังหวัด คณะทำงานการขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับพื้นที่ และคณะทำงานเครือข่าย
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Network) (๔) มีแผนแม่บท แผนปฏิบัติการ และตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อให้คณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับจังหวัด คณะทำงานการ
ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับพื้นที่ และคณะทำงานเครือข่ายอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Network)
เป็นแนวทางในการพัฒนาพ้ืนที่ของจังหวัด และ (๕) ได้มีการนำตัวชี้วัดทั้ง ๔๑ ตัวชี้วัด ไปใช้ทดลองประเมิน
ระดับการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ซ่ึงพบว่าตัวชว้ี ัดบางตัวต้องปรบั ปรงุ ให้สามารถตรวจวดั ได้

๕) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ปรับปรุงเกณฑ์และตัวชี้วดั แล้วเสร็จตามเลม่ เกณฑ์และตวั ชี้วัดการเปน็
เมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ฉบับปรบั ปรุง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และดำเนินการโครงการทวนสอบตามตัวชี้วัดเพื่อเทียบ
ระดับหรือเลื่อนระดับ (๑ - ๕) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศตามตัวช้ีวัด ๕ มติ ิ ๒๐ ดา้ น ๔๑ ตวั ชี้วัด
ซึ่งผลการประเมินเบื้องต้น พบว่า ผา่ นการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของ ๑๕ จังหวัด ๑๘ พ้ืนที่ ผ่านระดับ
ที่ ๒ จำนวน ๑ พ้นื ที่ ผ่านระดบั ท่ี ๑ จำนวน ๑๖ พน้ื ท่ี และยังไมผ่ ่านระดับที่ ๑ จำนวน ๑ พืน้ ที่

๖) ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ พัฒนาตามแผนงานบูรณาการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
และการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม เป้าหมายที่ ๓ พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อนำไปสู่เมืองที่

10

มีการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่ดีและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการฯ พบว่า
พื้นที่เป้าหมายจังหวัดระยอง ๒ พื้นที่ ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับที่ ๔ การพึ่งพาอาศัย (Symbiosis) และ
พน้ื ท่ที ี่เหลือ ๑๔ จงั หวดั ๑๖ พน้ื ที่ ผา่ นเกณฑ์การประเมินระดับที่ ๒ การสง่ เสรมิ (Enhancement)

ปี 2563 : การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ระยะท่ี 1 ใน 15 จังหวดั 18 พ้นื ท่พี บว่าผา่ นระดับ
ความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่ 4 การพึ่งพาอาศัย (Symbiosis) จำนวน 3
พน้ื ที่ คือ จังหวัดระยอง จำนวน 2 พืน้ ท่ี จังหวัดปทมุ ธานี จำนวน 1 พื้นที่ ผ่านระดับผา่ นเกณฑ์ประเมินระดับ
ที่ 3 ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Resource efficiency) จำนวน 2 พื้นที่ คือ จังหวัดนครปฐม และ
จังหวัดนครราชสีมา และพื้นที่ที่เหลือ 13 จังหวัด 13 พื้นที่ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่ 2 การส่งเสริม
(Enhancement)

ปี 2564 : การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ระยะที่ 1 ใน 15 จังหวัด 18 พ้นื ทพ่ี บวา่ ผา่ นระดับ
ความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่ 4 การพึ่งพาอาศัย (Symbiosis) จำนวน 4
พ้นื ที่ คอื จงั หวดั ระยอง จำนวน 2 พ้ืนที่ จังหวดั ปทุมธานี จำนวน 1 พน้ื ที่ จงั หวัดนครราชสมี า ผ่านระดับผ่าน
เกณฑ์ประเมินระดับที่ 3 ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Resource efficiency) จำนวน 5 พื้นที่ คือ
จังหวัดนครปฐม จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดราชบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา จำนวน 1 พื้นที่ และ
พืน้ ทท่ี ่ีเหลือ 9 จงั หวดั 9 พ้ืนท่ี ผ่านเกณฑป์ ระเมนิ ระดับที่ 2 การสง่ เสรมิ (Enhancement)

ดงั นนั้ หากการดำเนินงานด้านการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศประสบความสำเรจ็ ก็จะสามารถช่วย
ให้ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรต่อสิ่งแวดลอ้ ม บรรลุเป้าหมายและตัวชี้วัดการ
เติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อมได้ อีกทั้งยังสอดคล้องกับ ๑๓ หมุดหมาย ของ ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติฉบบั ที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ที่มีเป้าหมายหลกั เพื่อพลิกโฉมประเทศไทยไปสู่เศรษฐกจิ
สร้างคุณค่า สังคมเดินหน้าอย่างยั่งยืน หรือ “Hi-Value and Sustainable Thailand” เพื่อสนับสนุน
เสริมสร้างการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริมโอกาสและความเสมอ
ภาพทางสังคม ตลอดจนมีเป้าหมายให้เกิดการปรับเปลี่ยนรูปแบบการผลิตและการบริโภคที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม สามารถอยู่รอดและเติบโตได้อย่างต่อเนื่องในระยะยาวไปพร้อมกับการรักษาความยั่งยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาติและ แต่ทั้งนี้ปัจจัยความสำเร็จของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจะสำเร็จได้
ต้องมีการร่วมมือจากภาคส่วนที่เกี่ยวขอ้ งทั้ง รัฐบาล ราชการส่วน กลาง ราชการส่วนภูมภิ าค องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถ่ิน ภาคเอกชนและผู้ประกอบการสถาบันการศึกษา และประชาชนในพ้ืนที่ เพ่อื ร่วมกันพัฒนาพ้ืนที่เมือง
ให้เป็นไปตามคุณลักษณะพึงประสงค์ ๕ มิติ ๒๐ ด้าน มุ่งสู่ “เมืองน่าอยู่ คู่อุตสาหกรรม” แผนปฏิบัติการภายใต้
แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐบาลตามบริบทของปัญหา
และแนวทางการแก้ไขปัญหาของแต่ละพื้นที่ อีกทั้งมีการปรับปรุงและพัฒนากลไกการบริหารจัดการความ
ร่วมมือและการบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพ การบูรณาการและกำหนดแผนการทำงานที่ชัดเจน
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งเปิดโอกาสให้
ประชาชนในพื้นที่อุตสาหกรรมที่ได้รับผลกระทบ เข้ามามีส่วนร่วม เพื่อทำให้การส่งเสริมการพัฒนาเมือง
อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศสามารถประสบผลสำเร็จใหเ้ หน็ เป็นรูปธรรมไดช้ ดั เจน

11

เพื่อให้การขับเคลื่อนเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีการจัดตั้งคณะ
กรรมการและคณะทำงานตั้งแต่ระดับประเทศ ส่วนกลาง ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ โดยมีขั้นตอนการ
พัฒนาพื้นที่เข้าสู่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งมีการจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบั ติการทุกภาคส่วน
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนในพื้นที่เป้าหมายร่วมกันจัดทำและดำเนินการตามแผนที่วางไว้เพ่ือ
นำไปสูก่ ารพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศตามระดับการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ดังภาพท่ี ๑-๗

ภาพที่ ๑-๗ ระดับการเปน็ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ

5 เมืองน่าอยคู่ ูอ่ ุตสาหกรรม

4 การพึ่งพาอาศัย

3 ประสทิ ธภิ าพในการใชท้ รพั ยากร

2 การสง่ เสริม

1 การมีสว่ นรว่ ม

ทมี่ า: สรปุ โดยคณะผจู้ ดั ทำ, ๒๕๖๔ ปรบั ปรงุ จากศนู ยพ์ ัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ, ๒๕๕๙ 4

ระดับที่ 1 การมีส่วนร่วม (Engagement) : การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการวางแผน
ดำเนินการตามแผน ติดตามประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ อย่างตอ่ เน่ือง

ระดับที่ 2 การส่งเสริม (Enhancement) : การส่งเสริมการใช้ประโยชน์พื้นที่ให้รองรับต่อแผนการ
พัฒนาที่ร่วมกำหนดไว้ โรงงานอุตสาหกรรมและประชาชนในพื้นที่มีการเปิดบ้านสานสัมพันธ์กัน
(Open House)

ระดับที่ 3 ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร (Resource efficiency) : โรงงานอุตสาหกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพการใชท้ รพั ยากรและพลังงานอย่างคุ้มค่า มีการจัดการสิ่งแวดล้อมทีด่ ี ลดและป้องกันมลพิษ
สร้างความเชื่อม่นั ความไวว้ างใจใหก้ บั ชมุ ชน

ระดับที่ 4 การพึ่งพาอาศัย (Symbiosis) : โรงงานอุตสาหกรรมมีการพึ่งพาอาศัยกัน ร่วมท้ัง
ภาคอตุ สาหกรรมไปส่งเสริมเศรษฐกจิ ชมุ ชนเพือ่ สรา้ งงาน สร้างอาชพี เพม่ิ รายได้ใหป้ ระชาชนในพ้นื ที่

ระดับที่ 5 เมืองน่าอยู่ คอู่ ุตสาหกรรม (Happiness) : เมืองต้นแบบมีเศรษฐกิจดี สิง่ แวดลอ้ มดี สังคมมี
ความปลอดภยั และคณุ ภาพชีวติ ทดี่ ี ประชาชนมคี วามสุขและอยูร่ ว่ มกบั อตุ สาหกรรมได้อยา่ งยง่ั ยืน

๔ ศูนย์พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ. ๒๕๕๙. ระดบั การเป็นเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ. สืบค้นจาก
http:// cocenter.diw.go.th/index.php/metric-information/24- 5-dimensions-indicator-20

12

๑.๓ เป้ำหมำยกำรพัฒนำเมอื งอตุ สำหกรรมเชิงนเิ วศในระยะ ๒๐ ปี

คณะกรรมการขับเคล่ือนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ไดม้ ีการประชมุ คณะกรรมการฯ คร้ังท่ี
5-1/2562 เมื่อวันพุธที่ 18 กันยายน พ.ศ.2562 ได้มีมติรับทราบผลการประเมินระดับความเป็นเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ 15 จังหวัด 18 พื้นที่ เห็นชอบแนวทางการปรับปรุงแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บท
การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและแนวทางการกำหนดพื้นที่เมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศเพิ่มเติม อีกท้ัง
ทป่ี ระชมุ ไดม้ คี วามเห็นร่วมกันเกี่ยวกบั ความสำคัญของการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศให้บรรลุเป้าหมาย
ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ภายใน พ.ศ. 2579 ประเทศไทยมีต้นแบบเมืองน่าอยู่คู่อุตสาหกรรม ไม่น้อยกวา่
40 พื้นที่ใน 37 จังหวัด และในคราวประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ครั้งที่ 6-1/2563 เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 มีมติเห็นชอบพืน้ ที่เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศเพ่มิ
เตมิ ระยะที่ 2 และระยะท่ี 3 โดยแบ่งการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศออกเป็น ๓ ระยะ ดงั ภาพท่ี ๑-๘

ภาพที่ ๑-๘ การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ๓ ระยะ

ระยะที่ ๑ ระยะที่ ๒ ระยะที่ ๓

แบง่ ๑๕ จังหวัดเปา้ หมายเปน็ ๓ กลมุ่ ๑) 1๑ จงั หวดั ในระยะท่ี ๑ เพมิ่ พ้ืนที่ มจี ังหวัดทีป่ ระสงคเ์ ปน็ EIT
๑) กลุ่มจังหวัดเขตเศรษฐกิจ EIT อย่างน้อย จังหวัดละ 1 พื้นที่ จำนวน ๒๐ จังหวัด
พิเศษภาคตะวนั ออก
จำนวน ๓ จงั หวดั ๒) ๔ จงั หวัด ในระยะท่ี ๑ ไมป่ ระสงค์
๒) กล่มุ จังหวัดทมี่ ีอุตสาหกรรม เพิ่มเติมพื้นที่ ในระยะที่ ๒
หนาแนน่ จำนวน ๔ จังหวัด
๓) กลุ่มจังหวัดท่ีมีศักยภาพการ ๓) มีจังหวัดใหม่ที่ประสงค์จะพัฒนา
พัฒนาอุตสาหกรรม จำนวน EIT ซึ่งเป็นกลุ่มจังหวัดในเขต
๘ จังหวัด พัฒนา เศรษฐกิจพิเศษชายแดน
จำนวน ๔ จังหวัด จังหวัดละ ๑
พน้ื ท่ี

ที่มา: สรุปโดยคณะผ้จู ัดทำ, ๒๕๖๔.

ระยะที่ ๑ ได้มีการแบ่งกลุ่มจังหวัดเป้าหมายในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จำนวน ๑๕
จังหวัด ออกเป็น ๓ กลุ่ม ได้แก่ ๑) กลุ่มจังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic
Corridor : EEC) ประกอบดว้ ย จังหวดั ระยอง ชลบรุ ี และฉะเชิงเทรา ๒) กลมุ่ จังหวดั ท่ีมีอุตสาหกรรมหนาแน่น
ประกอบด้วย จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร นครปฐม และปทุมธานี ๓) กลุ่มจังหวัดที่มีศักยภาพการ
พัฒนาอุตสาหกรรม ประกอบด้วย จังหวัดปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา สระบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น
ราชบรุ ี สรุ าษฎร์ธานี และสงขลา

13

ภาพที่ ๑-๙ ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและมาตรการ
สนับสนุนการประกอบกิจการโรงงานในพน้ื ท่ีเป้าหมายเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ พ.ศ. 2561

ท่มี า: ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๖, ๒๕๖๒.5

ระยะท่ี ๒ จงั หวัดเปา้ หมายในการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ จำนวน 1๑ จงั หวดั (จังหวัดเดิม
ในระยะที่ ๑) เพิ่มพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศอย่างน้อยจังหวัดละ 1 พื้นที่ โดยมีจังหวัดที่ไม่ประสงค์
เพ่ิมเตมิ พื้นท่ี ในระยะท่ี ๒ จำนวน ๔ จงั หวดั ไดแ้ ก่ จงั หวดั สมทุ รปราการ ขอนแกน่ สรุ าษฎรธ์ านี และสงขลา
ทั้งนี้มีจังหวัดใหม่ที่ประสงค์จะพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศซึ่งเป็นกลุ่มจังหวัดในเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษชายแดน (Special Economic Zone : SEZ) ประกอบด้วย จังหวัดมุกดาหาร สระแก้ว ตาก และตราด
จงั หวดั ละ ๑ พื้นที่ ดงั ตารางท่ี ๑-๑ และมีรายละเอยี ดตอ่ ไปนี้

๕ ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๖. ๒๕๖๒. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรอ่ื ง กำหนดพื้นที่เมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
และมาตรการสนับสนุนการประกอบกจิ การโรงงานในพ้ืนทีเ่ ปา้ หมายเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พ.ศ. 2561
สบื ค้นจาก www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/003/T_0035.PDF

14

ตารางที่ 1-๑ จงั หวดั เป้าหมายในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระยะที่ ๒

ท่ี จังหวดั พื้นท่ี
1 ระยอง ตำบลหนองละลอก อำเภอบา้ นคา่ ย
2 ชลบรุ ี กลุ่มไทยอสิ เทริ ์น กรปุ๊ โฮลดงิ้ ส์ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่
3 ฉะเชิงเทรา กล่มุ โรงงานนคิ มอตุ สาหกรรมทเี อฟดี ตำบลทา่ สะอ้าน อำเภอบางประกง
4 สมุทรสาคร นิคมอตุ สาหกรรมสินสาคร ตำบลโคกขาม อำเภอเมอื งสมทุ รสาคร

5 นครปฐม ตำบลขนุ แกว้ อำเภอนครชยั ศรี

6 ปทมุ ธานี เขตประกอบการไทยซูซกู ิ ตำบลบงึ ย่โี ถ อำเภอธัญบุรี

7 ปราจนี บรุ ี สวนอุตสาหกรรม 304 (ปราจีนบุร)ี ครอบคลุมพืน้ ท่ตี ำบลท่าตมู ตำบลศรีมหาโพธิ

ตำบลหนองโพรง และตำบลหวั หว้า อำเภอศรมี หาโพธิ

8 พระนครศรีอยุธยา ตำบลลำไทร อำเภอวังนอ้ ย

9 สระบุรี เขตประกอบการอตุ สาหกรรมดับบลิวเอชเอสระบุรี ตำบลหนองปลิง อำเภอหนองแค

10 นครราชสีมา เขตอตุ สาหกรรมนวนคร นครราชสมี า บริษทั นวนคร จำกดั (มหาชน)
11 ราชบุรี ตำบลนากลาง อำเภอสงู เนิน

ตำบลกรับใหญ่ อำเภอบา้ นโป่ง

๑๒ มุกดาหาร ตำบลคำปา่ หลาย และตำบลบางทรายใหญ่ อำเภอเมืองมุกดาหาร
๑๓ สระแก้ว ตำบลหว้ ยโจด อำเภอวฒั นานคร
๑๔ ตาก ตำบลแมก่ าษา อำเภอแม่สอด

๑๕ ตราด ตำบลคลองใหญ่ อำเภอคลองใหญ่

ท่ีมา: สรปุ โดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

ระยะที่ ๓ มีจังหวัดที่ประสงค์เป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จำนวน ๒๐ จังหวัด ประกอบด้วย
จังหวัดกาญจนบุรี เพชรบุรี สุพรรณบุรี เชียงราย เชียงใหม่ กำแพงเพชร นครสวรรค์ ชุมพร ลำปาง ลำพูน
ชัยภมู ิ นครศรธี รรมราช ภูเกต็ พษิ ณุโลก บุรีรัมย์ อุดรธานี อุบลราชธานี ประจวบคริ ีขันธ์ กระบี่ และลพบรุ ี

๑.๔ ควำมก้ำวหน้ำของกำรพฒั นำเมอื งอตุ สำหกรรมเชงิ นเิ วศ

จากความสำคัญของการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งเป็นการพัฒนาพื้นที่อุตสาหกรรมตาม
แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนบนพื้นฐานความสมดุลของเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และสังคม โดยมีการจัดวางผัง
พร้อมทั้งสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกอย่างเหมาะสม เพื่อรองรับการดำเนินธุรกิจของ
ผู้ประกอบการที่มุ่งเน้นการบริหารจัดการทรัพยากรและพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการอยูร่ ่วมกันอย่างกลมกลืนและเกื้อหนุนซึ่งกันและกันระหว่าง
ภาคอุตสาหกรรมและชุมชนบริเวณโดยรอบพื้นที่อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมโรงงาน
อุตสาหกรรมจึงได้ดำเนินการจัดทำแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่ ๕ จังหวัดนำร่อง
ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร ระยอง ฉะเชิงเทรา และปราจีนบุรี ตามมติคณะรัฐมนตรี ใน

15

ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ และในปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ได้ขยายพื้นที่จัดทำแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนิเวศในจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมหนาแน่นและที่มีศักยภาพสูงในการพัฒนาอุตสาหกรรมเพิ่มเติม จำนวน
๑๐ จังหวัด ไดแ้ ก่ จงั หวัดชลบรุ ี นครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี พระนครศรีอยธุ ยา สระบรุ ี นครราชสมี า ขอนแก่น
สุราษฎร์ธานี และสงขลา ทั้งนี้ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙ กระทรวงอุตสาหกรรมโดยความร่วมมือของจังหวัด
เป้าหมาย ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของจังหวัด คัดเลือก
พื้นที่เป้าหมายและจัดทำแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของ ๑๕
จังหวดั ๑๘ พน้ื ท่ี รวมถึงจดั ทำแผนแมบ่ ทและแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศในพืน้ ที่เขต
พฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ ไดแ้ ก่ จงั หวัดมุกดาหาร สระแก้ว ตาก และตราด

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ กระทรวงอุตสาหกรรม โดยกรมโรงงานอุตสาหกรรมจัดตั้งศูนย์พัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (Eco Center) โดยส่วนกลาง ตั้งอยู่ ณ กรมโรงงานอุตสาหกรรม และระดับจังหวัด
ณ สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด และจัดทำระบบฐานข้อมูล (Baseline) การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศตามเกณฑ์และตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๑๕ จังหวัด ๑๘ พื้นที่ จัดตั้งโครงสร้างการ
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับส่วนกลาง ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ เพื่อเป็นกลไกการขับเคลื่อน
การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ตง้ั คณะกรรมการ/คณะทำงานการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศของ
จังหวัด ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศตามกรอบแผนแม่บท/แผนปฏิบัติการ/เกณฑ์และ
ตัวช้ีวดั การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มิติ ๒๐ ดา้ น ๔๑ ตัวช้ีวดั และไดท้ ำการทดลองประเมินระดับ
ความเปน็ เมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ซึง่ พบว่าตัวช้ีวัดบางตวั ตอ้ งปรบั ปรงุ ใหส้ ามารถตรวจวัดได้

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ดำเนินการปรับปรุงเกณฑ์และตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ฉบับปรบั ปรุง ปี พ.ศ. ๒๕๖๑ และดำเนินโครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ โดยผลการประเมินระดับ
ความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พบว่า พื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา อยู่ในระดับที่ ๒ การส่งเสริม
(Enhancement) พื้นที่จังหวัดระยอง สมุทรปราการ สมุทรสาคร ชลบุรี นครปฐม ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา
ปราจนี บุรี ราชบรุ ี สระบุรี ขอนแก่น สุราษฎร์ธานี และสงขลา อยใู่ นระดบั ท่ี ๑ การมสี ว่ นรว่ ม (Engagement)

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๒ กระทรวงอุตสาหกรรมได้มีประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ลงวันที่ ๒
พฤศจิกายน ๒๕๖๑ เร่อื ง กำหนดพืน้ ทเี่ มืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศและมาตรการสนับสนุนการประกอบกิจการ
โรงงานในพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พ.ศ. ๒๕๖๑ และดำเนินการพัฒนาพื้นที่เป้าหมายภายใต้แผนงาน
บูรณาการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการจัดการมลพิษและสิ่งแวดล้อม เป้าหมายที่ ๓ พัฒนา
เมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศเพอื่ นำไปสู่เมืองที่มกี ารเติบโตบนคุณภาพชวี ิตทดี่ ีและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม โดยมี
ส่วนราชการ ๓ กระทรวง (๘ หน่วยงาน) ประกอบด้วย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงอุตสาหกรรม งบประมาณรวม ๑๐๙.๘๔๕๐ ล้านบาท นอกจากนั้นยังมี
การดำเนนิ การปรับปรงุ เกณฑ์และตวั ชวี้ ัดการเปน็ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ โดย
ผลการประเมินระดับความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พบว่า พื้นที่จังหวัดระยอง อยู่ในระดับที่ ๔ การ
พึ่งพาอาศัย (Symbiosis) พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี นครปฐม
ปทุมธานี พระนครศรอี ยุธยา สระบรุ ี นครราชสีมา ขอนแก่น ราชบรุ ี สรุ าษฎรธ์ านี และสงขลา อยู่ในระดบั ท่ี ๒
การสง่ เสรมิ (Enhancement)

16

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ มีการดำเนินโครงการพัฒนาและการยกระดับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่
เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสูเ่ มืองสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณ 26.5766
ล้านบาท ร่วมกับจังหวัดและพื้นที่เป้าหมาย โดยผลการประเมินระดับความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
พบว่า พ้ืนที่จังหวัดระยอง และจังหวัดปทุมธานี (พื้นที่ตำบลบางกะดี) อยู่ในระดับที่ 4 การพึ่งพาอาศัย
(Symbiosis) พืน้ ทีจ่ งั หวดั นครปฐม และจงั หวัดนครราชสีมา อยใู่ นระดบั ที่ ๓ ประสทิ ธภิ าพในการใช้ทรัพยากร
(Resource Efficiency) และพืน้ ที่จังหวัดชลบุรี ฉะเชงิ เทรา สมุทรปราการ สมทุ รสาคร ปทมุ ธานี (พ้ืนที่ตำบล
คบู างหลวง ตำบลลาดหลุมแกว้ ตำบลคขู วาง ตำบลระแหง และตำบลหนา้ ไม้ อำเภอลาดหลุมแกว้ ) ปราจีนบุรี
พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ขอนแก่น ราชบุรี สุราษฎร์ธานี และสงขลา อยู่ในระดับที่ 2 การส่งเสริม
(Enhancement)

ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ มีการดำเนินโครงการพัฒนาและยกระดับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่เป็น
มิตรกับสิ่งแวดล้อมสู่เมืองสิ่งแวดล้อมยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ งบประมาณ 21.1997
ล้านบาท เพ่ือสนบั สนุนพัฒนาและยกระดับพ้ืนท่ีท่ไี ด้รับการพัฒนาสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศร่วมกับ
จังหวัดและพื้นที่เป้าหมาย ผลการดำเนินงานพบว่า การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะที่ 1 ใน 15
จังหวัด 18 มีพื้นที่ท่ีผ่านระดับความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศโดยผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่ 4 การ
พึ่งพาอาศัย (Symbiosis) จำนวน 4 พื้นที่ คือ จังหวัดระยอง จำนวน 2 พื้นท่ี จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1
พื้นที่ จังหวัดนครราชสีมา ผ่านระดับผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่ 3 ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร
(Resource Efficiency) จำนวน 5 พื้นที่ คือ จังหวัดนครปฐม จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดราชบุรี จังหวัด
สุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา จำนวน 1 พื้นที่ และพื้นที่ที่เหลือ 9 จังหวัด 9 พื้นที่ ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับที่
2 การสง่ เสริม (Enhancement)

ความก้าวหนา้ ของการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ สรุปไดด้ ังตารางที่ ๑-๒ ต่อไปนี้

ตารางที่ ๑-๒ ความกา้ วหน้าของการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

ปงี บประมาณ ผลการดำเนินการ

๒๕๕๗ จัดทำแผนแม่บทการพัฒนา EIT ๕ จังหวัดนำร่อง ได้แก่ จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร ระยอง
ฉะเชงิ เทรา และปราจนี บรุ ี

ขยายพื้นที่จัดทำแผนแม่บทพัฒนา EIT ในจังหวัดที่มีอุตสาหกรรมหนาแน่นและที่มีศักยภาพสูงในการ
๒๕๕๘ พัฒนาอุตสาหกรรมเพิ่มเติม จำนวน ๑๐ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี นครปฐม ปทุมธานี ราชบุรี

พระนครศรอี ยธุ ยา สระบุรี นครราชสมี า ขอนแก่น สุราษฎรธ์ านี และสงขลา

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการ/คณะทำงานการพัฒนา EIT ของจังหวัดคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายและจัดทำ

๒๕๕๙ แผนปฏบิ ัติการภายใต้แผนแม่บทการพฒั นา EIT ของ ๑๕ จังหวดั ๑๘ พ้ืนที่
๒. จัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการการพัฒนา EIT ในพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ได้แก่

จงั หวัดมุกดาหาร สระแก้ว ตาก และตราด

17

ปี พ.ศ. ผลการดำเนนิ การ

๑. จัดต้งั ศนู ย์พฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ (Eco Center) สว่ นกลาง ณ กรมโรงงาน

อตุ สาหกรรม และระดับจงั หวดั ณ สำนักงานอุตสาหกรรมจงั หวัด

๒. จดั ทำระบบฐานขอ้ มลู การพัฒนา EIT ตามเกณฑ์และตวั ช้ีวัดการเปน็ EIT ๑๕ จงั หวดั ๑๘ พน้ื ที่

๒๕๖๐ ๓. จดั ตง้ั โครงสรา้ งการพัฒนา EIT ระดบั สว่ นกลาง ระดับจังหวดั และระดบั พืน้ ที่ เพือ่ เปน็ กลไกการ
ขับเคลอ่ื นการพฒั นา EIT

๔. คณะกรรมการ/คณะทำงานการพฒั นา EIT ของจงั หวัด ขับเคลื่อนการพัฒนา EIT ตามกรอบแผน

แม่บท/แผนปฏบิ ัตกิ าร/เกณฑ์และตัวชวี้ ัดการพฒั นา EIT ๕ มติ ิ ๒๐ ด้าน ๔๑ ตวั ชว้ี ัด

๕. ทดลองประเมินระดบั ความเปน็ EIT ซ่ึงพบว่าตัวช้วี ัดบางตวั ต้องปรบั ปรุงใหส้ ามารถตรวจวดั ได้

๑. ปรับปรุงเกณฑแ์ ละตวั ชีว้ ดั การเป็น EIT ฉบับปรับปรงุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๑
๒. ดำเนินการโครงการพฒั นา EIT และมีผลการประเมนิ ระดบั ความเปน็ EIT ดังนี้
๒๕๖๑ ๒.๑ พนื้ ที่จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ระดับท่ี ๒ การส่งเสริม (Enhancement)

๒.๒ พน้ื ท่จี ังหวดั ระยอง สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร ชลบุรี นครปฐม ปทุมธานี ฉะเชิงเทรา
ปราจนี บุรี ราชบุรี สระบุรี ขอนแกน่ สรุ าษฎร์ธานี และสงขลา ระดบั ท่ี ๑ การมสี ว่ นร่วม (Engagement)

๑. อก. ได้มีประกาศ อก. ลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ เรื่อง กำหนดพื้นท่ี EIT และมาตรการ

สนับสนนุ การประกอบกิจการโรงงานในพ้นื ท่ี EIT พ.ศ. ๒๕๖๑

๒. พัฒนาพื้นที่เป้าหมายภายใต้แผนงานบูรณาการการพัฒนา EIT และการจัดการมลพิษและ

ส่งิ แวดล้อม เปา้ หมายที่ ๓ พัฒนา EIT เพ่ือนำไปสูเ่ มืองท่ีมีการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่ีดีและเป็นมิตรกับ

สิ่งแวดล้อม โดยมีส่วนราชการ ๓ กระทรวง (๘ หน่วยงาน) ประกอบด้วย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

๒๕๖๒ และส่ิงแวดลอ้ ม กระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงอุตสาหกรรม งบประมาณ ๑๐๙.๘๔๕๐ ลา้ นบาท
๓. ปรับปรงุ เกณฑ์และตัวชว้ี ัดการเป็น EIT ฉบบั ปรับปรุง ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ และมผี ลการประเมินระดับ

ความเปน็ EIT ดังน้ี

๓.๑ พนื้ ท่ีจังหวัดระยอง ระดบั ที่ ๔ การพ่ึงพาอาศยั (Symbiosis)

๓.๒ พื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ปราจีนบุรี นครปฐม ปทุมธานี

พระนครศรีอยุธยา สระบุรี นครราชสีมา ขอนแก่น ราชบุรี สุราษฎร์ธานี และสงขลา ระดับที่ ๒ การ

สง่ เสริม (Enhancement)

การดำเนนิ โครงการพฒั นาและการยกระดบั EIT ท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อมสเู่ มอื งสิ่งแวดล้อมท่ียั่งยืน
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 งบประมาณ 26.5766 ล้านบาท และมีผลการประเมินระดับความ
เปน็ EIT ดงั นี้

1. พื้นที่จังหวัดระยอง และจังหวัดปทุมธานี (พื้นที่ตำบลบางกะดี) ระดับที่ 4 การพึ่งพาอาศัย
(Symbiosis)
๒๕๖๓ 2. พื้นที่จังหวัดนครปฐม และจังหวัดนครราชสีมา ระดับที่ ๓ ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร
(Resource Efficiency)

3. พื้นที่จังหวัดชลบุรี ฉะเชิงเทรา สมุทรปราการ สมุทรสาคร ปทุมธานี (พื้นที่ตำบลคูบางหลวง
ตำบลลาดหลุมแก้ว ตำบลคูขวาง ตำบลระแหง และตำบลหน้าไม้ อำเภอลาดหลุมแก้ว) ปราจีนบุรี
พระนครศรีอยุธยา สระบุรี ขอนแก่น ราชบุรี สุราษฎร์ธานี และสงขลา ระดับที่ 2 การส่งเสริม
(Enhancement)

18

ปี พ.ศ. ผลการดำเนินการ

การดำเนินโครงการพัฒนาและยกระดับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อมสู่เมือง

สิ่งแวดล้อมยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ งบประมาณ 21.1997 ล้านบาท และมีผลการ

ประเมนิ ระดบั ความเป็น EIT ดังน้ี

๒๕๖๔ 1. พื้นที่จังหวดั ระยอง (๒ พ้นื ท่ี) จงั หวดั ปทุมธานี และจังหวัดนครราชสมี า ระดับที่ 4 การพึ่งพาอาศัย
(Symbiosis)

2. พื้นที่จังหวัดนครปฐม จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดราชบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จังหวัดสงขลา

(๑ พน้ื ท่ี) ระดบั ท่ี 3 ประสทิ ธภิ าพในการใช้ทรพั ยากร (Resource Efficiency)

๓. พ้ืนทีท่ เ่ี หลือ 9 จงั หวัด 9 พน้ื ที่ ผ่านเกณฑป์ ระเมินระดบั ท่ี 2 การส่งเสริม (Enhancement)

ทมี่ า: พัฒนาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

๑.๕ ประเด็นข้อจำกัด ปัญหำ และอุปสรรค เกี่ยวกับกำรพัฒนำเมืองอุตสำหกรรม
เชงิ นเิ วศท่ผี ่ำนมำ

การดำเนินงานโครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมายระยะที่ ๑ จำนวน ๑๕
จังหวัด ๑๘ พื้นที่ ได้แก่ จังหวัดปราจีนบุรี ระยอง สงขลา ราชบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี
สุราษฎร์ธานี พระนครศรีอยุธยา ขอนแกน่ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครปฐม นครราชสมี า และปทมุ ธานี พบว่าการ
ตรวจประเมินรับรองระดับการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตามเกณฑ์และตัวชี้วัดการเป็นเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ๕ มิติ ๒๐ ด้าน ๔๑ ตัวชี้วัด ตลอดระยะเวลาการดำเนินโครงการ ๓ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ –
๒๕๖๓) มีประเด็นข้อจำกัด ปญั หาและอุปสรรคทส่ี ่งผลต่อการพฒั นาพน้ื ท่หี ลายประการ ดงั ภาพท่ี ๑-๑๐

ภาพที่ ๑-๑๐ ขอ้ จำกดั ของการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ๒



ความชดั เจนของเกณฑแ์ ละตวั ชี้วัดฯ และ ความรว่ มมือของพ้ืนที่ ๓

๗ กระบวนการตรวจประเมิน

ความตอ่ เนื่องของนโยบายในพืน้ ท่แี ละตวั ช้ีวดั ผตู้ รวจประเมนิ ๓๔

๖ ประสิทธภิ าพในการปฏิบตั ริ าชการของจังหวดั

งบประมาณ ความสอดคล้องตามตัวช้วี ดั ก.พ.ร. มาตรการ

๕ ปรบั ปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการ

ระบบข้อมลู และสารสนเทศ

ทม่ี า: พัฒนาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

19

๑) ความชดั เจนของเกณฑ์และตัวช้ีวัดฯ และกระบวนการตรวจประเมิน
มีปญั หาและอปุ สรรคดงั น้ี
 ความคลุมเครือของเกณฑ์และตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ฉบับปรับปรุงปี

พ.ศ. ๒๕๖๒ : บางตัวชี้วัดฯ มีความคลุมเครือในข้อปฏิบัติ ต้องใช้ดุลพินิจและการตีความตามประสบการณ์
ความรู้ ความเชี่ยวชาญของผู้ตรวจประเมิน ส่งผลต่อการนำเสนอเอกสารหลักฐาน ข้อมูลการดำเนินงานของ
พื้นที่ที่ไม่สอดคล้องกับความเห็นของผู้ตรวจประเมินฯ จึงเกิดข้อขัดแย้งขึ้นในกระบวนการตรวจประเมิน
อาจนำไปสกู่ ารขาดความนา่ เช่อื ถือของรางวลั

 การตรวจประเมินจะดำเนินการเฉพาะในตัวชี้วัดฯ ตามระดับที่ทางผู้รับการตรวจประเมิน
(Auditee) ตอ้ งการรบั รอง : สง่ ผลใหพ้ ืน้ ทไ่ี ม่ได้รับการพฒั นาหรอื แก้ปญั หาอยา่ งมนี ัยสำคัญ อนั เปน็ สิ่งสำคัญ
ที่จะทำให้เหน็ ผลในเชิงรูปธรรม

 การขาดรายละเอียดของกระบวนการตรวจประเมิน : ไม่มีเอกสาร คู่มือ หรือแนวทางปฏิบัติที่
อธิบายถึงกระบวนการตรวจประเมิน เช่น ข้อกำหนดทั่วไป ข้อกำหนดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
การข้นึ ทะเบยี นผตู้ รวจประเมินฯ ระบบการติดตามผลการดำเนนิ งาน (Surveillance) เป็นตน้ ทำใหข้ าดความ
ชัดเจนและความตอ่ เนื่องในการพัฒนา

๒) ความรว่ มมือของพื้นที่
มีปัญหาและอุปสรรคดังน้ี
 การขาดการตระหนักถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของบุคลากรและหน่วยงานในพื้นที่ :

ในบางพื้นที่ไม่ได้รับความร่วมมือจากกลุ่มผู้เกี่ยวข้องดังกล่าวเท่าที่ควร ส่งผลต่อข้อมูลที่ได้รับอาจไม่สมบูรณ์
และนำไปสู่การประเมินที่ไม่สามารถสะท้อนความเป็นจริงของพื้นที่ ปัจจุบันกระทรวงอุตสาหกรรมได้รับ
มอบหมายให้เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนา โดยมีสำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด เป็นหัวใจของการ
ขับเคลอื่ น ซึ่งตอ้ งคอยประสานรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั ตัวช้วี ัด

๓) การตรวจประเมิน
มปี ญั หาและอปุ สรรคดงั นี้
 ระบบการขึ้นทะเบียนผตู้ รวจประเมนิ ยังไม่เพียงพอต่อความเชื่อมนั่ : ในการตรวจประเมินเมือง

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ใน ๕ มิติ ๒๐ ด้าน ๔๑ ตัวชี้วัด จำเป็นต้องมีผู้ตรวจประเมินที่มีความรู้ ความสามารถ
ความเชย่ี วชาญในสาขาตา่ ง ๆ และเป็นท่ยี อมรับ เพือ่ สร้างความเชื่อม่ันของระบบการประเมินตามหลกั สากล

 จำนวนผู้ตรวจประเมินที่มีความเชี่ยวชาญไม่เพียงพอต่อจำนวนพื้นที่เป้าหมาย : ควรกำหนด
คุณสมบัติของผู้ตรวจให้ชัดเจนว่าต้องเป็นเช่นใด ทั้งระดับการศึกษา คุณวุฒิ วัยวุฒิ เป็นต้น และควรมีระบบ
รองรับการขึ้นทะเบยี นผตู้ รวจประเมิน เพือ่ สามารถคดั เลือกใหแ้ ต่ละท่านได้ทำหนา้ ที่ไดต้ รงกับบรบิ ทของความ
เปน็ เมืองในแตล่ ะพนื้ ท่ี

๔) ความสอดคล้องตามตวั ช้ีวดั ก.พ.ร. มาตรการปรับปรุงประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ริ าชการ
มปี ญั หาและอุปสรรคดงั น้ี
 ความไม่สอดคล้องตามตัวชี้วัด ก.พ.ร. : สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

ได้กำหนดตัวชว้ี ัดมาตรการปรับปรุงประสิทธภิ าพในการปฏิบัติราชการของกระทรวงอุตสาหกรรม โดยกำหนด

20

ในแต่ละปีงบประมาณให้พื้นที่เป้าหมายต้องได้การรับรองระดับความเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตามที่
กำหนด ซึ่งไม่สอดคลอ้ งกบั มตคิ ณะกรรมการชำนาญการฯ ทเ่ี ห็นชอบใหเ้ มืองฯ มอี ายุการรับรอง จำนวน ๓ ปี

๕) ระบบขอ้ มูลและสารสนเทศ
มีปัญหาและอุปสรรคดงั นี้
 ระบบข้อมูลไม่สมบูรณ์ : ที่ผ่านมาระบบข้อมูลจากหน่วยงานต่าง ๆ และโรงงานอุตสาหกรรม

ยงั ไม่ครบถว้ น หรือขาดความสมบรู ณ์
 ระบบสารสนเทศของกรมโรงงานอุตสาหกรรม (Eco Center) ขาดความสามารถในการ

วิเคราะห์ประมวลผล : ระบบข้อมูลของ Eco Center เป็นแค่ระบบนำเข้าข้อมูล ยังไม่สามารถวิเคราะห์หรือ
ประมวลผลได้ ซง่ึ การดำเนนิ งานพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จำเปน็ ต้องมีขอ้ มลู พืน้ ฐานของเมอื ง โรงงาน
อุตสาหกรรมในพื้นที่ และข้อมูลตามกฎหมายที่แต่ละหน่วยงานบังคับใช้ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์หา
แนวทางการพฒั นา ยกระดับ และแกป้ ัญหาใหต้ รงจุด จงึ จำเป็นต้องพฒั นาระบบเพ่ือรองรับการดำเนินงาน

๖) งบประมาณ
มีปญั หาและอปุ สรรคดังนี้
 การแบ่งจ่ายงบดำเนินงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง : ที่ผ่านมาพบว่าแต่ละหน่วยงานที่

เก่ียวข้องแบ่งจ่ายงบดำเนินงานมารว่ มขบั เคลอ่ื น ส่งผลให้พน้ื ทเ่ี ดินหน้ายกระดับค่อนขา้ งชา้ กว่าท่ีควรจะเปน็
 งบประมาณในการจ้างผตู้ รวจประเมิน (Auditor) ไมเ่ พยี งพอ : ที่ผ่านมาพบว่าไม่สามารถดึงดูด

ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ ให้เข้าร่วมในการแสดงข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการพัฒนา อีกทั้ง ภายในปี
๒๕๖๖ จะมีพื้นที่เป้าหมายรวมไมน่ ้อยกว่า ๓๙ จังหวัด ๕๓ พื้นที่ ทำให้ต้องใช้งบประมาณจำนวนเพิ่มมากข้นึ

ดังนั้นการบริหารจัดการและงบประมาณจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยผลักดันการแก้ปัญหา และพัฒนา
พ้นื ท่ีใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายที่ต้ังไว้

๗) ความต่อเนอ่ื งของนโยบายในพ้ืนท่ีและตวั ช้ีวดั ประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการของจงั หวัด
มีปญั หาและอปุ สรรคดงั นี้
 การขาดความต่อเนื่องของนโยบายการพัฒนา : การขับเคลื่อนนโยบายและการปฏิบัติงาน

เชิงพื้นที่ต้องพึ่งพิงบทบาทของข้าราชการเป็นหลัก ซึ่งผู้รับผิดชอบในการขับเคลื่อนหลัก คือ ผู้ว่าราชการ
จังหวัด ในฐานะประธานกรรมการฯ และอุตสาหกรรมจังหวัด ทำหน้าที่ฝ่ายเลขาฯ รวมถึงภาคส่วนต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องร่วมเป็นกรรมการ แต่ทั้งนี้ตามระบบบริหารราชการมีการโยกย้ายสับเปลี่ยนตำแหน่งหน้าที่อยู่
เป็นประจำจงึ สง่ ผลตอ่ ความตอ่ เนือ่ งของนโยบายและการพฒั นา

 สำนักงาน ก.พ.ร. ยังไม่ได้กำหนดการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป็นตัวชี้วัดของ
จังหวดั : ส่งผลให้บางจงั หวัดไม่ให้ความสำคัญกบั เรือ่ งดงั กล่าว

21



บทที่ ๒

แนวทางการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการ

การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ

แผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป็นแผนปฏิบัติการในระดับพื้นที่ ดังนั้นในการ
ดำเนินการจัดทำแผนจึงจำเป็นต้องกำหนดแนวทางและขัน้ ตอนในการประสานแผนให้สอดคล้องกบั การจดั ทำ
แผนพัฒนาอื่น ๆ ในพื้นที่ เชื่อมโยงและประสานแผนพัฒนาในลักษณะ One Plan ที่จะไม่กระทบต่ออำนาจ
หน้าที่ในการจัดทำและประสานแผนของสว่ นราชการหรือองค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นทีก่ ำหนดไว้และยึดหลัก
ประชาชนเปน็ ศูนย์กลาง (People Centric) ตามแนวทางการจัดทำและประสานแผนพฒั นาในระดับพื้นที่ของ
กระทรวงมหาดไทย นอกจากนั้นในการจดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ จะตอ้ งระบุ
ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ ตามแนวทางการจัดทำแผนของสำนกั งานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ โดยมรี ายละเอียดแนวทางการจัดทำแผนท่เี ก่ียวข้องดังน้ี

๒.๑ แนวทางการจดั ทาแผนระดับท่ี ๓

ปัจจุบนั ประเทศไทยกำหนดจำแนกแผนเป็น 3 ระดับ โดยมยี ทุ ธศาสตรช์ าติเป็นแผนระดับท่ี 1 ซ่ึงจะ
เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกันเพื่อให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันสู่
เป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน โดยในการแปลงยุทธศาสตร์ชาตไิ ปสู่การปฏบิ ัตจิ ะดำเนินการผ่านการ
ถ่ายระดับเป้าหมายและประเด็นยุทธศาสตร์ชาติสู่แผนระดับที่ 2 และแผนระดับที่ 3 เพื่อให้ เกิดการ
ดำเนินการท่ีมีความสอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มุ่งสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศ ไทยมีความ
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ภายใน
พ.ศ. 2580 ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยรายละเอียดองค์ประกอบของแผนทั้ง ๓ ระดับ แสดงดังภาพที่ ๒-๑
ประกอบ ด้วย1

๑) แผนระดับที่ ๑ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ ซึ่งเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลัก
ธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบในการจัดทำแผนต่าง ๆ ให้มีความสอดคล้องและบูรณาการกัน เพื่อให้เกิดเป็น
พลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมาย โดยการถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นการพัฒนาไปสู่แผนระดับที่ ๒ และ
ระดับที่ ๓ อย่างเปน็ ระบบ (หมายเหตุ: ยุทธศาสตรช์ าตสิ ามารถใช้กับแผนระดับท่ี ๑ เทา่ นนั้ )

๒) แผนระดับที่ ๒ ไดแ้ ก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ูปประเทศ แผนพฒั นาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ ซึ่งเป็นแนวทางการขับเคลื่อน

๑ สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ. ๒๕๖๔. แนวทางการจดั ทำแผนระดบั ที่ ๓ และการเสนอแผนระดับท่ี ๓ ในสว่ นของแผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ น...ตอ่ คณะรฐั มนตร.ี สบื คน้ จาก
http://pmpd.onwr.go.th/wp-content/uploads/2021/06/แนวทางแผนระดบั -3-revised-final_06-1.pdf

22

ประเทศในมิติต่าง ๆ เพื่อบรรลุตามเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติ และถ่ายทอดไปสู่แนวทางในการปฏิบัติใน
แผนระดับท่ี ๓ (หมายเหตุ: แผนระดับท่ี ๒ ปจั จุบนั มเี พียง ๔ แผนนเ้ี ทา่ น้ัน โดยแผนอืน่ ๆ ท้งั หมดที่จัดทำโดย
หน่วยงานของรัฐจะเป็นแผนระดบั ที่ ๓)

๓) แผนระดับที่ ๓ ได้แก่ แผนปฏิบัติการด้าน... แผนปฏิบัติราชการระยะ ๕ ปี และแผนรายปี และ
แผนอื่น ๆ ของหน่วยงานรัฐที่มีกฎหมายระบุให้ใช้ชื่อนั้น ๆ ซึ่งเป็นแผนที่จัดทำขึ้นโดยหน่วยงาน รัฐ เพื่อ
ถ่ายทอดเป้าหมายและประเด็นการพัฒนาของแผนระดับที่ ๑ และแผนระดับที่ ๒ ไปสู่การปฏิบัติ หรือจัดทำ
ขนึ้ ตามพนั ธกรณหี รืออนุสัญญาระหว่างประเทศ (หมายเหตุ: ไมน่ ับรวมแผนปฏบิ ตั ิการหรือแผนอ่ืน ๆ ที่ใช้เป็น
แผนสำหรบั การดำเนินการภายในหน่วยงาน)
ภาพท่ี ๒-๑ การจำแนกแผน ๓ ระดบั

ทม่ี า: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ, ๒๕๖๔.

สำหรับการเสนอแผนระดับที่ ๓ ให้ทุกส่วนราชการและหน่วยงานของรัฐเสนอแผนระดับที่ ๓ ไปยัง
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเพื่อพิจารณากลั่นกรองตามขั้นตอนที่สำนักงาน สภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติเสนอ โดยในขั้นตอนการจัดทำแผนเพื่อเสนอสำนักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ใหห้ นว่ ยงานเจา้ ของแผนดำเนินการดงั นี้

(๑) ระบุถึงความสอดคล้องของแผนที่เสนอกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนในระดับที่ ๒
โดยเฉพาะอย่างยิ่งแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติให้ชัดเจน และกำหนดให้มีองค์ประกอบของแผน (เช่น
มาตรการ กลยุทธ์ เป้าหมาย และตัวชี้วัด) ที่แสดงให้เห็นถึงการสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนระดับที่ ๑ และ
ระดับที่ ๒ ให้สามารถบรรลุเป้าหมายในการพัฒนา ประเทศตามแนวทางของยุทธศาสตร์ชาติได้อย่างเป็น
รูปธรรม

23

(๒) กำหนดเป้าหมาย ตัวชีว้ ดั รวมท้ังมีกลไกการตดิ ตามประเมนิ ผลของแผนปฏบิ ัติการด้าน...
ทีช่ ดั เจนเปน็ รูปธรรมและสามารถวัดผลลพั ธแ์ ละผลผลติ ของแผนได้จรงิ

(๓) ระบุโครงการหรือการดำเนินงานที่สามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายของแผนปฏิบัติ
การดา้ น...ได้อยา่ งเป็นรูปธรรม

(๔) ระบุกรอบระยะเวลาที่สอดคล้องกับห้วงเวลาของแผนแม่บทฯ โดยให้กำหนดช่วงเวลา
สิ้นสุดของแผนปฏิบัติการด้าน... ตรงกับช่วงปีที่กำหนดค่าเป้าหมายในการบรรลุไว้ทุก ๆ 5 ปี ได้แก่ พ.ศ.
2565 พ.ศ. 2570 พ.ศ. 2575 และ พ.ศ. 2580 ซึ่งหากว่ามีข้อกฎหมายใดที่กำหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน
สามารถใช้กรอบเวลาตามที่กำหนดไว้ได้ในช่วงแรกและขอให้ปรับปรุงกรอบระยะเวลาของแผนฯ ให้ปีที่ส้นิ สุด
สอดคล้องกับห้วงปีของแผนแม่บทฯ เพื่อให้การดำเนินการและการติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการด้าน...
มคี วามสอดคลอ้ งและสะท้อนผลสัมฤทธ์ิของเป้าหมายแผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าตไิ ด้อยา่ งเปน็ รูปธรรม

(๕) การตั้งชื่อแผนในระดับที่ ๓ กำหนดให้ใช้ชื่อว่า “แผนปฏิบัติการด้าน ... ระยะที่ ...
(พ.ศ. ... - ...)” เวน้ แต่ในกรณีมบี ทบัญญตั ติ ามกฎหมายทก่ี ำหนดชอ่ื แผนไวแ้ ล้ว

ทั้งนี้แผนปฏิบัติการด้าน... ทุกแผนที่จะนำเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณา/ทราบจะต้องเสนอ
สำนกั งานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ พจิ ารณากลั่นกรองตามขนั้ ตอนและกระบวนการตามมติ
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 และวันที่ 15 ธันวาคม 2563 กรณีที่แผนปฏิบัตกิ ารด้าน... ส่งผล
กระทบต่อประเทศอย่างกว้างขวาง ก่อนการเสนอแผนเข้าสู่การพิจารณาของสำนักงานสภาพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ใหห้ นว่ ยงานเจ้าของแผนจดั ให้มีการรับฟงั ความเห็นของผู้เกี่ยวข้องและวิเคราะห์
ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขน้ึ อย่างรอบดา้ น

๒.๒ กลไกการจัดทาแผนระดบั ที่ ๓ ของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

กระบวนการจัดทำแผนระดับท่ี ๓ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม เริ่มต้นจากกรมโรงงานอุตสาหกรรม
จัดทำ “แผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐”
จากนั้นนำส่งสำเนาแผนปฏิบัติการฯ ให้แก่คณะอนุกรรมการบูรณาการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
เพื่อบูรณาการการดำเนินงานในภาพรวมและนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนา
เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (ส่วนกลาง) จากนั้นสามารถดำเนินการได้ ๒ แนวทาง คือ ๑) เสนอแผน
ปฏิบัติการฯ โดยผ่านกลไกของคณะกรรมการพัฒนาอุตสาหกรรมแห่งชาติ (กอช.) เพื่อดำเนินการนำเสนอ
ต่อไปยังคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณา/ทราบ หรือ ๒) เสนอแผนปฏิบัติการฯ โดยผ่านกลไกของสำนักงานสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและพิจารณากลั่นกรองตามขั้นตอนเพื่อดำเนินการนำเสนอต่อไปยัง
คณะรัฐมนตรเี พื่อพิจารณา/ทราบต่อไป ดังภาพที่ ๒-๒

24

ภาพที่ ๒-๒ กลไกและข้นั ตอนการของบประมาณของกรมโรงงานอุตสาหกรรมสำหรับการจดั ทำแผนระดบั ท่ี ๓

คณะรฐั มนตรี

คณะกรรมการพฒั นาอุตสาหกรรมแหง่ ชาติ (กอช.) สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และ
สงั คมแห่งชาติ

แนวทางท่ี ๑ แนวทางที่ ๒

คณะกรรมการขับเคลอ่ื นการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

คณะอนุกรรมการบรู ณาการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ

กรมโรงงานอตุ สาหกรรม
จดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

ระยะที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐

ทมี่ า: สรปุ โดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

๒.๓ แนวทางการจัดทาแผนและประสานแผนพฒั นาในระดับพน้ื ท่ี

การจัดทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่เป็นการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาหมู่บ้าน
แผนชุมชน แผนพัฒนาตำบล แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอำเภอ และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือ
หน่วยงานอืน่ รวมท้ังองค์กรภาคเอกชนและประชาชนทดี่ ำเนนิ การในพืน้ ท่ีให้มคี วามเช่อื มโยงและสอดคล้องใน
ทุกระดับเป็นแผนเดียว (One Plan) เพื่อให้สะท้อนปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และ
สอดคลอ้ งกบั แนวทางตามแผนพฒั นาจังหวัด แผนพฒั นากลุ่มจังหวดั และแผนพัฒนาภาค ทเี่ ป็นการบูรณาการ
การทำงานของทุกหน่วยงานในพื้นที่ 2 โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับ
พื้นที่เพื่อให้กลไกการจัดทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่มีประสิทธิภาพ ยกระดับคุณภาพพัฒนาใน
ระดับพื้นที่ให้มีลักษณะเป็นแผนเดียว (One Plan) และเพื่อให้มีแนวทางการสนับสนุน ควบคุม และกำกับ
ติดตามการจดั ทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี

2 กระทรวงมหาดไทย. 2562. ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นทใ่ี นระดบั อำเภอและตำบล. สบื ค้นจาก www.dgr.go.th/division/th/newsAll/220/2195

25

เพื่อให้การขับเคลื่อนการเชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนาในระดับพื้นที่เกิดประสิทธิภาพ จึงได้
กำหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ใน
ระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562 (ฉบับปรบั ปรุง ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564) โดยให้ถอื เปน็ แนวทาง
ปฏิบัติ ดงั น้ี 3

๒.๓.๑ กระบวนการและรปู แบบการจดั ทำแผนพัฒนาหมู่บา้ นและแผนชุมชน
1) คณะกรรมการหมู่บ้าน พิจารณากำหนดวันที่เหมาะสมในการจัดเวทีประชาคมหมู่บ้าน

และให้นายอำเภอรับทราบวนั ในการจดั ทำเวทีประชาคมหมู่บ้านตามท่ีคณะกรรมการหมู่บ้านเสนอ โดยอำเภอ
แจ้งให้ส่วนราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอื่นที่ดำเนินการในพื้นที่เข้าร่วมเวทีประชาคม
ดว้ ย โดยขั้นตอนการดำเนนิ การจัดทำเวทีประชาคมให้ยดึ ถือแนวทางปฏบิ ัติของกรมการปกครอง

2) คณะกรรมการชุมชน พิจารณากำหนดวันที่เหมาะสมในการจัดเวทีประชาคมชุมชน โดย
ขอความเห็นชอบจากผู้บริหารองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ เม่ือผู้บรหิ ารองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินอนุมัติแล้ว
ให้แจ้งคณะกรรมการชุมชน และส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในพื้นที่เข้าร่วมเวทีประชาคมด้วย
โดยขั้นตอนการดำเนินการจัดทำเวทีประชาคมให้ยึดถือแนวทางปฏิบัติของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ทั้งนี้คณะกรรมการชุมชนซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากการปรับปรุงคำสั่งตามแนวทางดังกล่าว ให้มีระยะเวลา
คงเหลอื ในการดำรงตำแหนง่ ตามวาระของคำสงั่ แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

3) รูปแบบการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้นำข้อมูลจากเวทีประชาคม
หมู่บ้านและชุมชน ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) มาใช้เป็น
ข้อมลู พน้ื ฐานในการจดั ทำแผนพฒั นาหมูบ่ ้านและแผนชุมชน พร้อมท้ังจดั ลำดับความสำคญั แผนงาน/โครงการ
ตามรูปแบบการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้านที่กรมการปกครองกำหนด และรูปแบบการจัดทำแผนชุมชนที่กรม
สง่ เสริมการปกครองทอ้ งถนิ่ กำหนด

๒.๓.๒ กระบวนการและรปู แบบการจดั ทำแผนพัฒนาตำบล
1) ให้ ก.บ.ต. ดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาตำบล จำนวน 7,036 ตำบล ในส่วนพื้นที่ความ

รับผดิ ชอบขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ จำนวน 219 ตำบล (กรณีไม่มีกำนัน ผู้ใหญ่บา้ น) ให้คณะกรรมการ
พฒั นาทอ้ งถ่ินจดั ทำแผนพัฒนาทอ้ งถ่นิ โดยใหถ้ ือวา่ เปน็ การจัดทำแผนเชน่ เดียวกับการจดั ทำแผนพฒั นาตำบล

2) รูปแบบการจัดทำแผนพัฒนาตำบล ให้ ก.บ.ต. จัดทำแผนพัฒนาตำบลตามรูปแบบที่
กรมการพฒั นาชมุ ชนกำหนด

๒.๓.๓ กระบวนการและรูปแบบการจดั ทำแผนพฒั นาอำเภอ
1) ให้ ก.บ.อ. นำกรอบทิศทางการพัฒนาอำเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดมาเป็น

แนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ และแผนความต้องการระดับอำเภอ โดยกำหนดให้แผนพัฒนาอำเภอ
มีระยะเวลาสอดคล้องกับห้วงเวลาของแผนพัฒนาจังหวัด ทั้งนี้กำหนดให้แผนพัฒนาอำเภอและแผนความ
ตอ้ งการระดับอำเภอต้องดำเนนิ การในช่วงระหวา่ งเดือนพฤษภาคม - มถิ นุ ายน

๓ กระทรวงมหาดไทย. ๒๕๖๔. แนวทางปฏิบัตริ องรบั การดำเนินการตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผน และประสานแผนพัฒนาพน้ื ที่ในระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562 (ฉบับปรับปรงุ ประจำปี
งบประมาณ พ.ศ. 2564). สืบค้นจาก https://multi.dopa.go.th/tspd/news/cate9/view173

26

2) แผนพัฒนาอำเภอให้เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนการ
ประกาศใช้ โดยให้ที่ทำการปกครองจังหวัดยกร่างคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานกลั่นกรองแผนพัฒนาอำเภอ เสนอ
ให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่รับผิดชอบเรื่องแผนพัฒนาจังหวัดพิจารณาก่อนเสนอให้ผู้ว่าราชการจั งหวัด
เห็นชอบและลงนามในคำสั่งแต่งตั้ง ซึ่งมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน จ่าจังหวัดเป็นคณะทำงานและ
เลขานุการ ทำหน้าที่หลักในการปฏิบัติหน้าที่เลขานุการคณะทำงานฯ และผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์
และขอ้ มลู เพื่อการพัฒนาจังหวัด สำนกั งานจงั หวัด เป็นคณะทำงานและเลขานุการร่วม โดยให้นายอำเภอเข้า
ชี้แจงข้อมูลแผนพัฒนาอำเภอแต่ละอำเภอต่อคณะทำงานกลั่นกรองแผนพัฒนาอำเภอในการประชุม
คณะทำงาน และเมื่อคณะทำงานฯ ได้พิจารณากลั่นกรองแผนพัฒนาอำเภอแล้ว จะนำเข้าการประชุม ก.บ.จ.
เพื่อทราบ ทั้งนี้ คำสั่งคณะทำงานฯ เป็นไปตามที่กรมการปกครองกำหนด และห้วงเวลาของการเสนอ
แผนพัฒนาอำเภอ ให้ผูว้ ่าราชการจังหวดั เห็นชอบผา่ นคณะทำงานกลัน่ กรองแผนพฒั นาอำเภอให้ดำเนินการให้
แล้วเสรจ็ ภายในเดือนมถิ ุนายน

3) รูปแบบการจัดทำแผนพัฒนาอำเภอ ให้ ก.บ.อ. จัดทำแผนพัฒนาอำเภอและ แผนความ
ตอ้ งการระดบั อำเภอตามรูปแบบที่กรมการปกครองกำหนด

๒.๓.4 การจัดทำแผนพัฒนาท้องถ่นิ
ให้คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นรับผิดชอบจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยในการจัดทำ

แผนพัฒนาท้องถิ่นให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 และทแี่ ก้ไขเพิ่มเติม

๒.๓.5 การจัดทำแผนพัฒนาจังหวดั
ให้สำนักงานจังหวัดให้ความสำคัญกับปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่และการ

ประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นที่ โดยพิจารณาจัดทำแผนงาน/โครงการ ที่มาจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผน
ชุมชน แผนพัฒนาตำบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพัฒนาอำเภอ บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาจังหวัดตามความ
เหมาะสม

๒.๓.๖ การบรู ณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ี
๑) จัดทำเวทปี ระชาคม เพือ่ ให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการระดมความคิดเหน็ ของประชาชน

เพอ่ื ให้ไดม้ าซึ่งปัญหา และความตอ้ งการจากประชาชนในพน้ื ท่ี
๒) ให้มีการประสานแผนในระดับพื้นที่ โดยการรวบรวมและจัดลำดบั ความสำคัญของปญั หา

และความต้องการของประชาชนผ่านกลไกการจัดทำแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตำบล
แผนพัฒนาทอ้ งถนิ่ และแผนความต้องการระดบั อำเภอ เพ่อื มีความเชอ่ื มโยงในทุกระดับเปน็ แผนเดียวกัน

๓) ในกรณีแผนงานหรือโครงการ หรือพื้นที่ มีความซ้ำซ้อนกันในการจัดทำแผนระดับอำเภอ
กับแผนพัฒนาท้องถิ่น ให้หารือร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารงานอำเภอแบบบูรณาการกับองค์กร
ปกครองส่วนท้องถน่ิ ท่เี ก่ียวขอ้ ง

4) บรู ณาการการงบประมาณ และประสานความร่วมมือเพื่อขอรบั การสนบั สนุนงบประมาณ
ให้เปน็ ไปตามแผนพัฒนาในระดบั พื้นที่ โดยการแสวงหาความร่วมมอื และการบรู ณาการจากทุกภาคส่วน

27

๒.๔ กลไกการจัดทาแผนพฒั นาระดบั พ้ืนท่ี

กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ีมีกลไกและห้วงระยะเวลาในการจัดทำ ดังภาพที่ ๒-๓
และมีกลไกในการจดั ทำแผนพฒั นาพนื้ ท่ีแบบบรู ณาการในภาพรวมของประเทศ ดงั ภาพที่ ๒-๔

ภาพที่ ๒-๓ กลไกและหว้ งระยะเวลาในการจัดทำแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี

การจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนทีต่ ามระเบยี บ มท.

ระดบั กลไก แผนพฒั นา

ก.บ.จ. พ.ค.-ก.ย. ส่งแผนงานท่เี กี่ยวข้องให้ อบจ. หรอื ก.บ.จ. แผน อบจ. หน่วยงาน
แผนพัฒนา ราชการ
นำแผนพฒั นาอำเภอหมู่บ้าน/ชุมชน ตำบล อำเภอ จังห ัวด ก.ค. - ต.ค. และ
และแผนความต้องการฯ จังหวดั คณะกรรมการประสาน รฐั วิสาหกิจ
ประกอบการจดั แผน จว. One Plan ในพน้ื ที่
สง่ แผนพฒั นา แผนท้องถ่ินระดับ
คณะทำงานกลั่นกรอง อำเภอและแผน จงั หวดั
แผนพฒั นาอำเภอ ความตอ้ งการฯ
ส่งแผนพฒั นาอำเภอท่ีผา่ นความเหน็ ชอบ
ก.บ.อ. ให้ ก.บ.จ.
(แผนพฒั นา ส่งบญั ชปี ระสานโครงการพัฒนาให้ อปท. พ.ค.
จัดทำแผนพัฒนาอำเภอ อำเภอเหน็ ชอบ สง่ แผนงานโครงการทเ่ี กี่ยวขอ้ งให้ ก.บ.อ. คณะกรรมการประสาน
แผนความตอ้ งการระดับ โดย ผวจ. ผ่าน แผนท้องถิน่ ระดบั อำเภอ
อำเภอ และบญั ชีประสาน คณะทำงานฯ)

โครงการพัฒนา พ.ค.-ม.ิ ย.
แผนพัฒนา

อำเภอ

ส่งแผนพฒั นาท้องถ่ินให้ ก.บ.อ.

สง่ แผนพฒั นา เกินศักยภาพ อปท.
ตำบลให้ ก.บ.อ.
ก.บ.ต.
เกนิ ศกั ยภาพ เกินศักยภาพ
จัดทำแผนพัฒนาตำบล มี.ค.-เม.ย.
และบญั ชีประสาน แผนพัฒนา มี.ค. - เม.ย. มี.ค. - เม.ย.
โครงการพัฒนา
ตำบล แผน อบต./ แผนเทศบาล
(ทน./ทม.)
กม./คกก.ชมุ ชน ส่งแผนหมบู่ า้ นให้ อปท. สามารถดงึ เทศบาลตำบล
ก.บ.ต. และ อปท. ข้อมลู จากเวที สง่ แผนชมุ ชนให้
คณะกรรมการหมู่บา้ น ประชาคมเพ่อื ม.ค. – ก.พ.. อปท. และ ก.บ.ต.
จดั ทำแผนพัฒนาหมบู่ า้ น ม.ค.-ก.พ. ประกอบการจดั ทำ
แผนพฒั นา แผนของ อปท.
คณะกรรมการชมุ ชน หมบู่ ้าน
จัดทำแผนชมุ ชน แผนชุมชน

Bottom Up

หมู่บา้ น/ชุมชน/อปท. ในพ้ืนที่ จดั ประชมุ ประชาคมร่วมกัน

ทม่ี า: ปรบั ปรุงโดยคณะผูจ้ ดั ทำ, ๒๕๖๔ อา้ งองิ จาก กระทรวงมหาดไทย, 256๔.

28

ภาพท่ี ๒-๔ กลไกการจดั ทำแผนพฒั นาพน้ื ท่ีแบบบูรณาการในภาพรวมของประเทศ

กล่ันกรอง ก.น.จ.

ก.บ.ก. (คณะกรรมการบรหิ ารงาน

กลมุ่ จงั หวดั แบบบรู ณาการ)

ก.บ.จ.

(คณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวดั แบบบูรณาการ)

ก.บ.อ.

(คณะกรรมการบรหิ ารงานอำเภอแบบบูรณาการ)

ก.บ.ต./เทศบาล

(คณะกรรมการพัฒนาทอ้ งถ่นิ )

กม.

(คณะกรรมการหมบู่ า้ น)

ท่มี า: กองยุทธศาสตร์และประสานการพัฒนาภาค สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ, 256๔.

๒.๕ แนวทางการจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ

ในการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมาย ระยะที่ ๑ ใน
๑๕ จังหวัด ๑๘ พื้นที่ ได้นำกรอบยุทธศาสตร์ทั้ง ๖ ยุทธศาสตร์จากแผนแม่บทพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นเิ วศ ไปเปน็ กรอบในการจัดทำแผนปฏิบัตกิ ารการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศในระดบั พื้นท่ี โดยใน พ.ศ.
๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ทงั้ ๑๕ จังหวัด ได้ศึกษาและจัดทำแผนแม่บทการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ในพื้นที่
จังหวัด และใน พ.ศ. ๒๕๕๙ ท้ัง ๑๕ จังหวดั ซึ่งเป็นจังหวัดท่ีได้จัดทำแผนแม่บทเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ไว้แล้ว ได้ทำการศึกษาและจัดทำแผนปฏิบัติการภายใต้แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
(พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔) รวมท้ังได้มีการจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการของเขตพฒั นาเศรษฐกิจพิเศษ ๔
จังหวัด หลงั จากน้ันจึงได้มีการขยายขอบเขตระยะเวลาของแผนปฏบิ ัติการฯ ไปจนถึง พ.ศ. ๒๕๖๕ ดังสรุปใน
ภาพท่ี ๒-๕

29

ภาพที่ ๒-๕ ความเชอ่ื มโยงของแผนแมบ่ ทและแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ

แผนแมบ่ ทพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดทำผงั เมอื งเฉพาะที่เหมาะสมกบั ศกั ยภาพของพ้นื ที่
ยุทธศาสตรท์ ่ี ๒ การปรับปรงุ โครงสร้างพ้นื ฐานเพ่ือรองรบั การพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การยกระดับการจดั การส่ิงแวดล้อมและความปลอดภัยในพนื้ ท่ี
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ การสรา้ งความเชื่อมโยงเศรษฐกิจชมุ ชนและอุตสาหกรรมในพื้นท่ี
ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ การพฒั นาสงั คมและยกระดบั คุณภาพชวี ติ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการองค์ความรแู้ ละบุคลากร

พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๕๘
๑๕ จงั หวัด จดั ทำแผนแม่บทการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับจงั หวดั

พ.ศ.๒๕๕๙
๑๕ จังหวัด จดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารภายใต้แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศ (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔) และมีการจัดทำแผนแม่บทและแผนปฏิบัติการของเขต

พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ๔ จงั หวดั

ขยายขอบเขตระยะเวลาของแผนปฏบิ ัตกิ ารฯ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๔ ถงึ พ.ศ. ๒๕๖๕

ทม่ี า: สรุปโดยคณะผจู้ ดั ทำ, ๒๕๖๔.

 แนวทางการจัดทาแผนปฏิบัตกิ ารการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ ระยะ ๕ ปี

(พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ในพน้ื ทแ่ี ละจงั หวัดเปา้ หมาย

แผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เป็นแผนการพัฒนาในระดับพื้นท่ีที่มุ่งสู่การ
พัฒนาอุตสาหกรรมให้สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืนโดยให้ภาคอุตสาหกรรมเป็นตัวขับเคลื่อนการ
พัฒนาเศรษฐกิจของแตล่ ะพนื้ ที่เชือ่ มโยงกบั การพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน พร้อมกบั ยกระดับคุณภาพชีวิตของ
ประชาชนควบคู่กับการดูแลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ โดยแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าว จะถูกบูรณาการอยู่ใน
แผนพฒั นาจังหวดั ตามความเหมาะสม

ดังนั้น จึงจำเป็นต้องกำหนดแนวทางในการจัดทำแผนดังกล่าวให้สอดคล้องกับแผนทั้ง 3 ระดับ
ตลอดจนสอดคลอ้ งกบั แผนพัฒนาในระดบั พ้ืนที่ทเ่ี กีย่ วข้องอ่ืน ๆ

สำหรบั เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศทีเ่ ปน็ พื้นท่ีใหม่ มีแนวทางในการจัดทำแผนท่สี ำคัญ ดงั น้ี

30

๑) การเตรยี มการ
(๑) จัดทำเกณฑ์การคดั เลือกพืน้ ทท่ี เ่ี หมาะสม (ศึกษาในภาคผนวก ๑)
(๒) จดั ตัง้ คณะกรรมการการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศระดับจังหวัด (ศกึ ษาในภาคผนวก ๒)
(๓) จัด Eco Forum4 ครั้งที่ 1 เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเรื่องการกำหนด

เกณฑก์ ารคดั เลอื กพ้ืนทที่ เ่ี หมาะสม
(๔) คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย และแจ้งกระทรวงอุตสาหกรรมเพื่อมอบหมายกรมโรงงาน

อุตสาหกรรม จัดทำประกาศ อก. เรอื่ งการกำหนดพน้ื ทก่ี ารพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ
(๕) จัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับพื้นที่ (ศึกษาใน

ภาคผนวก ๓)

๒) การจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ
(๑) ประชุมคณะทำงานขับเคล่ือนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อจดั ทำแผนปฏิบัติการ
การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศระดบั พื้นที่
(๒) ทบทวนยุทธศาสตรแ์ ละเปา้ หมายทีเ่ กี่ยวข้องกบั การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ
(๓) ศึกษาและสำรวจบรบิ ทสภาวการณข์ องพ้ืนที่โดยกระบวนการมีสว่ นรว่ ม
(๔) การวเิ คราะหช์ ่องว่าง (Gap Analysis)
(๕) การวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคตระยะยาว (Scenario
Analysis)
(๖) สร้างเครือข่ายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ (เครือขา่ ย EIT)
(๗) จดั Eco Forum ครัง้ ที่ 2 เพอ่ื รบั ฟังความคิดเหน็ จากเครือขา่ ย EIT และภาคประชาชนเรื่อง

การกำหนดทศิ ทางการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ
(๘) การวิเคราะห์บริบททีเ่ กี่ยวขอ้ งกับการพฒั นาอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ (SWOT Analysis) และ

การกำหนดกลยุทธก์ ารดำเนนิ งานของแผนปฏิบัติการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ (TOWS Matrix)
(๙) จัดทำแผนปฏิบัตกิ ารการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ระยะ ๕ ปี ผ่านกลไกโครงสร้าง

การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ
- ยกร่างแผนปฏิบตั กิ ารการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะ ๕ ปี
- จัดประชมุ รบั ฟังความคิดเหน็ (ร่าง) แผนฯ
- ทบทวนปรบั ปรงุ (รา่ ง) แผนฯ และนำเสนอแผนต่อที่ประชุม

(๑๐) คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) พิจารณาแผนปฏิบัติการ
การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อบรรจุในแผนพฒั นาจงั หวดั ตามความเหมาะสม

(๑๑) นำส่งสำเนาแผนพัฒนาตามข้อ ๑๐ ให้คณะอนุกรรมการบูรณาการการพัฒนาเมือง

อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศเพื่อบูรณาการการดำเนนิ งานในภาพรวม
(๑๒) จัด Eco Forum ครัง้ ท่ี 3 เพือ่ รบั ฟงั ความคิดเห็นจากผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย เรือ่ งการสร้างการ

ขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมือง

อุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศรายปี

๔ Eco Forum คือ การจดั ประชมุ รบั ฟงั ความคดิ เห็นจากผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี ทเี่ ก่ียวขอ้ ง โดยมีวัตถุประสงค์ในการจัดประชมุ ฯ ท่ีเฉพาะเจาะจงแตกต่างกันไปในแต่ละครงั้

31

๓) การนำแผนไปปฏิบตั ิ
(๑) นำแผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศตามระยะเวลาท่กี ำหนดไปปฏิบัติ
(๒) จัดทำข้อมลู Baseline ตามเกณฑก์ ารพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศและการตรวจสอบ

และติดตามประเมินผลการดำเนนิ การตามแผนปฏบิ ตั ิการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
(๓) นำเสนอข้อมลู ความก้าวหนา้ การพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศตามระบบการตรวจประเมิน
(๔) จัด Eco Forum ครั้งที่ 4 เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและนำไปสู่การ

ทบทวนปรับปรุงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยผ่านกลไกโครงสร้างการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนเิ วศและพัฒนาพ้ืนท่เี ป้าหมายอยา่ งต่อเน่อื งตามหลัก PDCA

(๕) จดั ต้ังศูนย์เรยี นรู้ “เมอื งนา่ อยู่ คู่อุตสาหกรรม” ตน้ แบบของพ้ืนที่ ประชาสัมพันธ์และจัดทำ
ระบบเยี่ยมชม พรอ้ มทงั้ จดั ทำคู่มือ “เมอื งนา่ อยู่ คูอ่ ุตสาหกรรม” ต้นแบบของพนื้ ที่

(๖) จดั Eco Forum ครัง้ ท่ี ๕ เพอื่ การจดั การความรู้ “เมอื งนา่ อยู่ คูอ่ ุตสาหกรรม” ตน้ แบบไปสู่
ความย่ังยนื

ทง้ั นใ้ี นสว่ นของ พ้ืนทเ่ี มืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศในระยะที่ ๑ ได้แก่ ๑๕ จังหวัด ๑๘ พ้ืนท่ี สามารถ
นำแผนปฏิบัติการฯ ที่มีอยู่เดิมมาทบทวนและปรับปรุงโดยผ่านกลไกโครงสร้างการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนิเวศและพฒั นาพน้ื ทเ่ี ปา้ หมายตามหลัก PDCA (ศึกษาข้นั ตอนการจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารฯ ในบทที่ ๔)

๒.๖ วัตถุประสงค์ หลักการดาเนินงาน และผลที่ได้รับในการจัดทาแผนปฏิบัติการ

การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ

๒.๖.๑ วัตถปุ ระสงค์

การจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้พื้นท่ีเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศได้มีแผนและเป้าหมายใช้เป็นกรอบแนวทางการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้
สอดคล้องเป็นไปในทิศทางเดียวกัน นำไปสู่การกำหนดแผนงานที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งจะถูกนำเสนอต่อ
คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพื่อพิจารณาแผนปฏิบัติการฯ บรรจุในแผนพัฒนา
จังหวัดตามความเหมาะสมต่อไป และคาดหวังว่าผู้ปฏิบัติ อันได้แก่ คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ จะสามารถใชเ้ ปน็ แนวทางดำเนินงานที่มีความถกู ตอ้ งและเกดิ ประสทิ ธิผลสงู สุด

๒.๖.๒ หลักการดาเนนิ งาน

หลักการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ประยุกต์อ้างอิงจากหลักการ
ดำเนนิ งานการจดั ทำและประสานแผนพัฒนาในระดับพนื้ ที่ ตามแนวทางของกระทรวงมหาดไทย ดงั นี้

๑) การจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ควรกำหนดแนวทางท่ีเชือ่ มโยงและบูรณาการกับนโยบาย ยุทธศาสตร์
และแผนงานในระดับชาติ ระดบั กระทรวงท่เี กย่ี วข้อง

32

๒) การจัดทำแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ ควรกำหนดแนวทางการเชื่อมโยงประสานแผนในระดบั พ้นื ทีใ่ นลักษณะ
One Plan เพื่อใหเ้ กดิ การทำงานรว่ มกันของภาคสว่ นทีเ่ กีย่ วขอ้ งในระดบั พ้นื ที่

๓) การจดั ทำแผนปฏิบัติการฯ ควรกำหนดเป้าหมายและศึกษาบริบทสภาวการณ์ของพื้นท่ีเพ่ือให้การ
จดั ทำแผนปฏิบตั กิ ารฯ สอดรบั กบั ปญั หาความต้องการของคนในชุมชน/พื้นท่ีอย่างแทจ้ รงิ

๔) การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการฯ ควรกำหนดกลไกให้มคี ณะทำงานรับผิดชอบการจดั ทำแผนและกำหนด
แนวทางปฏบิ ัติที่ชดั เจนเพื่อให้การดำเนินงานไม่เกดิ ความซ้ำซ้อน และเกิดความคุ้มค่ามากท่ีสดุ

๕) การวิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ต้องอาศัยเครื่องมือที่น่าเชื่อถือตาม
หลกั วิชาการ

๖) ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง (People Centric) ในการบริหารราชการ มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของ
ภาคประชาชน ภาคีเครอื ข่ายและผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียในการออกแบบและจดั ทำแผนปฏบิ ัติการฯ

๗) ยึดหลักการ PDCA ในการดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ เพื่อติดตามและทบทวนแผนอย่าง
สมำ่ เสมอ

๘) การจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการฯ ต้องยดึ เปา้ หมายในการพัฒนาท่ีสมดลุ ทั้งมิตดิ า้ นเศรษฐกิจ ส่งิ แวดล้อม
และสงั คม เพ่อื มุง่ ตอบเปา้ หมายการพัฒนาทีย่ ่ังยนื

๒.๖.๓ ผลท่ไี ด้รบั ในการจดั ทาแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

๑) เกิดแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน เป็นระบบภายใต้การสร้างความสมดุลท้ัง
ทางดา้ นเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและสงั คม อนั จะทำใหอ้ ตุ สาหกรรมอยรู่ ว่ มกับชุมชนได้อยา่ งเปน็ สขุ และยั่งยนื

๒) เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมและรู้สึกถึงความเป็นเจ้าของร่วมกันของภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนได้
สว่ นเสยี ผ่านกลไกการจัด Eco Forum เพือ่ รบั ฟงั ความคดิ เห็นจากผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ท่เี ก่ียวข้อง

๓) สามารถรวบรวมปัญหาและความตอ้ งการทแี่ ทจ้ ริงในระดับพื้นทหี่ มู่บา้ นและชมุ ชน
๔) มีงบประมาณสนับสนุนการจัดทำแผน และการนำแผนงาน/โครงการบรรจุไว้ในแผนของส่วน
ราชการหรือแผนของหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วข้องอื่น ๆ
๕) มกี ารกำกับ ติดตามการจัดทำและประสานแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศใน
ระดับพื้นที่และการประเมินผลคุณภาพแผนตามตามหลัก PDCA เพื่อปรับปรุงคุณภาพให้สอดคล้องกับความ
ต้องการและปัญหาของประชาชนในพื้นท่ี

๒.๗ กลไกการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ

กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เริ่มต้นจาก คณะทำงาน
ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พื้นที่... (มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน) ดำเนินการ
จัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระดับพื้นท่ี ในช่วงเดือน มกราคม ถึง เดือน
มิถุนายน ซึ่งสอดรับไปกับห้วงระยะเวลาในการจัดทำแผนพัฒนาระดับอำเภอ และเสนอต่อ คณะกรรมการ
พัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ จังหวดั ... (มผี วู้ า่ ราชการจงั หวัดเป็นประธาน) เม่ือคณะกรรมการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จังหวัด... เห็นชอบ จึงนำเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบ

33

บูรณาการ (ก.บ.จ.) เพื่อให้ ก.บ.จ. พิจารณาบรรจุแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศไว้ใน
แผนพัฒนาจังหวดั ตามความเหมาะสม ในช่วงเดอื นพฤษภาคม ถึง เดอื นกนั ยายน

จากน้ันสามารถดำเนนิ การได้ ๒ แนวทาง คอื ๑) ดำเนินการตามกลไกการเสนอแผนพฒั นาจงั หวัดเพ่ือ
ขอจัดสรรงบประมาณตามภาพ 2-4 ๒) ดำเนินการตามกลไกการเสนอแผนงานโครงการการพัฒนา
เมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศดงั ภาพ ที่ 2-2 เพื่อเสนอตอ่ ไปยงั คณะรฐั มนตรีเพื่อพจิ ารณา/ทราบ ดังภาพท่ี ๒-๖

ภาพท่ี ๒-๖ กลไกและห้วงระยะเวลาในการจัดทำแผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ

คณะรฐั มนตรี

ดำเนินการตามกลไกการเสนอแผนพัฒนาจังหวดั ดำเนนิ การตามกลไกการเสนอแผนงานโครงการการ
เพ่ือขอจัดสรรงบประมาณตามภาพ 2-4 พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศตามภาพที่ 2-2

แนวทางที่ ๑ แนวทางที่ ๒

คณะกรรมการบรหิ ารงานจังหวดั แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) พ.ค. - ก.ย.
พจิ ารณาแผนปฏบิ ตั ิการการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

คณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ จังหวัด... ม.ค. - มิ.ย.
พิจารณาเห็นชอบ

คณะทำงานขบั เคลอื่ นการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ พื้นที่...
จัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระดบั พน้ื ท่ี

ที่มา: พฒั นาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔ อา้ งอิงห้วงระยะเวลาจากแนวทางปฏบิ ตั ิรองรับการดำเนนิ การตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจัดทำ
แผนและประสานแผนพฒั นาพื้นทใี่ นระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. ๒๕๖๒ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔).

หลังจากแผนปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศได้รบั ความเห็นชอบแล้ว ใหด้ ำเนินกลไก
ขบั เคลอ่ื นแผนปฏบิ ตั กิ ารการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ดังนี้

๑) ประชาสัมพันธ์ สื่อสาร และทำความเข้าใจแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
เพ่อื ให้ทกุ ภาคส่วนในระดับพน้ื ท่ีได้รบั รู้รับทราบ

๒) เสริมสร้างความเข้าใจในกรอบแนวคิดและแนวทางการดำเนินงานแผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ใหแ้ กอ่ งค์กรทเี่ ก่ียวข้องในระดับพน้ื ทเี่ พื่อให้มีความเข้าใจ ความพรอ้ ม และมสี ว่ นร่วมใน
การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยจัดเวทีสร้างความเข้าใจในภารกิจ เป้าหมายและให้

34

ทราบถึงบทบาทความรับผิดชอบของตนที่จะสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชงิ นิเวศใหเ้ กดิ ผลในทางปฏิบตั ิในระดับพ้นื ท่ี

๓) การสรา้ งแรงจงู ใจ (Incentives) สำหรับผปู้ ระกอบการเพ่ือเปล่ยี นแปลงไปสู่การผลิตท่ีเป็นมิตรต่อ
ส่ิงแวดลอ้ ม รวมถงึ การดำเนนิ กิจกรรมที่เออ้ื ต่อการอยูร่ ว่ มกันของสงั คมอย่างสันติ

๔) สร้างกระบวนการดำเนินงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติงานตามแผนปฏิบัติ
การการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในระดับพื้นที่ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เช่น การลงนามบันทึก
ข้อตกลงร่วมกัน (MOU) /คำรับรองการปฏิบัติงานเพื่อสร้างพันธสัญญาระหว่างหน่วยงาน การกำหนด
หน่วยงานเจ้าภาพหลักที่จะเป็นแกนนำการบูรณาการและประสานงาน กำหนดตัวชี้วัดร่วม (Joint KPI) กับ
หน่วยงานราชการอืน่ ๆ

๕) จดั ทำระบบตดิ ตามและประเมินผลการดำเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนิเวศในระดับพื้นที่ โดยติดตามความก้าวหน้าการดำเนินงานเป็นประจำทุกปี และประเมินผลการ
ดำเนนิ งานในระยะคร่ึงแผน เพ่อื นำผลไปปรับปรงุ ในชว่ งครึง่ หลังของแผนปฏิบัติการฯ (พ.ศ. 256๖ – 25๗๐)
และติดตามประเมินผลในระยะสิ้นสุดของแผนปฏิบัติการฯ เพื่อเป็นข้อมูลตั้งต้นสำหรับการจัดทำแผน
ปฏิบัติการฯ ฉบบั ต่อไป

35



บทท่ี ๓

กรอบแนวคิดท่เี ก่ียวข้องกบั การจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร

การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

การจัดทำแผนปฏิบตั ิการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพือ่ ใชเ้ ป็นกรอบแนวทางปฏิบตั ิให้กับ
คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในระดับพื้นท่ี เริ่มต้นจากการศึกษาทบทวน
แนวคิด นโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้อง เช่น เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑๒ ร่างกรอบแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๓ ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงอตุ สาหกรรม แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
แผนพัฒนาจังหวัด 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) และแผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมของจังหวัดหรือ
แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของจังหวัด ตลอดจนการศึกษาสำรวจฐานข้อมูลบริบทสภาวการณ์ของพื้นท่ี
เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) ระหว่างผลการดำเนินงานของเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับพื้นที่กับนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์และคาดการณ์การ
เปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต (Scenario Analysis) ท่ีมผี ลตอ่ การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ และ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (SWOT analysis) อันจะนำมาสู่การออกแบบ
กลยุทธ์การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศโดยใช้ TOWS Matrix และได้กลยุทธ์ทั้งหมด 4 รูปแบบ คือ
กลยุทธ์เชิงรุก กลยุทธ์เชิงแก้ไข กลยุทธ์เชิงป้องกัน และกลยุทธ์เชิงรับ ตลอดจนออกแบบแนวทางการพัฒนา
เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย และโครงการ ที่เหมาะสมกับสถานการณ์แวดล้อมและศักยภาพของพื้นท่ี
เมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศต่อไป

ผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลข้างต้นจะเป็นสารสนเทศสำคัญที่ใช้ประกอบการ พิจารณาจัดทำร่าง
แผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยผา่ นกระบวนการมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็น
ของภาคีเครอื ขา่ ยและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี ทุกภาคสว่ น เพือ่ ให้ได้มาซ่ึงแผนปฏบิ ัตกิ ารฯ ท่จี ะเป็นแนวทางสำหรับ
การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าวจะถูก
นำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพื่อพิจารณาบรรจุแผนปฏิบัติการการ
พัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศในแผนพัฒนาจงั หวัดตามความเหมาะสมต่อไป

กรอบแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศสรุปได้ดงั
ภาพที่ ๓-๑

36

ภาพท่ี ๓-๑ กรอบแนวคดิ ท่เี กยี่ วขอ้ งกบั การจัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

ระดบั นานาชาติ

เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยนื (SDGs) เปา้ หมายท่ี ๙ (เปน็ หลัก) และทกุ เปา้ หมายโดยภาพรวม

ระดบั ชาติ

หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ที่มี

ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี การพัฒนาท่ีสำคัญเพ่อื นำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพฒั นาท่ยี ั่งยืนในทกุ มิติ เพือ่ นำไปสู่

“เมอื งนา่ อยู่ ชนบทมัน่ คง เกษตรยงั่ ยนื อุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ”

แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ท่ี ๖ พื้นทีแ่ ละเมืองนา่ อยู่อจั ฉริยะ

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๓ การสรา้ งความเขม็ แข็งทางเศรษฐกจิ และแขง่ ขันได้อยา่ งยัง่ ยืน
ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ดา้ นการเตบิ โตที่เปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ มเพ่อื การพัฒนาอย่างยงั่ ยนื

ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๓ หมดุ หมายท่ี ๘ ไทยมพี นื้ ท่ี และเมอื งอัจฉรยิ ะนา่ อยู่ ปลอดภยั เติบโตได้อยา่ งยั้งยนื
กลยุทธที่ ๔ การเสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ในการบรหิ ารจดั การพน้ื ทีแ่ ละเมอื ง

นโยบายประเทศไทย 4.0

แผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านทรพั ยากรและส่งิ แวดล้อม

ระดับกระทรวง

แผนปฏบิ ตั ิราชการกระทรวงอุตสาหกรรม/กรมโรงงานอตุ สาหกรรม

แผนแม่บทการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ การพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ๑๕ จงั หวดั ๑๘ พ้นื ท่ี

แผนพฒั นาจังหวัด 5 ปี (พ.ศ.2566-2570) แผนแมบ่ ทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมของจังหวัด

หรอื แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมของจังหวัด

ข้อมูลพืน้ ฐาน (Baseline) >> บริบทสภาวการณ์และศักยภาพของพื้นที่

Gap Analysis Scenario Analysis SWOT Analysis

วเิ คราะหช์ อ่ งว่างระหว่างการดำเนนิ งานตาม วเิ คราะห์และคาดการณ์การเปลีย่ นแปลงทจ่ี ะ วิเคราะหจ์ ุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และ
นโยบายและแผนฯ ท่ีเก่ยี วขอ้ งในปัจจุบนั และ เกดิ ขึน้ ในอนาคตท่ีมผี ลต่อการพัฒนาเมือง อุปสรรคของพืน้ ที่เมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
นโยบายและแผนฯ ที่เกยี่ วขอ้ งในระยะยาว
อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ TOWS Matrix เพอ่ื กำหนดกลยทุ ธ์

(ร่าง) กรอบแนวคิดแผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ การมสี ว่ นรว่ มของภาคใี นการ
(ร่าง ๑) แผนปฏิบตั ิการการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ แสดงความเห็นตอ่
(รา่ ง ๒) แผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ร่างกรอบแนวคดิ ฯ

การประชุมสมั มนาระดับ
พนื้ ที่เพอื่ รบั ฟังความคิดเห็น

จากผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี

แผนปฏบิ ัติการการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ ฉบับสมบูรณ์

ทม่ี า: พฒั นาโดยคณะผ้จู ัดทำ, ๒๕๖๔.

37


Click to View FlipBook Version