The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Max Kanokwara, 2021-10-19 09:07:59

คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

จัดทำโดย กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมร่วมกับ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

๓.๑ Baseline Analysis: การวเิ คราะห์และจัดทาข้อมลู พน้ื ฐานบรบิ ทสภาวการณแ์ ละ

ศักยภาพของพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศตามเกณฑ์และตัวชี้วัดการเป็นเมือง

อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) ของพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเป็นข้อมูลสำคัญท่ีได้มาจากการ
วเิ คราะห์การดำเนนิ งานโครงการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศในพนื้ ที่เปา้ หมายตามเกณฑ์การพัฒนาและ
ตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยในระยะที่ ๑ ทั้ง ๑๕ จังหวัด ๑๘ พื้นท่ี (จังหวัดปราจีนบุรี
ระยอง สงขลา ราชบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร สระบุรี สุราษฎร์ธานี พระนครศรีอยุธยา ขอนแก่น
ฉะเชิงเทรา ชลบุรี นครปฐม นครราชสีมา และปทุมธานี) ได้จัดทำข้อมูล Baseline เพื่อการตรวจประเมิน
รับรองระดับการเปน็ เมอื งอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔) ตามเกณฑ์และตัวช้ีวัดการเป็นเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มิติ ๒๐ ด้าน ๔๑ ตัวชี้วัด ซึ่งทั้ง ๑๕ จังหวัด ๑๘ พื้นที่ สามารถนำข้อมูล Baseline
จากระบบฐานข้อมูลศนู ย์พฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ หรือ Eco Center (http://ecocenter.diw.go.th)
มาประกอบการวิเคราะหข์ ้อมูลพ้ืนฐานบรบิ ทสภาวการณ์และศักยภาพของพน้ื ท่ีเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศได้

สำหรับพื้นที่เป้าหมายใหม่ ในระยะที่ ๒ และระยะที่ ๓ จะต้องจัดทำข้อมูล Baseline เพื่อสะท้อน
ข้อมูลพื้นฐานบริบทสภาวการณ์และศักยภาพของพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตามเกณฑ์การพัฒนาและ
ตัวชี้วัดการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มิติ ๒๐ ด้าน (ดังภาพที่ ๓-๒) ตลอดจนตรวจสอบและติดตาม
ประเมินผลการดำเนินการตามแผนปฏิบัตกิ ารพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ เพื่อรองรับการตรวจประเมิน
เมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ

ภาพที่ ๓-๒ เกณฑค์ ณุ ลักษณะการเปน็ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มติ ิ ๒๐ ดา้ น

มิติกายภาพ 1. การวางผงั ท่ีตงั้ และการจัดพ้นื ที่ ๒.การออกแบบอาคารและบริเวณโดยรอบ

มติ เิ ศรษฐกิจ ๓. เศรษฐกิจอตุ สาหกรรม ๔.เศรษฐกจิ ท้องถิ่น
มิติสง่ิ แวดล้อม ๕. การตลาด ๖. การขนส่ง
๗. การจดั การคณุ ภาพนำ้ ๘. การจดั การคณุ ภาพอากาศ
๙. การจดั การกากของเสยี และวัสดเุ หลือใช้ ๑๐. การจดั การพลังงาน
๑๑. การจดั การเหตเุ ดอื ดร้อนรําคาญ ๑๒. กระบวนการผลติ
๑๓. ประสิทธิภาพเชงิ นเิ วศ ๑๔. การจดั การดา้ นความปลอดภยั และสขุ ภาพ
๑๕. การเฝา้ ระวังคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ ม

มิตสิ งั คม ๑๖. คณุ ภาพชวี ิตและสงั คมของพนกั งาน ๑๗. คณุ ภาพชีวติ ของคนในท้องถน่ิ โดยรอบ

มติ กิ ารบริหารจดั การ ๑๘. การบรหิ ารจดั การพ้นื ทอ่ี ย่างมสี ว่ นร่วม ๑๙.การพัฒนาและรกั ษาระบบบรหิ ารระดับสากล
๒๐. ขอ้ มลู ขา่ วสารและการรายงาน

ท่ีมา: สรุปโดยคณะผจู้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

38

๓.๒ Gap Analysis: การวเิ คราะห์ชอ่ งวา่ ง

การวเิ คราะหช์ ่องว่าง (Gap Analysis) เป็นการนำข้อมลู ทางวชิ าการและประเด็นสำคัญที่เก่ียวข้อง
กับบริบทการดำเนินงานมาวิเคราะห์เบื้องต้นเพื่อหาความแตกต่างระหว่างผลการดำเนินงานหรือระบบที่
เป็นอยู่ในปัจจุบันของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายที่กำหนดตามนโยบาย
แผนงานหรือแผนปฏิบัติการที่เกี่ยวข้อง อาทิ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ และร่างแผนฯ ฉบับที่ ๑๓
แผนปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์กระทรวงอุตสาหกรรม
แผนแม่บทการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เป็นต้น โดยผลจากการวิเคราะห์ดังกล่าวจะได้ข้อมูลที่
สะท้อนถึงปัญหาหรือช่องว่างระหว่างการดำเนินงานตามนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในปัจจุบันกับ
มาตรฐานของการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่ต้องการจะเป็นตามนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ดังภาพที่ ๓-๓ ทั้งนี้ในการวิเคราะห์ช่องว่างจะพิจารณาจากเกณฑ์คุณลักษณะการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศ ๕ มิติ ๒๐ ดา้ น (ดังภาพท่ี ๓-๒)

ภาพท่ี ๓-๓ การวเิ คราะหช์ อ่ งวา่ ง (Gap Analysis)

ชอ่ งว่างทีเ่ กิดข้ึน (Gap)

EIT ที่เป็นอยู่ ขอ้ เสนอแนะในการลดชอ่ งว่าง EIT ทต่ี อ้ งการจะเป็น
ผลการดำเนนิ งานหรอื ระบบ แผนปฏบิ ัตกิ ารฯ คา่ เป้าหมายที่กำหนดตาม
ที่เป็นอยู่ในปัจจุบนั ของเมือง นโยบาย แผนงานหรอื
แผนปฏบิ ตั กิ ารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

ท่ีมา: สรปุ โดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

เมื่อพบความแตกต่างหรือช่องว่างที่เกิดขึ้น จึงนำข้อมูลจาก Scenario Analysis และ SWOT
Analysis มาประกอบการพิจารณาเพื่อดำเนินการพัฒนา ปรับปรุงและปิดช่องว่าง ด้วยการกำหนดกลยุทธ์
สำหรับการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นและ
พร้อมรับกบั สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทีอ่ าจจะเกดิ ข้ึนในอนาคต

39

๓.๓ Scenario Analysis: การวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ที่จะ

เกดิ ขึน้ ในอนาคตระยะยาว

การวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระยะยาว (Scenario
Analysis) เป็นการนำข้อมูลจากการดำเนินงานที่ผ่านมาและแผนที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
รวมทั้งแนวโน้มที่สำคัญของโลก มาวิเคราะห์สถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในภายภาคหน้า เพื่อแสดงให้เห็น
ประเดน็ ความไม่แน่นอน และเหตุการณ์ต่าง ๆ ทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน
อนาคต โดยการพิจารณาแนวโน้ม (Trends) ที่มองเห็นอยู่ในปัจจุบันและความไม่แน่นอน (Uncertainties) ที่
อาจเกิดขึน้ ได้ในอนาคต เช่น เหตกุ ารณท์ มี่ ีความสำคัญ ส่งผลกระทบในวงกว้าง และมีโอกาสเกิดขึ้นสูง เพื่อใช้
ประกอบการพิจารณาจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่ครอบคลุมและยืดหยุ่น
สามารถรองรับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทั้งจากภายในและภายนอกประเทศได้อย่างมี
ประสิทธิภาพทันต่อเหตุการณ์ ทั้งนี้เครื่องมือที่นำมาประกอบการวิเคราะห์คือ STEEP Analysis1 ซึ่งมี
องค์ประกอบ ดงั ภาพท่ี ๓-๔

ภาพท่ี ๓-๔ องค์ประกอบของ STEEP Analysis

Social: S

Politic: P STEEP Technology: T
Analysis

Environment: E Economic: E

ทม่ี า: สรปุ โดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

1) ด้านสังคม (Social) เป็นการวิเคราะห์ประเด็นทางสังคม อาทิ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ประชากร การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) และการเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับ
สุดยอด (Super Aged Society) ในอนาคต ท่ีแสดงถึงสถานการณ์อัตราการเกิดและการตายต่ำ ประชากรมี
แนวโนม้ เป็นโสดมากข้ึน วัยสูงอายมุ อี ายเุ ฉลี่ยยาวนานขึ้น สง่ ผลใหส้ ดั ส่วนของผสู้ งู อายุเพิม่ มากขึ้นในขณะท่ีวัย
แรงงานลดลง ซึ่งจะผลกระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายของภาครัฐในด้านสวัสดิการและการบริการสุขภาพ เกิดการ
ขาดแคลนแรงงานส่งผลต่อขีดความสามารถในการผลิตและแข่งขันในสนามการค้า อีกทั้งระบบเศรษฐกิจของ
ประเทศยังต้องเผชิญกับผลกระทบจากสถานการณ์ที่ไม่คาดคิด เช่น การแพร่ระบาดของโรคอุบัติซ้ำและโรค

๑ สำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม. ๒๕๖๒. แผนแม่บทการจดั การสงิ่ แวดลอ้ มชุมชน เพอื่ สง่ เสริมและรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อม

โครงการจดั การสง่ิ แวดลอ้ มชุมชนเชิงนิเวศเพอ่ื รองรบั การพัฒนาท่ีย่ังยนื . กรงุ เทพฯ: หจก. ทพี เี อน็ เพรส.

40

อุบัติใหม่ ตลอดจนภัยพิบัติทางธรรมชาตทิ ี่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ซึ่งอาจส่งผลต่อการ
สูญเสียทรัพย์สินและสูญเสียชีวิตก่อนวัยอันควร นอกจากน้ีในด้านของนคราภิวัตน์ (urbanization) หรือ
สถานการณก์ ารกลายเป็นเมืองท่ีเพิม่ ขึ้นอันเกิดจากการขยายตวั ของความเจริญ ทำให้แรงงานมีการย้ายถ่ินฐาน
เขา้ มาประกอบอาชีพและกลายเป็นประชากรแฝงในพืน้ ที่เมืองใหม่ เนอ่ื งจากภายในชมุ ชนหรือพ้ืนท่ีชนบทขาด
แหล่งรายได้ การเพิ่มขึ้นของประชากรแฝงเหล่าน้ีส่งผลต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เช่น ปัญหามลพิษทาง
อากาศ ปัญหาขยะ ปัญหาน้ำเสีย ปัญหาความเหลื่อมล้ำ พื้นที่สีเขียวลดลง เป็นต้น ตลอดจนพฤติกรรมการ
ดำรงชีวิตของประชาชนเปลีย่ นแปลงไปตามกระแสทุนนิยมของเศรษฐกจิ โลก วถิ ีชีวิตและความเป็นเอกลักษณ์
ทางวัฒนธรรมจึงถูกดัดแปลงเปลี่ยนแปรไปตามเทคโนโลยี ซึ่งมีผลต่อความสามารถในการปรับตัวของ
ประชาชน ในกลุม่ ทไ่ี มส่ ามารถปรับตวั ได้ทันต่อการเปล่ียนแปลงและขาดภูมคิ ุ้มกนั ในการดำเนนิ ชีวิตก็จะเป็นผู้
ที่ต้องประสบกับปัญหาสังคมทั้งในด้านอาชญากรรม ปัญหาการหลอกลวง ปัญหาโรคซึมเศร้า และการฆ่า
ตวั ตาย เปน็ ตน้ ซ่งึ ส่งิ เหลา่ นีล้ ว้ นสง่ ผลกระทบต่อการบริหารจดั การและคา่ ใชจ้ า่ ยของภาครัฐท้งั ส้นิ

2) ด้านเทคโนโลยี (Technology) ปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญต่อการอำนวยความ
สะดวกในการดำเนินชีวิตประจำวนั ของมนุษยแ์ ละถูกนำมาใช้ในการดำเนินกจิ กรรมต่าง ๆ ของทุกองค์กรและ
หน่วยงาน ทั้งยังใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อประสานกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมกับเครือข่าย
ต่างประเทศ เพื่อช่วยให้การดำเนินงานดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด ดังนั้นการ
พัฒนาระบบฐานข้อมลู และระบบสารสนเทศเพือ่ การสื่อสารให้สามารถจัดเก็บ ประมวลผล และวเิ คราะห์ข้อมูล
ขนาดใหญ่ได้อย่างเป็นระบบ รวดเร็ว ถูกต้อง แม่นยำ และสามารถนำมาใช้ร่วมกับทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการดำเนินงานที่ประสบความสำเร็จ นอกจากนั้นการพัฒนา
เทคโนโลยีต่าง ๆ ที่สามารถนำมาใช้ทดแทนทรัพยากรที่ลดจำนวนลงหรือสูญสิ้นไป หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็น
นวัตกรรมใหมท่ ผ่ี ลิตขนึ้ เพ่อื ตอบโจทย์การแก้ไขปญั หาหรือพัฒนาธุรกจิ ตา่ ง ๆ อยา่ งไรก็ดี สิง่ เหลา่ น้ีก็อาจส่งผล
กระทบต่อความกังวลในการนำเทคโนโลยีมาใช้แทนแรงงานคน และอาจส่งผลให้แรงงานในระดับล่างต้อง
ประสบปัญหาการว่างงานเพิ่มขึ้น ในขณะที่แรงงานที่มีฝีมือและทักษะเฉพาะจะมีความสำคัญและเป็นท่ี
ต้องการมากขึ้น นอกจากนี้สิ่งที่เป็นเหตุการณ์เชิงลบที่อาจจะเกิดขึ้นโดยง่าย ได้แก่ การจารกรรมข้อมูล และ
การกอ่ การรา้ ยทอี่ าศัยเทคโนโลยี เปน็ ตน้

3) ด้านเศรษฐกิจ (Economic) สถานการณ์แนวโน้มด้านเศรษฐกิจในทวีปเอเชียมีการเจริญเติบโต
มากขึ้น เกิดการรวมกลุ่มเศรษฐกิจ ความร่วมมือทางการค้าและการลงทุน เช่น การรวมกลุ่มเศรษฐกิจการค้า
เสรีและการร่วมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทำให้เศรษฐกิจในประเทศและระดับภูมิภาคมีการขยายตัว
ชนชั้นกลางในประเทศเพิ่มขึ้น เกิดการอุปโภคบริโภคมากขึ้น อย่างไรก็ดีความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่ตอบสนองการแข่งขันและแย่งส่วนแบ่งการตลาดจากประเทศพัฒนาแล้ว อาจส่งผลต่อการกีดกัน
ทางการค้า โดยเฉพาะปัจจุบันที่กระแสอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมถูกนำมาใช้เปน็ เครื่องมือในการ
กีดกันการค้ากับประเทศพัฒนาแล้ว ซึ่งอาจกระทบต่อภาคการส่งออกและระบบเศรษฐกิจภายในประเทศ
จนถงึ ระดับชุมชนที่เป็นผู้ผลิตวตั ถุดิบในการผลิต การลงทุนโครงสร้างพ้ืนฐานและการคมนาคมเพื่อรองรับการ
เปลยี่ นแปลงที่เพ่มิ ขึน้ อาจประสบปญั หาการชะลอตวั

41

4) ด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) สถานการณ์ในด้านสิ่งแวดล้อมปัจจุบันประสบปัญหาความ
เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น ในขณะที่จำนวนประชากรและการบริโภคเพิ่มขึ้น ทำให้เกิดการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจ เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน ปัญหาการบุกรุกป่า การลักลอบตัดไม้
ทำลายปา่ การสูญเสียพน้ื ทป่ี า่ จากการขยายโครงสร้างการคมนาคม แรธ่ าตแุ ละทรัพยากรธรรมชาติถูกนำมาไป
ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมมากขึ้น ทรัพยากรที่เสื่อมโทรม อุตสาหกรรมการผลิตต่าง ๆ ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น ไปจนถึงปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม อาจทำให้เกิดการ
ดำเนินงานในการขับเคลื่อนสู่กระแสสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในทุกภาคส่วนให้เป็นรูปธรรม เพื่อสร้าง
สมดุลให้กับธรรมชาติ ทั้งนี้รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากปัญหาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่
ก่อใหเ้ กิดภยั พิบตั ิในรปู แบบต่าง ๆ

5) ด้านการเมืองและกฎหมาย (Politic) สถานการณ์ในด้านการเมืองและกฎหมายมีการ
เปลี่ยนแปลงไปตามประชาคมโลก โดยเฉพาะกระแสการพัฒนาที่ยั่งยืนท่ีเป็นเป้าหมายที่ประเทศต้องนำมาใช้
ขับเคลื่อนให้เกิดผลเป็นรูปธรรม ดังนั้น กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ จึงถูกปรับปรุงเปลี่ยนแปลงให้
สอดรับกับกระแสการพัฒนาอย่างยั่งยืน ส่งผลต่อการดำเนินงานที่จำเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาค
ส่วน นอกจากน้ันในประเด็นด้านสทิ ธมิ นุษยชน ซ่ึงถูกนำมาใช้เปน็ ส่วนประกอบในการพิจารณาดำเนินกิจกรรม
ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรธรรมชาติ ทำให้ทุกภาคส่วนต้องหันมาให้ความสำคัญกับการมี
ส่วนร่วมของประชาชน ซึ่งถือเป็นการเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการคิดและตัดสินใจต่อ
การดำเนนิ งานต่าง ๆ มากข้ึน ท้ังนเ้ี พ่ือแสดงถึงธรรมาภิบาลซึ่งเป็นสถานการณ์ท่จี ะต้องนำมาใช้ในการบริหาร
จัดการให้เกดิ ความโปรง่ ใสเป็นธรรม และสามารถตรวจสอบได้ ดังน้ันนโยบายและงบประมาณต่าง ๆ จึงต้องมี
การกระจายอำนาจไปสู่ท้องถน่ิ มากข้นึ รวมถึงกระบวนการยุตธิ รรมในดา้ นสิ่งแวดล้อมทีจ่ ะต้องเปิดโอกาสให้ผู้
มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีโอกาสใช้สิทธิ์ในการปกป้องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ของตนเองและ
ดำรงไว้ซึ่งสทิ ธิประโยชน์ของส่วนรวมและสว่ นตน

๓.๔ SWOT Analysis: การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อม

ภายนอก

การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก หรือ SWOT Analysis เปน็ เคร่อื งมือ
ที่ใช้เพื่อหาจุดแข็ง (Strengths) จุดอ่อน (Weaknesses) โอกาส (Opportunities) และอุปสรรค (Threats)
ซึง่ จะทำใหไ้ ดข้ ้อมูลประกอบการกำหนดกลยุทธ์การพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศทีเ่ ป็นไปตามเป้าประสงค์
ของการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ หลักการสำคญั ของการใช้เคร่ืองมือ SWOT Analysis คือการประเมิน
และวิเคราะหศ์ กั ยภาพของการเป็นเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศจากสภาพการณ์ ๒ ดา้ น คือ

๑) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมหรือปัจจัยภายใน (Internal Factors) หมายถึง การวิเคราะห์
สภาวะภายในของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในมิติของจุดแข็งและจุดอ่อน เพื่อให้ทราบถึงศักยภาพและ
ความสามารถภายในของพื้นที่ตนเอง เช่น ลักษณะที่ตั้งของเมืองอุตสาหกรรม ความเข้มแข็งของชุมชนที่ตั้ง
ลกั ษณะของผู้นำชมุ ชน ทรพั ยากรในชมุ ชน วสั ดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื บุคลากรท่ีมคี วามรู้และทกั ษะเฉพาะทางที่

42

มีความจำเป็นต่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ตลอดจนความพร้อมในการรับมือ เปิดรับเทคโนโลยี
และการเปลี่ยนแปลงของสถานการณต์ ่าง ๆ เป็นตน้

ในการวิเคราะห์สภาพการณ์หรือปัจจัยภายใน สามารถใช้หลักการ ๔M+๑I+๑T เป็นกรอบในการ
วิเคราะห์ได้ ซึ่งประกอบด้วย ๖ มิติ ได้แก่ บุคลากร (Man) งบประมาณ (Money) วัสดุอุปกรณ์ (Material)
การบริหารจัดการ (Management) สารสนเทศ (Information) เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology &
Innovation) ดังภาพท่ี ๓-๕

ภาพที่ ๓-๕ กรอบการวิเคราะห์สภาพการณ์หรอื ปจั จยั ภายใน

บุคลากร
(Man)

เทคโนโลยแี ละนวัตกรรม งบประมาณ
(Technology & (Money)
Innovation)

สารสนเทศ การบริหารจดั การ วสั ดอุ ปุ กรณ์
(Management) (Material)
(Information)

ทีม่ า: สรุปโดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

(๑) ดา้ นบคุ ลากร (Man) หมายถึง ผ้ปู ฏิบตั งิ านควรมีวุฒิการศึกษาตรงกับการปฏิบัติ มีการ
คัดเลือกบุคลากรที่มีความสามารถ พัฒนาบคุ ลากรอยา่ งต่อเนื่อง บุคลากรมคี วามรู้และทกั ษะความเช่ียวชาญ
ทีเ่ กี่ยวข้องกบั การปฏิบตั งิ าน จำนวนผ้ปู ฏิบตั ิงานมเี พยี งพอกับงานในหนา้ ทที่ ุกฝ่าย มคี วามรกั และกระตือรือร้น
ในการทำงาน เปน็ ต้น

(๒) ด้านงบประมาณ (Money) หมายถึง เงินที่จะต้องหามาเพื่อใช้ดำเนินกิจกรรมตามที่
วางแผนไว้ ดังนั้นควรมีงบประมาณเพียงพอ สามารถยืดหยุ่นได้ มีการใช้งบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ
โปร่งใส และผ้เู กี่ยวขอ้ งตอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจในกระบวนการงบประมาณด้วย

(๓) วัสดุอุปกรณ์ (Material) หมายถึง สิ่งสนับสนุนและอำนวยความสะดวกในการ
ปฏิบัติงาน ซึ่งต้องมีความเพียงพอ ทันสมัย อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และผู้เกี่ยวข้องต้องมีความรู้
ความสามารถในการใช้งานวสั ดุอุปกรณน์ ัน้ ด้วย

(๔) ด้านการบริหารจัดการ (Management) หมายถึง การกำหนดวิสัยทัศน์ กำหนด
ภารกิจขององค์กร มีการกำหนดกลยุทธ์และเป้าหมายที่ชัดเจน มีการกระจายอำนาจการบริหารงาน มีการรับ
ฟงั ความคิดเห็นของผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียภายในองค์กร และมีการบริหารจัดการด้วยรูปแบบวธิ ีการทีเ่ หมาะสมกับ
ลักษณะขององค์กร ตลอดจนมกี ารประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงาน

(๕) ด้านสารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูลและการสื่อสาร ซึ่งต้องมีความ
ถูกต้อง ชัดเจน และจัดเก็บอย่างเป็นระบบ โดยผู้ปฏิบัติหน้าที่ทุกฝ่ายต้องมีความเข้าใจในสารที่ได้รับ

43

สอดคล้องตรงกัน มีกระบวนการรับสารและส่งสารที่เป็นระบบ มีการนำระบบฐานข้อมูล (Data-Based) มา
ใช้ในการดำเนินงาน สามารถใช้ข้อมูลในการวิเคราะห์สภาวการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการได้อย่าง
แม่นยำและมีความน่าเชื่อถือ เป็นต้น

(๖) เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology & Innovation) หมายถึง เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมใหม่ ๆ ที่นำมาช่วยเสรมิ ประสิทธิภาพหรือแก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน ตอบสนองต่อภาวะทันสมัย
และช่วยให้การดำเนินงานราบรืน่ บรรลผุ ลสำเร็จและผู้เกี่ยวข้องสามารถปรับตัวเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ
ได้อย่างเหมาะสม

๒) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมหรือปัจจัยภายนอก (External Factors) หมายถึงการวิเคราะห์
สภาวะแวดล้อมภายนอกของเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เป็นการวเิ คราะห์ถึงโอกาสและอุปสรรคเพื่อให้ทราบ
ถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มของสถานการณ์ภายนอกที่อาจกระทบต่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง
นิเวศ เช่น นโยบาย สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สภาพแวดล้อมทางสังคม สภาพแวดล้อมทางการเมือง
สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยีและนวัตกรรมสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ที่จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการพัฒนาเมือง
อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ

ในการวเิ คราะห์สภาพการณ์หรือปัจจัยภายนอก สามารถใชห้ ลักการ PESTEL Analysis2,3 เปน็ กรอบ
ในการวิเคราะห์ได้ ซึ่งประกอบด้วย ๖ มิติ ได้แก่ การเมือง (Politic) เศรษฐกิจ (Economic) สังคมและ
วัฒนธรรม (Social) เทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology & Innovation) สิ่งแวดล้อม (Environment)
และกฎหมาย (Legal) ดังภาพที่ ๓-๖

ภาพที่ ๓-๖ กรอบการวิเคราะห์สภาพการณ์หรือปจั จัยภายนอก

Politic: P

Legal: L PESTEL Economic: E
Social: S
Environment: E Analysis

Technology &
Innovation: T

ทม่ี า: สรุปโดยคณะผจู้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

๒ Kolios, A., & Read, G. 2013. A Political, Economic, Social, Technology, Legal and Environmental (PESTLE) Approach for Risk Identification of the Tidal Industry in the
United Kingdom. Energies, 6(10): 5023-5045.

๓ Yuksel, I. 2012. Developing a Multi-Criteria Decision Making Model for PESTEL Analysis. International Journal of Business and Management, 7(24): 52-66.

44

(1) ปัจจัยดา้ นการเมือง (Politic) เก่ยี วขอ้ งกับนโยบายระดับท้องถิ่นและนโยบายของรฐั บาลในด้าน
ตา่ ง ๆ ท่เี ขา้ มามบี ทบาทหรืออาจสง่ ผลกระทบเชงิ บวกหรือลบตอ่ การดำเนนิ การ

(2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ (Economic) เกี่ยวข้องกับบริบทด้านเศรษฐกิจทั้งในระดับท้องถิ่นและ
ระดับประเทศ โดยมีปัจจัยที่ควรให้ความสำคัญ เช่น GDP อัตราการเติบโตของเศรษฐกิจ รายได้และการ
กระจายรายได้ของคนในชมุ ชน รายได้ประชากร อตั ราการจา้ งงาน และการขยายตัวของชุมชน เปน็ ต้น

(3) ปัจจยั ดา้ นสังคม (Social) เกย่ี วข้องกับมิติของวถิ ีชีวิต การเปลยี่ นแปลงโครงสรา้ งประชากร มิติ
ทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีประจำท้องถิ่น รูปแบบการดำเนินชีวิต (Lifestyle) ทัศนคติและการ
ปรบั ตัวตอ่ สภาวะความทันสมยั ของคนในชมุ ชน

(4) ปัจจัยด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology and Innovation) เกี่ยวข้องกับความ
ทันสมัยและเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เข้ามามีบทบาทต่อทุกมิติในชีวิตมนุษย์ และเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงาน
ต่าง ๆ กระแสของนวัตกรรมเพื่อสังคมที่นำมาใช้แก้ไขปัญหาชุมชน สังคมและสิ่งแวดล้อม ผ่านการวิจัยและ
พัฒนานวัตกรรมที่สามารถตอบสนองการแก้ไขปัญหาให้แก่กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงบุคลากรที่มีทักษะ
ความสามารถดา้ นเทคโนโลยี และช่องทางการเขา้ ถึงเทคโนโลยีของคนในชมุ ชนและในประเทศ

(5) ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม (Environment) เกี่ยวข้องกับประเด็นสำคัญด้านทรัพยากรธรรมชาติ
สภาพภมู ปิ ระเทศ สภาพภูมิอากาศ ภยั พบิ ัตทิ างธรรมชาติ และปัญหาส่ิงแวดล้อมทีส่ ำคัญและเปน็ แนวโน้มของ
โลก เช่น ปญั หาโลกร้อน การลดใชถ้ งุ พลาสติก และ Carbon Credit เปน็ ต้น

(6) ปัจจยั ดา้ นกฎหมาย (Legal) เกี่ยวขอ้ งกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคบั ท่เี ป็นข้อจำกัดหรอื ส่งเสริมการ
ดำเนินงานทั้งทางตรงและทางอ้อม เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติต่าง ๆ กฎหมายผังเมือง
กฎหมายด้านสงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ ตน้

ทั้งนขี้ อ้ มูลจากการวเิ คราะห์ SWOT จะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการกำหนดวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ และ
กลยุทธ์การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศในระดับพืน้ ทท่ี เี่ หมาะสมต่อไป

๓.๕ TOWS Matrix: การวเิ คราะห์เพอ่ื กาหนดกลยทุ ธ์

การวิเคราะห์เพื่อกำหนดกลยุทธ์ หรือ TOWS Matrix เป็นเทคนิคการกำหนดกลยุทธ์ ซึ่งจะเป็น
กระบวนการที่ดำเนินการต่อจากการวิเคราะห์ SWOT โดยนำผลที่ได้จากการวิเคราะห์ SWOT มากำหนด
รูปแบบกลยุทธ์ให้สอดรับและเหมาะสมกับสถานการณ์แวดล้อมและศักยภาพของพื้นที่ เมื่อจับคู่กันแล้วจะได้
กลยุทธ์ทั้งหมด 4 รูปแบบ คือ ๑) กลยุทธ์เชิงรุก (จุดแข็งกับโอกาส :SO) ๒) กลยุทธ์เชิงแก้ไข (จุดอ่อนกับ
โอกาส: WO) ๓) กลยุทธ์เชิงป้องกัน (จุดแข็งกับอุปสรรค: ST) และ ๔) กลยุทธ์เชิงรับ (จุดอ่อนกับอุปสรรค:
WT) ดังภาพท่ี ๓-๗

45

ภาพท่ี ๓-๗ ตาราง TOWS Matrix จดุ แขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses)
๑. ________________ ๑. ________________
ปจั จัยภายใน ๒. ________________ ๒. ________________
๓. ________________ ๓. ________________
ปัจจัยภายนอก
SO WO
โอกาส (Opportunities)
๑. ________________ กลยุทธ์เชงิ รกุ กลยุทธเ์ ชิงแก้ไข
๒. ________________ ใช้จุดแข็งรว่ มกบั โอกาส ใช้โอกาสลดจุดออ่ น
๓. ________________
ST WT
อปุ สรรค (Threats)
๑. ________________ กลยทุ ธเ์ ชงิ ปอ้ งกนั กลยุทธเ์ ชงิ รับ
๒. ________________ ใชจ้ ดุ แข็งรบั มืออปุ สรรค แก้ไขจุดอ่อนและเลีย่ งอปุ สรรค
๓. ________________

ทม่ี า: พัฒนาโดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

1) กลยุทธ์เชิงรุก (SO Strategy) ได้มาจากการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและโอกาส
ภายใต้สถานการณท์ ่ีองค์กร/พน้ื ที่ มีจดุ แขง็ และโอกาสหลายประการ โดยองคก์ ร/พื้นท่ี ต้องกำหนดกลยุทธ์เชิง
รกุ เพื่อดึงเอาจดุ แข็งทม่ี อี ยู่มาเสริมสร้าง ปรับใช้ และฉกฉวยโอกาสตา่ ง ๆ จากภายนอก

2) กลยุทธเ์ ชิงแก้ไข (WO Strategy) ไดม้ าจากการประเมนิ สภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นจดุ อ่อนและโอกาส
ภายใต้สถานการณท์ อี่ งค์กร/พน้ื ท่ี มโี อกาสเป็นข้อไดเ้ ปรยี บดา้ นการพฒั นาอยู่หลายประการ แต่ติดขัดอยู่ตรงท่ี
มีปัญหาอปุ สรรคที่เป็นจดุ อ่อนอยหู่ ลายประการด้วยเช่นกัน โดยองคก์ ร/พืน้ ที่ ควรกำหนดกลยทุ ธ์เชิงแก้ไจเพ่ือ
ลดทอนหรอื ขจดั จุดออ่ นภายในตา่ ง ๆ ใหพ้ รอ้ มท่จี ะฉกฉวยโอกาสจากภายนอก

3) กลยุทธ์เชิงรับ (WT Strategy) ได้มาจากการประเมินสภาพแวดลอ้ มที่เป็นจุดอ่อนและอุปสรรค
ภายใต้สถานการณ์ที่องค์กร/พื้นที่ ต้องเผชิญกับข้อจำกัดจากภายนอกและมีปัญหาจุดอ่อนภายในหลาย
ประการโดยองค์กร/พ้ืนท่ี ควรกำหนดกลยทุ ธ์เชิงรบั เพื่อลดจดุ อ่อน หลบหลกี อุปสรรค และลดความสูญเสียให้
ไดม้ ากทสี่ ุด

4) กลยุทธ์เชิงป้องกัน (ST Strategy) ได้มาจากการประเมินสภาพแวดล้อมที่เป็นจุดแข็งและภัย
คุกคาม ภายใต้สภาพแวดล้อมท่ีไม่เอื้ออำนวยต่อการดำเนินงาน แต่องค์กร/พื้นที่ มีข้อได้เปรียบที่เป็นจุดแข็ง
หลายประการ โดยองค์กร/พ้ืนที่ ควรกำหนดกลยุทธ์เชิงป้องกันเพื่อใช้จุดแข็งที่มีขยายขอบเขตการดำเนินงาน
สรา้ งโอกาสในระยะยาวดา้ นอื่น ๆ

46

๓.๖ การกาหนดตัวชว้ี ดั ผลสาเรจ็ และค่าเป้าหมายในการประเมนิ ผลโครงการ

ในการดำเนินโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จำเป็นต้องมีการ
กำหนดเป้าหมายหรือหน่วยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงาน เพื่อเป็นเครื่องมือที่ใช้ติดตามประเมินผล
โครงการหรือกิจกรรมภายใต้แผนว่าสามารถบรรลุวัตถุประสงคต์ ามแผนและเปา้ หมายท่วี างไว้หรือไม่ และมาก
น้อยเพียงใด ดังนั้นเครื่องมือที่ใช้บอกทิศทางหรือใช้ในการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งเป็นเรื่องของ
การวัดผลสัมฤทธิ์ของโครงการหรือแผนงานนั้น จึงต้องอาศัย “ตัวชี้วัด (Indicator)” ซึ่งจะเป็นสิ่งที่บ่งบอกถงึ
ความก้าวหน้า ความสำเร็จหรือล้มเหลวของกระบวนการดำเนินงานทั้งในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ดังนั้นตัวชี้วัดจึงเป็นมาตรฐานทางสถิติชี้สภาวะบางอย่างเพื่อใช้วิเคราะห์
เก่ียวกับสภาพการณ์หรอื สภาวะการเปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขนึ้ ในกระบวนการดำเนนิ งาน

ปัจจุบันภาครัฐได้มีการนำตัวชี้วัดที่เรียกว่า ตัวชี้วัดผลสำเร็จของการดำเนินงานหลัก (Key
Performance Indicators : KPI) มาเปน็ เครื่องมือในการวัดประสิทธภิ าพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน
โดยเป็นดัชนีชี้วดั หรือหนว่ ยวัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่ถกู กำหนดขึ้น ซึ่งมักกำหนดเป็นตัวเลขท่นี ับได้
และต้องสือ่ ถึงเปา้ หมายในการปฏบิ ัติงานทส่ี ำคัญ เพื่อสรา้ งความชดั เจนในการกำหนด ตดิ ตามและประเมินผล
การปฏิบัตงิ านด้านตา่ ง ๆ

ลักษณะทส่ี ำคัญของตวั ชวี้ ัดตามแนวทางของ SMART Objective มดี งั น้ี
1) Specific: S หมายถึง มีความเฉพาะเจาะจง และมีความหมายมุ่งไปยังส่ิงที่วัดอยา่ งชดั เจน
2) Measurable: M หมายถึง สามารถนำไปวัดผลการปฏิบัติงานได้จริง สามารถให้ค่าหรือบ่งบอก
คุณลักษณะของสิ่งที่ทำการวัดได้ว่ามีปริมาณหรือคุณลักษณะเช่นไร ข้อมูลที่ได้จากการวัดสามารถนำไป
เปรยี บเทียบกับขอ้ มูลที่ได้จากตวั ชว้ี ัดอ่ืนและใช้วิเคราะห์ความหมายทางสถิติได้
3) Attainable/Achievable: A หมายถึง สามารถบรรลุผลสำเร็จได้ (องค์กรไม่ควรตั้งตัวชี้วัดท่ี
องคก์ รไมส่ ามารถควบคุมใหเ้ กิดผลได้โดยตรง)
4) Realistic: R หมายถึง เป็นจริงได้ ทำได้จริง มีความเหมาะสมกับองค์กรและไม่ใช้ต้นทุนการวัดที่
สูงเกนิ ไป
5) Time Bound: T หมายถึง อยู่ภายใต้กรอบเวลาที่เหมาะสม บ่งบอกสถานภาพของสิ่งที่มุ่งวัด
เฉพาะช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น ระยะเวลา 1 สัปดาห์ ระยะเวลา ๑ เดอื น หรือระยะเวลา 1 ปี (ขึน้ อยู่กับการ
กำหนด) สามารถใชว้ ัดผลการปฏบิ ัตงิ านได้ภายในเวลาท่ีกำหนด บ่งบอกสถานภาพของสง่ิ ทม่ี ุ่งวดั เฉพาะในเขต
พื้นที่หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบที่ทำการประเมิน เช่น ระดับตำบล อำเภอ จังหวัด หรือขอบเขตของ
กระบวนการหรอื ผลลพั ธ์ เป็นต้นและควรปรบั ปรุงตัวชี้วดั ให้ทันสมยั อย่เู สมอ

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ได้กำหนดประเภทของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย
เพอื่ ใช้วัดผลการปฏบิ ตั ริ าชการ โดยแบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ประเภท4 ดังภาพที่ ๓-๘

๔ สำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน. ๒๕๕๒. คมู่ อื การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ: แนวทางการกำหนดตวั ชี้วดั และค่าเปา้ หมาย.
สบื ค้นจาก www.personnel.moi.go.th/work/work2/assess/assess_new/pratice/C_2/2_3.pdf

47

ภาพที่ ๓-๘ ประเภทของตัวช้วี ัดและคา่ เป้าหมาย

ตัวช้ีวดั เชงิ ปรมิ าณ

ประเภทของตวั ชว้ี ดั และ ตวั ชว้ี ดั เชงิ ปริมาณทใี่ ช้วดั ส่ิงทีเ่ ป็นนามธรรม
คา่ เป้าหมาย

ตวั ชวี้ ดั เชงิ คุณภาพ

ทม่ี า: สรปุ โดยคณะผูจ้ ัดทำ, ๒๕๖๔ อ้างถงึ ใน สำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น, ๒๕๕๒.

๑) ตวั ชว้ี ัดเชิงปริมาณ คอื ปริมาณทถ่ี ูกกำหนดขึ้นเพ่ือใชว้ ัดสิ่งทีน่ ับได้และเป็นรูปธรรม โดยมีหน่วย
การวดั ชัดเจน เช่น จำนวน ร้อยละ และระยะเวลา เป็นตน้ ดงั ตารางท่ี ๓-๑

ตารางท่ี ๓-๑ ตวั อยา่ งการกำหนดตัวชวี้ ัดเชิงปรมิ าณและค่าเป้าหมาย

ประเภทตวั ชี้วัด ตวั อยา่ งตัวชว้ี ดั หนว่ ยนบั ข้อมลู ปฐี าน คา่ เป้าหมาย
คน
จำนวนผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ๘๐ ๑๐๐
ร้อยละ (๒๕๖๔) (๒๕๖๕)
เชงิ ปรมิ าณ ร้อยละของโครงการที่สามารถดำเนินการสำเร็จ
ได้ตามเปา้ หมาย ๗๐ ๘๐
(๒๕๖๔) (๒๕๖๕)

ท่ีมา: พฒั นาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

๒) ตัวช้วี ัดเชงิ ปริมาณทีใ่ ช้วดั ส่ิงที่เปน็ นามธรรม คอื ปริมาณทถ่ี กู กำหนดข้ึนเพอ่ื ใช้แปลความหมาย
ของสิ่งที่เปน็ นามธรรมท่ีจับตอ้ งไม่ได้ เชน่ ความรูส้ กึ นกึ คดิ ของบุคคล ความคดิ เหน็ ความพึงพอใจ ระดับความ
เข้าใจของผู้เข้ารับการอบรม ฯลฯ ให้สามารถวัดได้เป็นตัวเลขหรือจำนวนในเชิงปริมาณ โดยผู้วัดจะต้องสร้าง
เครื่องมือเพื่อใช้วัดสิ่งที่เป็นนามธรรมเหล่านี้ขึ้น เช่น แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบทดสอบความรู้ความ
เข้าใจ เปน็ ต้น ดงั ตารางที่ ๓-๒

ตารางที่ ๓-๒ ตัวอยา่ งการกำหนดตัวชี้วดั เชงิ ปริมาณที่ใช้วดั สง่ิ ท่เี ปน็ นามธรรมและค่าเป้าหมาย

ประเภทตวั ชี้วัด ตัวอยา่ งตวั ชวี้ ดั หนว่ ยนับ ขอ้ มูลปีฐาน ค่าเป้าหมาย
คะแนน
เชิงปรมิ าณท่ีใช้วดั ระดบั ความพงึ พอใจเฉล่ียของชาวบ้านตอ่ การ ๔.๒๕ ๔.๕๐
ส่งิ ทีเ่ ป็นนามธรรม จัดการสงิ่ แวดลอ้ มชุมชน คะแนน (๒๕๖๔) (๒๕๖๕)

ความรู้ความเข้าใจหลงั การอบรม มากกว่า ๖๐ มากกวา่ ๘๐
(๒๕๖๔) (๒๕๖๕)

ทีม่ า: พัฒนาโดยคณะผู้จัดทำ, ๒๕๖๔.

48

๓) ตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ คอื ตัวช้วี ัดท่ใี ชว้ ัดสง่ิ ทีไ่ ม่เปน็ คา่ เชิงปริมาณหรือเปน็ หน่วยวัดใด ๆ แตจ่ ะเปน็
การวดั ทีอ่ งิ กับค่าเป้าหมายท่ีมลี ักษณะพรรณนา หรอื เปน็ คำอธิบายถึงเกณฑก์ ารประเมนิ ณ ระดบั คา่ เปา้ หมาย
ต่าง ๆ ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายนี้ จึงทำหน้าที่เป็นเกณฑ์หรือกรอบกำกับการใช้วิจารณญาณของผู้ประเมิน
โดยทั่วไปการกำหนดตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ ควรพิจารณาถึง “ค่าเป้าหมาย(Targets)” ควบคู่ไปพร้อมกัน
เนื่องจากชื่อของตัวชี้วัดเชิงคุณภาพมีแนวโน้มที่จะเป็นคำกว้าง ๆ ไม่เฉพาะเจาะจง เช่น ความสำเร็จของการ
พัฒนาระบบงาน ประสทิ ธภิ าพในการจัดทำยทุ ธศาสตร์ เปน็ ต้น ดังตารางที่ ๓-๓

ตารางท่ี ๓-๓ ตัวอยา่ งการกำหนดตัวช้ีวดั เชิงคณุ ภาพ

ประเภท ตัวอย่างตวั ช้วี ดั ข้อมูล คำอธิบายเกณฑ์ประเมนิ
ตัวชี้วดั ปฐี าน
ประสิทธิภาพใน 1 ๒๓ ๔ ๕
เชงิ คุณภาพ การจดั ทำรายงาน N/A
รายงานสง่ รายงานส่ง รายงานสง่ รายงานส่ง รายงานสง่
ไมท่ ันเวลา เรว็ กว่ากำหนด
มากกว่า ๑ ทนั เวลา แต่ ทนั เวลา โดยผู้ ทันเวลา โดยมี โดยไมต่ ้องมี
การปรับแก้ใดๆ
ครัง้ ผบู้ งั คับบัญชา บงั คับบัญชา การปรบั แกเ้ พยี ง

ตอ้ งกำกับดูแล ต้องชว่ ยปรบั แก้ เลก็ นอ้ ย

และต้องใช้ ในระดบั หนง่ึ

ความ

พยายามใน

การปรับแก้

ความสำเร็จในการ N/A ออกแบบ ออกแบบ พัฒนา ทดลองปรบั ใช้ ระบบงานใหม่

พัฒนาระบบงาน ระบบงานแล้ว ระบบงานแล้ว กระบวนการและ ระบบงานใหม่ ถกู นำมาปฏบิ ัติ

เสร็จ เสร็จและผ่าน ระบบงาน ใช้งานโดยท่วั ไป

คามเห็นชอบ

ของผู้บรหิ าร

ทมี่ า: พฒั นาโดยคณะผูจ้ ดั ทำ, ๒๕๖๔ อา้ งถงึ ใน สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น, ๒๕๕๒.

ดังนั้น ค่าเป้าหมาย จึงเป็นสิ่งที่จะช่วยบอกถึงนิยามความหมายหรือความคาดหวังของผลสัมฤทธิ์
ของงานนั้นๆ ค่าเป้าหมายเป็นได้ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เห็นจุดหมาย
ปลายทางว่าการปฏิบัติงานจะประสบความสำเรจ็ ตามตัวชี้วัด (KPIs) ที่กำหนดไว้หรือไม่ และมากน้อยเพียงใด
ภายในกรอบระยะเวลาทรี่ ะบไุ ว้อยา่ งชัดเจน ตัวอย่างดังตารางท่ี ๓-๑

๓.๗ PDCA: วงจรคณุ ภาพ

ในการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจำเป็นต้องนำ หลักวงจรคุณภาพ
(PDCA)5 มาร่วมในการดำเนินการด้วย เนื่องจาก PDCA เป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับการพัฒนาและปรับปรุง
คุณภาพของแผนปฏิบัติการฯ ผ่านการดำเนินงานใน 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวางแผน (Plan) การลงมือปฏิบัติ
ตามแผน (Do) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check) และการปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อยกระดับ

๕ Kocik, M. J. ๒๐๑๗. PDCA cycle as a part of continuous improvement in the production company - a case study.

Production Engineering Archives. 14: 19-22.

49

คุณภาพ (Act) โดยการดำเนินการจะกระทำวนซ้ำไปเรื่อย ๆ จนกว่าจะได้วิธีการปฏิบัติที่สามารถแก้ไขปัญหา
ได้จรงิ ดังภาพที่ ๓-๙

ภาพท่ี ๓-๙ วงจรคุณภาพ PDCA

วางแผนก่อน Plan Do ลงมือปฏบิ ัติ
ดำเนนิ งาน ตามแผน

ปรบั ปรุงการดำเนินงาน Act Check ตรวจสอบผลการ
เพอื่ ยกระดับคุณภาพ ดำเนนิ งาน

ทม่ี า: สรปุ โดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

๑) การวางแผน (Plan) คือการกำหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนงาน กระบวนการหรือวิธีการ
ระยะเวลา บุคลากรและงบประมาณท่ีชัดเจน ในข้นั ตอนนี้จะทำให้ผู้ปฏบิ ัตมิ ีแผนงานลว่ งหนา้ ซึง่ จะช่วยป้องกัน
ปัญหาหรือช่วยลดความสับสนในการดำเนินงาน สามารถใช้ทรัพยากรได้อย่างเพียงพอ ขจัดความสูญเสียใน
รูปแบบต่าง ๆ

๒) การลงมือปฏิบัติตามแผน (Do) คือการปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนดไว้อย่างต่อเนื่อง
ความสำเร็จของการนําแผนมาปฏิบัติต้องอาศัยการทำงานด้วยความร่วมมือจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจน
ตอ้ งมกี ารจัดการทรัพยากรทเี่ หมาะสมเป็นไปตามแผนงาน

๓) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (Check) คือการตรวจสอบดูว่าเมื่อปฏิบัติงานตามแผนผลลัพธ์
เป็นอยา่ งไร สภาพปัญหาไดร้ ับการแก้ไขตรงตามเป้าหมายท่ีกลุ่มต้ังใจหรือไม่ การดำเนนิ ตามแผนแต่ไม่ประสบ
ผลสำเร็จ อาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ เช่น ไม่ปฏิบัติตามแผน หรือการเลือกใช้เทคนิคท่ีไม่เหมาะสม
เป็นต้น

๔) การปรับปรุงการดำเนินงานเพื่อยกระดับคุณภาพ (Act) คือการดำเนินการภายหลังท่ี
กระบวนการ 3 ขั้นตอนตามวงจรได้ดำเนินการเสร็จแล้ว ขั้นตอนน้ีเป็นการนําเอาผลจากข้ันการตรวจสอบมา
ดำเนนิ การใหเ้ หมาะสมตอ่ ไป

กล่าวได้ว่า PDCA เป็นรูปแบบการดำเนินงานที่สอดรับกับแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการการ
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่มีเป้าหมายในการวางแผนเพ่ื อการพัฒนายกระดับพื้นที่มุ่งสู่การเป็น
“เมืองน่าอยู่ คู่อุตสาหกรรม” ดังนั้น คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจึงต้อง
ตระหนักถึงการนำแผนปฏิบัติการฯ มาปรับปรุงและพัฒนาให้ทันสมัยอยู่เสมอ เพื่อให้แนวปฏิบัติ โครงการ
กิจกรรมและงบประมาณมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาวการณ์ของพื้นที่ทั้งในปัจจบุ ันและอนาคต อันจะ
นำมาซง่ึ การพัฒนาพ้ืนทไี่ ดจ้ ริงตามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้

50

๓.๘ Ongoing Evaluation: การประเมนิ ผลในระหวา่ งการดาเนนิ โครงการ

ในการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระหว่างที่โครงการกำลัง
ดำเนินการอยู่หรือหลงั จากท่ีมีการดำเนินโครงการตามแผนปฏบิ ัติการฯ ไปแลว้ ระยะหนง่ึ ควรมีการประเมินผล
เพื่อให้ทราบความก้าวหน้าหรอื ปัญหาในการดำเนินโครงการ อีกทั้งยังเป็นข้อมูลให้แก่คณะทำงานฯ หรือกลุ่ม
บุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บริหารโครงการในระดับต่าง ๆ เพื่อนำผลไปใช้ปรับปรุงโครงการให้
สามารถดำเนินการได้ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่วางไว้ ส่วนใหญ่ข้อมูลที่นำมาใช้ในการประเมินผลจะ
ไดม้ าจากรายงานการติดตามโครงการและการเกบ็ ข้อมลู เพิ่มเติมเทา่ ทจี่ ำเป็น

สำหรับสิ่งที่จะต้องประเมินก็คือกระบวนการดำเนินงาน (Implementation Process) โดยควรเน้น
ใหค้ วามสำคัญกบั การประเมินผลระหวา่ งการดำเนนิ โครงการในประเด็นท่สี ำคัญเหลา่ น้ี 6

๑) ความสอดคล้องของผลการดำเนินงานทเ่ี กดิ ขึ้นกบั วัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนนิ งานของ ระดบั ความสอดคลอ้ งกบั คำอธบิ าย
โครงการ……......................................................... วัตถุประสงค์ของโครงการ ขอ้ ท่ี X

๑. ...... 5 4321
๒. ......
X. ……

ทมี่ า: พฒั นาโดยคณะผจู้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

๒) ความเหมาะสมของทรัพยากรที่นำมาใช้ดำเนินโครงการ พิจารณาจาก ๔M+๑I+๑T ได้แก่
บุคลากร งบประมาณ วสั ดุอปุ กรณ์ การบรหิ ารจดั การ สารสนเทศ เทคโนโลยีและนวตั กรรม

ทรพั ยากรทีน่ ำมาใช้ในการดำเนินงาน ระดับความเหมาะสมของทรพั ยากร คำอธิบาย
โครงการ……....................................................... 5 4321

๑. บคุ ลากร

๒. งบประมาณ

๓. วสั ดอุ ปุ กรณ์

๔. การบรหิ ารจัดการ

๕. สารสนเทศ

๖. เทคโนโลยีและนวตั กรรม

ทม่ี า: พฒั นาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

๖ บญุ เฉดิ โสภณ. ๒๕๔๘. เอกสารประกอบการบรรยาย เรอื่ ง แนวคดิ และขั้นตอนการประเมินโครงการตา่ งๆ. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการการวิจยั แหง่ ชาต.ิ

51

๓) ความก้าวหน้า (Progress) หรือผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นเบื้องต้นในแง่ของปริมาณและ
คณุ ภาพ โดยมตี ัวอย่างดงั นี้

ผลการดำเนนิ งานท่เี กิดขึ้น จำนวน หนว่ ยนับ ร้อยละของผลการ ระดับคณุ ภาพ
ดำเนนิ งานทเ่ี กดิ ข้นึ ของผลการดำเนินงานท่ีเกิดขน้ึ
๑. ...... เทยี บกบั คา่ เปา้ หมาย
๒. ...... ๕๔๓๒๑
X. ……

ที่มา: พัฒนาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔.

๔) จุดแข็ง จุดออ่ น โอกาส และอุปสรรค ทีค่ น้ พบระหว่างการดำเนนิ โครงการ

ประเดน็ ทค่ี ้นพบระหว่างการดำเนินงาน รายละเอยี ด
จุดแขง็
จุดออ่ น
โอกาส
อปุ สรรค

ที่มา: พฒั นาโดยคณะผ้จู ดั ทำ, ๒๕๖๔.

๕) ศกั ยภาพทีโ่ ครงการจะประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
 มศี ักยภาพที่จะประสบผลสำเร็จ เนอื่ งจาก

............................................................................................................................. ...............
 ยงั ขาดศักยภาพทจ่ี ะประสบผลสำเร็จ ในประเดน็ ........................................

เน่อื งจาก.................................................................................................................... .......

................................................................................................................ ..........................

แนวทางแก้ไข.................................................................................................................. ..
..................................................................................................... .....................................

๖) ให้ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานในระหว่างการดำเนินโครงการเพือ่ ให้การ
ดำเนินงานเกิดประสิทธภิ าพและประสิทธิผล

๖.๑ ..................................................................................................................................
๖.x ..................................................................................................................................

ทั้งนี้ในส่วนของรูปแบบการประเมินระหว่างการดำเนินโครงการสามารถปรับเปลี่ยนและประยุกต์ให้
สอดรับกับการดำเนินงานได้ โดยใหค้ ำนงึ ถึงความครอบคลมุ ประเดน็ สำคัญทงั้ ๖ ข้อขา้ งต้น

52



บทท่ี ๔

ข้ันตอนและองค์ประกอบการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ าร

การพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ

เพื่อให้การจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศในพื้นที่เป้าหมายเป็นลักษณะ
เดียวกัน กองพัฒนาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กรมโรงงานอุตสาหกรรม จึงได้จัดทำ “คู่มือการจัดทำแผน
ปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ” เพื่อให้คณะทำงานขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนิเวศ ในพื้นที่เป้าหมายมีแนวทางในการดำเนินงานด้านการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยในบทนี้จะกล่าวถึงขั้นตอนและองค์ประกอบในการจัดทำแผน
ปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อเป็นเครื่องมือให้แก่ผู้ปฏิบัติในการวางกรอบและการ
กำกับติดตามการดำเนินงานด้านการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
ตลอดจนสามารถดำเนินงานได้อย่างครบถ้วนสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมระดับ
จงั หวัดและหน่วยงานส่วนกลาง รวมท้งั บรบิ ทแวดลอ้ มที่เกดิ ขน้ึ ในปัจจุบัน

๔.๑ ขั้นตอนการจัดทาแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศและ

การนาแผนไปปฏบิ ตั ิ

การจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เป็นรูปแบบของการจัดทำแผน
ปฏิบัติการ (Action Plan) ที่กำหนดขึ้นให้สอดคลอ้ งกับเป้าหมาย นโยบาย แผนแม่บท และยุทธศาสตร์ชาติที่
เกี่ยวข้อง รูปแบบการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจะเป็นแผนปฏิบัติการแบบ
บูรณาการท่ีมีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน มีการกำหนดดัชนีหรือตัวชี้วัดผลผลิตและผลลัพธ์ที่ชัดเจน ดังน้ัน
คณะทำงานฯ และผู้ร่วมวางแผนทุกภาคส่วน จึงควรมีความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบของแผนปฏิบัติการฯ
ตลอดจนทราบถึงกระบวนการหรือขั้นตอนในการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ และกระบวนการนำแผนไปปฏิบัติ
เพื่อให้สามารถนำแผนไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดระบบการดำเนินงานท่ีเป็นไปตามวงจร
คุณภาพ (PDCA: Plan, Do, Check, Act) อันจะนำไปสู่ความสามารถในการบรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนา
พ้นื ทแ่ี ละสนองตอบต่อเป้าหมายการพัฒนาทย่ี งั่ ยนื อยา่ งสมบูรณ์

สำหรับพื้นที่เป้าหมายระยะที่ ๑ จำนวน ๑๕ จังหวัด ๑๘ พื้นท่ี มีขั้นตอนการทบทวนและปรับปรุง
แผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะ 5 ปี (พ.ศ.๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ดังภาพที่ ๔-๑ ส่วน
พื้นที่เป้าหมายใหม่ มีขั้นตอนในการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะ 5 ปี
(พ.ศ.๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ดงั ภาพท่ี ๔-๒

53

ภาพท่ี ๔-๑ ขน้ั ตอนการทบทวนและปรับปรงุ แผนปฏิบัตกิ ารการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะ 5 ปี
สำหรับ ๑๕ จังหวดั ๑๘ พ้ืนที่

เร่มิ ต้น

พจิ ารณาร่วมกับ จัดทำข้อมูล Baseline ตามเกณฑ์
แผนแมบ่ ท EIT การพฒั นาและการตรวจสอบและ
ตดิ ตามประเมินผลการดำเนนิ การ
ศกึ ษาบรบิ ทสภาวการณข์ องพืน้ ที่เป้าหมาย การนำเสนอข้อมูล
ตามแผนปฏบิ ตั ิการ EIT ความกา้ วหนา้ EIT
ตามระบบการ Audit
ขอ้ เสนอแนะ ข้อสังเกตจาก

ข้อร้องเรียน/ปญั หา + การตรวจ
จากภาคประชาชน
ประเมิน Eco Forum
ทบทวนปรบั ปรงุ แผนปฏบิ ัตกิ าร EIT

Gap Analysis Scenario Analysis ทบทวน ปรบั ปรงุ แผนปฏิบตั ิการ EIT โดยผา่ นกลไก
โครงสร้างการพัฒนา EIT และพัฒนาพนื้ ทเี่ ปา้ หมายอย่าง

ตอ่ เนื่อง ตามวงจรการบรหิ ารงานคณุ ภาพ PDCA

เปรยี บเทยี บผลการศึกษา จดั ต้งั ศูนย์เรยี นรู้ “เมอื งน่าอยู่ คูอ่ ุตสาหกรรม” ต้นแบบของพ้นื ท่ี
กบั เกณฑ์ขอ้ กำหนด EIT

สรา้ งเครอื ขา่ ย Eco Forum ประชาสมั พันธ์ จัดทำระบบการ
การพฒั นา EIT กำหนดทิศทางการ ศนู ยฯ์ เย่ียมชมศนู ยฯ์

พัฒนา EIT

SWOT Analysis จดั ทำคู่มือ “เมอื งนา่ อยู่ คู่อตุ สาหกรรม” ตน้ แบบของพ้ืนท่ี

TOWs Matrix Eco Forum จดั การความรู้ KM
“เมืองนา่ อยู่ คูอ่ ตุ สาหกรรม” ตน้ แบบ ไปส่คู วามยง่ั ยนื ตอ่ เนื่อง

จดั ทำแผนปฏบิ ัตกิ าร EIT ระยะท่ี ๒ นำสง่ สำเนา “เมอื งน่าอยู่ ค่อู ุตสาหกรรม”
(พ.ศ. ๒๕๖๖-๒๕๗๐) แผนพฒั นาให้
คณะอนุกรรมการ
ผ่านกลไกโครงสร้างการพฒั นา EIT บรู ณาการการ
พัฒนา EIT เพอื่
คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวัด บรู ณาการการ
แบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) พิจารณาบรรจุ ดำเนนิ งานใน
แผนปฏิบัติการ EIT ในแผนพฒั นาจงั หวัด
ภาพรวม

จัดทำแผนปฏบิ ัติการ EIT รายปี

นำแผนปฏบิ ตั ิการ EIT รายปีไปปฏิบตั ิ

ทม่ี า: พฒั นาโดยคณะผจู้ ัดทำ, ๒๕๖๔.

54

ภาพท่ี ๔-๒ ขั้นตอนการจัดทำแผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ ระยะ ๕ ปี สำหรบั พน้ื ทีใ่ หม่

เรม่ิ ต้น คณะกรรมการบรหิ ารงานจงั หวดั นำส่งสำเนาแผนพฒั นา
แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) พิจารณาบรรจุ ให้คณะอนกุ รรมการ
จดั ทำเกณฑ์การคัดเลือก แผนปฏบิ ตั กิ าร EIT ในแผนพัฒนาจังหวัด บูรณาการการพัฒนา
พืน้ ที่เหมาะสม EIT เพอื่ บรู ณาการการ
Eco Forum ครง้ั ท่ี ๓ ดำเนนิ งานในภาพรวม
จัดต้งั คกก. EIT จังหวัด สร้างการขับเคลือ่ นแผน EIT

จดั ทำแผนปฏิบตั กิ าร EIT รายปี

Eco Forum ครั้งท่ี 1 นำแผนปฏบิ ตั ิการ EIT รายปไี ปปฏบิ ตั ิ
เกณฑก์ ารคัดเลือกพ้นื ท่ี
แจง้ อก. เพอ่ื จัดทำขอ้ มูล Baseline ตามเกณฑ์ การนำเสนอขอ้ มลู
พนื้ ทที่ เ่ี หมาะสม มอบหมาย กรอ. การพฒั นาและการตรวจสอบและ ความก้าวหน้า EIT
เหมาะสม จดั ทำประกาศ อก. ติดตามประเมินผลการดำเนินการ ตามระบบการ Audit
กำหนดพื้นท่ี EIT
คัดเลือกพ้ืนทเ่ี ปา้ หมาย ตามแผนปฏบิ ตั กิ าร EIT

จดั ตง้ั คทง. EIT พนื้ ที่

ศึกษาบรบิ ทสภาวการณ์ + ข้อเสนอแนะ Eco Forum ครัง้ ท่ี 4
ของพนื้ ทเี่ ป้าหมาย ข้อร้องเรยี น/ปัญหา ทบทวนปรบั ปรงุ แผนปฏบิ ัติการ EIT
จากภาคประชาชน

Gap Analysis Scenario Analysis ทบทวน ปรบั ปรุงแผนปฏิบตั กิ าร EITโดยผา่ นกลไก
โครงสรา้ งการพฒั นา EIT และพัฒนาพน้ื ทีเ่ ปา้ หมายอย่าง

ต่อเนือ่ ง ตามวงจรการบรหิ ารงานคณุ ภาพ PDCA

เปรยี บเทียบผลการศกึ ษา จัดตั้งศนู ย์เรยี นรู้ “เมอื งนา่ อยู่ คู่อตุ สาหกรรม” ตน้ แบบของพ้ืนที่
กับเกณฑ์ขอ้ กำหนด EIT

สร้างเครอื ขา่ ย Eco Forum ครั้งท่ี 2 ประชาสมั พนั ธ์ จดั ทำระบบการ
การพัฒนา EIT กำหนดทศิ ทางการ ศูนย์ฯ เยีย่ มชมศูนย์ฯ

พัฒนา EIT

จดั ทำคมู่ อื “เมอื งน่าอยู่ คอู่ ตุ สาหกรรม” ตน้ แบบของพื้นที่

SWOT Analysis

TOWs Matrix Eco Forum จดั การความรู้ KM
“เมืองนา่ อยู่ คอู่ ตุ สาหกรรม” ต้นแบบ ไปสู่ความย่งั ยนื ตอ่ เน่ือง
จัดทำแผนปฏบิ ตั กิ าร EIT ระยะ ๕ ปี
ผา่ นกลไกโครงสรา้ งการพัฒนา EIT “เมอื งนา่ อยู่ คู่อุตสาหกรรม”
ที่มา: พฒั นาโดยคณะผจู้ ดั ทำ, ๒๕๖๔. 55

ตารางท่ี ๔-๑ อธบิ ายขั้นตอนการจดั ทำแผนปฏบิ ัติการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศสำหรบั พน้ื ทใ่ี หม่

ลำดบั ข้ันตอน แนวทางการดำเนินงาน ผรู้ ับผดิ ชอบ
หลกั สนับสนุน

๑ การคดั เลือกพนื้ ท่ี ๑.๑ จัดทำเกณฑ์การคดั เลอื กพนื้ ท่ีท่ีเหมาะสม สอจ. กอน.กรอ.

๑.๒ จัดกระบวนการ Eco Forum ครั้งท่ี ๑ เพ่อื รบั ฟงั ความคดิ เห็น

ทิศทางการพัฒนา EIT เกณฑ์การคัดเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมและ สอจ. กอน.กรอ.

เสริมสรา้ งความเปน็ เข้าของรว่ มกัน (Ownership)

๒ การจัดตั้งโครงสร้างการพัฒนา ๒.๑ จัดตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดับ สอจ. กอน.กรอ.

ของพ้นื ท่ี จงั หวดั

๒.๒ คัดเลือกพื้นที่เป้าหมายโดยผ่านคณะกรรมการพัฒนาเมือง สอจ. กอน.กรอ.
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดบั จังหวัด

๒.๓ จัดตั้งคณะทำงานพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศของพ้นื ที่ คกก. EIT จงั หวดั - กอน.กรอ.
เป้าหมาย - ผเู้ ชย่ี วชาญ

๓ การจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการ ๓.๑ ศึกษาและสำรวจบรบิ ทสภาวการณ์ของพน้ื ท่ีเป้าหมาย โดยให้

(Plan: P) นำข้อมลู การพัฒนาจากหน่วยงานต่าง ๆ ในพื้นที่เป้าหมาย รวมทง้ั

ข้อเสนอแนะ ข้อร้องเรียนหรือปัญหาและความต้องการของภาค คทง. EIT พนื้ ท่ี - กอน.กรอ.
ประชาชนมาประกอบพิจารณาด้วย และควรดำเนินการให้ - หนว่ ยงานที่
สอดคล้องเชื่อมโยงกบั เป้าหมายและแผนระดับต่างๆ ของประเทศ
และสอดรับตามนโยบายการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนา เกยี่ วขอ้ ง

พื้นที่ (One Plan) โดยใช้เครื่องมือ Gap Analysis และ Scenario

Analysis

๓.๒ เปรียบเทียบผลการศึกษา ข้อ 3.1 กับเกณฑ์ข้อกำหนดการ - กอน.กรอ.

พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนา คทง. EIT พืน้ ท่ี - หนว่ ยงานท่ี

เมอื งน่าอยู่ คอู่ ตุ สาหกรรมของพ้ืนที่ เกยี่ วข้อง

๓.๓ สร้างเครือข่ายการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ในพื้นท่ี คทง. EIT พื้นที่ - กอน.กรอ.
เป้าหมาย และ Partner Ship ในการพฒั นาพ้นื ทีร่ ว่ มกนั - หนว่ ยงานที่
เกย่ี วข้อง

๓.๔ จัดกระบวนการ Eco Forum คร้งั ท่ี ๒ รับฟังความคิดเหน็ จาก

เครอื ข่าย (ขอ้ 3.3) และภาคประชาชน เกีย่ วกบั ทิศทางการพัฒนา - เครอื ขา่ ย EIT

เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อตอบสนองแนวทางการพัฒนา คทง. EITพืน้ ที่ - ภาคประชาชน
แผนงานโมเดลธุรกิจ (Business Model) บริบทในพื้นที่ แนวทาง - กอน.กรอ.

ปฏิบัติที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และเสริมสร้างการเป็นเจ้าของ - ผู้เชย่ี วชาญ

ร่วมกนั

๓.๕ วิเคราะห์ SWOT Analysis ที่มีผลต่อการพัฒนาพัฒนาเมือง คทง. EIT พ้ืนที่ - กอน.กรอ.
อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ - ผู้เชยี่ วชาญ

๓.๖ TOWs Matrix เพื่อกำหนดมาตรการพัฒนาพัฒนาเมือง คทง. EIT พน้ื ท่ี - กอน.กรอ.
อตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ - ผเู้ ชยี่ วชาญ

๓.๗ จดั ทำแผนปฏิบตั ิการ EIT ระยะ 5 ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

ผ่านกลไกโครงสร้างการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศเพือ่ บรรจุ

ในแผนพัฒนาจงั หวดั โดยดำเนนิ การดังนี้

3.7.1 คณะทำงานขับเคลือ่ นการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิง คทง. EIT พนื้ ที่ - กอน.กรอ.
นิเวศในระดับพื้นที่ รวบรวมแนวทางและข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อ - ผู้เชยี่ วชาญ
จัดทำร่างแผนปฏิบัติการฯ แล้วเสนอคณะกรรมการพัฒนาเมือง และ
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศระดบั จงั หวดั คกก. EIT จังหวดั

3.7.2 คณะกรรมการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศระดบั

จังหวัดพิจารณาอนุมัติแผนปฏิบัติการฯ และเสนอคณะกรรมการ

บริหารงานจงั หวัดแบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.)

56

ลำดับ ขั้นตอน แนวทางการดำเนนิ งาน ผู้รบั ผดิ ชอบ
หลกั สนับสนนุ

๓.๘ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)

พิจารณาบรรจแุ ผนปฏบิ ตั กิ ารการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ

ในแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ. 2566 -2570) และกำหนดเป็น ก.บ.จ. สำนกั งาน
จงั หวัด
เป้าประสงคเ์ ชิงยทุ ธศาสตร์ แผนงาน ตัวชี้วดั และค่าเป้าหมายการ
พัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และนำเสนอสู่แผนงาน

บูรณาการพัฒนาภาคตามขั้นตอน และขอเป็นกรอบในการจัดทำ

งบประมาณรายจ่ายประจำปใี นสว่ นทเ่ี ก่ยี วข้องตอ่ ไป

๓.๙ นำส่งสำเนาแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ. 2561-2565) ตามขอ้

4 เพื่อให้คณะอนุกรรมการบูรณาการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง

นิเวศเพื่อบูรณาการการดำเนินงานและงบประมาณเพื่อจัดทำ เลขา คกก. EIT สำนักงาน
แผนปฏิบตั กิ ารฯ ให้สอดคล้องกับนโยบาย ทิศทาง แนวทาง ตัวชี้วดั จังหวัด (สอจ.) จังหวดั
และกรอบการดำเนินงานการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

และรายงานผลการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ต่อคณะกรรมการ

ขบั เคลื่อนการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ เปน็ ระยะต่อไป

3.10 จดั กระบวนการ Eco Forum ครง้ั ที่ ๓ เพ่ือสร้างการรบั รแู้ ละ - เครอื ขา่ ย EIT
สร้างความตระหนักในการขับเคล่อื นแผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมอื ง คทง. EIT พน้ื ท่ี - ภาคประชาชน
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศร่วมกนั

๔ การดำเนนิ การตามแผนปฏิบัติการ ๔.๑ จัดทำแผนปฏิบตั ิการการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศราย - กอน. กรอ.

(Do : D) ปี เพื่อกำหนดค่าเป้าหมาย ตัวชี้วัด และระดับการพัฒนาเมือง คทง. EIT พ้นื ท่ี - ผู้เชย่ี วชาญ
อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศทกี่ ำหนด

๔.๒ ดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ ให้บรรลุค่าเปา้ หมายตวั ช้วี ดั - กอน. กรอ.

และระดับการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่กำหนดใน คทง. EIT พ้ืนที่ - ผเู้ ชยี่ วชาญ

แผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศรายปี

๕ การตรวจสอบและติดตาม ๕.๑ จัดทำข้อมูล Baseline ตามเกณฑ์การพัฒนาและการ - กอน. กรอ.

ประเมนิ ผล (Check : C) ตรวจสอบและติดตามประเมินผลการดำเนินการตามแผน คทง. EIT พื้นท่ี - ผู้เชย่ี วชาญ
ปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อรองรับการ

ตรวจประเมินเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ

๕.๒ การนำเสนอข้อมูลความกา้ วหนา้ การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรม - กอน. กรอ.

เชิงนิเวศของพื้นที่ตามระบบการตรวจประเมินเมืองอุตสาหกรรม คทง. EIT พื้นที่ - ผูเ้ ชยี่ วชาญ

เชิงนเิ วศ

๕.๓ จดั กระบวนการ Eco Forum ครั้งท่ี ๔ รายงานผลการพฒั นาที่ คทง. EIT พน้ื ท่ี - เครือขา่ ย EIT
ผ่านมา และรับฟังความคิดเห็นจากเครือข่ายการพัฒนาเมือง - ภาคประชาชน

อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เพื่อทบทวนปรับปรุงแผนปฏิบัติการ

การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

๖ การปรับปรุงและพัฒนาอย่าง ๖.๑ ทบทวน ปรับปรุงแผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรม

ต่อเน่ือง (Action : A) เชิงนิเวศโดยผ่านกลไกโครงสร้างการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง คทง. EIT พ้นื ท่ี
นิเวศ และพัฒนาพื้นที่เป้าหมายอย่างต่อเนื่อง ตามวงจรการ คกก. EIT

บริหารงานคุณภาพ PDCA เพื่อยกระดับการพัฒนาสู่การเป็น จงั หวดั เครือข่าย EIT

“เมืองน่าอยู่คู่อุตสาหกรรม” (ทั้งนี้กระบวนการทบทวนและ และ

ปรับปรุงแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศให้ ก.บ.จ.

สอดคล้องกับ ขน้ั ตอนที่ 3 การจดั ทำแผนปฏบิ ตั ิการฯ)

๖.๒ จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ “เมืองน่าอยู่คู่ อุตสาหกรรม” ต้นแบบของ คทง. EIT พื้นท่ี เครอื ข่าย EIT
พ้ืนที่

57

ลำดบั ข้ันตอน แนวทางการดำเนินงาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ
ทม่ี า: พัฒนาโดยคณะผู้จดั ทำ, ๒๕๖๔. หลัก สนบั สนนุ
๖.๓ ประชาสัมพันธ์ศูนย์เรียนรู้ “เมืองน่าอยู่ คู่อุตสาหกรรม”
ต้นแบบของพื้นท่ี คทง. EIT พน้ื ท่ี เครอื ขา่ ย EIT
๖.๔ จัดทำระบบการเยี่ยมชมศูนย์เรียนรู้ “เมืองน่าอยู่
คอู่ ตุ สาหกรรม” ตน้ แบบของพน้ื ที่ โดยเชอื่ มโยงกับเศรษฐกิจชุมชน คทง. EIT พ้นื ท่ี เครือข่าย EIT
ของพนื้ ที่
คทง. EIT พนื้ ที่ -
๖.๕ จัดทำคู่มอื “เมืองน่าอยู่ ค่อู ุตสาหกรรม” ต้นแบบ
คทง. EIT พื้นท่ี เครอื ข่าย EIT
๖.๖ จัดกระบวนการ Eco Forum จัดการความรู้ KM ของ
“เมืองน่าอยู่ คู่อุตสาหกรรม”ต้นแบบของพื้นที่เพื่อนำไปสู่ความ
ยงั่ ยนื ตอ่ เนื่อง

๔.๒ องค์ประกอบของเล่มแผนปฏิบตั กิ ารการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

การเขียนเล่มแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศมี ๗ องคป์ ระกอบ ดงั นี้

๑) หนา้ ปก
ส่วนหน้าปกให้ระบุตราสัญลักษณ์หน่วยงานของผู้จัดทำ พร้อมทั้งระบุชื่อของแผนปฏิบัติการฯ

และหนว่ ยงานของผจู้ ดั ทำ โดยสามารถออกแบบตกแตง่ หน้าปกใหม้ ีความสวยงามไดต้ ามความเหมาะสม ดงั นี้

(ตราสญั ลักษณ)์
แผนปฏิบตั กิ ารการพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐)

พืน้ ท.่ี ........................จงั หวดั ..........................

ช่อื หน่วยงาน

๒) คานา
คำนำเป็นส่วนกล่าวนำให้ทราบถึงวัตถุประสงค์และความจำเป็นของการจัดทำแผนปฏิบัติการ

การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และกล่าวนำให้ทราบว่าแผนปฏิบัติการฯ ดังกล่าวมีสถานภาพความ
สอดคลอ้ งตามกรอบแนวคดิ นโยบายและแผนในทุกระดบั อยา่ งไร

๓) สารบญั

สารบัญเป็นส่วนการนำเสนอหัวข้อที่ปรากฏในแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนเิ วศ จงึ ต้องเรียบเรียงหัวขอ้ ให้ครบถ้วน

58

๔) สว่ นที่ ๑ บทสรุปผู้บริหาร
บทสรุปผู้บริหารเป็นส่วนสรุปสาระสำคัญของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิง

นิเวศที่ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญในการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ เพื่อนำไปกำหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมและภาคส่วนที่เกี่ยวข้องสามารถ
นำไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการดำเนินงานต่อไปได้ ดังนั้นบทสรุปผู้บริหารจึงต้องเรียบเรียงข้อมูลให้มีความ
นา่ เชอ่ื ถอื หนักแน่น ชวนใหต้ ิดตามรายละเอียด และควรเขยี นใหอ้ ยู่ในความยาวไมเ่ กนิ ๑-๒ หนา้

๕) สว่ นที่ ๒ สถานภาพความสอดคลอ้ งกับแผน ๓ ระดับ
สถานภาพความสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๔

ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นส่วนสำคัญท่ีแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศกับนโยบายและแผนงานที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ โดยผู้ปฏิบัติจะต้องรายงานสถานภาพความ
สอดคล้องของแผนปฏบิ ตั ิการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศกับแผนยุทธศาสตร์และนโยบายที่เก่ียวข้อง
กบั แผน ๓ ระดับ ดงั นี้

(๑) ความสอดคล้องกับแผนระดับที่ ๑
ความสอดคล้องกบั แผนระดับที่ ๑ เปน็ การรายงานสถานภาพความเชอ่ื มโยงกบั “ยุทธศาสตร์
ชาติ ๒๐ ปี” โดยระบุรายละเอียดถึงยุทธศาสตร์ชาติในด้านที่เกี่ยวข้อง รวมถึงระบุเป้าหมาย ประเด็น
ยทุ ธศาสตร์ และรายละเอียดการบรรลุเป้าหมายตามยุทธศ์ าสตรช์ าติทเ่ี กยี่ วข้อง
(๒) ความสอดคลอ้ งกับแผนระดบั ท่ี ๒
ความสอดคล้องกับแผนระดับที่ ๒ เป็นการสำรวจสถานภาพความเช่ือมโยงกับ “แผนแม่บท
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผน
ระดับชาติฯ ต่าง ๆ” โดยระบุรายละเอียดถึงประเด็นแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นโยบายและแผนระดับชาติฯ ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และระบุเป้าหมาย
ของแผนยอ่ ย ตลอดจนระบถุ งึ การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนย่อยตามแผนแมบ่ ทฯ ท่ีเกีย่ วข้อง
(๓) ความสอดคล้องกับแผนระดับที่ ๓ (ถา้ มี)
ความสอดคล้องกับแผนระดับที่ ๓ เป็นการสำรวจสถานภาพความเชื่อมโยงกับแผนอื่น ๆ ท่ี
เกย่ี วขอ้ ง อาทิ
- แผนปฏิบตั กิ ารดา้ นการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ๔.๐ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐)
- แผนปฏิบัตกิ ารด้านการพฒั นาอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
- แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการพัฒนาอตุ สาหกรรมแปรรูปอาหาร พ.ศ. 2562 - 2579
- แผนปฏิบัตกิ ารด้านดจิ ทิ ลั ของกระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2563 – 2565
- แผนปฏบิ ตั ิการดา้ นการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ
- แผนปฏบิ ตั ริ าชการระยะ 3 ปี (พ.ศ. 2563 –2565) ของกระทรวงอตุ สาหกรรม
- แผนปฏบิ ตั ริ าชการรายปี พ.ศ. 2564 ของกระทรวงอุตสาหกรรม
- แผนพัฒนาภาคฯ/แผนพัฒนากลุม่ จงั หวดั /แผนพัฒนาจงั หวัด
- ฯลฯ

59

๖) ส่วนที่ ๓ สาระสาคัญของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม

เชิงนิเวศ

สาระสำคญั ของแผนปฏิบัติการการพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ เปน็ หวั ใจสำคัญท่ีนำเสนอ
ถึงบริบทสภาวการณ์ ปัญหา และศักยภาพของพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่ต้องอาศัยหลักวิชาการและ
เครอ่ื งมอื ทเ่ี กยี่ วข้องเขา้ มาชว่ ยในการวเิ คราะห์การจัดทำในส่วนต่าง ๆ โดยอาศัยการมีส่วนรว่ มจากผู้เก่ียวข้อง
อาทิ ภาคีเครอื ข่าย และผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี โดยคณะทำงานฯ จะต้องรายงานสาระสำคัญของแผนปฏิบัติการฯ
อนั เป็นผลจากการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ข้างต้นอย่างเป็นระบบ ซงึ่ มีองค์ประกอบของการรายงานข้อมูล ดังน้ี

(๑) การประเมินบริบทสภาวการณ์ ปญั หา ศกั ยภาพ และความจำเปน็ ของแผนปฏบิ ัติการ
การพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ประกอบดว้ ย
 ข้อมูลสภาวการณแ์ ละศกั ยภาพของพืน้ ที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
 แหลง่ ข้อมูลทุตยิ ภมู ิที่สามารถนำมาใช้ประกอบการวเิ คราะห์ ไดแ้ ก่
- ขอ้ มลู Baseline ของพื้นท่เี มืองอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ
- ขอ้ มูลทั่วไปของจังหวัดและข้อมูลท่ัวไปของอำเภอ
- ขอ้ มูลการประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ (LPA)
- ข้อมูลท่วั ไปขององค์กร หนว่ ยงาน และโรงงานอตุ สาหกรรมในพ้ืนท่ี
- ฯลฯ
 ขอ้ มลู การวิเคราะห์ช่องวา่ ง (Gap Analysis)
 แหล่งขอ้ มลู ทุตยิ ภูมทิ ่สี ามารถนำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่
- ข้อมูลยุทธศาสตรช์ าติ นโยบาย และแผน ๓ ระดับ ทเ่ี กี่ยวข้อง
- ขอ้ มูล Baseline ของพ้นื ทเ่ี มืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ
- ขอ้ มลู ท่วั ไปของจังหวัดและข้อมลู ทว่ั ไปของอำเภอ
- ขอ้ มูลการประเมินประสทิ ธิภาพขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ (LPA)
- ข้อมลู ทั่วไปขององค์กร หน่วยงาน และโรงงานอตุ สาหกรรมในพน้ื ที่
- ฯลฯ
 ขอ้ มูลการวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ท่ีจะเกิดขน้ึ ในอนาคตระยะยาว
(Scenario Analysis)
 แหลง่ ขอ้ มูลทตุ ยิ ภูมิท่ีสามารถนำมาใช้ประกอบการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่
- ขอ้ มลู สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ้ ม และเทคโนโลยี
ภายในประเทศและต่างประเทศ
- ขอ้ มูล Baseline ของพื้นทเ่ี มืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ
- ขอ้ มลู ทว่ั ไปของจังหวดั และข้อมลู ทว่ั ไปของอำเภอ
- ข้อมลู การประเมินประสิทธภิ าพขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ (LPA)
- ขอ้ มูลทว่ั ไปขององค์กร หน่วยงาน และโรงงานอตุ สาหกรรมในพืน้ ที่
- ฯลฯ

60

 ขอ้ มลู การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายในและสภาพแวดลอ้ มภายนอก (SWOT Analysis)
 แหลง่ ขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิทส่ี ามารถนำมาใช้ประกอบการวเิ คราะห์ ได้แก่

- ข้อมูล Baseline ของพนื้ ที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
- ขอ้ มูลการประเมนิ ประสทิ ธิภาพขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ (LPA)
- ข้อมลู การวิเคราะห์ SWOT ระดบั จังหวดั
- ขอ้ มลู การวเิ คราะห์ SWOT ระดับอำเภอและตำบล
- ข้อมลู การวเิ คราะห์ SWOT ขององค์กร หนว่ ยงาน และโรงงานอุตสาหกรรมในพนื้ ท่ี
- ข้อมลู การวิเคราะห์ SWOT ของชุมชนในพนื้ ท่ี
- ฯลฯ

หมายเหตุ: นอกจากจะใช้ข้อมูลทุตยิ ภูมิท่ีมีการเก็บรวบรวมไว้มาประกอบในการวิเคราะห์
ข้อมูลแล้ว คณะทำงานฯ ยังสามารถดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลใหม่ได้ตามความจำเป็น โดยให้
ยึดหลักความถูกต้อง ความทันสมัยของขอ้ มูล และประสิทธภิ าพในการดำเนนิ การเป็นหลัก

ข้อมูลการกำหนดกลยุทธก์ ารดำเนินงานของแผนปฏบิ ัติการการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ (TOWS Matrix)

(๒) สาระสำคญั ของแผนปฏิบัตกิ ารการพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ ประกอบด้วย
 วิสยั ทศั น์
 พนั ธกจิ
 แนวทางการพฒั นา เป้าประสงค์ ตัวช้วี ดั ค่าเป้าหมาย และกลยุทธ์
 โครงการ งบประมาณและบทบาทผรู้ ับผิดชอบ

(๓) การนำแผนไปสู่การปฏบิ ตั ิ การติดตาม และประเมินผล

๗) สว่ นท่ี ๔ ภาคผนวก
ภาคผนวกเป็นส่วนท่ีคณะทำงานฯ สามารถเพิ่มเติมข้อมูลหรือคำอธิบายเพิ่มเติมนอกเหนือจาก

เนื้อหาของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยรายการในภาคผนวกนี้ต้องเป็นส่วนท่ี
เกี่ยวข้องและนำมาเสริมเนือ้ หาของแผนปฏบิ ัติการฯ ใหส้ มบรู ณ์ยง่ิ ข้ึน อาทิ

- รายละเอียดโครงการแบบย่อ (Project Brief) ที่อยู่ในแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

- ความเชื่อมโยงแผนปฏิบัติราชการกระทรวงอุตสาหกรรม แผนปฏิบัติราชการสำนัก
ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม และแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

- ภาพกิจกรรมหรือโครงการ
- ภาพกจิ กรรม Eco Forum หรอื กจิ กรรมการรับฟังความคดิ เหน็ จากผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย
- คำสง่ั แตง่ ตั้งคณะทำงาน
- ฯลฯ

61

๔.๓ รปู แบบการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ

ในส่วนน้ีนำเสนอถึงรูปแบบการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ เพื่อเป็นแนวทางให้คณะทำงานฯ สามารถ
เรียบเรียงข้อมูลตามองค์ประกอบที่สำคัญอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วยหัวข้อหลัก ๓ ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ ๑
บทสรุปผู้บริหาร ส่วนที่ ๒ สภาพความสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ และส่วนที่ ๓ สาระสำคัญของ
แผนปฏิบตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยแตล่ ะส่วนมรี ูปแบบการจัดทำดงั นี้

ส่วนท่ี ๑ บทสรปุ ผู้บรหิ าร

........................................สรุปสาระสำคัญ ความยาวประมาณ ๑-๒ หน้า.............................................
............................................................................................................................. .................................

สว่ นท่ี ๒ สภาพความสอดคลอ้ งกับแผน ๓ ระดบั

๒.๑ ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดับที่ ๑)

๒.๑.๑ ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ่ี .... ด้าน ...........................................................................................
๑) เป้าหมาย..................................................................................................................
๒) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์..................................................................................................
๓) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ...................................................................
(โปรดระบุวา่ แผนปฏบิ ตั กิ ารฯ สามารถส่งผลต่อการบรรลเุ ปา้ หมายยุทธศาสตร์ชาติ
ไดอ้ ย่างไรบ้าง)

๒.๑.๒ ยุทธศาสตรช์ าตทิ ่ี .... ด้าน ..........................................................................................
๑) เป้าหมาย.................................................................................................................
๒) ประเดน็ ยุทธศาสตร์.................................................................................................
๓) การบรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตรช์ าติ..................................................................
(โปรดระบวุ ่าแผนปฏิบตั ิการฯ สามารถส่งผลตอ่ การบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ
ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง)

หมายเหตุ: สามารถสอดคล้องกับยทุ ธศาสตร์ชาตไิ ดม้ ากกว่า ๑ ยุทธศาสตร์/เป้าหมาย/ประเด็นยทุ ธศาสตร์
ทั้งน้ตี ้องอธิบายความสอดคลอ้ งโดยละเอยี ด

62

๒.๒ แผนระดบั ท่ี ๒ (เฉพาะส่วนท่เี ก่ียวข้อง)

๒.๒.๑ แผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ
ประเด็น............................................................................................................................. ...
๑) เปา้ หมายระดับประเดน็ ของแผนแม่บทฯ
(๑) เป้าหมายท.่ี .............................................................................................................
(๒) เป้าหมายท.่ี ...........................................(กรณีแผนแมบ่ ทฯ มีมากกว่า ๑ เป้าหมาย)
การบรรลุเปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ:
.......................................................................................................... ......................
(โปรดระบุแผนปฏิบัตกิ ารฯ ของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายในระดับ
ประเดน็ ของแผนแม่บทฯ ทีว่ ัดผลสัมฤทธิ์ โดยตัวชีว้ ดั ทก่ี ำหนดไวใ้ นแตล่ ะเป้าหมาย
อยา่ งไร และ (ถ้ามี) คิดเปน็ สดั ส่วนหรอื ร้อยละเทา่ ไรของคา่ เปา้ หมาย)
๒) แผนย่อยของแผนแมบ่ ทฯ ……………….…....…….............................................................
(๑) แนวทางการพัฒนา
............................................................................................................................. ...
(๒) เปา้ หมายของแผนยอ่ ย
................................................................................................................................
(๓) การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ
................................................................................................................................
(โปรดระบุว่าแผนปฏิบัติการฯ ของท่านสามารถส่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายใน
ระดับแผนย่อยของแผนแม่บทฯที่วัดผลสัมฤทธิ์โดยตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในแต่ละ
เป้าหมายอยา่ งไรและ (ถ้าม)ี คิดเป็นสัดสว่ นหรอื ร้อยละเทา่ ไรของคา่ เป้าหมาย)
ประเด็น............................................................................................................................. .
๑) เปา้ หมายระดับประเด็นของแผนแมบ่ ทฯ
๒.(๒๑.)๒เปแ้าผหนมกาายรทปี่.ฏ...ิร..ูป...ป..ร..ะ..เ..ท..ศ..........................................................................................

ด้าน ................๒...)....แ...ผ..น...ย..่อ..ย...ข..อ..ง..แ...ผ..น..แ...ม..บ่...ท...ฯ...…...…...…...…...…...…....….......……............................................................
(๑) แ...น.๑.ว..)ท...เา.ร.ง.อื่ .ก.ง.า./.ร.ป.พ.ร..ัฒะ..เ.น.ด..าน็...ก..า..ร..ป...ฏ..ริ..ปู..................................................................................
(๒) เป๒้าห) มขา้ันยตขออนงกแาผรนดยำ่อเนยินงาน
(๓) .ก..า.๓.ร..)บ...กร..ริจ..ลก..ุเ.รป..ร.า้.ม.ห...ม..า..ย..ต...า..ม..แ...ผ..น...ย..่อ..ย...ข..อ..ง..แ...ผ..น..แ...ม..่บ...ท...ฯ..................................................
...๔...)...เ.ป...า้ ..ห..ม...า..ย..ก..จิ...ก..ร..ร..ม...........................................................................................

.

หมายเหตุ: สามารถสอดคล้องกบั แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาตไิ ดม้ ากกว่า ๑ ประเดน็
ท้ังน้ีตอ้ งอธิบายความสอดคลอ้ งโดยละเอียด

63

๒.๒.๒ แผนการปฏริ ปู ประเทศ
ดา้ น............................................................................................................................. .........
๑) เรือ่ ง/ประเดน็ การปฏิรปู
................................................................................................. ....................................
๒) ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน
๒.๑).............................................................................................................................
๒.X)............................................................................................................................ .
๓) กจิ กรรม
๓.๑)............................................................................................................................ .
๓.X)............................................................................................................ .................
๔) เปา้ หมายกจิ กรรม
๔.๑)............................................................................................................................ .
๔.X)............................................................................................................................ .

หมายเหตุ: สามารถสอดคล้องกับแผนการปฏริ ูปประเทศได้มากกวา่ ๑ ด้าน ทง้ั นต้ี อ้ งอธบิ ายความสอดคลอ้ งโดยละเอียด

๒.๒.๓ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒
๑) วตั ถุประสงค์ที่เกี่ยวข้อง
(๑.๑) วัตถปุ ระสงคท์ .ี่ .....................................(หลัก/รอง).............................................
๒) เป้าหมายรวมทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
(๒.๑) เปา้ หมายรวมที่ ..................................(หลกั /รอง)..............................................
๓) ยุทธศาสตรท์ ี่ ...............................................(หลกั ).......................................................
(๓.๑) เป้าหมายระดับยุทธศาสตรท์ ี่ ..............................(หลกั /รอง)..............................
(๓.๒) แนวทางการพัฒนาท่ี ..........................................(หลกั )......................................
(๓.๓) แนวทางการพฒั นาที่ ..........................................(รอง).......................................
(๓.X) แนวทางการพฒั นาที่ ..........................................(รอง).......................................
๔) ยุทธศาสตรท์ ่ี ................................................(รอง).......................................................
(๔.๑) เป้าหมายระดบั ยุทธศาสตรท์ ี่ ..............................(หลกั /รอง).............................
(๔.๒) แนวทางการพฒั นาท่ี ..........................................(หลกั ).....................................
(๔.๓) แนวทางการพัฒนาที่ ..........................................(รอง)......................................
(๔.X) แนวทางการพฒั นาท่ี ..........................................(รอง)......................................

หมายเหตุ: สามารถสอดคลอ้ งได้มากกว่า ๑ ยุทธศาสตร์/เป้าหมายระดบั ยุทธศาสตร/์ แนวทางการพฒั นา
ท้งั นีต้ ้องอธิบายความสอดคล้องโดยละเอยี ด

64

๒.๒.๔ นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ
๑) นโยบายความม่นั คงแห่งชาตทิ ี่ ....
๒) แผนระ๑ด)บั นชโายตบิวา่ายดค้ววยาคมวมาน่ั มคมง่นั แคหง่งแชหา่งตชิทา่ีต..ิ.ร. องรบั นโยบายท่ี ....
๓) เปา้ หม๒า)ยแเชผิงนยรทุ ะธดศบั าชสาตตรวิ์..า่..ด..้ว..ย...ค..ว..า..ม...ม..่ัน...ค..ง..แ..ห...่ง..ช..า..ต...ิ .ร..อ..ง..ร..บั...น..โ..ย..บ...า..ย..ท...ี่..........
๔) ตวั ชี้วัด๓..)..เ..ป..า้..ห...ม..า..ย...เ.ช..ิง..ย..ทุ...ธ..ศ..า..ส...ต..ร..์..................................................................
๕) กลยทุ ธ์............................................................................................................

หมายเหตุ: สามารถส๔อด) คตลวั ้อชงว้ีไดัด้มากกวา่ ๑ นโยบายความม่นั คงแหง่ ชาต/ิ แผนระดบั ชาติว่าด้วยความมั่นคงแหง่ ชาต/ิ
เปา้ หมาย๕/ก)ลกยลุทยธุท์ ธ์

๒.๓ แผนระดบั ท่ี ๓ ท่ีเกย่ี วขอ้ ง (ถา้ มี)

๒.๓.๑ แผน................(ชอื่ แผนระดบั ที่ ๓).................โดย........(ชือ่ หน่วยงานเจ้าของแผน)..........
๒.๓.๒ แผน................(ชอื่ แผนระดับที่ ๓).................โดย........(ช่อื หน่วยงานเจ้าของแผน)..........
๒.๓.X แผน................(ช่ือแผนระดบั ที่ ๓).................โดย........(ช่ือหน่วยงานเจา้ ของแผน)..........

หมายเหตุ: สามารถสอดคล้องได้มากกวา่ ๑ แผนระดับท่ี ๓ โดยสามารถเป็นไดท้ ้ังแผนระดบั ๓ ของหน่วยงานเอง
และหน่วยงานอน่ื ๆ ทม่ี แี ผนระดบั ๓ ทเี่ กย่ี วข้อง ทัง้ นี้ต้องอธิบายความสอดคลอ้ งโดยละเอียด

สว่ นที่ ๓ สาระสาคัญของแผนปฏบิ ตั ิการการพฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

ระยะ........ปี (พ.ศ. .......... – .........) พื้นท.่ี ..............................จงั หวัด...............................

ในการจัดทำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะ............ปี (พ.ศ. .....-.....)
พื้นที่......................จังหวัด......................... มีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีแผนยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับแผน ๓
ระดับ ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติกำหนดโครงการ แผนการปฏิบัติงาน แผนการใช้จ่ายงบประมาณที่สอดคล้อง
เปน็ ไปในทิศทางเดียวกันและสามารถกำกบั ติดตามประเมินผลได้

หมายเหต:ุ สามารถเพมิ่ เตมิ ข้อมลู ในสว่ นนำไดต้ ามความเหมาะสม

65

๓.๑ การประเมินบริบทสภาวการณ์ ปัญหา ศักยภาพ และความจาเป็นของแผนปฏิบัติการ

การพฒั นาเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

๓.๑.๑ สภาพท่วั ไปของพน้ื ที่เมืองอุตสาหกรรมเชงิ นเิ วศ

๑) ด้านกายภาพ/โครงสรา้ งพืน้ ฐาน......................................................................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................................ ..................

๒) ดา้ นเศรษฐกิจ..................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

๓) ดา้ นสง่ิ แวดล้อม...............................................................................................................
....................................................................................................... .......................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................

๔) ด้านสังคม........................................................................................................................
......................................................................................................................................................... .....
........................................................................................................................ ......................................
............................................................................................................................. .................................

๕) ดา้ นการบริหารจัดการ.....................................................................................................
...................................................................................................................... ........................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................

หมายเหตุ: สามารถเพมิ่ เตมิ ข้อมลู ไดต้ ามความเหมาะสม

๓.๑.๒ สภาวการณแ์ ละศักยภาพของพืน้ ทเี่ มอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ

ข้อมูลสภาวการณ์และศักยภาพของพื้นที่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ได้มาจากการ
วิเคราะห์ช่องว่าง (Gap Analysis) การวิเคราะห์คาดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นใน
อนาคตระยะยาว (Scenario Analysis) และการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อม
ภายนอก (SWOT Analysis) เพื่อนำข้อมูลมาพิจารณาดำเนินการกำหนดกลยุทธ์สำหรับการจัดทำ
แผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ด้วย TOWS Matrix และออกแบบแนวทางการ
พฒั นา เป้าประสงค์ ตวั ช้ีวัด คา่ เปา้ หมาย กลยทุ ธ์ และโครงการ ทมี่ ีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล

66

๑) การวิเคราะหช์ ่องว่าง (Gap Analysis)

Gap Analysis เปน็ การวิเคราะหส์ ถานการณใ์ นส่วนท่เี ปน็ ชอ่ งว่างระหว่างเปา้ หมายท่ี
ตอ้ งการบรรลุผลสำเร็จเปรียบเทียบกับสถานการณ์และปัญหาของพ้ืนท่เี มืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศใน
ปัจจุบัน ทำให้เห็นช่องว่างที่เกิดขึ้นและนำช่องว่างดังกล่าวไปวิเคราะห์หาวิธีการต่าง ๆ เพื่อนำไป
พัฒนาและจัดทำแผนยุทธศาสตรเ์ พื่ออุดช่องว่างทีเ่ กดิ ขึ้น โดยการวิเคราะห์ช่องว่างของการเป็นเมอื ง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศสามารถใช้เกณฑ์คุณลักษณะการเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ๕ มิติ ๒๐
ดา้ น เปน็ กรอบในการวิเคราะหไ์ ด้ดังน้ี

การวเิ คราะหช์ ่องวา่ ง (Gap Analysis)

ประเดน็ เป้าหมาย สถานการณ์การดำเนินการ ชอ่ งวา่ งใน ขอ้ เสนอแนะ
การพฒั นา
มิตกิ ายภาพ กรอกข้อมลู (ความสำเรจ็ และปญั หา) กรอกขอ้ มลู
เป้าหมายท่ี กรอกขอ้ มูล แนวทางพัฒนา
(พจิ ารณาการวางผังทตี่ ้ัง/การจัดพ้นื ที่ และ ต้องการจะ กรอกขอ้ มูล ชอ่ งว่างในการ ปรับปรุงแก้ไข
การออกแบบอาคารและบรเิ วณโดยรอบ) บรรลผุ ลสำเรจ็ - สถานการณค์ วามสำเร็จของพืน้ ที่
- สถานการณ์ปัญหาของพ้ืนท่ี พฒั นา
มติ เิ ศรษฐกิจ

(พจิ ารณาเศรษฐกิจอุตสาหกรรม เศรษฐกจิ
ทอ้ งถิน่ การตลาด และการขนสง่ )

มิตสิ ่ิงแวดลอ้ ม

(พจิ ารณาการจัดการคณุ ภาพนำ้ คณุ ภาพ
อากาศ กากของเสียและวสั ดุเหลอื ใช้
พลังงาน เหตเุ ดอื ดรอ้ นรำคาญ กระบวนการ
ผลิต ประสทิ ธภิ าพเชงิ นเิ วศ การจดั การดา้ น
ความปลอดภยั และสขุ ภาพ และการเฝา้
ระวังคุณภาพสิง่ แวดล้อม)

มติ ิสงั คม

(พิจารณาคณุ ภาพชวี ิตสังคมของพนกั งาน
และคณุ ภาพชวี ติ ของคนในทอ้ งถนิ่ โดยรอบ)

มติ กิ ารบรหิ ารจัดการ

(พิจารณาการจดั การพน้ื ทอี่ ยา่ งมีส่วนร่วม
การพัฒนาและรักษาระบบบริหารระดบั
สากล และขอ้ มลู ข่าวสารและการรายงาน)

หมายเหตุ: สามารถปรบั รปู แบบการนำเสนอไดต้ ามความเหมาะสม ทงั้ น้ีตอ้ งมคี วามครบถว้ นตามหัวขอ้ ที่กำหนด

67

๒) การวิเคราะห์คาดการณ์แนวโนม้ ของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตระยะยาว
(Scenario Analysis)

Scenario Analysis เป็นการวิเคราะห์และคาดการณ์สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงใน
อนาคตและแนวโน้มที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ โดยการพิจารณาแนวโน้ม
(Trends) ที่มองเห็นอยู่ในปัจจุบันและความไม่แน่นอน (Uncertainties) ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
โดยเฉพาะเหตุการณ์ท่ีมีความสำคัญ สง่ ผลกระทบในวงกว้าง และมีโอกาสเกิดข้ึนสูง เพ่ือใช้ประกอบการ
พิจารณาจัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่สามารถรองรับสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยในการวเิ คราะหส์ ามารถใช้ STEEP Analysis เปน็ กรอบในการวิเคราะหไ์ ดด้ ังนี้

การวิเคราะหค์ าดการณ์แนวโน้มของสถานการณ์ทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตระยะยาว (Scenario Analysis)

ประเด็น สถานการณป์ จั จบุ นั และ โอกาสท่จี ะสง่ ผลกระทบต่อการ
แนวโนม้ ในอนาคต พฒั นาเมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ

สงั คม สถานการณป์ ัจจบุ นั : …………………….… ผลกระทบเชงิ บวก: …………………….…...
……………………………………………………... ……………………………………………………...
(อาทิ การเปลย่ี นแปลงโครงสรา้ งประชากร การ แนวโน้มในอนาคต: …………………….…... ผลกระทบเชิงลบ: …………………….…...
ขยายขอบเขตความเปน็ เมอื งการเปลยี่ นแปลง ……………………………………………………... ……………………………………………………...
พฤตกิ รรมในการดำเนนิ ชวี ติ ฯลฯ)

เทคโนโลยี

(อาทิ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

การสอื่ สาร การพัฒนาเทคโนโลยกี ารเกษตร
เทคโนโลยีด้านพลงั งาน เทคโนโลยชี วี ภาพ

และการถา่ ยทอดเทคโนโลยี ฯลฯ)

เศรษฐกิจ

(อาทิ กระแสโลกาภวิ ตั น์ อุตสาหกรรมทเ่ี ป็นมติ ร
กับส่งิ แวดลอ้ ม การพัฒนาเครอื ข่ายคมนาคม
ขนสง่ เศรษฐกจิ หมนุ เวยี น การรวมกล่มุ ทาง
เศรษฐกิจ ฯลฯ)

สง่ิ แวดล้อม

(อาทิ ความเสอ่ื มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ
การเปลยี่ นแปลงสภาพภมู อิ ากาศ ผลกระทบของ
ปัญหาสิ่งแวดลอ้ มตอ่ สุขภาพ การพฒั นาบนฐาน
การใช้ประโยชนจ์ ากระบบนิเวศ
การเปล่ยี นแปลงการใชป้ ระโยชนท์ ดี่ ิน
การผลติ พลังงานจากพลังงานหมนุ เวยี น ฯลฯ)

การเมอื งและกฎหมาย

(อาทิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน การกระจาย
อำนาจสทู่ อ้ งถนิ่ และกระบวนการยตุ ธิ รรมด้าน
สงิ่ แวดลอ้ ม ฯลฯ)

หมายเหตุ: สามารถปรบั รูปแบบการนำเสนอไดต้ ามความเหมาะสม ทงั้ นต้ี อ้ งมคี วามครบถ้วนตามหัวขอ้ ทกี่ ำหนด
68

๓) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก (SWOT

Analysis)

SWOT Analysis เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพทั้งปัจจัยภายในและ
ภายนอกเพื่อประเมินสถานการณ์ของหน่วยงานและสภาพแวดล้อมในสถานการณ์ต่าง ๆ ซึ่งจะ
ทำใหไ้ ด้ขอ้ มูลประกอบการกำหนดกลยุทธก์ ารพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ

ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมหรือปัจจัยภายใน (Internal Factors) ของเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ประกอบด้วยการวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน สามารถใช้หลักการ
๔M+๑I+๑T เป็นกรอบในการวเิ คราะห์ไดด้ งั นี้

จดุ แขง็ (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses)

๑. ดา้ นบคุ ลากร (Man)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๒. ด้านงบประมาณ (Money)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๓. ดา้ นวสั ด/ุ อปุ กรณ์ (Material)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๔. ด้านการบรหิ ารจดั การ (Management)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X ....................................................................................... X) .......................................................................................

๕. ด้านสารสนเทศ (Information)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๖. ดา้ นเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology & Innovation)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

หมายเหตุ: สามารถเพ่ิมเติมประเดน็ การวเิ คราะห์และปรบั รปู แบบการนำเสนอไดต้ ามความเหมาะสม ทง้ั น้ตี ้องมีความ
ครบถ้วนตามหวั ข้อท่ีกำหนด

69

ในการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมหรือปัจจัยภายนอก (External Factors) ของเมือง
อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ประกอบด้วยการวิเคราะห์โอกาสและอุปสรรค สามารถใช้หลักการ
PESTEL Analysis เปน็ กรอบในการวิเคราะห์ได้ดังนี้

โอกาส (Opportunities) อุปสรรค (Threats)

๑. ด้านการเมือง (Politic)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๒. ด้านเศรษฐกิจ (Economic)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๓. ดา้ นสงั คมและวฒั นธรรม (Social)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๔. ด้านเทคโนโลยีและนวตั กรรม (Technology & Innovation)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X ....................................................................................... X) .......................................................................................

๕. ด้านสิ่งแวดลอ้ ม (Environment)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

๖. ดา้ นกฎหมาย (Legal)

๑) ....................................................................................... ๑) .......................................................................................
X) ....................................................................................... X) .......................................................................................

หมายเหตุ: สามารถเพ่ิมเตมิ ประเด็นการวิเคราะหแ์ ละปรบั รูปแบบการนำเสนอไดต้ ามความเหมาะสม ท้ังนตี้ อ้ งมีความ
ครบถว้ นตามหวั ข้อทก่ี ำหนด

70

๔) การกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมือง
อตุ สาหกรรมเชงิ นเิ วศ (TOWS Matrix)

เมอื่ ได้ทราบจดุ แขง็ จุดออ่ น โอกาส และขอ้ จำกัดหรอื อุปสรรค ตามทก่ี ล่าวมาข้างต้นแล้ว
จงึ นำมากำหนดกลยทุ ธ์ในการดำเนนิ งาน โดยการนำจดุ แข็ง (Strengths) จุดออ่ น (Weaknesses) โอกาส
(Opportunities) และอุปสรรค (Threats) มาวิเคราะห์เพื่อหามาตรการเชิงรุก มาตรการปรับปรุง
มาตรการเชิงป้องกัน และมาตรการเชิงหลีกเลี่ยง โดยกลไก TOWS Matrix เพื่อกำหนดมาตรการเชิง
กลยทุ ธ์ ได้ดงั นี้

T

หมายเหตุ: สามารถปรับรูปแบบการนำเสนอไดต้ ามความเหมาะสม ท้งั น้ีต้องมคี วามครบถว้ นตามหวั ขอ้ ทกี่ ำหนด

71

๓.๒ สาระสาคัญของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ระยะ.......ปี
(พ.ศ. ... - ... ) พื้นท.่ี .........................จงั หวัด............................

๓.๒.๑ วิสัยทัศน์
………………………………………………………………………..…………………………………………………….………

๓.๒.๒ พันธกจิ
……………………………………………………………………………………………………..……………………….………

๓.๒.๓ แนวทางการพฒั นา วตั ถุประสงค์ เปา้ หมาย ตัวช้ีวัด กลยุทธ์ และโครงการ

๑) แผนปฏิบตั กิ าร ดา้ น.............................................................................................

(๑) วตั ถุประสงค์
……………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………..………………………………

(๒) เป้าหมาย
……………………………………………………………………………..………………………………
……………………………………………………………………………..………………………………

(๓) ตัวชวี้ ัด

ตวั ช้วี ัด หนว่ ยนับ ข้อมูล ปงี บประมาณ พ.ศ. หน่วยงาน
ปีฐาน ทีรบั ผดิ ชอบ
๒๕XX ๒๕XX ๒๕XX ๒๕XX ๒๕XX

(๔) แนวทางการดำเนนิ การ/พัฒนา
(๔.๑) ……………………………………………………………………..……………………………
(๔.๒) ……………………………………………………………………..……………………………
(๔.๓) ……………………………………………………………………..……………………………
(๔.X) ……………………………………………………………………..……………………………

หมายเหตุ: ต้องมีความสอดคลอ้ งกบั แนวทางการพัฒนาของแผนระดับ ๒ ทีเ่ กี่ยวข้อง โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติในประเดน็ (และแผนยอ่ ย) ที่เกยี่ วข้อง โดยทก่ี ารดำเนินการจะต้องสามารถนำไปสผู่ ลสัมฤทธ์ติ าม
เป้าหมายระดับแผนยอ่ ย และเป้าหมายระดับประเดน็ ได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม)

72

(๕) กลยุทธ์ โครงการและงบประมาณทีจ่ ะดำเนินการในแผนปฏบิ ัติการด้าน.................

ปีงบประมาณ กลยุทธ์ โครงการ งบประมาณ หนว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ
๒๕XX กลยทุ ธท์ ่ี ๑ ….……………………….. (บาท)
๒๕XX กลยุทธท์ ่ี X ….……………………….. ๑) โครงการ......................................
กลยทุ ธท์ ่ี X ….……………………….. ๒) โครงการ......................................
X) โครงการ......................................
๑) โครงการ......................................
๒) โครงการ......................................
X) โครงการ......................................
๑) โครงการ......................................
๒) โครงการ......................................
X) โครงการ......................................

(๖) สรุปงบประมาณและโครงการของแผนปฏบิ ตั กิ ารดา้ น...........................................
ระยะ ... ปี (พ.ศ. ... – ...) พื้นท่.ี ........................ จังหวดั .............................

สรุปงบประมาณ

แผนปฏิบัติการ ปี ๒๕.... ปี ๒๕.... ปี ๒๕.... ปี ๒๕.... ปี ๒๕.... รวม

๑. แผนปฏบิ ัตกิ าร ดา้ น... จำนวน งบ จำนวน งบ จำนวน งบ จำนวน งบ จำนวน งบ จำนวน งบ
๒. โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ โครงการ ประมาณ
๓. โครงการ ประมาณ
X.
รวม

สรุปตวั ชี้วดั และโครงการของแผนปฏบิ ัตกิ ารดา้ น..........................................

ตัวชว้ี ดั โครงการ/ หน่วยงาน หน่วยงานสนบั สนุน งบประมาณ (บาท)
กจิ กรรม รบั ผดิ ชอบ ช่อื หน่วยงาน
๑. ช่ือตวั ชว้ี ดั ปี ๒๕..... ปี ๒๕..... ปี ๒๕..... ปี ๒๕..... ปี ๒๕.....
๒. ชื่อโครงการ ชอ่ื หนว่ ยงาน
๓.
X.

๓.๒.๕ โครงการและงบประมา

73

๓.๒.๔ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการนำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ
ไปดำเนนิ การ

หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ภารกจิ หลกั บทบาทการขบั เคลื่อนแผนปฏิบัติการฯ ไปสู่การปฏิบัติ

๑. ช่อื หน่วยงาน

๒.
๓.
X.

หมายเหตุ: ๑) อธบิ ายถงึ บทบาท กระบวนการขับเคลื่อนแผนปฏิบัตกิ ารฯ ในการนำไปสู่การปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างประสบผลสำเรจ็
๒) สามารถปรับรปู แบบการนำเสนอได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ตอ้ งมีความครบถ้วนตามหัวข้อทก่ี ำหนด

๓.๓ การนาแผนไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ การตดิ ตาม และประเมนิ ผล

การนำแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศระยะ.....ปี (พ.ศ. ... - ... ) พื้นท่ี
................จังหวัด............... ไปสู่การปฏิบัติ นับเป็นขั้นตอนสำคัญต่อการผลักดันกลไกการดำเนินงานใน
ระดับพื้นท่ีให้สามารถบรรลุผลลัพธ์ตามที่ตั้งเป้าหมายไว้ ดังนั้นการนำแผนไปสู่การปฏิบัติจำเป็นต้องสร้าง
ความเข้าใจ เพื่อให้บุคลากรทุกระดับเกิดการยอมรับและมีส่วนร่วม พร้อมที่จะนำแผนงานหรือโครงการ
นัน้ ๆ ไปดำเนนิ การอยา่ งเต็มความสามารถและเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมในการปฏิบตั ิงานของตน ดังนั้น
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ จึงได้
กำหนดแนวทางการจัดทำแผนปฏบิ ัติการฯ ไปส่กู ารปฏบิ ัตโิ ดยสงั เขป ดังนี้

๑) การเตรยี มหน่วยงานให้เกิดความพรอ้ ม
- คณะทำงานขบั เคล่ือนการพัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ ในระดับพ้นื ท่ี ต้องมคี วาม
เขา้ ใจและผลักดนั ให้มีการดำเนนิ การตามแผนงานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและสม่ำเสมอ
- คณะทำงานฯ ต้องสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับแนวคิดและสาระสำคัญของแผนและ
ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ตลอดจนชแี้ จงให้เจา้ หน้าท่แี ละบุคลากรที่เกย่ี วข้องได้ทราบเพ่ือให้เกิด
การมีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนอย่างกว้างขวาง โดยจัดเวทีสร้างความเข้าใจในภารกิจ
ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นท่ีให้ทราบถึงบทบาทความรับผิดชอบของตนในการ
สนับสนุนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พื้นที่...
เพ่ือให้เกิดผลในทางปฏิบัติ
- คณะทำงานฯ ควรส่งเสริมให้หน่วยงานดำเนินการตามแผน มีการกำกับติดตามรวมทั้ง
สามารถประเมินผลงานของหน่วยงานตามแผนท่ีกำหนดไว้ พร้อมทั้งให้มีการเชื่อมโยง
ผลงานตามยุทธศาสตร์สู่การประเมินผล ตั้งแต่การนำแผนไปปฏิบัติ ควรกำหนดขั้นตอน
วิธีการปฏิบัตทิ ีช่ ดั เจน มกี ารติดตามประเมินผลระหวา่ งปฏบิ ตั ิ (๕W + ๑H)

74

๒) การพัฒนากลไกสนบั สนนุ ให้เกิดความสำเรจ็ ในการปฏิบตั ิ
- คณะทำงานฯ ควรสนับสนุนการจัดทำแผน/โครงการ ในลักษณะการบูรณาการและ
ประสานงานระหว่างหน่วยงานในพื้นท่ี ผู้ประกอบการ ภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องกับ
ภารกจิ และยุทธศาสตร์ชาติ
- คณะทำงานฯ ควรสนับสนุนให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการในระดับต่างๆ ให้มีความ
เชื่อมโยงสอดคล้องกันและมีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการฯ ไปสู่พื้นที่และระดับตัวบุคคล
รวมทง้ั มีระบบจงู ใจใหท้ ุกคนประเมินการทำงานเพ่ือมุง่ ผลสัมฤทธ์ิ
- คณะทำงานฯ กำหนดขั้นตอนของกระบวนการดำเนินงานตามแผน/โครงการให้ชัดเจน
มีการจัดลำดับความสำคัญของโครงการ/กิจกรรมที่มุ่งผลสัมฤทธิ์กับระบบการจัดสรร
งบประมาณเพอ่ื ให้เกิดผลประโยชน์สูงสุดกบั การดำเนนิ งาน
- คณะทำงานฯ กำหนดวิธีประสานความรว่ มมือในการทำงานระหวา่ งหนว่ ยงานในพื้นท่ีแบ่ง
ขอบเขตภาระงาน โดยระบุผู้รับผิดชอบให้ชัดเจนเพื่อป้องกันความซ้ำซ้อนการก้าวก่าย
และการเกี่ยงงานระหว่างกัน และหาจุดเชื่อมโยงระหว่างงานของแต่ละหน่วยงาน เพื่อให้
เกิดการประสานงานที่ดีและเกิดประสิทธิภาพในการทำงานของทุกหน่วยงาน โดยการ
จัดทำคำสั่งแต่งตั้งผู้รับผิดชอบในรูปคณะกรรมการหรือคณะทำงาน เพื่อให้มีการ
ดำเนินการใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย
- คณะทำงานฯ ต้องถ่ายทอดแผนปฏบิ ตั ิการฯ โดยนำกลยทุ ธแ์ ละแนวทางการดำเนนิ งานมา
แปลงเป็นแผนงาน/โครงการที่ปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม มีการบูรณาการแผนงาน/
โครงการให้บรรลุเป้าหมายเดียวกัน โดยในกระบวนการวางแผนได้มีการหารือกับ
หน่วยงานหลกั ในการกำหนดคา่ เปา้ หมายและแผนงาน/โครงการรองรับไว้เบื้องตน้ แล้ว
- คณะทำงานฯ ติดตาม ตรวจสอบผลที่ได้จากการดำเนินแผนปฏิบัติงาน/โครงการ
ว่าสามารถตอบสนองต่อประเด็นยุทธศาสตร์ รวมทั้งสามารถติดตามและประเมินผลได้
อยา่ งเปน็ รปู ธรรมดว้ ยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

๓) การพัฒนากลไก กำกบั และติดตามการปฏิบัตงิ าน
- คณะทำงานฯ สนับสนุนให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องติดตามประเมินผลแผนงาน/โครงการ
มีการกำหนดตวั ช้ีวัดทเ่ี น้นผลลพั ธข์ องงานเปน็ หลกั

- คณะทำงานฯ นำผลลัพธ์ที่ได้จากการติดตามประเมินผล มาปรับปรุงการจัดทำแผนงาน/

โครงการ เพื่อให้บรรลุตามเป้าประสงค์ที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์อย่างต่อเนื่องและ
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ทีเ่ ปล่ยี นแปลงไป

- คณะทำงานฯ ควรสร้างมาตรการเร่งรัด หากมีโครงการที่ดำเนินการช้ากว่ากำหนดและ

ตรวจสอบคุณภาพและการดำเนนิ งานอยา่ งใกลช้ ดิ และสมำ่ เสมอ

75

- คณะทำงานฯ พัฒนาองค์ความรู้และเสริมสร้างความเข้าใจเรื่องการติดตามประเมินผล
และการกำหนดตัวชี้วัดแก่บุคลากรของหน่วยงาน เพื่อสร้างทักษะในการติดตาม
ประเมนิ ผลและสามารถนำมาใช้ประโยชนร์ ่วมกันอยา่ งเปน็ รูปธรรม

- คณะทำงานฯ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามประเด็น
ยุทธศาสตร์อย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกัน โดยเฉพาะ
การพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อประกอบการจัดทำแผนงาน/โครงการ และการติดตาม
ประเมินผลให้มีความแม่นยำและเป็นปัจจุบัน ตรงกับความต้องการและทันต่อการ
เปล่ียนแปลง รวมทั้งเช่ือมโยงสู่การตดั สินใจของผูบ้ รหิ าร

- คณะทำงานฯ กำหนดใหม้ กี ารติดตามความก้าวหน้าตามประเด็นยุทธศาสตรเ์ ปน็ รายเดือน
หรอื รายไตรมาส พรอ้ มทั้งใหแ้ ต่ละหนว่ ยงาน/ผู้รับผดิ ชอบโครงการทำการวเิ คราะหผ์ ลการ
ดำเนินงานตามแผนฯ เพอ่ื นำไปสู่การตดั สินใจของผู้บริหาร

- คณะทำงานฯ ควรมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลงานให้บุคลากร/ผู้สนใจทราบอย่าง
ตอ่ เนื่อง

๔) การพฒั นากลไกในการประเมินผล
การติดตามประเมินผลจะช่วยให้ทราบความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค และผลสัมฤทธิ์ของการ

ดำเนนิ งาน เพื่อนำไปสู่การปรบั ปรงุ ผลการดำเนนิ งานอย่างสมำ่ เสมอ มกี รอบการดำเนินงาน ดังนี้
- คณะทำงานฯ กำหนดแผนการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติตามแผน
ปฏบิ ตั กิ ารฯ โดยมีการกำหนดตัวช้ีวัดผลสำเรจ็ ท่ีชัดเจน
- คณะทำงานฯ รวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงานในแต่ละช่วงเวลาของโครงการต่างๆ ท่ี
สอดคล้องตามตัวชี้วัดผลสำเร็จที่ได้กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการฯ และจัดทำรายงานสรุป
เพื่อรายงานความก้าวหน้าในการปฏิบัติงานเป็นระยะ รวมทั้งส่งข้อมูลย้อนกลับให้แก่
ผู้ปฏิบัติงานท่ีเกีย่ วข้อง เพื่อช่วยให้ผูร้ ับผิดชอบในแตล่ ะระดับดำเนินการปรับปรุงแก้ไขการ
ปฏิบัติงานให้เปน็ ไปตามแนวทางทเี่ หมาะสม

- คณะทำงานฯ กำหนดวิธีการประเมินผล ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินผล วิธีการเก็บ

รวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล แหล่งข้อมูลพร้อมทั้งระยะเวลาการ
ประเมินผล ซึ่งต้องชี้แจงทำความเข้าใจกับผู้รับผิดชอบแผนงาน/โครงการเพื่อขอความ
ร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูลสำคัญที่ต้องใช้ในการประเมิน รวมทั้งข้อมูลปัญหา/อุปสรรคใน
การปฏบิ ัตงิ าน

- คณะทำงานฯ ควรมีการจัดเก็บข้อมูลและนำมาประมวลผล วิเคราะห์ เปรียบเทียบว่า

ผลผลิต/กิจกรรม/โครงการ ว่าประสบความสำเร็จ มีประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่าหรือไม่
มากน้อยเพียงใด ปัจจัยใดที่ทำให้ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว และผลผลิต/กิจกรรม/
โครงการประจำปีตอบสนองหรือสอดคล้องกับแผนปฏิบัติราชการหรือไม่เพียงใด
การวเิ คราะหอ์ าจเปรยี บเทียบกับตวั ชว้ี ดั และเปา้ ประสงค์ท่กี ำหนดไวไ้ ด้

76

- คณะทำงานฯ ควรมีการสรุปผลการประเมินพร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะการปรับปรุงการ
ดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งแนวทางการปรับปรุงแผนปฏิบัติการให้
สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปัจจุบันและนำเสนอผลการประเมนิ ให้ท่ีประชุมรบั ทราบ

๕) หน่วยงานรบั ผดิ ชอบในการประเมนิ ผล
- คณะทำงานขับเคลื่อนการพฒั นาเมืออตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ พน้ื ที.่ ..

หมายเหตุ: แนวทางการจัดทำแผนไปสกู่ ารปฏิบตั ิขา้ งตน้ เปน็ เพยี งตวั อย่างสามารถปรับรายละเอยี ดให้เหมาะสมกบั แต่ละพ้นื ท่ไี ด้

77

เอกสารอา้ งองิ

ภาษาองั กฤษ
Kocik, M. J. (๒๐๑๗). PDCA cycle as a part of continuous improvement in the production

company - a case study. Production Engineering Archives. 14: 19-22.
Kolios, A., & Read, G. (2013). A Political, Economic, Social, Technology, Legal and

Environmental (PESTLE) Approach for Risk Identification of the Tidal Industry in the
United Kingdom. Energies, 6(10): 5023-5045.
Yuksel, I. (2012). Developing a Multi-Criteria Decision Making Model for PESTEL Analysis.
International Journal of Business and Management, 7(24): 52-66.
United Nations. (๒๐๒๑). SDGs. สืบคน้ จาก https://www.un.org/

ภาษาไทย
กระทรวงมหาดไทย. (๒๕๖๔). แนวทางปฏบิ ัติรองรบั การดำเนินการตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ย

การจัดทำแผน และประสานแผนพัฒนาพื้นทใี่ นระดับอำเภอและตำบล พ.ศ. 2562 (ฉบับปรบั ปรงุ
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564). สบื คน้ จาก https://multi.dopa.go.th/tspd/news/cate9
/view173
กระทรวงมหาดไทย. (2562). ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจัดทำแผนและประสานแผนพัฒนาพนื้ ท่ี
ในระดับอำเภอและตำบล. สบื ค้นจาก www.dgr.go.th/division/th/newsAll/220/2195
กองพฒั นาอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ. (2561). แผนแมบ่ ทและแผนปฏบิ ตั กิ ารการพฒั นาเมืองอตุ สาหกรรม
เชงิ นิเวศ (Eco Industrial Town) (ปี 2561 – 2564). สบื ค้นจาก https://ecocenter.diw.go.th/
images/Download_Document/61-64.pdf
กองยุทธศาสตร์และประสานการพัฒนาภาค. (256๔). เอกสารประกอบคำบรรยาย เรือ่ ง การจัดทำแผนพฒั นา
ภาค กลุม่ จังหวัด และจงั หวัด. กรงุ เทพฯ: สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ.
บุญเฉดิ โสภณ. (๒๕๔๘). เอกสารประกอบคำบรรยาย เรื่อง แนวคิดและขน้ั ตอนการประเมินโครงการต่างๆ.
กรุงเทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการการวิจัยแหง่ ชาต.ิ
ราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ๑๓๖. (๒๕๖๒). ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม เรือ่ ง กำหนดพนื้ ที่เมอื งอตุ สาหกรรม
เชิงนเิ วศและมาตรการสนับสนุนการประกอบกิจการโรงงานในพ้ืนทีเ่ ป้าหมายเมอื งอตุ สาหกรรม
เชงิ นิเวศ พ.ศ. 2561. สบื คน้ จาก www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/003
/T_0035.PDF
ศูนย์พัฒนาเมืองอตุ สาหกรรมเชงิ นิเวศ. (๒๕๕๙). ระดบั การเป็นเมอื งอุตสาหกรรมเชงิ นิเวศ. สืบคน้ จาก
http://cocenter.diw.go.th/index.php/metric-information/24- 5-dimensions-indicator-20
สำนักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน. (๒๕๕๒). คูม่ อื การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ: แนวทางการ
กำหนดตัวช้วี ัดและคา่ เปา้ หมาย. สบื คน้ จาก www.personnel.moi.go.th/work/work2/
assess/assess_new/pratice/C_2/2_3.pdf
สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม. (๒๕๖๒). แผนแมบ่ ทการจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม
ชุมชน เพื่อส่งเสรมิ และรกั ษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มโครงการจัดการส่ิงแวดล้อมชุมชนเชิงนิเวศเพ่ือ
รองรับการพฒั นาทยี่ งั่ ยนื . กรุงเทพฯ: หจก. ทีพเี อน็ เพรส.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ. (๒๕๖๔). แนวทางการจดั ทำแผนระดับที่ ๓ และการเสนอ
แผนระดบั ท่ี ๓ ในสว่ นของแผนปฏิบตั ิการดา้ น...ต่อคณะรัฐมนตรี. สบื คน้ จาก
http://pmpd.onwr.go.th/wp-content/uploads/2021/06/แนวทางแผนระดบั -3-revised-
final_06-1.pdf

78



ภาคผนวก ๑ ตวั อย่างเกณฑ์การคัดเลือกพ้ืนทเ่ี มอื งอุตสาหกรรมเชิง
นเิ วศทเี่ หมาะสม

จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา

ภาคผนวก ๒ ตัวอย่าง คำส่งั แตง่ ตั้งคณะกรรมการพัฒนาเมือง
อตุ สาหกรรมเชิงนเิ วศ
จังหวัดระยอง

อ.นครหลวง
จ.พระนครศรีอยธุ ยา

ภาคผนวก ๓ ตวั อยา่ ง คำสัง่ แตง่ ต้งั คณะทำงานขบั เคลื่อนการพัฒนา พืน้ ท่เี ขตควบคุมมลพิษ
เมอื งอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ จ.ระยอง

๗๙

ภาคผนวก ๔ ตัวอยา่ งแผนปฏบิ ตั ิการการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม
เชิงนเิ วศ

ภาคผนวก ๕ คู่มอื การประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการ: แนวทางการ
กำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย

ภาคผนวก ๖ เกณฑ์การพฒั นาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ

แนวทางการจดั ทำแผนระดับท่ี 3 และการเสนอแผน
ภาคผนวก ๗ ระดบั ที่ 3 ในส่วนของแผนปฏิบตั ิการด้าน...ตอ่

คณะรฐั มนตรี

ภาคผนวก ๘ แนวทางปฏิบตั ิรองรับการดำเนนิ การตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจัดทำแผนและ
ประสานแผนพัฒนาพนื้ ที่ในระดบั อำเภอและตำบล
พ.ศ. ๒๕๖๒ ของแผนพฒั นาอำเภอ (ฉบับปรบั ปรุง
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔)

ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจัดทำแผน
ภาคผนวก ๙ และประสานแผนพัฒนาพ้นื ท่ีในระดับอำเภอและ

ตำบล พ.ศ. 2562

ภาคผนวก ๑๐ นโยบาย หลกั เกณฑ์ วธิ ีการจัดทำ แผนพัฒนาจงั หวัด
และแผนพัฒนากล่มุ จงั หวดั พ.ศ. 2566 -2570

๘๐


Click to View FlipBook Version