The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2566 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tccloph, 2023-06-07 05:21:13

E-BOOK การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2566 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด

E-BOOK การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2566 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด

๑ การประชุมใหญ่สามัญ ประจ าปี ๒๕๖๖ ช ุ มน ุ มสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณส ุ ขไทย จ ากัด Thrift and Credit Cooperative League of Thai Public Health Limited วันเสาร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 1 IN.indd 1 15/5/2566 20:21:22


2 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๒ ๓ สารบัญ หน้า กำหนดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ ๔ คณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๕ การมอบโล่เกียรติคุณ ๖ วาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ ๙ วาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ ๑๖ ๒.๒ รับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ ๓๘ วาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ การรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ๔๙ ๓.๒ รายงานประจำปี ๒๕๖๕ แสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ ๕๐ ๓.๓ รายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ ๗๒ วาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ เลือกตั้งกรรมการดำเนินการ ๘๐ ๔.๒ กำหนดระเบียบฯ ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ ๙๒ ๔.๓ อนุมัติงบการเงินประจำปี ๒๕๖๕ ๙๗ ๔.๔ อนุมัติการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๕ ๑๑๙ ๔.๕ อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๖ ๑๒๓ ๔.๖ กำหนดวงเงินซึ่งชุมนุมสหกรณ์อาจกู้ยืมประจำปี ๒๕๖๖ ๑๓๒ ๔.๗ คัดเลือกผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้ง ประจำปี ๒๕๖๖ ๑๓๙ ๔.๘ อนุมัติการนำเงินไปฝากหรือลงทุน ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศ ๑๔๒ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ วาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ ๑๔๖ 2 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 2 15/5/2566 20:21:22


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 3 ๒ ๓ สารบัญ หน้า กำหนดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ ๔ คณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๕ การมอบโล่เกียรติคุณ ๖ วาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ ๙ วาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ ๑๖ ๒.๒ รับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ ๓๘ วาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ การรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ๔๙ ๓.๒ รายงานประจำปี ๒๕๖๕ แสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ ๕๐ ๓.๓ รายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ ๗๒ วาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ เลือกตั้งกรรมการดำเนินการ ๘๐ ๔.๒ กำหนดระเบียบฯ ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ ๙๒ ๔.๓ อนุมัติงบการเงินประจำปี ๒๕๖๕ ๙๗ ๔.๔ อนุมัติการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๕ ๑๑๙ ๔.๕ อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๖ ๑๒๓ ๔.๖ กำหนดวงเงินซึ่งชุมนุมสหกรณ์อาจกู้ยืมประจำปี ๒๕๖๖ ๑๓๒ ๔.๗ คัดเลือกผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้ง ประจำปี ๒๕๖๖ ๑๓๙ ๔.๘ อนุมัติการนำเงินไปฝากหรือลงทุน ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศ ๑๔๒ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ วาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ ๑๔๖ 2 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 2 15/5/2566 20:21:22 ๒ ๓ สารบัญ หน้า กำหนดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ ๔ คณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๕ การมอบโล่เกียรติคุณ ๖ วาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ ๙ วาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ ๑๖ ๒.๒ รับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ ๓๘ วาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ การรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ๔๙ ๓.๒ รายงานประจำปี ๒๕๖๕ แสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ ๕๐ ๓.๓ รายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ ๗๒ วาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ เลือกตั้งกรรมการดำเนินการ ๘๐ ๔.๒ กำหนดระเบียบฯ ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ ๙๒ ๔.๓ อนุมัติงบการเงินประจำปี ๒๕๖๕ ๙๗ ๔.๔ อนุมัติการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๕ ๑๑๙ ๔.๕ อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๖ ๑๒๓ ๔.๖ กำหนดวงเงินซึ่งชุมนุมสหกรณ์อาจกู้ยืมประจำปี ๒๕๖๖ ๑๓๒ ๔.๗ คัดเลือกผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้ง ประจำปี ๒๕๖๖ ๑๓๙ ๔.๘ อนุมัติการนำเงินไปฝากหรือลงทุน ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศ ๑๔๒ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ วาระที่ ๕ เรื่องอื่น ๆ ๑๔๖ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 3 IN.indd 3 15/5/2566 20:21:22


4 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๔ กำหนดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี๒๕๖๖ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด วันเสาร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ณ ห้องพีโอนี ชั้นที่ ๖ อาคารลอบบี้ โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกัสี่กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ๐๗.๓๐ – ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน ๐๘.๓๐ – ๐๙.๓๐ น. เปิดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ และการมอบโล่เกียรติคุณ ๑๐.๐๐ – ๑๔.๓๐ น. ประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ ๑๕.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ชอ.สธ.เล่าเรื่องเกร็ดของดีในผลิตภัณฑ์ ********************************************* หมายเหตุ อาหารว่างเช้า ๐๙.๓๐ – ๑๐.๐๐ น. อาหารกลางวัน ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ น. อาหารว่างบ่าย ๑๔.๓๐ – ๑๕.๐๐ น. ๕ คณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย รองประธานกรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ รองประธานกรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการเลขานุการ ๕. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการ ๖. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการ ๗. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ ๘. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ ๙. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการ คณะกรรมการอำนวยการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย กรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ กรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการ ๕. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ๑. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการ ๒. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ ๓. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ คณะอนุกรรมการการลงทุน ๑. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย กรรมการ ๒. นายสุชาติ แก่นจันทร์ กรรมการ ๓. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ 4 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 4 15/5/2566 20:21:22


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 5 คณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย รองประธานกรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ รองประธานกรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการเลขานุการ ๕. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการ ๖. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการ ๗. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ ๘. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ ๙. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการ คณะกรรมการอำนวยการ ชุดที่ ๑๓ ประจำปี ๒๕๖๕ ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย กรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ กรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการ ๕. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง ๑. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการ ๒. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการ ๓. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ คณะอนุกรรมการการลงทุน ๑. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย กรรมการ ๒. นายสุชาติ แก่นจันทร์ กรรมการ ๓. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ


6 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๖ ผู้ตรวจสอบกิจการ บริษัทธรรมาภิบาลพิทักษ์ จำกัด โดย นางสาว ภัทรพร ทัศนเสวี ผู้สอบบัญชี บริษัท เอส.ดี.บี. คอนซัลแตนท์ จำกัด โดยนายบุญส่ง คล้ายทวน คณะเจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ นายแพทย์สุรชัย ติษยาธิคม รักษาการผู้จัดการ นางสาววรินท์มาศ รุจิวรชัยวงศ์ หัวหน้าฝ่ายบัญชี นางสาวพิสมัย ชื่นชูชัย หัวหน้าฝ่ายธุรการ นางสาวมาลาตี เอี่ยมละออ เจ้าหน้าที่ธุรการ นางสาวนิโลบล ใหม่เอี่ยม เจ้าหน้าที่บัญชี ๗ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด มอบโล่เกียรติคุณในการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ๒๕๖๖ เพื่อแสดงว่า สนับสนุนโดยการถือหุ้นมากเป็นอันดับ ๑ ร่วม ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลราชวิถี จ ากัด ถือหุ้น ๑๐๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการถือหุ้นมากเป็นอันดับ ๑ ร่วม ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพระปกเกล ้า จ ากัด ถือหุ้น ๑๐๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการถือหุ้นมากเป็นอันดับ ๒ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการแพทย์ จ ากัด ถือหุ้น ๙๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการถือหุ้นเพิ่มมากเป็นอันดับ ๑ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการแพทย์ จ ากัด เพิ่มหุ้นระหว่างปี ๗๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการฝากเงินมูลค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับ ๑ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการแพทย์ จ ากัด มีเงินฝากเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักทั้งปี ๒๒๓,๘๙๐,๔๑๐.๙๖ บาท ------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการฝากเงินมูลค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับ ๒ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพยส์า นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ ากัด มีเงินฝากเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักทั้งปี ๑๓๙,๙๒๖,๐๒๗.๓๙ บาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการฝากเงนิระยะสนั้มลูคา่เฉลยี่มากเป็นอันดับ ๑ ในปีบัญชี๒๕๖๕ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขนครสวรรค์ จ ากัด มีเงินฝากเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักทั้งปี ๑๑๗,๙๕๘,๙๐๔.๑๑ บาท -------------------------------------------------------------- 6 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 6 15/5/2566 20:21:22


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 7 ๗ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด มอบโล่เกียรติคุณในการประชุมใหญ่สามัญประจ าปี ๒๕๖๖ เพื่อแสดงว่า สนับสนุนโดยการถือหุ้นมากเป็นอันดับ ๑ ร่วม ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลราชวิถี จ ากัด ถือหุ้น ๑๐๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการถือหุ้นมากเป็นอันดับ ๑ ร่วม ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์โรงพยาบาลพระปกเกล ้า จ ากัด ถือหุ้น ๑๐๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการถือหุ้นมากเป็นอันดับ ๒ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการแพทย์ จ ากัด ถือหุ้น ๙๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการถือหุ้นเพิ่มมากเป็นอันดับ ๑ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการแพทย์ จ ากัด เพิ่มหุ้นระหว่างปี ๗๐ ล ้านบาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการฝากเงินมูลค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับ ๑ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมการแพทย์ จ ากัด มีเงินฝากเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักทั้งปี ๒๒๓,๘๙๐,๔๑๐.๙๖ บาท ------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการฝากเงินมูลค่าเฉลี่ยมากเป็นอันดับ ๒ ในปีบัญชี๒๕๖๕ ได ้แก่ สหกรณ์ออมทรัพยส์า นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ ากัด มีเงินฝากเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักทั้งปี ๑๓๙,๙๒๖,๐๒๗.๓๙ บาท -------------------------------------------------------------- สนับสนุนโดยการฝากเงนิระยะสนั้มลูคา่เฉลยี่มากเป็นอันดับ ๑ ในปีบัญชี๒๕๖๕ สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขนครสวรรค์ จ ากัด มีเงินฝากเฉลี่ยถ่วงน ้าหนักทั้งปี ๑๑๗,๙๕๘,๙๐๔.๑๑ บาท -------------------------------------------------------------- การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 7 IN.indd 7 15/5/2566 20:21:22


8 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๘ วาระที่ วาระที่๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ท ี่ประช ุ ม ุ มทราบ ประธาน แนะนำคณะกรรมการดำเนินการ แนะนำผู้ตรวจสอบกิจการ แนะนำผู้สอบบัญชี แนะนำผู้แทนสหกรณ์สมาชิกที่มาประชุม แนะนำผู้เข้าร่วมประชุม แจ้งเรื่องการออกเสียงในที่ประชุมใหญ่ของผู้แทนสหกรณ์สมาชิก แจ้งการเปลี่ยนลำดับในระเบียบวาระการประชุม โดยจัดลำดับเปลี่ยนจากที่ส่งไปในหนังสือเชิญประชุม ให้เป็นลำดับตามที่ปรากฏในหนังสือที่ใช้ในการประชุมใหญ่ ๙ ข้อบังคับชุมนุมสหกรณ ์ ออมทรัพย ์ สาธารณสุขไทย จ ากดั แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ *************************************** ฯลฯ “ข้อ ๓๖. การออกเสียงในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกคนหนึ่งให้มีเสียงในการลง คะแนน ในที่ประชุมใหญ่ ตามส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์ที่ตนเป็ นผู้แทน ณ วันสิ้นปี ทางบัญชีก่อน ของชุมนุม สหกรณ์ดงัน้ี จ านวนหุ้นที่ถือ(หุ้น) จ านวนเสียงในการลงคะแนน(เสียง) 1 - 3,999 1 4,000 - 5,999 2 6,000 - 9,999 3 10,000 - 15,999 4 16,000 - 25,999 5 26,000 - 39,999 6 40,000 - 59,999 7 หากถือหุ้นต้ งแต่ ั40,000 หุ้น ข้ึนไป ใหอ้อกเสียงเพิ่ มไดห้น่ึงเสียง ต่อทุกๆ 20,000 หุน้ที่เพิ่ มข้ึน ส าหรับสหกรณ์ที่ได้เป็ นสมาชิกในปี บัญชีที่มีการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่น้ันไม่น้อยกว่า 30 วัน ให้ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกน้นัมีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่1 เสียง” 8 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 8 15/5/2566 20:21:22


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 9 ๙ ข้อบังคับชุมนุมสหกรณ ์ ออมทรัพย ์ สาธารณสุขไทย จ ากดั แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๔ *************************************** ฯลฯ “ข้อ ๓๖. การออกเสียงในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกคนหนึ่งให้มีเสียงในการลง คะแนน ในที่ประชุมใหญ่ ตามส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์ที่ตนเป็ นผู้แทน ณ วันสิ้นปี ทางบัญชีก่อน ของชุมนุม สหกรณ์ดงัน้ี จ านวนหุ้นที่ถือ(หุ้น) จ านวนเสียงในการลงคะแนน(เสียง) 1 - 3,999 1 4,000 - 5,999 2 6,000 - 9,999 3 10,000 - 15,999 4 16,000 - 25,999 5 26,000 - 39,999 6 40,000 - 59,999 7 หากถือหุ้นต้ งแต่ ั40,000 หุ้น ข้ึนไป ใหอ้อกเสียงเพิ่ มไดห้น่ึงเสียง ต่อทุกๆ 20,000 หุน้ที่เพิ่ มข้ึน ส าหรับสหกรณ์ที่ได้เป็ นสมาชิกในปี บัญชีที่มีการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่น้ันไม่น้อยกว่า 30 วัน ให้ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกน้นัมีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่1 เสียง” การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 9 IN.indd 9 15/5/2566 20:21:22


10 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๑๐ พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๗ ชุมนุมสหกรณ์ มาตรา ๑๐๑ สหกรณ์ต้ งัแต่หา้สหกรณ์ข้ึนไปที่ประสงคจ์ะร่วมกนัดา เนินกิจการเพื่อให้เกิด ประโยชน์ตาม วัตถุประสงค์ของสหกรณ์ที่เข้าร่วมกันน้นั อาจรวมกันจดัต้ งัเป็นชุมนุมสหกรณ์ได้ ชุมนุมสหกรณ์ใดจะมีฐานะเป็ นชุมนุมสหกรณ์ระดับภูมิภาคหรือระดบั ประเทศจะตอ้งต้ งัข้ึน โดยมี วัตถุประสงค์เพื่ออ านวยประโยชน์แก่บรรดาสหกรณ์ในภูมิภาคหรือทวั่ ประเทศ ที่เป็ นสหกรณ์ประเภท เดียวกัน หรือต่างประเภทกัน เพื่อประกอบธุรกิจของสหกรณ์ท้ งัน้ีตามหลกัเกณฑแ์ละเงื่อนไขที่คณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติก าหนด [๔๕] มาตรา ๑๐๒ การจดัต้ งัชุมนุมสหกรณ์จะกระทา ได้ต่อเมื่อที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ แต่ละสหกรณ์ได้มี มติให้เข้าร่วมในการจดัต้ งัชุมนุมสหกรณ์น้นั ได้ มาตรา ๑๐๓ ในการด าเนินการจดัต้ งชุมนุมสั หกรณ์ ให้คณะกรรมการด าเนินการของแต่ละ สหกรณ์ ต้ งั ผแู้ทนข้ึนสหกรณ์ละหน่ึงคน ประกอบเป็นคณะผจู้ดัต้ งัชุมนุมสหกรณ์ เพื่อด าเนินการจัดต้ งัชุมนุมสหกรณ์ การจดัต้ งัและการจดทะเบียนชุมนุมสหกรณ์ ให้น าบทบัญญัติในหมวด ๓ ว่าด้วยสหกรณ์มาใช้ บังคับ โดยอนุโลม มาตรา ๑๐๔ การขอจดทะเบียนชุมนุมสหกรณ์น้น ใ ัหค้ณะผจู้ดัต้ งัชุมนุมสหกรณ์อย่างน้อย ห้าคน ลง ลายมือชื่อ ยื่นค าขอต่อนายทะเบียนสหกรณ์ มาตรา ๑๐๕ ให้ชุมนุมสหกรณ์ที่ได้จดทะเบียนแล้วเป็ นนิติบุคคลและเป็นสหกรณ์ตาม พระราชบญัญตัิน้ี เพื่อให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ให้ชุมนุมสหกรณ์ มีอ านาจกระท าการได้ตามมาตรา ๔๖ และตามที่ ก าหนดไว้ในกฎกระทรวง ให้น าบทบัญญัติในหมวด ๓ หมวด ๔ หมวด ๔/๑ หมวด ๕ และหมวด ๖ มาใช้บังคับกับ ชุมนุมสหกรณ์ โดยอนุโลม[๔๖] มาตรา ๑๐๕/๑[๔๗] เพื่อส่งเสริมระบบสวัสดิการและคุณภาพชีวิตของสมาชิกสหกรณ์ ให้ชุมนุม สหกรณ์ ระดับประเทศมีอ านาจร่วมกับ สหกรณ์สมาชิกของตน จัดสวัสดิการและการสงเคราะห์ของสมาชิก สหกรณ์ และครอบครัวตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนด มาตรา ๑๐๖ การประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ให้ประกอบด้วยผู้แทนสหกรณ์ที่เป็ นสมาชิก ของชุมนุม สหกรณ์ ซึ่งคณะกรรมการด าเนินการของแต่ละสหกรณ์เลือกต้ งัข้ึน สหกรณ์ละหนึ่งคน ตามที่ ก าหนดใน ข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ ในการประชุมต้องมีผู้แทนสหกรณ์มาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของ จ านวน ผแู้ทนสหกรณ์ท้ งัหมดหรือไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยคน แล้วแต่กรณี จึงจะเป็ นองค์ประชุม ---------------------------------------------------- [๔๕]มาตรา ๑๐๑ วรรคสอง แก้ไขเพิ่ มเติมโดยพระราชบญัญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๑๑ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงในการลงคะแนนหนึ่งเสียง หรือจะให้มีเสียงเพิ่มขึ้นตามระบบ สัดส่วน ตามที่ก าหนดในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์นั้นก็ได้ มาตรา ๑๐๗ ในการเลือกต้ งคณะกัรรมการด าเนินการชุมนุมสหกรณ์ ให้ที่ประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ เลือกต้ งัจากผแู้ทนสหกรณ์ที่เป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์เป็ นกรรมการ ตามจ านวนหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก าหนดในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ ---------------------------------------------------- [๔๖]มาตรา ๑๐๕ วรรคสองแกไ้ขเพิ่ มเติมโดยพระราชบญัญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ [๔๗]มาตรา ๑๐๕/๑ เพิ่ มเติมโดยพระราชบญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ั ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ 10 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 10 15/5/2566 20:21:23


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 11 ๑๑ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงในการลงคะแนนหนึ่งเสียง หรือจะให้มีเสียงเพิ่มขึ้นตามระบบ สัดส่วน ตามที่ก าหนดในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์นั้นก็ได้ มาตรา ๑๐๗ ในการเลือกต้ งคณะกัรรมการด าเนินการชุมนุมสหกรณ์ ให้ที่ประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ เลือกต้ งัจากผแู้ทนสหกรณ์ที่เป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์เป็ นกรรมการ ตามจ านวนหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ ก าหนดในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ ---------------------------------------------------- [๔๖]มาตรา ๑๐๕ วรรคสองแกไ้ขเพิ่ มเติมโดยพระราชบญัญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ [๔๗]มาตรา ๑๐๕/๑ เพิ่ มเติมโดยพระราชบญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ั ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 11 IN.indd 11 15/5/2566 20:21:23


12 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๑๒ ๑๓ การออกเสียงของผู้แท นสหกรณ์ต่างๆ ในที่ประชุมใหญ่ตามข้อบังคับ ข้อ ๓๖ . เลขที่สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากั ด ถือหุ้น ส ท ิ ธิ์ ออกเสยีง 31 ธันวา ค ม 256 5 27 เมษายน 256 6 หุ้น บาท หุ้น บาท 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 2 กรมอนามัย 63,00 0 31,500,000 63,000 31,500,000 8 3 โรงพยาบาลราชวิถี 200,000 100,000,000 200,000 100,000,000 15 4 โรงพยา บ า ล เ ล ด ิ ส น ิ 100,000 50,0 0 0,000 100,000 50,000,000 10 5 ส า ธ า ร ณ ส ข ุ น ค ร ร า ช ส ม ี า 100,000 50,000,000 100,000 50,000,000 10 6 โรงพยาบาลล าปาง 14,000 7,000,000 14,000 7,000,000 4 7 โรงพยาบาลพระปกเกล้า 200,000 100,000,000 200,000 100,000,000 15 8 สาธารณสุขสตูล 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 9 โรงพยาบาลชลบุรี 100,000 50,000,000 100,000 50,000,000 10 10 สาธารณสุขปทุมธานี 10,000 5,000,000 40,000 20,000,000 4 11 โรงพยาบาลสมุทรปราการ 60,002 30,001,000 60,002 30,001,000 8 12 ส า นั กงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 120,000 60,000,000 120,000 60 , 000,000 11 13 สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู 10,020 5,010,000 10,020 5,010,000 4 14 ลาออก - - 15 สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2 ,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 16 สาธารณสุขราชบุรี 61,20 0 30,600,000 61,200 30,600,000 8 17 สาธารณสุขพิษณุโลก 20,000 10,000, 0 0 0 20,000 10,000,000 5 18 สาธารณสุขจังหวัดน่าน 100 50,000 100 50,000 1 19 กรมควบคุมโรค 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 20 ส า ธ า ร ณ ส ข ุ จัง ห วัด ฉ ะ เ ช ง ิ เ ท ร า 20 10,000 20 10,000 1 21 สาธารณสุขศรีสะเก ษ 10 5,000 10 5,000 1 22 โรงพยาบาลบ้านโป่ง 20 10,000 2 0 10,000 1 23 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 80,000 40,000,000 80,000 40,000,000 9 24 โ ร ง พ ย า บ า ล ศ ร ส ี งั ว า ล ย์ 280 140,000 280 140,00 0 1 25 สาธารณสุขตาก 928 464,000 928 464,000 1 26 โรงพยาบาลกาฬ ส น ิ ธุ์ 10 5,000 10 5,000 1 2 7 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม 42,000 21,000 , 000 42,000 21,000,000 7 28 โรงพยาบาลสระบุรี 80,000 40,000,000 80,000 40,000,000 9 29 โรงพยาบาลแพร่ 300 150,000 300 150,000 1 30 โ ร ง พ ย า บ า ล ส ร ร พ ส ท ิ ธ ป ิ ร ะ ส ง ค์ อุบลราชธานี 60,000 30,000,000 60,000 30,000,00 0 8 31 สาธารณสุขนครสวรรค์ 10,000 5,000,000 10,000 5, 0 00,000 4 32 สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี 40,200 20,100,000 40,200 20,100,000 7 33 สาธารณสุขนครพนม 20 10,000 20 10,000 1 34 สาธารณสุ ขก าแพงเพชร 100 50,000 100 50,000 1 35 สาธารณสุขจันทบุรี 104,00 0 52,000,000 104,000 52,000,000 10 36 โรงพยาบาลประสาท 80,000 40, 0 00,000 80,000 40,000,000 9 37 ส า ธ า ร ณ ส ข ุ ชั ย น า ท 100 50,000 100 50,000 1 38 อ ง ค ก ์ า ร เ ภ ส ชั ก ร ร ม 100 50,000 100 50,000 1 3 9 โรงพยาบ าลนครนายก 1,100 550,000 1,100 550,000 1 40 โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า 20,000 10,000,000 20,00 0 10,000,000 5 12 การประชุมใหญ่สามัญประจำ า ๒๕๖๖ IN.indd 12 15/5/2566 20:21:23


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 13 ๑๓ การออกเสียงของผู้แทนสหกรณ์ต่างๆ ในที่ประชุมใหญ่ตามข้อบังคับ ข้อ ๓๖. เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ถือหุ้น สทิธิ์ ออก เสยีง 31 ธันวาคม 2565 27 เมษายน 2566 หุ้น บาท หุ้น บาท 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 2 กรมอนามัย 63,000 31,500,000 63,000 31,500,000 8 3 โรงพยาบาลราชวิถี 200,000 100,000,000 200,000 100,000,000 15 4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ 100,000 50,000,000 100,000 50,000,000 10 5 สาธารณสขุนครราชสมีา 100,000 50,000,000 100,000 50,000,000 10 6 โรงพยาบาลล าปาง 14,000 7,000,000 14,000 7,000,000 4 7 โรงพยาบาลพระปกเกล้า 200,000 100,000,000 200,000 100,000,000 15 8 สาธารณสุขสตูล 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 9 โรงพยาบาลชลบุรี 100,000 50,000,000 100,000 50,000,000 10 10 สาธารณสุขปทุมธานี 10,000 5,000,000 40,000 20,000,000 4 11 โรงพยาบาลสมุทรปราการ 60,002 30,001,000 60,002 30,001,000 8 12 ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 120,000 60,000,000 120,000 60,000,000 11 13 สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู 10,020 5,010,000 10,020 5,010,000 4 14 ลาออก - - 15 สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 16 สาธารณสุขราชบุรี 61,200 30,600,000 61,200 30,600,000 8 17 สาธารณสุขพิษณุโลก 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 18 สาธารณสุขจังหวัดน่าน 100 50,000 100 50,000 1 19 กรมควบคุมโรค 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 20 สาธารณสขุจังหวัดฉะเชงิเทรา 20 10,000 20 10,000 1 21 สาธารณสุขศรีสะเกษ 10 5,000 10 5,000 1 22 โรงพยาบาลบ้านโป่ง 20 10,000 20 10,000 1 23 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 80,000 40,000,000 80,000 40,000,000 9 24 โรงพยาบาลศรสีงัวาลย์ 280 140,000 280 140,000 1 25 สาธารณสุขตาก 928 464,000 928 464,000 1 26 โรงพยาบาลกาฬสนิธุ์ 10 5,000 10 5,000 1 27 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม 42,000 21,000,000 42,000 21,000,000 7 28 โรงพยาบาลสระบุรี 80,000 40,000,000 80,000 40,000,000 9 29 โรงพยาบาลแพร่ 300 150,000 300 150,000 1 30 โรงพยาบาลสรรพสทิธปิระสงค์ อุบลราชธานี 60,000 30,000,000 60,000 30,000,000 8 31 สาธารณสุขนครสวรรค์ 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 32 สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี 40,200 20,100,000 40,200 20,100,000 7 33 สาธารณสุขนครพนม 20 10,000 20 10,000 1 34 สาธารณสุขก าแพงเพชร 100 50,000 100 50,000 1 35 สาธารณสุขจันทบุรี 104,000 52,000,000 104,000 52,000,000 10 36 โรงพยาบาลประสาท 80,000 40,000,000 80,000 40,000,000 9 37 สาธารณสขุชั ยนาท 100 50,000 100 50,000 1 38 องคก์ารเภสชักรรม 100 50,000 100 50,000 1 39 โรงพยาบาลนครนายก 1,100 550,000 1,100 550,000 1 40 โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 13 IN.indd 13 15/5/2566 20:21:23


14 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๑๔ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ถือหุ้น สทิธิ์ ออก เสยีง 31 ธันวาคม 2565 27 เมษายน 2566 หุ้น บาท หุ้น บาท 41 สาธารณสุขล าปาง 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 42 สาธารณสุขสงขลา 6,000 3,000,000 6,000 3,000,000 3 43 สาธารณสขุชั ยภมิู 20,200 10,100,000 20,200 10,100,000 5 44 โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 45 สาธารณสุขสมุทรปราการ 100 50,000 100 50,000 1 46 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมีา 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 47 สาธารณสุขกระบี่ 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 48 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า 18,000 9,000,000 18,000 9,000,000 5 49 สาธารณสุขหนองคาย 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 50 โรงพยาบาลบ้านแพ้ว 1,000 500,000 1,000 500,000 1 51 สาธารณสุขเพชรบุรี 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 52 สาธารณสุขสระบุรี 100 50,000 100 50,000 1 53 โรงพยาบาลเพชรบุรี 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 54 สาธารณสุขตรัง 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 55 สาธารณสุขสุโขทัย 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 56 โรงพยาบาลมะการักษ์ 60,000 30,000,000 60,000 30,000,000 8 57 สาธารณสุขพัทลุง 9,600 4,800,000 9,600 4,800,000 3 58 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงัฆราชองคท์ ี่ 17 15,600 7,800,000 15,600 7,800,000 4 59 สาธารณสุขชลบุรี 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 60 โรงพยาบาลศรสี งวรสุโขทั ัย 30,000 15,000,000 36,000 18,000,000 6 61 สาธารณสุขมหาสารคาม 20 10,000 20 10,000 1 62 สาธารณสุขยโสธร 20 10,000 20 10,000 1 63 สาธารณสุขล าพูน 200 100,000 200 100,000 1 64 อนามัยสุรินทร์ 4,000 2,000,000 8,000 4,000,000 2 65 สาธารณสุขเชยงใหม่ ี 200 100,000 200 100,000 1 66 สาธารณสุขนครนายก 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 67 สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช 70,000 35,000,000 70,000 35,000,000 8 68 สาธารณสุขสมุทรสงคราม 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 69 โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ 32,400 16,200,000 32,400 16,200,000 6 70 สาธารณสุขจังหวัดพังงา 20 10,000 20 10,000 1 71 โรงพยาบาลอ่างทอง 400 200,000 400 200,000 1 72 สาธารณสุขสกลนคร 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 73 โรงพยาบาลปัตตานี 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 74 โรงพยาบาลร ้อยเอ็ด 20 10,000 20 10,000 1 75 สาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ 20 10,000 20 10,000 1 76 สาธารณสุขเลย 20 10,000 2,020 1,010,000 1 77 สาธารณสุขนราธิวาส 20,000 10,000,000 20,000 10,000,000 5 78 สาธารณสุขปัตตานี 406 203,000 406 203,000 1 79 สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร 20 10,000 20 10,000 1 80 กรมการแพทย์ 180,000 90,000,000 180,000 90,000,000 14 ๑๕ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ถือหุ้น สทิธิ์ ออก เสยีง 31 ธันวาคม 2565 27 เมษายน 2566 หุ้น บาท หุ้น บาท 81 สาธารณสุขแพร่ 20 10,000 20 10,000 1 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี 52,300 26,150,000 56,100 28,050,000 7 83 สาธารณสุขระยอง 60 30,000 10,000 5,000,000 1 84 โรงพยาบาลอ านาจเจริญ 20 10,000 20 10,000 1 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 86 โรงพยาบาลโพธาราม 257 128,500 257 128,500 1 87 โรงพยาบาลพัทลุง 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล 100 50,000 100 50,000 1 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 90 สาธารณสุขจังหวัดชุมพร 20 10,000 20 10,000 1 91 สาธารณสุขอุทัยธานี 20 10,000 20 10,000 1 92 กรมสุขภาพจิต 20 10,000 20 10,000 1 93 สาธารณสุขพิจิตร 200 100,000 10,000 5,000,000 1 94 ศนูยส์ง่เสรมิ สขุภาพเขต 6 ขอนแก่น 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 96 สาธารณสุขพะเยา 100 50,000 300 150,000 1 97 โรงพยาบาลสกลนคร 200 100,000 200 100,000 1 98 สาธารณสุขจังหวัดอ านาจเจริญ 20 10,000 20 10,000 1 99 สาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 20 10,000 20 10,000 1 100 โรงพยาบาลอุดรธานี 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 101 ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา 400 200,000 400 200,000 1 2,511,613 1,255,806,500 2,577,353 1,288,676,500 397 จ านวนเสยีงทผี่แู้ทน ฯ ๑ คนออกเสยีงได้ จ านวนสหกรณ์ สมาชกิ รวมคะแนน แต่ละกลุ่ม มูลค่าหุ้นรวม เฉลี่ยมูลค่าหุ้น ตอ่๑ เสยีง จ านวนผู้แทน สหกรณ์ที่มาประชุม 15 2 30 200,000,000 6,666,667 14 1 14 90,000,000 6,428,571 11 1 11 60,000,000 5,454,545 10 4 40 202,000,000 5,050,000 9 3 27 120,000,000 4,444,444 8 6 48 187,101,000 3,897,938 7 9 63 187,250,000 2,972,222 6 2 12 31,200,000 2,600,000 5 9 45 89,100,000 1,980,000 4 13 52 69,810,000 1,342,500 3 2 6 7,800,000 1,300,000 2 1 2 2,000,000 1,000,000 1 47 47 9,545,500 203,096 รวม 100 397 1,255,806,500 3,163,241 ประมวลจากการถือหุ้น ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ของสมาชิก ๑๐๐ สหกรณ์ เป็นมูลค่าหุ้น ๑,๒๕๕,๘๐๖,๕๐๐ บาท 14 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 14 15/5/2566 20:21:24


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 15 ๑๕ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ถือหุ้น สทิธิ์ ออก เสยีง 31 ธันวาคม 2565 27 เมษายน 2566 หุ้น บาท หุ้น บาท 81 สาธารณสุขแพร่ 20 10,000 20 10,000 1 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี 52,300 26,150,000 56,100 28,050,000 7 83 สาธารณสุขระยอง 60 30,000 10,000 5,000,000 1 84 โรงพยาบาลอ านาจเจริญ 20 10,000 20 10,000 1 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 86 โรงพยาบาลโพธาราม 257 128,500 257 128,500 1 87 โรงพยาบาลพัทลุง 40,000 20,000,000 40,000 20,000,000 7 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล 100 50,000 100 50,000 1 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 90 สาธารณสุขจังหวัดชุมพร 20 10,000 20 10,000 1 91 สาธารณสุขอุทัยธานี 20 10,000 20 10,000 1 92 กรมสุขภาพจิต 20 10,000 20 10,000 1 93 สาธารณสุขพิจิตร 200 100,000 10,000 5,000,000 1 94 ศนูยส์ง่เสรมิ สขุภาพเขต 6 ขอนแก่น 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี 2,000 1,000,000 2,000 1,000,000 1 96 สาธารณสุขพะเยา 100 50,000 300 150,000 1 97 โรงพยาบาลสกลนคร 200 100,000 200 100,000 1 98 สาธารณสุขจังหวัดอ านาจเจริญ 20 10,000 20 10,000 1 99 สาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 20 10,000 20 10,000 1 100 โรงพยาบาลอุดรธานี 10,000 5,000,000 10,000 5,000,000 4 101 ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา 400 200,000 400 200,000 1 2,511,613 1,255,806,500 2,577,353 1,288,676,500 397 จ านวนเสยีงทผี่แู้ทน ฯ ๑ คนออกเสยีงได้ จ านวนสหกรณ์ สมาชกิ รวมคะแนน แต่ละกลุ่ม มูลค่าหุ้นรวม เฉลี่ยมูลค่าหุ้น ตอ่๑ เสยีง จ านวนผู้แทน สหกรณ์ที่มาประชุม 15 2 30 200,000,000 6,666,667 14 1 14 90,000,000 6,428,571 11 1 11 60,000,000 5,454,545 10 4 40 202,000,000 5,050,000 9 3 27 120,000,000 4,444,444 8 6 48 187,101,000 3,897,938 7 9 63 187,250,000 2,972,222 6 2 12 31,200,000 2,600,000 5 9 45 89,100,000 1,980,000 4 13 52 69,810,000 1,342,500 3 2 6 7,800,000 1,300,000 2 1 2 2,000,000 1,000,000 1 47 47 9,545,500 203,096 รวม 100 397 1,255,806,500 3,163,241 ประมวลจากการถือหุ้น ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ของสมาชิก ๑๐๐ สหกรณ์ เป็นมูลค่าหุ้น ๑,๒๕๕,๘๐๖,๕๐๐ บาท การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 15 IN.indd 15 15/5/2566 20:21:24


16 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๑๖ วาระที่ วาระที่๒ ร ั บ ั บรองรายงานการประช ุ ม ุ ม ๒.๑ ร ั บ ั บรองรายงานการประช ุ ม ุ มใหญ ่ ส ่ สาม ั ญ ั ญประจ า าปี๒๕๖๕ ตามที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องพีโอนี โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวง ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ได้มี หนังสือที่ ชอ.สธ. ว ๕๘๔/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๕ ส่ง (ร่าง) รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ ไปถึงผู้แทนสหกรณ์ที่ได้เข้าประชุม เพื่อพิจารณา หากมีคำ ทักท้วงให้แจ้งชุมนุมสหกรณ์ฯ ภายในเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ที่ลงในหนังสือ ปรากฏว่าเมื่อพ้นกำหนดเวลา ๓๐ วัน ไม่มีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกทักท้วง จึงถือว่าผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก ได้รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ จึงเสนอที่ประชุมใหญ่เพื่อทราบ ๑๗ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด Thrift and Credit Cooperative League of Thai Public Health Limited ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐๘ ๔๙๗๑ ๙๓๗๙ โทร./โทรสาร. ๐ ๒๑๙๕ ๙๒๖๐ E-mail : [email protected] ชอ.สธ.ว ๐๗๖/๒๕๖๕ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ เรื่อง การรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ เรียน ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์.............................. จำกัด สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ จำนวน ๑ ชุด ตามที่สหกรณ์ออมทรัพย์.................................... จำกัด ได้ส่ง ...............................เข้าประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องพีโอนี โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้ง วัฒนะซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ฯ ขอส่ง รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ มาเพื่อให้ผู้แทนสหกรณ์ พิจารณา หากเห็นว่ารายงานไม่ถูกต้อง หรือมีคำทักท้วงประการใด กรุณาแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์ฯ ทราบภายใน กำหนดเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ ที่ลงในหนังสือนี้ เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว หากชุมนุมสหกรณ์ฯ มิได้ รับคำทักท้วงประการใดจะถือว่าท่านได้รับรองรายงานการประชุมนี้แล้ว จึงเรียนมาเพื่อพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด 16 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 16 15/5/2566 20:21:24


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 17 ๑๖ วาระที่ วาระที่๒ ร ั บ ั บรองรายงานการประช ุ ม ุ ม ๒.๑ ร ั บ ั บรองรายงานการประช ุ ม ุ มใหญ ่ ส ่ สาม ั ญ ั ญประจ า าปี๒๕๖๕ ตามที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องพีโอนี โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวง ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ได้มี หนังสือที่ ชอ.สธ. ว ๕๘๔/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๕ ส่ง (ร่าง) รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ ไปถึงผู้แทนสหกรณ์ที่ได้เข้าประชุม เพื่อพิจารณา หากมีคำ ทักท้วงให้แจ้งชุมนุมสหกรณ์ฯ ภายในเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ที่ลงในหนังสือ ปรากฏว่าเมื่อพ้นกำหนดเวลา ๓๐ วัน ไม่มีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกทักท้วง จึงถือว่าผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก ได้รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ จึงเสนอที่ประชุมใหญ่เพื่อทราบ ๑๗ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด Thrift and Credit Cooperative League of Thai Public Health Limited ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐๘ ๔๙๗๑ ๙๓๗๙ โทร./โทรสาร. ๐ ๒๑๙๕ ๙๒๖๐ E-mail : [email protected] ชอ.สธ.ว ๐๗๖/๒๕๖๕ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ เรื่อง การรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ เรียน ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์.............................. จำกัด สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ จำนวน ๑ ชุด ตามที่สหกรณ์ออมทรัพย์.................................... จำกัด ได้ส่ง ...............................เข้าประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องพีโอนี โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้ง วัฒนะซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ฯ ขอส่ง รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ มาเพื่อให้ผู้แทนสหกรณ์ พิจารณา หากเห็นว่ารายงานไม่ถูกต้อง หรือมีคำทักท้วงประการใด กรุณาแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์ฯ ทราบภายใน กำหนดเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ ที่ลงในหนังสือนี้ เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว หากชุมนุมสหกรณ์ฯ มิได้ รับคำทักท้วงประการใดจะถือว่าท่านได้รับรองรายงานการประชุมนี้แล้ว จึงเรียนมาเพื่อพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด 16 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 16 15/5/2566 20:21:24 ๑๗ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด Thrift and Credit Cooperative League of Thai Public Health Limited ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐๘ ๔๙๗๑ ๙๓๗๙ โทร./โทรสาร. ๐ ๒๑๙๕ ๙๒๖๐ E-mail : [email protected] ชอ.สธ.ว ๐๗๖/๒๕๖๕ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ เรื่อง การรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ เรียน ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์.............................. จำกัด สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ จำนวน ๑ ชุด ตามที่สหกรณ์ออมทรัพย์.................................... จำกัด ได้ส่ง ...............................เข้าประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๒๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องพีโอนี โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้ง วัฒนะซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ฯ ขอส่ง รายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ มาเพื่อให้ผู้แทนสหกรณ์ พิจารณา หากเห็นว่ารายงานไม่ถูกต้อง หรือมีคำทักท้วงประการใด กรุณาแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์ฯ ทราบภายใน กำหนดเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ ที่ลงในหนังสือนี้ เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว หากชุมนุมสหกรณ์ฯ มิได้ รับคำทักท้วงประการใดจะถือว่าท่านได้รับรองรายงานการประชุมนี้แล้ว จึงเรียนมาเพื่อพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 17 IN.indd 17 15/5/2566 20:21:24


18 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๑๘ รายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด วันเสาร์ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ณ ห้องพีโอนี โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร กรรมการผู้มาประชุม ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลราชวิถี จำกัด/ ประธานที่ประชุม ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย รองประธานกรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลพระปกเกล้า จำกัด ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ รองประธานกรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลเลิดสิน จำกัด ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร เลขานุการ/ผู้แทน สอ.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำกัด ๕. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลชลบุรี จำกัด ๖. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี จำกัด ๗. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำกัด ๘. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลสมุทรปราการ จำกัด ๙. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลประสาท จำกัด ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกอื่น ที่มาประชุมอีกจำนวน ๔๘ คน ผู้เข้าร่วมประชุม ๑. นายชัยวุฒิ มัณฑะนานนท์ สหกรณ์จังหวัดนนทบุรี ๒. นายศิริพจน์ ทองนวล ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ๑ ๓. นายเสริม อุดมพรวิเศษ หัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ๔. นายสุวัฒชัย ยืนชีวิต ผู้สอบบัญชี ๕. นางสาวภัทรพร ทัศนเสวี ผู้ตรวจสอบกิจการ ๖. นพ.สุรชัย ติษยาธิคม รักษาการผู้จัดการ ชอ.สธ. ๗. นายวินัย นิยโมสถ ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการการลงทุน ชสอ. ๘. นายอาทิตย์ พรหมธิดา ผู้แทนบริษัททีเค แอคเค้า แอนด์แอสโซซิเอท จำกัด ๙. นางสาวสันธิลา ทองจันทร์ ผู้แทนบริษัททีเค แอคเค้า แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด ๑๐. นายคมกฤษณ์ สุขไชย ประธานกรรมการ สอ.สาธารณสุขอำนาจเจริญ จำกัด ๑๑. นายอัครเดช กลิ่นพิบูลย์ ประธานกรรมการ สอ.โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ อุบล จำกัด ๑๒. นายวารี แสงพันตา ผู้จัดการ สอ.โรงพยาบาลอุดรธานี จำกัด ๑๓. นายรัชตพล มีลาภ รองประธานกรรมการ สอ.สาธารณสุขสมุทรสาคร จำกัด ผู้สังเกตการณ์จากสหกรณ์สมาชิก ๕๓ คน ๑๙ เริ่มประชุมเวลา ๙.๑๐ น. เมื่อมีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสหกรณ์สมาชิกที่มีสิทธิออกเสียงในที่ ประชุมใหญ่ทั้งสิ้น ๙๔ สหกรณ์ ครบองค์ประชุม นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการดำเนินการ ทำ หน้าที่ประธานในที่ประชุม กล่าวเปิดประชุม และดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม ดังนี้ วาระที่ ๑. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ ประธานฯ ได้มอบให้เลขานุการ และรองประธานกรรมการ(นายแพทย์สุชาติตันตินิรามัย) เป็นผู้ แนะนำ ผู้มาประชุม ผู้ร่วมประชุม ส่วนผู้แทนสหกรณ์ให้ดูจากรายชื่อที่ได้แจกแก่ผู้ที่ลงทะเบียนเข้าประชุม แล้ว เลขานุการ ได้ แนะนำ คณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๒ ผู้ตรวจสอบกิจการ, ผู้สอบบัญชี, รองประธานกรรมการ(นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย) แนะนำผู้ร่วมประชุมได้แก่ ผู้แทนสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดนนทบุรี, และหัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ๑.๒ ประธานฯ ได้แจ้ง เรื่องการออกเสียงในที่ประขุม ของผู้แทนสหกรณ์ โดยผู้แทนสหกรณ์ แต่ละคนมีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสัดส่วนในการ ถือหุ้น ตามที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๓๖ ซึ่งเป็นไปตามมาตรา ๑๐๖ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ ๒๕๔๒ ซึ่ง มีรายละเอียด ในหนังสือประกอบการประชุมที่หน้า ๑๐ – ๑๖ ผู้แทนสหกรณ์สามารถตรวจสอบสิทธิการออกเสียงของแต่ละคนได้ จากตารางการถือหุ้นและสิทธิออก เสียงในหน้า ๑๔ – ๑๖ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ ๒. เรื่องรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ ได้มอบให้เลขานุการเป็นผู้เสนอต่อที่ประชุม เลขานุการ ได้แจ้งต่อที่ประชุมว่า ตามที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้จัดการ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี๒๕๖๔ เมื่อวันเสาร์ที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องลาเวนเดอร์ ๒ โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ได้มี หนังสือที่ ชอ.สธ. ว ๗๖/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ส่ง (ร่าง) รายงาน การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ ไปถึงผู้แทนสหกรณ์ที่ได้เข้าประชุม เพื่อพิจารณา หากมีคำทักท้วงให้แจ้ง ชุมนุมสหกรณ์ฯ ภายในเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ที่ลงในหนังสือ ปรากฏว่าเมื่อพ้นกำหนดเวลา ๓๐ วัน ไม่มีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกทักท้วง จึงถือว่าผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ได้รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ ซึ่งรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ ได้เสนอในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๙ – ๓๔ รวม ๑๖ หน้า จึงเสนอที่ประชุมใหญ่เพื่อทราบ ที่ประชุม รับทราบ การรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ 18 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 18 15/5/2566 20:21:24


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 19 ๑๙ เริ่มประชุมเวลา ๙.๑๐ น. เมื่อมีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสหกรณ์สมาชิกที่มีสิทธิออกเสียงในที่ ประชุมใหญ่ทั้งสิ้น ๙๔ สหกรณ์ ครบองค์ประชุม นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการดำเนินการ ทำ หน้าที่ประธานในที่ประชุม กล่าวเปิดประชุม และดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม ดังนี้ วาระที่ ๑. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ ประธานฯ ได้มอบให้เลขานุการ และรองประธานกรรมการ(นายแพทย์สุชาติตันตินิรามัย) เป็นผู้ แนะนำ ผู้มาประชุม ผู้ร่วมประชุม ส่วนผู้แทนสหกรณ์ให้ดูจากรายชื่อที่ได้แจกแก่ผู้ที่ลงทะเบียนเข้าประชุม แล้ว เลขานุการ ได้ แนะนำ คณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๒ ผู้ตรวจสอบกิจการ, ผู้สอบบัญชี, รองประธานกรรมการ(นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย) แนะนำผู้ร่วมประชุมได้แก่ ผู้แทนสำนักงานสหกรณ์ จังหวัดนนทบุรี, และหัวหน้าสำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์นนทบุรี ๑.๒ ประธานฯ ได้แจ้ง เรื่องการออกเสียงในที่ประขุม ของผู้แทนสหกรณ์ โดยผู้แทนสหกรณ์ แต่ละคนมีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสัดส่วนในการ ถือหุ้น ตามที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๓๖ ซึ่งเป็นไปตามมาตรา ๑๐๖ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ ๒๕๔๒ ซึ่ง มีรายละเอียด ในหนังสือประกอบการประชุมที่หน้า ๑๐ – ๑๖ ผู้แทนสหกรณ์สามารถตรวจสอบสิทธิการออกเสียงของแต่ละคนได้ จากตารางการถือหุ้นและสิทธิออก เสียงในหน้า ๑๔ – ๑๖ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ ๒. เรื่องรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ ได้มอบให้เลขานุการเป็นผู้เสนอต่อที่ประชุม เลขานุการ ได้แจ้งต่อที่ประชุมว่า ตามที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้จัดการ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี๒๕๖๔ เมื่อวันเสาร์ที่ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔ ณ ห้องลาเวนเดอร์ ๒ โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ได้มี หนังสือที่ ชอ.สธ. ว ๗๖/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ ส่ง (ร่าง) รายงาน การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๔ ไปถึงผู้แทนสหกรณ์ที่ได้เข้าประชุม เพื่อพิจารณา หากมีคำทักท้วงให้แจ้ง ชุมนุมสหกรณ์ฯ ภายในเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ที่ลงในหนังสือ ปรากฏว่าเมื่อพ้นกำหนดเวลา ๓๐ วัน ไม่มีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกทักท้วง จึงถือว่าผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ได้รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ ซึ่งรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ ได้เสนอในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๙ – ๓๔ รวม ๑๖ หน้า จึงเสนอที่ประชุมใหญ่เพื่อทราบ ที่ประชุม รับทราบ การรับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 19 IN.indd 19 15/5/2566 20:21:25


20 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๒๐ วาระที่ ๓. เรื่องรับทราบการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ประธานฯ มอบให้เลขานุการ เป็นผู้เสนอ เลขานุการ แจ้งเรื่องการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ตามรายละเอียดในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๕ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ๑. จำนวนสมาชิกยกมาจากปี ๒๕๖๓ ๗๗ สหกรณ์ เข้าใหม่ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๓ สหกรณ์ ออกระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ ๒. สมาชิกเข้าใหม่ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม จนถึงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ จำนวน ๕ สหกรณ์ จำนวนสมาชิกทั้งสิ้น ณ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ จำนวน ๙๕ สหกรณ์ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ ๔ รับทราบรายงานประจำปีแสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ ประธานฯ มอบให้รักษาการผู้จัดการ เป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ เสนอรายงานแสดงผลการดำเนินงานประจำปี ๒๕๖๔ ตามรายละเอียดในหนังสือ ประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๗ – ๕๖ รวม ๒๐ หน้า โดยสรุปพอสังเขปดังนี้ ๑. ผลการดำเนินงานทั่วไป แสดงฐานะทางการเงินในปี ๒๕๖๔ ตารางที่ ๑ ฐานะการเงินเปรียบเทียบ ณ วันสิ้นปี๒๕๖๔ และปี ๒๕๖๓ หน่วย : บาท รายการ ณ วันสิ้นปี (บาท) เปลี่ยนแปลง ๒๕๖๔ ๒๕๖๓ บาท ร้อยละ เงินรับฝากประจำ 1,633,800,000.00 1,177,500,000.00 456,300,000.00 38.75 เงินรับฝากเผื่อเรียก - 0.00 เงินกู้ 457,900,000.00 31,900,000.00 426,000,000.00 1,335.42 หนี้สินรวม 2,093,298,184.67 1,210,457,502.03 882,840,682.64 72.93 ทุนเรือนหุ้น 850,598,500.00 703,298,000.00 147,300,500.00 20.94 ทุนสำรอง 25,926,685.13 21,981,360.69 3,945,324.44 17.95 ทุนสะสมตามข้อบังคับ 10,392,000.00 8,594,000.00 1,798,000.00 20.92 กำไรสุทธิ 51,323,549.35 37,100,237.69 14,223,311.66 38.34 ทุนรวม 939,443,254.48 770,973,598.38 168,469,656.10 21.85 สินทรัพย์รวม 3,032,741,439.15 1,981,431,100.41 1,051,310,338.74 53.06 เงินลงทุนในสหกรณ์สมาชิก 0.00 61,000,000.00 - 61,000,000.00 - 100.00 เงินลงทุนในสหกรณ์อื่น 572,347,159.93 366,199,726.02 206,147,433.91 56.29 เงินลงทุนในตราสารหนี้ 2,172,150,000.00 1,531,000,000.00 641,150,000.00 41.88 เงินลงทุนในหุ้นรัฐวิสาหกิจ 258,400,000.00 0.00 258,400,000.00 ๒๑ ๒. จำนวนสมาชิก จำนวนสมาชิกยกมาจากปี ๒๕๖๓ ๗๗ สหกรณ์ เข้าใหม่ระหว่างปี ๒๕๖๔ ๑๓ สหกรณ์ ออกระหว่างปี ๒๕๖๔ ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิกเป็นร้อยละ ๕๗.๖๙ ของจำนวนสหกรณ์ที่มีคุณสมบัติเป็นสมาชิก ๑๕๖ สหกรณ์ ๓. ทุนเรือนหุ้น ในวันสิ้นปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ.มีทุนเรือนหุ้น ๘๕๐,๕๙๘,๕๐๐ บาท เพิ่มจากปีก่อน ๑๔๗,๓๐๐,๕๐๐ บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๐.๙๔ ถือหุ้นเฉลี่ยสหกรณ์ละ ๙,๔๕๑,๐๙๔.๔๔ บาท สหกรณ์ที่ถือ หุ้นสูงสุด ๖๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ต่ำสุด ๕,๐๐๐ บาท ๔. เงินรับฝาก ณ วันสิ้นปี ชอ.สธ.มีเงินรับฝากทั้งสิ้น ๑,๖๓๓.๘๐ ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๔๕๖.๓๐ ล้านบาท หรือร้อยละ ๓๘.๗๕ เป็นเงินรับฝากประจำทั้งสิ้น เงินรับฝากเฉลี่ยทั้งปี ๑,๔๑๓,๔๔๐,๘๒๑.๙๒ บาท ๕. การกู้เงิน นายทะเบียนสหกรณ์ได้เห็นชอบ ให้ชุมนุมสหกรณ์ ถือใช้วงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปี สิ้นสุดวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ไว้ไม่เกิน ๑,๑๘๐ ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อน ๑๙๖ ล้านบาท วงเงินกู้จากธนาคารพาณิชย์ ชื่อธนาคาร วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๓ วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๔ วงเงินที่ใช้ได้ ตามหลักประกัน วงเงินที่ใช้ ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๔ ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี กรุงไทย 219 20 219 20 211 + 20 100.9 กรุงศรีอยุธยา 257 - 257 - 113 107.0 ไทยพาณิชย์ - - 150 - 150 150.0 กรุงเทพ - - 100 - 100 100.0 ไอซีบีซี(ไทย) - - 100 - 100 0.0 รวม 476 20 826 20 674 + 20 457.9 นอกจากการใช้เงินกู้จากธนาคารแล้ว ชอ.สธ.ยังได้ใช้แหล่งเงินจากบริษัทหลักทรัพย์ ด้วยการขายหุ้นกู้ โดยมีสัญญาซื้อคืน ซึ่ง ชอ.สธ.ขายหุ้นกู้โดยมีสัญญาซื้อคืน ตลอดปี จำนวน ๖ สัญญา เป็นจำนวนเงิน ๒๙๕.๐๙ ล้านบาทและได้ซื้อคืนทั้งสิ้นภายในปี 20 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 20 15/5/2566 20:21:25


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 21 ๒๐ วาระที่ ๓. เรื่องรับทราบการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ประธานฯ มอบให้เลขานุการ เป็นผู้เสนอ เลขานุการ แจ้งเรื่องการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ตามรายละเอียดในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๕ ซึ่งสรุปได้ดังนี้ ๑. จำนวนสมาชิกยกมาจากปี ๒๕๖๓ ๗๗ สหกรณ์ เข้าใหม่ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑๓ สหกรณ์ ออกระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ ๒. สมาชิกเข้าใหม่ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม จนถึงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ จำนวน ๕ สหกรณ์ จำนวนสมาชิกทั้งสิ้น ณ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ จำนวน ๙๕ สหกรณ์ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ ๔ รับทราบรายงานประจำปีแสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ ประธานฯ มอบให้รักษาการผู้จัดการ เป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ เสนอรายงานแสดงผลการดำเนินงานประจำปี ๒๕๖๔ ตามรายละเอียดในหนังสือ ประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๓๗ – ๕๖ รวม ๒๐ หน้า โดยสรุปพอสังเขปดังนี้ ๑. ผลการดำเนินงานทั่วไป แสดงฐานะทางการเงินในปี ๒๕๖๔ ตารางที่ ๑ ฐานะการเงินเปรียบเทียบ ณ วันสิ้นปี๒๕๖๔ และปี ๒๕๖๓ หน่วย : บาท รายการ ณ วันสิ้นปี (บาท) เปลี่ยนแปลง ๒๕๖๔ ๒๕๖๓ บาท ร้อยละ เงินรับฝากประจำ 1,633,800,000.00 1,177,500,000.00 456,300,000.00 38.75 เงินรับฝากเผื่อเรียก - 0.00 เงินกู้ 457,900,000.00 31,900,000.00 426,000,000.00 1,335.42 หนี้สินรวม 2,093,298,184.67 1,210,457,502.03 882,840,682.64 72.93 ทุนเรือนหุ้น 850,598,500.00 703,298,000.00 147,300,500.00 20.94 ทุนสำรอง 25,926,685.13 21,981,360.69 3,945,324.44 17.95 ทุนสะสมตามข้อบังคับ 10,392,000.00 8,594,000.00 1,798,000.00 20.92 กำไรสุทธิ 51,323,549.35 37,100,237.69 14,223,311.66 38.34 ทุนรวม 939,443,254.48 770,973,598.38 168,469,656.10 21.85 สินทรัพย์รวม 3,032,741,439.15 1,981,431,100.41 1,051,310,338.74 53.06 เงินลงทุนในสหกรณ์สมาชิก 0.00 61,000,000.00 - 61,000,000.00 - 100.00 เงินลงทุนในสหกรณ์อื่น 572,347,159.93 366,199,726.02 206,147,433.91 56.29 เงินลงทุนในตราสารหนี้ 2,172,150,000.00 1,531,000,000.00 641,150,000.00 41.88 เงินลงทุนในหุ้นรัฐวิสาหกิจ 258,400,000.00 0.00 258,400,000.00 ๒๑ ๒. จำนวนสมาชิก จำนวนสมาชิกยกมาจากปี ๒๕๖๓ ๗๗ สหกรณ์ เข้าใหม่ระหว่างปี ๒๕๖๔ ๑๓ สหกรณ์ ออกระหว่างปี ๒๕๖๔ ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิกเป็นร้อยละ ๕๗.๖๙ ของจำนวนสหกรณ์ที่มีคุณสมบัติเป็นสมาชิก ๑๕๖ สหกรณ์ ๓. ทุนเรือนหุ้น ในวันสิ้นปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ.มีทุนเรือนหุ้น ๘๕๐,๕๙๘,๕๐๐ บาท เพิ่มจากปีก่อน ๑๔๗,๓๐๐,๕๐๐ บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๐.๙๔ ถือหุ้นเฉลี่ยสหกรณ์ละ ๙,๔๕๑,๐๙๔.๔๔ บาท สหกรณ์ที่ถือ หุ้นสูงสุด ๖๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท ต่ำสุด ๕,๐๐๐ บาท ๔. เงินรับฝาก ณ วันสิ้นปี ชอ.สธ.มีเงินรับฝากทั้งสิ้น ๑,๖๓๓.๘๐ ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๔๕๖.๓๐ ล้านบาท หรือร้อยละ ๓๘.๗๕ เป็นเงินรับฝากประจำทั้งสิ้น เงินรับฝากเฉลี่ยทั้งปี ๑,๔๑๓,๔๔๐,๘๒๑.๙๒ บาท ๕. การกู้เงิน นายทะเบียนสหกรณ์ได้เห็นชอบ ให้ชุมนุมสหกรณ์ ถือใช้วงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปี สิ้นสุดวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ ไว้ไม่เกิน ๑,๑๘๐ ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อน ๑๙๖ ล้านบาท วงเงินกู้จากธนาคารพาณิชย์ ชื่อธนาคาร วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๓ วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๔ วงเงินที่ใช้ได้ ตามหลักประกัน วงเงินที่ใช้ ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๔ ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี กรุงไทย 219 20 219 20 211 + 20 100.9 กรุงศรีอยุธยา 257 - 257 - 113 107.0 ไทยพาณิชย์ - - 150 - 150 150.0 กรุงเทพ - - 100 - 100 100.0 ไอซีบีซี(ไทย) - - 100 - 100 0.0 รวม 476 20 826 20 674 + 20 457.9 นอกจากการใช้เงินกู้จากธนาคารแล้ว ชอ.สธ.ยังได้ใช้แหล่งเงินจากบริษัทหลักทรัพย์ ด้วยการขายหุ้นกู้ โดยมีสัญญาซื้อคืน ซึ่ง ชอ.สธ.ขายหุ้นกู้โดยมีสัญญาซื้อคืน ตลอดปี จำนวน ๖ สัญญา เป็นจำนวนเงิน ๒๙๕.๐๙ ล้านบาทและได้ซื้อคืนทั้งสิ้นภายในปี การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 21 IN.indd 21 15/5/2566 20:21:25


22 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๒๒ ๖. การลงทุนในปี ๒๕๖๔ การให้เงินกู้แก่สหกรณ์ ชอ.สธ. มีเงินให้กู้แก่สหกรณ์ คงค้างยกมาจากปี ๒๕๖๓ ๒๘๑.๑ ล้านบาท ใน ปี ๒๕๖๔ ได้ให้เงินกู้แก่สหกรณ์อื่น ๕ สัญญา จำนวนเงิน ๔๕๓.๐๐ ล้านบาท ได้รับชำระคืน ระหว่างปี จำนวน ๒๙๗.๘๖ ล้านบาท จึงมีเงินให้กู้คงค้าง จำนวนรวม ๔๓๖.๒๔ ล้านบาท การฝากเงินในสหกรณ์ และชุมนุมสหกรณ์อื่น ชอ.สธ. มีเงินฝากในสหกรณ์อื่นยกมาจากปี ๒๕๖๓ จำนวน ๑๔๖.๑ ล้านบาทและในปี ๒๕๖๔ ได้ฝากเงินเพิ่มขึ้น ๘๕ ล้านบาท และครบกำหนดถอนออก ๙๕ ล้าน บาท ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ จึงมีเงินฝากสหกรณ์อื่นคงเหลือ ๑๓๖.๑ ล้านบาท การลงทุนในพันธบัตรระยะยาว ชอ.สธ. มีเงินลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ยก มาจากปี ๒๕๖๓ จำนวน ๔ ล้านบาท มีวัตถุประสงค์ เพื่อการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง ตามกฎกระทรวง “ว่า ด้วยการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องของสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๐” ในระหว่างปี ๒๕๖๔ ไม่มีพันธบัตรถูกไถ่ถอน และไม่ซื้อเพิ่ม คงเหลือพันธบัตรในวันสิ้นปี ๔ ล้านบาท การลงทุนในพันธบัตรตลาดรอง ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๔ ชอ.สธ.ได้ลงทุนในพันธบัตร กระทรวงการคลัง ๒ รายการ รวม ๑๐๐,๐๐๐ หน่วย เป็นเงินลงทุนทั้งสิ้น ๑๐๔,๘๒๖,๒๙๐.๕๐ บาท และได้ ขายไปทั้งสิ้น เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๔ ที่ราคา ๑๐๔,๗๒๗,๒๗๗.๕๐ บาท ขายได้ต่ำกว่าราคาทุน ๗๙,๐๑๓.๐๐ บาท แต่ในระหว่างถือครองพันธบัตร ได้รับดอกเบี้ยจำนวน ๑,๑๑๕,๖๘๔.๙๒ บาท จึงทำให้ได้ กำไรสุทธิ ๑,๐๓๖,๖๗๑.๙๒ บาท การลงทุนในหุ้นสามัญ ในปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. ได้ลงทุนในหุ้นสามัญ ของ บมจ.ปตท. ซึ่งเป็นการลงทุน ตาม พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๒(๓) ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ โดยในระหว่างปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. ได้ซื้อ หุ้นปตท. รวม ๗,๔๐๐,๐๐๐ หุ้น และได้จำหน่ายไป ๖๐๐,๐๐๐ หุ้น คงเหลือ ณ วันสิ้นปีจำนวน ๖,๘๐๐,๐๐๐ หุ้น ได้กำไรจากการขายหุ้น เป็นจำนวนเงิน ๑,๓๙๕,๘๑๘.๒๒ บาท และได้รับเงินปันผลระหว่างปี ๕,๔๘๒,๐๐๐.๐๐ บาท การลงทุนในหุ้นกู้ ชอ.สธ. มีเงินลงทุนในหุ้นกู้ยกมาจากปี ๒๕๖๓ จำนวน ๑,๕๒๗ ล้านบาทในระหว่าง ปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. ได้ลงทุนในหุ้นกู้เพิ่ม จำนวน ๗๑๕ ล้านบาท มีหุ้นกู้ถูกไถ่ถอนตามกำหนด จำนวน ๕๕ ล้าน บาท และถูกไถ่ถอนก่อนกำหนด ๑๕ ล้านบาท คงเหลือในวันสิ้นปี ๒,๑๗๒ ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๖๔๕ ล้านบาท แต่ในการบันทึกบัญชี ต้องด้อยค่าหุ้นกู้การบินไทย เป็นจำนวนเงิน ๓,๘๕๐,๐๐๐บาท จึงคงบันทึก ในบัญชี เป็นมูลค่าหุ้นกู้ รวม ๒,๑๖๘.๑๕ ล้านบาท ๗. รายได้ และค่าใช้จ่าย ในปี ๒๕๖๔ ของ ชอ.สธ. รายได้จากลงทุน ๑๐๒,๙๕๙,๗๖๙.๔๑ บาท รับค่าธรรมเนียมแรกเข้า ๓,๙๐๐.๐๐ บาท รายจ่ายดอกเบี้ย ๔๘,๖๕๕,๐๒๖.๔๔ บาท รายจ่ายดำเนินงาน ๒,๙๙๗.๙๑๑.๐๘ บาท มีกำไรสุทธิประจำปี ๕๑,๓๒๓,๕๔๙.๓๕ บาท ๒๓ ๘. สมาชิกสัมพันธ์ และสหกรณ์สัมพันธ์ ชอ.สธ. ได้พยายามใช้สื่อต่างๆ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของ ชอ.สธ. แก่สหกรณ์สมาชิก และสหกรณ์ อื่น รวมทั้งต่อสาธารณะ โดย จัดการ website www.tccloph.com ให้มีข้อมูลที่ควรเผยแพร่ และเป็นปัจจุบัน สื่อสารผ่าน Facebook สร้าง LINE กลุ่มสมาชิก การสื่อสารทางจดหมาย ส่งทางไปรษณีย์ การสื่อสารทางไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics mail) การจัดทำจุลสาร 22 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 22 15/5/2566 20:21:25


๒๒ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 23 ๖. การลงทุนในปี ๒๕๖๔ การให้เงินกู้แก่สหกรณ์ ชอ.สธ. มีเงินให้กู้แก่สหกรณ์ คงค้างยกมาจากปี ๒๕๖๓ ๒๘๑.๑ ล้านบาท ใน ปี ๒๕๖๔ ได้ให้เงินกู้แก่สหกรณ์อื่น ๕ สัญญา จำนวนเงิน ๔๕๓.๐๐ ล้านบาท ได้รับชำระคืน ระหว่างปี จำนวน ๒๙๗.๘๖ ล้านบาท จึงมีเงินให้กู้คงค้าง จำนวนรวม ๔๓๖.๒๔ ล้านบาท การฝากเงินในสหกรณ์ และชุมนุมสหกรณ์อื่น ชอ.สธ. มีเงินฝากในสหกรณ์อื่นยกมาจากปี ๒๕๖๓ จำนวน ๑๔๖.๑ ล้านบาทและในปี ๒๕๖๔ ได้ฝากเงินเพิ่มขึ้น ๘๕ ล้านบาท และครบกำหนดถอนออก ๙๕ ล้าน บาท ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ จึงมีเงินฝากสหกรณ์อื่นคงเหลือ ๑๓๖.๑ ล้านบาท การลงทุนในพันธบัตรระยะยาว ชอ.สธ. มีเงินลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ยก มาจากปี ๒๕๖๓ จำนวน ๔ ล้านบาท มีวัตถุประสงค์ เพื่อการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง ตามกฎกระทรวง “ว่า ด้วยการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องของสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๐” ในระหว่างปี ๒๕๖๔ ไม่มีพันธบัตรถูกไถ่ถอน และไม่ซื้อเพิ่ม คงเหลือพันธบัตรในวันสิ้นปี ๔ ล้านบาท การลงทุนในพันธบัตรตลาดรอง ในเดือนมีนาคม ๒๕๖๔ ชอ.สธ.ได้ลงทุนในพันธบัตร กระทรวงการคลัง ๒ รายการ รวม ๑๐๐,๐๐๐ หน่วย เป็นเงินลงทุนทั้งสิ้น ๑๐๔,๘๒๖,๒๙๐.๕๐ บาท และได้ ขายไปทั้งสิ้น เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๔ ที่ราคา ๑๐๔,๗๒๗,๒๗๗.๕๐ บาท ขายได้ต่ำกว่าราคาทุน ๗๙,๐๑๓.๐๐ บาท แต่ในระหว่างถือครองพันธบัตร ได้รับดอกเบี้ยจำนวน ๑,๑๑๕,๖๘๔.๙๒ บาท จึงทำให้ได้ กำไรสุทธิ ๑,๐๓๖,๖๗๑.๙๒ บาท การลงทุนในหุ้นสามัญ ในปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. ได้ลงทุนในหุ้นสามัญ ของ บมจ.ปตท. ซึ่งเป็นการลงทุน ตาม พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๒(๓) ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ โดยในระหว่างปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. ได้ซื้อ หุ้นปตท. รวม ๗,๔๐๐,๐๐๐ หุ้น และได้จำหน่ายไป ๖๐๐,๐๐๐ หุ้น คงเหลือ ณ วันสิ้นปีจำนวน ๖,๘๐๐,๐๐๐ หุ้น ได้กำไรจากการขายหุ้น เป็นจำนวนเงิน ๑,๓๙๕,๘๑๘.๒๒ บาท และได้รับเงินปันผลระหว่างปี ๕,๔๘๒,๐๐๐.๐๐ บาท การลงทุนในหุ้นกู้ ชอ.สธ. มีเงินลงทุนในหุ้นกู้ยกมาจากปี ๒๕๖๓ จำนวน ๑,๕๒๗ ล้านบาทในระหว่าง ปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. ได้ลงทุนในหุ้นกู้เพิ่ม จำนวน ๗๑๕ ล้านบาท มีหุ้นกู้ถูกไถ่ถอนตามกำหนด จำนวน ๕๕ ล้าน บาท และถูกไถ่ถอนก่อนกำหนด ๑๕ ล้านบาท คงเหลือในวันสิ้นปี ๒,๑๗๒ ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๖๔๕ ล้านบาท แต่ในการบันทึกบัญชี ต้องด้อยค่าหุ้นกู้การบินไทย เป็นจำนวนเงิน ๓,๘๕๐,๐๐๐บาท จึงคงบันทึก ในบัญชี เป็นมูลค่าหุ้นกู้ รวม ๒,๑๖๘.๑๕ ล้านบาท ๗. รายได้ และค่าใช้จ่าย ในปี ๒๕๖๔ ของ ชอ.สธ. รายได้จากลงทุน ๑๐๒,๙๕๙,๗๖๙.๔๑ บาท รับค่าธรรมเนียมแรกเข้า ๓,๙๐๐.๐๐ บาท รายจ่ายดอกเบี้ย ๔๘,๖๕๕,๐๒๖.๔๔ บาท รายจ่ายดำเนินงาน ๒,๙๙๗.๙๑๑.๐๘ บาท มีกำไรสุทธิประจำปี ๕๑,๓๒๓,๕๔๙.๓๕ บาท ๒๓ ๘. สมาชิกสัมพันธ์ และสหกรณ์สัมพันธ์ ชอ.สธ. ได้พยายามใช้สื่อต่างๆ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของ ชอ.สธ. แก่สหกรณ์สมาชิก และสหกรณ์ อื่น รวมทั้งต่อสาธารณะ โดย จัดการ website www.tccloph.com ให้มีข้อมูลที่ควรเผยแพร่ และเป็นปัจจุบัน สื่อสารผ่าน Facebook สร้าง LINE กลุ่มสมาชิก การสื่อสารทางจดหมาย ส่งทางไปรษณีย์ การสื่อสารทางไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics mail) การจัดทำจุลสาร การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 23 IN.indd 23 15/5/2566 20:21:25


24 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๒๔ ๙. ผลประโยชน์ และค่าตอบแทน แก่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ และที่ปรึกษา จาก “กฎกระทรวง การดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ หมวด ๔ การกำกับดูแลด้านธรรมาภิบาลของสหกรณ์ ข้อ ๑๔ ในการประชุมใหญ่ นอกจากเรื่องแจ้งให้ที่ประชุมใหญ่ทราบเป็นปกติแล้ว สหกรณ์ต้องแจ้งให้ที่ประชุม ใหญ่ทราบในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) ผลประโยชน์และค่าตอบแทน ที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ และที่ปรึกษาของสหกรณ์ ได้รับจากสหกรณ์นั้น ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยให้สหกรณ์แสดงรายละเอียดดังกล่าวเป็นรายบุคคล ในรายงาน ประจำปี” ฯลฯ ในปีบัญชี ๒๕๖๔ ชอ.สธ.ได้จ่ายผลประและค่าตอบแทน แก่กรรมการดำเนินการ และแก่รักษาการผู้จัดการดังนี้ ชื่อ โบนัส เบี้ยเลี้ยง พาหนะ ตอบแทน ที่พัก ค่าอาหารประชุม ออนไลน์ นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ 75,000 5,600 4,500 100 นายสุชาติ ตันตินิรามัย 70,000 5,600 10,500 นายสุชาติ แก่นจันทร์ 70,000 7,200 4,500 นางสาวพรรณี ภัทรพงษ์พันธ์ 70,000 5,600 3,000 100 นางสุวรรณา เธียรอังกูร 70,000 5,600 3,500 นางวันเพ็ญ ดวงมาลา 65,000 3,200 - 300 นางสาวธฤษวรรณ อำพันพงษ์ 65,000 4,000 1,000 400 นายวิชิต วงษ์พาณิชย์ 65,000 4,000 2,000 300 นายสมโชค พูลสุข 65,000 4,000 15,480 200 นายแพทย์สุรชัย ติษยาธิคม 65,000 6,400 124,000 240,000 นายชำนาญ ลิ้มภักดี - 1,600 1,500 นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ - 1,600 7,740 นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ - 1,600 1,000 นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี - 1,600 1,000 นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร - 1,600 1,000 รวม 680,000 59,200 180,220 240,000 - 1,400 ๒๕ ๑๐. การเปรียบเทียบกับชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์อื่น ชอ.สธ.ได้รับการจดทะเบียนเป็นชุมนุมสหกรณ์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ เป็นลำดับที่ ๔ ของ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ๙ ชุมนุมสหกรณ์ ในวันสิ้นปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. มีขนาดสินทรัพย์ มากเป็นอันดับที่ ๖ เมื่อเทียบกับชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ อื่น ลดลง ๑ อันดับจากปีก่อน และเมื่อเปรียบเทียบจำนวนทุนรวม เป็นอันดับที่ ๔ ในรายงานผลการดำเนินงาน ได้แสดงตารางการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินเป็นรายปี ของทั้ง ๙ ชุมนุม สหกรณ์ ที่ประชุม รับทราบรายงานประจำปี ๒๕๖๔ แสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ วาระที่ ๕ พิจารณารายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ มอบให้ผู้ตรวจสอบกิจการเป็นผู้เสนอ ผู้ตรวจสอบกิจการ เสนอรายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๔ ตามที่ปรากฏในหนังสือ ประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๕๘ – ๖๒ ข้อสรุปจากการตรวจสอบ คือ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด มีสินทรัพย์รวม ๓,๐๓๒,๗๔๑,๔๓๙.๑๕ บาท เพิ่มขึ้นร้อย ละ ๕๓.๐๖ เป็นเงินลงทุน ๒,๔๓๐,๕๕๐,๐๐๐ บาท เป็นร้อยละ ๘๐ ของสินทรัพย์รวม และชุมนุมสหกรณ์ออม ทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้ดำเนินงานตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ และ เป้าหมาย และเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และมติที่ประชุม ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติรายงานการตรวจสอบกิจการ 24 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 24 15/5/2566 20:21:25


๒๔ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 25 ๙. ผลประโยชน์ และค่าตอบแทน แก่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ และที่ปรึกษา จาก “กฎกระทรวง การดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ หมวด ๔ การกำกับดูแลด้านธรรมาภิบาลของสหกรณ์ ข้อ ๑๔ ในการประชุมใหญ่ นอกจากเรื่องแจ้งให้ที่ประชุมใหญ่ทราบเป็นปกติแล้ว สหกรณ์ต้องแจ้งให้ที่ประชุม ใหญ่ทราบในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) ผลประโยชน์และค่าตอบแทน ที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ และที่ปรึกษาของสหกรณ์ ได้รับจากสหกรณ์นั้น ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยให้สหกรณ์แสดงรายละเอียดดังกล่าวเป็นรายบุคคล ในรายงาน ประจำปี” ฯลฯ ในปีบัญชี ๒๕๖๔ ชอ.สธ.ได้จ่ายผลประและค่าตอบแทน แก่กรรมการดำเนินการ และแก่รักษาการผู้จัดการดังนี้ ชื่อ โบนัส เบี้ยเลี้ยง พาหนะ ตอบแทน ที่พัก ค่าอาหารประชุม ออนไลน์ นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ 75,000 5,600 4,500 100 นายสุชาติ ตันตินิรามัย 70,000 5,600 10,500 นายสุชาติ แก่นจันทร์ 70,000 7,200 4,500 นางสาวพรรณี ภัทรพงษ์พันธ์ 70,000 5,600 3,000 100 นางสุวรรณา เธียรอังกูร 70,000 5,600 3,500 นางวันเพ็ญ ดวงมาลา 65,000 3,200 - 300 นางสาวธฤษวรรณ อำพันพงษ์ 65,000 4,000 1,000 400 นายวิชิต วงษ์พาณิชย์ 65,000 4,000 2,000 300 นายสมโชค พูลสุข 65,000 4,000 15,480 200 นายแพทย์สุรชัย ติษยาธิคม 65,000 6,400 124,000 240,000 นายชำนาญ ลิ้มภักดี - 1,600 1,500 นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ - 1,600 7,740 นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ - 1,600 1,000 นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี - 1,600 1,000 นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร - 1,600 1,000 รวม 680,000 59,200 180,220 240,000 - 1,400 ๒๕ ๑๐. การเปรียบเทียบกับชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์อื่น ชอ.สธ.ได้รับการจดทะเบียนเป็นชุมนุมสหกรณ์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ เป็นลำดับที่ ๔ ของ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ๙ ชุมนุมสหกรณ์ ในวันสิ้นปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. มีขนาดสินทรัพย์ มากเป็นอันดับที่ ๖ เมื่อเทียบกับชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ อื่น ลดลง ๑ อันดับจากปีก่อน และเมื่อเปรียบเทียบจำนวนทุนรวม เป็นอันดับที่ ๔ ในรายงานผลการดำเนินงาน ได้แสดงตารางการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินเป็นรายปี ของทั้ง ๙ ชุมนุม สหกรณ์ ที่ประชุม รับทราบรายงานประจำปี ๒๕๖๔ แสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ วาระที่ ๕ พิจารณารายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ มอบให้ผู้ตรวจสอบกิจการเป็นผู้เสนอ ผู้ตรวจสอบกิจการ เสนอรายงานของผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๔ ตามที่ปรากฏในหนังสือ ประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๕๘ – ๖๒ ข้อสรุปจากการตรวจสอบ คือ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด มีสินทรัพย์รวม ๓,๐๓๒,๗๔๑,๔๓๙.๑๕ บาท เพิ่มขึ้นร้อย ละ ๕๓.๐๖ เป็นเงินลงทุน ๒,๔๓๐,๕๕๐,๐๐๐ บาท เป็นร้อยละ ๘๐ ของสินทรัพย์รวม และชุมนุมสหกรณ์ออม ทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้ดำเนินงานตามแผนอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ และ เป้าหมาย และเป็นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ และมติที่ประชุม ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติรายงานการตรวจสอบกิจการ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 25 IN.indd 25 15/5/2566 20:21:26


26 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๒๖ วาระที่ ๖ พิจารณาอนุมัติงบดุลประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ มอบให้ผู้สอบบัญชี เป็นผู้เสนอ ผู้สอบบัญชี แถลงว่าผู้สอบบัญชีได้ตรวจสอบงบการเงิน ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ซึ่งประกอบด้วย งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ งบกำไรขาดทุน และงบกระแสเงิน สด สำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน รวมถึงหมายเหตุประกอบงบการเงิน สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ และหมาย เหตุเรื่องอื่น ๆ แล้ว เห็นว่าถูกต้องตามที่ควรในสาระสำคัญตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนดและได้แสดง ความเห็น ในรายงานของผู้สอบบัญชี อย่างไม่มีเงื่อนไข และได้รายงานผลการตรวจสอบบัญชี ที่เสนออธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ และรายงานที่เสนอสมาชิกต่อที่ ประชุมด้วย ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๖๖ – ๘๔ รวม ๑๙ หน้า โดยสรุปพอสังเขปดังนี้ งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพย์ ๓,๐๓๒,๗๔๑,๔๓๙.๑๕ บาท หนี้สิน ๒,๐๙๓,๒๙๘,๑๘๔.๖๗ บาท ทุนรวม ๙๓๙,๔๔๓,๒๕๔.๔๘ บาท เป็นทุนเรือนหุ้น ๘๕๐,๕๙๘,๕๐๐.๐๐ บาท งบกำไรขาดทุน รายได้ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากการลงทุน ๑๐๒,๙๕๙,๗๖๙.๔๑ บาท ค่าธรรมเนียมแรกเข้า ๓,๙๐๐.๐๐ บาท ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยและเงินลงทุน ๔๘,๖๕๕,๐๒๖.๔๔ บาท ค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน ๒,๙๙๗.๙๑๑.๐๘ บาท กำไรสุทธิ ๕๑,๓๒๓,๕๔๙.๓๕ บาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติ งบแสดงฐานะการเงิน, งบกำไรขาดทุน งบกระแสเงินสด และหมาย เหตุประกอบงบการเงิน ๒๗ วาระที่ ๗ พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ ได้นำเสนอ ข้อเสนอของคณะกรรมการดำเนินการในการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๔ ตามข้อบังคับข้อ ๖๓ เปรียบเทียบ กับกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๓ ตามที่เสนอในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๔ หน้าที่ ๘๖ ให้ที่ประชุมพิจารณา มติที่ประชุม อนุมัติเป็นเอกฉันท์ ให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๔ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ ดังนี้ รายการ จำนวนเงิน(บาท) สัดส่วน(%) กำไรสุทธิ 51,323,549.35 100.00 1. เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 7,394,819.61 14.41 2. เป็นค่าบำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ไม่เกินร้อยละหนึ่ง ของกำไรสุทธิ แต่ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐.๐๐ บาท 30,000.00 0.06 3. เป็นเงินปันผลตามหุ้นที่ชำระแล้วไม่เกินร้อยละสิบต่อปีโดยคิด ตามส่วนแห่งระยะเวลาเป็นรายวัน (ร้อยละ ๕.๔๐ ต่อปี) 40,712,754.74 79.33 4. เป็นเงินเฉลี่ยคืนให้แก่สหกรณ์สมาชิกตามส่วนธุรกิจที่สหกรณ์ สมาชิกได้ทำไว้กับชุมนุมสหกรณ์ในระหว่างปี 0.00 0.00 5. เป็นโบนัสแก่กรรมการดำเนินการและเจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ไม่ เกินร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 985,975.00 1.92 6. เป็นทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผลไม่เกินร้อยละสองแห่งทุนเรือน หุ้นของชุมนุมสหกรณ์ตามที่มีอยู่เมื่อสิ้นปีนั้น 1,000,000.00 1.95 7. เป็นทุนเพื่อการศึกษาอบรมทางสหกรณ์และสาธารณประโยชน์ไม่ เกินร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 100,000.00 0.19 8. เป็นทุนรับโอนหุ้นไม่เกินร้อยละห้าแห่งทุนเรือนหุ้นของชุมนุม สหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวันสิ้นปีทางบัญชีนั้น 1,000,000.00 1.95 9. เป็นทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของชุมนุมสหกรณ์ไม่เกิน ร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 100,000.00 0.19 26 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 26 15/5/2566 20:21:26


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 27 ๒๗ วาระที่ ๗ พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ ได้นำเสนอ ข้อเสนอของคณะกรรมการดำเนินการในการจัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๔ ตามข้อบังคับข้อ ๖๓ เปรียบเทียบ กับกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๓ ตามที่เสนอในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่ สามัญประจำปี ๒๕๖๔ หน้าที่ ๘๖ ให้ที่ประชุมพิจารณา มติที่ประชุม อนุมัติเป็นเอกฉันท์ ให้จัดสรรกำไรสุทธิประจำปี ๒๕๖๔ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ ดังนี้ รายการ จำนวนเงิน(บาท) สัดส่วน(%) กำไรสุทธิ 51,323,549.35 100.00 1. เป็นทุนสำรองไม่น้อยกว่าร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 7,394,819.61 14.41 2. เป็นค่าบำรุงสันนิบาตสหกรณ์แห่งประเทศไทย ไม่เกินร้อยละหนึ่ง ของกำไรสุทธิ แต่ไม่เกิน ๓๐,๐๐๐.๐๐ บาท 30,000.00 0.06 3. เป็นเงินปันผลตามหุ้นที่ชำระแล้วไม่เกินร้อยละสิบต่อปีโดยคิด ตามส่วนแห่งระยะเวลาเป็นรายวัน (ร้อยละ ๕.๔๐ ต่อปี) 40,712,754.74 79.33 4. เป็นเงินเฉลี่ยคืนให้แก่สหกรณ์สมาชิกตามส่วนธุรกิจที่สหกรณ์ สมาชิกได้ทำไว้กับชุมนุมสหกรณ์ในระหว่างปี 0.00 0.00 5. เป็นโบนัสแก่กรรมการดำเนินการและเจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ไม่ เกินร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 985,975.00 1.92 6. เป็นทุนรักษาระดับอัตราเงินปันผลไม่เกินร้อยละสองแห่งทุนเรือน หุ้นของชุมนุมสหกรณ์ตามที่มีอยู่เมื่อสิ้นปีนั้น 1,000,000.00 1.95 7. เป็นทุนเพื่อการศึกษาอบรมทางสหกรณ์และสาธารณประโยชน์ไม่ เกินร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 100,000.00 0.19 8. เป็นทุนรับโอนหุ้นไม่เกินร้อยละห้าแห่งทุนเรือนหุ้นของชุมนุม สหกรณ์ตามที่มีอยู่ในวันสิ้นปีทางบัญชีนั้น 1,000,000.00 1.95 9. เป็นทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้างของชุมนุมสหกรณ์ไม่เกิน ร้อยละสิบของกำไรสุทธิ 100,000.00 0.19 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 27 IN.indd 27 15/5/2566 20:21:26


28 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๒๘ วาระที่ ๘ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ประธานฯ ได้เสนอที่ประชุม หลักการในการแก้ไขข้อบังคับ ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุม ใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๘๙ – ๙๐ และตารางเปรียบเทียบข้อความเดิม กับข้อความใหม่ และเหตุผล ในหน้าที่ ๙๑ ดังนี้ หลักการ ด้วยชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด มีจำนวนสมาชิก เพิ่มมากขึ้น จึง เห็นสมควรให้มีจำนวนกรรมการดำเนินการเพิ่มขึ้น จากจำนวน ๙ คน เป็น ๑๑ คน และขอเปลี่ยนชื่อตำแหน่ง จาก “เลขานุการ” เป็น “กรรมการเลขานุการ” เพื่อให้บุคคลภายนอก ได้เข้ว ใจว่าที่เดิมเรียกว่า “เลขานุการ” นั้นความจริงเป็นกรรมการด้วย คณะกรรมการดำเนินการ ได้เสนอต่อที่ประชุมใหญ่ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ตามตาราง เปรียบเทียบข้อความ และเหตุผล ตอนท้ายของวาระนี้ ที่ประชุม ได้แยกพิจารณาเป็น ๒ ประเด็น ประเด็นแรก ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ เห็นชอบ ให้แก้ไข ข้อความ จาก “และกรรมการดำเนินการอื่น อีกแปดคน” เป็น “และกรรมการดำเนินการอื่นอีกสิบคน” ประเด็นที่สอง ที่ประชุมมีมติไม่เห็นชอบตามที่เสนอ จำนวน ๑ สหกรณ์ ๗ เสียง และสหกรณ์ที่เหลือมี มติ เห็นชอบ จำนวนเสียงมากว่า ๒๐๐ เสียง ให้แก้ไข คำว่า “เลขานุการ” เป็น “กรรมการเลขานุการ” มติทีประชุม อนุมัติตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ ด้วยเสียง มากกว่า สอง ใน สาม ข้อความเปรียบเทียบและเหตุผลที่ขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อความเดิม ข้อความใหม่ เหตุผล ข้อ 38.คณะกรรมการดำเนินการ ให้ ชุมนุมสหกรณ์มีคณะกรรมการดำเนินการชุมนุม สหกรณ์ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการดำเนินการอื่นอีกแปดคน ซึ่งที่ ประชุมใหญ่เลือกตั้งจากผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ให้คณะกรรมการดำเนินการเลือกในระหว่าง กันเองขึ้นเป็นรองประธานกรรมการหนึ่งคน หรือ หลายคน เลขานุการหนึ่งคน นอกนั้นเป็น กรรมการดำเนินการ แล้วแจ้งให้สหกรณ์สมาชิก ทราบ ให้ประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ดังนี้ คือเป็นประธานในที่ประชุมใหญ่และที่ประชุม คณะกรรมการดำเนินการลงลายมือชื่อในเอกสาร ข้อ 38.คณะกรรมการดำเนินการ ให้ ชุมนุมสหกรณ์มีคณะกรรมการดำเนินการชุมนุม สหกรณ์ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการดำเนินการอื่นอีกสิบคน ซึ่งที่ประชุม ใหญ่เลือกตั้งจากผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ให้คณะกรรมการดำเนินการเลือกในระหว่าง กันเองขึ้นเป็นรองประธานกรรมการหนึ่งคน หรือ หลายคน กรรมการเลขานุการหนึ่งคน นอกนั้น เป็นกรรมการดำเนินการ แล้วแจ้งให้สหกรณ์ สมาชิกทราบ ให้ประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ดังนี้ คือเป็นประธานในที่ประชุมใหญ่และที่ประชุม คณะกรรมการดำเนินการลงลายมือชื่อในเอกสาร เนื่อง จาก ชอ.สธ.มี สมาชิกเพิ่ม มากขึ้นจึงเห็น ควรเพิ่ม จำนวน กรรมการ ดำเนินการจาก 9 คน เป็น 11 คน และกรรมการ ดำเนินการต้อง เป็นตัวแทนที่ ติดต่อกับ ๒๙ ต่าง ๆ แทนชุมนุมสหกรณ์ตามที่กำหนดไว้ใน ข้อบังคับ ดูแลควบคุมการดำเนินงานโดยทั่วไปของ ชุมนุมสหกรณ์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการ มอบหมายให้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุม สหกรณ์ ให้รองประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ ทำการแทนประธานกรรมการในขณะที่ประธาน กรรมการไม่อยู่ หรืออยู่แต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือตามที่ประธานกรรมการมอบหมายให้ปฏิบัติ ให้เลขานุการ มีอำนาจและหน้าที่ในการ บันทึกรายงานการประชุมใหญ่ รายงานการประชุม คณะกรรมการดำเนินการ ดูแลรักษารายงานการ ประชุมดังกล่าวนั้นให้เรียบร้อยอยู่เสมอ จัดส่ง หนังสือแจ้งนัดประชุมไปยังผู้แทนสหกรณ์สมาชิก หรือกรรมการดำเนินการแล้วแต่กรณี ตลอดจนทำ การอื่น ๆ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับและตามที่ คณะกรรมการดำเนินการจะได้มอบหมายให้ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุมสหกรณ์ ต่าง ๆ แทนชุมนุมสหกรณ์ตามที่กำหนดไว้ใน ข้อบังคับ ดูแลควบคุมการดำเนินงานโดยทั่วไปของ ชุมนุมสหกรณ์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการ มอบหมายให้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุม สหกรณ์ ให้รองประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ ทำการแทนประธานกรรมการในขณะที่ประธาน กรรมการไม่อยู่ หรืออยู่แต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือตามที่ประธานกรรมการมอบหมายให้ปฏิบัติ ให้ กรรมการเลขานุการ มีอำนาจและหน้าที่ ในการบันทึกรายงานการประชุมใหญ่ รายงานการ ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ดูแลรักษา รายงานการประชุมดังกล่าวนั้นให้เรียบร้อยอยู่เสมอ จัดส่งหนังสือแจ้งนัดประชุมไปยังผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก หรือกรรมการดำเนินการแล้วแต่กรณี ตลอดจนทำการอื่น ๆ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ และตามที่คณะกรรมการดำเนินการจะได้ มอบหมายให้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุม สหกรณ์ บุคคล ภายนอก บางครั้งบุคคล ภายนอกเมื่อ เห็นตำแหน่ง ว่าเป็น เลขานุการแล้ว เข้าใจว่าไม่ เป็นกรรมการ ก็จะไม่ยอมรับ เอกสารที่ลง ชื่อโดย เลขานุการ จึง เห็นควรใช้เป็น ตำแหน่ง กรรมการ เลขานุการ เพื่อไม่ให้ บุคคลภาย นอกสับสน ๒๘ วาระที่ ๘ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ประธานฯ ได้เสนอที่ประชุม หลักการในการแก้ไขข้อบังคับ ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุม ใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๘๙ – ๙๐ และตารางเปรียบเทียบข้อความเดิม กับข้อความใหม่ และเหตุผล ในหน้าที่ ๙๑ ดังนี้ หลักการ ด้วยชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด มีจำนวนสมาชิก เพิ่มมากขึ้น จึง เห็นสมควรให้มีจำนวนกรรมการดำเนินการเพิ่มขึ้น จากจำนวน ๙ คน เป็น ๑๑ คน และขอเปลี่ยนชื่อตำแหน่ง จาก “เลขานุการ” เป็น “กรรมการเลขานุการ” เพื่อให้บุคคลภายนอก ได้เข้ว ใจว่าที่เดิมเรียกว่า “เลขานุการ” นั้นความจริงเป็นกรรมการด้วย คณะกรรมการดำเนินการ ได้เสนอต่อที่ประชุมใหญ่ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ตามตาราง เปรียบเทียบข้อความ และเหตุผล ตอนท้ายของวาระนี้ ที่ประชุม ได้แยกพิจารณาเป็น ๒ ประเด็น ประเด็นแรก ที่ประชุมมีมติเป็นเอกฉันท์ เห็นชอบ ให้แก้ไข ข้อความ จาก “และกรรมการดำเนินการอื่น อีกแปดคน” เป็น “และกรรมการดำเนินการอื่นอีกสิบคน” ประเด็นที่สอง ที่ประชุมมีมติไม่เห็นชอบตามที่เสนอ จำนวน ๑ สหกรณ์ ๗ เสียง และสหกรณ์ที่เหลือมี มติ เห็นชอบ จำนวนเสียงมากว่า ๒๐๐ เสียง ให้แก้ไข คำว่า “เลขานุการ” เป็น “กรรมการเลขานุการ” มติทีประชุม อนุมัติตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ ด้วยเสียง มากกว่า สอง ใน สาม ข้อความเปรียบเทียบและเหตุผลที่ขอแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อความเดิม ข้อความใหม่ เหตุผล ข้อ 38.คณะกรรมการดำเนินการ ให้ ชุมนุมสหกรณ์มีคณะกรรมการดำเนินการชุมนุม สหกรณ์ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการดำเนินการอื่นอีกแปดคน ซึ่งที่ ประชุมใหญ่เลือกตั้งจากผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ให้คณะกรรมการดำเนินการเลือกในระหว่าง กันเองขึ้นเป็นรองประธานกรรมการหนึ่งคน หรือ หลายคน เลขานุการหนึ่งคน นอกนั้นเป็น กรรมการดำเนินการ แล้วแจ้งให้สหกรณ์สมาชิก ทราบ ให้ประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ดังนี้ คือเป็นประธานในที่ประชุมใหญ่และที่ประชุม คณะกรรมการดำเนินการลงลายมือชื่อในเอกสาร ข้อ 38.คณะกรรมการดำเนินการ ให้ ชุมนุมสหกรณ์มีคณะกรรมการดำเนินการชุมนุม สหกรณ์ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการดำเนินการอื่นอีกสิบคน ซึ่งที่ประชุม ใหญ่เลือกตั้งจากผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ให้คณะกรรมการดำเนินการเลือกในระหว่าง กันเองขึ้นเป็นรองประธานกรรมการหนึ่งคน หรือ หลายคน กรรมการเลขานุการหนึ่งคน นอกนั้น เป็นกรรมการดำเนินการ แล้วแจ้งให้สหกรณ์ สมาชิกทราบ ให้ประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ดังนี้ คือเป็นประธานในที่ประชุมใหญ่และที่ประชุม คณะกรรมการดำเนินการลงลายมือชื่อในเอกสาร เนื่อง จาก ชอ.สธ.มี สมาชิกเพิ่ม มากขึ้นจึงเห็น ควรเพิ่ม จำนวน กรรมการ ดำเนินการจาก 9 คน เป็น 11 คน และกรรมการ ดำเนินการต้อง เป็นตัวแทนที่ ติดต่อกับ 28 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 28 15/5/2566 20:21:26


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 29 ๒๙ ต่าง ๆ แทนชุมนุมสหกรณ์ตามที่กำหนดไว้ใน ข้อบังคับ ดูแลควบคุมการดำเนินงานโดยทั่วไปของ ชุมนุมสหกรณ์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการ มอบหมายให้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุม สหกรณ์ ให้รองประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ ทำการแทนประธานกรรมการในขณะที่ประธาน กรรมการไม่อยู่ หรืออยู่แต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือตามที่ประธานกรรมการมอบหมายให้ปฏิบัติ ให้เลขานุการ มีอำนาจและหน้าที่ในการ บันทึกรายงานการประชุมใหญ่ รายงานการประชุม คณะกรรมการดำเนินการ ดูแลรักษารายงานการ ประชุมดังกล่าวนั้นให้เรียบร้อยอยู่เสมอ จัดส่ง หนังสือแจ้งนัดประชุมไปยังผู้แทนสหกรณ์สมาชิก หรือกรรมการดำเนินการแล้วแต่กรณี ตลอดจนทำ การอื่น ๆ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับและตามที่ คณะกรรมการดำเนินการจะได้มอบหมายให้ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุมสหกรณ์ ต่าง ๆ แทนชุมนุมสหกรณ์ตามที่กำหนดไว้ใน ข้อบังคับ ดูแลควบคุมการดำเนินงานโดยทั่วไปของ ชุมนุมสหกรณ์ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและ ดำเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการ มอบหมายให้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุม สหกรณ์ ให้รองประธานกรรมการมีอำนาจและหน้าที่ ทำการแทนประธานกรรมการในขณะที่ประธาน กรรมการไม่อยู่ หรืออยู่แต่ไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ หรือตามที่ประธานกรรมการมอบหมายให้ปฏิบัติ ให้ กรรมการเลขานุการ มีอำนาจและหน้าที่ ในการบันทึกรายงานการประชุมใหญ่ รายงานการ ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ดูแลรักษา รายงานการประชุมดังกล่าวนั้นให้เรียบร้อยอยู่เสมอ จัดส่งหนังสือแจ้งนัดประชุมไปยังผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก หรือกรรมการดำเนินการแล้วแต่กรณี ตลอดจนทำการอื่น ๆ ตามที่กำหนดไว้ในข้อบังคับ และตามที่คณะกรรมการดำเนินการจะได้ มอบหมายให้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ มติและคำสั่งต่าง ๆ ของชุมนุม สหกรณ์ บุคคล ภายนอก บางครั้งบุคคล ภายนอกเมื่อ เห็นตำแหน่ง ว่าเป็น เลขานุการแล้ว เข้าใจว่าไม่ เป็นกรรมการ ก็จะไม่ยอมรับ เอกสารที่ลง ชื่อโดย เลขานุการ จึง เห็นควรใช้เป็น ตำแหน่ง กรรมการ เลขานุการ เพื่อไม่ให้ บุคคลภาย นอกสับสน การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 29 IN.indd 29 15/5/2566 20:21:26


30 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๓๐ วาระที่ ๙ พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ - รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๕ ประธานฯ มอบให้รักษาการผู้จัดการ เป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาแผนงาน และงบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๕ ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๙๓ – ๙๙ รวม ๗ หน้า เพื่อ วางรากฐานของ ชอ.สธ. และสนับสนุนให้มีการเจริญเติบโต อย่างมั่นคง และมีคุณภาพต่อไปในอนาคต โดยใช้ แนวคิดของ Balanced scorecard ในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงานปี ๒๕๖๕ โดยสรุปดังนี้ ๑. วิสัยทัศน์ ชอ.สธ. เป็นศูนย์กลางของสหกรณ์ออมทรัพย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานของสหกรณ์สมาชิก ๒. เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ชอ.สธ. กำหนดพันธกิจที่เหมาะสมกับศักยภาพ และเป็นประโยชน์ต่อ ขบวนการสหกรณ์ออมทรัพย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขดังนี้ พันธกิจที่ ๑ เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการเพื่อความเข้มแข็งของสหกรณ์สมาชิก ทั้งในด้านการเงิน การบริหารงานบุคคล เครื่องมืออุปกรณ์ วิธีการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ ระบบสารสนเทศ กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเผยแพร่เทคโนโลยีต่างๆ พันธกิจที่ ๒ สร้างคุณค่าให้สหกรณ์ออมทรัพย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นสถาบันในชุมชน เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก โดยใช้หลักคุณธรรมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ ๓ พัฒนาองค์กรอย่างมืออาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางการบริหารของ ชอ.สธ. ได้แก่การ นำเครื่องมือการบริหารจัดการที่ทันสมัย มาใช้ในการพัฒนาระบบบริหาร จัดการภายใน ชอ.สธ.ให้เป็น มาตรฐานแบบบูรณาการ ๓. แผนงาน ๓.๑ แผนงานด้านการเงิน ๓.๑.๑ ด้านการระดมทุน ๓.๑.๒ การให้เงินกู้แก่สหกรณ์สมาชิกและสหกรณ์อื่น ๆ ๓.๑.๓ ด้านการลงทุน คณะกรรมการดำเนินการจึงกำหนดแผนการลงทุนในปี ๒๕๖๕ โดยใช้นโยบายดังนี้คือ จะลงทุนโดย ๑. การให้กู้แก่สหกรณ์สมาชิก หรือสหกรณ์อื่น และ ๒. การฝากเงินในสหกรณ์อื่น ซึ่งทั้ง ๒ กรณีนี้ เนื่องจากมีการแข่งขันกันลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างรุนแรง ระหว่างสหกรณ์และชุมนุม สหกรณ์ผู้ให้กู้ ดังนั้นในภาษาการค้าเรียกว่าตลาดเป็นของผู้กู้ เป็นผลให้ผู้กู้จะเป็นผู้เลือกว่าจะกู้จากผู้ให้กู้รายใด ก็ได้ แม้ว่า ชอ.สธ. ได้ลดอัตราดอกเบี้ยลงด้วย แต่ก็ถูกแย่งลูกหนี้ไปหลายรายในปี ๒๕๖๓ และปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ.จึงควรจะทำเพียงเพื่อดำรงลูกหนี้ปัจจุบัน ไม่มีความคิดจะลงทุนจำนวนมาก เพราะการแข่งขันสูง และการ ลงทุนได้ผลตอบแทนในอัตราต่ำลง ๓๑ ๓. การลงทุนในตราสารหนี้ ตามมาตรา ๖๒ (๓) และมาตรา ๖๒ (๗) ได้แก่การลงทุนในพันธบัตรและ หุ้นกู้ จะลงทุน ตามที่ ได้เงินเข้ามา ถ้าสมาชิกซื้อหุ้น และฝากเงินเพิ่มเข้ามามาก ชอ.สธ. ก็จะลงทุน มากตามส่วนของเงินที่เพิ่มขึ้น ๔. การลงทุนในหุ้นสามัญของรัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา ๖๒(๓) ชอ.สธ. จะลงทุนตามโอกาสและความ พร้อม ๓.๒ แผนงานด้านสหกรณ์สมาชิก ๓.๓ แผนงานด้านกระบวนการภายใน ๓.๔ แผนงานด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ๔. แผนดำเนินธุรกิจ ปี ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๔.๑ เป้าหมายในการดำเนินการ ในวันสิ้นปี จำนวนสมาชิก ๙๘ สหกรณ์ จะเพิ่มขึ้น ๘ สหกรณ์ ทุนเรือนหุ้น ๙๒๕ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๗๔.๔๐ ล้านบาท ถ่วงน้ำหนักทั้งปี ๘๙๐ ล้านบาท เงินรับฝาก ๑,๘๐๐ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๑๖๖.๒๐ ล้านบาท ถ่วงน้ำหนักทั้งปี ๑,๖๐๐ ล้านบาท เงินกู้ ๕๗๕ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๑๑๗.๑๐ ล้านบาท ถ่วงน้ำหนักทั้งปี ๕๕๐ ล้านบาท ๔.๒ ประมาณการรายได้-ค่าใช้จ่าย และกำไรสุทธิ รายได้ ๑๒๒,๓๖๓,๔๓๙.๑๘ บาท ค่าใช้จ่าย ๕๗,๑๗๗,๐๐๐.๐๐ บาท กำไรสุทธิ ๖๕,๑๘๖,๔๓๙.๑๘ บาท ๔.๓ ประมาณการรายจ่ายงบบริหารประจำปี ๒๕๖๕ จำนวนรวม ๓,๑๖๙,๐๘๕.๐๐ บาท ๔.๔ ประมาณการรายจ่ายงบลงทุน และ ครุภัณฑ์ ประกอบด้วย - ครุภัณฑ์ ๒๒๐,๐๐๐.๐๐ บาท - รวมงบลงทุนทั้งสิ้น ๒๒๐,๐๐๐.๐๐ บาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ- รายจ่าย และงบลงทุน ประจำปี ๒๕๖๕ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ และให้ถัวจ่ายในระหว่างหมวดที่ ๑ ถึง ๗ ได้ และถัวจ่ายภายใน หมวดงบลงทุน การจัดหาสำนักงานใหม่ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด คณะกรรมการดำเนินการขอใช้วาระ พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ – รายจ่าย ประจำปีขอกรอบการจัดหาสำนักงานแห่งใหม่ จากที่ประชุมใหญ่ ประธานฯ ได้มอบให้รักษาการผู้จัดการเป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ ได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบถึงสำนักงานแห่งแรก ได้ใช้พื้นที่ในกรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์ โดยไม่ต้องเช่า ต่อมาพบว่าอาคารที่สำนักงานอยู่มีการชำรุด ต้องเลิกใช้ ในปี ๒๕๖๐ สำนักงานปัจจุบัน ชอ.สธ.ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ ให้ซื้อทาวน์เฮาส์ เป็นอาคาร ๓ ชั้น ๑ คูหา ตั้งอยู่ที่ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน ห่างจากประตู ๔ ของกระทรวงสาธารณสุข ประมาณ ๑๐๐ เมตร และได้เข้าใช้ตั้งแต่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ เป็นสำนักงานชนาดเล็กพอใช้งานได้อย่างจำกัด 30 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 30 15/5/2566 20:21:26


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 31 ๓๐ วาระที่ ๙ พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ - รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๕ ประธานฯ มอบให้รักษาการผู้จัดการ เป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาแผนงาน และงบประมาณรายรับ-รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๕ ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๙๓ – ๙๙ รวม ๗ หน้า เพื่อ วางรากฐานของ ชอ.สธ. และสนับสนุนให้มีการเจริญเติบโต อย่างมั่นคง และมีคุณภาพต่อไปในอนาคต โดยใช้ แนวคิดของ Balanced scorecard ในการกำหนดกลยุทธ์และแผนงานปี ๒๕๖๕ โดยสรุปดังนี้ ๑. วิสัยทัศน์ ชอ.สธ. เป็นศูนย์กลางของสหกรณ์ออมทรัพย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานของสหกรณ์สมาชิก ๒. เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ ชอ.สธ. กำหนดพันธกิจที่เหมาะสมกับศักยภาพ และเป็นประโยชน์ต่อ ขบวนการสหกรณ์ออมทรัพย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขดังนี้ พันธกิจที่ ๑ เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการเพื่อความเข้มแข็งของสหกรณ์สมาชิก ทั้งในด้านการเงิน การบริหารงานบุคคล เครื่องมืออุปกรณ์ วิธีการดำเนินงานของสหกรณ์ออมทรัพย์ ระบบสารสนเทศ กฎหมายที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเผยแพร่เทคโนโลยีต่างๆ พันธกิจที่ ๒ สร้างคุณค่าให้สหกรณ์ออมทรัพย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นสถาบันในชุมชน เพื่อ พัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิก โดยใช้หลักคุณธรรมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจที่ ๓ พัฒนาองค์กรอย่างมืออาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพทางการบริหารของ ชอ.สธ. ได้แก่การ นำเครื่องมือการบริหารจัดการที่ทันสมัย มาใช้ในการพัฒนาระบบบริหาร จัดการภายใน ชอ.สธ.ให้เป็น มาตรฐานแบบบูรณาการ ๓. แผนงาน ๓.๑ แผนงานด้านการเงิน ๓.๑.๑ ด้านการระดมทุน ๓.๑.๒ การให้เงินกู้แก่สหกรณ์สมาชิกและสหกรณ์อื่น ๆ ๓.๑.๓ ด้านการลงทุน คณะกรรมการดำเนินการจึงกำหนดแผนการลงทุนในปี ๒๕๖๕ โดยใช้นโยบายดังนี้คือ จะลงทุนโดย ๑. การให้กู้แก่สหกรณ์สมาชิก หรือสหกรณ์อื่น และ ๒. การฝากเงินในสหกรณ์อื่น ซึ่งทั้ง ๒ กรณีนี้ เนื่องจากมีการแข่งขันกันลดอัตราดอกเบี้ยลงอย่างรุนแรง ระหว่างสหกรณ์และชุมนุม สหกรณ์ผู้ให้กู้ ดังนั้นในภาษาการค้าเรียกว่าตลาดเป็นของผู้กู้ เป็นผลให้ผู้กู้จะเป็นผู้เลือกว่าจะกู้จากผู้ให้กู้รายใด ก็ได้ แม้ว่า ชอ.สธ. ได้ลดอัตราดอกเบี้ยลงด้วย แต่ก็ถูกแย่งลูกหนี้ไปหลายรายในปี ๒๕๖๓ และปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ.จึงควรจะทำเพียงเพื่อดำรงลูกหนี้ปัจจุบัน ไม่มีความคิดจะลงทุนจำนวนมาก เพราะการแข่งขันสูง และการ ลงทุนได้ผลตอบแทนในอัตราต่ำลง ๓๑ ๓. การลงทุนในตราสารหนี้ ตามมาตรา ๖๒ (๓) และมาตรา ๖๒ (๗) ได้แก่การลงทุนในพันธบัตรและ หุ้นกู้ จะลงทุน ตามที่ ได้เงินเข้ามา ถ้าสมาชิกซื้อหุ้น และฝากเงินเพิ่มเข้ามามาก ชอ.สธ. ก็จะลงทุน มากตามส่วนของเงินที่เพิ่มขึ้น ๔. การลงทุนในหุ้นสามัญของรัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา ๖๒(๓) ชอ.สธ. จะลงทุนตามโอกาสและความ พร้อม ๓.๒ แผนงานด้านสหกรณ์สมาชิก ๓.๓ แผนงานด้านกระบวนการภายใน ๓.๔ แผนงานด้านการเรียนรู้และการพัฒนา ๔. แผนดำเนินธุรกิจ ปี ๒๕๖๕ ประกอบด้วย ๔.๑ เป้าหมายในการดำเนินการ ในวันสิ้นปี จำนวนสมาชิก ๙๘ สหกรณ์ จะเพิ่มขึ้น ๘ สหกรณ์ ทุนเรือนหุ้น ๙๒๕ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๗๔.๔๐ ล้านบาท ถ่วงน้ำหนักทั้งปี ๘๙๐ ล้านบาท เงินรับฝาก ๑,๘๐๐ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๑๖๖.๒๐ ล้านบาท ถ่วงน้ำหนักทั้งปี ๑,๖๐๐ ล้านบาท เงินกู้ ๕๗๕ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๑๑๗.๑๐ ล้านบาท ถ่วงน้ำหนักทั้งปี ๕๕๐ ล้านบาท ๔.๒ ประมาณการรายได้-ค่าใช้จ่าย และกำไรสุทธิ รายได้ ๑๒๒,๓๖๓,๔๓๙.๑๘ บาท ค่าใช้จ่าย ๕๗,๑๗๗,๐๐๐.๐๐ บาท กำไรสุทธิ ๖๕,๑๘๖,๔๓๙.๑๘ บาท ๔.๓ ประมาณการรายจ่ายงบบริหารประจำปี ๒๕๖๕ จำนวนรวม ๓,๑๖๙,๐๘๕.๐๐ บาท ๔.๔ ประมาณการรายจ่ายงบลงทุน และ ครุภัณฑ์ ประกอบด้วย - ครุภัณฑ์ ๒๒๐,๐๐๐.๐๐ บาท - รวมงบลงทุนทั้งสิ้น ๒๒๐,๐๐๐.๐๐ บาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ- รายจ่าย และงบลงทุน ประจำปี ๒๕๖๕ ตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ และให้ถัวจ่ายในระหว่างหมวดที่ ๑ ถึง ๗ ได้ และถัวจ่ายภายใน หมวดงบลงทุน การจัดหาสำนักงานใหม่ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด คณะกรรมการดำเนินการขอใช้วาระ พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ – รายจ่าย ประจำปีขอกรอบการจัดหาสำนักงานแห่งใหม่ จากที่ประชุมใหญ่ ประธานฯ ได้มอบให้รักษาการผู้จัดการเป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ ได้แจ้งให้ที่ประชุมทราบถึงสำนักงานแห่งแรก ได้ใช้พื้นที่ในกรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์ โดยไม่ต้องเช่า ต่อมาพบว่าอาคารที่สำนักงานอยู่มีการชำรุด ต้องเลิกใช้ ในปี ๒๕๖๐ สำนักงานปัจจุบัน ชอ.สธ.ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ ให้ซื้อทาวน์เฮาส์ เป็นอาคาร ๓ ชั้น ๑ คูหา ตั้งอยู่ที่ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน ห่างจากประตู ๔ ของกระทรวงสาธารณสุข ประมาณ ๑๐๐ เมตร และได้เข้าใช้ตั้งแต่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ เป็นสำนักงานชนาดเล็กพอใช้งานได้อย่างจำกัด การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 31 IN.indd 31 15/5/2566 20:21:27


32 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๓๒ สำนักงานในอนาคต ด้วยในปี ๒๕๖๔ คณะกรรมการดำเนินการ ได้พบ วิธีการดำเนินงานที่ได้ผลดีมาก ประกอบกับ จากการระบาดของโรค โควิด ๑๙ ทำให้อสังหาริมทรัพย์ราคาลดลง จึงเป็นโอกาส ที่ควรจัดหา สำนักงานใหม่ ตามกำลังศักยภาพของ ชอ.สธ. จึงขอเสนอให้ที่ประชุมใหญ่วางกรอบการจัดหาสำนักงานใหม่ ใน ๒ ประเด็นคือ ๑ ทำเลที่ตั้ง ควรจะอยู่ใกล้กระทรวงสาธารณสุขหรือไม่ ๒ ขนาดพื้นที่ และวงเงินลงทุน เพื่อให้คณะกรรมการดำเนินการ ไปจัดหามาเสนอให้ที่ประชุมใหญ่อนุมัติ ที่ประชุม ได้มีการแสดงความเห็นโดยผู้แทนสหกรณ์ ๓ คนได้แก่ นายพิมพ์ลักษณ์ อยู่วัฒนา ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด ดร.มะณู บุญศรีมณีชัย ผู้แทน สอ.สาธารณสุขหนองคาย จำกัด นายธานี ก่อบุญ ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสกลนคร จำกัด ได้เสนอความเห็นในทางเดียวกัน ว่า ไม่ควรกำหนดตำแหน่งที่ตั้ง และกรอบวงเงิน โดยให้ คณะกรรมการดำเนินการ ไปจัดหา ที่ซึ่งคณะกรรมการดำเนินการเห็นว่า เหมาะสม หลายๆที่ มาเสนอให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณาอนุมัติ มติที่ประชุม เห็นชอบ โดยไม่กำหนดกรอบตำแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่ และวงเงิน ให้คณะกรรมการ ดำเนินการไปจัดหาที่ดิน ที่เห็นว่าเหมาะสม หลายๆที่ เพื่อเสนอให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา ที่ประชุม มีมติให้เลื่อนวาระที่ ๑๔ “พิจารณาเลือกตั้งกรรมการดำเนินการ” เป็นวาระที่ ๑๐ และให้ เลื่อนวาระที่เหลือ เป็นวาระถัดๆไป วาระที่ ๑๐ พิจารณาเลือกตั้งกรรมการดำเนินการ ประธานฯ ได้มอบให้เลชานุการ เป็นผู้เสนอ เลขานุการ เสนอต่อที่ประชุมว่า กรรมการดำเนินการในคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๒ มีจำนวน ๙ คน ต้องพ้นจากตำแหน่ง ตามข้อบังคับ ข้อ ๔๑ (๑) “ถึงคราวออกตามวาระ” จำนวน ๕ คน ได้แก่ ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย รองประธานกรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ รองประธานกรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร เลขานุการ ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการ จึงต้องเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ออกตามวาระ ๕ คน เพื่อให้มีจำนวนกรรมการรวม ๙ คน จะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๕ คน โดยใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้ง ตาม“ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่า ด้วย การเลือกตั้งประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” ๓๓ ที่ประชุม ได้มีผู้แทนสหกรณ์ สมัคร และที่ถูกเสนอชื่อ เข้ารับการเลือกตั้ง จำนวน ๖ คน ได้แก่ ๑. นางสุวรรณา เธียรอังกูร ผู้แทน สอ.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำกัด ๒. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลราชวิถีจำกัด ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลเลิดสิน จำกัด ๔. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลพระปกเกล้า จำกัด ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลประสาท จำกัด ๖. นายประชนม์ อาวุธเพชร ผู้แทน สอ.สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จำกัด สหกรณ์จังหวัด (นายชัยวุฒิ มัณฑะนานนท์) ได้แนะนำให้ตรวจสอบลักษณะต้องห้าม ของผู้เข้ารับการ เลือกตั้งเป็นกรรมการ นอกจากต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๓๙ แล้ว กรรมการของ สหกรณ์ขนาดใหญ่(ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์) จะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดใน “กฎกระทรวง การ ดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔” โดยเฉพาะ ข้อ ๙ (๔) เป็นกรรมการหรือผู้จัดการของสหกรณ์อื่น เว้นแต่เป็นกรรมการของชุมนุมสหกรณ์ที่สหกรณ์นั้น เป็นสมาชิกอยู่ได้อีกไม่เกินหนึ่งแห่ง และข้อ ๙ (๖) ผิดนัดชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกว่าเก้าสิบวัน กับนิติบุคคลที่เป็นสมาชิกของบริษัท ข้อมูลเครดิต ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต ในระยะเวลาสองปีก่อนวันที่ได้รับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการหรือวันที่ทำสัญญาจ้างเป็นผู้จัดการหรือในชณะที่ดำรงตำแหน่งนั้น ผู้เข้ารับการเลือกตั้งทั้ง ๖ คนได้รับรองว่าไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามที่กล่าวมา ที่ประชุม ได้เลือกผู้แทนสหกรณ์ เป็นกรรมการนับคะแนนจำนวน ๓ คน ตามระเบียบฯ “ข้อ ๖ การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และ ส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม” ประกอบด้วย ๑. นายพิมพ์ลักษณ์ อยู่วัฒนา ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด ๒. นางทัณฑิมา เตียววิริยะกุล ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสตูล จำกัด ๓. นางจันทรา ชลคีรี ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลสระบุรี จำกัด เมื่อมีการลงคะแนนโดยที่ประชุมใหญ่ มีจำนวนผู้ลงคะแนน ๕๒ คน ไม่มีบัตรเสีย ผลการนับคะแนนเรียง ผู้ได้รับคะแนนจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ๑. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลพระปกเกล้า จำกัด ได้๒๐๕ คะแนน ๒. นายสุชาติแก่นจันทร์ ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลเลิดสิน จำกัด ได้ ๑๙๑ คะแนน ๓. นางสุวรรณา เธียรอังกูร ผู้แทน สอ.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำกัด ได้ ๑๘๕ คะแนน ๔. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลราชวิถี จำกัด ได้ ๑๘๓ คะแนน ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลประสาท จำกัด ได้ ๑๗๕ คะแนน ๖. นายประชนม์ อาวุธเพชร ผู้แทน สอ.สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จำกัด ได้ ๘๘ คะแนน 32 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 32 15/5/2566 20:21:27


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 33 ๓๓ ที่ประชุม ได้มีผู้แทนสหกรณ์ สมัคร และที่ถูกเสนอชื่อ เข้ารับการเลือกตั้ง จำนวน ๖ คน ได้แก่ ๑. นางสุวรรณา เธียรอังกูร ผู้แทน สอ.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำกัด ๒. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลราชวิถีจำกัด ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลเลิดสิน จำกัด ๔. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลพระปกเกล้า จำกัด ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลประสาท จำกัด ๖. นายประชนม์ อาวุธเพชร ผู้แทน สอ.สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จำกัด สหกรณ์จังหวัด (นายชัยวุฒิ มัณฑะนานนท์) ได้แนะนำให้ตรวจสอบลักษณะต้องห้าม ของผู้เข้ารับการ เลือกตั้งเป็นกรรมการ นอกจากต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๓๙ แล้ว กรรมการของ สหกรณ์ขนาดใหญ่(ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์) จะต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตามที่กำหนดใน “กฎกระทรวง การ ดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔” โดยเฉพาะ ข้อ ๙ (๔) เป็นกรรมการหรือผู้จัดการของสหกรณ์อื่น เว้นแต่เป็นกรรมการของชุมนุมสหกรณ์ที่สหกรณ์นั้น เป็นสมาชิกอยู่ได้อีกไม่เกินหนึ่งแห่ง และข้อ ๙ (๖) ผิดนัดชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกว่าเก้าสิบวัน กับนิติบุคคลที่เป็นสมาชิกของบริษัท ข้อมูลเครดิต ตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต ในระยะเวลาสองปีก่อนวันที่ได้รับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการหรือวันที่ทำสัญญาจ้างเป็นผู้จัดการหรือในชณะที่ดำรงตำแหน่งนั้น ผู้เข้ารับการเลือกตั้งทั้ง ๖ คนได้รับรองว่าไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามที่กล่าวมา ที่ประชุม ได้เลือกผู้แทนสหกรณ์ เป็นกรรมการนับคะแนนจำนวน ๓ คน ตามระเบียบฯ “ข้อ ๖ การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และ ส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม” ประกอบด้วย ๑. นายพิมพ์ลักษณ์ อยู่วัฒนา ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด ๒. นางทัณฑิมา เตียววิริยะกุล ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสตูล จำกัด ๓. นางจันทรา ชลคีรี ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลสระบุรี จำกัด เมื่อมีการลงคะแนนโดยที่ประชุมใหญ่ มีจำนวนผู้ลงคะแนน ๕๒ คน ไม่มีบัตรเสีย ผลการนับคะแนนเรียง ผู้ได้รับคะแนนจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ๑. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลพระปกเกล้า จำกัด ได้๒๐๕ คะแนน ๒. นายสุชาติแก่นจันทร์ ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลเลิดสิน จำกัด ได้ ๑๙๑ คะแนน ๓. นางสุวรรณา เธียรอังกูร ผู้แทน สอ.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำกัด ได้ ๑๘๕ คะแนน ๔. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลราชวิถี จำกัด ได้ ๑๘๓ คะแนน ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลประสาท จำกัด ได้ ๑๗๕ คะแนน ๖. นายประชนม์ อาวุธเพชร ผู้แทน สอ.สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช จำกัด ได้ ๘๘ คะแนน การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 33 IN.indd 33 15/5/2566 20:21:27


34 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๓๔ ผลการเลือกตั้ง อันดับที่ ๑ ถึง ๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ จะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๕ คน ได้แก่ ๑. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย ๒. นายสุชาติ แก่นจันทร์ ๓. นางสุวรรณา เธียรอังกูร ๔. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร และที่ประชุมได้มีมติเป็นเอกฉันท์เลือกตั้งนายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ เป็นประธานกรรมการดำเนินการซึ่งจะ อยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระการเป็นกรรมการคือ ๒ ปี ดังนั้นคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ จึงประกอบด้วย ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย กรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ กรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการ ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการ ๖. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการ ๗. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการ ๘. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ ๙. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ วาระที่ ๑๑ พิจารณากำหนดวงเงินซึ่งชุมนุมสหกรณ์อาจกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปี ๒๕๖๕ ประธานฯ ได้มอบให้รักษาการผู้จัดการ เสนอ รักษาการผู้จัดการ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา เหตุผล ประกอบการขอความเห็นชอบวงเงินกู้ยืมหรือค้ำ ประกันประจำปี ๒๕๖๕ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๐๑ – ๑๐๗ ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๔ ชุมนุมสหกรณ์ฯมีทุนเรือนหุ้น ๘๕๐,๕๙๘,๕๐๐ บาท และ ณ วันสิ้นเดือนก่อนวัน ประชุมใหญ่ (๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) มีทุนเรือนหุ้น ๙๒๗,๙๘๖,๕๐๐ บาท ทุนสำรองยกมาจากปี ๒๕๖๔ จำนวนเงิน ๒๕,๙๒๖,๖๘๕.๑๓ บาท เมื่อรวมกับทุนเรือนหุ้น จะเป็น เงินทุนรวม ๙๕๓,๙๑๓,๑๘๕.๑๓ บาท ๑.๕ เท่า ของทุน = ๑.๕ x ๙๕๓,๙๑๓,๑๘๕.๑๓ = ๑,๔๓๐,๘๖๙,๗๗๗.๗๐ บาท ชุมนุมสหกรณ์ฯมีความจำเป็นเพื่อจะรองรับการดำเนินธุรกิจให้สามารถบริการสหกรณ์สมาชิกได้มากขึ้น และมีเครื่องมือรักษาสภาพคล่องทางการเงินอย่างเพียงพอ คณะกรรมการดำเนินการ จึงเห็นควรเสนอให้ที่ ประชุมใหญ่กำหนดวงเงิน ซึ่งชุมนุมสหกรณ์ฯอาจกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปี ๒๕๖๕ เป็นจำนวนเงิน ๑,๔๓๐ ล้านบาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติ ให้กำหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปีสิ้นสุดวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ เป็นจำนวนเงิน ๑,๔๓๐ ล้านบาท ตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ ๓๕ วาระที่ ๑๒ พิจารณาเลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ และ ปี ๒๕๖๖ ประธานฯ เสนอว่าตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๖๔. ให้ที่ ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการ จากผู้แทนสหกรณ์สมาชิก หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม จำนวนสามคน หรือ หนึ่งนิติบุคคล เป็นผู้ตรวจสอบกิจการของชุมนุมสหกรณ์ วาระละ สองปี มีผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ตรวจสอบกิจการและมีคุณสมบติ ๒ นิติบุคคล ได้แก่ ๑. บริษัทธรรมาภิบาลพิทักษ์ จำกัด โดย นางสาว ภัทรพร ทัศนเสวี เสนอ ค่าธรรมเนียมการ ตรวจสอบกิจการปีบัญชีละ จำนวนเงิน ๓๕,๐๐๐ บาท และ ๒. บริษัททีเค แอคเค้า แอนด์แอสโซซิเอท จำกัด โดย นางสาวคณพิชญ์ นาคคง เสนอ ค่าธรรมเนียม การตรวจสอบกิจการปีบัญชีละ จำนวนเงิน ๓๕,๐๐๐ บาท ซึ่งได้แสดงคุณสมบัติ และข้อเสนอ โดยสังเขป ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๑๐-๑๑๑ ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ เลือกตั้ง นิติบุคคล คือ บริษัทธรรมาภิบาลพิทักษ์ จำกัด โดย นางสาวภัทร พร ทัศนเสวีเป็นผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ และป๊ ๒๕๖๖ โดยกำหนดค่าธรรมเนียม การตรวจสอบ กิจการจำนวนเงินปีละ ๓๕,๐๐๐ บาทและให้เลือกตั้งบริษัททีเค แอคเค้า แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด โดย นางสาวคณพิชญ์ นาคคง เป็นผู้ตรวจสอบกิจการสำรอง ค่าธรรมเนียมจำนวนเงินปีละ ๓๕,๐๐๐ บาท 34 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 34 15/5/2566 20:21:27


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 35 ๓๔ ผลการเลือกตั้ง อันดับที่ ๑ ถึง ๕ ได้รับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ จะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๕ คน ได้แก่ ๑. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย ๒. นายสุชาติ แก่นจันทร์ ๓. นางสุวรรณา เธียรอังกูร ๔. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร และที่ประชุมได้มีมติเป็นเอกฉันท์เลือกตั้งนายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ เป็นประธานกรรมการดำเนินการซึ่งจะ อยู่ในตำแหน่งเท่ากับวาระการเป็นกรรมการคือ ๒ ปี ดังนั้นคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ จึงประกอบด้วย ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการ ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย กรรมการ ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ กรรมการ ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร กรรมการ ๕. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการ ๖. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการ ๗. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการ ๘. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ ๙. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ วาระที่ ๑๑ พิจารณากำหนดวงเงินซึ่งชุมนุมสหกรณ์อาจกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปี ๒๕๖๕ ประธานฯ ได้มอบให้รักษาการผู้จัดการ เสนอ รักษาการผู้จัดการ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา เหตุผล ประกอบการขอความเห็นชอบวงเงินกู้ยืมหรือค้ำ ประกันประจำปี ๒๕๖๕ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๐๑ – ๑๐๗ ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๔ ชุมนุมสหกรณ์ฯมีทุนเรือนหุ้น ๘๕๐,๕๙๘,๕๐๐ บาท และ ณ วันสิ้นเดือนก่อนวัน ประชุมใหญ่ (๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) มีทุนเรือนหุ้น ๙๒๗,๙๘๖,๕๐๐ บาท ทุนสำรองยกมาจากปี ๒๕๖๔ จำนวนเงิน ๒๕,๙๒๖,๖๘๕.๑๓ บาท เมื่อรวมกับทุนเรือนหุ้น จะเป็น เงินทุนรวม ๙๕๓,๙๑๓,๑๘๕.๑๓ บาท ๑.๕ เท่า ของทุน = ๑.๕ x ๙๕๓,๙๑๓,๑๘๕.๑๓ = ๑,๔๓๐,๘๖๙,๗๗๗.๗๐ บาท ชุมนุมสหกรณ์ฯมีความจำเป็นเพื่อจะรองรับการดำเนินธุรกิจให้สามารถบริการสหกรณ์สมาชิกได้มากขึ้น และมีเครื่องมือรักษาสภาพคล่องทางการเงินอย่างเพียงพอ คณะกรรมการดำเนินการ จึงเห็นควรเสนอให้ที่ ประชุมใหญ่กำหนดวงเงิน ซึ่งชุมนุมสหกรณ์ฯอาจกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปี ๒๕๖๕ เป็นจำนวนเงิน ๑,๔๓๐ ล้านบาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติ ให้กำหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ำประกันประจำปีสิ้นสุดวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ เป็นจำนวนเงิน ๑,๔๓๐ ล้านบาท ตามที่คณะกรรมการดำเนินการเสนอ ๓๕ วาระที่ ๑๒ พิจารณาเลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ และ ปี ๒๕๖๖ ประธานฯ เสนอว่าตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๖๔. ให้ที่ ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้ตรวจสอบกิจการ จากผู้แทนสหกรณ์สมาชิก หรือบุคคลภายนอกที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม จำนวนสามคน หรือ หนึ่งนิติบุคคล เป็นผู้ตรวจสอบกิจการของชุมนุมสหกรณ์ วาระละ สองปี มีผู้สมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ตรวจสอบกิจการและมีคุณสมบติ ๒ นิติบุคคล ได้แก่ ๑. บริษัทธรรมาภิบาลพิทักษ์ จำกัด โดย นางสาว ภัทรพร ทัศนเสวี เสนอ ค่าธรรมเนียมการ ตรวจสอบกิจการปีบัญชีละ จำนวนเงิน ๓๕,๐๐๐ บาท และ ๒. บริษัททีเค แอคเค้า แอนด์แอสโซซิเอท จำกัด โดย นางสาวคณพิชญ์ นาคคง เสนอ ค่าธรรมเนียม การตรวจสอบกิจการปีบัญชีละ จำนวนเงิน ๓๕,๐๐๐ บาท ซึ่งได้แสดงคุณสมบัติ และข้อเสนอ โดยสังเขป ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๑๐-๑๑๑ ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ เลือกตั้ง นิติบุคคล คือ บริษัทธรรมาภิบาลพิทักษ์ จำกัด โดย นางสาวภัทร พร ทัศนเสวีเป็นผู้ตรวจสอบกิจการประจำปี ๒๕๖๕ และป๊ ๒๕๖๖ โดยกำหนดค่าธรรมเนียม การตรวจสอบ กิจการจำนวนเงินปีละ ๓๕,๐๐๐ บาทและให้เลือกตั้งบริษัททีเค แอคเค้า แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด โดย นางสาวคณพิชญ์ นาคคง เป็นผู้ตรวจสอบกิจการสำรอง ค่าธรรมเนียมจำนวนเงินปีละ ๓๕,๐๐๐ บาท การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 35 IN.indd 35 15/5/2566 20:21:27


36 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๓๖ วาระที่ ๑๓ พิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้ง ประจำปี ๒๕๖๔ ประธานฯ เสนอว่าตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๓๗ (๕) ที่ ประชุมใหญ่มีอำนาจและหน้าที่ “พิจารณาคัดเลือก ผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอนายทะเบียนสหกรณ์แต่งตั้ง” จากกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ ๒๕๖๔ ประกาศในราชกีจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๐ กุมภาพันธ์๒๕๖๔ ได้กำหนดให้ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ทุก ชุมนุมสหกรณ์ เป็นสหกรณ์ขนาดใหญ่ โดยไม่คำนึงถึงขนาดสินทรัพย์ ดังนั้น ชุมนุมสหกรณ์ฯ จึงต้องพิจารณาคัดเลือกผู้สอบบัญชี จากผู้สอบบัญชีรับอนุญาต ซึ่งมีผู้ช่วย ปฏิบัติงานสอบบัญชี ที่มีวุฒิการศึกษาปรีญญาตรี สาขาบัญชี อยู่ในสังกัดสำนักงานเดียวกันไม่น้อยกว่า ๕ คน ตามที่กำหนดใน ข้อ ๑๓ แห่ง ระเบียบกรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ว่าด้วยการแต่งตั้งผู้สอบบัญชีรับอนุญาตหรือบุคคล อื่น เป็นผู้สอบบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ มีผู้สมัครเข้ารับการคัดเลือก ๒ ราย คือ บริษัท เอส.ดี.บี.คอนซัลแตนท์ จำกัด โดย นายบุญส่ง คล้ายทวน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน ๘๙๓๖ เสนอ ค่าธรรมเนียม การสอบบัญชีประจำปี จำนวนเงิน ๖๐,๐๐๐ บาท และนายชัยสิทธิ์ ศิลป์วุฒิ ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน ๓๖๓๑ เสนอ ค่าธรรมเนียม การสอบ บัญชีประจำปี จำนวนเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท ซึ่งได้แสดงคุณสมบัติและข้อเสนอ โดยสังเขป ตามที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๑๔ ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ คัดเลือกบริษัท เอส.ดี.บี.คอนซัลแตนท์ จำกัด โดย นายบุญส่ง คล้ายทวน ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต เป็นผู้สอบบัญชี เพื่อเสนอกรมตรวจบัญชีสหกรณ์แต่งตั้ง ประจำปี ๒๕๖๕ และกำหนด ค่าธรรมเนียมการสอบบัญชี ๖๐,๐๐๐ บาท และคัดเลือกนายชัยสิทธิ์ ศิลป์วุฒิ เป็นผู้สอบบัญชีสำรอง ๓๗ วาระที่ ๑๔ พิจารณาอนุมัติการนำเงินไปฝากหรือลงทุน ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ประธานฯ เสนอต่อที่ประชุมว่า ตามที่คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ ได้อาศัยอำนาจตาม ความในมาตรา ๑๐ (๗) และมาตรา ๖๒ (๗) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมติ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ ในการประชุม เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ และในการประชุม เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๓ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ จึงออกประกาศ ณ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ มีสาระสำคัญดังนี้ ในข้อ ๓ ของประกาศ กำหนดให้สหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ใน ๘ กรณีโดย ในกรณีที่ ๗ กำหนดใน ข้อ ๓ (๗) “หน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่รัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้น โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และอยู่ในการ กำกับดูแลของ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์” ข้อ ๔ การนำเงินไปฝากหรือลงทุนตามข้อ ๓ (๗) รวมกันต้องไม่เกินทุนสำรองของสหกรณ์และต้อง ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ก่อนจึงจะดำเนินการได้ ตามข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๑๕ – ๑๑๘ ข้อเสนอ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารการลงทุน ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด เป็นไป ด้วยความสะดวกคล่องตัว มั่นคง และเกิดผลตอบแทนการลงทุนที่ดี จึงขอเสนอให้ที่ประชุมใหญ่ อนุมัติให้ คณะกรรมการดำเนินการ นำเงินไปฝากหรือลงทุน ตามข้อ ๓(๗) ได้ ไม่เกินทุนสำรองจำนวน ๓๓,๓๒๑,๕๐๔.๗๔ บาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติให้นำเงินไปลงทุนได้ ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ วาระที่ ๑๕ เรืองอื่นๆ ไม่มี เมื่อไม่มีผู้ใดเสนอเรื่องอื่นอีก ประธานฯ กล่าวขอบคุณผู้มาประชุม และผู้เข้าร่วมประชุม แล้วกล่าวปิด ประชุม เลิกประชุมเวลา ๑๔.๐๐ น. ประธานที่ประชุม (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ผู้จดรายงานการประชุม (นางสุวรรณา เธียรอังกูร) เลขานุการ 36 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 36 15/5/2566 20:21:27


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 37 ๓๗ วาระที่ ๑๔ พิจารณาอนุมัติการนำเงินไปฝากหรือลงทุน ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ ประธานฯ เสนอต่อที่ประชุมว่า ตามที่คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ ได้อาศัยอำนาจตาม ความในมาตรา ๑๐ (๗) และมาตรา ๖๒ (๗) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมติ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ ในการประชุม เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ และในการประชุม เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๓ คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ จึงออกประกาศ ณ วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ มีสาระสำคัญดังนี้ ในข้อ ๓ ของประกาศ กำหนดให้สหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ใน ๘ กรณีโดย ในกรณีที่ ๗ กำหนดใน ข้อ ๓ (๗) “หน่วยลงทุนของกองทุนรวมที่รัฐวิสาหกิจจัดตั้งขึ้น โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี และอยู่ในการ กำกับดูแลของ คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์” ข้อ ๔ การนำเงินไปฝากหรือลงทุนตามข้อ ๓ (๗) รวมกันต้องไม่เกินทุนสำรองของสหกรณ์และต้อง ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่ของสหกรณ์ก่อนจึงจะดำเนินการได้ ตามข้อมูลที่ปรากฏในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๑๕ – ๑๑๘ ข้อเสนอ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารการลงทุน ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด เป็นไป ด้วยความสะดวกคล่องตัว มั่นคง และเกิดผลตอบแทนการลงทุนที่ดี จึงขอเสนอให้ที่ประชุมใหญ่ อนุมัติให้ คณะกรรมการดำเนินการ นำเงินไปฝากหรือลงทุน ตามข้อ ๓(๗) ได้ ไม่เกินทุนสำรองจำนวน ๓๓,๓๒๑,๕๐๔.๗๔ บาท ที่ประชุม มีมติเป็นเอกฉันท์ อนุมัติให้นำเงินไปลงทุนได้ ตาม ข้อ ๓ (๗) ในประกาศคณะกรรมการ พัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติ เรื่อง ข้อกำหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๖๓ วาระที่ ๑๕ เรืองอื่นๆ ไม่มี เมื่อไม่มีผู้ใดเสนอเรื่องอื่นอีก ประธานฯ กล่าวขอบคุณผู้มาประชุม และผู้เข้าร่วมประชุม แล้วกล่าวปิด ประชุม เลิกประชุมเวลา ๑๔.๐๐ น. ประธานที่ประชุม (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ผู้จดรายงานการประชุม (นางสุวรรณา เธียรอังกูร) เลขานุการ


38 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๓๘ วาระที่ วาระที่๒ ร ั บ ั บรองรายงานการประช ุ ม ุ ม ๒.๒ ร ั บ ั บรองรายงานการประช ุ ม ุ มใหญ ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจ าปี ประจ าปี ๒๕๖๕ ตามที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้จัดการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องแมกโนเลีย ๒ - ๓ ชั้น ๔ โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ได้มี หนังสือที่ชอ.สธ. ว ๒๐๗/๒๕๖๖ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ ส่ง (ร่าง) รายงานการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ ไปถึงผู้แทนสหกรณ์ที่ได้เข้าประชุม เพื่อพิจารณา หากมี คำทักท้วงให้แจ้งชุมนุมสหกรณ์ฯ ภายในเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ที่ลงในหนังสือ ปรากฏว่าเมื่อพ้นกำหนดเวลา ๓๐ วัน ไม่มีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกทักท้วง จึงถือว่าผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก ได้รับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ จึงเสนอที่ประชุมใหญ่เพื่อทราบ ๓๙ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด Thrift and Credit Cooperative League of Thai Public Health Limited ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐๘ ๔๙๗๑ ๙๓๗๙ โทร./โทรสาร. ๐ ๒๑๙๕ ๙๒๖๐ E-mail : [email protected] ชอ.สธ.ว ๒๐๗/๒๕๖๖ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ เรื่อง การรับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ เรียน ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์.......................... จำกัด สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ จำนวน ๑ ชุด ตามที่สหกรณ์ออมทรัพย์........................... จำกัด ได้ส่ง .......................................เข้าประชุมใหญ่ วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องแมกโนเลีย ๒-๓ ชั้น ๔ โรงแรม ทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ฯ ขอส่ง รายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี๒๕๖๕ มาเพื่อให้ ผู้แทนสหกรณ์ พิจารณา หากเห็นว่ารายงานไม่ถูกต้อง หรือมีคำทักท้วงประการใด กรุณาแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์ฯ ทราบภายในกำหนดเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ ที่ลงในหนังสือนี้ เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว หากชุมนุม สหกรณ์ฯ มิได้รับคำทักท้วงประการใดจะถือว่าท่านได้รับรองรายงานการประชุมนี้แล้ว จึงเรียนมาเพื่อพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด 38 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 38 15/5/2566 20:21:28


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด๓๙| 39 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด Thrift and Credit Cooperative League of Thai Public Health Limited ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร ๐๘ ๔๙๗๑ ๙๓๗๙ โทร./โทรสาร. ๐ ๒๑๙๕ ๙๒๖๐ E-mail : [email protected] ชอ.สธ.ว ๒๐๗/๒๕๖๖ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๖ เรื่อง การรับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ เรียน ประธานกรรมการดำเนินการสหกรณ์ออมทรัพย์.......................... จำกัด สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ จำนวน ๑ ชุด ตามที่สหกรณ์ออมทรัพย์........................... จำกัด ได้ส่ง .......................................เข้าประชุมใหญ่ วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ ห้องแมกโนเลีย ๒-๓ ชั้น ๔ โรงแรม ทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ นั้น ชุมนุมสหกรณ์ฯ ขอส่ง รายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี๒๕๖๕ มาเพื่อให้ ผู้แทนสหกรณ์ พิจารณา หากเห็นว่ารายงานไม่ถูกต้อง หรือมีคำทักท้วงประการใด กรุณาแจ้งให้ชุมนุมสหกรณ์ฯ ทราบภายในกำหนดเวลา ๓๐ วัน นับจากวันที่ ที่ลงในหนังสือนี้ เมื่อพ้นกำหนดระยะเวลาดังกล่าว หากชุมนุม สหกรณ์ฯ มิได้รับคำทักท้วงประการใดจะถือว่าท่านได้รับรองรายงานการประชุมนี้แล้ว จึงเรียนมาเพื่อพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 39 IN.indd 39 15/5/2566 20:21:28


40 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๔๐ รายงานการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด วันเสาร์ที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๕ ณ ห้องแมกโนเลีย ๒ - ๓ โรงแรมทีเคพาเลซ ถนนแจ้งวัฒนะ ซอย ๑๕ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร จำนวนสหกรณ์สมาชิกทั้งหมด ๙๙ สหกรณ์ ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกมาประชุม จำนวน ๕๔ สหกรณ์ กรรมการผู้มาประชุม ๑. นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลราชวิถี จำกัด/ ประธานที่ประชุม ๒. นายแพทย์สุชาติ ตันตินิรามัย รองประธานกรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลพระปกเกล้า จำกัด ๓. นายสุชาติ แก่นจันทร์ รองประธานกรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลเลิดสิน จำกัด ๔. นางสุวรรณา เธียรอังกูร เลขานุการ/ผู้แทน สอ.กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จำกัด ๕. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลชลบุรี จำกัด ๖. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี จำกัด ๗. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จำกัด ๘. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลสมุทรปราการ จำกัด ๙. นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร กรรมการดำเนินการ/ผู้แทน สอ.โรงพยาบาลประสาท จำกัด ผู้เข้าร่วมประชุม ๑. นายศิริพจน์ ทองนวล ผู้อำนวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ๑ สกจ.นนทบุรี ๒. นพ.สุรชัย ติษยาธิคม รักษาการผู้จัดการ ชอ.สธ. ผู้สังเกตการณ์จากสหกรณ์สมาชิก ๓๔ คน เริ่มประชุมเวลา ๙.๑๐ น. เมื่อมีผู้แทนสหกรณ์สมาชิกมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสหกรณ์สมาชิกที่มีสิทธิออกเสียงในที่ ประชุมใหญ่ทั้งสิ้น ๙๙ สหกรณ์ ครบองค์ประชุม นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ประธานกรรมการดำเนินการ ทำ หน้าที่ประธานในที่ประชุม กล่าวเปิดประชุม และดำเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม ดังนี้ ๔๑ วาระที่ ๑. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ ประธานฯ ได้แนะนำคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ ผู้ร่วมประชุม ส่วนผู้แทนสหกรณ์ให้ดูจาก รายชื่อที่ได้แจกแก่ผู้ที่ลงทะเบียนเข้าประชุม แล้ว และ ได้แจ้ง เรื่องการออกเสียงในที่ประขุม ของผู้แทนสหกรณ์ โดยผู้แทนสหกรณ์ แต่ละคนมีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสัดส่วนในการ ถือหุ้น ตามที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๓๖ ซึ่งเป็นไปตามมาตรา ๑๐๖ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ ๒๕๔๒ ซึ่ง มีรายละเอียด ในหนังสือประกอบการประชุมที่หน้า ๗ – ๑๓ ผู้แทนสหกรณ์สามารถตรวจสอบสิทธิการออกเสียงของแต่ละคนได้ จากตารางการถือหุ้นและสิทธิออก เสียงในหน้า ๑๑ – ๑๓ รักษาการผู้จัดการ ได้แจ้งว่า เนื่องจากตั้งแต่ต้นปี มีสมาชิก เข้าใหม่จำนวนหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประชุมใน ครั้งนี้ แต่ตอนออกหนังสือเชิญประชุมครั้งนี้ ไม่ได้กำหนดวาระ รับทราบการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ จึงขอใช้ วาระเรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ แจ้งเรื่อง การรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ดังนี้ ตามรายละเอียดในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๔ ซึ่งสรุป ได้ดังนี้ จำนวนสมาชิกยกมาจากปี ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ เข้าใหม่ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๙ สหกรณ์ ออกระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ๙๙ สหกรณ์ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ ๒. พจิารณาซื้อที่ดิน หรือที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง เพื่อสร้างส านักงานแห่งใหม่ ประธานฯ มอบให้รักษาการผู้จัดการ เป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ ได้เสนอต่อที่ประชุมดังต่อไปนี้ ความเป็นมา ด้วยในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ในวาระ ที่ ๙ “พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ - รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๕” ที่ประชุม มีมติเห็นชอบ ให้คณะกรรมการดำเนินการไปจัดหาที่ดิน เพื่อใช้สร้างสำนักงานใหม่ ที่เห็นว่าเหมาะสม หลายๆแปลง โดยไม่ กำหนดกรอบตำแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่ และวงเงิน เพื่อเสนอให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา ดังนั้นคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ จึงได้สรรหาที่ดิน ตามมติที่ประชุมใหญ่เพื่อเสนอให้ที่ประชุม ใหญ่พิจารณาในครั้งนี้ หลักการและเหตุผล ด้วยสำนักงานปัจจุบัน ซึ่ง ฃุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด (ชอ.สธ.) ได้ซื้อเมื่อปี ๒๕๖๐ ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๐ เป็นทาวน์เฮาส์๓ ชั้น ๑ คูหา อยู่บนที่ดินขนาด ๑๖ ตารางวา ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 40 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 40 15/5/2566 20:21:28


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 41 ๔๑ วาระที่ ๑. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ ประธานฯ ได้แนะนำคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ ผู้ร่วมประชุม ส่วนผู้แทนสหกรณ์ให้ดูจาก รายชื่อที่ได้แจกแก่ผู้ที่ลงทะเบียนเข้าประชุม แล้ว และ ได้แจ้ง เรื่องการออกเสียงในที่ประขุม ของผู้แทนสหกรณ์ โดยผู้แทนสหกรณ์ แต่ละคนมีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ ไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับสัดส่วนในการ ถือหุ้น ตามที่กำหนดในข้อบังคับข้อ ๓๖ ซึ่งเป็นไปตามมาตรา ๑๐๖ แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ ๒๕๔๒ ซึ่ง มีรายละเอียด ในหนังสือประกอบการประชุมที่หน้า ๗ – ๑๓ ผู้แทนสหกรณ์สามารถตรวจสอบสิทธิการออกเสียงของแต่ละคนได้ จากตารางการถือหุ้นและสิทธิออก เสียงในหน้า ๑๑ – ๑๓ รักษาการผู้จัดการ ได้แจ้งว่า เนื่องจากตั้งแต่ต้นปี มีสมาชิก เข้าใหม่จำนวนหนึ่ง ซึ่งเป็นองค์ประชุมใน ครั้งนี้ แต่ตอนออกหนังสือเชิญประชุมครั้งนี้ ไม่ได้กำหนดวาระ รับทราบการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ จึงขอใช้ วาระเรื่องที่ประธานแจ้งให้ทราบ แจ้งเรื่อง การรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ดังนี้ ตามรายละเอียดในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ หน้าที่ ๑๔ ซึ่งสรุป ได้ดังนี้ จำนวนสมาชิกยกมาจากปี ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ เข้าใหม่ระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๙ สหกรณ์ ออกระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ๙๙ สหกรณ์ ที่ประชุม รับทราบ วาระที่ ๒. พจิารณาซื้อที่ดิน หรือที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง เพื่อสร้างส านักงานแห่งใหม่ ประธานฯ มอบให้รักษาการผู้จัดการ เป็นผู้เสนอ รักษาการผู้จัดการ ได้เสนอต่อที่ประชุมดังต่อไปนี้ ความเป็นมา ด้วยในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ในวาระ ที่ ๙ “พิจารณาอนุมัติแผนงานและงบประมาณรายรับ - รายจ่ายประจำปี ๒๕๖๕” ที่ประชุม มีมติเห็นชอบ ให้คณะกรรมการดำเนินการไปจัดหาที่ดิน เพื่อใช้สร้างสำนักงานใหม่ ที่เห็นว่าเหมาะสม หลายๆแปลง โดยไม่ กำหนดกรอบตำแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่ และวงเงิน เพื่อเสนอให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา ดังนั้นคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ จึงได้สรรหาที่ดิน ตามมติที่ประชุมใหญ่เพื่อเสนอให้ที่ประชุม ใหญ่พิจารณาในครั้งนี้ หลักการและเหตุผล ด้วยสำนักงานปัจจุบัน ซึ่ง ฃุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด (ชอ.สธ.) ได้ซื้อเมื่อปี ๒๕๖๐ ตามที่ได้รับอนุมัติจากที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๐ เป็นทาวน์เฮาส์๓ ชั้น ๑ คูหา อยู่บนที่ดินขนาด ๑๖ ตารางวา ตั้งอยู่ที่ บ้านเลขที่ ๔๙ ซอยงามวงศ์วาน ๖ แยก ๑๙ ตำบลบางเขน อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 41 IN.indd 41 15/5/2566 20:21:28


42 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๔๒ ซึ่งอยู่ห่างจากประตู ๔ (สภาการพยาบาล) ของกระทรวงสาธารณสุข ประมาณ ๑๐๐ เมตร ชอ.สธ.ได้เข้วใช้ อาคารสำนักงานปัจจุบัน ตั้งแต่วันที่ ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ การใช้พื้นที่ ชั้นที่ ๑ ตอนหน้าเป็นที่นั่งทำงาน ของเจ้าหน้าที่ ๓ คน มีพื้นที่พอที่จะรับรองผู้มาติดต่อได้ ชั้นที่ ๒ กำลังจะเปิดใช้ในปี ๒๕๖๕ เมื่อต้องรับเจ้าหน้าที่เพิ่ม ซึ่งน่าจะรองรับเจ้าหน้าที่ได้ ๓-๔ คน ส่วนอาคาร ชั้นที่ ๓ ได้จัดเป็นห้องประชุม ซึ่งพอจะอำนวยความสะดวกสำหรับ การประชุมกรรมการคณะเล็ก แต่ไม่สะดวก สำหรับการประขุมคณะกรรมการดำเนินการ เนื่องจาก แม้ห้องประชุมจะมีความยาวเพียงพอที่จะรองรับจำนวน ผู้เข้าประชุม แต่ความกว้างส่วนหนึ่งต้องเสียไปเพราะ เป็นส่วนของช่องบันใดของอาคารที่มีคูหาเดียว ทำให้ผู้เข้า ประชุมบางส่วนไม่สะดวกในการมองภาพ ที่เสนอขึ้นจอภาพ โดยเครื่องฉายภาพ และความไม่สะดวกที่สำคัญของ สำนักงานนี้คือ ไม่มีที่จอดรถยนต์ แม้จะจอดหน้าสำนักงานได้ ๑ คันแต่ก็มีส่วนล้ำไปหน้าอาคารข้างเคียง และหา ที่จอดรถเพิ่มยาก เพราะเป็นซอยแคบ นอกจากความไม่สะดวก ดังที่กล่าวมา ถ้า ชอ.สธ. ต้องรับเจ้าหน้าที่เพิ่ม เพื่อเพิ่มศักยภาพในการบริการ สมาชิก ภายใน ๕ ปี พื้นที่สำนักงานก็จะไม่เพียงพอ ที่จะรับเจ้าหน้าที่เพิ่ม ประกอบกับในปี ๒๕๖๔ และในปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ. มีผลการดำเนินงาน เตืบโตดีมาก จึงเป็นโอกาสที่ ชอ.สธ.ควรจะจัดหาสำนักงานแห่งใหม่ เพื่อรองรับการเติบโตและเพิ่มศักยภาพในการบริการสมาชิก ต่อไป ก่อนที่ ราคาที่ดินจะสูงมากกว่านี้ เพราะการฟิ้นตัวทางเศรษฐกิจ หลังจากผ่านพ้นจากวิกฤตการแพร่ระบาด ของโรค โค วิด-๑๙ วัตถุประสงค์ เพื่อซื้อที่ดิน ใช้เป็นที่ตั้งสำนักงานใหม่ - ที่มีขนาดพื้นที่ มากพอที่จะเป็นที่ตั้งสำนักงาน ที่สามารถบริการสมาชิกได้ในระยะยาว - ตำแหน่งที่ตั้งจะต้องเดินทางได้สะดวก - ราคาไม่แพง เหมาะสมกับฐานะการเงินของ ชอ.สธ. หากมีขนาดพื้นที่มากพอ จะสร้างห้อง เพื่อการประชุม สัมมนา และการประชุมใหญ่ ได้ในอนาคต และมี พื้นที่จอดรถยนต์ มากพอ สำหรับผู้มาประชุมด้วยรถส่วนตัว ความพร้อม ของ ชอ.สธ. การเติบโต ณ เวลา จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนทรัพย์ ิ (บาท) ทุนเรือนหุ้น (บาท) ก าไรสุทธิ (บาท) ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ 77 1,981,431,100.41 703,298,000 37,100,237.69 ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๔ 90 3,032,741,439.15 850,598,500 51,323,549.35 ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๕ 99 3,678,703,399.99 1,129,956,500 74,719,141.70


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 43 ๔๓ ความพร้อมด้านการเงิน กระแสเงินสด ในปี ๒๕๖๔ และ ปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ. มีขนาดสินทรัพย์เพิ่มขึ้นมากกว่า 1,000 ล้านบาท และ 600 ล้านบาท ตามลำดับ เพราะฉะนั้น จำนวนเงินที่มีเพิ่มขึ้น ซึ่งปกติ ต้องนำไปลงทุนหาผลตอบแทน ดังนั้น การแบ่งมาลงทุนในการสร้างสำนักงาน เพียงไม่กี่สิบล้านบาท จึงไม่เป็นปัญหา ผลกระทบต่องบกำไร-ขาดทุน - แหล่งที่มาของทุนดำเนินงาน ทุนเรือนหุ้น ในทางบัญชีการได้มาของทุนเรือนหุ้น ไม่มีต้นทุน เงินรับฝาก มีต้นทุนคือดอกเบี้ยจ่าย เงินกู้จากสถาบันการเงิน มีต้นทุนดอกเบี้ยจ่ายทำนองเดียวกับเงินรับฝาก ทุนสำรอง (33,321,504.74 บาท) ไม่มีต้นทุน - การใช้ประโยชน์จากทุนดำเนินงาน โดยปกติ ชอ.สธ. นอกจากการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ เพื่อเป็นสำนักงาน และการลงทุนในครุภัณท์ เพื่อ ใช้ในการดำเนินงาน ทุนดำเนินงานที่เหลือได้นำไปลงทุนหารายได้ทั้งสิ้น ปัจจุบัน ชอ.สธ. ได้ลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ คือ ที่ดินพร้อมอาคารที่ใช้เป็นสำนักงาน ซึ่งได้ซื้อเมื่อ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เป็นจำนวนเงิน 2,350,000.00 บาท ตามศักยภาพของชอ.สธ. ในขณะนั้น - ภาระที่เกิดจากการลงทุนที่ดิน หากจะต้องลงทุนซื้อที่ดินในปี ๒๕๖๖ เงินที่ลงทุนซื้อที่ดินนั้น จำนวนเงินต้น จะไม่มีผลต่องบกำไรขาดทุน เพราะเป็นการแปลงสภาพ สินทรัพย์ จากเงินสดเป็นที่ดิน สินทรัพย์มิได้หายไป และที่ดินไม่มีการตัดค่าเสื่อม ราคา เพื่อให้เข้าใจง่าย สมมุติว่า ถ้าต้องลงทุน 30 ล้านบาท ผลกระทบต่องบกำไร-ขาดทุน คือดอกเบี้ยจ่าย เงินกู้ ประมาณว่าในปี ๒๕๖๖ ชอ.สธ. จะต้องจ่ายดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 2.30 ต่อปี ดังนั้นถ้าต้องลงทุนซื้อที่ดิน 30 ล้านบาท ก็จะมีภาระจ่ายดอกเบี้ยเพิ่ม จำนวน 690,000 บาท ต่อปี ถ้าจะลดผลกระทบ จากภาระดอกเบี้ยจ่ายดังกล่าว ชอ.สธ. จะต้องเพิ่มทุนดำเนินงาน (โดยการหาเงินฝาก เพิ่มหรือใช้เงินกู้จากธนาคารเพิ่ม) เพื่อไปลงทุนหากำไรเพิ่มให้ได้มากกว่า ภาระดอกเบี้ยจ่ายที่กล่าวมา


44 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๔๔ การดำเนินการที่ผ่านมาของคณะกรรมการดำเนินการ ๑. ในเดือนเมษายน ๒๕๖๕ ได้ทราบว่ามีการเสนอขายที่ดิน (แปลง A) ในซอยติวานนท์ ๑๘ แยก๓/๘ ซึ่งเชื่อมต่อ กับซอยงามวงศ์วาน๒ (ซอยอัคนี) แยก ๒ ที่เป็นทางเข้ากระทรวงสาธารณสุข เป็นที่ดิน เปล่า ระดับพื้นดินเท่ากับระดับถนน ไม่ต้องถมดินเพื่อยกระดับความสูง ขนาดพื้นที่ ๓๕๖ ตารางวา ราคาเสนอ ขาย ตารางวาละ ๗๐,๐๐๐ – ๗๕,๐๐๐ บาท ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๒,๐๐๐ บาท ประกอบกับผลการดำเนินงานของ ชอ.สธ. ในปี ๒๕๖๔ และ ปี ๒๕๖๕ เติบโตดีมาก กรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๒ (ซึ่งตัวบุคคลทุกคน ได้เป็นคณะกรรมการชุดที่ ๑๓) จำนวน ๘ จากทั้งชุด ๙ คน ได้ไปดูที่ดินแล้ว ในเดือนเมษายน ๒๕๖๕ เห็นว่าน่าสนใจ แต่เนื่องจาก ขณะนั้น เหลือเวลาอีกไม่ถึง ๑ เดือนจะประชุมใหญ่สามัญ คณะกรรมการดำเนินการ คงจะไม่สามารถหาข้อมูล ที่ดินหลายแปลง เพื่อ เปรียบเทียบ คัดเลือกเสนอที่ประชุมใหญ่ได้ทัน ๒. วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ดังนั้นในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ คณะกรรมการดำเนินการจึง ได้ให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณากำหนดกรอบ เพื่อให้คณะกรรมการ ดำเนินการ ไปคัดเลือกหาที่ดินที่จะใช้ตั้งสำนักงานใหม่ มาเสนอให้ที่ประชุมใหญ่ พิจารณาคัดเลิอกเพื่อซื้อใน โอกาสต่อไป ที่ประชุมใหญ่ มีมติเห็นชอบ ให้คณะกรรมการดำเนินการไปจัดหาที่ดิน เพื่อใช้สร้างสำนักงานใหม่ ที่เห็น ว่าเหมาะสม หลายๆแปลง โดยไม่กำหนดกรอบตำแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่ และวงเงิน เพื่อเสนอให้ที่ประชุมใหญ่ พิจารณา ๓. ในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๕ ชอ.สธ.ได้ค้นข้อมูลทาง Internet พบมีการประกาศขายที่ดินจำนวน มาก ในพิ้นที่ อำเภอเมืองนนทบุรี และอำเภอบางกรวย ได้คัดข้อมูลจาก Internet เฉพาะที่ดินที่มีขนาด ประมาณ ๑ ไร่ขึ้นไป ราคาประมาณตารางวาละ ๑๐๐,๐๐๐ บาทลงไป จำนวนหลายแปลง เสนอใน LINE กลุ่มกรรมการดำเนินการ ๔. วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๕ กรรมการดำเนินการจำนวน ๗ คน ได้พิจารณาข้อมูลที่ได้มาใน เดือนมิถุนายน ๒๕๖๕ จึงได้ไปดูที่ดินจำนวน ๓ แปลง แปลง ๔.๑ (แปลง B) ตั้งอยู่ที่ ถนนนครอินทร์ ซอย ๓ ซึ่งสามารถเข้าได้ ๒ ทางคือ ทางซอยนครอินทร์ ๓ และทางซอยพิบูลสงคราม ๒๒ แยก ๓ (เป็นซอยเดียวกับซอยนครอินทร์ ๓ เรียกได้ ๒ ชื่อ) ผู้เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์ คือ ธนาคารกรุงเทพ ขนาดพื้นที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๕๓.๕ ตารางวา = ๑,๐๕๓,๕ ตารางวา ระดับพื้นดิน เท่ากับระดับถนน ตั้งราคาขายรวม ๓๘,๕๐๐,๐๐๐ บาท โฉนดเลขที่ ๘๗๑๔๗ ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๒๘,๐๐๐ บาท แปลง ๔.๒ ตั้งอยู่ที่ ถนนกรุงเทพนนท์ ซอย ๒ (ซอยวัดทางหลวง) แยก ๓ ห่างจากถนนราว ๔๐๐ เมตร ขนาดพื้นที่ ๕๒๘ ตารางวา เป็นที่ถมแล้ว ตั้งราคาขาย ตารางวาละ ๓๖,๐๐๐ บาท เป็นราคารวม ๑๙,๐๒๖,๐๐๐ บาท อยู่ห่างกระทรวงสาธารณสุข ราว ๑ กิโลเมตรเศษ แต่ด้วยถนนซอยทางเข้าออก แคบมาก บางช่วงรถเก๋ง ไม่ สามารถแล่นสวนกันได้ จึงให้ตัดออกจากการพิจารณา ๔๕ แปลง ๔.๓ ตั้งอยู่สุดซอยรัตนาธิเบศร์ ๑๐ ซอยลึกประมาณ ๔๕๐ เมตร ใกล้กับ ศาลากลางจังหวัด นนทบุรี ที่ดินมีสภาพเป็นที่รกร้าง มีต้นไม้ขึ้นเต็ม ขนาดพื้นที่ ๑ ไร่ ๐ งาน ๑๐ ตารางวา มีประกาศในแปลงที่ดิน ผ่านนายหน้า ตั้งราคาขาย ตารางวาละ ๘๐,๐๐๐ บาท แปลงนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับ แปลง A ขนาดพื้นที่. ใกล้เคียงกัน แต่มากกว่า เล็กน้อย ระดับความสูงของผิวดิน ต้องปรับปรุง ราคาสูงกว่าเล็กน้อย การเดินทางไป แปลง A สะดวกกว่า คณะกรรมการดำเนินการจึงให้ตัด แปลง ๔.๓ ออก และให้คง แปลง A ไว้พิจารณาต่อไป คณะกรรมการดำเนินการ จึงมีมติให้ ไปหาข้อมูลเพิ่มเติม ของ แปลง A และ แปลง B เพื่อพิจารณา ต่อไป ๕. วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้มีกรรมการ ๑ คน เสนอข้อมูลให้พิจารณาอีก ๑ แปลง กรรมการ ดำเนินการ จำนวน ๗ คน จึงไปดูก่อนจะประชุม ขอเรียกว่า แปลง C แปลง C ประกอบด้วย ๓ โฉนดติดกัน (ขอแก้ไขชื่อซอย ในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่ หน้า ๒๐ สำหรับแปลง C ที่แสดงเป็นซอยงามวงศ์วาน ต้องแก้เป็น ซอยติวานนท์ทั้งหมด ในรายงานนี้ได้แก้ไขแล้ว) โฉนดที่ ๑ เข้าทางซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๑ ขนาดพิ้นที่ ๒๒๒.๔ ตารางวา มีอาคารสร้างนาน แล้วแต่สภาพดี ยังใช้เป็นที่พักอาศัย สภาพโดยรวมดี อีก ๒ โฉนดเข้าทางซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๓ ขนาดพิ้นที่ ๒ โฉนด (๑๓๘.๕ + ๑๔๘ ) = ๒๘๖.๕ ตารางวา เป็นที่ซึ่งเจ้าของปล่อยร้าง มีอาคารเก่าขนาดไม่เล็ก อยู่ ๑ หลัง และอาคารเล็กอีก ๑ หลัง ปล่อยให้ ต้นไม้และวัชพืชขึ้นรก ขนาดพิ้นที่รวม ๓ โฉนด ๕๐๘.๙ ตารางวา ราคาที่เสนอขายรวมสิ่งปลูกสร้าง ไม่เกินตารางวาละ ๙๕,๐๐๐ บาท ราคารวมไม่เกิน ๔๘,๓๔๕,๕๐๐ บาท ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๕,๐๐๐ บาท มีกรรมการอย่างน้อย ๓ คนสนใจมาก โดยเฉพาะ ๒ ใน ๓ คน คือผู้ที่ยังไม่ได้ไปดู แปลง B คณะกรรมการดำเนินการ จึงให้ตั้งคณะทำงานเพื่อ ไปหาข้อมูลเพิ่มเติม และถ่ายรูป กับต่อรองราคา ของ ทั้ง ๓ แปลง เพื่อเสนอให้คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาต่อไป คณะทำงาน ๔ คน ประกอบด้วย ๑ นายสุชาติ แก่นจันทร์ ๒ นางสุวรรณา เธียรอังกูร ๓ นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ ๔ นายสุรชัย ติษยาธิคม ๖. วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ การประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพื่อพิจารณาคัดเลือก ที่ดินจาก ๓ แปลง คณะทำงาน ได้รับภาพถ่ายจำนวนมาก และมี วีดิทัศน์สั้น (Video) ด้วย จากผู้เสนอขาย แปลง C ก่อน การประชุมหลายวัน จึงได้ ส่งเข้า LINE กลุ่มกรรมการดำเนินการไปแล้ว ส่วนการต่อรองราคา ทางผู้ขายแจ้งว่า ถ้าที่ประชุมใหญ่อนุมัติ แล้วค่อยเจรจากัน นายสุชาติ แก่นจันทร์ได้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ของธนาคารกรุงเทพ ผู้ถือกรรมสิทธ์ ในที่ดิน แปลง B ว่า จะขอลดราคาจาก ๓๘.๕ ล้านบาท อีก ๕ ล้านบาท ให้เหลือ ๓๓.๕ ล้านบาทได้หรือไม่ ทางเจ้าหน้าที่ แจ้งว่าใน ขั้นตอนขอซื้อให้ทำหนังสือขอลดราคาไปได้ 44 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 44 15/5/2566 20:21:29


๔๔ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 45 การดำเนินการที่ผ่านมาของคณะกรรมการดำเนินการ ๑. ในเดือนเมษายน ๒๕๖๕ ได้ทราบว่ามีการเสนอขายที่ดิน (แปลง A) ในซอยติวานนท์ ๑๘ แยก๓/๘ ซึ่งเชื่อมต่อ กับซอยงามวงศ์วาน๒ (ซอยอัคนี) แยก ๒ ที่เป็นทางเข้ากระทรวงสาธารณสุข เป็นที่ดิน เปล่า ระดับพื้นดินเท่ากับระดับถนน ไม่ต้องถมดินเพื่อยกระดับความสูง ขนาดพื้นที่ ๓๕๖ ตารางวา ราคาเสนอ ขาย ตารางวาละ ๗๐,๐๐๐ – ๗๕,๐๐๐ บาท ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๒,๐๐๐ บาท ประกอบกับผลการดำเนินงานของ ชอ.สธ. ในปี ๒๕๖๔ และ ปี ๒๕๖๕ เติบโตดีมาก กรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๒ (ซึ่งตัวบุคคลทุกคน ได้เป็นคณะกรรมการชุดที่ ๑๓) จำนวน ๘ จากทั้งชุด ๙ คน ได้ไปดูที่ดินแล้ว ในเดือนเมษายน ๒๕๖๕ เห็นว่าน่าสนใจ แต่เนื่องจาก ขณะนั้น เหลือเวลาอีกไม่ถึง ๑ เดือนจะประชุมใหญ่สามัญ คณะกรรมการดำเนินการ คงจะไม่สามารถหาข้อมูล ที่ดินหลายแปลง เพื่อ เปรียบเทียบ คัดเลือกเสนอที่ประชุมใหญ่ได้ทัน ๒. วันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ดังนั้นในที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ คณะกรรมการดำเนินการจึง ได้ให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณากำหนดกรอบ เพื่อให้คณะกรรมการ ดำเนินการ ไปคัดเลือกหาที่ดินที่จะใช้ตั้งสำนักงานใหม่ มาเสนอให้ที่ประชุมใหญ่ พิจารณาคัดเลิอกเพื่อซื้อใน โอกาสต่อไป ที่ประชุมใหญ่ มีมติเห็นชอบ ให้คณะกรรมการดำเนินการไปจัดหาที่ดิน เพื่อใช้สร้างสำนักงานใหม่ ที่เห็น ว่าเหมาะสม หลายๆแปลง โดยไม่กำหนดกรอบตำแหน่งที่ตั้ง ขนาดพื้นที่ และวงเงิน เพื่อเสนอให้ที่ประชุมใหญ่ พิจารณา ๓. ในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๕ ชอ.สธ.ได้ค้นข้อมูลทาง Internet พบมีการประกาศขายที่ดินจำนวน มาก ในพิ้นที่ อำเภอเมืองนนทบุรี และอำเภอบางกรวย ได้คัดข้อมูลจาก Internet เฉพาะที่ดินที่มีขนาด ประมาณ ๑ ไร่ขึ้นไป ราคาประมาณตารางวาละ ๑๐๐,๐๐๐ บาทลงไป จำนวนหลายแปลง เสนอใน LINE กลุ่มกรรมการดำเนินการ ๔. วันที่ ๑๖ กรกฎาคม ๒๕๖๕ กรรมการดำเนินการจำนวน ๗ คน ได้พิจารณาข้อมูลที่ได้มาใน เดือนมิถุนายน ๒๕๖๕ จึงได้ไปดูที่ดินจำนวน ๓ แปลง แปลง ๔.๑ (แปลง B) ตั้งอยู่ที่ ถนนนครอินทร์ ซอย ๓ ซึ่งสามารถเข้าได้ ๒ ทางคือ ทางซอยนครอินทร์ ๓ และทางซอยพิบูลสงคราม ๒๒ แยก ๓ (เป็นซอยเดียวกับซอยนครอินทร์ ๓ เรียกได้ ๒ ชื่อ) ผู้เป็นเจ้าของ กรรมสิทธิ์ คือ ธนาคารกรุงเทพ ขนาดพื้นที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๕๓.๕ ตารางวา = ๑,๐๕๓,๕ ตารางวา ระดับพื้นดิน เท่ากับระดับถนน ตั้งราคาขายรวม ๓๘,๕๐๐,๐๐๐ บาท โฉนดเลขที่ ๘๗๑๔๗ ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๒๘,๐๐๐ บาท แปลง ๔.๒ ตั้งอยู่ที่ ถนนกรุงเทพนนท์ ซอย ๒ (ซอยวัดทางหลวง) แยก ๓ ห่างจากถนนราว ๔๐๐ เมตร ขนาดพื้นที่ ๕๒๘ ตารางวา เป็นที่ถมแล้ว ตั้งราคาขาย ตารางวาละ ๓๖,๐๐๐ บาท เป็นราคารวม ๑๙,๐๒๖,๐๐๐ บาท อยู่ห่างกระทรวงสาธารณสุข ราว ๑ กิโลเมตรเศษ แต่ด้วยถนนซอยทางเข้าออก แคบมาก บางช่วงรถเก๋ง ไม่ สามารถแล่นสวนกันได้ จึงให้ตัดออกจากการพิจารณา ๔๕ แปลง ๔.๓ ตั้งอยู่สุดซอยรัตนาธิเบศร์ ๑๐ ซอยลึกประมาณ ๔๕๐ เมตร ใกล้กับ ศาลากลางจังหวัด นนทบุรี ที่ดินมีสภาพเป็นที่รกร้าง มีต้นไม้ขึ้นเต็ม ขนาดพื้นที่ ๑ ไร่ ๐ งาน ๑๐ ตารางวา มีประกาศในแปลงที่ดิน ผ่านนายหน้า ตั้งราคาขาย ตารางวาละ ๘๐,๐๐๐ บาท แปลงนี้ เมื่อเปรียบเทียบกับ แปลง A ขนาดพื้นที่. ใกล้เคียงกัน แต่มากกว่า เล็กน้อย ระดับความสูงของผิวดิน ต้องปรับปรุง ราคาสูงกว่าเล็กน้อย การเดินทางไป แปลง A สะดวกกว่า คณะกรรมการดำเนินการจึงให้ตัด แปลง ๔.๓ ออก และให้คง แปลง A ไว้พิจารณาต่อไป คณะกรรมการดำเนินการ จึงมีมติให้ ไปหาข้อมูลเพิ่มเติม ของ แปลง A และ แปลง B เพื่อพิจารณา ต่อไป ๕. วันที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๕ ได้มีกรรมการ ๑ คน เสนอข้อมูลให้พิจารณาอีก ๑ แปลง กรรมการ ดำเนินการ จำนวน ๗ คน จึงไปดูก่อนจะประชุม ขอเรียกว่า แปลง C แปลง C ประกอบด้วย ๓ โฉนดติดกัน (ขอแก้ไขชื่อซอย ในหนังสือประกอบการประชุมใหญ่ หน้า ๒๐ สำหรับแปลง C ที่แสดงเป็นซอยงามวงศ์วาน ต้องแก้เป็น ซอยติวานนท์ทั้งหมด ในรายงานนี้ได้แก้ไขแล้ว) โฉนดที่ ๑ เข้าทางซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๑ ขนาดพิ้นที่ ๒๒๒.๔ ตารางวา มีอาคารสร้างนาน แล้วแต่สภาพดี ยังใช้เป็นที่พักอาศัย สภาพโดยรวมดี อีก ๒ โฉนดเข้าทางซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๓ ขนาดพิ้นที่ ๒ โฉนด (๑๓๘.๕ + ๑๔๘ ) = ๒๘๖.๕ ตารางวา เป็นที่ซึ่งเจ้าของปล่อยร้าง มีอาคารเก่าขนาดไม่เล็ก อยู่ ๑ หลัง และอาคารเล็กอีก ๑ หลัง ปล่อยให้ ต้นไม้และวัชพืชขึ้นรก ขนาดพิ้นที่รวม ๓ โฉนด ๕๐๘.๙ ตารางวา ราคาที่เสนอขายรวมสิ่งปลูกสร้าง ไม่เกินตารางวาละ ๙๕,๐๐๐ บาท ราคารวมไม่เกิน ๔๘,๓๔๕,๕๐๐ บาท ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๕,๐๐๐ บาท มีกรรมการอย่างน้อย ๓ คนสนใจมาก โดยเฉพาะ ๒ ใน ๓ คน คือผู้ที่ยังไม่ได้ไปดู แปลง B คณะกรรมการดำเนินการ จึงให้ตั้งคณะทำงานเพื่อ ไปหาข้อมูลเพิ่มเติม และถ่ายรูป กับต่อรองราคา ของ ทั้ง ๓ แปลง เพื่อเสนอให้คณะกรรมการดำเนินการพิจารณาต่อไป คณะทำงาน ๔ คน ประกอบด้วย ๑ นายสุชาติ แก่นจันทร์ ๒ นางสุวรรณา เธียรอังกูร ๓ นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ ๔ นายสุรชัย ติษยาธิคม ๖. วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ การประชุมคณะกรรมการดำเนินการเพื่อพิจารณาคัดเลือก ที่ดินจาก ๓ แปลง คณะทำงาน ได้รับภาพถ่ายจำนวนมาก และมี วีดิทัศน์สั้น (Video) ด้วย จากผู้เสนอขาย แปลง C ก่อน การประชุมหลายวัน จึงได้ ส่งเข้า LINE กลุ่มกรรมการดำเนินการไปแล้ว ส่วนการต่อรองราคา ทางผู้ขายแจ้งว่า ถ้าที่ประชุมใหญ่อนุมัติ แล้วค่อยเจรจากัน นายสุชาติ แก่นจันทร์ได้ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ ของธนาคารกรุงเทพ ผู้ถือกรรมสิทธ์ ในที่ดิน แปลง B ว่า จะขอลดราคาจาก ๓๘.๕ ล้านบาท อีก ๕ ล้านบาท ให้เหลือ ๓๓.๕ ล้านบาทได้หรือไม่ ทางเจ้าหน้าที่ แจ้งว่าใน ขั้นตอนขอซื้อให้ทำหนังสือขอลดราคาไปได้ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 45 IN.indd 45 15/5/2566 20:21:29


46 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๔๖ คณะทำงาน ได้ขอเข้าไปดูในแปลงที่ดิน ซึ่งมีรั้วล้อมไว้ทุกด้าน ทางธนาคารกรุงเทพยินดีให้เข้าไปดูได้ โดยนัดไปดู ในวันที่ ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ซึ่งก่อนถึงวันนัด ทางธนาคารกรุงเทพได้ให้มีการตัดต้นไม้ในที่ดิน ซึ่ง ไม่มีต้นไม้ใหญ่ ดังนั้นในวันนัดดู จึงพบต้นไม้แห้งจากการถูกตัดไม่นาน จึงได้ถ่ายภาพนิ่ง และวีดิทัศน์ ในแปลง ที่ดินจำนวนหนึ่ง และถ่ายภาพ ทางเข้าออก กับสภาพแวดล้อมแปลงที่ดิน กับได้สอบถามข้อมูลต่างๆ จาก สุภาพสตรีคนหนึ่งที่เป็นเจ้าของ ร้านค้าที่อยู่ในซอยนครอินทร์ ๓ แยก ๓ ฝั่งถนนตรงกันข้ามกับกำแพงรั้ว ของ ที่ดิน แปลง B ได้ข้อมูลที่มีประโยชน์มาก ในการประชุมคณะกรรมการดำเนินการ เมื่อวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ได้มีการนำเสนอ ข้อมูลของ ที่ดินทั้ง ๓ แปลง คือ แปลง A, แปลง B และ แปลง C ซึ่งข้อมูลมีความสมบูรณ์มากขึ้น กรรมการดำเนินการ ซึ่งมาประชุมครบทั้ง ๙ คน ลงมติเลือก แปลง B ๗ คน และเลือก แปลง C ๑ คน ส่วนประธานกรรมการงดออกเสียง และที่ประชุมมีมติ ให้นำเสนอทั้ง ๓ แปลงให้ที่ประชุมใหญ่วิสามัญ พิจารณา ตารางเปรียบเทียบข้อมูลทั้ง ๓ แปลง แปลง A คือที่ดินที่ตั้งอยู่ในซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๓/๘ แปลง B คือที่ดินที่ตั้งอยู่ในซอยนครอินทร์ ๓ แปลง C คือที่ดินที่ตั้งอยู่ระหว่างซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๑ กับซอยติวานนท์ ๑๘ แยก ๓ หัวข้อ แปลง A แปลง B แปลง C จำนวนกรรมการที่เลือก (คน) 0 7 1 ขนาดพื้นที่ (ตารางวา) 356 1,053.5 508.9 ราคาเสนอขาย (บาท/ตรว.) <=75,000 < 32,000 95,000 ราคารวมประมาณ (ล้าน บาท) 26.700 33.500 48.345 ราคาประเมินโดยกรมธนา รักษ์ (บาท/ตรว.) 32,000 28,000 35,000 ความสูงของหน้าดิน ระดับใกล้เคียงพื้นถนน ระดับใกล้เคียงพื้นถนน ระดับใกล้เคียงพื้นถนน ทางเข้าพื้นที่ 1 ทาง 2 ทาง คือทางแยก 5 และ แยก 7 แต่จะเพิ่ม เป็น 3 ทางได้ถ้าซื้อแปลง ตะเข็บที่ติดกับกำแพง ด้านแยก 3 2 ทาง สิ่งปลูกสร้าง ไม่มี ไม่มี มีอาคารสภาพใช้งานได้ ในโฉนดที่ ๑ มีอาคารเก่า สภาพชำรุด ในโฉนดที่ ๒ ๔๗ การเสนอต่อที่ประชุมใหญ่วิสามัญ ในวันนี้ คณะกรรมการดำเนินการ จึงขอเสนอข้อมูลของที่ดินทั้ง ๓ แปลง ด้วย power point ตามลำดับดังนี้ แปลง A ประเภททรัพย์สิน เป็นที่ดินเปล่า ระดับพื้นดินเท่ากับระดับถนน ไม่ต้องถมดินเพื่อยกระดับความสูง ขนาด พื้นที่ ๓๕๖ ตารางวา ที่ตั้งทรัพย์สิน อยู่ในซอย ติวานนท์๑๘ แยก๓/๘ ซึ่งเชื่อมต่อ กับซอยงามวงศ์วาน๒ (ซอยอัคนี) แยก ๒ ที่เป็นทางเข้ากระทรวงสาธารณสุข ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๒,๐๐๐ บาท ราคาเสนอขาย ตารางวาละ ๗๐,๐๐๐ – ๗๕,๐๐๐ บาท ราคารวม ๒๖,๗๐๐,๐๐๐ บาท แปลง B ประเภททรัพย์สิน เป็นที่ดินเปล่า ระดับพื้นดินเท่ากับระดับถนน ขนาดพื้นที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๕๓.๕ ตารางวา = ๑,๐๕๓,๕ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๘๗๑๔๗ ที่ตั้งทรัพย์สิน ตั้งอยู่ที่ ถนนนครอินทร์ ซอย ๓ ซึ่งสามารถเข้าได้ ๒ ทางคือ ทางซอยนครอินทร์ ๓ และ ทางซอยพิบูลสงคราม ๒๒ แยก ๓ (เป็นซอยเดียวกับซอยนครอินทร์ ๓ เรียกได้๒ ชื่อ ขึ้นอยู่ว่าจะเข้าทางใด) สถานที่ใกล้เคียง สะพานพระราม ๕ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน คือ ธนาคารกรุงเทพ โดยได้รับจากลูกหนี้ โอนชำระหนี้ ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๒๘,๐๐๐ บาท ราคาเสนอขาย ราคาขายรวม ๓๘,๕๐๐,๐๐๐ บาท (น่าจะขอลดเหลือ ๓๓,๕๐๐,๐๐๐ บาทได้) ราคา เฉลี่ยก่อนขอลดราคา ตารางวาละ ๓๖,๕๔๔.๘๕ บาท แปลง C ประเภททรัพย์สิน ประกอบด้วย ๓ โฉนดติดกัน โฉนดที่ ๑ เข้าทางซอยยติวานนท์ ๑๘ แยก ๑ ขนาดพิ้นที่ ๒๒๒.๔ ตารางวา มีอาคารสร้างนานแล้วแต่สภาพดี ยังใช้เป็นที่พักอาศัย สภาพโดยรวม ดี อีก ๒ โฉนดเข้าทางซอยยติวานนท์๑๘ แยก ๓ ขนาดพิ้นที่ ๒ โฉนด (๑๓๘.๕ + ๑๔๘ ) = ๒๘๖.๕ ตารางวา เป็นที่ซึ่งเจ้าของปล่อยร้าง มีอาคารเก่าขนาดไม่เล็ก อยู่ ๑ หลัง และ อาคารเล็กอีก ๑ หลัง ปล่อยให้ต้นไม้และวัชพืชขึ้นรก ขนาดพิ้นที่รวม ๓ โฉนด ๕๐๘.๙ ตารางวา ที่ตั้งทรัพย์สิน ซอยยติวานนท์๑๘ แยก ๑ และซอยยติวานนท์๑๘ แยก ๓ ประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๕,๐๐๐ บาท ราคาเสนอขายรวมสิ่งปลูกสร้าง ไม่เกินตารางวาละ ๙๕,๐๐๐ บาท ราคารวมไม่เกิน ๔๘,๓๔๕,๕๐๐ บาท 46 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 46 15/5/2566 20:21:29


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 47 ๔๗ การเสนอต่อที่ประชุมใหญ่วิสามัญ ในวันนี้ คณะกรรมการดำเนินการ จึงขอเสนอข้อมูลของที่ดินทั้ง ๓ แปลง ด้วย power point ตามลำดับดังนี้ แปลง A ประเภททรัพย์สิน เป็นที่ดินเปล่า ระดับพื้นดินเท่ากับระดับถนน ไม่ต้องถมดินเพื่อยกระดับความสูง ขนาด พื้นที่ ๓๕๖ ตารางวา ที่ตั้งทรัพย์สิน อยู่ในซอย ติวานนท์๑๘ แยก๓/๘ ซึ่งเชื่อมต่อ กับซอยงามวงศ์วาน๒ (ซอยอัคนี) แยก ๒ ที่เป็นทางเข้ากระทรวงสาธารณสุข ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๒,๐๐๐ บาท ราคาเสนอขาย ตารางวาละ ๗๐,๐๐๐ – ๗๕,๐๐๐ บาท ราคารวม ๒๖,๗๐๐,๐๐๐ บาท แปลง B ประเภททรัพย์สิน เป็นที่ดินเปล่า ระดับพื้นดินเท่ากับระดับถนน ขนาดพื้นที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๕๓.๕ ตารางวา = ๑,๐๕๓,๕ ตารางวา โฉนดเลขที่ ๘๗๑๔๗ ที่ตั้งทรัพย์สิน ตั้งอยู่ที่ ถนนนครอินทร์ ซอย ๓ ซึ่งสามารถเข้าได้ ๒ ทางคือ ทางซอยนครอินทร์ ๓ และ ทางซอยพิบูลสงคราม ๒๒ แยก ๓ (เป็นซอยเดียวกับซอยนครอินทร์ ๓ เรียกได้๒ ชื่อ ขึ้นอยู่ว่าจะเข้าทางใด) สถานที่ใกล้เคียง สะพานพระราม ๕ ผู้ถือกรรมสิทธิ์ในที่ดิน คือ ธนาคารกรุงเทพ โดยได้รับจากลูกหนี้ โอนชำระหนี้ ราคาประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๒๘,๐๐๐ บาท ราคาเสนอขาย ราคาขายรวม ๓๘,๕๐๐,๐๐๐ บาท (น่าจะขอลดเหลือ ๓๓,๕๐๐,๐๐๐ บาทได้) ราคา เฉลี่ยก่อนขอลดราคา ตารางวาละ ๓๖,๕๔๔.๘๕ บาท แปลง C ประเภททรัพย์สิน ประกอบด้วย ๓ โฉนดติดกัน โฉนดที่ ๑ เข้าทางซอยยติวานนท์ ๑๘ แยก ๑ ขนาดพิ้นที่ ๒๒๒.๔ ตารางวา มีอาคารสร้างนานแล้วแต่สภาพดี ยังใช้เป็นที่พักอาศัย สภาพโดยรวม ดี อีก ๒ โฉนดเข้าทางซอยยติวานนท์๑๘ แยก ๓ ขนาดพิ้นที่ ๒ โฉนด (๑๓๘.๕ + ๑๔๘ ) = ๒๘๖.๕ ตารางวา เป็นที่ซึ่งเจ้าของปล่อยร้าง มีอาคารเก่าขนาดไม่เล็ก อยู่ ๑ หลัง และ อาคารเล็กอีก ๑ หลัง ปล่อยให้ต้นไม้และวัชพืชขึ้นรก ขนาดพิ้นที่รวม ๓ โฉนด ๕๐๘.๙ ตารางวา ที่ตั้งทรัพย์สิน ซอยยติวานนท์๑๘ แยก ๑ และซอยยติวานนท์๑๘ แยก ๓ ประเมินโดยกรมธนารักษ์ ตารางวาละ ๓๕,๐๐๐ บาท ราคาเสนอขายรวมสิ่งปลูกสร้าง ไม่เกินตารางวาละ ๙๕,๐๐๐ บาท ราคารวมไม่เกิน ๔๘,๓๔๕,๕๐๐ บาท การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 47 IN.indd 47 15/5/2566 20:21:29


48 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๔๘ ขอให้ที่ประชุมใหญ๋พิจารณา อนุมัติให้ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ซื้อที่ดิน ๑ ใน ๓ แปลง และอนุมัติให้ใช้เงินตามราคาซื้อที่ดิน บวกเพิ่มด้วยค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ในการซื้อขายที่ดิน ตามที่จำเป็น เมื่อที่ประชุมได้อภิปราย พอสมควร จึงให้มีการลงคะแนนเพื่อ เลือกแปลงที่ดินที่จะซื้อ ที่ประชุม ได้เลือกผู้แทนสหกรณ์ เป็นกรรมการนับคะแนนจำนวน ๓ คน ประกอบด้วย ๑. นายพิมพ์ลักษณ์ อยู่วัฒนา ผู้แทน สอ.สาธารณสุขสมุทรสงคราม จำกัด ๒. นางวันเพ็ญ ดวงมาลา ผู้แทน สอ.ร.พ.สรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี จำกัด ๓. นายไชยยศ แย้มทรัพย์ ผู้แทน สอ.กรมการแพทย์ จำกัด เมื่อมีการลงคะแนนโดยที่ประชุมใหญ่ มีจำนวนผู้ลงคะแนน ๕๔ คน ไม่มีบัตรเสีย ผลการนับคะแนน ดังนี้ เลีอก แปลง A ๐ ใบ คะแนนรวม ๐ คะแนน เลีอก แปลง B ๕๑ ใบ คะแนนรวม ๑๙๕ คะแนน เลีอก แปลง C ๓ ใบ คะแนนรวม ๒๑ คะแนน มติที่ประชุม โดยเสียงข้างมาก ๑๙๕ คะแนน อนุมัติ ให้ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ซื้อที่ดิน จากธนาคารกรุงเทพ โฉนดเลขที่ ๘๗๑๔๗ ขนาดพื้นที่ ๒ ไร่ ๒ งาน ๕๓.๕ ตารางวา ตั้งอยู่ที่ ถนนนคร อินทร์ ซอย ๓ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี และอนุมัติให้ใช้เงินตามราคาซื้อที่ดิน บวก เพิ่มด้วยค่าธรรมเนียมต่าง ๆ ในการซื้อขายที่ดิน ตามที่จำเป็น วาระที่ ๓. เรืองอื่นๆ ไม่มี เมื่อไม่มีผู้ใดเสนอเรื่องอื่นอีก ประธานฯ กล่าวขอบคุณผู้มาประชุม และผู้เข้าร่วมประชุม แล้วกล่าวปิด ประชุม เลิกประชุมเวลา ๑๑.๓๐ น. ประธานที่ประชุม (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ผู้จดรายงานการประชุม (นางสุวรรณา เธียรอังกูร) กรรมการเลขานุการ


Click to View FlipBook Version