The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2566 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tccloph, 2023-06-07 05:21:13

E-BOOK การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2566 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด

E-BOOK การประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2566 ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด

ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 49 ๔๙ วาระที่ ๓ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๑ รับทราบการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ รับทราบการรับสหกรณ์สมาชิกเข้าใหม่ ๑. จำนวนสมาชิกยกมาจากปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๙๐ สหกรณ์ เข้าใหม่ในปีพ.ศ. ๒๕๖๕ ๑๐ สหกรณ์ ลาออก ๐ สหกรณ์ จำนวนสมาชิก ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ ๑๐๐ สหกรณ์ ๒. สมาชิกเข้าใหม่ในปีพ.ศ. ๒๕๖๕ มีรายชื่อดังนี้ ที่ สหกรณ์ออมทรัพย์..........จำกัด เลข ทะเบียน จังหวัด วันที่รับเป็นสมาชิก ถือหุ้นครั้งแรก หุ้น บาท ๑ อุบลรักษ์ ธนบุรี ๙๕ก อุบลราชธานี ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๕ ๒,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๒ กรมสุชภาพจิต ๙๒ นนทบุรี ๑๑ เมษายน ๒๕๖๕ ๒๐ ๑๐,๐๐๐ ๓ สาธารณสุขพิจีตร ๙๓ พิจิตร ๑๘ เมษายน ๒๕๖๕ ๒๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๔ ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพเขต๖ ขอนแก่น ๙๔ ขอนแก่น ๑๘ เมษายน ๒๕๖๕ ๑๐,๐๐๐ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๕ สาธารณสุขพะเยา ๙๖ พะเยา ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ๑๐๐ ๕๐,๐๐๐ ๖ โรงพยาบาลสกลนคร ๙๗ สกลนคร ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๕ ๒๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ ๗ สาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ ๙๘ อำนาจเจริญ ๘ มิถุนายน ๒๕๖๕ ๒๐ ๑๐,๐๐๐ ๘ สาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๙๙ ประจวบคีรีขันธ์ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ๒๐ ๑๐,๐๐๐ ๙ โรงพยาบาลอุดรธานี ๑๐๐ อุดรธานี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๖๕ ๑๐,๐๐๐ ๕,๐๐๐,๐๐๐ ๑๐ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ๑๐๑ นนทบุรี ๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ ๔๐๐ ๒๐๐,๐๐๐ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 49 IN.indd 49 15/5/2566 20:21:30


50 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๕๐ วาระที่ วาระที่๓ เรื่องเพื่อทราบ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๒ รับทราบรายงานประจ าปี ๒๕๖๕ แสดงผลงานของช ุ มน ุ มสหกรณ ์ ตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากดั ข้อ ๓๗. อ านาจหน้าที่ของที่ประชุมใหญ่ ที่ประชุมใหญ่มีอ านาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉยัปัญหาท้ งั ปวง เกี่ยวกับกิจการของชุมนุมสหกรณ์ ซึ่งรวมท้ งัในข้อต่อไปน้ี ฯลฯ (๖) รับทราบรายงานประจ าปี แสดงผลงานของชุมนุมสหกรณ์ ฯลฯ ข้อ ๖๒.การเสนองบดุลต่อที่ประชุมใหญ่ ให้คณะกรรมการด าเนินการเสนองบดุลซึ่งผู้สอบบัญชีได้ ตรวจสอบและรับรองแล้วต่อที่ประชุมใหญ่สามัญ เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วนัสิ้ นปี ทางบัญชี ให้คณะกรรมการด าเนินการเสนอรายงานประจ าปี แสดงผลการด าเนินงานของชุมนุมสหกรณ์ต่อที่ ประชุมใหญ่สามัญในคราวที่เสนองบดุลด้วย ฯลฯ ๕๑ รายงานแสดงผลการดำเนินงานประจำปี ๒๕๖๕ ******************** ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย (ชอ.สธ.) ได้รับการจดทะเบียนจาก นายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ เมื่อนับถึงวันสิ้นปี ๒๕๖๕ เป็นระยะเวลา ๑๒ ปี ๑๑ เดือน ในฐานะที่ เป็นประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ กิจกรรมหลักคือการบริหารเงิน ดังนั้นสภาพเศรษฐกิจ และสภาพของระบบ ตลาดเงินมีผลกระทบอย่างสำคัญต่อการดำเนินงานของ ชอ.สธ. จากสรุปรายงานภาวะเศรษฐกิจไทย ปี ๒๕๖๕ ของธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี ๒๕๖๕ ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ฟื้นตัวขึ้นมาก หลังจากวิกฤติเศรษฐกิจในปี ๒๕๖๓ ที่เกิดจากการ แพร่ระบาดของโควิต-๑๙ โดยมีอัตราเติบโตร้อยละ ๒.๖ เป็นผลจากแรงส่งของการท่องเที่ยวเป็นสำคัญ ขณะที่ แรงส่งจากการส่งสินค้าออก และการลงทุน ชะลอลงมาก ค่าครองชีพและต้นทุนภาคธุรกิจอยู่ในระดับสูง ทำให้ รายได้ครัวเรือนบางกลุ่ม เติบโตไม่ทันรายจ่าย และธุรกิจแต่ละประเภท ฟื้นตัวได้ไม่เท่ากัน จำนวนครัวเรือนกลุ่ม เปราะบางเพิ่มขึ้นมาก ในช่วงโควิด-๑๙ เป็น ๒.๑ ล้านครับเรือน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๔ ในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา อัตราดอกเบี้ยนโยบาย ของ กนง. การที่ภาวะเศรษฐกิจชองประเทศไทย ในปี ๒๕๖๕ มีการฟื้นตัวดีพอสมควรโดยเฉพาะการท่องเที่ยว ประกอบกับ การที่มีสงคราม ระหว่าง สหพันธรัฐรัสเซีย กับ ยูเครน มีผลให้สินค้าพลังงานมีราคาสูงขึ้นอย่าง รุนแรง ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index = CPI) ในยุโรป และสหรัฐอเมริกา เพิ่มสูงมาก คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ของธนาคารแห่งประเทศไทย จึงเริ่มปรับเพิ่ม อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RP ๑ วัน: RePurchase rate=อัตราดอกเบี้ยธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร) เพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ ๐.๒๕ ต่อปี เป็น ร้อยละ ๐.๗๕ ต่อปี ตั้งแต่ วันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๕ และได้เพิ่มครั้งละ อัตราร้อยละ ๐.๒๕ ต่อปี อีก ๒ ครั้ง รวม ๓ ครั้งตลอดปี เป็นผลให้ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เป็นร้อยละ ๑.๒๕ ต่อปี ตั้งแต่วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ จนถึงสิ้นปี การดำเนินงานของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด (ชอ.สธ.) ในปี ๒๕๖๕ มีปัจจัยลบ ที่มีผลต่อรายได้ในการดำเนินงานที่สำคัญ คือการแข่งขันให้กู้ระหว่างสหกรณ์ที่อัตราดอกเบี้ยต่ำ แต่เป็นผลให้ เกิดปัจจัยบวกที่ ชดเชยคืออัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากระหว่างสหกรณ์ที่คงอยู่ที่อัตราต่ำ ในทิศทางเดียวกับอัตรา ดอกเบี้ยเงินให้กู้แก่สหกรณ์แม้ในช่วงปลายปีอัตราดอกเบี้ยเงินฝากระหว่างสหกรณ์ ค่อย ๆปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากอัตราดอกเบี้ย เงินกู้จากธนาคาร ที่สหกรณ์ต่าง ๆ และชุมนุมสหกรณ์ ได้ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ได้มีการ ปรับตัวสูงขึ้น ตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ กนง. และมีปัจจัยหนุนให้ลงทุนได้คืออัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้มีอัตราที่สูง กว่าอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ระหว่างสหกรณ์ ทำให้ ชอ.สธ.มีช่องทางในการลงทุน จากปัจจัยข้างต้น ชอ.สธ. จึงได้ลงทุนเงินฝากและเงินให้กู้ โดยยอมรับอัตราดอกเบี้ยต่ำ เพียงเพื่อรักษา ลูกค้าเดิม แต่ไปให้ความสำคัญกับการลงทุนในหุ้นกู้ที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า ในปี๒๕๖๕ จากความเชื่อถือของสมาชิก จึงมีสมาชิกซื้อหุ้นเพิ่มขึ้น ๔๐๕.๒ ล้านบาท เป็นทุนเรือนหุ้น รวมทั้งสิ้น ๑,๒๕๕.๘ ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔๗.๖๔ กับการเชื่อถือของธนาคารพาณิชย์ ที่ได้ให้วงเงินกู้ เพิ่มขึ้นจาก ๑ ธนาคารเดิม กับ ๑ ธนาคารใหม่ เป็นวงเงินกู้ที่เพิ่มขึ้น ๒๙๐ ล้านบาท และได้ขอเพิ่มวงเงินกู้ เบิกเกินบัญชี จากธนาคารกรุงไทย จาก ๒๐ ล้านบาท เพิ่มเป็น ๓๐ ล้านบาท 50 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 50 15/5/2566 20:21:30


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด๕๑| 51 รายงานแสดงผลการดำเนินงานประจำปี ๒๕๖๕ ******************** ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย (ชอ.สธ.) ได้รับการจดทะเบียนจาก นายทะเบียนสหกรณ์ เมื่อวันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๓ เมื่อนับถึงวันสิ้นปี ๒๕๖๕ เป็นระยะเวลา ๑๒ ปี ๑๑ เดือน ในฐานะที่ เป็นประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ กิจกรรมหลักคือการบริหารเงิน ดังนั้นสภาพเศรษฐกิจ และสภาพของระบบ ตลาดเงินมีผลกระทบอย่างสำคัญต่อการดำเนินงานของ ชอ.สธ. จากสรุปรายงานภาวะเศรษฐกิจไทย ปี ๒๕๖๕ ของธนาคารไทยพาณิชย์ ในปี ๒๕๖๕ ภาวะเศรษฐกิจโดยรวม ฟื้นตัวขึ้นมาก หลังจากวิกฤติเศรษฐกิจในปี ๒๕๖๓ ที่เกิดจากการ แพร่ระบาดของโควิต-๑๙ โดยมีอัตราเติบโตร้อยละ ๒.๖ เป็นผลจากแรงส่งของการท่องเที่ยวเป็นสำคัญ ขณะที่ แรงส่งจากการส่งสินค้าออก และการลงทุน ชะลอลงมาก ค่าครองชีพและต้นทุนภาคธุรกิจอยู่ในระดับสูง ทำให้ รายได้ครัวเรือนบางกลุ่ม เติบโตไม่ทันรายจ่าย และธุรกิจแต่ละประเภท ฟื้นตัวได้ไม่เท่ากัน จำนวนครัวเรือนกลุ่ม เปราะบางเพิ่มขึ้นมาก ในช่วงโควิด-๑๙ เป็น ๒.๑ ล้านครับเรือน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๒๔ ในช่วง ๒ ปีที่ผ่านมา อัตราดอกเบี้ยนโยบาย ของ กนง. การที่ภาวะเศรษฐกิจชองประเทศไทย ในปี ๒๕๖๕ มีการฟื้นตัวดีพอสมควรโดยเฉพาะการท่องเที่ยว ประกอบกับ การที่มีสงคราม ระหว่าง สหพันธรัฐรัสเซีย กับ ยูเครน มีผลให้สินค้าพลังงานมีราคาสูงขึ้นอย่าง รุนแรง ดัชนีราคาผู้บริโภค (consumer price index = CPI) ในยุโรป และสหรัฐอเมริกา เพิ่มสูงมาก คณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) ของธนาคารแห่งประเทศไทย จึงเริ่มปรับเพิ่ม อัตราดอกเบี้ยนโยบาย (RP ๑ วัน: RePurchase rate=อัตราดอกเบี้ยธุรกรรมซื้อคืนพันธบัตร) เพิ่มขึ้น ในอัตราร้อยละ ๐.๒๕ ต่อปี เป็น ร้อยละ ๐.๗๕ ต่อปี ตั้งแต่ วันที่ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๕ และได้เพิ่มครั้งละ อัตราร้อยละ ๐.๒๕ ต่อปี อีก ๒ ครั้ง รวม ๓ ครั้งตลอดปี เป็นผลให้ อัตราดอกเบี้ยนโยบาย เป็นร้อยละ ๑.๒๕ ต่อปี ตั้งแต่วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ จนถึงสิ้นปี การดำเนินงานของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด (ชอ.สธ.) ในปี ๒๕๖๕ มีปัจจัยลบ ที่มีผลต่อรายได้ในการดำเนินงานที่สำคัญ คือการแข่งขันให้กู้ระหว่างสหกรณ์ที่อัตราดอกเบี้ยต่ำ แต่เป็นผลให้ เกิดปัจจัยบวกที่ ชดเชยคืออัตราดอกเบี้ยเงินรับฝากระหว่างสหกรณ์ที่คงอยู่ที่อัตราต่ำ ในทิศทางเดียวกับอัตรา ดอกเบี้ยเงินให้กู้แก่สหกรณ์แม้ในช่วงปลายปีอัตราดอกเบี้ยเงินฝากระหว่างสหกรณ์ ค่อย ๆปรับตัวสูงขึ้น เนื่องจากอัตราดอกเบี้ย เงินกู้จากธนาคาร ที่สหกรณ์ต่าง ๆ และชุมนุมสหกรณ์ ได้ใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียน ได้มีการ ปรับตัวสูงขึ้น ตามอัตราดอกเบี้ยนโยบายของ กนง. และมีปัจจัยหนุนให้ลงทุนได้คืออัตราดอกเบี้ยหุ้นกู้มีอัตราที่สูง กว่าอัตราดอกเบี้ยเงินให้กู้ระหว่างสหกรณ์ ทำให้ ชอ.สธ.มีช่องทางในการลงทุน จากปัจจัยข้างต้น ชอ.สธ. จึงได้ลงทุนเงินฝากและเงินให้กู้ โดยยอมรับอัตราดอกเบี้ยต่ำ เพียงเพื่อรักษา ลูกค้าเดิม แต่ไปให้ความสำคัญกับการลงทุนในหุ้นกู้ที่ให้ผลตอบแทนดีกว่า ในปี๒๕๖๕ จากความเชื่อถือของสมาชิก จึงมีสมาชิกซื้อหุ้นเพิ่มขึ้น ๔๐๕.๒ ล้านบาท เป็นทุนเรือนหุ้น รวมทั้งสิ้น ๑,๒๕๕.๘ ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔๗.๖๔ กับการเชื่อถือของธนาคารพาณิชย์ ที่ได้ให้วงเงินกู้ เพิ่มขึ้นจาก ๑ ธนาคารเดิม กับ ๑ ธนาคารใหม่ เป็นวงเงินกู้ที่เพิ่มขึ้น ๒๙๐ ล้านบาท และได้ขอเพิ่มวงเงินกู้ เบิกเกินบัญชี จากธนาคารกรุงไทย จาก ๒๐ ล้านบาท เพิ่มเป็น ๓๐ ล้านบาท การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 51 IN.indd 51 15/5/2566 20:21:30


52 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๕๒ จุดเด่น ของความสำเร็จในปี ๒๕๖๕ ที่จะขอกล่าวในที่นี้เพียง ๒ ประเด็น คือ ทุนเรือนหุ้นเพิ่มขึ้นร้อยละ ๔๗.๖๔ และ กำไรสุทธิประจำปี เพิ่มขึ้น ร้อยละ ๕๘.๘๐ ซึ่งเป็นอัตราที่สูงมาก จึงนับเป็นความสำเร็จดีกว่าแผนที่ เสนอต่อที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๕ อย่างไม่น่าเชื่อ ของคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ และมี ประเด็นความสำเร็จอื่นๆ ดังที่จะนำเสนอต่อไป ๑. ผลการดำเนินงานทั่วไป คณะกรรมการดำเนินการขอเสนอรายงานผลการดำเนินงานในรอบปี ๒๕๖๕เปรียบเทียบกับปี ๒๕๖๔ ดัง ตารางที่ ๑ แสดงฐานะการเงินเปรียบเทียบ ตารางที่ ๑ฐานะการเงินเปรียบเทียบ ณ วันสิ้นปี๒๕๖๕ และปี ๒๕๖๔ หน่วย: บาท รายการ ณ วันสิ้นปี (บาท) เปลี่ยนแปลง ๒๕๖๕ ๒๕๖๔ บาท ร้อยละ เงินรับฝากประจำ 1,730,550,000.00 1,633,800,000.00 91,750,000.00 5.62 เงินรับฝากเผื่อเรียก 5,000,000.00 0.00 5,000,000.00 เงินกู้ 573,400,000.00 457,900,000.00 115,500,000.00 25.22 หนี้สินรวม 2,306,038,032.24 2,093,298,184.67 212,739,847.57 10.16 ทุนเรือนหุ้น 1,255,806,500.00 850,598,500.00 405,208,000.00 47.64 ทุนสำรอง 33,321,504.74 25,926,685.13 7,394,819.61 28.52 ทุนสะสมตามข้อบังคับ 12,586,000.00 10,392,000.00 2,194,000.00 21.11 กำไรสุทธิ 81,503,765.92 51,323,549.35 30,180,216.57 58.80 ทุนรวม 1,344,329,518.03 939,443,254.48 404,886,263.55 43.10 สินทรัพย์รวม 3,650,367,550.27 3,032,741,439.15 617,626,111.12 20.37 เงินลงทุนในสหกรณ์สมาชิก 0.00 0.00 - เงินลงทุนในสหกรณ์อื่น 432,194,356.47 572,347,159.93 - 140,152,803.46 - 24.49 เงินลงทุนในตราสารหนี้ 2,718,300,000.00 2,172,150,000.00 546,150,000.00 25.14 เงินลงทุนในหุ้นรัฐวิสาหกิจ 471,137,446.27 257,196,319.66 213,941,126.61 83.18 ๒. จำนวนสมาชิก ในปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ. มีจำนวนสมาชิกยกมาจากปีก่อน ๙๐ สหกรณ์ และมีสมาชิกเข้าใหม่ระหว่างปี จำนวน ๑๐ สหกรณ์ ไม่มีสมาชิกออกระหว่างปี ในวันสิ้นปีมีสมาชิกรวม ๑๐๐ สหกรณ์ เป็นสหกรณ์ใน หน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน ๙๙ สหกรณ์ เป็นร้อยละ ๖๓.๔๖ ของจำนวนสหกรณ์ที่มีคุณสมบัติ เป็นสมาชิก ๑๕๖ สหกรณ์ และเป็นสหกรณ์ในโรงพยาบาลที่ไม่สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน ๑ สหกรณ์ การกระจายของสมาชิกตามที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ และตามต้นสังกัดของที่ทำงานค่อนข้างกระจายได้ดีดัง ตารางที่ ๒.๑ และตารางที่ ๒.๒ ๕๓ ตารางที่ ๒.๑ การกระจายตัวของสหกรณ์สมาชิกตามภูมิภาค หน่วย: สหกรณ์ ภูมิภาค จำนวนสมาชิก จำนวนสหกรณ์ที่มีคุณสมบัติ อัตราส่วน 2565 2564 เพิ่มขึ้น สาธารณสุข โรงพยาบาล กรม,องค์การ รวม สมาชิก(%) ภาคเหนือ 17 15 2 17 10 - 27 62.96 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25 21 4 19 20 - 39 64.10 ภาคกลาง 42 39 3 25 31 8 64 65.63 ภาคใต้ 15 15 0 14 12 - 26 57.69 รวม 99 90 9 75 73 8 156 63.46 นอกกระทรวง 1 0 1 - - - - - ตารางที่ ๒.๒ การกระจายตัวของสหกรณ์สมาชิกตามต้นสังกัด หน่วย: สหกรณ์ ต้นสังกัด จำนวนสมาชิก จำนวนสหกรณ์ ที่มีคุณสมบัติ อัตราส่วน สมาชิก สัดส่วน 2565 2564 เพิ่มขึ้น สมาชิก กรม,องค์การ 8 6 2 8 100.00% 8.08% โรงพยาบาล 37 34 3 73 50.68% 37.37% สาธารณสุข 54 50 4 75 72.00% 54.55% รวม 99 90 9 156 63.46% 100.00% นอกกระทรวง 1 0 1 - - - ตารางที่ ๒.๓ การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นรายปี วันสิ้นปี จำนวนสมาชิก (สหกรณ์) เปลี่ยนแปลง จำนวนสหกรณ์ ที่มีคุณสมบัติ(สหกรณ์) สัดส่วนสมาชิก สหกรณ์ ร้อยละ (ร้อยละ) ๒๕๕๓ 14 - 153 9.15 ๒๕๕๔ 28 14 100.0 154 18.18 ๒๕๕๕ 35 7 25.0 154 22.73 ๒๕๕๖ 42 7 20.0 155 27.10 ๒๕๕๗ 47 5 11.9 155 30.32 ๒๕๕๘ 49 2 4.3 155 31.61 ๒๕๕๙ 52 3 6.1 156 33.33 ๒๕๖๐ 53 1 1.9 156 33.97 ๒๕๖๑ 62 9 17.0 156 39.74 ๒๕๖๒ 68 6 9.7 156 43.59 ๒๕๖๓ 77 9 13.2 156 49.36 ๒๕๖๔ 90 13 16.9 156 57.69 ๒๕๖๕ 99 9 10.0 156 63.46 52 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 52 15/5/2566 20:21:31


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 53 ๕๓ ตารางที่ ๒.๑ การกระจายตัวของสหกรณ์สมาชิกตามภูมิภาค หน่วย: สหกรณ์ ภูมิภาค จำนวนสมาชิก จำนวนสหกรณ์ที่มีคุณสมบัติ อัตราส่วน 2565 2564 เพิ่มขึ้น สาธารณสุข โรงพยาบาล กรม,องค์การ รวม สมาชิก(%) ภาคเหนือ 17 15 2 17 10 - 27 62.96 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 25 21 4 19 20 - 39 64.10 ภาคกลาง 42 39 3 25 31 8 64 65.63 ภาคใต้ 15 15 0 14 12 - 26 57.69 รวม 99 90 9 75 73 8 156 63.46 นอกกระทรวง 1 0 1 - - - - - ตารางที่ ๒.๒ การกระจายตัวของสหกรณ์สมาชิกตามต้นสังกัด หน่วย: สหกรณ์ ต้นสังกัด จำนวนสมาชิก จำนวนสหกรณ์ ที่มีคุณสมบัติ อัตราส่วน สมาชิก สัดส่วน 2565 2564 เพิ่มขึ้น สมาชิก กรม,องค์การ 8 6 2 8 100.00% 8.08% โรงพยาบาล 37 34 3 73 50.68% 37.37% สาธารณสุข 54 50 4 75 72.00% 54.55% รวม 99 90 9 156 63.46% 100.00% นอกกระทรวง 1 0 1 - - - ตารางที่ ๒.๓ การเปลี่ยนแปลงจำนวนสมาชิกที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นรายปี วันสิ้นปี จำนวนสมาชิก (สหกรณ์) เปลี่ยนแปลง จำนวนสหกรณ์ ที่มีคุณสมบัติ(สหกรณ์) สัดส่วนสมาชิก สหกรณ์ ร้อยละ (ร้อยละ) ๒๕๕๓ 14 - 153 9.15 ๒๕๕๔ 28 14 100.0 154 18.18 ๒๕๕๕ 35 7 25.0 154 22.73 ๒๕๕๖ 42 7 20.0 155 27.10 ๒๕๕๗ 47 5 11.9 155 30.32 ๒๕๕๘ 49 2 4.3 155 31.61 ๒๕๕๙ 52 3 6.1 156 33.33 ๒๕๖๐ 53 1 1.9 156 33.97 ๒๕๖๑ 62 9 17.0 156 39.74 ๒๕๖๒ 68 6 9.7 156 43.59 ๒๕๖๓ 77 9 13.2 156 49.36 ๒๕๖๔ 90 13 16.9 156 57.69 ๒๕๖๕ 99 9 10.0 156 63.46 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 53 IN.indd 53 15/5/2566 20:21:31


54 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๕๔ ชอ.สธ.ได้เชิญสหกรณ์ที่ยังไม่เป็นสมาชิก เข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญ และเข้าร่วมสัมมนา เพื่อจะได้รู้จัก ชอ.สธ.มากขึ้น และจะได้พิจารณาว่าควรจะสมัครเป็นสมาชิกหรือไม่ ซึ่ง ชอ.สธ. หวังว่า เมื่อ ชอ.สธ. มีผลงาน มากขึ้น หรือเติบโตขึ้น ก็จะมีสมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ๓. ทุนเรือนหุ้น ในวันสิ้นปี๒๕๖๕ ชอ.สธ. มีทุนเรือนหุ้น 1,255,806,500 บาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อน 405,208,000 บาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 47.64 สมาชิกถือหุ้นเฉลี่ยสหกรณ์ละ 12,558,065.บาท เพิ่มขึ้นจากค่าเฉลี่ยในวันสิ้นปี ๒๕๖๔ จำนวน 3,106,970.56 บาท ต่อสหกรณ์ โดยสหกรณ์ที่ถือหุ้นสูงสุด จำนวน 100,000,000 บาท และ ต่ำสุด 5,000 บาท มีสหกรณ์ที่ถือหุ้นตั้งแต่ 2 ล้านบาทขึ้นไป จำนวน 53 สหกรณ์ รวมถือหุ้น 1,246,261,000 บาท เป็นร้อยละ 99.24% ของทุนเรือนหุ้น สมาชิกที่เหลือ 47 สหกรณ์ถือหุ้นรวมกัน 9,545,500 บาท และ ชอ.สธ.สามารถเสนอจ่ายเงินปันผลได้ในอัตรา ร้อยละ 5.60 ต่อปี ตามพ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๓ (๓) กำหนดว่า “มีทุนซึ่งแบ่งเป็นหุ้นมีมูลค่าเท่า ๆ กัน และสมาชิกแตละคนจะต้องถือหุ้นอย่างน้อยหนึ่งหุ้น แต่ไม่เกินหนึ่งในห้าของหุ้นที่ชำระแล้วทั้งหมด” ตารางที่ ๓.๑ การเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุ้น เป็นรายปี วันสิ้นปี จำนวน สมาชิก (สหกรณ์) ทุนเรือนหุ้น แต่ละสหกรณ์ถือหุ้น รวม เพิ่มขึ้น เฉลี่ยต่อ สมาชิก สูงสุด ต่ำสุด บาท ร้อยละ ๒๕๕๓ 14 15,230,000 - - 1,087,857.14 3,000,000 500 ๒๕๕๔ 28 31,185,000 15,955,000 104.76 1,113,750.00 5,000,000 500 ๒๕๕๕ 35 38,847,500 7,662,500 24.57 1,109,928.57 6,000,000 500 ๒๕๕๖ 42 60,699,000 21,851,500 56.25 1,445,214.29 12,000,000 500 ๒๕๕๗ 47 87,078,500 26,379,500 43.46 1,852,734.04 17,000,000 500 ๒๕๕๘ 49 158,718,500 71,640,000 82.27 3,239,153.06 31,000,000 500 ๒๕๕๙ 52 326,748,500 168,030,000 105.87 6,283,625.00 50,000,000 500 ๒๕๖๐ 53 381,996,500 55,248,000 16.91 7,207,481.13 50,000,000 5,000 ๒๕๖๑ 62 442,029,000 60,032,500 15.72 7,129,500.00 50,000,000 5,000 ๒๕๖๒ 68 566.108,000 124,079.000 28.07 8,325,117.65 50,000,000 5,000 ๒๕๖๓ 77 703,298,000 137,190,000 24.23 9,133,740.26 60,000,000 5,000 ๒๕๖๔ 90 850,598,500 147,300,500 20.94 9,451,094.44 60,000,000 5,000 ๒๕๖๕ 100 1,255,806,500 405,208,000 47.64 12,558,065.00 100,000,000 5,000 ๕๕ กราฟแสดงการเปลยี่นแปลงของทุนเรือนหุ้นเป็นรายปี ตารางที่ ๓.๒ การเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุ้นเป็นรายเดือนในปี ๒๕๖๕ วนัสิ้ นเดือน ทุนเรือนหุ้น (บาท) สินทรัพย์ สะสม (บาท) เพมิ่ข้นึ ธันวาคม ๒๕๖๔ 850,598,500 - 3,032,741,439.15 มกราคม 858,883,500 8,285,000 3,154,128,455.50 กุมภาพันธ์ 873,833,500 14,950,000 3,116,255,224.30 มีนาคม 922,376,500 48,543,000 3,165,131,040.99 เมษายน 927,986,500 5,610,000 3,217,114,375.12 พฤษภาคม 937,136,500 9,150,000 3,342,126,412.32 มิถุนายน 986,046,500 48,910,000 3,454,227,001.50 กรกฎาคม 1,044,956,500 58,910,000 3,567,016,662.29 สิงหาคม 1,054,956,500 10,000,000 3,582,019,289.22 กันยายน 1,063,956,500 9.000,000 3,618,476,973.56 ตุลาคม 1,129,956,500 66,000,000 3,678,703,399.99 พฤศจิกายน 1,205,606,500 75,650,000 3,708,861,019.72 ธันวาคม 1,255,806,500 50.200,000 3,650,367,550.27 รวม 405,208,000 54 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 54 15/5/2566 20:21:31


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 55 ๕๕ กราฟแสดงการเปลยี่นแปลงของทุนเรือนหุ้นเป็นรายปี ตารางที่ ๓.๒ การเปลี่ยนแปลงของทุนเรือนหุ้นเป็นรายเดือนในปี ๒๕๖๕ วนัสิ้ นเดือน ทุนเรือนหุ้น (บาท) สินทรัพย์ สะสม (บาท) เพมิ่ข้นึ ธันวาคม ๒๕๖๔ 850,598,500 - 3,032,741,439.15 มกราคม 858,883,500 8,285,000 3,154,128,455.50 กุมภาพันธ์ 873,833,500 14,950,000 3,116,255,224.30 มีนาคม 922,376,500 48,543,000 3,165,131,040.99 เมษายน 927,986,500 5,610,000 3,217,114,375.12 พฤษภาคม 937,136,500 9,150,000 3,342,126,412.32 มิถุนายน 986,046,500 48,910,000 3,454,227,001.50 กรกฎาคม 1,044,956,500 58,910,000 3,567,016,662.29 สิงหาคม 1,054,956,500 10,000,000 3,582,019,289.22 กันยายน 1,063,956,500 9.000,000 3,618,476,973.56 ตุลาคม 1,129,956,500 66,000,000 3,678,703,399.99 พฤศจิกายน 1,205,606,500 75,650,000 3,708,861,019.72 ธันวาคม 1,255,806,500 50.200,000 3,650,367,550.27 รวม 405,208,000 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 55 IN.indd 55 15/5/2566 20:21:31


56 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๕๖ ๔. เงินรับฝาก สำหรับ ชอ.สธ. แหล่งทุนดำเนินงานที่สำคัญ คือ เงินรับฝากจากสหกรณ์ ดังนั้นการเติบโตของ ชอ.สธ.จึงขึ้นอยู่กับปริมาณเงินรับฝากด้วย อัตราดอกเบี้ยเงินรับฝาก ในปี ๒๕๖๕ อยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำ ทั้งเงินฝากธนาคาร และเงินฝาก ระหว่างสหกรณ์ออมทรัพย์ เพิ่มจากปี ๒๕๖๔ ไม่มาก เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรค covid-19 เริ่มควบคุม ได้ดี เพราะประชาชนส่วนใหญ่ มีภูมิคุ้มกันแล้ว และตัวเชื้อโรค มีการกลายพันธุ์ จนมีความรุนแรงลดลง มีผล ให้มีการเพิ่มขึ้น ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจในทุกด้าน โดยเฉพาะที่เพิ่มมากที่สุดคือ ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการ ท่องเที่ยว ดังนั้น คณะกรรมการนโยบายการเงิน ต้องปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย ครั้งละ ร้อยละ ๐.๒๕ ต่อปีในปี ๒๕๖๕ รวม ๓ ครั้ง จาก ร้อยละ ๐.๕๐ ต่อปี ตั้งแต่ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เป็น ร้อยละ ๑.๒๕ ต่อปี ตั้งแต่ วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ สำหรับ ชอ.สธ. ด้วยเป็นชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ที่มีสินทรัพย์ไม่มากนัก แม้ว่ามีปัญหาการให้เงินกู้แก่ สหกรณ์อื่น ต้องแข่งกันลดอัตราดอกเบี้ยให้กู้ด้วย ทำให้ได้ผลตอบแทนต่ำลง ก็พอจะให้กู้ได้แต่ไม่มากนัก จึงต้อง เลือกลงทุนอย่างอื่น ซึ่งก็พอจะลงทุนได้ สำหรับอัตราดอกเบี้ยที่มีผลบังคับใช้ในวันประชุมใหญ่นี้ จะปรากฏในหนังสือเกร็ดของดี ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ.มีเงินรับฝากประจำจากสหกรณ์ทั้งสิ้น ๑,๗๓๐.๕๕ ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อน ๙๑.๗๕ ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ ๕.๖๒ ในระหว่างปีมีการับเงินรับฝากเผื่อเรียก จำนวน ๑๘ รายการ เป็นจำนวนเงินฝาก ๔๐๔ ล้านบาท ถอน ออก ๓๙๙ ล้านบาท คงเหลือยกไปปีต่อไป ๕ ล้านบาท เป็นเงินรับฝากเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ๙.๗๖ ล้านบาท ในระหว่างปี ๒๕๖๕ มีสหกรณ์สมาชิก ใช้บริการเงินรับฝากจำนวน ๔๕ สหกรณ์เพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๘ สหกรณ์ และสหกรณ์ที่ไม่เป็นสมาชิก ๔ สหกรณ์ เพิ่มจากปีก่อน ๑ สหกรณ์ ตั้งแต่ปลายปี ๒๕๖๒ เป็นต้นมา ขอ.สธ.ได้มีนโยบายไม่รับเงินฝากประจำระยะยาวจากสหกรณ์ที่ไม่เป็น สมาชิก หลักการในการให้บริการ ในบทบาทการเป็นสถาบันการเงินที่มีประสิทธิภาพ ของสหกรณ์สมาชิกที่สำคัญ คือสภาพคล่องทางการเงินจะต้องไม่ขาด และจะต้องไม่เหลือ หมายความว่าเมื่อผู้ฝากเงินต้องการจะถอนเงินฝาก ไม่ว่าจะเป็นเงินที่ถอนเมื่อครบกำหนด หรือแม้แต่จะ ถอนก่อนกำหนด ก็ต้องถอนได้ เพราะถ้าถอนไม่ได้ ก็จะไม่เป็นที่เชื่ออีกต่อไป ก็อาจจะ ไม่มีใครกล้ามาฝาก ส่วนกรณีถ้ามีเงินเหลือมาก เช่นเหลือจนต้องเอาเงินไปฝากออมทรัพย์กับธนาคารจำนวนมาก ซึ่งจะได้รับ อัตราดอกเบี้ยที่ต่ำมาก ในขณะที่ ต้นทุนอัตราดอกเบี้ยเงินรับฝาก ที่ต้องจ่ายแก่ผู้ฝากมีอัตราที่สูงกว่ามาก ก็จะทำ ให้ผู้รับฝากขาดทุนโดยไม่สมควร ชอ.สธ.ได้ใช้วงเงินกู้ยืมจากธนาคาร โดยการออกตั๋วสัญญาใช้เงินระยะสั้นเป็นเครื่องมือสำคัญในการ จัดการสภาพคล่องทางการเงิน


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ ๕๗กัด | 57 ตารางที่ ๔.๑ การเปลี่ยนแปลงของเงินรับฝากประจำในเดือนต่างๆของปี ๒๕๖๕ ในวันสิ้น เดือน จำนวนเงินรับฝาก (ล้านบาท) รับฝาก ถอนออก คงเหลือ เปลี่ยนแปลง ยกมา - - 1,633.80 - มกราคม 106.90 212.00 1,528.70 -105.10 กุมภาพันธ์ 43.00 32.30 1,539.40 10.70 มีนาคม 135.00 148.00 1,526.40 -13.00 เมษายน 115.00 0.00 1,641.40 115.00 พฤษภาคม 22.00 43.00 1,620.40 -21.00 มิถุนายน 77.00 40.00 1,657.40 37.00 กรกฎาคม 234.40 166.00 1,725.80 68.40 สิงหาคม 71.25 83.00 1,714.05 -11.75 กันยายน 30.00 70.50 1,673.55 -40.50 ตุลาคม 249.00 128.00 1,794.55 121.00 พฤศจิกายน 57.90 306.90 1,545.55 -249.00 ธันวาคม 368.00 188.00 1,725.55 180.00 รวม 1,509.45 1,417.70 91.75 ตารางที่ ๔.๒ การเปลี่ยนแปลงการรับเงินฝากประจำรวมเป็นรายปี(ล้านบาท) ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. ฝากเพิ่ม ถอนออก คงเหลือ เปลี่ยนแปลง เงินรับฝาก ล้านบาท ร้อยละ เฉลี่ยทั้งปี ๒๕๕๓ 158.69 95.79 62.90 62.90 14.32 ๒๕๕๔ 600.20 490.10 173.00 110.10 175.0 103.32 ๒๕๕๕ 298.80 184.80 287.00 114.00 65.9 236.37 ๒๕๕๖ 226.00 153.00 360.00 73.00 25.4 323.80 ๒๕๕๗ 355.50 364.50 351.00 -9.00 -2.5 320.35 ๒๕๕๘ 519.80 436.00 434.80 83.80 23.9 372.16 ๒๕๕๙ 668.00 479.80 623.00 188.20 43.3 425.63 ๒๕๖๐ 586.50 561.00 648.50 25.50 4.1 589.52 ๒๕๖๑ 418.50 438.00 629.50 -19.50 -3.0 585.12 ๒๕๖๒ 747.00 487.00 889.00 260.00 41.3 631.59 ๒๕๖๓ 1,313.00 1,024.50 1,177.50 288.50 32.5 1,021.58 ๒๕๖๔ 1,832.50 1,376.20 1,633.80 456.30 38.8 1,413.44 ๒๕๖๕ 1,509.45 1,417.70 1,725.55 91.75 5.6 1,644,79 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 57 IN.indd 57 15/5/2566 20:21:32


58 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๕๘ ตารางที่ ๔.๓ เงินรับฝากเฉลี่ยเป็นรายปี ตารางที่ ๔.๔ เงินรับฝากประจำ จำแนกตามปีที่ครบกำหนดไถ่ถอน ๕. การกู้เงิน แหล่งทุนดำเนินงานของสหกรณ์นอกจากทุนเรือนหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิกแล้ว ถ้าทุนดำเนินงานยังไม่พอ ก็อาจใช้การกู้ โดยอาจกู้จากผู้ให้กู้ ๓ ประเภท ได้แก่ ๑) กู้จากสหกรณ์อื่น ๒) กู้จากสถาบันการเงิน ๓) กู้จากบุคคลทั่วไป โดยที่ธนาคารจำนวนมากได้ยอมรับว่า สหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นสถาบันการเงินจึงได้ให้เงินกู้ในอัตรา ดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธุรกิจทั่วไป ชอ.สธ. จึงมีความคิดที่จะใช้เงินกู้จากธนาคารเป็นแหล่งทุนที่สำคัญด้วย ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. เงินรับฝากเฉลี่ยทั้งปี(บาท) อัตราดอกเบี้ย ฝากประจำ ฝากเผื่อเรียก รวม เฉลี่ย ๒๕๕๓ 9,010,958.90 5,305,671.23 14,316,630.14 3.1967% ๒๕๕๔ 76,416,438.37 26,899,131.47 103,315,569.83 3.6155% ๒๕๕๕ 227,019,178.08 9,352,054.79 236,371,232.88 4.4488% ๒๕๕๖ 322,890,410.96 915,068.49 323,805,479.45 4.5816% ๒๕๕๗ 320,146,575.32 200,000.00 320,346,575.32 4.6810% ๒๕๕๘ 371,678,904.10 479,452.05 372,158,356.15 4.6373% ๒๕๕๙ 425,632,328.77 0.00 425,632,328.77 4.4335% ๒๕๖๐ 589,516,438.36 0.00 589,516,438.36 4.0324% ๒๕๖๑ 585,116,438.36 0.00 585,116,438.36 3.8452% ๒๕๖๒ 631,530,136.99 60,273.97 631,590,410.96 3.7589% ๒๕๖๓ 1,016,887,671.23 4,690,410.96 1,021,578,082.19 3.2085% ๒๕๖๔ 1,413,440,821.92 0.00 1,413,440,821.92 2.7898% ๒๕๖๕ 1,635,031,506.85 9,761,643.84 1,644,793,150.68 2.2996% ปี จำนวนเงิน (ล้านบาท) ณ ๓๑ ธ.ค. ๒๕๖๕ ณ ๒๘ ก.พ. ๒๕๖๖ ณ ๓๐ เม.ย. ๒๕๖๖ ๒๕๖๖ 624.30 542.40 459.40 ๒๕๖๗ 527.35 539.35 565.35 ๒๕๖๘ 375.90 455.90 567.90 ๒๕๖๙ 178.00 178.00 189.00 ๒๕๗๐ 20.00 20.00 20.00 ๒๕๗๑ - - 3.20 รวม 1,725.55 1,735.65 1,804.85 ๕๙ วงเงินกู้ยืมที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ในปี ๒๕๖๕ นายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเห็นชอบ ให้ชอ.สธ. มีวงเงินกู้ยืมฯ ประจำปี จำนวน ๑,๔๓๐ ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อน ๒๕๐ ล้านบาท การกู้เงินจากบุคคลทั่วไป ชอ.สธ. เคยกู้เงินจากบุคคลทั่วไปโดยการจำหน่ายตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปี ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ ตั้งแต่ในปี ๒๕๕๘ ชอ.สธ. ได้งดจำหน่ายตั๋วสัญญาใช้เงิน เพราะ ชอ.สธ. ได้นำวงเงินกู้ยืม ไปใช้เป็นวงเงินกู้ยืม กับธนาคาร จนหมดแล้ว และจากร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๘๙/๒ (๕) แห่ง พ.ร.บ.สหกรณ์ ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. สหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่องการรับฝากเงิน การก่อหนี้ และการสร้างภาระผูกพัน ซึ่งรวมถึงการกู้ยืม เงินหรือการค้ำประกัน จะไม่อนุญาตให้สหกรณ์กู้เงินจากบุคคลทั่วไป วงเงินกู้จากธนาคาร ธนาคาร วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๔ วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๕ วงเงินที่ใช้ได้ ตามหลักประกัน วงเงินที่ใช้ ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๕ ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี กรุงไทย 219 20 219 30 210 + 30 138.4 กรุงศรีอยุธยา 257 - 257 - 193 - ไทยพาณิชย์ 150 - 150 - 150 150.0 กรุงเทพ 100 - 100 - 100 - ไอซีบีซี(ไทย) 100 - 200 - 200 95.0 ทหารไทยธนชาต - - 190 - 190 190.0 รวม 826 20 1,116 30 1,043 + 30 573.4 ตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ จนถึงปี ๒๕๖๓ ชอ.สธ. ใช้วงเงินกู้ยืมจากเพียง ๒ ธนาคารพาณิชย์ คือธนาคารกรุงไทย กับ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ซึ่งทำให้ ชอ.สธ. สามารถดำเนินกิจการได้ดี มาตลอด แต่ในปลายเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ได้จำกัดการใช้วงเงินกู้ของ ชอ.สธ. (อาจ เนื่องมาจาก covid-19) ในเดือนพฤษภาคม๒๕๖๓ ธนาคารกรุงไทย ได้จำกัดการใช้วงเงินกู้ ของสหกรณ์ออมทรัพย์ต่างๆ (รวมทั้งของ ชอ.สธ.) เป็นผลให้ ชอ.สธ. ได้รับผลกระทบ ขาดเครื่องมือบริหารสภาพคล่องทางการเงิน จึงต้อง จำกัดกิจกรรมต่างๆ เป็นผลให้เสียโอกาสในการดำเนินการไม่น้อย ชอ.สธ. จึงตระหนักว่า การมีวงเงินกู้กับ เพียง ๒ ธนาคาร เป็นจุดอ่อน ที่เป็นความเสี่ยง อาจทำให้ขาด เครื่องมือบริหารสภาพคล่องได้ ในปี๒๕๖๔ ได้มีการทำสัญญา ขอใช้วงเงินกู้กับ ๒ ธนาคารในเดือนกุมภาพันธ์๒๕๖๔ โดยได้วงเงินกู้ กับ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำนวน ๑๕๐ ล้านบาท และ กับ ธนาคารกรุงเทพ จำนวน ๑๐๐ ล้านบาท ในเดือนตุลาคม ๒๕๖๔ ได้ทำสัญญาใช้วงเงินกู้กับ ธนาคาร ไอซีบีซี(ไทย) วงเงิน ๑๐๐ ล้านบาท 58 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 58 15/5/2566 20:21:32


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 59 ๕๘ ตารางที่ ๔.๓ เงินรับฝากเฉลี่ยเป็นรายปี ตารางที่ ๔.๔ เงินรับฝากประจำ จำแนกตามปีที่ครบกำหนดไถ่ถอน ๕. การกู้เงิน แหล่งทุนดำเนินงานของสหกรณ์นอกจากทุนเรือนหุ้นและเงินรับฝากจากสมาชิกแล้ว ถ้าทุนดำเนินงานยังไม่พอ ก็อาจใช้การกู้ โดยอาจกู้จากผู้ให้กู้ ๓ ประเภท ได้แก่ ๑) กู้จากสหกรณ์อื่น ๒) กู้จากสถาบันการเงิน ๓) กู้จากบุคคลทั่วไป โดยที่ธนาคารจำนวนมากได้ยอมรับว่า สหกรณ์ออมทรัพย์ เป็นสถาบันการเงินจึงได้ให้เงินกู้ในอัตรา ดอกเบี้ยที่ต่ำกว่าธุรกิจทั่วไป ชอ.สธ. จึงมีความคิดที่จะใช้เงินกู้จากธนาคารเป็นแหล่งทุนที่สำคัญด้วย ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. เงินรับฝากเฉลี่ยทั้งปี(บาท) อัตราดอกเบี้ย ฝากประจำ ฝากเผื่อเรียก รวม เฉลี่ย ๒๕๕๓ 9,010,958.90 5,305,671.23 14,316,630.14 3.1967% ๒๕๕๔ 76,416,438.37 26,899,131.47 103,315,569.83 3.6155% ๒๕๕๕ 227,019,178.08 9,352,054.79 236,371,232.88 4.4488% ๒๕๕๖ 322,890,410.96 915,068.49 323,805,479.45 4.5816% ๒๕๕๗ 320,146,575.32 200,000.00 320,346,575.32 4.6810% ๒๕๕๘ 371,678,904.10 479,452.05 372,158,356.15 4.6373% ๒๕๕๙ 425,632,328.77 0.00 425,632,328.77 4.4335% ๒๕๖๐ 589,516,438.36 0.00 589,516,438.36 4.0324% ๒๕๖๑ 585,116,438.36 0.00 585,116,438.36 3.8452% ๒๕๖๒ 631,530,136.99 60,273.97 631,590,410.96 3.7589% ๒๕๖๓ 1,016,887,671.23 4,690,410.96 1,021,578,082.19 3.2085% ๒๕๖๔ 1,413,440,821.92 0.00 1,413,440,821.92 2.7898% ๒๕๖๕ 1,635,031,506.85 9,761,643.84 1,644,793,150.68 2.2996% ปี จำนวนเงิน (ล้านบาท) ณ ๓๑ ธ.ค. ๒๕๖๕ ณ ๒๘ ก.พ. ๒๕๖๖ ณ ๓๐ เม.ย. ๒๕๖๖ ๒๕๖๖ 624.30 542.40 459.40 ๒๕๖๗ 527.35 539.35 565.35 ๒๕๖๘ 375.90 455.90 567.90 ๒๕๖๙ 178.00 178.00 189.00 ๒๕๗๐ 20.00 20.00 20.00 ๒๕๗๑ - - 3.20 รวม 1,725.55 1,735.65 1,804.85 ๕๙ วงเงินกู้ยืมที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ในปี ๒๕๖๕ นายทะเบียนสหกรณ์ให้ความเห็นชอบ ให้ชอ.สธ. มีวงเงินกู้ยืมฯ ประจำปี จำนวน ๑,๔๓๐ ล้านบาท เพิ่มจากปีก่อน ๒๕๐ ล้านบาท การกู้เงินจากบุคคลทั่วไป ชอ.สธ. เคยกู้เงินจากบุคคลทั่วไปโดยการจำหน่ายตั๋วสัญญาใช้เงิน ในปี ๒๕๕๔ และ ๒๕๕๕ ตั้งแต่ในปี ๒๕๕๘ ชอ.สธ. ได้งดจำหน่ายตั๋วสัญญาใช้เงิน เพราะ ชอ.สธ. ได้นำวงเงินกู้ยืม ไปใช้เป็นวงเงินกู้ยืม กับธนาคาร จนหมดแล้ว และจากร่างกฎกระทรวงตามมาตรา ๘๙/๒ (๕) แห่ง พ.ร.บ.สหกรณ์ ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดย พ.ร.บ. สหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ เรื่องการรับฝากเงิน การก่อหนี้ และการสร้างภาระผูกพัน ซึ่งรวมถึงการกู้ยืม เงินหรือการค้ำประกัน จะไม่อนุญาตให้สหกรณ์กู้เงินจากบุคคลทั่วไป วงเงินกู้จากธนาคาร ธนาคาร วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๔ วงเงินกู้ตามสัญญา ๒๕๖๕ วงเงินที่ใช้ได้ ตามหลักประกัน วงเงินที่ใช้ ณ วันสิ้นปี ๒๕๖๕ ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี ออกตั๋วสัญญา ใช้เงิน เบิกเกิน บัญชี กรุงไทย 219 20 219 30 210 + 30 138.4 กรุงศรีอยุธยา 257 - 257 - 193 - ไทยพาณิชย์ 150 - 150 - 150 150.0 กรุงเทพ 100 - 100 - 100 - ไอซีบีซี(ไทย) 100 - 200 - 200 95.0 ทหารไทยธนชาต - - 190 - 190 190.0 รวม 826 20 1,116 30 1,043 + 30 573.4 ตั้งแต่ปี ๒๕๕๖ จนถึงปี ๒๕๖๓ ชอ.สธ. ใช้วงเงินกู้ยืมจากเพียง ๒ ธนาคารพาณิชย์ คือธนาคารกรุงไทย กับ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ซึ่งทำให้ ชอ.สธ. สามารถดำเนินกิจการได้ดี มาตลอด แต่ในปลายเดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา ได้จำกัดการใช้วงเงินกู้ของ ชอ.สธ. (อาจ เนื่องมาจาก covid-19) ในเดือนพฤษภาคม๒๕๖๓ ธนาคารกรุงไทย ได้จำกัดการใช้วงเงินกู้ ของสหกรณ์ออมทรัพย์ต่างๆ (รวมทั้งของ ชอ.สธ.) เป็นผลให้ ชอ.สธ. ได้รับผลกระทบ ขาดเครื่องมือบริหารสภาพคล่องทางการเงิน จึงต้อง จำกัดกิจกรรมต่างๆ เป็นผลให้เสียโอกาสในการดำเนินการไม่น้อย ชอ.สธ. จึงตระหนักว่า การมีวงเงินกู้กับ เพียง ๒ ธนาคาร เป็นจุดอ่อน ที่เป็นความเสี่ยง อาจทำให้ขาด เครื่องมือบริหารสภาพคล่องได้ ในปี๒๕๖๔ ได้มีการทำสัญญา ขอใช้วงเงินกู้กับ ๒ ธนาคารในเดือนกุมภาพันธ์๒๕๖๔ โดยได้วงเงินกู้ กับ ธนาคารไทยพาณิชย์ จำนวน ๑๕๐ ล้านบาท และ กับ ธนาคารกรุงเทพ จำนวน ๑๐๐ ล้านบาท ในเดือนตุลาคม ๒๕๖๔ ได้ทำสัญญาใช้วงเงินกู้กับ ธนาคาร ไอซีบีซี(ไทย) วงเงิน ๑๐๐ ล้านบาท การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 59 IN.indd 59 15/5/2566 20:21:33


60 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๖๐ ในปี๒๕๖๕ ได้ทำสัญญาใช้วงเงินกู้กับ ธนาคารทหารไทยธนชาต วงเงิน ๑๙๐ ล้านบาท และได้ทำ สัญญาใช้วงเงินกู้เพิ่มกับ ธนาคาร ไอซีบีซี(ไทย) อีก ๑๐๐ ล้านบาท รวมเป็นวงเงิน ๒๐๐ ล้านบาทและได้ขอเพิ่ม วงเงินกู้เบิกเกินบัญชี จากธนาคารกรุงไทย จากเดิม ๒๐ ล้านบาท เพิ่มเป็น ๓๐ ล้านบาท ณ วันสิ้นปี๒๕๖๕ ชอ.สธ. มีวงเงินกู้จากธนาคารเพิ่มจากในปี๒๕๖๔ จาก ๑ ธนาคารเดิมกับ ๑ ธนาคารใหม่ เป็นวงเงินเพิ่มขึ้น ๒๙๐ ล้านบาท และได้ขอเพิ่มวงเงินกู้เบิกเกินบัญชี จากธนาคารกรุงไทย จาก ๒๐ ล้านบาท เพิ่มเป็น ๓๐ ล้านบาท การใช้เงินกู้จากบริษัทหลักทรัพย์ นอกจากการใช้เงินกู้จากธนาคารแล้ว ชอ.สธ.ยังได้ใช้แหล่งเงินจากบริษัทหลักทรัพย์ด้วยการขายหุ้นกู้โดย มีสัญญาซื้อคืน ซึ่งในปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ.ได้มีการขายโดยมีสัญญาซื้อคืนจำนวน ๔๒ สัญญา เป็นจำนวนเงิน ๑,๕๑๐.๑๑๘ ล้านบาทและได้ซื้อคืนทั้งหมดภายในปี ตารางที่ ๕.๑ หนี้เงินกู้ของชุมนุมสหกรณ์ในวันสิ้นเดือนต่าง ๆของปี ๒๕๖๕ ณ วันสิ้นเดือน เงินกู้จำแนกตามประเภทเจ้าหนี้ (ล้านบาท) บ.หลักทรัพย์ ธนาคาร ตั๋วสัญญาใช้เงิน รวม เปลี่ยนแปลง ยกมาจากปีก่อน - 457.90 - 457.90 - มกราคม 202.22 366.30 - 568.52 110.62 กุมภาพันธ์ 69.36 522.60 - 591.96 23.44 มีนาคม 50.58 550.80 - 601.38 9.41 เมษายน 121.32 409.60 - 530.92 - 70.45 พฤษภาคม 80.30 617.00 - 697.30 166.38 มิถุนายน 123.98 627.40 - 751.38 54.08 กรกฎาคม 68.94 653.10 - 722.04 - 29.34 สิงหาคม 68.84 633.70 - 702.54 - 19.50 กันยายน 229.61 551.00 - 780.61 78.06 ตุลาคม 83.56 540.00 - 623.56 - 157.05 พฤศจิกายน 217.87 424.00 - 641.87 18.31 ธันวาคม 573.40 - 573.40 - 68.47 ๖๑ ตารางที่ ๕.๒ การใช้เงินกู้เป็นรายเจ้าหนี้ในระหว่างปี ๒๕๖๕ (ล้านบาท) เจ้าหนี้ ยกมา กู้เพิ่ม ขำระคืน คงเหลือ เงินกู้เฉลี่ย ทั้งปี ดอกเบี้ย เฉลี่ย(%) ดอกเบี้ยจ่ายตลอด ปี(บาท) จำนวน รายการ ธนาคารกรุงไทย 100.90 1,834.20 1,796.70 138.40 73.804 1.967 1,451,700.60 82 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 107.00 265.50 372.50 - 15.492 2.100 325,350.40 7 ธนาคารไทยพาณิชย์ 150.00 600.00 600.00 150.00 150.000 1.421 2,130,972.60 12 ธนาคารกรุงเทพ 100.00 315.00 415.00 - 47.164 1.836 865,894.52 5 ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) - 1,049.00 954.00 95.00 161.164 1.759 2,834,589.02 13 ธนาคารทหารไทยธนชาต - 1,260.00 1,070.00 190.00 89.312 1.882 1,681,116.47 17 บมจ.หลักทรัพย์เอเซียพลัส - 1,510.11 1,510.11 - 120.936 1.889 2,285,367.78 42 รวม 457.90 6,833.81 6,718.31 573.40 657.875 1.759 11,574,991.39 178 ตารางที่ ๕.๓ หนี้เงินกู้คงค้างในวันสิ้นปีจำแนกตามประเภทเจ้าหนี้ ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. เจ้าหนี้ (ล้านบาท) เฉลี่ยทั้งปี สหกรณ์ บ.หลักทรัพย์ ธนาคาร ตั๋วสัญญาใช้เงิน รวม ๒๕๕๔ 53.9 - 6.5 1.5 61.9 24.48 ๒๕๕๕ - - 30.5 4.0 34.5 39.51 ๒๕๕๖ - - 163.5 - 163.5 122.03 ๒๕๕๗ - - 165.2 - 165.2 172.44 ๒๕๕๘ - - 190.6 - 190.6 220.43 ๒๕๕๙ - - 151.8 - 151.8 194.32 ๒๕๖๐ - - 199.5 - 199.5 168.42 ๒๕๖๑ - - 283.4 - 283.4 291.89 ๒๕๖๒ - - 126.7 - 126.7 285.42 ๒๕๖๓ - - 31.9 - 31.9 129,84 ๒๕๖๔ - - 457.9 - 457.9 310.14 ๒๕๖๕ - - 573.4 - 573.4 657.88 ๖. การลงทุนของชุมนุมสหกรณ์ ชุมนุมสหกรณ์สามารถนำเงินไปหาผลตอบแทนได้ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ใน ๒ มาตราได้แก่ การให้เงินกู้แก่(สหกรณ์)สมาชิก และให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมเงินตามมาตรา ๔๖ (๖) และ (๘) ดังนี้ “มาตรา ๔๖ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ให้สหกรณ์มีอำนาจกระทำการ ดังต่อไปนี้ได้ ฯลฯ (๖) ให้กู้ให้สินเชื่อ ให้ยืม ให้เช่า ให้เช่าซื้อ โอน รับจำนองหรือรับจำนำ ซึ่งทรัพย์สินแก่สมาชิกหรือของสมาชิก ฯลฯ (๘) ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมเงินได้ตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ฯลฯ” 60 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 60 15/5/2566 20:21:33


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 61 ๖๑ ตารางที่ ๕.๒ การใช้เงินกู้เป็นรายเจ้าหนี้ในระหว่างปี ๒๕๖๕ (ล้านบาท) เจ้าหนี้ ยกมา กู้เพิ่ม ขำระคืน คงเหลือ เงินกู้เฉลี่ย ทั้งปี ดอกเบี้ย เฉลี่ย(%) ดอกเบี้ยจ่ายตลอด ปี(บาท) จำนวน รายการ ธนาคารกรุงไทย 100.90 1,834.20 1,796.70 138.40 73.804 1.967 1,451,700.60 82 ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 107.00 265.50 372.50 - 15.492 2.100 325,350.40 7 ธนาคารไทยพาณิชย์ 150.00 600.00 600.00 150.00 150.000 1.421 2,130,972.60 12 ธนาคารกรุงเทพ 100.00 315.00 415.00 - 47.164 1.836 865,894.52 5 ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) - 1,049.00 954.00 95.00 161.164 1.759 2,834,589.02 13 ธนาคารทหารไทยธนชาต - 1,260.00 1,070.00 190.00 89.312 1.882 1,681,116.47 17 บมจ.หลักทรัพย์เอเซียพลัส - 1,510.11 1,510.11 - 120.936 1.889 2,285,367.78 42 รวม 457.90 6,833.81 6,718.31 573.40 657.875 1.759 11,574,991.39 178 ตารางที่ ๕.๓ หนี้เงินกู้คงค้างในวันสิ้นปีจำแนกตามประเภทเจ้าหนี้ ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. เจ้าหนี้ (ล้านบาท) เฉลี่ยทั้งปี สหกรณ์ บ.หลักทรัพย์ ธนาคาร ตั๋วสัญญาใช้เงิน รวม ๒๕๕๔ 53.9 - 6.5 1.5 61.9 24.48 ๒๕๕๕ - - 30.5 4.0 34.5 39.51 ๒๕๕๖ - - 163.5 - 163.5 122.03 ๒๕๕๗ - - 165.2 - 165.2 172.44 ๒๕๕๘ - - 190.6 - 190.6 220.43 ๒๕๕๙ - - 151.8 - 151.8 194.32 ๒๕๖๐ - - 199.5 - 199.5 168.42 ๒๕๖๑ - - 283.4 - 283.4 291.89 ๒๕๖๒ - - 126.7 - 126.7 285.42 ๒๕๖๓ - - 31.9 - 31.9 129,84 ๒๕๖๔ - - 457.9 - 457.9 310.14 ๒๕๖๕ - - 573.4 - 573.4 657.88 ๖. การลงทุนของชุมนุมสหกรณ์ ชุมนุมสหกรณ์สามารถนำเงินไปหาผลตอบแทนได้ตาม พ.ร.บ. สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ ใน ๒ มาตราได้แก่ การให้เงินกู้แก่(สหกรณ์)สมาชิก และให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมเงินตามมาตรา ๔๖ (๖) และ (๘) ดังนี้ “มาตรา ๔๖ เพื่อปฏิบัติให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ให้สหกรณ์มีอำนาจกระทำการ ดังต่อไปนี้ได้ ฯลฯ (๖) ให้กู้ให้สินเชื่อ ให้ยืม ให้เช่า ให้เช่าซื้อ โอน รับจำนองหรือรับจำนำ ซึ่งทรัพย์สินแก่สมาชิกหรือของสมาชิก ฯลฯ (๘) ให้สหกรณ์อื่นกู้ยืมเงินได้ตามระเบียบของสหกรณ์ที่ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ ฯลฯ” การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 61 IN.indd 61 15/5/2566 20:21:34


62 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๖๒ และชุมนุมสหกรณ์สามารถลงทุนได้ตามมาตรา ๖๒ ดังนี้ “มาตรา ๖๒ เงินของสหกรณ์นั้น สหกรณ์อาจฝากหรือลงทุนได้ ดังต่อไปนี้ (๑) ฝากในชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น (๒) ฝากในธนาคาร หรือฝากในสถาบันการเงินที่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ (๓) ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ (๔) ซื้อหุ้นของธนาคารที่วัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ (๕) ซื้อหุ้นของชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์อื่น (๖) ซื้อหุ้นของสถาบันที่ประกอบธุรกิจอันทำให้เกิดความสะดวกหรือส่งเสริมความเจริญแก่กิจการของสหกรณ์โดย ได้รับความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์ (๗) ฝากหรือลงทุนอย่างอื่นตามที่คณะกรรมการพัฒนาการสหกรณ์แห่งชาติกำหนด” ฯลฯ เมื่อคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑ ได้รับเลือกตั้งแล้วได้กำหนดแนวทางการลงทุน ๓ วิธีได้แก่ ๑. การให้กู้แก่สหกรณ์สมาชิก หรือสหกรณ์อื่น ตามมาตรา ๔๖ (๖)และ (๘) ๒. การฝากเงินในสหกรณ์อื่น ตามมาตรา ๖๒ (๑) ๓. การลงทุนในตราสารหนี้ ตามมาตรา ๖๒ (๓) และมาตรา ๖๒ (๗) ซึ่งควรจะให้ความสำคัญ ใน ข้อ ๑. และ ข้อ ๒ มากกว่า การให้เงินกู้แก่สหกรณ์ ชอ.สธ. มีเงินให้กู้แก่สหกรณ์ คงค้างยกมาจากปี ๒๕๖๔ จำนวน ๔๓๖.๒๔ ล้านบาท ในปี ๒๕๖๕ ไม่มีการให้เงินกู้เพิ่มแก่สหกรณ์อื่น ได้รับชำระคืน ระหว่างปี จำนวน ๑๑๐.๑๖ ล้าน บาท จึงมีเงินให้กู้คงค้างในวันสิ้นปีจำนวนรวม ๓๒๖.๐๘ ล้านบาท การฝากเงินในสหกรณ์อื่น ชอ.สธ. มีเงินฝากในสหกรณ์อื่นยกมาจากปี๒๕๖๔ จำนวน ๑๓๖.๑ ล้าน บาทและในปี ๒๕๖๕ ได้ฝากเงินเพิ่มขึ้น ๕๕.๐๑ ล้านบาท และครบกำหนดถอนออก ๘๕.๐ ล้านบาท ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๕ จึงมีเงินฝากสหกรณ์อื่นคงเหลือ ๑๐๖.๑ ล้านบาท การลงทุนในพันธบัตรระยะยาว ชอ.สธ. มีเงินลงทุนในพันธบัตรออมทรัพย์ของกระทรวงการคลัง ยก มาจากปี ๒๕๖๔ จำนวน ๔ ล้านบาท มีวัตถุประสงค์ เพื่อการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่อง ตามกฎกระทรวง “ว่า ด้วยการดำรงสินทรัพย์สภาพคล่องของสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๕๐” ในระหว่างปี ๒๕๖๕ ไม่มีพันธบัตรถูกไถ่ถอน และไม่มีการซื้อเพิ่ม คงเหลือพันธบัตรในวันสิ้นปี๔ ล้าน บาท การลงทุนในหุ้นสามัญ ในปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ. ได้ลงทุนในหุ้นสามัญ ของ บมจ.ปตท. ซึ่งเป็นการลงทุน ตาม พ.ร.บ.สหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๖๒(๓) ซื้อหลักทรัพย์ของรัฐบาลหรือรัฐวิสาหกิจ ในปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ.มีเงินลงลงทุนในหุ้นสามัญของ บมจ.ปตท. ยกมาจากปี ๒๕๖๔ จำนวน ๖,๘๐๐,๐๐๐ หุ้น เป็นราคาทุน ๒๕๗,๑๙๗,๔๘๐.๐๐ บาท ในระหว่างปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ. ได้ขายหุ้น ปตท. จำนวน ๑,๘๖๔,๔๐๐ หุ้น ได้กำไรจากการขายหุ้น เป็นจำนวนเงิน ๓,๖๗๑,๗๙๔.๗๙ บาท ได้ซื้อ หุ้นปตท. เพิ่ม รวม ๘,๐๖๔,๔๐๐ หุ้น คงเหลือ ณ วันสิ้นปีจำนวน ๑๓,๐๐๐,๐๐๐ หุ้น เป็นราคาทุน ๔๗๑,๑๓๘.๒๕๒.๖๓ บาท และได้รับเงินปันผลระหว่างปี ๑๘,๙๔๐,๐๐๐.๐๐ บาท


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 63 ๖๓ การลงทุนในหุ้นกู้ ชอ.สธ. มีเงินลงทุนในหุ้นกู้ยกมาจากปี๒๕๖๔ จำนวน ๒,๑๗๒ ล้านบาทในระหว่าง ปี ๒๕๖๕ ชอ.สธ. ได้ลงทุนในหุ้นกู้เพิ่ม จำนวน ๖๗๕ ล้านบาท มีหุ้นกู้ถูกไถ่ถอนตามกำหนด จำนวน ๔๕ ล้าน บาท และถูกไถ่ถอนก่อนกำหนด ๕๐ ล้านบาท คงเหลือในวันสิ้นปี ๒,๗๕๒ ล้านบาทเพิ่มขึ้นจากปีก่อน ๕๘๐ ล้านบาท แต่ในการบันทึกบัญชี ต้องด้อยค่าหุ้นกู้การบินไทย เป็นจำนวนเงิน ๗,๗ ล้านบาท จึงคงบันทึกใน บัญชี เป็นมูลค่าหุ้นกู้รวม ๒,๗๔๔.๓๐ ล้านบาท การฟื้นฟูกิจการของบริษัทการบินไทย จำกัด (มหาชน) ตามที่ศาลล้มละลายกลาง ได้เห็นชอบด้วย แผนฟื้นฟูกิจการ ของ บมจ.การบินไทย เมื่อวันอังคารที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๔ ต่อมาเมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๕ ผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ ได้ยื่นขอแก้ไขแผนฟื้นฟูกิจการ และที่ประชุมเจ้าหนี้ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน ๒๕๖๕ ได้มีมติโดยเสียงข้างมาก อนุมัติ การแก้ไขแผนฟื้นฟูกิจการ และศาลล้มละลายกลาง ได้มีคำสั่งเห็นชอบ ด้วยการแก้ไขแผนฟื้นฟูกิจการ ของ บมจ.การบินไทย เมื่อวันที่ ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๕ จากการแก้ไขแผน มีผลให้ มีการเปลี่ยนวิธิการชำระหนี้แก่เจ้าหนี้ผู้ถือหุ้นกู้ จากเดิม จะได้รับชำระหนี้ ด้วยเงินสด เปลียนเป็น ได้รับชำระหนี้เงินต้น ตามแผน ในอัตราส่วนร้อยละ ๒๔.๕ เป็นหุ้นสามัญเพิ่มทุน ที่ ราคา ๒.๕๔๕๒ บาทต่อหุ้น โดยจะได้รับชำระภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ ส่วนหนี้เงินต้นที่เหลือจะได้รับชำระด้วย เงินสดตามแผนเดิม ส่วนการดำเนินงานของ บมจ.การบินไทย ตามแผนฟื้นฟูกิจการ มีรายงานว่าได้ผลดีกว่าที่กำหนดใน แผน สืบเนื่องจากการฟื้นตัวของการท่องเที่ยว และการเดินทาง ทางอากาศ การลงทุนเพื่อสร้างสำนักงานใหม่ ในการประชุมใหญ่วิสามัญครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๖๕ เมื่อวันเสาร์ที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๕ ได้มีมติให้ชุมนุมสหกรณ์ซื้อที่ดินตั้งอยู่ที่ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี ขนาดพื้นที่ 2-2-53.5 ไร่ ซึ่งจะซื้อจาก ธนาคารกรุงเทพ เพื่อใช้เป็น ที่สร้างสำนักงานใหม่ ของชุมนุม สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ทางชอ.สธ. ได้ส่งใบขอซื้อและต่อรองราคากับธนาคารกรุงเทพ เมื่อ วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๕ และได้มีการต่อรองอีกหลายครั้ง ในปี ๒๕๖๖ ซึ่งจะรายงานในผลการดำเนินงานของ ปี ๒๕๖๖ ตารางที่ ๖.๒ การเปลี่ยนแปลงการลงทุนในวันสิ้นปี ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. การลงทุน (ราคาทุน) ฝากสหกรณ์ ให้กู้แก่สหกรณ์ ตั๋วแลกเงิน หุ้นกู้ พันธบัตร หุ้นสามัญ รวม ๒๕๕๕ 20.0 - 100.0 240.0 2.0 - 362.00 ๒๕๕๖ 20.0 - 100.0 460.0 6.0 - 586.00 ๒๕๕๗ 80.0 20.00 - 495.0 14.0 - 609.00 ๒๕๕๘ 210.0 - - 572.0 12.0 - 794.00 ๒๕๕๙ 270.0 - - 837.0 8.0 - 1,115.00 ๒๕๖๐ 360.0 - - 887.0 8.0 - 1,255.00 ๒๕๖๑ 310.0 90.00 - 977.0 8.0 - 1,385.00 ๒๕๖๒ 310.0 307.24 - 997.0 8.0 - 1,622.24 ๒๕๖๓ 146.1 281.10 - 1,527.0 4.0 - 1,958.20 ๒๕๖๔ 136.1 436.24 - 2.172.0 4.0 257.20 3,005.54 ๒๕๖๕ 106.1 326.08 2,752.0 4.0 471.19 3,659.33


64 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๖๔ ๗. รายได้ และค่าใช้จ่าย ในปี ๒๕๖๔ ชอ.สธ. มีรายได้, รายจ่ายและ ผลการดำเนินงานดีกว่าแผนงานที่เสนอ ต่อที่ ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ๒๕๖๔ อย่างมาก ซึ่งจะนำเสนอรายละเอียดต่อที่ประชุมใหญ่ในวาระ พิจารณาอนุมัติงบการเงินประจำปี ตารางที่ ๗.๑ แสดงรายได้ รายจ่าย และ กำไรสุทธิ เป็นรายปี ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค. รายได้ดอกเบี้ยและ ผลตอบแทนจากการลงทุน ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย และการลงทุน ค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินงาน กำไรสุทธิประจำปี บาท %ของรายได้ ๒๕๕๓ 752,053.03 463,302.11 46,120.28 242,630.64 32.44 ๒๕๕๔ 7,133,968.63 4,778,133.76 305,052.90 2,050,781.97 28.76 ๒๕๕๕ 15,462,185.56 11,722,777.98 608,651.53 3,130,756.05 20.25 ๒๕๕๖ 25,438,021.18 18,737,489.78 934,001.83 5,766,529.57 22.66 ๒๕๕๗ 29,906,758.56 20,145,174.62 1,107,491.78 8,654,092.16 29.41 ๒๕๕๘ 35,986,825.01 23,134,310.88 1,421,149.62 11,431,364.51 31.76 ๒๕๕๙ 42,805,896.86 23,717,710.37 1,513,644.73 17,574,841.76 41.05 ๒๕๖๐ 53,805,401.32 27,680,257.35 1,406,189.00 24,719,254.97 45.93 ๒๕๖๑ 59,104,306.28 29,359,099.53 1,993,624.01 27,754,582.74 46.96 ๒๕๖๒ 64,326,137.09 30,753,588.69 2,209,358.34 31,364,990.06 48.76 ๒๕๖๓ 75,033,653.41 35,691,664.39 2,244,451.33 37,100,237.69 49.42 ๒๕๖๔ 102,959,769.41 48,655,026.44 2,997,911.08 51,323,549.35 49.85 ๒๕๖๕ 140,958,894.39 84,462,275.94 2,963,529.27 81,503,765.92 57.82 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของกำไรสุทธิประจำปี ๖๕ ตารางที่ ๗.๒ อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิประจำปี ๘. สมาชิกสัมพันธ์ และสหกรณ์สัมพันธ์ ชอ.สธ. ได้พยายามใช้สื่อต่างๆ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของ ชอ.สธ. แก่สหกรณ์สมาชิก และสหกรณ์ อื่น รวมทั้งต่อสาธารณะ โดย จัดการ website www.tccloph.com ให้มีข้อมูลที่ควรเผยแพร่ และเป็นปัจจุบัน สื่อสารผ่าน Facebook สร้าง LINE กลุ่มสมาชิก การสื่อสารทางจดหมาย ส่งทางไปรษณีย์ การสื่อสารทางไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics mail) การจัดทำจุลสาร ๙. ผลประโยชน์และค่าตอบแทน ของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการและที่ปรึกษา จากกฎกระทรวง การดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ หมวด ๔ การกำกับดูแลด้านธรรมาภิบาลของสหกรณ์ ข้อ ๑๔ ในการประชุมใหญ่ นอกจากเรื่องแจ้งให้ที่ประชุมใหญ่ทราบเป็นปกติแล้ว สหกรณ์ต้องแจ้งให้ที่ ประชุมใหญ่ทราบในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) ผลประโยชน์และค่าตอบแทน ที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ และที่ปรึกษาของ สหกรณ์ ได้รับจากสหกรณ์นั้น ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยให้สหกรณ์แสดงรายละเอียดดังกล่าวเป็นรายบุคคล ใน รายงานประจำปี ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค.กำไรสุทธิประจำปี เปลี่ยนแปลง บาท ร้อยละ ๒๕๕๓ 242,630.64 - - ๒๕๕๔ 2,050,781.97 1,808,151.33 745.23 ๒๕๕๕ 3,130,756.05 1,079,974.08 52.66 ๒๕๕๖ 5,766,529.57 2,635,773.52 84.19 ๒๕๕๗ 8,654,092.16 2,887,562.59 50.07 ๒๕๕๘ 11,431,364.51 2,777,272.35 32.09 ๒๕๕๙ 17,574,841.76 6,143,477.25 53.74 ๒๕๖๐ 24,719,254.97 7,144,413.21 40.65 ๒๕๖๑ 27,754,582.74 3,035,327.77 12.28 ๒๕๖๒ 31,364,990.06 3,610,407.32 13.01 ๒๕๖๓ 37,100,237.69 5,734,292.60 18.28 ๒๕๖๔ 51,323,549.35 14,223,311.66 38.34 ๒๕๖๕ 81,503,765.92 30,180,216.57 58.80 64 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 64 15/5/2566 20:21:35


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 65 ๖๕ ตารางที่ ๗.๒ อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิประจำปี ๘. สมาชิกสัมพันธ์ และสหกรณ์สัมพันธ์ ชอ.สธ. ได้พยายามใช้สื่อต่างๆ เพื่อเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารของ ชอ.สธ. แก่สหกรณ์สมาชิก และสหกรณ์ อื่น รวมทั้งต่อสาธารณะ โดย จัดการ website www.tccloph.com ให้มีข้อมูลที่ควรเผยแพร่ และเป็นปัจจุบัน สื่อสารผ่าน Facebook สร้าง LINE กลุ่มสมาชิก การสื่อสารทางจดหมาย ส่งทางไปรษณีย์ การสื่อสารทางไปรษณีย์ อิเล็กทรอนิกส์ (Electronics mail) การจัดทำจุลสาร ๙. ผลประโยชน์และค่าตอบแทน ของกรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการและที่ปรึกษา จากกฎกระทรวง การดำเนินงาน และการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ หมวด ๔ การกำกับดูแลด้านธรรมาภิบาลของสหกรณ์ ข้อ ๑๔ ในการประชุมใหญ่ นอกจากเรื่องแจ้งให้ที่ประชุมใหญ่ทราบเป็นปกติแล้ว สหกรณ์ต้องแจ้งให้ที่ ประชุมใหญ่ทราบในเรื่องดังต่อไปนี้ (๑) ผลประโยชน์และค่าตอบแทน ที่กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ และที่ปรึกษาของ สหกรณ์ ได้รับจากสหกรณ์นั้น ในรอบปีบัญชีที่ผ่านมา โดยให้สหกรณ์แสดงรายละเอียดดังกล่าวเป็นรายบุคคล ใน รายงานประจำปี ปีบัญชี ๓๑ ธ.ค.กำไรสุทธิประจำปี เปลี่ยนแปลง บาท ร้อยละ ๒๕๕๓ 242,630.64 - - ๒๕๕๔ 2,050,781.97 1,808,151.33 745.23 ๒๕๕๕ 3,130,756.05 1,079,974.08 52.66 ๒๕๕๖ 5,766,529.57 2,635,773.52 84.19 ๒๕๕๗ 8,654,092.16 2,887,562.59 50.07 ๒๕๕๘ 11,431,364.51 2,777,272.35 32.09 ๒๕๕๙ 17,574,841.76 6,143,477.25 53.74 ๒๕๖๐ 24,719,254.97 7,144,413.21 40.65 ๒๕๖๑ 27,754,582.74 3,035,327.77 12.28 ๒๕๖๒ 31,364,990.06 3,610,407.32 13.01 ๒๕๖๓ 37,100,237.69 5,734,292.60 18.28 ๒๕๖๔ 51,323,549.35 14,223,311.66 38.34 ๒๕๖๕ 81,503,765.92 30,180,216.57 58.80 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 65 IN.indd 65 15/5/2566 20:21:35


66 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๖๖ ชอ.สธ. ขอแสดงผลประโยชน์และค่าตอบแทน ของกรรมการ และรักษาการผู้จัดการ ในปี ๒๕๖๕ ดังตาราง ชื่อ โบนัส เบี้ยเลี้ยง พาหนะ ตอบแทน รวม นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ 90,000.00 5,600.00 4,500.00 100,100.00 นายสุชาติ ตันตินิรามัย 85,000.00 6,400.00 12,000.00 103,400.00 นายสุชาติ แก่นจันทร์ 85,000.00 7,200.00 4,500.00 96,700.00 นางสุวรรณา เธียรอังกูร 85,000.00 8,000.00 5,000.00 98,000.00 นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ 85,000.00 7,200.00 4,500.00 96,700.00 นายชำนาญ ลิ้มภักดี 80,000.00 5,600.00 7,000.00 92,600.00 นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ 80,000.00 5,600.00 36,120.00 121,720.00 นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี 80,000.00 5,600.00 3,500.00 89,100.00 นายอัครพงศ์ พิสิฐพงศ์ธร 80,000.00 5,600.00 3,500.00 89,100.00 นายแพทย์สุรชัย ติษยาธิคม 80,000.00 8,000.00 125,000.00 360,000.00 573,000.00 รวม 830,000.00 64,800.00 205,620.00 360,000.00 1,460,420.00 ๑๐. การเปรียบเทียบกับชุมุนมสหกรณ์ออมทรัพย์อื่น ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ในประเทศไทย ตามนิยามของนายทะเบียนสหกรณ์ ปัจจุบันมีอยู่ ๙ ชุมนุม สหกรณ์ โดยจดทะเบียนก่อน พ.ศ. ๒๕๕๓ จำนวน ๓ ชุมนุมสหกรณ์ จดทะเบียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ จำนวน ๓ ชุมนุมสหกรณ์ จดทะเบียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๕ จำนวน ๒ ชุมนุมสหกรณ์ และจดทะเบียนในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ จำนวน ๑ ชุมนุมสหกรณ์ โดยชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด (ชอ.สธ.) ได้รับการจดทะเบียน เป็นอันดับที่ ๔ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน ตามรายละเอียดในตารางที่ ๑๐.๑ ก่อนหน้านี้ เคย มีชุมนุมสหกรณ์บางแห่ง ที่ได้จัดตั้งขึ้นและเลิกไปแล้ว ๑๐.๑ การวิเคราะห์จำแนกชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ตามองค์ประกอบต่างๆ ได้ดังนี้ ๑๐.๑.๑ การวิเคราะห์โดยชื่อ มีชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ที่ในชื่อไม่มีคำว่าออมทรัพย์อยู่ในชื่อ จำนวน ๔ ชุมนุมสหกรณ์ฯ ได้แก่ อันดับที่ ๒, ๖, ๘ และ ๙ ในตารางที่ ๑๐.๑ ๑๐.๑.๒ การวิเคราะห์โดยองค์ประกอบของสมาชิก มีอย่างน้อย ๑ ชุมนุมสหกรณ์ฯที่มีสมาชิก เป็น สหกรณ์ประเภทอื่น เช่น ประเภทสหกรณ์ร้านค้า นอกเหนือจากประเภทสหกรณ์ออมทรัพย์ นั่นคือ ชุมนุมสหกรณ์ ทหาร จำกัด ๖๗ ตารางที่ ๑๐.๑ รายชื่อชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์เรียงตามลำดับการจดทะเบียนสหกรณ์ ที่ ชุมนุมสหกรณ์............ จำกัด เลขทะเบียน วันที่จดทะเบียน จังหวัดที่ตั้ง สำนักงาน 1 ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย 22/11810 1-ก.ย.-2515 นนทบุรี(กรุงเทพฯ) 2 ทหาร กสก.35/2524 5-พ.ย.-2524 กรุงเทพฯ 3 ออมทรัพย์ตำรวจแห่งชาติ อ.025934 23-ธ.ค.-2534 กรุงเทพฯ 4 ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย 1200000125531 29-ม.ค.-2553 นนทบุรี 5 ออมทรัพย์ครูไทย 4200000125534 14-ก.พ.-2553 นนทบุรี(เลย) 6 ธนกิจไทย 1010000825537 3-ธ.ค.-2553 นนทบุรี(กรุงเทพฯ) 7 ออมทรัพย์ไทย ไอซีที 1020000925544 11-ม.ค.-2555 กรุงเทพฯ 8 อิสลามแห่งประเทศไทย 9000000225552 12–มิ.ย.-2555 สงขลา 9 กรุงเทพ 1010000425593 31-ส.ค.-2559 กรุงเทพฯ (ชื่อจังหวัดในวงเล็บ คือจังหวัดในขณะขอจดทะเบียนตั้งชุมนุมสหกรณ์ แต่ปัจจุบันได้ย้ายจังหวัดแล้ว) ๑๐.๑.๓ การวิเคราะห์โดยวัตถุประสงค์ มีอย่างน้อย ๒ ชุมนุมสหกรณ์ฯ ที่มีวัตถุประสงค์หลักมิใช่เพื่อการ บริหารเงิน คือ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูไทย จำกัด มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้สมาชิกบุคคล ของสหกรณ์สมาชิก ได้เป็นสมาชิกของสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ และชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ไทย ไอซีที จำกัด มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้บริการ ระบบและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ แก่สหกรณ์ออมทรัพย์ ๑๐.๒ การจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ ชอ.สธ. เป็นอันดับที่ ๖ ตามขนาดสินทรัพย์ในปี ๒๕๖๔ โดยมีชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจแห่งชาติ จำกัด เป็นอันดับที่ ๒ และชุมนุมสหกรณ์กรุงเทพ จำกัด เป็นอันดับที่ ๓ ดังในตารางที่ ๑๐.๒ ตารางที่ ๑๐.๒ การจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ หน่วย บาท ชุมนุมสหกรณ์..... จ ากัด ที่ ปีบัญชีสนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวน สมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์ สมาชกิ ออมทรัพย์แห่ง ประเทศไทย 1 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 138,102,888,397.69 103,708,799,315.85 34,394,089,081.84 1,098 125,776,765.39 ออมทรัพย์ต ารวจ แห่งชาติ 2 ๓๐ ก.ย. ๖๕ 10,530,905,912.04 8,425,864,445.95 2,105,041,466.09 393 26,796,198.25 กรุงเทพ 3 ๓๐ ก.ย. ๖๕ 9,902,947,949.87 8,630,838,459.61 1,272,109,490.26 61 162,343,409.01 ออมทรัพย์ครูไทย 4 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 8,497,085,046.71 8,406,625,752.45 90,459,294.26 114 74,535,833.74 ธนกิจไทย 5 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 6,919,956,759.86 6,665,116,215.32 254,840,544.54 36 192,221,021.11 อมทรัพย์ สาธารณสุขไทย 6 ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 3,650,367,550.27 2,306,038,032.24 1,344,329,518.03 100 36,503,675.50 ทหาร 7 ๓๐ ก.ย. ๖๕ 3,470,521,952.53 2,432,345,794.46 1,038,176,158.07 135 25,707,570.02 ออมทรัพย์ไทย ไอซที ี 8 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 125,577,416.20 138,880,925.48 (13,303,509.28) 68 1,846,726.71 อิสลามแห่งประเทศ ไทย 9 ๓๑ ธ.ค. ๖๔ 94,985,667.85 57,874,577.99 37,111,089.86 18 5,276,981.55 66 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 66 15/5/2566 20:21:35


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 67 ๖๗ ตารางที่ ๑๐.๑ รายชื่อชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์เรียงตามลำดับการจดทะเบียนสหกรณ์ ที่ ชุมนุมสหกรณ์............ จำกัด เลขทะเบียน วันที่จดทะเบียน จังหวัดที่ตั้ง สำนักงาน 1 ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย 22/11810 1-ก.ย.-2515 นนทบุรี(กรุงเทพฯ) 2 ทหาร กสก.35/2524 5-พ.ย.-2524 กรุงเทพฯ 3 ออมทรัพย์ตำรวจแห่งชาติ อ.025934 23-ธ.ค.-2534 กรุงเทพฯ 4 ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย 1200000125531 29-ม.ค.-2553 นนทบุรี 5 ออมทรัพย์ครูไทย 4200000125534 14-ก.พ.-2553 นนทบุรี(เลย) 6 ธนกิจไทย 1010000825537 3-ธ.ค.-2553 นนทบุรี(กรุงเทพฯ) 7 ออมทรัพย์ไทย ไอซีที 1020000925544 11-ม.ค.-2555 กรุงเทพฯ 8 อิสลามแห่งประเทศไทย 9000000225552 12–มิ.ย.-2555 สงขลา 9 กรุงเทพ 1010000425593 31-ส.ค.-2559 กรุงเทพฯ (ชื่อจังหวัดในวงเล็บ คือจังหวัดในขณะขอจดทะเบียนตั้งชุมนุมสหกรณ์ แต่ปัจจุบันได้ย้ายจังหวัดแล้ว) ๑๐.๑.๓ การวิเคราะห์โดยวัตถุประสงค์ มีอย่างน้อย ๒ ชุมนุมสหกรณ์ฯ ที่มีวัตถุประสงค์หลักมิใช่เพื่อการ บริหารเงิน คือ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูไทย จำกัด มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้สมาชิกบุคคล ของสหกรณ์สมาชิก ได้เป็นสมาชิกของสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์ และชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ไทย ไอซีที จำกัด มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อให้บริการ ระบบและเครือข่าย คอมพิวเตอร์ แก่สหกรณ์ออมทรัพย์ ๑๐.๒ การจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ ชอ.สธ. เป็นอันดับที่ ๖ ตามขนาดสินทรัพย์ในปี ๒๕๖๔ โดยมีชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจแห่งชาติ จำกัด เป็นอันดับที่ ๒ และชุมนุมสหกรณ์กรุงเทพ จำกัด เป็นอันดับที่ ๓ ดังในตารางที่ ๑๐.๒ ตารางที่ ๑๐.๒ การจัดอันดับตามขนาดสินทรัพย์ หน่วย บาท ชุมนุมสหกรณ์..... จ ากัด ที่ ปีบัญชีสนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวน สมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์ สมาชกิ ออมทรัพย์แห่ง ประเทศไทย 1 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 138,102,888,397.69 103,708,799,315.85 34,394,089,081.84 1,098 125,776,765.39 ออมทรัพย์ต ารวจ แห่งชาติ 2 ๓๐ ก.ย. ๖๕ 10,530,905,912.04 8,425,864,445.95 2,105,041,466.09 393 26,796,198.25 กรุงเทพ 3 ๓๐ ก.ย. ๖๕ 9,902,947,949.87 8,630,838,459.61 1,272,109,490.26 61 162,343,409.01 ออมทรัพย์ครูไทย 4 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 8,497,085,046.71 8,406,625,752.45 90,459,294.26 114 74,535,833.74 ธนกิจไทย 5 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 6,919,956,759.86 6,665,116,215.32 254,840,544.54 36 192,221,021.11 อมทรัพย์ สาธารณสุขไทย 6 ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 3,650,367,550.27 2,306,038,032.24 1,344,329,518.03 100 36,503,675.50 ทหาร 7 ๓๐ ก.ย. ๖๕ 3,470,521,952.53 2,432,345,794.46 1,038,176,158.07 135 25,707,570.02 ออมทรัพย์ไทย ไอซที ี 8 ๓๑ มี.ค. ๖๕ 125,577,416.20 138,880,925.48 (13,303,509.28) 68 1,846,726.71 อิสลามแห่งประเทศ ไทย 9 ๓๑ ธ.ค. ๖๔ 94,985,667.85 57,874,577.99 37,111,089.86 18 5,276,981.55 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 67 IN.indd 67 15/5/2566 20:21:36


68 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๖๘ ๑๐.๓ การเติบโตของฐานะการเงิน ของแต่ละชุมนุมสหกรณ์ ชอ.สธ. ได้นำข้อมูลจาก website ของกรมตรวจบัญขีสหกรณ์ แสดงฐานะการเงิน ในจำนวนทั้งสิ้น ๙ ชุมนุม สหกรณ์ออมทรัพย์ จนถึงวันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ยังขาดฐานะการเงินปี ๒๕๖๕ ของ ๑ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ ตารางที่ ๑๐.๓.๑ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย จำกัด ปีบัญชี 31 มี.ค. สนทรัพย์ ิหนี้สนิทุน จ านวน สมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทนุ /สมาชกิ 2552 30,754,084,757.42 24,875,567,245.90 5,878,517,511.52 882 34,868,576.82 6,664,985.84 2553 42,622,132,133.96 34,913,823,231.36 7,708,308,902.60 898 47,463,398.81 8,583,862.92 2554 53,334,953,760.13 42,394,514,941.19 10,940,438,818.94 912 58,481,308.95 11,996,095.20 2555 53,059,504,795.86 41,749,246,021.44 11,310,258,774.42 953 55,676,290.45 11,868,057.48 2556 60,677,828,248.08 48,426,047,981.35 12,251,780,266.73 1,004 60,436,083.91 12,202,968.39 2557 61,610,837,573.05 48,805,614,267.93 12,805,223,305.12 1,024 60,166,833.57 12,505,100.88 2558 69,557,213,349.36 54,663,920,465.38 14,893,292,883.98 1,046 66,498,291.92 14,238,329.72 2559 97,992,800,114.13 79,015,798,948.98 18,977,001,165.15 1,071 91,496,545.39 17,718,955.34 2560 110,018,331,994.21 85,378,321,995.58 24,640,009,998.63 1,079 101,963,236.32 22,835,968.49 2561 122,031,719,638.80 92,344,116,607.23 29,687,603,031.57 1,093 111,648,416.87 27,161,576.42 2562 133,289,145,404.31 100,190,177,529.77 33,098,967,874.54 1,093 121,947,982.99 30,282,678.75 2563 153,781,058,749.57 123,553,075,422.98 30,227,983,326.59 1,099 139,928,169.93 27,504,989.38 2564 141,218,007,947.11 105,882,302,383.34 35,335,705,563.77 1,099 128,496,822.52 32,152,598.33 2565 138,102,888,397.69 103,708,799,315.85 34,394,089,081.84 1,098 125,776,765.39 31,324,307.00 ตารางที่ ๑๐.๓.๒ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจแห่งชาติจำกัด ปีบัญชี 30 ก.ย. สนิทรัพย์ หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย์/ สมาชกิ ทุน/สมาชกิ 2552 481,910,743.01 448,054,863.99 33,855,879.02 150 3,212,738.29 225,705.86 2553 1,039,408,305.42 977,704,431.11 61,703,874.31 205 5,070,284.42 300,994.51 2554 1,092,009,085.57 995,572,343.04 96,436,742.53 257 4,249,062.59 375,240.24 2555 1,558,768,200.51 1,418,881,918.43 139,886,282.08 159 9,803,573.59 879,787.94 2556 2,527,657,621.22 2,253,533,890.53 274,123,730.69 327 7,729,839.82 838,298.87 2557 3,050,854,217.95 2,655,864,262.74 394,989,955.21 336 9,079,923.27 1,175,565.34 2558 4,266,240,715.27 3,752,352,692.09 513,888,023.18 338 12,622,013.95 1,520,378.77 2559 10,296,484,463.15 9,597,677,750.12 698,806,713.03 377 27,311,629.88 1,853,598.71 2560 11,575,345,648.10 10,472,153,101.06 1,103,192,547.04 426 27,172,172.88 2,589,653.87 2561 11,675,040,491.94 10,443,817,693.29 1,231,222,798.65 424 27,535,472.86 2,903,827.36 2562 12,369,058,091.38 10,670,876,602.80 1,698,181,488.58 416 29,733,312.72 4,082,167.04 2563 12,455,508,849.90 10,564,895,186.39 1,890,613,663.51 415 30,013,274.34 4,555,695.57 2564 10,696,634,705.51 8,623,782,360.66 2,072,852,344.85 403 26,542,517.88 5,143,554.21 2565 10,530,905,912.04 8,425,864,445.95 2,105,041,466.09 393 26,796,198.25 5,356,339.61 ๖๙ ตารางที่ ๑๐.๓.๓ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ธนกิจไทย จำกัด ปีบัญชี 31 มี.ค. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิ ทุน/สมาชกิ 2554 301,544,698.96 2,652.00 301,542,046.96 7 43,077,814.14 43,077,435.28 2555 2,337,230,175.81 1,979,206,152.65 358,024,023.16 24 97,384,590.66 14,917,667.63 2556 5,898,507,582.41 4,960,029,303.69 938,478,278.72 44 134,056,990.51 21,329,051.79 2557 5,915,035,998.83 4,802,599,535.49 1,112,436,463.34 50 118,300,719.98 22,248,729.27 2558 6,262,099,817.20 4,965,711,119.56 1,296,388,697.64 49 127,797,955.45 26,456,912.20 2559 7,304,913,190.41 6,106,382,827.77 1,198,530,362.64 47 155,423,684.90 25,500,646.01 2560 7,663,765,446.64 6,664,638,130.14 999,127,316.50 41 186,921,108.45 24,368,958.94 2561 7,016,609,057.67 6,099,916,514.27 916,692,543.40 27 259,874,409.54 33,951,575.68 2562 6,778,205,054.85 6,080,919,508.43 697,285,546.42 36 188,283,473.75 19,369,042.96 2563 6,905,842,961.55 6,517,348,145.31 388,494,816.24 36 191,828,971.15 10,791,522.67 2564 6,939,506,248.05 6,664,743,753.13 274,762,494.92 36 192,764,062.45 7,632,291.53 2565 6,919,956,759.86 6,665,116,215.32 254,840,544.54 36 192,221,021.11 7,078,904.02 ตารางที่ ๑๐.๓.๔ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์กรุงเทพ จำกัด ปีบัญชี 30 ก.ย. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทนุ /สมาชกิ 2560 1,894,563,016.08 1,790,484,959.40 104,078,056.68 14 135,325,929.72 7,434,146.91 2561 4,983,067,346.32 4,662,444,533.02 320,622,813.30 27 184,558,049.86 11,874,919.01 2562 7,827,249,325.75 7,093,422,417.72 733,826,908.03 50 156,544,986.52 14,676,538.16 2563 10,905,917,315.61 9,956,422,525.18 949,494,790.43 56 194,748,523.49 16,955,264.11 2564 10,236,584,426.33 8,908,483,533.66 1,328,100,892.67 58 176,492,834.94 22,898,291.25 2565 9,902,947,949.87 8,630,838,459.61 1,272,109,490.26 61 162,343,409.01 20,854,253.94 ตารางที่ ๑๐.๓.๕ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ปีบัญชี 31ธ.ค. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิ ทรัพย์/ สมาชกิ ทนุ /สมาชกิ 2553 78,932,807.35 63,167,176.71 15,765,630.64 14 5,638,057.67 1,126,116.47 2554 268,843,306.10 235,543,545.79 33,299,760.31 28 9,601,546.65 1,189,277.15 2555 365,105,965.51 322,309,686.89 42,796,278.62 35 10,431,599.01 1,222,750.82 2556 592,137,035.34 523,943,390.81 68,193,644.53 42 14,098,500.84 1,623,658.20 2557 616,447,430.17 516,581,614.78 99,865,815.39 47 13,115,902.77 2,124,804.58 2558 804,246,610.53 625,992,326.23 178,254,284.30 49 16,413,196.13 3,637,842.54 2559 1,132,312,435.27 775,642,014.82 356,670,420.45 52 21,775,239.14 6,859,046.55 2560 1,271,632,429.45 848,958,416.03 422,674,013.42 53 23,993,064.71 7,974,981.39 2561 1,403,802,269.24 913,536,604.51 490,265,664.73 62 22,641,972.08 7,907,510.72 2562 1,640,350,671.46 1,017,214,962.08 623,135,709.38 68 24,122,803.99 9,163,760.43 2563 1,981,431,100.41 1,210,457,502.03 770,973,598.38 77 25,732,871.43 10,012,644.13 2564 3,032,741,439.15 2,093,298,184.67 939,443,254.48 90 33,697,127.10 10,438,258.38 2565 3,650,367,550.27 2,306,038,032.24 1,344,329,518.03 100 36,503,675.50 13,443,295.18 68 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 68 15/5/2566 20:21:36


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 69 ๖๙ ตารางที่ ๑๐.๓.๓ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ธนกิจไทย จำกัด ปีบัญชี 31 มี.ค. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิ ทุน/สมาชกิ 2554 301,544,698.96 2,652.00 301,542,046.96 7 43,077,814.14 43,077,435.28 2555 2,337,230,175.81 1,979,206,152.65 358,024,023.16 24 97,384,590.66 14,917,667.63 2556 5,898,507,582.41 4,960,029,303.69 938,478,278.72 44 134,056,990.51 21,329,051.79 2557 5,915,035,998.83 4,802,599,535.49 1,112,436,463.34 50 118,300,719.98 22,248,729.27 2558 6,262,099,817.20 4,965,711,119.56 1,296,388,697.64 49 127,797,955.45 26,456,912.20 2559 7,304,913,190.41 6,106,382,827.77 1,198,530,362.64 47 155,423,684.90 25,500,646.01 2560 7,663,765,446.64 6,664,638,130.14 999,127,316.50 41 186,921,108.45 24,368,958.94 2561 7,016,609,057.67 6,099,916,514.27 916,692,543.40 27 259,874,409.54 33,951,575.68 2562 6,778,205,054.85 6,080,919,508.43 697,285,546.42 36 188,283,473.75 19,369,042.96 2563 6,905,842,961.55 6,517,348,145.31 388,494,816.24 36 191,828,971.15 10,791,522.67 2564 6,939,506,248.05 6,664,743,753.13 274,762,494.92 36 192,764,062.45 7,632,291.53 2565 6,919,956,759.86 6,665,116,215.32 254,840,544.54 36 192,221,021.11 7,078,904.02 ตารางที่ ๑๐.๓.๔ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์กรุงเทพ จำกัด ปีบัญชี 30 ก.ย. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทนุ /สมาชกิ 2560 1,894,563,016.08 1,790,484,959.40 104,078,056.68 14 135,325,929.72 7,434,146.91 2561 4,983,067,346.32 4,662,444,533.02 320,622,813.30 27 184,558,049.86 11,874,919.01 2562 7,827,249,325.75 7,093,422,417.72 733,826,908.03 50 156,544,986.52 14,676,538.16 2563 10,905,917,315.61 9,956,422,525.18 949,494,790.43 56 194,748,523.49 16,955,264.11 2564 10,236,584,426.33 8,908,483,533.66 1,328,100,892.67 58 176,492,834.94 22,898,291.25 2565 9,902,947,949.87 8,630,838,459.61 1,272,109,490.26 61 162,343,409.01 20,854,253.94 ตารางที่ ๑๐.๓.๕ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ปีบัญชี 31ธ.ค. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิ ทรัพย์/ สมาชกิ ทนุ /สมาชกิ 2553 78,932,807.35 63,167,176.71 15,765,630.64 14 5,638,057.67 1,126,116.47 2554 268,843,306.10 235,543,545.79 33,299,760.31 28 9,601,546.65 1,189,277.15 2555 365,105,965.51 322,309,686.89 42,796,278.62 35 10,431,599.01 1,222,750.82 2556 592,137,035.34 523,943,390.81 68,193,644.53 42 14,098,500.84 1,623,658.20 2557 616,447,430.17 516,581,614.78 99,865,815.39 47 13,115,902.77 2,124,804.58 2558 804,246,610.53 625,992,326.23 178,254,284.30 49 16,413,196.13 3,637,842.54 2559 1,132,312,435.27 775,642,014.82 356,670,420.45 52 21,775,239.14 6,859,046.55 2560 1,271,632,429.45 848,958,416.03 422,674,013.42 53 23,993,064.71 7,974,981.39 2561 1,403,802,269.24 913,536,604.51 490,265,664.73 62 22,641,972.08 7,907,510.72 2562 1,640,350,671.46 1,017,214,962.08 623,135,709.38 68 24,122,803.99 9,163,760.43 2563 1,981,431,100.41 1,210,457,502.03 770,973,598.38 77 25,732,871.43 10,012,644.13 2564 3,032,741,439.15 2,093,298,184.67 939,443,254.48 90 33,697,127.10 10,438,258.38 2565 3,650,367,550.27 2,306,038,032.24 1,344,329,518.03 100 36,503,675.50 13,443,295.18 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 69 IN.indd 69 15/5/2566 20:21:37


70 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๗๐ ตารางที่ ๑๐.๓.๖ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ทหาร จำกัด ปีบัญชี 30 ก.ย. สนิทรัพย์ หนี้สนิทุน จ านวน สมาชกิ (สหกรณ์) สนทรัพย์/ ิ สมาชกิ ทุน/สมาชกิ 2551 137,264,712.15 75,376,850.98 61,887,861.17 110 1,247,861.02 562,616.92 2552 185,377,451.57 116,929,083.00 68,448,368.57 112 1,655,155.82 611,146.15 2553 253,215,577.38 164,867,406.01 88,348,171.37 114 2,221,189.28 774,983.96 2554 386,540,653.18 279,869,618.99 106,671,034.19 120 3,221,172.11 888,925.28 2555 496,983,024.58 374,364,659.46 122,618,365.12 120 4,141,525.20 1,021,819.71 2556 494,427,661.53 366,205,672.49 128,221,989.04 123 4,019,737.09 1,042,455.20 2557 486,820,851.36 350,441,068.46 136,379,782.90 125 3,894,566.81 1,091,038.26 2558 498,074,677.41 346,465,680.73 151,608,996.68 126 3,952,973.63 1,203,246.01 2559 408,444,000.07 243,649,076.57 164,794,923.50 126 3,241,619.05 1,307,896.22 2560 501,605,573.80 302,972,651.02 198,632,922.78 122 4,111,521.10 1,628,138.71 2561 761,807,257.44 515,482,065.29 246,325,192.15 126 6,046,089.34 1,954,961.84 2562 1,258,364,639.19 936,331,365.27 322,033,273.92 131 9,605,836.94 2,458,269.27 2563 1,859,397,997.31 1,386,828,033.24 472,569,964.07 135 13,773,318.50 3,500,518.25 2564 2,698,258,495.52 1,977,480,303.90 720,778,191.62 136 19,840,136.00 5,299,839.64 2565 3,470,521,952.53 2,432,345,794.46 1,038,176,158.07 135 25,707,570.02 7,690,193.76 ตารางที่ ๑๐.๓.๗ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ไทย ไอซีทีจำกัด ปีบัญชี 31 ส.ค. สนิทรัพย์หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิ ทุน/สมาชกิ 2555 42,995,327.77 36,850,590.96 6,144,736.81 8 5,374,415.97 768,092.10 2556 145,916,684.09 138,572,915.72 7,343,768.37 35 4,169,048.12 209,821.95 2557 198,082,523.17 197,049,755.53 1,032,767.64 42 4,716,250.55 24,589.71 31 มี.ค. ตั้งแต่ปี 2558 ได้เปลี่ยนวันสิ้นสุดปีบัญชี เป็น 31 มีนาคม 2558 260,191,687.34 238,115,201.31 22,076,486.03 53 4,909,277.12 416,537.47 2559 276,420,217.46 259,496,611.98 16,923,605.48 65 4,252,618.73 260,363.16 2560 272,470,910.63 263,684,379.14 8,786,531.49 71 3,837,618.46 123,753.96 2561 244,380,036.59 239,085,851.08 5,294,185.51 72 3,394,167.17 73,530.35 2562 137,298,280.88 142,581,197.13 -5,282,916.25 72 1,906,920.57 - 73,373.84 2563 149,190,607.40 162,094,822.01 -12,904,214.61 69 2,162,182.72 -187,017.60 2564 122,336,646.08 134,751,690.58 -12,415,044.50 69 1,772,994.87 -179,928.18 2565 125,577,416.20 138,880,925.48 -13,303,509.28 68 1,846,726.71 -195,639.84 ๗๑ ตารางที่ ๑๐.๓.๘ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูไทย จำกัด ปีบัญชี 31 มี.ค. สนิทรัพย์ หนี้สนิทุน จ านวน สมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทนุ /สมาชกิ 2555 12,477,738.19 11,210,838.19 1,266,900.00 104 119,978.25 12,181.73 2556 17,034,723.68 15,284,724.64 1,749,999.04 107 159,203.03 16,355.13 2557 48,702,556.79 49,315,362.89 - 612,806.10 110 442,750.52 - 5,570.96 2558 113,115,325.48 110,411,717.63 2,703,607.85 368 307,378.60 7,346.76 2559 103,180,859.74 100,209,068.49 2,971,791.25 107 964,307.10 27,773.75 2560 236,819,654.48 232,104,138.36 4,715,516.12 108 2,192,774.58 43,662.19 2561 530,324,925.30 523,230,343.84 7,094,581.46 108 4,910,415.98 65,690.57 2562 750,811,425.39 739,757,994.45 11,053,430.94 108 6,951,957.64 102,346.58 2563 1,315,493,259.76 1,296,132,128.78 19,361,130.98 109 12,068,745.50 177,625.05 2564 3,308,289,198.28 3,283,900,931.14 24,388,267.14 108 30,632,307.39 225,817.29 2565 8,497,085,046.71 8,406,625,752.45 90,459,294.26 114 74,535,833.74 793,502.58 ตารางที่ ๑๐.๓.๙ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์อิสลามแห่งประเทศไทย จำกัด ปีบัญชี 31 ธ.ค. สนทรั ิ พย์ หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทุน/สมาชกิ 2555 1,697,688.17 127,688.17 1,570,000.00 7 242,526.88 224,285.71 2556 14,040,875.75 10,649,532.71 3,391,343.04 7 2,005,839.39 484,477.58 2557 16,863,631.17 11,356,189.86 5,507,441.31 7 2,409,090.17 786,777.33 2558 22,622,716.01 13,968,462.26 8,654,253.75 13 1,740,208.92 665,711.83 2559 47,309,399.82 33,291,061.08 14,018,338.74 14 3,379,242.84 1,001,309.91 2560 56,184,475.55 36,748,913.53 19,435,562.02 16 3,511,529.72 1,214,722.63 2561 62,307,850.76 37,343,048.10 24,964,802.66 18 3,461,547.26 1,386,933.48 2562 68,560,342.31 38,651,231.25 29,909,111.06 18 3,808,907.91 1,661,617.28 2563 91,242,109.65 58,730,591.53 32,511,518.12 18 5,069,006.09 1,806,195.45 2564 94,985,667.85 57,874,577.99 37,111,089.86 18 5,276,981.55 2,061,727.21 2565 70 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 70 15/5/2566 20:21:37


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 71 ๗๑ ตารางที่ ๑๐.๓.๘ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ครูไทย จำกัด ปีบัญชี 31 มี.ค. สนิทรัพย์ หนี้สนิทุน จ านวน สมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทนุ /สมาชกิ 2555 12,477,738.19 11,210,838.19 1,266,900.00 104 119,978.25 12,181.73 2556 17,034,723.68 15,284,724.64 1,749,999.04 107 159,203.03 16,355.13 2557 48,702,556.79 49,315,362.89 - 612,806.10 110 442,750.52 - 5,570.96 2558 113,115,325.48 110,411,717.63 2,703,607.85 368 307,378.60 7,346.76 2559 103,180,859.74 100,209,068.49 2,971,791.25 107 964,307.10 27,773.75 2560 236,819,654.48 232,104,138.36 4,715,516.12 108 2,192,774.58 43,662.19 2561 530,324,925.30 523,230,343.84 7,094,581.46 108 4,910,415.98 65,690.57 2562 750,811,425.39 739,757,994.45 11,053,430.94 108 6,951,957.64 102,346.58 2563 1,315,493,259.76 1,296,132,128.78 19,361,130.98 109 12,068,745.50 177,625.05 2564 3,308,289,198.28 3,283,900,931.14 24,388,267.14 108 30,632,307.39 225,817.29 2565 8,497,085,046.71 8,406,625,752.45 90,459,294.26 114 74,535,833.74 793,502.58 ตารางที่ ๑๐.๓.๙ การเติบโตของฐานะการเงินของชุมนุมสหกรณ์อิสลามแห่งประเทศไทย จำกัด ปีบัญชี 31 ธ.ค. สนทรั ิ พย์ หนี้สนิทุน จ านวนสมาชกิ (สหกรณ์) สนิทรัพย/์สมาชกิทุน/สมาชกิ 2555 1,697,688.17 127,688.17 1,570,000.00 7 242,526.88 224,285.71 2556 14,040,875.75 10,649,532.71 3,391,343.04 7 2,005,839.39 484,477.58 2557 16,863,631.17 11,356,189.86 5,507,441.31 7 2,409,090.17 786,777.33 2558 22,622,716.01 13,968,462.26 8,654,253.75 13 1,740,208.92 665,711.83 2559 47,309,399.82 33,291,061.08 14,018,338.74 14 3,379,242.84 1,001,309.91 2560 56,184,475.55 36,748,913.53 19,435,562.02 16 3,511,529.72 1,214,722.63 2561 62,307,850.76 37,343,048.10 24,964,802.66 18 3,461,547.26 1,386,933.48 2562 68,560,342.31 38,651,231.25 29,909,111.06 18 3,808,907.91 1,661,617.28 2563 91,242,109.65 58,730,591.53 32,511,518.12 18 5,069,006.09 1,806,195.45 2564 94,985,667.85 57,874,577.99 37,111,089.86 18 5,276,981.55 2,061,727.21 2565 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 71 IN.indd 71 15/5/2566 20:21:37


72 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๗๒ วาระที่ วาระที่๓ เรื่องเพื่อทราบ เรื่องเพื่อทราบ ๓.๓ พิจารณารายงานของผ ้ ู ตรวจสอบกิจการ ประจ าปี ๒๕๖๕ ตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “ข้อ ๓๗. อำนาจหน้าที่ของที่ประชุมใหญ่ ที่ประชุมใหญ่มีอำนาจหน้าที่พิจารณาวินิจฉัยปัญหาทั้งปวง เกี่ยวกับกิจการของชุมนุมสหกรณ์ ซึ่งรวมทั้งในข้อต่อไปนี้ ฯลฯ (๑๐) พิจารณารายงานของผู้ตรวจสอบกิจการของชุมนุมสหกรณ์” ฯลฯ ๗๓ รายงานการตรวจสอบกิจการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด ประจ าปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 เรียน ที่ประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทยจ ากดั ตามที่ที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี 2565 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 ได้มีมติเลือกต้งัให้ขา้พเจ้า เป็ นผู้ตรวจสอบกิจการของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด ส าหรับปีสิ้นสุดวนัที่ 31 ธันวาคม 2565 น้ัน ข้าพเจ้าได้เข้าตรวจสอบและเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการด าเนินการเป็ นประจ า ทุกเดือนแล้ว ส าหรับผลการตรวจสอบประจ าปี 2565 สามารถสรุปไดด้งัน้ี 1. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1.1 เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของชุมนุมสหกรณ์ให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ขเพิ่ มเติม ขอ้บงัคบัและระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ตลอดจนมติที่ประชุมใหญ่และที่ ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ 1.2 เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีให้เป็ นไปตามแบบและรายการที่นายทะเบียน สหกรณ์ก าหนด 1.3 ประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการด าเนินงานของคณะกรรมการด าเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ เพื่อให้ข้อสังเกตและข้อแนะน าในการปรับปรุงการบริหารงานของคณะกรรม การด าเนินการชุมนุมสหกรณ์ให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ 2. ขอบเขตการตรวจสอบ 2.1 ตรวจสอบเอกสาร สรรพสมุด บญัชีทะเบียนและการเงิน ตลอดจนทรัพยส์ินและหน้ีสินของ ชุมนุมสหกรณ์ เพื่อทราบฐานะและข้อเท็จจริงของชุมนุมสหกรณ์เป็ นอยู่จริง 2.2 ตรวจสอบหลักฐานและความถูกต้องของการด าเนินธุรกิจแต่ละประเภทของชุมนุมสหกรณ์เพื่อ ประเมินผลและอาจใหข้อ้เสนอแนะนา ในการดา เนินธุรกิจน้นั 2.3 ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนงานและการใช้จ่ายเงินตามประมาณการรายจ่ายประจ าปี ของชุมนุมสหกรณ์ 2.4 ติดตามผลการด าเนินงานของคณะกรรมการด าเนินการ เพื่อพิจารณาปรับปรุงแผนงาน ข้อบังคับ ระเบียบ มติตลอดจนคา สั่ งต่าง ๆ ของชุมนุมสหกรณ์ 2.5 ตรวจสอบการปฏิบตัิตามกฎหมายขอ้บงัคบัระเบียบ มติและคา สงของั่ชุมนุมสหกรณ์ เพื่อให้ เกิดผลดีแก่การด าเนินกิจการของชุมนุมสหกรณ์ 3. ผลการด าเนินงาน 3.1 การบริหารทั่วไป การบริหารงานของชุมนุมสหกรณ์เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 72 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 72 15/5/2566 20:21:38


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 73 ๗๓ รายงานการตรวจสอบกิจการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด ประจ าปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2565 เรียน ที่ประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทยจ ากดั ตามที่ที่ประชุมใหญ่สามัญประจ าปี 2565 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2565 ได้มีมติเลือกต้งัให้ขา้พเจ้า เป็ นผู้ตรวจสอบกิจการของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด ส าหรับปีสิ้ นสุดวนัที่ 31 ธันวาคม 2565 น้ัน ข้าพเจ้าได้เข้าตรวจสอบและเสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการด าเนินการเป็ นประจ า ทุกเดือนแล้ว ส าหรับผลการตรวจสอบประจ าปี 2565 สามารถสรุปไดด้งัน้ี 1. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 1.1 เพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานของชุมนุมสหกรณ์ให้เป็ นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และที่แกไ้ขเพิ่ มเติม ขอ้บงัคบัและระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ตลอดจนมติที่ประชุมใหญ่และที่ ประชุมคณะกรรมการด าเนินการ 1.2 เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของการบันทึกบัญชีให้เป็ นไปตามแบบและรายการที่นายทะเบียน สหกรณ์ก าหนด 1.3 ประเมินความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลการด าเนินงานของคณะกรรมการด าเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ เพื่อให้ข้อสังเกตและข้อแนะน าในการปรับปรุงการบริหารงานของคณะกรรม การด าเนินการชุมนุมสหกรณ์ให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ และระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ 2. ขอบเขตการตรวจสอบ 2.1 ตรวจสอบเอกสาร สรรพสมุด บญัชีทะเบียนและการเงิน ตลอดจนทรัพยส์ินและหน้ีสินของ ชุมนุมสหกรณ์ เพื่อทราบฐานะและข้อเท็จจริงของชุมนุมสหกรณ์เป็ นอยู่จริง 2.2 ตรวจสอบหลักฐานและความถูกต้องของการด าเนินธุรกิจแต่ละประเภทของชุมนุมสหกรณ์เพื่อ ประเมินผลและอาจใหข้อ้เสนอแนะนา ในการดา เนินธุรกิจน้นั 2.3 ตรวจสอบการปฏิบัติงานตามแผนงานและการใช้จ่ายเงินตามประมาณการรายจ่ายประจ าปี ของชุมนุมสหกรณ์ 2.4 ติดตามผลการด าเนินงานของคณะกรรมการด าเนินการ เพื่อพิจารณาปรับปรุงแผนงาน ข้อบังคับ ระเบียบ มติตลอดจนคา สั่ งต่าง ๆ ของชุมนุมสหกรณ์ 2.5 ตรวจสอบการปฏิบตัิตามกฎหมายขอ้บงัคบัระเบียบ มติและคา สั่ งของชุมนุมสหกรณ์ เพื่อให้ เกิดผลดีแก่การด าเนินกิจการของชุมนุมสหกรณ์ 3. ผลการด าเนินงาน 3.1 การบริหารทั่วไป การบริหารงานของชุมนุมสหกรณ์เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 73 IN.indd 73 15/5/2566 20:21:38


74 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๗๔ 3.2 สมาชิกของสหกรณ์ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีสมาชิกจ านวน 100 สหกรณ์เพิ่ มข้ึนจาก ณ วันที่31 ธันวาคม 2564 ( 90 สหกรณ์)จ านวน 10 สหกรณ์ (ร้อยละ 11.11) การรับเข้าเป็นสมาชิกและการให้ออกจากการเป็ นสมาชิก คณะกรรมการด าเนินการได้มี การอนุมัติถูกต้องตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ 3.3 การบัญชี มีการบันทึกบัญชีถูกต้องเป็ นไปตามแบบและรายการที่นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนด 3.4 การเงิน เอกสารหลักฐานทางการเงินและการควบคุมภายในด้านการเงิน รัดกุม ถูกต้อง และครบถ้วน 3.5 เงินสดและเงินฝากธนาคาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินสดและเงินฝากธนาคารคงเหลือ ดงัน้ี 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) เงินสด 3,858.88 7,028.33 (3,169.45) เงินฝากธนาคาร กระแสรายวัน 8 บัญชี 197,723.53 45,877.64 151,845.89 ออมทรัพย์ 7 บัญชี 679,814.81 225,662.45 454,152.36 เงินฝากบล.เอเชียพลัส 28,700.16 466,082.99 (437,382.83) รวมท้ งัสิ้ น 910,097.38 744,651.41 165,445.97 3.6 เงินฝากสหกรณ์อื่น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินฝากสหกรณ์อื่นคงเหลือ ดงัน้ี 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 (บาท) (บาท) ชุมนุมสหกรณ์ธนกิจไทย จ ากัด 21,114,356.47 21,107,159.93 สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจภูธรจังหวัดชลบุรี จ ากัด 50,000,000.00 30,000,000.00 สหกรณ์ออมทรัพย์ต ารวจตระเวนชายแดนที่ 13 จ ากัด 35,000,000.00 85,000,000.00 รวม 106,114,356.47 136,107,159.93 การปฏิบัติการฝากเงินกับสหกรณ์อื่นเป็ นไปด้วยความเรียบร้อย การค านวณดอกเบ้ียรับถูกต้อง และครบถ้วน ๗๕ 3. 7 เงินลงทุน การลงทุนเป็ นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และประกาศของคณะกรรมการพัฒนา การสหกรณ์แห่งชาติ พ.ศ.2563 เรื่องข้อก าหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ การค านวณ ผลตอบแทนถูกต้องและครบถ้วน มีเงินลงทุนยกมาจากปีก่อน 2,433,197,480.00 บาท ระหวา่งปีมีลงทุนเพิ่ ม 959,458,306.71 บาท มีการขายคืนและปรับมูลค่า 165,517,534.08 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 เงินลงทุนคงเหลือ 3,227,138,252.63 บาท โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 (บาท) (บาท) 1.พันธบัตรรัฐบาล 4,000,000.00 4,000,000.00 2.หุ้นสามัญ 471,138,252.63 257,197,480.00 3.หุ้นกู้ 2,752,000,000.00 2,172,000,000.00 รวม 3,227,138,252.63 2,433,197,480.00 หักค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าหุ้นสามัญ (38,888,252.63) 1,202,520.00 หักค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าหุ้นกู้-บมจ.การบินไทย (7,700,000.00) (3,850,000.00) รวม-สุทธิ 3,180,550,000.00 2,430,550,000.00 3.8 การให้กู้ยืมเงิน การปฏิบัติงานด้านการให้กู้ยืมเงิน ส่วนใหญ่เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องตรงตามข้อบังคับ และระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ เอกสารหลักฐานแสดงการเป็นหน้ีการค้ า ประกนัหลกัประกนัและการ คา นวณดอกเบ้ียรับ ถูกตอ้งและครบถว้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีลูกหน้ีเงินให้สหกรณ์อื่นกูย้มืคงเหลือ ดงัน้ี ยอดยกมาต้นปี จ านวนเงิน 436,240,000 บาท บวก ให้กู้ระหว่างปี จ านวนเงิน 0 บาท หัก รับช าระคืนระหว่างปี จ านวนเงิน 110,160,000 บาท ณ วนัสิ้ นปีมียอดคงเหลือ จ านวนเงิน 326,080,000 บาท 74 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 74 15/5/2566 20:21:39


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 75 ๗๕ 3. 7 เงินลงทุน การลงทุนเป็ นไปตามพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.2542 และประกาศของคณะกรรมการพัฒนา การสหกรณ์แห่งชาติ พ.ศ.2563 เรื่องข้อก าหนดการฝากหรือลงทุนอย่างอื่นของสหกรณ์ การค านวณ ผลตอบแทนถูกต้องและครบถ้วน มีเงินลงทุนยกมาจากปีก่อน 2,433,197,480.00 บาท ระหวา่งปีมีลงทุนเพิ่ ม 959,458,306.71 บาท มีการขายคืนและปรับมูลค่า 165,517,534.08 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 เงินลงทุนคงเหลือ 3,227,138,252.63 บาท โดยมีรายละเอียด ดงัน้ี 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 (บาท) (บาท) 1.พันธบัตรรัฐบาล 4,000,000.00 4,000,000.00 2.หุ้นสามัญ 471,138,252.63 257,197,480.00 3.หุ้นกู้ 2,752,000,000.00 2,172,000,000.00 รวม 3,227,138,252.63 2,433,197,480.00 หักค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าหุ้นสามัญ (38,888,252.63) 1,202,520.00 หักค่าเผื่อการปรับลดมูลค่าหุ้นกู้-บมจ.การบินไทย (7,700,000.00) (3,850,000.00) รวม-สุทธิ 3,180,550,000.00 2,430,550,000.00 3.8 การให้กู้ยืมเงิน การปฏิบัติงานด้านการให้กู้ยืมเงิน ส่วนใหญ่เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องตรงตามข้อบังคับ และระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ เอกสารหลักฐานแสดงการเป็นหน้ีการค้ า ประกนัหลกัประกนัและการ คา นวณดอกเบ้ียรับ ถูกตอ้งและครบถว้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีลูกหน้ีเงินให้สหกรณ์อื่นกูย้มืคงเหลือ ดงัน้ี ยอดยกมาต้นปี จ านวนเงิน 436,240,000 บาท บวก ให้กู้ระหว่างปี จ านวนเงิน 0 บาท หัก รับช าระคืนระหว่างปี จ านวนเงิน 110,160,000 บาท ณ วนัสิ้ นปีมียอดคงเหลือ จ านวนเงิน 326,080,000 บาท การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 75 IN.indd 75 15/5/2566 20:21:39


76 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๗๖ 3.9 การกู้ยืมเงิน ชุมนุมสหกรณ์ก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ า ประกันประจ าปี 2565 จากที่ประชุมใหญ่โดยได้รับ ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์จ านวน 1,430 ล้านบาท ชุมนุมสหกรณ์มีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารกรุงไทย จ ากัด(มหาชน) จ านวนเงิน 30 ล้านบาท ใชห้ลกัประกนัร่วมกบัวงเงินกูย้มืโดยออกตวั๋สัญญาใช้เงิน ชุมนุมสหกรณ์มีวงเงินกู้ยืมโดยออกตวั๋สัญญาใชเ้งินกบัธนาคาร ดงัน้ี 1. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ ากัด(มหาชน) จ านวน 257 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 2. ธนาคารทหารไทยธนชาติ จ ากัด(มหาชน) จ านวน 190 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 3. ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด(มหาชน) จ านวน 100 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 4. ธนาคารกรุงไทย จ ากัด(มหาชน)จ านวน 219 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 5. ธนาคารไอซีบีซี จ ากัด(มหาชน)จ านวน 200 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 6. ธนาคารไทยพาณิชย์ จ ากัด(มหาชน)จ านวน 150 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ ณ วันที่31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินกูย้มืคงเหลือ ดงัน้ี ยกมาตน้ ปีเพิ่ มระหว่างปี ลดลงระหว่างปีคงเหลือวนัสิ้ นปี (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 107,000,000 265,500,000 372,500,000 0 ธนาคารทหารไทยธนชาติ 0 1,260,000,000 1,070,000,000 190,000,000 ธนาคารกรุงเทพ 100,000,000 315,000,000 415,000,000 0 ธนาคารกรุงไทย 100,900,000 1,834,200,000 1,796,700,000 138,400,000 ธนาคารไทยพาณิชย์ 150,000,000 600,000,000 600,000,000 150,000,000 ธนาคารไอซีบีซี 0 1,049,000,000 954,000,000 95,000,000 รวม 457,900,000 5,323,700,000 5,208,200,000 573,400,000 ๗๗ 3.10 การรับฝากเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินรับฝากเงินคงเหลือ ดงัน้ี ประเภทเงินรับฝาก 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน(ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) ประจ า - สมาชิก 1,642,550,000 1,523,800,000 118,750,000 ประจ า– สหกรณ์อื่น 83,000,000 110,000,000 (27,000,000) เผื่อเรียก– สหกรณ์อื่น 5,000,000 0 5,000,000 รวม 1,730,550,000 1,633,800,000 96,750,000 การปฏิบัติงานด้านการรับฝากและถอนเงินรัดกุม ถูกต้อง 3.11 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีทุนเรือนหุ้นจ านวน 1,255,806,500 บาท เพิ่ มช้ึน จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จ านวน 405,208,000 บาท (ร้อยละ 47.64) ทุนเรือนหุ้นในบัญชีมีจ านวนถูกต้องตรงกับทะเบียนผู้ถือหุ้น การถือหุ้นของสมาชิกถูกต้องเป็ น ไปตามข้อบังคับและระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ 3.12 ทุนส ารองและทุนสะสมตามข้อบังคับ ดงัน้ี ยอดยกมา เพิ่ มข้ึน ลดลง คงเหลือ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ทุนส ารอง 25,926.685.13 7,394,819.61 0.00 33,321,504.74 ทุนเพื่อการศึกษาอบรม 792,000.00 100,000.00 6,000.00 886,000.00 ทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่ 900,000.00 100,000.00 0.00 1,000,000.00 ทุนรับโอนหุ้น 4,200,000.00 1,000,000.00 0.00 5,200,000.00 ทุนรักษาระดับเงินปันผล 4,500,000.00 1,000,000.00 0.00 5,500,000.00 รวม 36,318,685.13 9,594,819.61 6,000.00 45,907,504.74 76 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 76 15/5/2566 20:21:40


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 77 ๗๖ 3.9 การกู้ยืมเงิน ชุมนุมสหกรณ์ก าหนดวงเงินกู้ยืมหรือค้ า ประกันประจ าปี 2565 จากที่ประชุมใหญ่โดยได้รับ ความเห็นชอบจากนายทะเบียนสหกรณ์จ านวน 1,430 ล้านบาท ชุมนุมสหกรณ์มีวงเงินเบิกเกินบัญชีธนาคารกรุงไทย จ ากัด(มหาชน) จ านวนเงิน 30 ล้านบาท ใชห้ลกัประกนัร่วมกบัวงเงินกูย้มืโดยออกตวั๋สัญญาใช้เงิน ชุมนุมสหกรณ์มีวงเงินกู้ยืมโดยออกตวั๋สัญญาใชเ้งินกบัธนาคาร ดงัน้ี 1. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จ ากัด(มหาชน) จ านวน 257 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 2. ธนาคารทหารไทยธนชาติ จ ากัด(มหาชน) จ านวน 190 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 3. ธนาคารกรุงเทพ จ ากัด(มหาชน) จ านวน 100 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 4. ธนาคารกรุงไทย จ ากัด(มหาชน)จ านวน 219 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 5. ธนาคารไอซีบีซี จ ากัด(มหาชน)จ านวน 200 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ 6. ธนาคารไทยพาณิชย์ จ ากัด(มหาชน)จ านวน 150 ล้านบาท โดยใช้หลักประกันหุ้นกู้ ณ วันที่31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินกูย้มืคงเหลือ ดงัน้ี ยกมาตน้ ปีเพิ่ มระหว่างปี ลดลงระหว่างปีคงเหลือวนัสิ้ นปี (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 107,000,000 265,500,000 372,500,000 0 ธนาคารทหารไทยธนชาติ 0 1,260,000,000 1,070,000,000 190,000,000 ธนาคารกรุงเทพ 100,000,000 315,000,000 415,000,000 0 ธนาคารกรุงไทย 100,900,000 1,834,200,000 1,796,700,000 138,400,000 ธนาคารไทยพาณิชย์ 150,000,000 600,000,000 600,000,000 150,000,000 ธนาคารไอซีบีซี 0 1,049,000,000 954,000,000 95,000,000 รวม 457,900,000 5,323,700,000 5,208,200,000 573,400,000 ๗๗ 3.10 การรับฝากเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินรับฝากเงินคงเหลือ ดงัน้ี ประเภทเงินรับฝาก 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน(ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) ประจ า - สมาชิก 1,642,550,000 1,523,800,000 118,750,000 ประจ า– สหกรณ์อื่น 83,000,000 110,000,000 (27,000,000) เผื่อเรียก– สหกรณ์อื่น 5,000,000 0 5,000,000 รวม 1,730,550,000 1,633,800,000 96,750,000 การปฏิบัติงานด้านการรับฝากและถอนเงินรัดกุม ถูกต้อง 3.11 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีทุนเรือนหุ้นจ านวน 1,255,806,500 บาท เพิ่ มช้ึน จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จ านวน 405,208,000 บาท (ร้อยละ 47.64) ทุนเรือนหุ้นในบัญชีมีจ านวนถูกต้องตรงกับทะเบียนผู้ถือหุ้น การถือหุ้นของสมาชิกถูกต้องเป็ น ไปตามข้อบังคับและระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ 3.12 ทุนส ารองและทุนสะสมตามข้อบังคับ ดงัน้ี ยอดยกมา เพิ่ มข้ึน ลดลง คงเหลือ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ทุนส ารอง 25,926.685.13 7,394,819.61 0.00 33,321,504.74 ทุนเพื่อการศึกษาอบรม 792,000.00 100,000.00 6,000.00 886,000.00 ทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่ 900,000.00 100,000.00 0.00 1,000,000.00 ทุนรับโอนหุ้น 4,200,000.00 1,000,000.00 0.00 5,200,000.00 ทุนรักษาระดับเงินปันผล 4,500,000.00 1,000,000.00 0.00 5,500,000.00 รวม 36,318,685.13 9,594,819.61 6,000.00 45,907,504.74 76 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 76 15/5/2566 20:21:40 ๗๗ 3.10 การรับฝากเงิน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีเงินรับฝากเงินคงเหลือ ดงัน้ี ประเภทเงินรับฝาก 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน(ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) ประจ า - สมาชิก 1,642,550,000 1,523,800,000 118,750,000 ประจ า– สหกรณ์อื่น 83,000,000 110,000,000 (27,000,000) เผื่อเรียก– สหกรณ์อื่น 5,000,000 0 5,000,000 รวม 1,730,550,000 1,633,800,000 96,750,000 การปฏิบัติงานด้านการรับฝากและถอนเงินรัดกุม ถูกต้อง 3.11 ทุนเรือนหุ้น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีทุนเรือนหุ้นจ านวน 1,255,806,500 บาท เพิ่ มช้ึน จาก ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 จ านวน 405,208,000 บาท (ร้อยละ 47.64) ทุนเรือนหุ้นในบัญชีมีจ านวนถูกต้องตรงกับทะเบียนผู้ถือหุ้น การถือหุ้นของสมาชิกถูกต้องเป็ น ไปตามข้อบังคับและระเบียบของชุมนุมสหกรณ์ 3.12 ทุนส ารองและทุนสะสมตามข้อบังคับ ดงัน้ี ยอดยกมา เพิ่ มข้ึน ลดลง คงเหลือ (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ทุนส ารอง 25,926.685.13 7,394,819.61 0.00 33,321,504.74 ทุนเพื่อการศึกษาอบรม 792,000.00 100,000.00 6,000.00 886,000.00 ทุนสวัสดิการเจ้าหน้าที่ 900,000.00 100,000.00 0.00 1,000,000.00 ทุนรับโอนหุ้น 4,200,000.00 1,000,000.00 0.00 5,200,000.00 ทุนรักษาระดับเงินปันผล 4,500,000.00 1,000,000.00 0.00 5,500,000.00 รวม 36,318,685.13 9,594,819.61 6,000.00 45,907,504.74 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 77 IN.indd 77 15/5/2566 20:21:40


78 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๗๘ 4. รายได้-ค่าใช้จ่าย มีดงัน้ี รายได้ รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยรับเงินให้กู้ 12,125,385.32 12,061,953.11 63,432.21 2. ดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 16,435.72 7.644.23 8,791.49 3. ดอกเบี้ยรับเงินฝากสหกรณ์ 3,667,656.43 3,345,252.30 322,404.13 4. ผลตอบแทนจากเงินลงทุน 121,477,622.04 85,610,462.98 35,867.159.06 5. ก าไรจากการจ าหน่ายเงินลงทุน 3,671,794.79 1,934,456.79 1,737,338.00 6. รายได้ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 3,000.00 3,900.00 (900.00) 7.รายได้อื่น 2,019.25 12,817.46 (10,798.21) รวมรายได้ 140,963,913.55 102,976,486.87 37,987,426.68 ค่าใช้จ่าย รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก 41,069,895.70 39,427,606.35 1,642,289.35 2. ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืม 11,576,722.66 5,377,420.09 6,199,302.57 3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ 1,457,191.33 1,079,631.38 377,559.95 4. ค่าใช้จ่ายด าเนินงาน 1,279,820.09 1,697,555.51 (417,735.42) 5. ค่าใช้จ่ายอาคารอุปกรณ์ 226,517.85 220,724.19 5,793.66 6. ขาดทุนจากการด้อยค่าหุ้นกู้ 3,850,000.00 3,850,000.00 0.00 รวมค่าใช้จ่าย 59,460,147.63 51,652,937.52 7,807,210.11 รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย 81,503,765.92 51,323,549.35 30,180,216.57 ในรอบปี บัญชี 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีรายได้รวม 140,963,913.55 บาท รายได้หลักมาจาก ผลตอบแทนจากเงินลงทุนจ านวน 121,477,622.04 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 86.18 ของรายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวมจ านวน 59,460,147.63 บาท เป็ นรายจ่ายเกี่ยวกบัดอกเบ้ียจ่ายเงินรับฝากจา นวน 41,069,895.70 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 69.07 ของรายจ่ายรวม มีก าไรสุทธิ 81,503,765.92 บาท เพิ่ มข้ึน จากปีก่อนจา นวน 30,180,216.57 บาท (ร้อยละ 58.80) ๗๙ 5. ผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณ 5.1 ในปี 2565 ชุมนุมสหกรณ์ได้รับอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจ่ายเป็ นจ านวนรวม 3,389,085 บาท ชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายเงินตามงบประมาณไปแล้วรวม 3,055,994.27 บาท (ร้อยละ 90.17) คงเหลือวงเงินงบประมาณ 333,090.73 บาท (ร้อยละ 9.83) 5.2 รายจ่ายของชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายไปเพื่อกิจการของชุมนุมสหกรณ์เป็ นไปตามมติที่ประชุมคณะ กรรมการด าเนินการและส่วนใหญ่อยู่ภายในวงเงินงบประมาณที่ก าหนดไว้ มีรายจ่ายเกินวงเงิน งบประมาณ 8 รายการไดแ้ก่ (บาท) (ร้อยละ) 1. ค่ารับรอง 6,398.00 18.28 2. ค่าไปรษณีย์ 2,111.00 14.07 3. ค่าใช้จ่ายประชุมใหญ่สามัญ 97,249.00 32.42 4. ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ 2,916.06 58.32 5. ค่าของใช้ส านักงาน 16,379.05 40.95 6. ค่ารักษาพยาบาล 14,947.00 149.47 7. เงินช่วยเหลือชุดท างาน 5,000.00 33.33 8. ค่าซ่อมแซมและบ ารุงรักษาทรัพย์สิน 21,806.60 - ซึ่งที่ประชุมใหญ่อนุมัติให้ถัวจ่ายได้ 6. สืบเนื่องจากที่ประชุมใหญ่วิสามัญประจ าปี 2565 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2565 ได้อนุมัติงบประมาณ ในการซ้ือที่ดินเพื่อใชส้ร้างสา นกังานใหม่ของชุมนุมสหกรณ์เน้ ือที่ 2 ไร่ 2 งาน 53.5 ตารางวา ต้ งัอยู่ ที่ถนนนครอินทร์ ซอย 3 ต าบลตลาดขวัญ อ าเภอนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในวงเงินงบประมาณไม่ เกิน 35 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างด าเนินการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวภัทรพร ทัศนเสวี) ผู้ตรวจสอบกิจการ 78 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 78 15/5/2566 20:21:40 ๗๘ 4. รายได้-ค่าใช้จ่าย มีดงัน้ี รายได้ รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยรับเงินให้กู้ 12,125,385.32 12,061,953.11 63,432.21 2. ดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 16,435.72 7.644.23 8,791.49 3. ดอกเบี้ยรับเงินฝากสหกรณ์ 3,667,656.43 3,345,252.30 322,404.13 4. ผลตอบแทนจากเงินลงทุน 121,477,622.04 85,610,462.98 35,867.159.06 5. ก าไรจากการจ าหน่ายเงินลงทุน 3,671,794.79 1,934,456.79 1,737,338.00 6. รายได้ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 3,000.00 3,900.00 (900.00) 7.รายได้อื่น 2,019.25 12,817.46 (10,798.21) รวมรายได้ 140,963,913.55 102,976,486.87 37,987,426.68 ค่าใช้จ่าย รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก 41,069,895.70 39,427,606.35 1,642,289.35 2. ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืม 11,576,722.66 5,377,420.09 6,199,302.57 3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ 1,457,191.33 1,079,631.38 377,559.95 4. ค่าใช้จ่ายด าเนินงาน 1,279,820.09 1,697,555.51 (417,735.42) 5. ค่าใช้จ่ายอาคารอุปกรณ์ 226,517.85 220,724.19 5,793.66 6. ขาดทุนจากการด้อยค่าหุ้นกู้ 3,850,000.00 3,850,000.00 0.00 รวมค่าใช้จ่าย 59,460,147.63 51,652,937.52 7,807,210.11 รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย 81,503,765.92 51,323,549.35 30,180,216.57 ในรอบปี บัญชี 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีรายได้รวม 140,963,913.55 บาท รายได้หลักมาจาก ผลตอบแทนจากเงินลงทุนจ านวน 121,477,622.04 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 86.18 ของรายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวมจ านวน 59,460,147.63 บาท เป็ นรายจ่ายเกี่ยวกบัดอกเบ้ียจ่ายเงินรับฝากจา นวน 41,069,895.70 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 69.07 ของรายจ่ายรวม มีก าไรสุทธิ 81,503,765.92 บาท เพิ่ มข้ึน จากปีก่อนจา นวน 30,180,216.57 บาท (ร้อยละ 58.80) ๗๙ 5. ผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณ 5.1 ในปี 2565 ชุมนุมสหกรณ์ได้รับอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจ่ายเป็ นจ านวนรวม 3,389,085 บาท ชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายเงินตามงบประมาณไปแล้วรวม 3,055,994.27 บาท (ร้อยละ 90.17) คงเหลือวงเงินงบประมาณ 333,090.73 บาท (ร้อยละ 9.83) 5.2 รายจ่ายของชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายไปเพื่อกิจการของชุมนุมสหกรณ์เป็ นไปตามมติที่ประชุมคณะ กรรมการด าเนินการและส่วนใหญ่อยู่ภายในวงเงินงบประมาณที่ก าหนดไว้ มีรายจ่ายเกินวงเงิน งบประมาณ 8 รายการไดแ้ก่ (บาท) (ร้อยละ) 1. ค่ารับรอง 6,398.00 18.28 2. ค่าไปรษณีย์ 2,111.00 14.07 3. ค่าใช้จ่ายประชุมใหญ่สามัญ 97,249.00 32.42 4. ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ 2,916.06 58.32 5. ค่าของใช้ส านักงาน 16,379.05 40.95 6. ค่ารักษาพยาบาล 14,947.00 149.47 7. เงินช่วยเหลือชุดท างาน 5,000.00 33.33 8. ค่าซ่อมแซมและบ ารุงรักษาทรัพย์สิน 21,806.60 - ซึ่งที่ประชุมใหญ่อนุมัติให้ถัวจ่ายได้ 6. สืบเนื่องจากที่ประชุมใหญ่วิสามัญประจ าปี 2565 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2565 ได้อนุมัติงบประมาณ ในการซ้ือที่ดินเพื่อใชส้ร้างสา นกังานใหม่ของชุมนุมสหกรณ์เน้ือที่ 2 ไร่ 2 งาน 53.5 ตารางวา ต้ งัอยู่ ที่ถนนนครอินทร์ ซอย 3 ต าบลตลาดขวัญ อ าเภอนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในวงเงินงบประมาณไม่ เกิน 35 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างด าเนินการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวภัทรพร ทัศนเสวี) ผู้ตรวจสอบกิจการ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 79 IN.indd 79 15/5/2566 20:21:41


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 79 ๗๘ 4. รายได้-ค่าใช้จ่าย มีดงัน้ี รายได้ รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยรับเงินให้กู้ 12,125,385.32 12,061,953.11 63,432.21 2. ดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 16,435.72 7.644.23 8,791.49 3. ดอกเบี้ยรับเงินฝากสหกรณ์ 3,667,656.43 3,345,252.30 322,404.13 4. ผลตอบแทนจากเงินลงทุน 121,477,622.04 85,610,462.98 35,867.159.06 5. ก าไรจากการจ าหน่ายเงินลงทุน 3,671,794.79 1,934,456.79 1,737,338.00 6. รายได้ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 3,000.00 3,900.00 (900.00) 7.รายได้อื่น 2,019.25 12,817.46 (10,798.21) รวมรายได้ 140,963,913.55 102,976,486.87 37,987,426.68 ค่าใช้จ่าย รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก 41,069,895.70 39,427,606.35 1,642,289.35 2. ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืม 11,576,722.66 5,377,420.09 6,199,302.57 3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ 1,457,191.33 1,079,631.38 377,559.95 4. ค่าใช้จ่ายด าเนินงาน 1,279,820.09 1,697,555.51 (417,735.42) 5. ค่าใช้จ่ายอาคารอุปกรณ์ 226,517.85 220,724.19 5,793.66 6. ขาดทุนจากการด้อยค่าหุ้นกู้ 3,850,000.00 3,850,000.00 0.00 รวมค่าใช้จ่าย 59,460,147.63 51,652,937.52 7,807,210.11 รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย 81,503,765.92 51,323,549.35 30,180,216.57 ในรอบปี บัญชี 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีรายได้รวม 140,963,913.55 บาท รายได้หลักมาจาก ผลตอบแทนจากเงินลงทุนจ านวน 121,477,622.04 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 86.18 ของรายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวมจ านวน 59,460,147.63 บาท เป็ นรายจ่ายเกี่ยวกบัดอกเบ้ียจ่ายเงินรับฝากจา นวน 41,069,895.70 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 69.07 ของรายจ่ายรวม มีก าไรสุทธิ 81,503,765.92 บาท เพิ่ มข้ึน จากปีก่อนจา นวน 30,180,216.57 บาท (ร้อยละ 58.80) ๗๙ 5. ผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณ 5.1 ในปี 2565 ชุมนุมสหกรณ์ได้รับอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจ่ายเป็ นจ านวนรวม 3,389,085 บาท ชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายเงินตามงบประมาณไปแล้วรวม 3,055,994.27 บาท (ร้อยละ 90.17) คงเหลือวงเงินงบประมาณ 333,090.73 บาท (ร้อยละ 9.83) 5.2 รายจ่ายของชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายไปเพื่อกิจการของชุมนุมสหกรณ์เป็ นไปตามมติที่ประชุมคณะ กรรมการด าเนินการและส่วนใหญ่อยู่ภายในวงเงินงบประมาณที่ก าหนดไว้ มีรายจ่ายเกินวงเงิน งบประมาณ 8 รายการไดแ้ก่ (บาท) (ร้อยละ) 1. ค่ารับรอง 6,398.00 18.28 2. ค่าไปรษณีย์ 2,111.00 14.07 3. ค่าใช้จ่ายประชุมใหญ่สามัญ 97,249.00 32.42 4. ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ 2,916.06 58.32 5. ค่าของใช้ส านักงาน 16,379.05 40.95 6. ค่ารักษาพยาบาล 14,947.00 149.47 7. เงินช่วยเหลือชุดท างาน 5,000.00 33.33 8. ค่าซ่อมแซมและบ ารุงรักษาทรัพย์สิน 21,806.60 - ซึ่งที่ประชุมใหญ่อนุมัติให้ถัวจ่ายได้ 6. สืบเนื่องจากที่ประชุมใหญ่วิสามัญประจ าปี 2565 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2565 ได้อนุมัติงบประมาณ ในการซ้ือที่ดินเพื่อใชส้ร้างสา นกังานใหม่ของชุมนุมสหกรณ์เน้ ือที่ 2 ไร่ 2 งาน 53.5 ตารางวา ต้ งัอยู่ ที่ถนนนครอินทร์ ซอย 3 ต าบลตลาดขวัญ อ าเภอนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในวงเงินงบประมาณไม่ เกิน 35 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างด าเนินการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวภัทรพร ทัศนเสวี) ผู้ตรวจสอบกิจการ 78 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 78 15/5/2566 20:21:40 ๗๘ 4. รายได้-ค่าใช้จ่าย มีดงัน้ี รายได้ รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่ มข้ึน (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยรับเงินให้กู้ 12,125,385.32 12,061,953.11 63,432.21 2. ดอกเบี้ยรับเงินฝากธนาคาร 16,435.72 7.644.23 8,791.49 3. ดอกเบี้ยรับเงินฝากสหกรณ์ 3,667,656.43 3,345,252.30 322,404.13 4. ผลตอบแทนจากเงินลงทุน 121,477,622.04 85,610,462.98 35,867.159.06 5. ก าไรจากการจ าหน่ายเงินลงทุน 3,671,794.79 1,934,456.79 1,737,338.00 6. รายได้ค่าธรรมเนียมแรกเข้า 3,000.00 3,900.00 (900.00) 7.รายได้อื่น 2,019.25 12,817.46 (10,798.21) รวมรายได้ 140,963,913.55 102,976,486.87 37,987,426.68 ค่าใช้จ่าย รายละเอียด 31 ธันวาคม 2565 31 ธันวาคม 2564 เพิ่มขึ้น (ลดลง) (บาท) (บาท) (บาท) 1. ดอกเบี้ยจ่ายเงินรับฝาก 41,069,895.70 39,427,606.35 1,642,289.35 2. ดอกเบี้ยจ่ายเงินกู้ยืม 11,576,722.66 5,377,420.09 6,199,302.57 3. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเจ้าหน้าที่ 1,457,191.33 1,079,631.38 377,559.95 4. ค่าใช้จ่ายด าเนินงาน 1,279,820.09 1,697,555.51 (417,735.42) 5. ค่าใช้จ่ายอาคารอุปกรณ์ 226,517.85 220,724.19 5,793.66 6. ขาดทุนจากการด้อยค่าหุ้นกู้ 3,850,000.00 3,850,000.00 0.00 รวมค่าใช้จ่าย 59,460,147.63 51,652,937.52 7,807,210.11 รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย 81,503,765.92 51,323,549.35 30,180,216.57 ในรอบปี บัญชี 2565 ชุมนุมสหกรณ์มีรายได้รวม 140,963,913.55 บาท รายได้หลักมาจาก ผลตอบแทนจากเงินลงทุนจ านวน 121,477,622.04 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 86.18 ของรายได้รวม ค่าใช้จ่ายรวมจ านวน 59,460,147.63 บาท เป็ นรายจ่ายเกี่ยวกบัดอกเบ้ียจ่ายเงินรับฝากจา นวน 41,069,895.70 บาท หรือคิดเป็ นร้อยละ 69.07 ของรายจ่ายรวม มีก าไรสุทธิ 81,503,765.92 บาท เพิ่ มข้ึน จากปีก่อนจา นวน 30,180,216.57 บาท (ร้อยละ 58.80) ๗๙ 5. ผลการใช้จ่ายเงินตามงบประมาณ 5.1 ในปี 2565 ชุมนุมสหกรณ์ได้รับอนุมัติวงเงินงบประมาณรายจ่ายเป็ นจ านวนรวม 3,389,085 บาท ชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายเงินตามงบประมาณไปแล้วรวม 3,055,994.27 บาท (ร้อยละ 90.17) คงเหลือวงเงินงบประมาณ 333,090.73 บาท (ร้อยละ 9.83) 5.2 รายจ่ายของชุมนุมสหกรณ์ได้จ่ายไปเพื่อกิจการของชุมนุมสหกรณ์เป็ นไปตามมติที่ประชุมคณะ กรรมการด าเนินการและส่วนใหญ่อยู่ภายในวงเงินงบประมาณที่ก าหนดไว้ มีรายจ่ายเกินวงเงิน งบประมาณ 8 รายการไดแ้ก่ (บาท) (ร้อยละ) 1. ค่ารับรอง 6,398.00 18.28 2. ค่าไปรษณีย์ 2,111.00 14.07 3. ค่าใช้จ่ายประชุมใหญ่สามัญ 97,249.00 32.42 4. ค่าเครื่องเขียนแบบพิมพ์ 2,916.06 58.32 5. ค่าของใช้ส านักงาน 16,379.05 40.95 6. ค่ารักษาพยาบาล 14,947.00 149.47 7. เงินช่วยเหลือชุดท างาน 5,000.00 33.33 8. ค่าซ่อมแซมและบ ารุงรักษาทรัพย์สิน 21,806.60 - ซึ่งที่ประชุมใหญ่อนุมัติให้ถัวจ่ายได้ 6. สืบเนื่องจากที่ประชุมใหญ่วิสามัญประจ าปี 2565 เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2565 ได้อนุมัติงบประมาณ ในการซ้ือที่ดินเพื่อใชส้ร้างสา นกังานใหม่ของชุมนุมสหกรณ์เน้ือที่ 2 ไร่ 2 งาน 53.5 ตารางวา ต้ งัอยู่ ที่ถนนนครอินทร์ ซอย 3 ต าบลตลาดขวัญ อ าเภอนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในวงเงินงบประมาณไม่ เกิน 35 ล้านบาท ปัจจุบันอยู่ระหว่างด าเนินการ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (นางสาวภัทรพร ทัศนเสวี) ผู้ตรวจสอบกิจการ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 79 IN.indd 79 15/5/2566 20:21:41


80 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๘๐ วาระที่ วาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๑ พิจารณาเลือกตั้งกรรมการด าเนินการ ประจ าปี ๒๕๖๖ ข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ความในข้อ ๓๘ ถูกยกเลิกและใช้ความใหม่แทนแล้วโดยจดทะเบียนแก้ไขเพิ่มเติมข้อบังคับเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๕ ดังต่อไปนี้ “ข้อ ๓๘. คณะกรรมการดำเนินการ ให้ชุมนุมสหกรณ์ มีคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ประกอบด้วย ประธานกรรมการหนึ่งคน และกรรมการดำเนินการอื่นอีกสิบคน ซึ่งที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งจาก ผู้แทนสหกรณ์สมาชิก” ให้คณะกรรมการดำเนินการเลือกในระหว่างกันเองขึ้นเป็นรองประธานกรรมการหนึ่งคน หรือหลายคน กรรมการเลขานุการหนึ่งคน นอกนั้นเป็นกรรมการดำเนินการ แล้วแจ้งให้สหกรณ์สมาชิกทราบ” ฯลฯ ข้อ ๓๙. ลักษณะต้องห้ามของบุคคลที่เป็นกรรมการดำเนินการ (๑) เคยต้องคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก เว้นแต่ความผิดที่กระทำโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ (๒) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือให้ออกจากราชการ องค์การ หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่ากรณีใด ๆ ถึงแม้ว่าจะได้รับการล้างมลทินตามพระราชบัญญัติล้างมลทินในวาระต่าง ๆ ก็ตามก็ไม่ได้รับการยกเว้น หรือถูก หน่วยงานเอกชนไล่ออก ให้ออก หรือเลิกจ้างฐานทุจริต (๓) ถูกให้พ้นจากตำแหน่งกรรมการหรือมีคำวินิจฉัยเป็นที่สุดให้พ้นจากตำแหน่งกรรมการตาม มาตรา ๒๒ (๔) แห่งพระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ (๔) เคยถูกที่ประชุมใหญ่มีมติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่งกรรมการเพราะเหตุทุจริต (๕) เป็น หรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย (๖) เป็นบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือเป็นบุคคลไร้ความสามารถ หรือ เสมือนไร้ความสามรถ (๗) เคยต้องคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดินเพราะร่ำรวยผิดปกติหรือ มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ (๘) ดำรงตำแหน่งหน้าที่ประจำในชุมนุมสหกรณ์หรือสหกรณ์สมาชิก ๘๑ “ข้อ ๔๐. วาระอยู่ในตำแหน่ง คณะกรรมการดำเนินการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปีนับแต่วัน เลือกตั้ง ในวาระเริ่มแรก เมื่อครบหนึ่งปีนับแต่วันเลือกตั้ง ให้กรรมการดำเนินการออกจากตำแหน่งเป็นจำนวน หนึ่งในสองของกรรมการดำเนินการทั้งหมด (เศษที่เหลือให้ปัดขึ้น) โดยวิธีจับฉลากและให้ถือว่าเป็นการพ้นจาก ตำแหน่งตามวาระ ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการเข้าดำรงตำแหน่งแทนให้ครบจำนวนกรรมการ ดำเนินการตามข้อ ๓๘ ในปีต่อไปให้กรรมการดำเนินการที่อยู่ในตำแหน่งจนครบวาระหรืออยู่นานที่สุดออกจาก ตำแหน่งสลับกันไป ทุก ๆ ปี กรรมการดำเนินการซึ่งพ้นจากตำแหน่ง อาจได้รับเลือกตั้งอีกได้แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกันโดยต้อง พักอย่างน้อยหนึ่งปีทางบัญชี จึงจะสมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการใหม่ได้ ในกรณีที่มีการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการแทนตำแหน่งที่ว่างให้กรรมการดำเนินการที่ได้รับเลือกตั้งอยู่ ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ที่ตนแทน กรรมการดำเนินการที่พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตำแหน่ง ตามวาระ” ฯลฯ ---------------------------- พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ ฯลฯ มาตรา ๕๒ ห้ามมิให้บคุคลซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นหรือทําหน้าที่กรรมการหรือผู้จัดการ (๑) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย ที่กระทําโดย ทุจริต (๒) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ องคการหรือหน่วยงานของรัฐหรือ เอกชนฐาน ทุจริตตอหนาที่ (๓) เคยถูกให้พนจากตําแหนงกรรมการ หรือมีคําวินิจฉัยเปนที่สุดให้พนจากตําแหนง กรรมการตาม มาตรา ๒๒ (๔) (๔) เคยถูกที่ประชุมใหญมีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงกรรมการเพราะเหตุทุจริตต่อหนาที่ (๕) [๓๑] เคยถูกสั่งให้พ้นจากตำแหน่งกรรมการหรือผู้จัดการตามมาตรา ๘๙/๓ วรรคสอง (๖) [๓๒] เป็นกรรมการหรือผู้จัดการในสหกรณ์ที่ถูกสั่งเลิกตามมาตรา ๘๙/๓ วรรคสอง (๗) [๓๓] เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด ---------------------------------- [๓๑] มาตรา ๕๒ (๕) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ [๓๒] มาตรา ๕๒ (๖) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ [๓๓] มาตรา ๕๒ (๗) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ฯลฯ มาตรา ๑๐๗ ในการเลือกตั้งคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ให้ที่ประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ เลือกตั้งจากผู้แทนสหกรณ์ที่เป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์เป็นกรรมการ ตามจำนวนหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กำหนดในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ 80 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 80 15/5/2566 20:21:41


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 81 ๘๑ “ข้อ ๔๐. วาระอยู่ในตำแหน่ง คณะกรรมการดำเนินการมีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละสองปีนับแต่วัน เลือกตั้ง ในวาระเริ่มแรก เมื่อครบหนึ่งปีนับแต่วันเลือกตั้ง ให้กรรมการดำเนินการออกจากตำแหน่งเป็นจำนวน หนึ่งในสองของกรรมการดำเนินการทั้งหมด (เศษที่เหลือให้ปัดขึ้น) โดยวิธีจับฉลากและให้ถือว่าเป็นการพ้นจาก ตำแหน่งตามวาระ ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการเข้าดำรงตำแหน่งแทนให้ครบจำนวนกรรมการ ดำเนินการตามข้อ ๓๘ ในปีต่อไปให้กรรมการดำเนินการที่อยู่ในตำแหน่งจนครบวาระหรืออยู่นานที่สุดออกจาก ตำแหน่งสลับกันไป ทุก ๆ ปี กรรมการดำเนินการซึ่งพ้นจากตำแหน่ง อาจได้รับเลือกตั้งอีกได้แต่ต้องไม่เกินสองวาระติดต่อกันโดยต้อง พักอย่างน้อยหนึ่งปีทางบัญชี จึงจะสมัครรับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการใหม่ได้ ในกรณีที่มีการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการแทนตำแหน่งที่ว่างให้กรรมการดำเนินการที่ได้รับเลือกตั้งอยู่ ในตำแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของผู้ที่ตนแทน กรรมการดำเนินการที่พ้นจากตำแหน่งก่อนครบวาระไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ ให้ถือว่าเป็นการพ้นจากตำแหน่ง ตามวาระ” ฯลฯ ---------------------------- พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๒ ฯลฯ มาตรา ๕๒ ห้ามมิให้บคุคลซึ่งมีลักษณะดังต่อไปนี้ เป็นหรือทําหน้าที่กรรมการหรือผู้จัดการ (๑) เคยไดรับโทษจําคุกโดยคำพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก ในความผิดเกี่ยวกับทรัพย ที่กระทําโดย ทุจริต (๒) เคยถูกไลออก ปลดออก หรือใหออกจากราชการ องคการหรือหน่วยงานของรัฐหรือ เอกชนฐาน ทุจริตตอหนาที่ (๓) เคยถูกให้พนจากตําแหนงกรรมการ หรือมีคําวินิจฉัยเปนที่สุดให้พนจากตําแหนง กรรมการตาม มาตรา ๒๒ (๔) (๔) เคยถูกที่ประชุมใหญมีมติใหถอดถอนออกจากตําแหนงกรรมการเพราะเหตุทุจริตต่อหนาที่ (๕) [๓๑] เคยถูกสั่งให้พ้นจากตำแหน่งกรรมการหรือผู้จัดการตามมาตรา ๘๙/๓ วรรคสอง (๖) [๓๒] เป็นกรรมการหรือผู้จัดการในสหกรณ์ที่ถูกสั่งเลิกตามมาตรา ๘๙/๓ วรรคสอง (๗) [๓๓] เป็นบุคคลที่มีลักษณะต้องห้ามตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์กำหนด ---------------------------------- [๓๑] มาตรา ๕๒ (๕) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ [๓๒] มาตรา ๕๒ (๖) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ [๓๓] มาตรา ๕๒ (๗) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสหกรณ์(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๒ ฯลฯ มาตรา ๑๐๗ ในการเลือกตั้งคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ให้ที่ประชุมใหญ่ชุมนุมสหกรณ์ เลือกตั้งจากผู้แทนสหกรณ์ที่เป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์เป็นกรรมการ ตามจำนวนหลักเกณฑ์ และวิธีการที่ กำหนดในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 81 IN.indd 81 15/5/2566 20:21:41


82 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๘๒ ฯลฯ ---------------------------- กฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์และสหกรณ์เครดติยูเนี่ยน พ.ศ ๒๕๖๔ ฯลฯ ข้อ ๙ นอกจากลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๕๒ แล้ว กรรมการและผู้จัดการของสหกรณ์ขนาด ใหญ่ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ด้วย (๑) เคยถูกธนาคารแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือสำ นักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย สั่งถอดถอนจากการเป็น กรรมการ ผู้จัดการ ผู้มีอำนาจในการจัดการ หรือที่ปรึกษาของผู้ให้บริการทางการเงินซึ่งอยู่ภายใต้ การ กำกับดูแลของหน่วยงานดังกล่าว เว้นแต่จะพ้นระยะเวลาที่กำหนดห้ามดำรงตำแหน่งดังกล่าวแล้ว หรือ ได้รับการยกเว้นจากหน่วยงานกำกับดูแล แล้วแต่กรณี (๒) มีหรือเคยมีส่วนร่วมในการประกอบธุรกิจหรือการดำเนินกิจการใด ๆ อันผิดกฎหมาย ที่มี ลักษณะเป็นการหลอกลวงผู้อื่นหรือฉ้อโกงประชาชน (๓) เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย (๔) เป็นกรรมการหรือผู้จัดการของสหกรณ์อื่น เว้นแต่เป็นกรรมการของชุมนุมสหกรณ์ ที่สหกรณ์นั้น เป็นสมาชิกอยู่ได้อีกไม่เกินหนึ่งแห่ง (๕) เป็นกรรมการของสหกรณ์ซึ่งพ้นจากตำแหน่งผู้จัดการสหกรณ์นั้นไม่เกินหนึ่งปี หรือ เป็น ผู้จัดการสหกรณ์ซึ่งพ้นจากตำแหน่งกรรมการของสหกรณ์นั้นไม่เกินหนึ่งปี แล้วแต่กรณี (๖) ผิดนัดชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยเกินกว่าเก้าสิบวันกับนิติบุคคลที่เป็นสมาชิกของบริษัท ข้อมูล เครดิตตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิตในระยะเวลาสองปีก่อนวันที่ได้รับ การเลือกตั้งเป็น กรรมการหรือวันที่ทำสัญญาจ้างเป็นผู้จัดการหรือในขณะที่ดำรงตำาแหน่งนั้น (๗) ผิดนัดชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยกับสหกรณ์ที่ตนเป็นสมาชิกในระยะเวลาสองปีทางบัญชี ก่อน วันที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นกรรมการหรือวันที่ทำสัญญาจ้างเป็นผู้จัดการหรือในขณะที่ดำรงตำแหน่งนั้น ฯลฯ ---------------------------- กรรมการดำเนินการในคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ มีจำนวน ๙ คน ต้องพ้นจากตำแหน่ง ตาม ข้อบังคับ ข้อ ๔๑ (๑) “ถึงคราวออกตามวาระ” จำนวน ๔ คน ได้แก่ ๑. นายชำนาญ ลิ้มภักดี กรรมการ ๒. นายวัฒนศักดิ์ ลอยใหม่ กรรมการ ๓. นายกิตติ พิทักษ์นิตินันท์ กรรมการ ๔. นายพิเชฐ หทัยเดชะดุษฎี กรรมการ มีกรรมการเหลืออยู่ในตำแหน่ง ๕ คน ๘๓ แต่ ด้วยชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้แก้ไข ข้อบังคับข้อ ๓๘ โดยจดทะเบียนแก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๕ กำหนดให้มีกรรมการดำเนินการจำนวน ๑๑ คน จึงต้อง เลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ออกตามวาระ ๔ คน และเลือกตั้งเพิ่ม อีก ๒ คน เพื่อให้มีจำนวนกรรมการรวม ๑๑ คน จะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๖ คน โดยใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้ง ตาม“ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการ เลือกตั้งประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” จึงเสนอที่ประชุมใหญ่ เพื่อเลือกตั้งกรรมการดำเนินการจำนวน ๖ คน ซึ่งเลือกตั้งจาก ผู้แทนสหกรณ์สมาชิก โดยจะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๖ คน ตั้งแต่เริ่มรับลงทะเบียนผู้มาประชุม ในเช้าวันนี้ ชอ.สธ. ได้เปิดให้ ผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ที่มีคุณสมบัติตามระเบียบข้อ ๔ เขียนใบสมัคร เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ จำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๖ คน ปรากฏว่ามีผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก ที่มีคุณสมบัติตามระเบียบข้อ ๔ สมัครเข้ารับเลือกตั้ง จำนวน…………คน ถ้ามีผู้สมัคร รวมกันมากกว่า ๖ คน ให้ที่ประชุมเลือกตั้ง “คณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง” จำนวน ๓ คน ตามระเบียบข้อ ๖ “ข้อ ๖ การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม” ที่ประชุม ………………………………………………………….. เมื่อเลือกตั้ง คณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง แล้ว ก่อนจะมีการลงคะแนน จะให้เวลาสำหรับผู้สมัครทุก คนได้แนะนำตัว แล้วจึงให้มีการลงคะแนนเลือกตั้ง ที่ประชุม ………………………………………………………….. 82 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 82 15/5/2566 20:21:42


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 83 ๘๓ แต่ ด้วยชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ได้แก้ไข ข้อบังคับข้อ ๓๘ โดยจดทะเบียนแก้ไข เพิ่มเติมข้อบังคับเมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๕ กำหนดให้มีกรรมการดำเนินการจำนวน ๑๑ คน จึงต้อง เลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ออกตามวาระ ๔ คน และเลือกตั้งเพิ่ม อีก ๒ คน เพื่อให้มีจำนวนกรรมการรวม ๑๑ คน จะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๖ คน โดยใช้หลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้ง ตาม“ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการ เลือกตั้งประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” จึงเสนอที่ประชุมใหญ่ เพื่อเลือกตั้งกรรมการดำเนินการจำนวน ๖ คน ซึ่งเลือกตั้งจาก ผู้แทนสหกรณ์สมาชิก โดยจะอยู่ในตำแหน่งตามวาระ ๒ ปี จำนวน ๖ คน ตั้งแต่เริ่มรับลงทะเบียนผู้มาประชุม ในเช้าวันนี้ ชอ.สธ. ได้เปิดให้ ผู้แทนสหกรณ์สมาชิก ที่มีคุณสมบัติตามระเบียบข้อ ๔ เขียนใบสมัคร เพื่อให้ที่ประชุมใหญ่ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ จำนวนรวมไม่น้อยกว่า ๖ คน ปรากฏว่ามีผู้แทนสหกรณ์ สมาชิก ที่มีคุณสมบัติตามระเบียบข้อ ๔ สมัครเข้ารับเลือกตั้ง จำนวน…………คน ถ้ามีผู้สมัคร รวมกันมากกว่า ๖ คน ให้ที่ประชุมเลือกตั้ง “คณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง” จำนวน ๓ คน ตามระเบียบข้อ ๖ “ข้อ ๖ การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม” ที่ประชุม ………………………………………………………….. เมื่อเลือกตั้ง คณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง แล้ว ก่อนจะมีการลงคะแนน จะให้เวลาสำหรับผู้สมัครทุก คนได้แนะนำตัว แล้วจึงให้มีการลงคะแนนเลือกตั้ง ที่ประชุม ………………………………………………………….. การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 83 IN.indd 83 15/5/2566 20:21:42


84 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๘๔ ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วย การเลือกตั้งประธานกรรรมการ และกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗ ---------------------------- โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๓๗. (๑๓)และ ข้อ ๔๕.(๑๒) ที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๔ ครั้งที่ ๖ เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยความ เห็นชอบของที่ประชุมใหญ่สามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ได้มีมติให้กำหนด ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการ ดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗ ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วย การ เลือกตั้งประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” ข้อ ๒. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ข้อ ๓. ในระเบียบนี้ “ชุมนุมสหกรณ์” หมายความว่า ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “สหกรณ์สมาชิก” หมายความว่า สหกรณ์สมาชิกชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข ไทย จำกัด “คณะกรรมการดำเนินการ” หมายความว่า คณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “กรรมการดำเนินการ” หมายความว่า กรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ผู้แทนสหกรณ์” หมายความว่า ผู้แทนของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับแต่งตั้งจาก สหกรณ์ต้นสังกัด ข้อ ๔. ผู้มีสิทธิสมัคร หรือถูกเสนอชื่อ เข้ารับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (๑) ต้องเป็นกรรมการดำเนินการของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ ดำเนินการของสหกรณ์สมาชิกให้เป็นผู้แทนสหกรณ์ (๒) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องเป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์ มาแล้วไม่น้อย กว่าสิบสองเดือนเต็ม ๘๕ (๓) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วน หนึ่งหุ้น ต่อทุนเรือนหุ้นในวันสิ้นปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์สมาชิกทุกหนึ่งล้านบาท ก่อนวันประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าหก สิบวัน (๔) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ข้อ ๓๙ ข้อ ๕. ในวาระเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ สามารถสมัครรับ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ หรือผู้แทนสหกรณ์ อาจเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ เข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการดำเนินการ ข้อ ๖. การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม ข้อ ๗. การออกเสียงเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงใน การลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ตามสัดส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ดังนี้ (๑) ออกเสียงตามสัดส่วนการถือหุ้นของสหกรณ์ที่ตนเป็นผู้แทน ณ วันสิ้นปีทางบัญชีก่อน ของ ชุมนุมสหกรณ์ดังนี้ ถือหุ้น ๑ – ๓,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๑ เสียง ถือหุ้น ๔,๐๐๐ – ๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๒ เสียง ถือหุ้น ๖,๐๐๐ – ๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๓ เสียง ถือหุ้น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๔ เสียง ถือหุ้น ๑๖,๐๐๐ – ๒๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๕ เสียง ถือหุ้น ๒๖,๐๐๐ – ๓๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๖ เสียง ถือหุ้น ๔๐,๐๐๐ – ๕๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๗ เสียง ถือหุ้นตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ หุ้นขึ้นไป ให้ออกเสียงเพิ่มได้หนึ่งเสียงต่อทุก ๆ ๒๐,๐๐๐ หุ้นที่เพิ่มขึ้น สำหรับสหกรณ์ที่ได้เป็นสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ในปีบัญชีที่มีการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่ นั้นไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน ให้ผู้แทนสหกรณ์นั้นมีเสียงในการลงคะแนน ๑ เสียง ในการประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์ จะมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาประชุมแทนตนและออกเสียง ลงคะแนนแทนตนไม่ได้ (๒) การลงคะแนน ให้ลงคะแนนโดยวิธีลับหรือเปิดเผยก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่ และให้ประธานในที่ ประชุมประกาศผลการนับคะแนนของผู้เข้ารับเลือกตั้งแต่ละคน ให้ที่ประชุมใหญ่คราวนั้นทราบ (๓) ในกรณีที่ผู้รับเลือกตั้งได้คะแนนเท่ากัน จนมีผลให้ไม่สามารถกำหนดได้ว่า ผู้รับเลือกตั้งราย ใดจะเป็นกรรมการที่อยู่ในวาระ ๒ ปี หรือ ๑ ปี หรือ ไม่ได้รับเลือกตั้ง ให้ใช้วิธีการจับฉลากเรียงลำดับ จนครบ จำนวนตามตำแหน่งที่พึงมีได้ในปีนั้น ๆ ข้อ ๘. ในการเลือกตั้งครั้งใด ถ้าต้องเลือกตั้งตำแหน่งประธานกรรมการด้วย ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้ง กรรมการดำเนินการให้มีจำนวน ครบทุกตำแหน่งก่อน แล้วจึงให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการคนหนึ่ง เป็นประธานกรรมการ และให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ได้เท่ากับวาระการเป็นกรรมการดำเนินการที่ เหลืออยู่ของผู้ที่ได้รับเลือกตั้ง 84 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 84 15/5/2566 20:21:42 ๘๕ (๓) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วน หนึ่งหุ้น ต่อทุนเรือนหุ้นในวันสิ้นปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์สมาชิกทุกหนึ่งล้านบาท ก่อนวันประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าหก สิบวัน (๔) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ข้อ ๓๙ ข้อ ๕. ในวาระเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ สามารถสมัครรับ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ หรือผู้แทนสหกรณ์ อาจเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ เข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการดำเนินการ ข้อ ๖. การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม ข้อ ๗. การออกเสียงเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงใน การลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ตามสัดส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ดังนี้ (๑) ออกเสียงตามสัดส่วนการถือหุ้นของสหกรณ์ที่ตนเป็นผู้แทน ณ วันสิ้นปีทางบัญชีก่อน ของ ชุมนุมสหกรณ์ดังนี้ ถือหุ้น ๑ – ๓,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๑ เสียง ถือหุ้น ๔,๐๐๐ – ๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๒ เสียง ถือหุ้น ๖,๐๐๐ – ๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๓ เสียง ถือหุ้น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๔ เสียง ถือหุ้น ๑๖,๐๐๐ – ๒๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๕ เสียง ถือหุ้น ๒๖,๐๐๐ – ๓๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๖ เสียง ถือหุ้น ๔๐,๐๐๐ – ๕๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๗ เสียง ถือหุ้นตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ หุ้นขึ้นไป ให้ออกเสียงเพิ่มได้หนึ่งเสียงต่อทุก ๆ ๒๐,๐๐๐ หุ้นที่เพิ่มขึ้น สำหรับสหกรณ์ที่ได้เป็นสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ในปีบัญชีที่มีการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่ นั้นไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน ให้ผู้แทนสหกรณ์นั้นมีเสียงในการลงคะแนน ๑ เสียง ในการประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์ จะมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาประชุมแทนตนและออกเสียง ลงคะแนนแทนตนไม่ได้ (๒) การลงคะแนน ให้ลงคะแนนโดยวิธีลับหรือเปิดเผยก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่ และให้ประธานในที่ ประชุมประกาศผลการนับคะแนนของผู้เข้ารับเลือกตั้งแต่ละคน ให้ที่ประชุมใหญ่คราวนั้นทราบ (๓) ในกรณีที่ผู้รับเลือกตั้งได้คะแนนเท่ากัน จนมีผลให้ไม่สามารถกำหนดได้ว่า ผู้รับเลือกตั้งราย ใดจะเป็นกรรมการที่อยู่ในวาระ ๒ ปี หรือ ๑ ปี หรือ ไม่ได้รับเลือกตั้ง ให้ใช้วิธีการจับฉลากเรียงลำดับ จนครบ จำนวนตามตำแหน่งที่พึงมีได้ในปีนั้น ๆ ข้อ ๘. ในการเลือกตั้งครั้งใด ถ้าต้องเลือกตั้งตำแหน่งประธานกรรมการด้วย ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้ง กรรมการดำเนินการให้มีจำนวน ครบทุกตำแหน่งก่อน แล้วจึงให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการคนหนึ่ง เป็นประธานกรรมการ และให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ได้เท่ากับวาระการเป็นกรรมการดำเนินการที่ เหลืออยู่ของผู้ที่ได้รับเลือกตั้ง การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 85 IN.indd 85 15/5/2566 20:21:42


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 85 ๘๔ ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วย การเลือกตั้งประธานกรรรมการ และกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗ ---------------------------- โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ ของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๓๗. (๑๓)และ ข้อ ๔๕.(๑๒) ที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการ ชุดที่ ๔ ครั้งที่ ๖ เมื่อวันที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยความ เห็นชอบของที่ประชุมใหญ่สามัญ ครั้งที่ ๑ ประจำปี ๒๕๕๗ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ได้มีมติให้กำหนด ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการ ดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗ ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วย การ เลือกตั้งประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” ข้อ ๒. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นไป ข้อ ๓. ในระเบียบนี้ “ชุมนุมสหกรณ์” หมายความว่า ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “สหกรณ์สมาชิก” หมายความว่า สหกรณ์สมาชิกชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข ไทย จำกัด “คณะกรรมการดำเนินการ” หมายความว่า คณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “กรรมการดำเนินการ” หมายความว่า กรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ผู้แทนสหกรณ์” หมายความว่า ผู้แทนของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับแต่งตั้งจาก สหกรณ์ต้นสังกัด ข้อ ๔. ผู้มีสิทธิสมัคร หรือถูกเสนอชื่อ เข้ารับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (๑) ต้องเป็นกรรมการดำเนินการของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการ ดำเนินการของสหกรณ์สมาชิกให้เป็นผู้แทนสหกรณ์ (๒) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องเป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์ มาแล้วไม่น้อย กว่าสิบสองเดือนเต็ม ๘๕ (๓) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วน หนึ่งหุ้น ต่อทุนเรือนหุ้นในวันสิ้นปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์สมาชิกทุกหนึ่งล้านบาท ก่อนวันประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าหก สิบวัน (๔) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ข้อ ๓๙ ข้อ ๕. ในวาระเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ สามารถสมัครรับ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ หรือผู้แทนสหกรณ์ อาจเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ เข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการดำเนินการ ข้อ ๖. การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม ข้อ ๗. การออกเสียงเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงใน การลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ตามสัดส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ดังนี้ (๑) ออกเสียงตามสัดส่วนการถือหุ้นของสหกรณ์ที่ตนเป็นผู้แทน ณ วันสิ้นปีทางบัญชีก่อน ของ ชุมนุมสหกรณ์ดังนี้ ถือหุ้น ๑ – ๓,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๑ เสียง ถือหุ้น ๔,๐๐๐ – ๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๒ เสียง ถือหุ้น ๖,๐๐๐ – ๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๓ เสียง ถือหุ้น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๔ เสียง ถือหุ้น ๑๖,๐๐๐ – ๒๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๕ เสียง ถือหุ้น ๒๖,๐๐๐ – ๓๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๖ เสียง ถือหุ้น ๔๐,๐๐๐ – ๕๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๗ เสียง ถือหุ้นตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ หุ้นขึ้นไป ให้ออกเสียงเพิ่มได้หนึ่งเสียงต่อทุก ๆ ๒๐,๐๐๐ หุ้นที่เพิ่มขึ้น สำหรับสหกรณ์ที่ได้เป็นสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ในปีบัญชีที่มีการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่ นั้นไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน ให้ผู้แทนสหกรณ์นั้นมีเสียงในการลงคะแนน ๑ เสียง ในการประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์ จะมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาประชุมแทนตนและออกเสียง ลงคะแนนแทนตนไม่ได้ (๒) การลงคะแนน ให้ลงคะแนนโดยวิธีลับหรือเปิดเผยก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่ และให้ประธานในที่ ประชุมประกาศผลการนับคะแนนของผู้เข้ารับเลือกตั้งแต่ละคน ให้ที่ประชุมใหญ่คราวนั้นทราบ (๓) ในกรณีที่ผู้รับเลือกตั้งได้คะแนนเท่ากัน จนมีผลให้ไม่สามารถกำหนดได้ว่า ผู้รับเลือกตั้งราย ใดจะเป็นกรรมการที่อยู่ในวาระ ๒ ปี หรือ ๑ ปี หรือ ไม่ได้รับเลือกตั้ง ให้ใช้วิธีการจับฉลากเรียงลำดับ จนครบ จำนวนตามตำแหน่งที่พึงมีได้ในปีนั้น ๆ ข้อ ๘. ในการเลือกตั้งครั้งใด ถ้าต้องเลือกตั้งตำแหน่งประธานกรรมการด้วย ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้ง กรรมการดำเนินการให้มีจำนวน ครบทุกตำแหน่งก่อน แล้วจึงให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการคนหนึ่ง เป็นประธานกรรมการ และให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ได้เท่ากับวาระการเป็นกรรมการดำเนินการที่ เหลืออยู่ของผู้ที่ได้รับเลือกตั้ง 84 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 84 15/5/2566 20:21:42 ๘๕ (๓) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วน หนึ่งหุ้น ต่อทุนเรือนหุ้นในวันสิ้นปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์สมาชิกทุกหนึ่งล้านบาท ก่อนวันประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าหก สิบวัน (๔) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ข้อ ๓๙ ข้อ ๕. ในวาระเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ สามารถสมัครรับ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ หรือผู้แทนสหกรณ์ อาจเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ เข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการดำเนินการ ข้อ ๖. การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม และเป็นผู้แทนสหกรณ์ที่ไม่มี ส่วนได้ส่วนเสียกับการเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในครั้งนั้น เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานในที่ประชุม ข้อ ๗. การออกเสียงเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงใน การลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ตามสัดส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ดังนี้ (๑) ออกเสียงตามสัดส่วนการถือหุ้นของสหกรณ์ที่ตนเป็นผู้แทน ณ วันสิ้นปีทางบัญชีก่อน ของ ชุมนุมสหกรณ์ดังนี้ ถือหุ้น ๑ – ๓,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๑ เสียง ถือหุ้น ๔,๐๐๐ – ๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๒ เสียง ถือหุ้น ๖,๐๐๐ – ๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๓ เสียง ถือหุ้น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๔ เสียง ถือหุ้น ๑๖,๐๐๐ – ๒๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๕ เสียง ถือหุ้น ๒๖,๐๐๐ – ๓๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๖ เสียง ถือหุ้น ๔๐,๐๐๐ – ๕๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๗ เสียง ถือหุ้นตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ หุ้นขึ้นไป ให้ออกเสียงเพิ่มได้หนึ่งเสียงต่อทุก ๆ ๒๐,๐๐๐ หุ้นที่เพิ่มขึ้น สำหรับสหกรณ์ที่ได้เป็นสมาชิกชุมนุมสหกรณ์ในปีบัญชีที่มีการประชุมใหญ่ ก่อนวันประชุมใหญ่ นั้นไม่น้อยกว่า ๓๐ วัน ให้ผู้แทนสหกรณ์นั้นมีเสียงในการลงคะแนน ๑ เสียง ในการประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์ จะมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาประชุมแทนตนและออกเสียง ลงคะแนนแทนตนไม่ได้ (๒) การลงคะแนน ให้ลงคะแนนโดยวิธีลับหรือเปิดเผยก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่ และให้ประธานในที่ ประชุมประกาศผลการนับคะแนนของผู้เข้ารับเลือกตั้งแต่ละคน ให้ที่ประชุมใหญ่คราวนั้นทราบ (๓) ในกรณีที่ผู้รับเลือกตั้งได้คะแนนเท่ากัน จนมีผลให้ไม่สามารถกำหนดได้ว่า ผู้รับเลือกตั้งราย ใดจะเป็นกรรมการที่อยู่ในวาระ ๒ ปี หรือ ๑ ปี หรือ ไม่ได้รับเลือกตั้ง ให้ใช้วิธีการจับฉลากเรียงลำดับ จนครบ จำนวนตามตำแหน่งที่พึงมีได้ในปีนั้น ๆ ข้อ ๘. ในการเลือกตั้งครั้งใด ถ้าต้องเลือกตั้งตำแหน่งประธานกรรมการด้วย ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้ง กรรมการดำเนินการให้มีจำนวน ครบทุกตำแหน่งก่อน แล้วจึงให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการคนหนึ่ง เป็นประธานกรรมการ และให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ได้เท่ากับวาระการเป็นกรรมการดำเนินการที่ เหลืออยู่ของผู้ที่ได้รับเลือกตั้ง การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 85 IN.indd 85 15/5/2566 20:21:42


86 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๘๖ ข้อ ๙. ให้ประธานกรรมการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข ไทย จำกัด ๘๗ ตารางที่ ๔.๑.๑ ดชันีการถือห้นุของสหกรณ์สมาชิก ณ วนัที่๒๗ มีนาคม ๒๕๖๖ (๖๐ วันก่อนวันประชุมใหญ่) เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติผู้แทนสหกรณ์ที่มีสิทธิสมัครหรือถูกเสนอชื่อเป็นกรรมการตามข้อ ๔ ของระเบียบฯ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 635,284,650 10,000 5,000,000 15.75 2 กรมอนามัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 641,463,700 63,000 31,500,000 98.28 3 โรงพยาบาลราชวิถี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 3,303,764,860 200,000 100,000,000 60.55 4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ๓๐ ก.ย. ๖๕ 999,237,410 100,000 50,000,000 100.10 5 สาธารณสขุนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 5,942,400,610 100,000 50,000,000 16.83 6 โรงพยาบาลล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 679,761,690 14,000 7,000,000 20.62 7 โรงพยาบาลพระปกเกล้า ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,052,867,890 200,000 100,000,000 97.47 8 สาธารณสุขสตูล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 831,788,660 40,000 20,000,000 48.13 9 โรงพยาบาลชลบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,056,179,540 100,000 50,000,000 94.70 10 สาธารณสุขปทุมธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 693,108,930 10,000 5,000,000 14.43 11 โรงพยาบาลสมุทรปราการ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 557,454,000 60,002 30,001,000 107.72 12 ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,058,544,580 120,000 60,000,000 113.42 13 สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู ๓๐ ก.ย. ๖๕ 743,537,610 10,020 5,010,000 13.49 14 ลาออก - - 15 สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,803,192,310 2,000 1,000,000 0.71 16 สาธารณสุขราชบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๔ 1,731,122,270 61,200 30,600,000 35.36 17 สาธารณสุขพิษณุโลก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,796,426,520 20,000 10,000,000 11.14 18 สาธารณสุขจังหวัดน่าน ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,685,932,410 100 50,000 0.06 19 กรมควบคุมโรค ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,678,388,460 40,000 20,000,000 23.84 20 สาธารณสขุจังหวัดฉะเชงิเทรา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 676,317,020 20 10,000 0.03 21 สาธารณสุขศรีสะเกษ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 2,651,737,590 10 5,000 0.00 22 โรงพยาบาลบ้านโป่ง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 275,799,010 20 10,000 0.07 23 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 3,914,567,540 80,000 40,000,000 20.44 24 โรงพยาบาลศรสีงัวาลย์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 211,749,090 280 140,000 1.33 25 สาธารณสุขตาก ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,515,334,820 928 464,000 0.61 26 โรงพยาบาลกาฬสนิธุ์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 586,402,460 10 5,000 0.02 27 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ๓๐ ก.ย. ๖๕ 469,209,600 42,000 21,000,000 89.55 28 โรงพยาบาลสระบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 876,512,800 80,000 40,000,000 91.32 29 โรงพยาบาลแพร่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 630,022,520 300 150,000 0.48 30 โรงพยาบาลสรรพสทิธปิระสงค์ อุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 2,335,523,730 60,000 30,000,000 25.70 31 สาธารณสุขนครสวรรค์ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,866,032,300 10,000 5,000,000 3.49 32 สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 4,851,942,990 40,200 20,100,000 8.29 33 สาธารณสุขนครพนม ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,422,516,570 20 10,000 0.01 34 สาธารณสุขก าแพงเพชร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 939,846,700 100 50,000 0.11 35 สาธารณสุขจันทบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,120,101,490 104,000 52,000,000 92.86 36 โรงพยาบาลประสาท ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 524,838,360 80,000 40,000,000 152.67 37 สาธารณสขุชั ยนาท ๓๐ ก.ย. ๖๕ 995,410,100 100 50,000 0.10 38 องค์การเภสชักรรม ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,044,700,630 100 50,000 0.05 86 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 86 15/5/2566 20:21:43


๘๖ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 87 ข้อ ๙. ให้ประธานกรรมการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข ไทย จำกัด ๘๗ ตารางที่ ๔.๑.๑ ดชันีการถือห้นุของสหกรณ์สมาชิก ณ วนัที่๒๗ มีนาคม ๒๕๖๖ (๖๐ วันก่อนวันประชุมใหญ่) เพื่อตรวจสอบคุณสมบัติผู้แทนสหกรณ์ที่มีสิทธิสมัครหรือถูกเสนอชื่อเป็นกรรมการตามข้อ ๔ ของระเบียบฯ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 635,284,650 10,000 5,000,000 15.75 2 กรมอนามัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 641,463,700 63,000 31,500,000 98.28 3 โรงพยาบาลราชวิถี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 3,303,764,860 200,000 100,000,000 60.55 4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ๓๐ ก.ย. ๖๕ 999,237,410 100,000 50,000,000 100.10 5 สาธารณสขุนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 5,942,400,610 100,000 50,000,000 16.83 6 โรงพยาบาลล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 679,761,690 14,000 7,000,000 20.62 7 โรงพยาบาลพระปกเกล้า ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,052,867,890 200,000 100,000,000 97.47 8 สาธารณสุขสตูล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 831,788,660 40,000 20,000,000 48.13 9 โรงพยาบาลชลบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,056,179,540 100,000 50,000,000 94.70 10 สาธารณสุขปทุมธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 693,108,930 10,000 5,000,000 14.43 11 โรงพยาบาลสมุทรปราการ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 557,454,000 60,002 30,001,000 107.72 12 ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,058,544,580 120,000 60,000,000 113.42 13 สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู ๓๐ ก.ย. ๖๕ 743,537,610 10,020 5,010,000 13.49 14 ลาออก - - 15 สาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,803,192,310 2,000 1,000,000 0.71 16 สาธารณสุขราชบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๔ 1,731,122,270 61,200 30,600,000 35.36 17 สาธารณสุขพิษณุโลก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,796,426,520 20,000 10,000,000 11.14 18 สาธารณสุขจังหวัดน่าน ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,685,932,410 100 50,000 0.06 19 กรมควบคุมโรค ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,678,388,460 40,000 20,000,000 23.84 20 สาธารณสขุจังหวัดฉะเชงิเทรา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 676,317,020 20 10,000 0.03 21 สาธารณสุขศรีสะเกษ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 2,651,737,590 10 5,000 0.00 22 โรงพยาบาลบ้านโป่ง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 275,799,010 20 10,000 0.07 23 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 3,914,567,540 80,000 40,000,000 20.44 24 โรงพยาบาลศรสีงัวาลย์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 211,749,090 280 140,000 1.33 25 สาธารณสุขตาก ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,515,334,820 928 464,000 0.61 26 โรงพยาบาลกาฬสนิธุ์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 586,402,460 10 5,000 0.02 27 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ๓๐ ก.ย. ๖๕ 469,209,600 42,000 21,000,000 89.55 28 โรงพยาบาลสระบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 876,512,800 80,000 40,000,000 91.32 29 โรงพยาบาลแพร่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 630,022,520 300 150,000 0.48 30 โรงพยาบาลสรรพสทิธปิระสงค์ อุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 2,335,523,730 60,000 30,000,000 25.70 31 สาธารณสุขนครสวรรค์ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,866,032,300 10,000 5,000,000 3.49 32 สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 4,851,942,990 40,200 20,100,000 8.29 33 สาธารณสุขนครพนม ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,422,516,570 20 10,000 0.01 34 สาธารณสุขก าแพงเพชร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 939,846,700 100 50,000 0.11 35 สาธารณสุขจันทบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,120,101,490 104,000 52,000,000 92.86 36 โรงพยาบาลประสาท ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 524,838,360 80,000 40,000,000 152.67 37 สาธารณสขุชั ยนาท ๓๐ ก.ย. ๖๕ 995,410,100 100 50,000 0.10 38 องค์การเภสชักรรม ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,044,700,630 100 50,000 0.05 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 87 IN.indd 87 15/5/2566 20:21:44


88 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๘๘ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 39 โรงพยาบาลนครนายก ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 381,819,030 1,100 550,000 2.89 40 โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 355,418,020 20,000 10,000,000 56.34 41 สาธารณสุขล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,025,359,310 10,000 5,000,000 9.76 42 สาธารณสุขสงขลา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,480,789,300 6,000 3,000,000 4.05 43 สาธารณสุขชั ยภมูิ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,600,944,590 20,200 10,100,000 12.63 44 โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,039,793,440 10,000 5,000,000 9.62 45 สาธารณสุขสมุทรปราการ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 171,380,240 100 50,000 0.58 46 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 370,625,500 2,000 1,000,000 5.41 47 สาธารณสุขกระบี่ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,286,112,470 40,000 20,000,000 31.10 48 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 227,210,580 18,000 9,000,000 79.30 49 สาธารณสุขหนองคาย ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,373,746,840 20,000 10,000,000 14.57 50 โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ๓๑ ต.ค. ๖๕ 45,295,090 1,000 500,000 22.22 51 สาธารณสุขเพชรบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,016,047,340 20,000 10,000,000 19.69 52 สาธารณสุขสระบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 820,635,630 100 50,000 0.12 53 โรงพยาบาลเพชรบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 464,627,940 40,000 20,000,000 86.21 54 สาธารณสุขตรัง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,038,606,900 20,000 10,000,000 19.27 55 สาธารณสุขสุโขทัย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 706,665,170 2,000 1,000,000 2.83 56 โรงพยาบาลมะการักษ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 233,319,760 60,000 30,000,000 257.51 57 สาธารณสุขพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 687,754,930 9,600 4,800,000 13.97 58 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงัฆราชองค์ ที่ 17 ๓๑ ก.ค. ๖๕ 167,083,370 15,600 7,800,000 93.41 59 สาธารณสุขชลบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 939,545,280 2,000 1,000,000 2.13 60 โรงพยาบาลศรสีงัวรสโุขทัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 364,306,410 36,000 18,000,000 98.90 61 สาธารณสุขมหาสารคาม ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,608,234,690 20 10,000 0.01 62 สาธารณสุขยโสธร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,282,493,010 20 10,000 0.02 63 สาธารณสุขล าพูน ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,538,422,200 200 100,000 0.13 64 อนามัยสุรินทร์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 2,438,396,570 8,000 4,000,000 3.28 65 สาธารณสขุเชยีงใหม่๓๐ พ.ย. ๖๕ 3,111,304,000 200 100,000 0.06 66 สาธารณสุขนครนายก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 362,267,100 20,000 10,000,000 55.25 67 สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,917,192,690 70,000 35,000,000 24.00 68 สาธารณสุขสมุทรสงคราม ๓๑ ต.ค. ๖๕ 421,136,180 40,000 20,000,000 95.01 69 โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 344,840,140 32,400 16,200,000 94.19 70 สาธารณสุขจังหวัดพังงา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,099,973,380 20 10,000 0.02 71 โรงพยาบาลอ่างทอง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 432,534,150 400 200,000 0.93 72 สาธารณสุขสกลนคร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,838,552,050 10,000 5,000,000 3.52 73 โรงพยาบาลปัตตานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 366,905,700 2,000 1,000,000 5.46 74 โรงพยาบาลร ้อยเอ็ด ๓๐ ก.ย. ๖๕ 120,145,620 20 10,000 0.17 75 สาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 4,020,196,580 20 10,000 0.00 76 สาธารณสุขเลย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,189,298,530 2,020 1,010,000 1.70 77 สาธารณสุขนราธิวาส ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 496,732,080 20,000 10,000,000 40.32 78 สาธารณสุขปัตตานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 432,660,940 406 203,000 0.94 79 สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร ๓๐ ก.ย. ๖๕ 632,122,760 20 10,000 0.03 ๘๙ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 80 กรมการแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,126,161,320 180,000 90,000,000 84.67 81 สาธารณสุขแพร่ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 827,413,720 20 10,000 0.02 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 561,224,330 52,300 26,150,000 93.23 83 สาธารณสุขระยอง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,391,436,350 10,000 5,000,000 7.19 84 โรงพยาบาลอ านาจเจริญ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 67,014,820 20 10,000 0.30 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,634,618,710 10,000 5,000,000 6.12 86 โรงพยาบาลโพธาราม ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 281,270,700 257 128,500 0.91 87 โรงพยาบาลพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 480,038,490 40,000 20,000,000 83.33 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 18,343,270 100 50,000 5.56 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 236,384,200 10,000 5,000,000 42.37 90 สาธารณสุขจังหวัดชุมพร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,416,268,590 20 10,000 0.01 91 สาธารณสุขอุทัยธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,049,967,700 20 10,000 0.02 92 กรมสุขภาพจิต ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,922,172,180 20 10,000 0.01 93 สาธารณสุขพิจิตร ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,352,436,100 10,000 5,000,000 7.40 94 ศนูยส์ง่ เสริมสุขภาพเขต 6 ขอนแก่น ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 159,046,130 10,000 5,000,000 62.89 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 61,690,210 2,000 1,000,000 32.79 96 สาธารณสุขพะเยา ๓๐ พ.ย. ๖๕ 967,943,020 300 150,000 0.31 97 โรงพยาบาลสกลนคร ๓๐ พ.ย. ๖๕ 328,924,170 200 100,000 0.61 88 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 88 15/5/2566 20:21:44


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 89 ๘๙ เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 80 กรมการแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,126,161,320 180,000 90,000,000 84.67 81 สาธารณสุขแพร่ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 827,413,720 20 10,000 0.02 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 561,224,330 52,300 26,150,000 93.23 83 สาธารณสุขระยอง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,391,436,350 10,000 5,000,000 7.19 84 โรงพยาบาลอ านาจเจริญ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 67,014,820 20 10,000 0.30 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,634,618,710 10,000 5,000,000 6.12 86 โรงพยาบาลโพธาราม ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 281,270,700 257 128,500 0.91 87 โรงพยาบาลพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 480,038,490 40,000 20,000,000 83.33 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 18,343,270 100 50,000 5.56 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 236,384,200 10,000 5,000,000 42.37 90 สาธารณสุขจังหวัดชุมพร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,416,268,590 20 10,000 0.01 91 สาธารณสุขอุทัยธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,049,967,700 20 10,000 0.02 92 กรมสุขภาพจิต ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,922,172,180 20 10,000 0.01 93 สาธารณสุขพิจิตร ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,352,436,100 10,000 5,000,000 7.40 94 ศนูยส์ง่ เสริมสุขภาพเขต 6 ขอนแก่น ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 159,046,130 10,000 5,000,000 62.89 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 61,690,210 2,000 1,000,000 32.79 96 สาธารณสุขพะเยา ๓๐ พ.ย. ๖๕ 967,943,020 300 150,000 0.31 97 โรงพยาบาลสกลนคร ๓๐ พ.ย. ๖๕ 328,924,170 200 100,000 0.61 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 89 IN.indd 89 15/5/2566 20:21:45


90 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๙๐ ตารางที่๔.๑.๒ ดัชนีการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วนที่ ๒๗ ั มีนาคม ๒๕๖๖ เฉพาะสหกรณ์ที่มีดัชนีการถือหุ้น ตั้งแต่ 1.00 ชึ้นไป เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 635,284,650 10,000 5,000,000 15.75 2 กรมอนามัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 641,463,700 63,000 31,500,000 98.28 3 โรงพยาบาลราชวิถี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 3,303,764,860 200,000 100,000,000 60.55 4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ๓๐ ก.ย. ๖๕ 999,237,410 100,000 50,000,000 100.10 5 สาธารณสุขนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 5,942,400,610 100,000 50,000,000 16.83 6 โรงพยาบาลล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 679,761,690 14,000 7,000,000 20.62 7 โรงพยาบาลพระปกเกล้า ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,052,867,890 200,000 100,000,000 97.47 8 สาธารณสุขสตูล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 831,788,660 40,000 20,000,000 48.13 9 โรงพยาบาลชลบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,056,179,540 100,000 50,000,000 94.70 10 สาธารณสุขปทุมธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 693,108,930 10,000 5,000,000 14.43 11 โรงพยาบาลสมุทรปราการ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 557,454,000 60,002 30,001,000 107.72 12 ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,058,544,580 120,000 60,000,000 113.42 13 สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู ๓๐ ก.ย. ๖๕ 743,537,610 10,020 5,010,000 13.49 16 สาธารณสุขราชบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๔ 1,731,122,270 61,200 30,600,000 35.36 17 สาธารณสุขพิษณุโลก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,796,426,520 20,000 10,000,000 11.14 19 กรมควบคุมโรค ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,678,388,460 40,000 20,000,000 23.84 23 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 3,914,567,540 80,000 40,000,000 20.44 24 โรงพยาบาลศรีสงวาั ลย์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 211,749,090 280 140,000 1.33 27 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ๓๐ ก.ย. ๖๕ 469,209,600 42,000 21,000,000 89.55 28 โรงพยาบาลสระบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 876,512,800 80,000 40,000,000 91.32 30 โรงพยาบาลสรรพสทิธปิระสงค์ อุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 2,335,523,730 60,000 30,000,000 25.70 31 สาธารณสุขนครสวรรค์ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,866,032,300 10,000 5,000,000 3.49 32 สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 4,851,942,990 40,200 20,100,000 8.29 35 สาธารณสุขจันทบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,120,101,490 104,000 52,000,000 92.86 36 โรงพยาบาลประสาท ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 524,838,360 80,000 40,000,000 152.67 เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 39 โรงพยาบาลนครนายก ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 381,819,030 1,100 550,000 2.89 40 โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 355,418,020 20,000 10,000,000 56.34 41 สาธารณสุขล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,025,359,310 10,000 5,000,000 9.76 42 สาธารณสุขสงขลา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,480,789,300 6,000 3,000,000 4.05 43 สาธารณสขุชั ยภมูิ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,600,944,590 20,200 10,100,000 12.63 44 โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,039,793,440 10,000 5,000,000 9.62 46 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 370,625,500 2,000 1,000,000 5.41 47 สาธารณสุขกระบี่ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,286,112,470 40,000 20,000,000 31.10 48 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 227,210,580 18,000 9,000,000 79.30 49 สาธารณสุขหนองคาย ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,373,746,840 20,000 10,000,000 14.57 50 โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ๓๑ ต.ค. ๖๕ 45,295,090 1,000 500,000 22.22 51 สาธารณสุขเพชรบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,016,047,340 20,000 10,000,000 19.69 ๙๑ 53 โรงพยาบาลเพชรบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 464,627,940 40,000 20,000,000 86.21 54 สาธารณสุขตรัง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,038,606,900 20,000 10,000,000 19.27 55 สาธารณสุขสุโขทัย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 706,665,170 2,000 1,000,000 2.83 56 โรงพยาบาลมะการักษ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 233,319,760 60,000 30,000,000 257.51 57 สาธารณสุขพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 687,754,930 9,600 4,800,000 13.97 58 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงัฆราชองค์ ที่ 17 ๓๑ ก.ค. ๖๕ 167,083,370 15,600 7,800,000 93.41 59 สาธารณสุขชลบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 939,545,280 2,000 1,000,000 2.13 60 โรงพยาบาลศรสีงัวรสุโขทัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 364,306,410 36,000 18,000,000 98.90 64 อนามัยสุรินทร์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 2,438,396,570 8,000 4,000,000 3.28 66 สาธารณสุขนครนายก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 362,267,100 20,000 10,000,000 55.25 67 สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,917,192,690 70,000 35,000,000 24.00 68 สาธารณสุขสมุทรสงคราม ๓๑ ต.ค. ๖๕ 421,136,180 40,000 20,000,000 95.01 69 โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 344,840,140 32,400 16,200,000 94.19 72 สาธารณสุขสกลนคร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,838,552,050 10,000 5,000,000 3.52 73 โรงพยาบาลปัตตานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 366,905,700 2,000 1,000,000 5.46 76 สาธารณสุขเลย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,189,298,530 2,020 1,010,000 1.70 77 สาธารณสุขนราธิวาส ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 496,732,080 20,000 10,000,000 40.32 เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 80 กรมการแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,126,161,320 180,000 90,000,000 84.67 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 561,224,330 52,300 26,150,000 93.23 83 สาธารณสุขระยอง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,391,436,350 10,000 5,000,000 7.19 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,634,618,710 10,000 5,000,000 6.12 87 โรงพยาบาลพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 480,038,490 40,000 20,000,000 83.33 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 18,343,270 100 50,000 5.56 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 236,384,200 10,000 5,000,000 42.37 93 สาธารณสุขพิจิตร ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,352,436,100 10,000 5,000,000 7.40 94 ศนูยส์ง่เสรมิ สขุภาพเขต 6 ขอนแก่น ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 159,046,130 10,000 5,000,000 62.89 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 61,690,210 2,000 1,000,000 32.79 90 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 90 15/5/2566 20:21:45 ๙๑ 53 โรงพยาบาลเพชรบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 464,627,940 40,000 20,000,000 86.21 54 สาธารณสุขตรัง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,038,606,900 20,000 10,000,000 19.27 55 สาธารณสุขสุโขทัย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 706,665,170 2,000 1,000,000 2.83 56 โรงพยาบาลมะการักษ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 233,319,760 60,000 30,000,000 257.51 57 สาธารณสุขพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 687,754,930 9,600 4,800,000 13.97 58 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงัฆราชองค์ ที่ 17 ๓๑ ก.ค. ๖๕ 167,083,370 15,600 7,800,000 93.41 59 สาธารณสุขชลบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 939,545,280 2,000 1,000,000 2.13 60 โรงพยาบาลศรสีงัวรสุโขทัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 364,306,410 36,000 18,000,000 98.90 64 อนามัยสุรินทร์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 2,438,396,570 8,000 4,000,000 3.28 66 สาธารณสุขนครนายก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 362,267,100 20,000 10,000,000 55.25 67 สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,917,192,690 70,000 35,000,000 24.00 68 สาธารณสุขสมุทรสงคราม ๓๑ ต.ค. ๖๕ 421,136,180 40,000 20,000,000 95.01 69 โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 344,840,140 32,400 16,200,000 94.19 72 สาธารณสุขสกลนคร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,838,552,050 10,000 5,000,000 3.52 73 โรงพยาบาลปัตตานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 366,905,700 2,000 1,000,000 5.46 76 สาธารณสุขเลย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,189,298,530 2,020 1,010,000 1.70 77 สาธารณสุขนราธิวาส ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 496,732,080 20,000 10,000,000 40.32 เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 80 กรมการแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,126,161,320 180,000 90,000,000 84.67 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 561,224,330 52,300 26,150,000 93.23 83 สาธารณสุขระยอง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,391,436,350 10,000 5,000,000 7.19 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,634,618,710 10,000 5,000,000 6.12 87 โรงพยาบาลพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 480,038,490 40,000 20,000,000 83.33 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 18,343,270 100 50,000 5.56 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 236,384,200 10,000 5,000,000 42.37 93 สาธารณสุขพิจิตร ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,352,436,100 10,000 5,000,000 7.40 94 ศนูยส์ง่เสรมิ สขุภาพเขต 6 ขอนแก่น ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 159,046,130 10,000 5,000,000 62.89 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 61,690,210 2,000 1,000,000 32.79 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 91 IN.indd 91 15/5/2566 20:21:46


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 91 ๙๐ ตารางที่๔.๑.๒ ดัชนีการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วนที่ ๒๗ ั มีนาคม ๒๕๖๖ เฉพาะสหกรณ์ที่มีดัชนีการถือหุ้น ตั้งแต่ 1.00 ชึ้นไป เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 1 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 635,284,650 10,000 5,000,000 15.75 2 กรมอนามัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 641,463,700 63,000 31,500,000 98.28 3 โรงพยาบาลราชวิถี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 3,303,764,860 200,000 100,000,000 60.55 4 โรงพยาบาลเลดิ สนิ๓๐ ก.ย. ๖๕ 999,237,410 100,000 50,000,000 100.10 5 สาธารณสุขนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 5,942,400,610 100,000 50,000,000 16.83 6 โรงพยาบาลล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 679,761,690 14,000 7,000,000 20.62 7 โรงพยาบาลพระปกเกล้า ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,052,867,890 200,000 100,000,000 97.47 8 สาธารณสุขสตูล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 831,788,660 40,000 20,000,000 48.13 9 โรงพยาบาลชลบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,056,179,540 100,000 50,000,000 94.70 10 สาธารณสุขปทุมธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 693,108,930 10,000 5,000,000 14.43 11 โรงพยาบาลสมุทรปราการ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 557,454,000 60,002 30,001,000 107.72 12 ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,058,544,580 120,000 60,000,000 113.42 13 สาธารณสุขจังหวัดหนองบัวล าภู ๓๐ ก.ย. ๖๕ 743,537,610 10,020 5,010,000 13.49 16 สาธารณสุขราชบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๔ 1,731,122,270 61,200 30,600,000 35.36 17 สาธารณสุขพิษณุโลก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,796,426,520 20,000 10,000,000 11.14 19 กรมควบคุมโรค ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,678,388,460 40,000 20,000,000 23.84 23 สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 3,914,567,540 80,000 40,000,000 20.44 24 โรงพยาบาลศรีสงวาั ลย์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 211,749,090 280 140,000 1.33 27 โรงพยาบาลศูนย์นครปฐม ๓๐ ก.ย. ๖๕ 469,209,600 42,000 21,000,000 89.55 28 โรงพยาบาลสระบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 876,512,800 80,000 40,000,000 91.32 30 โรงพยาบาลสรรพสทิธปิระสงค์ อุบลราชธานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 2,335,523,730 60,000 30,000,000 25.70 31 สาธารณสุขนครสวรรค์ ๓๑ ต.ค. ๖๕ 2,866,032,300 10,000 5,000,000 3.49 32 สาธารณสุขสุราษฎร์ธานี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 4,851,942,990 40,200 20,100,000 8.29 35 สาธารณสุขจันทบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,120,101,490 104,000 52,000,000 92.86 36 โรงพยาบาลประสาท ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 524,838,360 80,000 40,000,000 152.67 เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 39 โรงพยาบาลนครนายก ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 381,819,030 1,100 550,000 2.89 40 โรงพยาบาลสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 355,418,020 20,000 10,000,000 56.34 41 สาธารณสุขล าปาง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,025,359,310 10,000 5,000,000 9.76 42 สาธารณสุขสงขลา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,480,789,300 6,000 3,000,000 4.05 43 สาธารณสขุชั ยภมูิ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,600,944,590 20,200 10,100,000 12.63 44 โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,039,793,440 10,000 5,000,000 9.62 46 โรงพยาบาลมหาราชนครราชสมีา ๓๐ ก.ย. ๖๕ 370,625,500 2,000 1,000,000 5.41 47 สาธารณสุขกระบี่ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,286,112,470 40,000 20,000,000 31.10 48 โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 227,210,580 18,000 9,000,000 79.30 49 สาธารณสุขหนองคาย ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,373,746,840 20,000 10,000,000 14.57 50 โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ๓๑ ต.ค. ๖๕ 45,295,090 1,000 500,000 22.22 51 สาธารณสุขเพชรบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,016,047,340 20,000 10,000,000 19.69 ๙๑ 53 โรงพยาบาลเพชรบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 464,627,940 40,000 20,000,000 86.21 54 สาธารณสุขตรัง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,038,606,900 20,000 10,000,000 19.27 55 สาธารณสุขสุโขทัย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 706,665,170 2,000 1,000,000 2.83 56 โรงพยาบาลมะการักษ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 233,319,760 60,000 30,000,000 257.51 57 สาธารณสุขพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 687,754,930 9,600 4,800,000 13.97 58 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงัฆราชองค์ ที่ 17 ๓๑ ก.ค. ๖๕ 167,083,370 15,600 7,800,000 93.41 59 สาธารณสุขชลบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 939,545,280 2,000 1,000,000 2.13 60 โรงพยาบาลศรสีงัวรสุโขทัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 364,306,410 36,000 18,000,000 98.90 64 อนามัยสุรินทร์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 2,438,396,570 8,000 4,000,000 3.28 66 สาธารณสุขนครนายก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 362,267,100 20,000 10,000,000 55.25 67 สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,917,192,690 70,000 35,000,000 24.00 68 สาธารณสุขสมุทรสงคราม ๓๑ ต.ค. ๖๕ 421,136,180 40,000 20,000,000 95.01 69 โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 344,840,140 32,400 16,200,000 94.19 72 สาธารณสุขสกลนคร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,838,552,050 10,000 5,000,000 3.52 73 โรงพยาบาลปัตตานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 366,905,700 2,000 1,000,000 5.46 76 สาธารณสุขเลย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,189,298,530 2,020 1,010,000 1.70 77 สาธารณสุขนราธิวาส ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 496,732,080 20,000 10,000,000 40.32 เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 80 กรมการแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,126,161,320 180,000 90,000,000 84.67 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 561,224,330 52,300 26,150,000 93.23 83 สาธารณสุขระยอง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,391,436,350 10,000 5,000,000 7.19 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,634,618,710 10,000 5,000,000 6.12 87 โรงพยาบาลพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 480,038,490 40,000 20,000,000 83.33 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 18,343,270 100 50,000 5.56 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 236,384,200 10,000 5,000,000 42.37 93 สาธารณสุขพิจิตร ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,352,436,100 10,000 5,000,000 7.40 94 ศนูยส์ง่เสรมิ สขุภาพเขต 6 ขอนแก่น ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 159,046,130 10,000 5,000,000 62.89 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 61,690,210 2,000 1,000,000 32.79 90 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 90 15/5/2566 20:21:45 ๙๑ 53 โรงพยาบาลเพชรบุรี ๓๑ ต.ค. ๖๕ 464,627,940 40,000 20,000,000 86.21 54 สาธารณสุขตรัง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 1,038,606,900 20,000 10,000,000 19.27 55 สาธารณสุขสุโขทัย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 706,665,170 2,000 1,000,000 2.83 56 โรงพยาบาลมะการักษ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 233,319,760 60,000 30,000,000 257.51 57 สาธารณสุขพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 687,754,930 9,600 4,800,000 13.97 58 โรงพยาบาลสมเด็จพระสงัฆราชองค์ ที่ 17 ๓๑ ก.ค. ๖๕ 167,083,370 15,600 7,800,000 93.41 59 สาธารณสุขชลบุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 939,545,280 2,000 1,000,000 2.13 60 โรงพยาบาลศรสีงัวรสุโขทัย ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 364,306,410 36,000 18,000,000 98.90 64 อนามัยสุรินทร์ ๓๐ พ.ย. ๖๕ 2,438,396,570 8,000 4,000,000 3.28 66 สาธารณสุขนครนายก ๓๑ ต.ค. ๖๕ 362,267,100 20,000 10,000,000 55.25 67 สาธารณสุขจังหวัดนครศรีธรรมราช ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,917,192,690 70,000 35,000,000 24.00 68 สาธารณสุขสมุทรสงคราม ๓๑ ต.ค. ๖๕ 421,136,180 40,000 20,000,000 95.01 69 โรงพยาบาลประจวบคีรีขันธ์ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 344,840,140 32,400 16,200,000 94.19 72 สาธารณสุขสกลนคร ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,838,552,050 10,000 5,000,000 3.52 73 โรงพยาบาลปัตตานี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 366,905,700 2,000 1,000,000 5.46 76 สาธารณสุขเลย ๓๐ พ.ย. ๖๕ 1,189,298,530 2,020 1,010,000 1.70 77 สาธารณสุขนราธิวาส ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 496,732,080 20,000 10,000,000 40.32 เลขที่ สมาชกิ สหกรณ์ออมทรัพย์.........จ ากัด ณ วันปิด บัญชี ทุนเรือนหุ้น ถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ดัชนีการ หุ้น บาท ถือหุ้น 80 กรมการแพทย์ ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 2,126,161,320 180,000 90,000,000 84.67 82 สาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 561,224,330 52,300 26,150,000 93.23 83 สาธารณสุขระยอง ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,391,436,350 10,000 5,000,000 7.19 85 โรงพยาบาลหาดใหญ่ ๓๐ ก.ย. ๖๕ 1,634,618,710 10,000 5,000,000 6.12 87 โรงพยาบาลพัทลุง ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 480,038,490 40,000 20,000,000 83.33 88 โรงพยาบาลแม่และเด็กเมืองพล ๓๐ ก.ย. ๖๕ 18,343,270 100 50,000 5.56 89 โรงพยาบาลอินทร์บุรี ๓๐ ก.ย. ๖๕ 236,384,200 10,000 5,000,000 42.37 93 สาธารณสุขพิจิตร ๓๑ ต.ค. ๖๕ 1,352,436,100 10,000 5,000,000 7.40 94 ศนูยส์ง่เสรมิ สขุภาพเขต 6 ขอนแก่น ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 159,046,130 10,000 5,000,000 62.89 95ก อุบลรักษ์ ธนบุรี ๓๑ ธ.ค. ๖๕ 61,690,210 2,000 1,000,000 32.79 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 91 IN.indd 91 15/5/2566 20:21:46


92 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๙๒ วาระที่ วาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๒ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ระเบียบว่าด้วยการเลือกตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการด าเนินการ ตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากดั ข้อ ๓๗ อา นาจและหน้าที่ของที่ประชุมใหญ่ ที่ประชุมใหญ่มีอ านาจและหน้าที่พิจารณาวินิจฉัย ปัญหาท้ งปวงที่ ัเกิดข้ึนเกี่ยวกบักิจการของชุมนุมสหกรณ์ซ่ึงรวมท้ งัในขอ้ต่อไปน้ี ฯลฯ (๑๓) พิจารณาให้ความเห็นชอบ ระเบียบว่าด้วยการเลือกต้ งประธ ัานกรรมการ กรรมการ ด าเนินการ และผู้ตรวจสอบกิจการของชุมนุมสหกรณ์ ฯลฯ ความเป็นมา ๑. ตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๙ ได้กำหนด ลักษณะต้องห้าม ของผู้เป็นกรรมการดำเนินการชองสหกรณ์ ซึ่งลักษณะต้องห้ามนี้ยังไม่ได้กำหนดไว้ในระเบียบฯ จึงเห็นสมควรให้กำหนดในระเบียบฯ ด้วย ๒. ตามการจัดมาตรฐานสหกรณ์ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ เกณฑ์หลักข้อที่ ๔ กำหนดว่า “สหกรณ์ต้องมี สมาชิกไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๖๐ ของสมาชิกทั้งหมด ร่วมทำธุรกิจกับสหกรณ์” เป็นผลให้ ชอ.สธ.มีการดำเนินงาน ไม่ผ่านมาตรฐาน เนื่องจากปัจจุบันมีสหกรณ์สมาชิกร่วมทำธุรกิจกับชุมนุมสหกรณ์ฯ ราวร้อยละ ๕๐ ของสมาชิก ทั้งหมด ดังนั้นเพื่อให้ผู้ที่จะสมัครเป็นกรรมการดำเนินการ ควรจะมาจากสหกรณ์ต้นสังกัดที่เป็นแบบอย่างด้วย การ เป็นสหกรณ์สมาชิกที่ทำธุรกิจ โดยการฝากเงินประเภทประจำ กับ ชุมนุมสหกรณ์อย่างน้อย หนึ่งหมื่นบาท ๓ ในการประชุมใหญ่ที่ผ่านมา ผู้แทนสหกรณ์ที่มาประชุม มีจำนวนมากกว่าองค์ประชุมเพียงเล็กน้อย มีความเสี่ยงที่ องค์ประชุมจะไม่ครบ ดังนั้นผู้จะเป็นกรรมการดำเนินการควรจะเป็นแบบอย่างในการทำหน้าที่ ตามที่กำหนดในการข้อบังคับ โดยการกำหนดในระเบียบฯ ให้สหกรณ์ต้นสังกัด ต้องมีผู้แทนเข้าประชุมใหญ่ครั้ง ล่าสุด จึงเห็นสมควรให้กำหนด คุณสมบัติของผู้เข้ารับเลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ ต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ตามที่กำหนดในกฎกระทรวงฯ โดยเพิ่มในระเบียบข้อ ๕ (๗) และสหกรณ์ต้นสังกัด ควรมีการทำธุรกิจ กับชุมนุมสหกรณ์ โดยเพิ่มในระเบียบข้อ ๕ (๔) และส่งผู้แทนเข้าประชุมใหญ่อย่างสม่ำเสมอ โดยเพิ่มในระเบียบข้อ ๕ (๕) ๙๓ คณะกรรมการด าเนินการได้ยกร่างระเบียบฯ และขอเสนอให้ที่ประชุมใหญ่พจิารณาให้ความเห็นชอบตามร่าง ระเบียบฯ ในหน้วถัดไป มติที่ประชุม ………………………………………………………….. 92 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 92 15/5/2566 20:21:46


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 93 ๙๓ คณะกรรมการด าเนินการได้ยกร่างระเบียบฯ และขอเสนอให้ที่ประชุมใหญ่พจิารณาให้ความเห็นชอบตามร่าง ระเบียบฯ ในหน้วถัดไป มติที่ประชุม ………………………………………………………….. การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 93 IN.indd 93 15/5/2566 20:21:46


94 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๙๔ ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วย การเลือกตั้งประธานกรรรมการ และกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๖๖ โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการของ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๓๗. (๑๓) และข้อ ๔๕.(๑๒) ที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ ครั้งที่ ๘ เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้มีมติให้กำหนดระเบียบ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๖๖ ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๑. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๖๖ ข้อ ๒. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๖ เป็นต้นไป ข้อ ๓. ให้ยกเลิก “ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้งประธาน กรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ข้อ ๔. ในระเบียบนี้ “ชุมนุมสหกรณ์” หมายความว่า ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “สหกรณ์สมาชิก” หมายความว่า สหกรณ์สมาชิกชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “คณะกรรมการดำเนินการ” หมายความว่า คณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “กรรมการดำเนินการ” หมายความว่า กรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ผู้แทนสหกรณ์” หมายความว่า ผู้แทนของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับแต่งตั้งจาก สหกรณ์ต้นสังกัด “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ๙๔ ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วย การเลือกตั้งประธานกรรรมการ และกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๖๖ ---------------------------- โดยที่เป็นการสมควรกำหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการของ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด อาศัยอำนาจตามความในข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ข้อ ๓๗. (๑๓) และข้อ ๔๕.(๑๒) ที่ประชุมคณะกรรมการดำเนินการชุดที่ ๑๓ ครั้งที่ ๘ เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ โดย ความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี ๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๖๖ ได้มีมติให้กำหนดระเบียบ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้งประธานกรรมการ และกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๖๖ ไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ ๘. ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้ง ประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๖๖ ข้อ ๙. ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๖ เป็นต้นไป ข้อ ๑๐. ให้ยกเลิก “ระเบียบชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ว่าด้วยการเลือกตั้งประธาน กรรมการและกรรมการดำเนินการ พ.ศ. ๒๕๕๗” ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๗ ข้อ ๑๑. ในระเบียบนี้ “ชุมนุมสหกรณ์” หมายความว่า ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “สหกรณ์สมาชิก” หมายความว่า สหกรณ์สมาชิกชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “คณะกรรมการดำเนินการ” หมายความว่า คณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ประธานกรรมการ” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “กรรมการดำเนินการ” หมายความว่า กรรมการดำเนินการชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จำกัด “ผู้แทนสหกรณ์” หมายความว่า ผู้แทนของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับแต่งตั้งจาก สหกรณ์ต้นสังกัด “เจ้าหน้าที่” หมายความว่า เจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด ๙๕ ข้อ ๑๒. ผู้มีสิทธิสมัคร หรือถูกเสนอชื่อ เข้ารับเลือกตั้งเป็นประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ ต้องมี คุณสมบัติ ดังนี้ (๑) ต้องเป็นกรรมการดำเนินการของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการดำเนินการ ให้เป็นผู้แทนของสหกรณ์สมาชิก (๒) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องเป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์ มาแล้วไม่น้อยกว่า สิบสองเดือนเต็ม (๓) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วนหนึ่ง หุ้น ต่อทุนเรือนหุ้นในวันสิ้นปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์สมาชิกทุกหนึ่งล้านบาท ก่อนวันประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าหกสิบวัน (๔) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องมีเงินฝากในชุมนุมสหกรณ์ ประเภทประจำ ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑๒ เดือน จำนวนเงินไม่น้อยกว่า หนึ่งหมื่นบาท ก่อนถึงวันเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า เก้าสิบวัน (๕) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องมีผู้แทนเข้าประชุมใหญ่สามัญ หรือ วิสามัญ ครั้ง ส่าสุด และอยู่ในที่ประชุมจนปิดประชุม (๖) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ข้อ ๓๙. (๗) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดติยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๙. ข้อ ๑๓. ในวาระเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ สามารถสมัครรับ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ หรือผู้แทนสหกรณ์ อาจเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ เข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการดำเนินการ ข้อ ๑๔.การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานกรรมการ ข้อ ๑๕.การออกเสียงในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ตาม สัดส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ดังนี้ (๔) การนับคะแนนให้นับตามสัดส่วนการถือหุ้นของสหกรณ์ที่มีอยู่ในชุมนุมสหกรณ์ ณ วันสิ้นปีทาง บัญชีของชุมนุมสหกรณ์ดังนี้ ถือหุ้น ๑ – ๓,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๑ เสียง ถือหุ้น ๔,๐๐๐ – ๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๒ เสียง ถือหุ้น ๖,๐๐๐ – ๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๓ เสียง ถือหุ้น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๔ เสียง ถือหุ้น ๑๖,๐๐๐ – ๒๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๕ เสียง ถือหุ้น ๒๖,๐๐๐ – ๓๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๖ เสียง ถือหุ้น ๔๐,๐๐๐ – ๕๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๗ เสียง ถือหุ้นตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ หุ้นขึ้นไป ให้ออกเสียงเพิ่มได้หนึ่งเสียงต่อทุกๆ ๒๐,๐๐๐ หุ้นที่เพิ่มขึ้น 94 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 94 15/5/2566 20:21:47 ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๖ เป็นต้นไป


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ๙๕กัด | 95 ข้อ ๕. ผู้มีสิทธิสมัคร หรือถูกเสนอชื่อ เข้ารับเลือกตั้งเป็นประธานกรรมการและกรรมการดำเนินการ ต้องมี คุณสมบัติ ดังนี้ (๑) ต้องเป็นกรรมการดำเนินการของสหกรณ์สมาชิกที่ได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการดำเนินการ ให้เป็นผู้แทนของสหกรณ์สมาชิก (๒) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องเป็นสมาชิกของชุมนุมสหกรณ์ มาแล้วไม่น้อยกว่า สิบสองเดือนเต็ม (๓) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องถือหุ้นในชุมนุมสหกรณ์ ไม่น้อยกว่าอัตราส่วนหนึ่ง หุ้น ต่อทุนเรือนหุ้นในวันสิ้นปีบัญชีล่าสุดของสหกรณ์สมาชิกทุกหนึ่งล้านบาท ก่อนวันประชุมใหญ่ไม่น้อยกว่าหกสิบวัน (๔) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องมีเงินฝากในชุมนุมสหกรณ์ ประเภทประจำ ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑๒ เดือน จำนวนเงินไม่น้อยกว่า หนึ่งหมื่นบาท ก่อนถึงวันเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่า เก้าสิบวัน (๕) สหกรณ์ต้นสังกัดของผู้เข้ารับการเลือกตั้ง ต้องมีผู้แทนเข้าประชุมใหญ่สามัญ หรือ วิสามัญ ครั้ง ส่าสุด และอยู่ในที่ประชุมจนปิดประชุม (๖) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อบังคับชุมนุมสหกรณ์ ข้อ ๓๙. (๗) ไม่มีลักษณะต้องห้ามตามกฎกระทรวง การดำเนินงานและการกำกับดูแลสหกรณ์ออมทรัพย์ และสหกรณ์เครดติยูเนี่ยน พ.ศ. ๒๕๖๔ ข้อ ๙. ข้อ ๖. ในวาระเลือกตั้งกรรมการดำเนินการในที่ประชุมใหญ่ ผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ สามารถสมัครรับ เลือกตั้งเป็นกรรมการดำเนินการ หรือผู้แทนสหกรณ์ อาจเสนอชื่อผู้มีคุณสมบัติตามข้อ ๔ เข้ารับการเลือกตั้งเป็น กรรมการดำเนินการ ข้อ ๗. การนับคะแนน ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งผู้แทนสหกรณ์เป็นคณะกรรมการนับคะแนนเลือกตั้ง จำนวน ๓ คน และส่งผลการนับคะแนนเลือกตั้งให้ประธานกรรมการ ข้อ ๘. การออกเสียงในที่ประชุมใหญ่ ผู้แทนสหกรณ์คนหนึ่งให้มีเสียงในการลงคะแนนในที่ประชุมใหญ่ตาม สัดส่วนของการถือหุ้นของสหกรณ์สมาชิก ณ วันสิ้นปีทางบัญชี ดังนี้ (๑) การนับคะแนนให้นับตามสัดส่วนการถือหุ้นของสหกรณ์ที่มีอยู่ในชุมนุมสหกรณ์ ณ วันสิ้นปีทาง บัญชีของชุมนุมสหกรณ์ดังนี้ ถือหุ้น ๑ – ๓,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๑ เสียง ถือหุ้น ๔,๐๐๐ – ๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๒ เสียง ถือหุ้น ๖,๐๐๐ – ๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๓ เสียง ถือหุ้น ๑๐,๐๐๐ – ๑๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๔ เสียง ถือหุ้น ๑๖,๐๐๐ – ๒๕,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๕ เสียง ถือหุ้น ๒๖,๐๐๐ – ๓๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๖ เสียง ถือหุ้น ๔๐,๐๐๐ – ๕๙,๙๙๙ หุ้น ออกเสียงได้ ๗ เสียง ถือหุ้นตั้งแต่ ๔๐,๐๐๐ หุ้นขึ้นไป ให้ออกเสียงเพิ่มได้หนึ่งเสียงต่อทุกๆ ๒๐,๐๐๐ หุ้นที่เพิ่มขึ้น


96 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๙๖ ในการประชุมใหญ่ผู้แทนสหกรณ์สมาชิกจะมอบอำนาจให้ผู้อื่นมาประชุมแทนตนและออกเสียง ลงคะแนนแทนตนไม่ได้ (๒) การลงคะแนนให้ลงคะแนนโดยวิธีลับหรือเปิดเผยก็ได้ตามมติที่ประชุมใหญ่ และให้ประธานในที่ ประชุม ประกาศผลการนับคะแนนของผู้สมัครรับเลือกตั้ง แต่ละคนให้ที่ประชุมใหญ่ทราบ (๓) ในกรณีที่ผู้รับเลือกตั้งได้คะแนนเท่ากัน จนมีผลให้ไม่สามารถกำหนดได้ว่า ผู้รับเลือกตั้งรายใด จะเป็นกรรมการที่อยู่ในวาระ ๒ ปี หรือ ๑ ปี หรือไม่ได้รับเลือกตั้ง ให้ใช้วิธีการจับฉลากเรียงลำดับ จนครบจำนวน ตามตำแหน่งที่พึงมีได้ ในปีนั้น ๆ ข้อ ๙. ในการเลือกตั้งครั้งใด ถ้าต้องเลือกตั้งตำแหน่งประธานกรรมการด้วย ให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้ง กรรมการดำเนินการให้มีจำนวน ครบทุกตำแหน่งก่อน แล้วจึงให้ที่ประชุมใหญ่เลือกตั้งกรรมการดำเนินการคนหนึ่ง เป็นประธานกรรมการ และให้ดำรงตำแหน่งประธานกรรมการ ได้เท่ากับวาระการเป็นกรรมการดำเนินการที่ เหลืออยู่ของผู้ที่ได้รับเลือกตั้ง ข้อ ๑๐. ให้ประธานกรรมการดำเนินการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ ๒๗ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์) ประธานกรรมการดำเนินการ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุข ไทย จำกัด


ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำ กัด | 97 ๙๗ วาระที่ วาระที่ ๔ เรื่องเพื่อพิจารณา ๔.๓ พิจารณาอน ุ มัติงบการเงินประจ าปี ๒๕๖๕ ตามข้อบังคับของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จำกัด “ข้อ ๖๒. การเสนองบดุลต่อที่ประชุมใหญ่ ให้คณะกรรมการดำเนินการเสนองบดุลซึ่งผู้สอบบัญชีได้ ตรวจสอบและรับรองแล้วต่อที่ประชุมใหญ่สามัญ เพื่อพิจารณาอนุมัติภายในหนึ่งร้อยห้าสิบวันนับแต่วันสิ้นปีทาง บัญชี ให้คณะกรรมการดำเนินการเสนอรายงานประจำปีแสดงผลการดำเนินงานของชุมนุมสหกรณ์ต่อที่ประชุม ใหญ่สามัญในคราวที่เสนองบดุลด้วย” ฯลฯ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 97 IN.indd 97 15/5/2566 20:21:47


98 | การประชุมใหญ่สามัญ ประจำ ปี ๒๕๖๖ ๙๘ หนังส ื อรับรองของชุมนุมสหกรณ ์ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขไทย จ ากัด วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2566 เรียน นายบุญส่ง คล้ายทวน ผู้สอบบัญชี หนังสือรับรองฉบับน้ีให้ไวเ้พื่อประโยชน์ของท่านในการตรวจสอบงบการเงินของ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จา กดัสา หรับปีสิ้ นสุดวนัที่31ธันวาคม 2565 เพื่อแสดงความเห็นว่างบการเงินดังกล่าวแสดงฐานะการเงิน ณ วนัที่31 ธันวาคม 2565 ผลการด าเนินงานและกระแสเงินสด ส าหรับปีสิ้นสุดวนัเดียวกันของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์ สาธารณสุขไทย จ ากัด โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส าคัญตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนดหรือไม่ ข้าพเจ้าเป็ นผู้รับผิดชอบในการจัดให้มีการจัดการที่มีประสิทธิผล เพื่อให้การด าเนินงานของชุมนุมสหกรณ์ เป็ นไปตามกฎหมายชุมนุมสหกรณ์ ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง ข้าพเจ้าขอรับรองรายละเอียดเกี่ยวกับงบการเงินที่ท่านตรวจสอบตามที่ข้าพเจ้าทราบ และคิดว่าควรจะเป็ น ดงัต่อไปน้ี 1. งบการเงิน 1.1 ตามข้อตกลงในการรับงานตรวจสอบในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2565 –31ธนัวาคม 2565 น้นัขา้พเจา้เป็น ผู้รับผิดชอบในการจัดท างบการเงิน โดยถูกต้องตามที่ควรในสาระส าคัญตามระเบียบที่นายทะเบียนสหกรณ์ก าหนด 1.2 งบการเงินไม่มีการแสดงข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระส าคัญ ซึ่งรวมถึงการละเว้นการแสดงรายการ และข้อมูลต่างๆ (ระบุแต่ละรายการที่มีในงบการเงินของชุมนุมสหกรณ์) 1.3 ข้อสมมติที่ส าคัญที่สหกรณ์ใช้ในการประมาณการทางบัญชีมีความสมเหตุสมผล 1.4 รายการหรือข้อมูลดงัต่อไปน้ีมีการบนัทึกหรือเปิดเผยไวอ้ย่างเพียงพอและเหมาะสมในงบการเงิน เช่น รายการ ธุรกิจที่มีกับสาขาของชุมนุมสหกรณ์หรือบุคคลอื่น ข้อตกลงกับสถาบันการเงินเกี่ยวกับภาระผูกพันเงินฝาก หรือข้อจ ากัดการใช้ เงินกู้ สินทรัพย์ที่ใช้เป็ นหลักประกัน 1.5 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงินที่ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ก าหนดให้ปรับปรุงหรือเปิ ดเผยได้ ปรับปรุงหรือเปิ ดเผยแล้ว 1.6ผลของการไม่แกไ้ขขอ้มูลที่ขดัต่อขอ้เท็จจริงไม่มีสาระส าคญัขอ้สังเกต ท้ งัต่อเฉพาะรายการหรือโดยรวมต่องบ การเงิน รายการของข้อมูลที่ขัดต่อข้อเท็จจริงที่ไม่แกไ้ขไดจ้ดัทา เป็นเอกสารแนบของหนงัสือรับรองน้ี 1.7 ไม่มีรายการผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการกระท าของคณะกรรมการด าเนินการหรือเจ้าหน้าที่ของชุมนนุมสหกรณ์ ผู้ซึ่งมีหน้าที่ส าคัญเกี่ยวกับระบบบัญชีและระบบการควบคุมภายใน หรือรายการผิดปกติที่มีผลกระทบอย่างเป็ นสาระส าคัญต่องบ การเงิน 1.8 ชุมนุมสหกรณ์มีกรรมสิทธ์ิในสินทรัพยท์ ้ งัหมดอย่างถูกตอ้งตามกฏหมายและไม่มีภาระผกูพนัหรือขอ้ผูกมดัใด ๆ ในสินทรัพย์ของชุมนุมสหกรณ์ เว้นแต่ที่ได้เปิ ดเผยไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 1.9 ชุมนุมสหกรณ์ไดบ้นัทึกหรือเปิดเผยรายการหน้ีสินท้ งัหมดของชุมนุมสหกรณ์ท้ งัที่เกิดข้ึนแลว้และอาจเกิดข้ึนใน ภายหนา้ไวอ้ยา่งเหมาะสม รวมท้ งัไดม้ีการเปิดเผยไวใ้นหมายเหตุประกอบงบการเงินเกี่ยวกบัหลกัประกนัท้ งัหมดที่ชุมนุมสหกรณ์ ให้แก่บุคคลที่สาม นอกจากน้ีชุมนุมสหกรณ์ไม่มีคดีฟ้องร้องอื่นและไม่มีคดีที่คาดว่าจะเกิดข้ึน 1.10 นอกจากเรื่องที่อธิบายไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงินแลว้ ไม่มีเหตุการณ์ใดเกิดข้ึนหรือไม่ปรากฏขอ้เทจ็จริง ใดที่มีผลกระทบต่องบการเงินอย่างมีสาระส าคัญ ซึ่งต้องน ามาปรับปรุงงบการเงิน หรือเปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินอีก 2. การให้ข้อมูล ๙๙ ขา้พเจา้ไดจ้ดัเอกสารหลกัฐานและขอ้มูลดงัต่อไปน้ีให้ท่านตรวจสอบครบถ้วนแล้ว คือ 2.1 บันทึกรายการทุกรายการในบัญชี เอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชี และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องท้ งัหมด 2.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการด าเนินการและรายงานการประชุมใหญ่ 2.3 ข้อมูลอื่นที่ท่านขอจากข้าพเจ้าเพื่อวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 2.4 เข้าถึงบุคคลในชุมนุมสหกรณ์ที่ท่านระบุว่าจ าเป็นในการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีอย่างไม่จ ากัด 2.5 ชุมนุมสหกรณ์ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาท้ังหมดซ่ึงหากไม่ปฏิบัตตามอาจมีผลกระทบอย่างมี สาระสา คญัต่องบการเงิน นอกจากน้ีชุมนุมสหกรณ์ไดป้ฏิบตัิตามระเบียบและข้อก าหนดของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่ ก ากับดูแล ซึ่งหากไม่ปฏิบัติตามอาจมีผลกระทบอย่างมีสาระส าคัญต่องบการเงิน 2.6 ชุมนุมสหกรณ์ไดเ้ปิดเผยขอ้มลูท้ งัหมดที่เป็นผลจากการประเมินความเสี่ยงเรื่องการทุจริตที่มีผลต่อการแสดง งบการเงินที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระส าคัญ 2.7 ชุมนุมสหกรณ์ได้เปิ ดเผยข้อมูลทุกอย่าง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทุจริตหรือสงสัยว่าจะทุจริตที่ชุมนุมสหกรณ์ทราบ และที่มีผลกระทบต่อชุมนุมสหกรณ์ โดยเกี่ยวข้องกับคณะกรรมการด าเนินการชุมนุมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ที่มี บทบาทส าคัญเกี่ยวกับการควบคุมภายใน หรือบุคคลอื่น ซึ่งการทุจริตมีผลกระทบอย่างมีสาระส าคัญต่องบการเงิน 2.8 ชุมนุมสหกรณ์ไม่ได้รับหนังสือแจ้งจากหน่วยราชการอันมีผลต่องบการเงิน เพราะมิได้ปฏิบัติตามกฏหมาย หรือขอ้บงัคบัซ่ึงรวมถึงการถูกเรียกชดเชย หรือถูกประเมินภาษีอากร หรือมีหน้ีสินที่อาจเกิดข้ึนในภายหนา ซึ่งควรจะได้น ามา ้ พิจารณาเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน หรือใชเ้ป็นหลกัเกณฑใ์นการต้ งัสา รองค่าเสียหายที่เกิดข้ึน ขอแสดงความนับถือ ( นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ) ประธานกรรมการ ( นายแพทย์สุรชัย ติษยาธิคม ) รักษาการผู้จัดการ 98 การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ IN.indd 98 15/5/2566 20:21:48 ๙๙ ขา้พเจา้ไดจ้ดัเอกสารหลกัฐานและขอ้มูลดงัต่อไปน้ีให้ท่านตรวจสอบครบถ้วนแล้ว คือ 2.1 บันทึกรายการทุกรายการในบัญชี เอกสารหลักฐานประกอบรายการบัญชี และข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องท้ งัหมด 2.2 รายงานการประชุมคณะกรรมการด าเนินการและรายงานการประชุมใหญ่ 2.3 ข้อมูลอื่นที่ท่านขอจากข้าพเจ้าเพื่อวัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ 2.4 เข้าถึงบุคคลในชุมนุมสหกรณ์ที่ท่านระบุว่าจ าเป็นในการได้มาซึ่งหลักฐานการสอบบัญชีอย่างไม่จ ากัด 2.5 ชุมนุมสหกรณ์ได้ปฏิบัติตามเงื่อนไขของสัญญาท้ังหมดซ่ึงหากไม่ปฏิบัตตามอาจมีผลกระทบอย่างมี สาระสา คญัต่องบการเงิน นอกจากน้ีชุมนุมสหกรณ์ไดป้ฏิบตัิตามระเบียบและข้อก าหนดของหน่วยงานราชการหรือหน่วยงานที่ ก ากับดูแล ซึ่งหากไม่ปฏิบัติตามอาจมีผลกระทบอย่างมีสาระส าคัญต่องบการเงิน 2.6 ชุมนุมสหกรณ์ไดเ้ปิดเผยขอ้มลูท้ งัหมดที่เป็นผลจากการประเมินความเสี่ยงเรื่องการทุจริตที่มีผลต่อการแสดง งบการเงินที่ขัดต่อข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระส าคัญ 2.7 ชุมนุมสหกรณ์ได้เปิ ดเผยข้อมูลทุกอย่าง ซึ่งเกี่ยวข้องกับการทุจริตหรือสงสัยว่าจะทุจริตที่ชุมนุมสหกรณ์ทราบ และที่มีผลกระทบต่อชุมนุมสหกรณ์ โดยเกี่ยวข้องกับคณะกรรมการด าเนินการชุมนุมสหกรณ์ เจ้าหน้าที่ชุมนุมสหกรณ์ที่มี บทบาทส าคัญเกี่ยวกับการควบคุมภายใน หรือบุคคลอื่น ซึ่งการทุจริตมีผลกระทบอย่างมีสาระส าคัญต่องบการเงิน 2.8 ชุมนุมสหกรณ์ไม่ได้รับหนังสือแจ้งจากหน่วยราชการอันมีผลต่องบการเงิน เพราะมิได้ปฏิบัติตามกฏหมาย หรือขอ้บงัคบัซ่ึงรวมถึงการถูกเรียกชดเชย หรือถูกประเมินภาษีอากร หรือมีหน้ีสินที่อาจเกิดข้ึนในภายหนา ซึ่งควรจะได้น ามา ้ พิจารณาเปิดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน หรือใชเ้ป็นหลกัเกณฑใ์นการต้ งัสา รองค่าเสียหายที่เกิดข้ึน ขอแสดงความนับถือ ( นายแพทย์อนุพงศ์ เพ็ญจันทร์ ) ประธานกรรมการ ( นายแพทย์สุรชัย ติษยาธิคม ) รักษาการผู้จัดการ การประชุมใหญ่สามัญประจำา ๒๕๖๖ 99 IN.indd 99 15/5/2566 20:21:49


Click to View FlipBook Version