The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาสังคมสึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Filmmy Filmm, 2022-12-14 00:08:30

โครงการเสนอบัณฑิตนิพนธ์

เรื่อง การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิชาสังคมสึกษาศาสนาและวัฒนธรรม เรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการเสนอบัณฑติ นพิ นธ์

หัวขอ้ เรื่อง การจัดการเรียนรแู้ บบห้องเรียนกลบั ด้านของนกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3
วิชาสังคมศึกษาศาสนา และวฒั นธรรม เรอ่ื ง ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

อาจารยน์ ิเทศ อาจารย์ อาทิตย์ อนิ ธาระ
อาจารยท์ ปี่ รึกษา รศ.ดร.วิทยา วสิ ูตรเรอื งเดช

เสนอโดย นายธรี ะศกั ด์ิ เรอื งสา
รหสั ประจำตัว 6321126036
หลกั สตู ร ครศุ าสตรบัณฑติ
สาขา สงั คมศกึ ษา
ปีการศกึ ษา 2565

โครงการเสนอบัณฑติ นิพนธ์

หัวขอ้ เรื่อง การจัดการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรียนกลับด้านของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 3
วิชาสงั คมศกึ ษาศาสนา และวัฒนธรรม เรอื่ ง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

อาจารยน์ เิ ทศ อาจารย์ อาทติ ย์ อนิ ธาระ
อาจารยท์ ป่ี รกึ ษา รศ.ดร.วิทยา วิสตู รเรอื งเดช

เสนอโดย นายธรี ะศักด์ิ เรืองสา
รหสั ประจำตวั 6321126036
หลกั สูตร ครุศาสตรบัณฑิต
สาขา สงั คมศกึ ษา
ปีการศกึ ษา 2565

สารบญั หนา้

บทที่ 1
1 บทนำ 4
ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา 4
วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย 4
สมมตฐิ านของการวจิ ัย 5
ขอบเขตของการวิจัย 5
นยิ ามศัพท์เฉพาะ 5
กรอบแนวคิดในการวิจัย 6
ประโยชนท์ ่ีได้รับจากการวจิ ัย 6
2 เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง 11
แนวคดิ ทฤษฎี หลักการเกี่ยวกับ (ลำดบั สำคัญของตัวแปร) 16
บริบทของหน่วยงาน 39
งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวข้อง 40
3 วธิ ีการดำเนินการวิจยั 41
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 45
เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจยั 45
การเก็บขอ้ มลู 47
การวิเคราะห์ข้อมูล
บรรณานกุ รม

1

บทท่ี1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา

ในปจั จบุ นั มกี ารเปล่ยี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ทงั้ ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง
การปกครอง วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ส่งผลตอ่ การดำรงชีวิตประจำวนั ของมนุษยม์ ากขน้ึ การที่
จะพัฒนาประเทศใหก้ าวทันการเปลย่ี นแปลงไดน้ ั้นจำเปน็ ตอ้ งพัฒนาคน ซึง่ ปจั จัยสำคัญในการพัฒนา
คน คือ การศึกษา เพราะการศึกษาเปน็ กระบวนการสำคญั ในการพฒั นาคนในชาตทิ ุกคนให้มี
ศักยภาพและเป็นรากฐานสำคญั ของการพฒั นาประเทศ ท้งั น้กี ารจดั การศกึ ษาจะต้องให้ความสำคัญ
กบผเู้ รยี นทกุ คน ดงั พระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 กล่าวไว้ในแกไขเพิ่มเติม (ฉบบั ท่ี 3)
มาตรา 22 ได้ กล่าวว่า การจัดการศึกษาตอ้ งยดึ หลักว่าผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถเรยี นรแู้ ละพฒั นา
ตนเองได้ และ ถือวา่ ผ้เู รียนมคี วามสำคัญท่ีสดุ กระบวนการจัดการศกึ ษาต้องส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติ และเตม็ ตามศักยภาพ และมาตรา 24 ไดก้ ล่าวว่า การจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ้อง
จดั เนอ้ื หา สาระ และกจิ กรรมให้สอดคล้องกบความสนใจและความถนดั ของผู้เรยี น โดยคำนึงถึงความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคล และการประยุกตค์ วามรู้มาใชเ้ พอ่ื ปอ้ งกนและแก้ไขปญั หาการจัดกิจกรรมให้
ผู้เรยี นได้เรยี นรู้จากประสบการณ์จริง เกดิ การใฝ่ รอู้ ย่างต่อเน่ือง การจัดการเรยี นการสอนโดย
ผสมผสาน สาระความรดู้ า้ นต่างๆ อย่างไดส้ ัดสว่ นสมดุลกน รวมทง้ั ปลูกฝังคณุ ธรรม คา่ นิยมทด่ี ีงาม
และ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคใ์ นทุกวิชา มีการส่งเสริมสนับสนนุ ให้ผู้สอนสามารถจดั บรรยากาศ
สภาพแวดล้อม ส่ือการเรยี น และอำนวยความสะดวก เพ่ือใหเ้ กดิ การเรยี นร้แู ละมีความรอบรู้ การ
จัดการเรยี นรูใ้ หเ้ กิดขน้ึ ได้ทกุ เวลา ทุกสถานที่ (พระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ, 2544, น.8-9)
ดังน้ัน การจดั การศึกษาจึงมคี วามสำคัญ โดยเฉพาะอยางย่ิงในระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพราะเป็น
การสร้างพนื้ ฐานการเรยี นรู้ให้ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการดำรงชวี ิต การประกอบอาชพี ตอ่ ไปได้
อย่างมคี ณุ ภาพ การจดั การศกึ ษาในระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั
พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประกอบดว้ ย 8 กลุ่มสาระ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม เปน็ กลุ่มสาระการเรยี นรูห้ น่งึ ท่มี ีความสำคญั ที่ใชเ้ ป็นหลกั ในการจัดการเรียนรู้ โดยเป็นวิชา
ทว่ี า่ ดว้ ย ความสมั พันธร์ ะหวางมนษุ ยก์ ับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละสังคม ทำให้ผเู้ รียนมคี วามรู้

2

ความ เขา้ ใจการดำรงชีวิตของมนษุ ย์ ท้ังในฐานะปัจเจกบุคคลและการอยรู่ ว่ มกนในสงั คม การปรบั ตวั
ตามสภาพแวดลอ้ มการจัดการทรพั ยากรทมี่ อี ยู่อยา่ ง เข้าใจถึงการพฒั นาเปล่ยี นแปลงตามยคุ ตามสมยั
ตามกาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ เกิดความเขา้ ใจตนเองและผอู้ ่นื มีความอดทน อดกล้ัน ยอมรบั
ความ แตกต่าง และมีคณุ ธรรม สามารถนำความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการดำรงชวี ิต เปน็ พลเมืองของ
ประเทศชาติ และสังคมโลก (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551, น.1) ประกอบดว้ ย 5 สาระหลกั ไดแ้ ก่
สาระศาสนา ศีลธรรม จรยิ ธรรม สาระหน้าที่พลเมอื ง วฒั นธรรมและการดำเนนิ ชีวติ ในสังคม สาระ
เศรษฐศาสตร์ สาระประวตั ิศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ (กรมวชิ าการ, 2551) โดยสาระด้าน
เศรษฐศาสตร์มีจดุ มุ่งหมาย ให้ผู้เรียนเขา้ ใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการ
บริโภค การใช้ทรพั ยากร ทม่ี ีอยจู่ ำกดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มคา่ รวมทง้ั เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื การดำรงชีวติ อยางมีดลุ ยภาพปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นแนวทางการดำเนนิ ชีวิตและวถิ ปี ฏิบตั ทิ ี่
พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 9 มพี ระราชดำรัสชแ้ี นะแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด
นานกว่า 30 ปี และได้ ทรงเน้นย้ำแนวทางการพัฒนาทอ่ี ยบู่ นพืน้ ฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอ ประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมคิ ุ้มกนท่ีดใี นตัว ตลอดจนใช้
ความรู้ และคุณธรรม เป็น พ้นื ฐานในการดำรงชวี ิต การป้องกนให้รอดพน้ จากวิกฤต และให้สามารถ
ดำรงอยู่ได้อย่างม่ันคงและ ยงั ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวัตนแ์ ละความเปลยี่ นแปลงต่างๆ (สำนักงาน
คณะกรรมการพฒั นาการ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, 2553, น.6) ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งจึงเป็น
แนวทางการดำรงชวี ติ และ ปฏิบตั ติ นของประชาชนในทกุ ระดับ ต้ังแตร่ ะดบั ครอบครัว ระดบั ชมุ ชน
จนถึงระดบั รฐั ทงั้ ในการ พัฒนาและการบริหารประเทศใหด้ ำเนินไปในทางสายกลาง เพ่ือนำไปสกู่ าร
พัฒนาที่สมดุล มั่นคง ยั่งยนื กา้ วทันตอ่ ยุคโลกาภิวัตนแ์ ละทำความอยเู่ ยน็ เปน็ สุข ความสามัคคี
ปรองดองให้เกิดขึ้นใน สงั คมไทยสว่ นรวมอยา่ งแท้จริง “การศึกษา” คือ เครื่องมือของการพฒั นา
“คน” ดังนั้น หากส่งเสริม การพัฒนาระบบการศึกษาให้มีพ้ืนฐานบนหลักของเศรษฐกิจพอเพยี ง เท่า
กบเปน็ การพฒั นาคนใน ประเทศใหม้ ีคุณลกั ษณะท่ดี ีและเปน็ ทรัพยากรมนุษยท์ ีม่ ีคุณคา่ (สำนกั งาน
คณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ, 2550, น.70) สำนักงานการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
จงึ ได้ใหค้ วามสำคญั กบั การนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี งเขา้ ส่รู ะบบการศกึ ษา โดยสถานศึกษา
ทุกแหง่ จะตอ้ งบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการเรยี นการสอน การบริหารจดั การ
การศึกษาอยา่ งเปน็ ระบบและกลมกลนื โดยมี เปา้ หมายท่สี ำคญั คือ การปลูกฝัง อบรมบม่ เพาะ

3

ผู้เรยี นใหม้ ีอปุ นสิ ัยอยอู่ ย่างพอเพียง และสามารถ ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ น
ชีวิตประจำวนั ได้อยางเหมาะสม ซง่ึ สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
พทุ ธศักราช 2551ได้กาหนดเน้ือหาเศรษฐกิจพอเพียงไวใ้ น กลมุ่ สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ มาตรฐานข้อ 1 เข้าใจ และสามารถบรหิ ารจัดการทรัพยากร
ในการผลิต และการบรโิ ภคการใช้ ทรพั ยากรท่ีมีอยู่จำกดั ได้อย่างมีประสิทธภิ าพและคุม้ ค่า รวมทั้ง
เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอ่ื การดำรงชีวิตอยา่ งมีดุลยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2558,
น.8) ดว้ ยเหตผุ ลดังกลา่ วโรงเรียนเตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการ ปทมุ ธานี จึงไดน้ ้อมนำเอาหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ สาระการเรียนรู้ในรายวิชาสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (โรงเรียน
เตรียมอดุ มศึกษาพัฒนาการ ปทมุ ธานี, 2551, น.5) การจดั การเรียนรู้กลมุ่ สาระเรียนเรยี นรสู้ งั คม
ศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรมน้ัน ครูผสู้ อนมี บทบาทสำคัญอยางย่ิง ตอ้ งรูจ้ กั นำวิธีการจดั การเรียนรู้
หรือเทคนิคการจัดการเรียนร้ทู หี่ ลากหลายมาใช้ การจัดกระบวนการจัดการเรยี นร้ตู ้องจัดเน้อื หาสาระ
และกิจกรรมให้สอดคลอ้ งกับความสนใจ และ ความถนดั ของผูเ้ รยี น คำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ ง
บคุ คล โดยใช้เทคโนโลยีและสือ่ สารสนเทศให้ เปน็ ประโยชน์ ทำให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงบทเรยี นได้
อยา่ งไม่มีขีดจำกัด และสามารถเรียนรไู้ ด้ ตลอดเวลา การจัดการเรยี นร้แู บบ “ห้องเรยี นกลับดา้ น”
flipped Classroom จงึ ถอื เปน็ นวตั กรรมการ เรยี นการสอนทสี่ ง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ชว่ ยกระตุ้นให้ เกิดสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ตอ่ การเรียนรไู้ ด้อยางเตม็ ที่
ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนหวั ขอ้ ต่างๆ ตามลำดบั ความสนใจ หรอื ค้นควา้ เพ่ิมเติมเพอื่ พัฒนาตนเองได้
ตรงตามศักยภาพ และสามารถเรียนซ้ำในหวั ข้อเร่ืองทีแ่ ตกต่างกนตามความจำเป็นของแต่ละคน ทำให้
ผ้เู รียนเกดิ ความรจู้ ริง (Mastery Learning) มที กั ษะและคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ สามารถนำความรู้
จากการเรียนไปใชป้ ระโยชน์ได้จริงในการ ประกอบอาชพี และพรอ้ มรับมอื กบความเปล่ียนแปลงของ
สงั คมโลกและเทคโนโลยที ี่จะเกิดขึ้นใน อนาคต อกี ทง้ั ยังชว่ ยลดช่องว่างระหวา่ งผู้สอนกบผเู้ รียน
ก่อใหเ้ กดิ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผสู้ อนกบั ผูเ้ รียน และระหว่างผู้เรยี นด้วยตนเอง โดยผู้สอนสามารถรบั รู้
ว่าผู้เรียนได้รบั ความรแู้ ละทักษะจากการ เรียนการสอนท่คี าดหวังไว้มากน้อยเพยี งใดได้อยางทนั ท่วงที
(วิจารณ์ พานิช, 2556, น.67) จากเหตผุ ลดังกล่าว ผวู้ ิจยั จงึ สนใจท่จี ะศกึ ษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
รายวิชาสังคมศกึ ษา เรื่อง เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้การจัดการเรยี นร้แู บบหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น เพอื่
เปน็ แนวทางในการ พฒั นาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนรรู้ ายวิชาสงั คมศึกษาให้มปี ระสทิ ธิภาพ และเปน็
สารสนเทศสำหรับครู ผู้บรหิ าร ในการวางแผนจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ใหผ้ ู้เรียนได้เกิดการเรียนร้แู บบจริง

4

วัตถุประสงคท์ างการวิจยั

เพ่อื เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น เรอื่ ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง กอ่ นเรยี นและหลัง
เรียน ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่3 โดยใช้รูปแบบการเรียนรแู้ บบห้องเรียนกลบั ด้าน

สมมติฐานการวิจัย

นกั เรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่3 ท่ีจดั กิจกรรมรปู แบบการเรยี นรูแ้ บบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น มี
ผลสมั ฤทธท์ิ างการศึกษาเรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลงั เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียน

ขอบเขตการวิจยั

1. ขอบเขตดา้ นประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง ประชากร ไดแ้ ก่ นกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่3 โรงเรยี น
เตรยี มอดุ มศึกษาพัฒนาการ รชั ดา เขตหว้ ยขวาง กรงุ เทพมหานคร ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา
2566 จำนวน 12 หอ้ งเรยี น 480 คน กลมุ่ ตัวอย่าง 2 หอ้ งเรยี น ไดแ้ ก่ 3/2และ3/3 จำนวน 80
คน และวิธีการสมุ่ กลมุ่ ตวั อย่างแบบ Cluster Sampling

2. ขอบเขตด้านตัวแปรทีศ่ กึ ษา มี 2 วธิ ี ไดแ้ ก่
1) การจดั การเรียนรแู้ บบห้องเรยี นกลบั ดา้ น
2) ขอบเขตเวลาท่ศี ึกษา ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2566 ทดลอง 15 ชัว่ โมง

ตวั แปรทีศ่ ึกษา

ตัวแปรอสิ ระ วิธกี ารสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น

ตวั ตาม ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

เนอ้ื หา

1.งานวจิ ยั เร่ืองนใ้ี ช้เนอ้ื หาตามหลักสตู รแกนกลาง ในรายวชิ าสงั คมศึกษาศาสนาและ
วัฒนธรรม หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ เรื่อง หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี3

2. โดยใชว้ ธิ ีการสอนแบบห้องเรียนกลับดา้ น ตามหลักของ Jonathan Bergman

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั จากการวิจัย

5

1. ไดแ้ นวทางในการจัดการเรยี นรู้ของนกั เรยี นเพื่อการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการศกึ ษาให้
สูงขนึ้

2. เป็นแนวทางในการนำไปพฒั นาแผนการจดั การเรยี นร้ใู นกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ในระดับชั้นอื่นๆ

นิยามศพั ท์เฉพาะ

ห้องเรียนกลบั ดา้ น หมายถึง รูปแบบการสอนทผี่ ู้สอนใหผ้ ้เู รียนศึกษา เนอ้ื หาสาระจากท่ีบา้ น
ผา่ นระบบอนิ เตอรเ์ น็ต วีดีโอ วิดที ศั น์ หรอื ระบบออนไลน์อนื่ ๆ ที่ผ้สู อนจัดหาใหก้ อ่ น เข้าชน้ั เรยี น
โดยผู้สอนมหี นา้ ท่ีชว่ ยแนะนำ (Coaching) ตอบข้อซกั ถาม ผ่านการทากิจกรรมในช้นั เรียน

ผลสัมฤทธิ์ หมายถงึ งาน บรกิ าร หรือกิจกรรมทเ่ี กิดจากการทํางานทไี่ ดผ้ ลผลิต (Outputs)
ตามเป้าหมาย และเกดิ ผลลัพธ์ (Outcomes) ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ กล่าวคอื ผลผลติ สามารถนาํ ไปใช้
ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งแท้จริงหรือเป็นทีพ่ ึงพอใจ

ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถงึ ระดับความสำเร็จที่ได้จากความสามารถทางร่างกาย
หรือสมอง ซ่งึ อาจพจิ ารณาได้จากคะแนนทีก่ าหนดให้ หรอื คะแนนทีไ่ ดจ้ ากงานท่ีผสู้ อนมอบให้ หรอื
ทง้ั สอง องคป์ ระกอบที่มีความสัมพันธก์ บั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ในการวจิ ัยครั้งนี้ คอื ผลคะแนนหลัง
การเรียนทส่ี ูงขน้ึ จาก คะแนนทดสอบก่อนการเรยี น

เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ กรอบแนวคดิ ซงึ่ มุ่งให้ทกุ คนสามารถพ่งึ พาตัวเองได้ รวมถงึ การ
พัฒนาให้ดยี ่ิงขน้ึ จนเกดิ ความยั่งยืน

พอเพียง คือ การดำเนนิ ชวี ติ แบบทางสายกลาง โดยต้ังอยูบ่ นหลกั สำคัญสามประการ
คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภมู ิคุ้มกันท่ีดี

กรอบแนวคดิ

ตวั แปรอสิ ระ ตัวแปรตาม
ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
การจดั การจดั การเรยี นรู้ 2 วิธไี ด้แก่

1) การจัดการเรยี นร้แู บบปกติ
2) การจัดการเรยี นรแู้ บบห้องเรียนกลบั ดา้ น

6

บทที่2

เอกสารและงานวจิ ัยที่เก่ยี วข้อง

ในงานวิจยั นี้ ผวู้ จิ ัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง และได้นำเสนอตามหวั ข้อต่อไปน้ี

1. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและ
วฒั นธรรม

1.1 ความสำคัญของวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
1.2 มาตรฐานการเรยี นร้แู ละตวั ช้วี ดั

2. หอ้ งเรยี นกลบั ดา้ น

2.1 ความหมายของหอ้ งเรียนกลับดา้ น
2.2 ลักษณะสำคญั ของหอ้ งเรียนกลับด้าน
2.3 ประโยชนท์ ่เี กดิ จากการเรียนห้องเรียนกลบั ดา้ น
2.4 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ดา้ น

3.หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

3.1 ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง

3.2 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
3.3 การประยกุ ตใ์ ชข้ องหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

4.ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

4.1 ความหมายผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
4.2 องคป์ ระกอบผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น
4.3 แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิ
4.4 การประเมินผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น

7

การศึกษาวจิ ัย เร่อื ง การศึกษาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน รายวชิ าสังคมศึกษา เรื่อง เศรษฐกิจ
พอเพียง โดยใช้การจัดการเรยี นรู้แบบห้องเรียนกลบั ด้าน ผูว้ จิ ัยได้ศกึ ษาค้นควา้ จากหนงั สอื
เอกสาร และงานวิจัยที่เกย่ี วขอ้ ง เพื่อเปน็ แนวทางในการวจิ ัย ซงึ่ ได้ทําการศกึ ษาหัวข้อทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
ต่างๆ ดังนี้
2.1 หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลมุ่ สาระการเรียนร้สู งั คม ศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม
2.1.1 ความสาํ คญั ของวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
2.1.2 มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชี้วดั 2.2 หอ้ งเรยี นกลบั ดา้ น (Flipped Classroom)
2.2.1 ความหมายของหอ้ งเรยี นกลบั ด้าน 2.2.2 ลกั ษณะสาํ คญั ของห้องเรยี นกลบั ดา้ น
2.2.3 ประโยชน์ทเ่ี กดิ จากการเรียนแบบห้องเรยี นกลับด้าน 2.3 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
2.3.1 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.3.2 หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2.3.3 การประยกุ ต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2.4 ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน
2.4.1 ความหมายผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน 2.4.2 การวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
2.4.3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ 2.5 งานวิจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในโลรา
2.5.1 งานวจิ ัยในประเทศ 2.5.2 งานวจิ ยั ต่างประเทศ

8

2.1 หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คม ศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม

2.1.1 ความสาํ คัญของวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม

วชิ าสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยใหผ้ ู้เรยี นมคี วามรู้ความเข้าใจการดํารง ชวี ิตของ
มนษุ ย์ทง้ั ในฐานะปจั เจกบุคคลและการอยรู่ ่วมกันในสงั คม การปรบั ตัวตามสภาพแวดล้อม การ
จดั การทรัพยากรที่มอี ยอู่ ยา่ งจํากัด เข้าใจถงึ การพฒั นาเปลี่ยนแปลงตามยคุ ตามสมัย ตาม
กาลเวลา ตามเหตปุ ัจจัยต่างๆ ท่เี กิดความเข้าใจตนเองและผู้อ่ืน มีความอดทน อดกลนั้ ยอมรบั
ความแตกต่างและ มีคณุ ธรรม สามารถนําความรไู้ ปปรับใชใ้ นการดํารงชีวติ เปน็ พลเมอื งของ
ประเทศชาติ และสังคมโลก (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2551, น.1) ในด้านเศรษฐศาสตร์ช่วยใหเ้ ข้าใจ
และสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากร ในการผลติ และการบริโภค การใช้ทรพั ยากรท่ีมีอยูจ่ าํ กดั ได้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพและคมุ้ ค่ารวมทง้ั เขา้ ใจหลกั การของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการดํารงชีวิต
อยา่ งมีคลุ ยภาพ

2.1.2 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

รายวชิ า สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม แบง่ ออกเปน็ 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ สาระท่ี 1
ศาสนา ศลี ธรรม จริยธรรม สาระที่ 2 หนา้ ที่พลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชวี ิตในสังคม
สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ สาระท่ี 4 ประวตั ศิ าสตร์ และ สาระที่ 5 ภมู ิศาสตร์ กระทรวงศึกษาธกิ าร
2551, น.2-3)

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 สาระท่ี 3 เศรษฐศาสตร์ ประกอบไปด้วย 2 มาตรฐาน 8 ตวั ช้ีวดั สรุป
ดังตารางท่ี 2.1 2.2

ชนั

ตารางที่ 2.1 มาตรฐาน ส. 3.1 เขา้ ใจและสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรในการผลิตและการ
บรโิ ภค

9

การใชท้ รพั ยากรท่ีมอี ย่จู ํากดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและคมุ้ ค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการ ของ
เศรษฐกจิ พอเพียง เพอื่ การดํารงชวี ติ อย่างมีคลุ ยภาพ
ตัวชี้วดั โจโจ้ - สาระการเรยี นรู้แกนกลาง
1. วิเคราะหป์ จั จัยที่มผี ลต่อการลงทุนและการออม
- ความหมายและความสําคัญของการลงทุนและการออมตอ่ ระบบเศรษฐกจิ
- การบริหารจัดการเงนิ ออมและการลงทนุ
ภาคครัวเรือน ปัจจัยของการลงทุนและการออม คือ อตั ราดอกเบ้ยี รวมทงั้ ปัจจยั อื่นๆ เชน่ ตาราง
ที่ 2.1 มาตรฐาน ส. 3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจัดการทรพั ยากรในการผลติ และการบริโภค
การใชท้ รพั ยากรท่ีมีอย่จู ํากัดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและค้มุ คา่ รวมทัง้ เข้าใจหลักการ
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อการดํารงชวี ิตอย่างมีคุลยภาพ (ต่อ) ชน้ั ตวั ชว้ี ัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง คา่ ของเงนิ เทคโนโลยี การคาดเดาเกยี่ วกบั อนาคต
- ปญั หาของการลงทุนและการออมในสงั คมไทย
2. อธบิ ายปัจจัยการผลิตสนิ ค้าและบริการ
- ความหมาย ความสําคญั และหลกั การผลิต และปัจจัยทม่ี ีอทิ ธิพลต่อการผลติ สนิ ค้า สนิ คา้ และ
บรกิ ารอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และบรกิ าร
- สํารวจการผลติ สนิ ค้าในท้องถ่นิ ว่ามีการผลิตอะไรบ้าง ใช้วิธกี ารผลิตอยา่ งไร มีปญั หาด้านใดบ้าง
- มกี ารนาํ เทคโนโลยอี ะไรมาใชท้ ม่ี ผี ลต่อการผลติ สนิ ค้าและบริการ
- นาํ หลักการผลิตมาวเิ คราะหก์ ารผลิตสินค้าและบรกิ ารในทอ้ งถ่นิ ทงั้ ด้าน
3. เสนอแนวทางการพฒั นาการผลติ ใน
- หลักการและเปา้ หมายปรัชญาของเศรษฐกิจ ทอ้ งถนิ่ ตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

10

- สํารวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสินค้า และบรกิ ารในทอ้ งถิ่น ประยกุ ตใ์ ช้ปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งการผลติ สินคา้ และบริการในทอ้ งถิน่

4. อภิปรายแนวทางการคุม้ ครองสิทธิของ

- การรักษาและคุ้มครองสทิ ธิประโยชนข์ อง ตนเองในฐานะผู้บรโิ ภคผูบ้ ริโภค

- กฎหมายคุม้ ครองสทิ ธผิ ูบ้ ริโภคและหน่วยงานท่ีเก่ยี วขอ้ ง

ตารางท่ี 2.1 มาตรฐาน ส. 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการ
บริโภค

การใชท้ รัพยากรทม่ี ีอยูจ่ าํ กดั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพและคุม้ ค่า รวมท้ังเข้าใจหลักการ

ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพ่ือการดาํ รงชีวติ อย่างมีคุลยภาพ (ต่อ) ช้นั ตัวช้ีวัด

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - การดําเนนิ กิจกรรมพทิ ักษส์ ิทธแิ ละผลประโยชน์

ตามกฎหมายในฐานะผบู้ ริโภค - แนวทางการปกป้องสิทธิของผู้บรโิ ภค

จากตางรางที่ 2.1 มาตรฐาน ส. 3.1 เขา้ ใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการ ผลิตและ
การบรโิ ภค การใช้ทรพั ยากรที่มอี ย่จู ํากัดไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและคุ้มค่า รวมท้ังเข้าใจ หลกั การ
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การดํารงชวี ติ อย่างมีคลุ ยภาพ ตัวช้วี ดั ที่ 3 เสนอแนวทางการ
พฒั นาการผลติ ในทอ้ งถิน่ ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ ตัวชวี้ ดั ทีต่ อ้ งการให้ผเู้ รียนรู้
เข้าใจ หลกั การและเปา้ หมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สํารวจและวิเคราะหป์ ญั หาการผลติ
สนิ ค้าและ บรกิ ารในท้องถ่นิ และประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการผลิตสินค้าและ
บรกิ าร ในทอ้ งถน่ิ

ตารางที่ 2.2 มาตรฐาน ส. 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความสัมพันธท์ าง
เศรษฐกิจ และความจําเปน็ ของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสงั คมโลก ตวั ชีว้ ดั

- สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

11

1. อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ

2. ยกตัวอย่างทสี่ ะทอ้ นใหเ้ ห็นการพ่ึงพาอาศัยกนั และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในภูมิภาค

3. วเิ คราะห์การกระจายของทรัพยากรในโลกที่ การกระจายของทรพั ยากรในโลกทสี่ ง่ ผลตอ่ สง่ ผล
ต่อความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจระหว่าง ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ประเทศ

เชน่ นำ้ มัน ปา่ ไม้ ทองคาํ ถ่านหนิ แร่ เปน็ ต้น

4. วเิ คราะห์การแข่งขันทางการคา้ ในประเทศและต่างประเทศส่งผลตอ่

คุณภาพสนิ คา้ ตา่ งประเทศปรมิ าณการผลิตและ ราคาสินค้า

จากตารางที่ 2.2 มาตรฐาน ส. 3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ความ สัมพันธ์
ทางเศรษฐกิจและความจาํ เป็นของการร่วมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ตวั ช้ีวัด ข้อ 1.
อภปิ รายระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ขอ้ 2. ยกตวั อยา่ งทีส่ ะท้อนใหเ้ หน็ การพ่ึงพาอาศยั กนั และการ
แขง่ ขันกันทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคเอเชยี ขอ้ 3. วิเคราะห์การกระจายของทรพั ยากรในโลกทส่ี ่งผล
ต่อ ความสัมพนั ธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ และ ข้อ 4 วเิ คราะหก์ ารแข่งขันทางการคา้ ใน
ประเทศ และต่างประเทศส่งผลตอ่ คณุ ภาพสินค้า ปริมาณการผลติ และราคาสนิ ค้า ซง่ึ ทุกขอ้ เป็น
ตัวชว้ี ัดที่ ตอ้ งการให้นักเรียนนําความรูท้ เ่ี กีย่ วขอ้ งกับหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับ
ใชไ้ ด้อยา่ ง เหมาะสม จึงจาํ เป็นตอ้ งจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู หผ้ ูเ้ รยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจในหลกั
ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและนําไปปรบั ใช้ในการดํารงชวี ติ ประจาํ วนั ได้

12

2.2 ห้องเรียนกลับดา้ น (Flipped Classroom)

ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) เปน็ อกี หน่งึ รปู แบบของการเรยี นร้ทู ี่นกั เรยี นสามารถ
เรียนรทู้ ่ีบา้ นดว้ ยเนื้อหาออนไลนก์ อ่ นการเรยี นและการทาํ งานในห้องเรียน เช่น การแก้ปญั หางาน
ทีไ่ ด้รับ มอบหมาย และการอภปิ รายอย่างลึกซง้ึ ผ่านในช้ันเรยี น ซ่งึ ครูจะไมใ่ ช้ผู้สอนเพียงอย่าง
เดียว แตเ่ ป็น ผู้แนะแนวความร้ใู หน้ ักเรยี น และเปน็ ผอู้ อกแบบการจัดการเรียนรดู้ ว้ ย

2.2.1 ความหมายของห้องเรยี นกลบั ด้าน -

การจดั การเรียนการสอนแบบกลับดา้ นชนั้ เรียน (The Flipped Classroom) ได้มนี ักการ ศกึ ษา
ใหค้ วามหมายไว้หลายทา่ นดว้ ยกนั ดงั นี้

Flipped Learning Network (2013) ไดใ้ ห้ความหมายไว้ว่า เป็นแนวคิดห้องเรยี นกลบั ดา้ น จาก
สมยั ก่อนการเรยี นการสอนของครใู นหอ้ งเรยี น เปล่ยี นเป็นการเรยี นการสอนนอกหอ้ งเรยี น หรอื ที่
บ้าน ไม่มีการกาํ หนดเวลาเรยี น เน้อื หาบรรยายเป็นวีดทิ ัศน์ จากท่คี รสู ร้างหรือแหล่งวิดีทัศนจ์ าก
แหลง่ ต่างๆ บนเครือข่ายอินเตอรเ์ น็ต เชน่ TED-Ed และ Khan Academy เป็นตน้ และใน
ห้องเรยี นนาํ

ปญั หาจากการเรยี นหรือการบ้านมาแลกเปล่ียนเรียนรู้ ทํากจิ กรรมรว่ มกนั โดยเน้นการเรยี นการ
สอน เป็นกล่มุ กับเพื่อนร่วมชั้นเรยี นสนองตามสภาพแวดลอ้ มการเรยี นร้ขู องแต่ละบุคคล

Jonathan and Aaron (2012, pp.970-977) ไดก้ ลา่ วว่า รปู แบบห้องเรยี นกลับด้าน (Flipped
Classroom) เป็นวิธกี ารทค่ี รอบคลมุ การใช้งานและประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยีอนิ เทอรเ์ นต็ เพื่อ
ยกระดับการเรยี นรใู้ นห้องเรียน เพ่อื ใหส้ ามารถใช้เวลามากขึ้นในการมีปฏสิ ัมพนั ธก์ บั นักเรียนแทน
การบรรยายหน้าช้นั เรียนเพียงอย่างเดยี ว ซง่ึ วิธกี ารทีถ่ กู ใช้เปน็ ส่วนใหญ่มกั จะทําการสอนโดยใช้
วดิ โี อ ท่ถี กู สร้างขน้ึ โดยครู ซึ่งนกั เรยี นสามารถเรียนรู้ไดน้ อกเวลาเรียน จงึ เรยี กการเรยี นการสอนนี้
ว่า “หอ้ งเรียนกลับดา้ น” เพราะกระบวนการเรยี นและการบา้ นท้งั หมดจะ “พลกิ กลับ” ส่งิ ที่เคย
เป็น กจิ กรรมในชน้ั เรียน เช่น การจดบนั ทึก (lecture) จะถูกทาํ ทบ่ี ้านผ่านทางวดิ ีโอที่ครูสร้างขึ้น
และส่งิ ที่ เคยต้องทําทบี่ ้าน งานต่างๆ ท่ีได้รับมอบหมายจะนํามาทําในช้ันเรียน

13

Kachka (2012) ได้กล่าววา่ “Flipped Classroom” หมายถงึ กระบวนการเรยี นการสอน
รูปแบบหน่ึง ซ่ึงเปลย่ี นการใชช้ ่วงเวลาของการบรรยายเนอ้ื หา (Lecture) ในหอ้ งเรยี นเป็นการทํา
กจิ กรรมตา่ งๆ เพือ่ ฝกึ แก้โจทย์ปัญหา และประยุกตใ์ ชจ้ ริง สว่ นการบรรยายจะอย่ใู นชอ่ งทางอื่นๆ
เช่น วดิ โี อ วดิ ีโอออนไลน์ podcasting หรือ screencasting ฯลฯ ซง่ึ นักเรยี นเขา้ ถงึ ได้เมอ่ื อยูท่ ี่
บ้านหรือนอก ห้องเรียน ดงั น้ัน การบา้ นท่เี คยมอบหมายใหน้ กั เรียนฝึกทาํ เองนอกห้องจะกลายมา
เปน็ สว่ นหนึง่ ของ กจิ กรรมในหอ้ งเรยี น และในทางกลับกนั เนอื้ หาท่ีเคยถา่ ยทอดผา่ นการบรรยาย
ในห้องเรียนจะ เปลย่ี นไปอยู่ในสอื่ ทีน่ กั เรยี นอา่ น-ฟังดู ได้เองทบี่ า้ นหรอื ที่ไหนๆ ก็ตาม การเรยี น
รูปแบบน้ีจะช่วย พฒั นาทักษะการคิดเชิงบรู ณาการและความรู้สึกท่ดี ีตอ่ การเรยี น

จนั ทมิ า ปทั มธรรมกุล (2556) ฟลิปคลาสรมู (Flipped Classroom) หมายถึง กระบวน การเรยี น
การสอนรูปแบบหน่ึง ซง่ึ เปลย่ี นการใชช้ ว่ งเวลาของการบรรยายเนอื้ หา (Lecture) ในห้องเรยี น
เปน็ กิจกรรมตา่ งๆ เพ่อื ฝกึ แก้โจทยป์ ญั หาและประยุกต์ใชจ้ รงิ สว่ นการบรรยายจะอยใู่ นช่องทาง
อ่ืนๆ เช่น วิดโี อ วดิ โี อออนไลน์ โพสแคสต้ิง (Podcasting) หรือสกรีนแคสต้ิง (Screen casting)
ซึง่ นกั เรยี น เขา้ ถึงได้เม่ืออยูท่ ี่บา้ นหรือนอกห้องเรียน ดงั นนั้ การบ้านทีเ่ คยมอบหมายให้นักเรยี น
ฝึกทําเองนอกหอ้ ง จะกลายมาเปน็ สว่ นหน่ึงของกจิ กรรมในห้องเรยี น และในทางกลับกันเนื้อหาที่
เคยถา่ ยทอดผา่ นการ บรรยายในหอ้ งเรียนจะเปล่ียนไปอยใู่ นส่อื ท่ผี ู้เรยี น อา่ น-ฟัง-ดู ไดเ้ องทีบ่ า้ น
หรอื ทไี่ หนๆ กต็ าม ผู้สอน อาจท้งิ โจทย์ หรือใหน้ ักศกึ ษาสรปุ ความเนื้อหาน้ันๆ เพื่อตรวจสอบ
เข้าใจของนักศึกษาและนํามา อภิปรายหรอื ปฏบิ ัติจริงในหอ้ งเรียน

ฉันทท์ พิ ย์ ลีลติ ธรรม (2557) ห้องเรียนกลบั ทาง (Flipped Classroom) เป็นกระบวน การเรียน
การสอนรูปแบบหน่งึ ซ่ึงเปลย่ี นการใชช้ ว่ งเวลาของการบรรยายเนอื้ หา (Lecture) ในห้องเรยี น
เป็นกจิ กรรมตา่ งๆ เพ่ือฝึกแกโ้ จทย์ปัญหาและประยกุ ตใ์ ชจ้ รงิ สว่ นการบรรยายจะอยใู่ นช่องทาง
อ่ืนๆ เชน่ วิดโี อ วิดโี อออนไลน์ ฯลฯ ซ่งึ ผู้เรยี นเขา้ ถงึ ได้เมื่ออยู่ที่บา้ นหรือนอกบา้ น ดังนน้ั การบ้าน
ท่เี คย หมอบหมายให้ผู้เรยี นฝกึ ทาํ เองนอกห้องจะกลายมาเป็นสว่ นหน่ึงของกิจกรรมในห้องเรยี น
และใน ทางกลับกันเนอ้ื หาท่ีเคยถ่ายทอดผ่านการบรรยายในห้องเรยี นจะเปล่ียนไปอยูใ่ นส่ือท่ี
ผ้เู รยี น อ่าน-ฟังดู ได้เองที่บา้ นหรือที่ไหนๆ

14

ปฐมชัย ทองสนุ ทร (2557, น.2) กลา่ วว่า การเรยี นตามแนวคิดห้องเรียนกลบั ทางจะ เอ้ือให้ผเู้ รียน
ได้รับความสะดวกในการเรยี นเอง (SelFStudy) ในสถานทแี่ ละเวลาทีผ่ ู้เรยี นมคี วาม สะดวก โดย
การเรยี นนน้ั จะครอบคลมุ เนอื้ หาทั้งหมดทผ่ี เู้ รียนจะตอ้ งได้เรยี น ดังนนั้ การจัดการเรียนรู้ ตาม
แนวคิดห้องเรียนกลบั ทางนนั้ จงึ เปน็ รปู แบบหนึ่งของการเรียนรู้ทีม่ ่งุ เน้นการเรียนร้ดู ้วยตนเอง

ปางลีลา บรู พาพชิ ิตภัย (2558, น.1) กล่าวว่า การจดั การเรียนร้ตู ามแนวคิดห้องเรยี น กลบั ทางน้ัน
เปน็ รูปแบบท่ีผเู้ รยี นสามารถสร้างองคค์ วามรู้ได้ด้วยตนเอง เน้นทีอ่ งค์ความรู้ ทักษะ และ
สมรรถนะท่เี กดิ กับตวั ผเู้ รียนเพื่อใชใ้ นการดาํ รงชวี ิตในสังคม

พิมพป์ ระภา พาลพ่าย (2557 น. 20) ไดก้ ลา่ ววา่ แนวคิดห้องเรยี นกลบั ดา้ น (Flipped
Classroom) เป็นรูปแบบของการเรยี นการสอนรูปแบบหนึ่งทีเ่ ปล่ียนจากการเรียนบทเรยี นใน
หอ้ งเรยี น เป็นการเรียนบทเรียนนอกหอ้ งเรยี นหรอื ที่บ้าน เน้นการทาํ กจิ กรรม แลกเปลยี่ นความรู้
ของบทเรียน มกี ารทํางานร่วมกนั กับเพ่ือนร่วมชนั้ และมผี ู้สอนผูค้ อยชแ้ี นะปัญหาผ้เู รยี นเปน็
รายบคุ คล

วนั เฉลมิ อุดมทวี (2556, น.5) กล่าววา่ การเรียนรตู้ ามแนวคิดห้องเรียนกลับทางทาํ ให้ ผู้เรียนมี
ความเข้าใจมากขึน้ มกี ารนําเสนอผลงานของตนเอง และมีการพัฒนาการเรียนรมู้ ากขึน้

สรุ ศกั ด์ิ ปาเฮ (2556, น.4) หอ้ งเรียนกลบั ด้าน ตรงกับภาษาอังกฤษว่า The Flipped Classroom
ห้องเรียนกลับด้านเป็นรูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอน โดยทผี่ เู้ รียนจะไดเ้ รยี นรจู้ าก การบา้ นที่
ได้รบั ผ่านการเรียนดว้ ยตนเองจากสอ่ื วดี ทิ ัศน์ นอกช้นั เรยี นหรือทบ่ี ้าน สว่ นการเรยี นในชั้น เรยี น
ปกตนิ นั้ จะเป็นการเรยี นแบบสบื ค้นหาความรู้ทีไ่ ดร้ บั รว่ มกันกบั เพ่ือนในช้นั โดยมีครเู ปน็ ผู้คอย ให้
ความชว่ ยเหลือช้แี นะ

จากทไ่ี ดศ้ ึกษาความหมายจากนกั การศกึ ษาและนักวชิ าการหลายๆ ท่าน สรปุ ไดว้ า่ หอ้ งเรียนกลับ
ด้าน (Flipped Classroom) หมายถงึ รูปแบบการเรยี นการสอนอกี รปู แบบหนง่ึ ท่ตี อบสนอง
ความสามารถในการเรยี นร้ขู องนกั เรยี น เนน้ การจัดกจิ กรรมใหเ้ กดิ ความเข้าใจรว่ มกนั กับเพอ่ื นใน
ช้ันเรยี น นกั เรยี นสามารถเรียนรูไ้ ดต้ ลอดเวลาและทบทวนเนอื้ หาได้ด้วยตนเอง

15

2.2.2 ลกั ษณะสาํ คัญของห้องเรียนกลับด้าน

ห้องเรียนกลับด้าน (Flipped Classroom) เป็นการจัดประสบการณท์ างการเรยี นท่ีก่อ ให้เกิด
กระบวนการสร้างองค์ความร้ทู เี่ รียกวา่ “การเรยี นแบบรอบรู้หรือการเรยี นใหร้ จู้ รงิ (Mastery
Learning )” ซึ่งจะชว่ ยเพมิ่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของเด็ก เพ่ิมความร่วมมอื ระหว่างนักเรียน
เพ่มิ ความม่ันใจในตนเองของผูเ้ รียน และช่วยใหโ้ อกาสแกน่ กั เรยี นได้ปรบั ปรงุ แก้ไขตนเองในการ
เรียนรู้ ใหบ้ รรลุผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ลักษณะสาํ คัญของหอ้ งเรยี นกลับดา้ น ประกอบดว้ ย
(วิจารณ์ พานชิ ,2556, น.24)

1) สอนให้นกั เรียนรบั ผิดชอบการเรยี นของตนเอง

2) ทำให้ห้องเรยี นเตม็ ไปดว้ ยกจิ กรรมที่หลากหลาย

3) การเรยี นรู้เปน็ ศนู ยก์ ลางของหอ้ งเรียน

4) การเรยี นรู้แบบกลับทางและเรยี นใหร้ จู้ ริงใหบ้ รกิ าร feedback แก่เดก็ ในทันทีและลดเอกสารที่
ครูตอ้ งทำ

5) การเรียนแบบรจู้ รงิ ชว่ ยใหน้ ักเรยี นมโี อกาสไดเ้ รยี นเสรมิ ในชัน้ เรียนตามปกติ

6) การเรียนแบบรู้จริงเปดิ ช่องใหน้ ักเรยี นเรยี นร้สู าระด้วยหลากหลายวิธี
7) การเรยี นแบบรู้จริงเปดิ ชอ่ งให้นกั เรยี นแสดงภูมริ ูไ้ ด้หลากหลายแบบ

8) การเรียนแบบรจู้ รงิ เปลย่ี นบทบาทของครู ครู ไดใ้ ช้เวลาใหเ้ กิดคุณค่าตอ่ ศิษยม์ าก ท่สี ุด เพอื่
ช่วยให้เวลาในห้องเรียนเป็นเวลาทศ่ี ิษย์เกิดการเรียนรแู้ บบรู้จริง

9) การเรยี นแบบรู้จริงช่วยใหน้ กั เรียนเห็นคุณคา่ ของการเรียน

10) วิธเี รียนแบบรู้จริงจดั ซำ้ ง่าย ขยายขนาดช้นั เรยี นง่าย และจัดใหเ้ หมาะต่อเดก็ เปน็ รายคนได้
งา่ ย

11) วิธีเรยี นแบบกลบั ทางและเรยี นให้รู้จรงิ ชว่ ยเพิม่ เวลาพบหน้าระหวา่ งครูกับศิษย์

16

12) การเรียนแบบรู้จรงิ ช่วยใหน้ ักเรียนทกุ คนอย่กู ับการเรียน
13) การเรียนแบบรู้จรงิ ทำให้การลงมือทำเป็นการเรียนแบบท่ีเหมาะตอ่ เดก็ แตล่ ะคน
14) ช้นั เรยี นแบบรู้จรงิ ชว่ ยใหเ้ ด็กติดตามการสาธิตของครอู ยา่ งใกลช้ ิด
15) ชน้ั เรยี นแบบกลบั ทางห้องเรยี นและเรยี นให้รจู้ ริงเปดิ โอกาสให้ครูชว่ ยเหลอื นักเรียน
ตารางท่ี 2.3 เปรียบเทยี บเวลาท่ีใชใ้ นช้ันเรียน ระหวา่ งการเรียนแบบเดมิ กับการเรียนแบบ
ห้องเรียน
กลับดา้ น การเรยี นการสอนแบบเดิม การเรียนการสอนแบบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น กิจกรรม
กจิ กรรม การนาํ เขา้ สู่บทเรยี น (Warm-up) 5 นาที การนําเข้าส่บู ทเรยี น (Warm-up) 5 นาที
ตอบขอ้ สงสัยเกยี่ วกับการบ้านที่ ถาม-ตอบ เก่ยี วกบั วิดีโอท่ีนักเรยี น นักเรียนได้รับมอบหมาย 20
นาที ไปดู
10 นาที บรรยายเน้ือหาใหม่
30-45 นาที ช่วยเหลือนกั เรยี นทํางาน กจิ กรรม การเรียนรตู้ า่ งๆ
75 นาที ช่วยเหลือนักเรียนทาํ งาน/กจิ กรรม การเรียนรตู้ ่างๆ
20-35 นาที
สือ่ การเรยี นการสอนท่สี าํ คัญทใี่ ชใ้ นการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลบั ด้าน คอื การบนั ทึกวิดโี อ
การบรรยายของครู ซง่ึ ครผู ู้สอนจะจัดทาํ เองหรอื ใช้วดิ โี อของผู้อน่ื ทท่ี าํ ไวแ้ ลว้ สงิ่ ที่ ต้องคํานึงถึง
การเรยี นการสอนแบบกลบั ดา้ นชัน้ เรยี น คือ ผู้เรยี นต้องมโี อกาสอยา่ งสมํ่าเสมอ และ เท่าเทียมกัน
ในการดูวดิ โี อ โจนาธาน และ แอรอน ไดจ้ ัดเตรยี มวดิ โี อไวใ้ นหลายๆ ลักษณะ เพอ่ื ให้ นกั เรยี นมี
ทางเลอื ก เช่น ใสไ่ วบ้ นเว็บไซต์ Server ของโรงเรยี น นกั เรียนนํา Flash Drive มาบนั ทกึ ข้อมูล
ไปดกู บั เครื่องเลน่ หรอื คอมพิวเตอร์ แผน่ VDO

17

การตรวจสอบการดวู ิดโี อของนกั เรยี น 1) แบบบนั ทึกการเรยี น จดบนกระดาษ โพสต์ข้อความใน
บลอ็ ก หรอื สง่ อเี มล์ 2) ตงั้ คาํ ถาม เป็นคําถามท่ีสงสัยจากการดวู ิดีโอ เพือ่ มาถามครใู นชัน้ เรียน

การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลบั ด้าน (Flipped Classroom) ซึง่ เป็น นวตั กรรมการ
เรียนการสอนรปู แบบใหม่ในการสร้างผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรียนรแู้ บบรอบด้านหรือ

Mastery Learning นนั้ จะมีองคป์ ระกอบสําคัญที่เกิดขึ้น 4 องคป์ ระกอบ ที่เปน็ วัฏจกั ร (Cycle)
หมนุ เวยี นกันอยา่ งเป็นระบบ ซ่ึงองค์ประกอบท้ัง 4 ท่ีเกิดข้ึน ได้แก่ (Schoolwires, 2013)

1) การกาํ หนดยุทธวิธีเพมิ่ พูนประสบการณ์ (Experiential Engagement) โดยมคี รูผสู้ อน เปน็ ผู้
ชีแ้ นะวิธีการเรยี นรู้ให้กบั ผู้เรยี นเพือ่ เรยี นเนือ้ หา โดยอาศยั วิธีการทีห่ ลากหลายทัง้ การใช้กจิ กรรม
ที่กาํ หนดขนึ้ เอง เกม สถานการณจ์ ําลอง ส่อื ปฏสิ มั พันธ์ การทดลอง หรืองานดา้ นศิลปะแขนง
ตา่ งๆ

2) การสบื ค้นเพ่อื ให้เกิดมโนทศั นร์ วบยอด (Concept Exploration) โดยครผู สู้ อนเปน็ ผูค้ อย
ช้ีแนะให้กับผเู้ รยี นจากส่ือ หรอื กจิ กรรมหลายประเภท เชน่ ส่อื ประเภทวิดีโอบันทกึ การบรรยาย
การใช้ส่ือบนั ทกึ เสยี งประเภท Podcasts การใชส้ ื่อ Websites หรือส่ือออนไลน์ Chats

3) การสรา้ งองคค์ วามรอู้ ย่างมคี วามหมาย (Meaning Making) โดยผู้เรยี นเปน็ ผบู้ รู ณาการ สร้าง
ทกั ษะองค์ความร้จู ากส่ือทไ่ี ด้รับจากการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง โดยการสรา้ งกระดานความรู้
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ (Blogs) การใชแ้ บบทดสอบ (Tests) การใชส้ ือ่ สังคมออนไลน์ และกระดานสาํ หรับ
อภปิ รายแบบ ออนไลน์ (Social Networking & Discussion Boards)

4) การสาธติ และประยุกต์ใช้ (Demonstration & Application) เป็นการสรา้ งองคค์ วามรู้ โดย
ผ้เู รียนเองในเชิงสร้างสรรค์ โดยการจดั ทําเป็นโครงงาน (Project) และผ่านกระบวนการนาํ เสนอ
ผลงาน (Presentations) ทีเ่ กิดจากการรงั สรรคง์ านเหล่านนั้

Model หรือตวั แบบของการจดั กกิ รรมการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลบั ด้าน (The Flipped
Classrooms) ทีก่ ล่าวไว้ในเบอื้ งตน้ น้ัน สามารถกําหนดเปน็ ภาพเชิงกราฟิก

18

จากทีไ่ ดก้ ลา่ วมาข้างต้นสรุปได้ว่า ลักษณะสําคญั ของห้องเรียนกลับด้าน คอื การทีค่ รู มอบหมาย
งานใหผ้ ู้เรียนได้ไปศึกษาหาความรมู้ าจากบา้ นแล้วนํามารว่ มกิจกรรมในหอ้ งเรยี น โดยมีครู คอยให้
ความชว่ ยเหลอื แนะ

2.2.3 ประโยชนท์ ่ีเกดิ จากการเรยี นแบบห้องเรยี นกลับดา้ น

Bergmann and Sams กลา่ วไว้ในหนงั สอื Flip You Classroom : Reach Every Student in
Every Class Every Say สรปุ ได้ดังน้ี (อา้ งถึงใน วจิ ารณ์ พาณชิ , 2556, น.15-16)

1) เพอื่ เปลี่ยนวธิ กี ารสอนของครู จากการบรรยายหนา้ ชน้ั เรยี นหรือจากครสู อนไป เป็นครฝู ึก ฝกึ
การทําแบบฝึกหัดหรือทาํ กิจกรรมอื่นในชั้นเรียนให้แก่ศษิ ยเ์ ป็นรายบุคคล หรอื อาจ เรียกวา่ เปน็ ครู
ติวเตอร์

2) เพ่อื ใช้เทคโนโลยกี ารเรียนทเี่ ด็กสมัยใหมช่ อบ โดยใช้สื่อ ICT ซงึ่ กล่าวได้ว่าเปน็ การนาํ โลกของ
โรงเรยี นเข้าส่โู ลกของนักเรยี นซ่ึงเป็นโลกยคุ ดิจิตลั

3) ช่วยเหลือเดก็ ทมี่ ีงานยุง่ เดก็ สมัยนม้ี กี จิ กรรมมาก ดงั นั้นจงึ ตอ้ งเข้าไปช่วยเหลือใน การจดั การ
เรียนรู้ โดยใช้บทสอนท่สี อนด้วยวีดทิ ศั น์อยบู่ นอนิ เทอร์เนต็ (Internet) ชว่ ยให้เดก็ เรียนไว้
ลว่ งหน้าหรอื เรยี นตามชัน้ เรยี นได้ง่ายขน้ึ รวมทั้งเป็นการฝกึ เดก็ ให้รูจ้ ักการจัดเวลาของตนเอง

4) ชว่ ยเหลอื เด็กเรยี นออ่ นใหข้ วนขวายหาความรู้ ในช้ันเรยี นปกตเิ ด็กเหลา่ นี้จะถกู ทอดทง้ิ แต่ใน
ห้องเรยี นกลบั ดา้ นเด็กจะไดร้ ับการเอาใจใส่จากครมู ากท่ีสดุ โดยอัตโนมตั ิ

5) ช่วยเหลอื เดก็ ทีม่ คี วามสามารถแตกต่างกันใหก้ า้ วหน้าในการเรยี นตามความ สามารถของ
ตนเอง เพราะเดก็ สามารถฟัง-คูวดี ิทัศนไ์ ด้เอง จะหยดุ ตรงไหนกไ็ ด้ กรอกลบั (Review) เกไ็ ดต้ ามที่
ตนเองพงึ พอใจทจ่ี ะเรยี น

6) ช่วยให้เด็กสามารถหยดุ และกรอกลบั ครขู องตนเองได้ ทําให้เดก็ จดั เวลาเรยี น ตามที่ตนพอใจ
เบอ่ื กห็ ยุดพกั ได้ สามารถแบง่ เวลาในการดเู ปน็ ชว่ งได้

19

7) ช่วยใหเ้ กิดปฏสิ มั พันธ์ระหว่างเดก็ กับครูเพ่มิ ขึ้น ตรงกนั ข้ามกบั การที่เรยี นแบบ ออนไลน์ การ
เรียนแบบหอ้ งเรียนกลบั ด้านยังเป็นรูปแบบการเรยี นทน่ี กั เรียนยังคงมาโรงเรยี น และ นักเรยี น
พบปะกบั ครู หอ้ งเรียนกลบั ดา้ นเปน็ การประสานการใชป้ ระโยชนร์ ะหวา่ งการเรยี นแบบ ออนไลน์
และการเรียนระบบพบหน้า ช่วยเปล่ยี นและเพ่ิมบทบาทของครใู หเ้ ปน็ ท้งั พีเ่ ลยี้ ง (Mentor) เพือ่ น
บา้ น (Neighbor) และผู้เชี่ยวชาญ (Expert)

8) ช่วยใหค้ รรู ู้จกั นักเรียนดขี ้นึ หน้าทีข่ องครูไม่ใช่เพยี งช่วยให้ศิษย์ได้ความรูห้ รอื เน้ือหา แตต่ ้อง
กระตุ้นให้เกิดแรงบันดาลใจ (Inspire) ใหก้ าํ ลงั ใจ รับฟังและชว่ ยเหลอื ส่งเสริมผู้เรยี น ซง่ึ เป็นมิติ
สาํ คัญท่จี ะชว่ ยเสรมิ พัฒนาการทางการเรียนของเด็ก

9) ชว่ ยเพิ่มปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างเพอื่ นนกั เรียนด้วยกันเอง จากกจิ กรรมทางการเรียนท่ี ครูจดั
ประสบการณข์ นึ้ มาน้นั ผ้เู รยี นสามารถท่ีจะชว่ ยเหลอื เกอื้ กูลซึ่งกันและกนั ไดด้ ี เปน็ การปรับ
เปลี่ยนกระบวนทศั นข์ องนกั เรยี นทีเ่ คยเรียนตามคําส่ังครหู รอื ทาํ งานใหเ้ สร็จตามกําหนด เปน็ การ
เรียน เพอ่ื ตนเองไม่ใชค่ นอ่ืน ส่งผลต่อเดก็ ทีเ่ อาใจใส่การเรยี น ปฏิสมั พันธร์ ะหว่างนกั เรียนด้วยกัน
จะเพมิ่ ข้ึน โดยอตั โนมตั ิ

10) ชว่ ยใหเ้ หน็ คุณค่าของความแตกตา่ ง ตามปกตแิ ล้วในชน้ั เรียนเดยี วกันจะมเี ดก็ ท่ี มคี วาม
แตกต่างกนั มาก มคี วามถนดั และความชอบทแี่ ตกตา่ งกนั ดังนน้ั การจดั กิจกรรมการสอนแบบ
ห้องเรียนกลบั ทางจะช่วยใหค้ รูเห็นจดุ ออ่ นจุดแข็งของผเู้ รียนแตล่ ะคน เพอ่ื นด้วยกันกเ็ ห็นและ
ช่วยเหลือกันดว้ ยจุดแข็งของแต่ละคน

11) เป็นการปรบั เปลี่ยนรูปแบบการจดั การหอ้ งเรยี น ชว่ ยเปดิ ช่องใหค้ รสู ามารถจัดการ ชนั้ เรยี น
ได้ตามความต้องการทจี่ ะทํา ครสู ามารถทําหน้าท่ีของการสอนทีส่ าํ คญั ในเชงิ สร้างสรรค์ เพอ่ื สร้าง
คณุ ภาพแก่ชน้ั เรียน ช่วยให้เดก็ ร้อู นาคตของชวี ิตได้ดีท่สี ุด

12) เปล่ียนคาํ สนทนากับพ่อแม่ ประสานความสมั พันธท์ ่ีดีระหว่างโรงเรยี นกบั ผู้ปกครอง ซึ่งการ
รับทราบและแลกเปล่ียนความรู้รว่ มกนั จะทาํ ให้เด็กเกดิ การเรียนรทู้ ่ีดไี ด้

20

13) ช่วยให้เกดิ ความโปร่งใสในการจัดการศึกษา การใช้หอ้ งเรียนแบบกลับทางโดย นําสาระคาํ
สอนไปไว้ในวดี ทิ ัศน์นําไปเผยแพร่ทางอนิ เทอรเ์ น็ต เป็นการเปิดเผยเน้อื หาสาระทางการ เรียนให้
สาธารณชนได้ทราบ สร้างความเช่อื ม่ันในคุณภาพการเรียนการสอนให้ผู้ปกครองทราบ

จากทกี่ ล่าวมาขา้ งตน้ สามารถสรุปไดว้ ่า ประโยชนข์ องการจดั การเรียนรู้แบบหอ้ งเรยี น กลับดา้ น
คอื เหมาะสมกับผู้เรยี นยุคปจั จบุ ันทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรียนรู้ มีความยืดหย่นุ
ช่วยเหลอื นักเรียนทมี่ ีภาระงานมาก ชว่ ยการเรยี นรขู้ องเด็กท่ีเรยี นไม่เก่ง มปี ฏสิ มั พนั ธใ์ นชน้ั เรียน
มากขน้ึ เปน็ การเรียนรู้ตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ผเู้ รียนเรียนร้ไู ดด้ ีข้นึ และช่วยแก้ปญั หา
ผลสมั ฤทธิ์ทาง การเรยี นของนกั เรียนได้

2.3 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2.3.1 ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ แนวทางการดําเนินชีวิตและวธิ ีการปฏิบัตทิ ่ี พระบาทสมเดจ็
พระเจ้าอยหู่ วั รชั กาลท่ี 9 ไดท้ รงมพี ระราชดาํ รัสแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอด และได้ทรงเนน้
ยํ้าแนวทางการพัฒนาท่ีต้ังอยู่บนพื้นฐานทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคาํ นึงถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล การสรา้ งภมู ิคมุ้ กันในตัวเอง ตลอดจนใชค้ วามรู้ และ คุณธรรมเปน็
พืน้ ฐานในการดํารงชวี ติ การปอ้ งกันใหร้ อดปลอดภัยจากวกิ ฤตกิ ารณต์ า่ งๆ (สาํ นกั ประสานและ
พัฒนาการจัดการศกึ ษาท้องถน่ิ , 2550, น.149)

เศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ ปรชั ญาชี้แนวทางการดํารงชวี ิตอยู่และปฏบิ ัติตนของประชาชน ทุกระดบั
ตั้งแตร่ ะดับครอบครวั ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ในการพฒั นาและบริหารประเทศให้ ดาํ เนิน
ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ ใหก้ า้ วทันต่อยคุ โลกาภวิ ัตน์ ความพอเพียง
หมายถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตุผล รวมถึงความจําเป็นทจี่ ะตอ้ งมภี มู ิคุ้มกันในตัวท่ดี ี
เพอ่ื ให้ สามารถจัดการกับความเปลี่ยนแปลงทง้ั ภายนอกและภายในได้ ยง่ิ ในสภาวะที่โลกมีการ
เปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเร็วย่ิงจาํ เป็นอยา่ งยิง่ ท่ีจะต้องตั้งสติว่าจะกา้ วไปอย่างไรจึงจะพอดี

21

ฐติ มิ น ทองพิมพ์ (2551, น.9) สรปุ ไวว้ า่ เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ วธิ ีการดาํ เนินชวี ิตของ ประชาชน
ทุกคน ทกุ อาชีพ โดยมีการพัฒนาศกั ยภาพ มคี วามรู้ มีคณุ ธรรม พ่ึงตนเอง พ่ึงพาอาศยั ซึง่ กัน และ
กนั อยา่ งเอ้อื เฟ้อื เผือ่ แผ่ มีความคดิ ไตรต่ รองหาเหตผุ ลในการตดั สนิ ใจ รจู้ ักใชจ้ ่าย ไม่ฟุ้งเฟอ้ ไม่ล่มุ
หลงในอบายมุข หรือคําโฆษณา และพร้อมทจ่ี ะเผชิญกับปญั หาและสามารถแกไ้ ขปญั หาท่ี เกดิ ขนึ้
ได้

กฤษณพงศ์ วมิ ลศิลป์ (2547, น.22) กลา่ วสรุปวา่ เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ เศรษฐกจิ สาย กลางหรือ
เศรษฐกจิ แบบมัชฌมิ าปฏปิ ทา ทเ่ี ช่อื มโยงสัมพนั ธ์กันกับครอบครวั ชุมชนวฒั นธรรม และ
ส่ิงแวดล้อม มีความพงึ พอใจในครอบครวั ทีไ่ มท่ อดทิง้ กนั มีจิตใจเออ้ื อาทร อนรุ ักษส์ ่งิ แวดล้อม
ชมุ ชน รวมตวั กนั แกป้ ัญหา เรียนรรู้ ว่ มกนั เทา่ ทนั การเปลีย่ นแปลงของโลก อย่บู นวฒั นธรรม มี
ความมน่ั คง ทางใจ ไมเ่ ปลี่ยนแปลงเร็วจนรบั ไมท่ ัน

ศิริลกั ษณ์ คลองขอ่ ย (2555, น.30) สรุปไวว้ ่า ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง คอื
แนวคดิ ปรชั ญาท่ีชถ้ี ึงแนวทางการดํารงอย่แู ละปฏิบัติตนของสังคมไทย เพือ่ ให้กา้ วทนั ต่อ ยคุ โลกา
ภวิ ัตน์ เพ่ือให้เกดิ ความก้าวหน้าไปพรอ้ มกบั ความสมดุลและพร้อมรบั ตอ่ การเปล่ียนแปลง โดยใช้
หลักความพอเพยี งเป็นหลักคดิ และหลักปฏิบัติในการดาํ เนินชีวติ

จรวยพร ธรนนิ ทร์ (2551) กลา่ วว่า เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ กรอบแนวคิดในการตดั สนิ ใจ เพื่อให้
เกดิ การพฒั นาประโยชน์ทีส่ ุดตอ่ ทกุ คน 6

ประเวศ วะสี (2541, น.3) เศรษฐกจิ พอเพียง คอื วัฒนธรรมที่พอเพยี ง มีสิง่ แวดลอ้ มที่ พอเพียง
เศรษฐกจิ ท่บี รู ณาการ ได้ดลุ ยภาพ มีความเป็นปกติและยั่งยนื

สุเมธ ตนั ติเวชกลุ (2549 น.286) กล่าวว่า เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกจิ ที่ สามารถอมุ้ ชู
ตวั เองไดโ้ ดยไม่ตอ้ งเดือดร้อน โดยตอ้ งสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดี เสียกอ่ น คือ ต้ัง
ตวั ใหม้ ีความพอกนิ พอใช้ ไม่ใชม่ งุ่ หวังแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกระดบั ทาง

เศรษฐกิจให้รวดเร็วแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว เพราะผทู้ ่ีมีอาชพี และฐานะเพียงพอที่จะพ่ึงตนเอง ยอ่ ม
สามารถ สร้างความเจริญก้าวหน้าและฐานะทางเศรษฐกิจข้ันทส่ี ูงขึ้นไปตามลาํ ดบั ตอ่ ไป

22

จากความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงขา้ งต้น สรุปได้ว่า เศรษฐกจิ พอเพียง หมายถงึ แนวคิด
ปรัชญาท่ีชีถ้ ึงแนวทางการดาํ เนินชีวติ ของคนไทย ให้มีความพอเพยี งกบั ตัวเอง มีความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล ภายใต้ระบบภมู คิ มุ้ กันที่ดีในตัวเอง โดยอาศยั ความรอบรู้ รอบคอบ
ระมดั ระวัง กา้ วทันยคุ โลกาภวิ ตั น์ และเกิดความก้าวหน้าไปพร้อมกับความสมดลุ และความ
พร้อมตอ่ การ เปลย่ี นแปลง โดยใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นหลกั คิดและหลักในการ
ดําเนนิ ชวี ิต

2.3.2 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ท่ที รงปรบั ปรงุ พระราชทานเป็นท่ีมาของนยิ าม “3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข”
ทค่ี ณะอนกุ รรมการขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพยี ง สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจ
และสังคมแหง่ ชาติ นํามาใช้ในการรณรงค์เผยแพรป่ รชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งผ่านชอ่ งทาง สื่อ
ตา่ งๆ อย่ใู นปัจจบุ นั ซึ่งประกอบด้วย ความ “พอประมาณ มเี หตุผล มีภมู ิคุ้มกัน” บนเง่อื นไข
“ความรู้ และ “คณุ ธรรม” ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บคุ คลสามารถประกอบอาชีพได้
อยา่ งยัง่ ยนื และใช้ จ่ายเงนิ ให้ไดม้ าอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกําลงั ของเงินของบุคคลนัน้
โดยปราศจากการกหู้ นีย้ ืมสิน และถ้ามเี งนิ เหลือกแ็ บ่งเก็บออมไวบ้ างส่วน ชว่ ยเหลือผู้อื่นบางสว่ น
และอาจจะใช้จา่ ยมาเพือ่ ปัจจยั เสริมอกี บางสว่ น สาเหตทุ ีแ่ นวทางการดาํ รงชีวติ อยา่ งพอเพียง ได้
ถกู กลา่ ว ถงึ อยา่ งกว้างขวางใน ขณะน้ี เพราะสภาพการดาํ รงชวี ติ ของสังคมทนุ นิยมในปจั จุบันได้
ถกู ปลกู ฝงั สร้างหรือกระตุ้นให้เกิด การใช้จา่ ยอยา่ งเกนิ ตวั ในเรอื่ งทไ่ี ม่เกี่ยวข้อง หรือเกนิ กว่า
ปัจจัยในการดาํ รงชีวติ เชน่ การบรโิ ภคเกินตัว ความบันเทงิ หลากหลายรูปแบบ ความสวยความ
งาม การแต่งตัวตามแฟช่นั การพนันหรือเส่ียงโชค เป็นตน้ จนทาํ ให้ไมม่ เี งนิ เพยี งพอเพอ่ื
ตอบสนองความตอ้ งการเหล่านน้ั ส่งผลให้เกิดการกหู้ น้ยี ืมสนิ เกดิ เปน็ วฏั จักรทีบ่ ุคคลหน่ึงไม่
สามารถหลดุ ออกมาได้ ถา้ ไม่เปล่ียนแนวทางในการดาํ รงชวี ิต

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง

หว่ ง 1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีทีไ่ ม่นอ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไมเ่ บียดเบยี น
ตนเองและผ้อู นื่ เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่อี ยู่ในระดบั พอประมาณ

23

หว่ ง 2 ความมีเหตุผล หมายถงึ การตดั สินใจเกยี่ วกับระดับของความพอเพยี งน้นั จะต้องเป็นไป
อยา่ งมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ตลอดจนคํานงึ ถึงผลที่คาดวา่ จะ เกิดขน้ึ จาก
การกระทาํ นน้ั ๆ อยา่ งรอบคอบ

ห่วง 3 การมีภูมคิ มุ้ กันที่ดใี นตัว หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และ การ
เปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ทจี่ ะเกดิ ข้ึน โดยคํานึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดวา่ จะ
เกดิ ขึ้นในอนาคตทัง้ ใกล้และไกล

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงอ่ื นไข

1) เงือ่ นไข ความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ ก่ียวกบั วชิ าการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องอยา่ ง รอบด้าน
ความรอบคอบทีจ่ ะนาํ ความร้เู หลา่ นนั้ มาพจิ ารณาใหเ้ ช่ือมโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และ
ความระมัดระวังในข้ันปฏบิ ัติ

2) เง่อื นไข คุณธรรม ทจี่ ะตอ้ งเสริมสรา้ ง ประกอบดว้ ย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซอื่ สัตย์สุจรติ และมคี วามอดทน มีความพากเพยี ร ใชส้ ติปญั ญาในการดาํ เนนิ ชวี ติ

2.3.3 การประยกุ ตใ์ ช้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การนําไปใชใ้ นชวี ิตประจาํ วันครอบครวั ของฉนั อยูแ่ บบเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนว พระราชดํารทิ ่ี
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 พระราชทานไว้ดังนี้

1) พอมพี อกิน ปลกู พชื สวนครัวไว้กนิ เองบา้ งปลูกไม้ผลไว้หลังบ้าน 2-3 ต้น พอที่จะ มีไว้กินเองใน
ครวั เรอื น แบ่งใหเ้ พ่ือนบ้านบา้ ง เหลอื จึงขายไป

2) พออย่พู อใช้ ทําให้บา้ นนา่ อยู่ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหม็น ใช้แตข่ องทเี่ ป็น ธรรมชาติ รายจา่ ย
ลดลง สุขภาพจะดีขนึ้ (ประหยัดคา่ รกั ษาพยาบาล) คุณพอ่ ของฉนั และฉนั มักเน้น เกย่ี วกับเร่ือง
ไฟฟา้ และน้ำประปา ทา่ นให้พวกเราชว่ ยกันประหยดั ไม่ว่าจะอยทู่ บ่ี ้านหรือโรงเรยี น ก็ควรปดิ นํา้
ปดิ ไฟ เม่ือเลิกใช้งานทกุ ครั้ง

24

3) พออกพอใจ เราต้องรจู้ กั พอ รจู้ ักประมาณตน ไม่ใครอ่ ยากใคร่มีเชน่ ผู้อนื่ เพราะเรา จะหลงตดิ
กบั วัตถชุ วี ติ โดยจะอยใู่ นกจิ กรรม “ออมวนั น้ี เศรษฐวี นั หน้า”

4) เมอื่ มีรายไดแ้ ตล่ ะเดอื น จะแบง่ ไวใ้ ช้จ่าย 3 สว่ น เป็นค่านา้ํ ค่าไฟ คา่ โทรศัพท์ ค่า จปิ าถะ ท่ใี ช้
ในครวั เรือน รวมทั้งค่าเสอ้ื ผ้า เคร่อื งใช้บางอย่างทีช่ ํารุด เป็นตน้

5) ฉนั จะยดึ ความประหยัด ตดั ทอนรายจา่ ยในทกุ ๆ วนั ทไี่ ม่จําเป็น ลดละความ ฟ่มุ เฟอื ย

การปฏิบตั ติ ามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ยดึ หลัก พออยู่ พอกนิ พอใช้ ยึดความ ประหยัด ตัด
ทอนค่าใชจ้ า่ ย ลดความฟมุ่ เฟอื ย ในการดาํ รงชพี “ความเป็นอยู่ทตี่ ้องไมฟ่ ุง้ เฟ้อตอ้ งประหยัด ไป
ในทางท่ถี ูกต้อง” ยึดถอื การประกอบอาชีพดว้ ยความถกู ตอ้ งและสจุ รติ “ความเจรญิ ของคน
ทัง้ หลาย ย่อมเกดิ มาจากการประพฤตชิ อบ และการหาเล้ยี งชีพชอบเปน็ สาํ คญั ” ละเลิกการ
แก่งแยง่ ผลประโยชนแ์ ละแข่งขนั ในการคา้ ขาย ประกอบอาชพี แบบตอ่ สู้กนั อย่างรนุ แรง
“ความสุขความเจรญิ อนั แท้จริง หมายถงึ ความสุข ความเจริญ ที่บคุ คลแสวงหามาได้ด้วยความ
เปน็ ธรรมทง้ั ในเจตนาและ การกระทํา ไม่ใช่ได้มาด้วยความบงั เอิญหรือด้วยการแกง่ แยง่ เบยี ดบัง
จากผูอ้ น่ื ” ม่งุ เนน้ หาข้าวหาปลา กอ่ นมุ่งเน้นหาเงินหาทอง ทํามาหากินก่อนทาํ มาคา้ ขาย ภูมิ
ปัญญาชาวบา้ นและท่ดี ินทาํ กิน คอื ทุนทาง สังคมตั้งสติท่ีมนั่ คง ร่างกายที่แขง็ แรง ปญั ญาทเ่ี ฉยี บ
แหลม

เศรษฐกจิ พอเพียงจะดําเนินไปไดด้ ี ด้วยการประชาสัมพนั ธใ์ ห้ทกุ คนปฏิบัตติ าม ขอให้อย่าลมื ท่ีจะ
ปฏบิ ตั ิในเรอ่ื งความขยนั ประหยดั ซอ่ื สัตย์ อดทน ปฏิบัติตนเป็นคนดี ดาํ เนินชีวิต แบบเรียบงา่ ย
ให้พอเพียง พอกิน และพอใช้ โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ถึงเวลาแล้วทพ่ี วกเรา ทกุ คน
ควรรว่ มมือ รว่ มใจกันปฏบิ ตั ิตามแนวพระราชดํารเิ ศรษฐกจิ พอเพยี งของในหลวง ต้ังแต่ยงั เด็ก
แลว้ จะติดเป็นนสิ ยั ความพอเพียงไปตลอดชวี ิต สามารถนาํ ไปพฒั นาตน พัฒนาประเทศชาตใิ ห้
เจรญิ ก้าวหน้า เป็นบคุ คลที่มคี ณุ ภาพ เปน็ คนดีของสังคม

การประยุกตป์ ลูกฝงั ใช้เศรษฐกิจพอเพยี งในโรงเรียน

25

เรม่ิ ต้นจากการเสรมิ สร้างคนใหม้ ีการเรียนรู้วิชาการและทักษะต่างๆ ท่จี าํ เป็น เพือ่ ให้ สามารถ
รเู้ ท่าทนั การเปล่ียนแปลงในด้านตา่ งๆ พรอ้ มทัง้ เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จนมคี วามเข้าใจและ
ตระหนักถงึ คณุ ค่าของการอยูร่ ่วมกนั ของคนในสังคม และอยรู่ ่วมกับระบบนเิ วศน์วทิ ยาอยา่ งสมดลุ
เพ่ือจะได้มีความเกรงกลัวและละอายตอ่ การประพฤติผิดมชิ อบ ไม่ตระหน่ี เป็นผใู้ ห้ เก้อื กูล
แบง่ ปนั มีสตยิ ั้งคิดพิจารณาอยา่ งรอบคอบ กอ่ นที่จะตดั สนิ ใจ หรอื กระทําการใดๆ จนกระทงั่ เกิด
เป็นภูมคิ ุ้มกัน ที่ดีในการดํารงชีวิต โดยสามารถคิดและกระทําบนพ้นื ฐานของความมเี หตุมีผล
พอเหมาะ พอประมาณ กับสถานภาพ บทบาทและหนา้ ท่ีของแต่ละบุคคล ในแต่ละสถานการณ์
แล้วเพยี รฝกึ ปฏิบัติเชน่ น้ี

จนตนสามารถทาํ ตนให้เป็นพ่ึงของตนเองได้ และเปน็ ทีพ่ ง่ึ ของผอู้ ่นื ได้ในท่สี ดุ เศรษฐกจิ พื้นฐาน
ประกอบด้วยลักษณะสําคญั คอื

1) เปน็ เศรษฐกิจ ของคนทงั้ มวล 2) มีชุมชนท่ีเขม้ แขง็ เป็นพื้นฐานของเศรษฐกิจ

3) มีความเป็นบูรณาการเข้มแข็งไปพรอ้ มๆ กนั หมด ทั้งเรือ่ งเศรษฐกจิ สังคม สิ่งแวดลอ้ ม และ
วฒั นธรรม

4) เติบโตบนพน้ื ฐานท่เี ขม้ แขง็ ของเราเอง เช่น ดา้ นเกษตร หตั ถกรรม อุตสาหกรรม สมนุ ไพร
อาหาร การท่องเท่ยี ว เป็นตน้

5) มีการจัดการที่ดเี ปน็ พ้ืนฐาน ส่งเสรมิ การเกิดนวัตกรรมต่างๆ ให้สามารถนํามาใช้ งานไดอ้ ยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง

การพฒั นาประเทศตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาประเทศมไิ ดม้ แี บบอยา่ ง ตายตวั ตาม
ตาํ รา หากแต่ตอ้ งเปน็ ไปตามสภาพภมู ิประเทศทางภมู ศิ าสตร์ สงั คมวทิ ยา วัฒนธรรม ชุมชน ทีม่ ี
ความหลากหลาย ในขณะเดยี วกนั เราก็ตอ้ งเขา้ ใจในการเปลยี่ นแปลงของสังคมโลกท่เี กิดขนึ้ อย่าง
รวดเรว็ ตามอทิ ธิพลของกระแสโลกาภวิ ตั น์ ควบคู่ไปกบั การพยายามหาแนวทางหรอื วิธีการทจี่ ะ
ดํารงชวี ิตตามหลักการพนื้ ฐานของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ดาํ เนินไปไดอ้ ยา่ งสมดุลและสอดคล้องกับ
สภาพแวดลอ้ มในยคุ โลกาภิวัตน์ โดยอาศยั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ ตวั สร้างภมู คิ ุ้มกันตอ่

26

ผลกระทบทชี่ มุ ชนอาจจะไดร้ ับ ไม่ให้กระแสเหล่านัน้ มาทําลายเอกลกั ษณ์และวัฒนธรรมชมุ ชนจน
ตอ้ งล่มสลายไป 2

จากแนวพระราชดําริ เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นแนวทางท่ีให้ประชาชนดาํ เนนิ ตามวถิ ี แห่งการดาํ รง
ชีพท่สี มบูรณ์ ศานติสุข โดยมีธรรมะเปน็ เครอื่ งกํากบั และใจตนเป็นทส่ี ําคญั ซ่งึ กค็ อื วิถีชีวิตไทย ท่ี
ยึดเส้นทางสายกลางของความพอดี ในหลักของการพงึ่ พาตนเอง 5 ประการ คือ

1) ความพอดีด้านจติ ใจ : เข้มแขง็ พง่ึ ตนเองได้ มีจิตสํานึกที่ดี เอือ้ อาทร ประนปี ระนอม คาํ นึงถึง
ผลประโยชน์สว่ นรวม = 0

2) ความพอดีดา้ นสังคม : มีการช่วยเหลอื เก้อื กลู กัน สรา้ งความเข้มแข็งให้แก่ชมุ ชน รูจ้ ักผนกึ กําลัง
และทีส่ ําคญั มกี ระบวนการเรียนรทู้ ีเ่ กิดจากฐานรากทีม่ น่ั คงและแข็งแรง

3) ความพอดีดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม : รู้จกั ใช้และจัดการอย่างฉลาด และ
รอบคอบ เพอื่ ให้เกิดความยง่ั ยนื สูงสุด ใชท้ รัพยากรท่มี อี ยู่ในประเทศ เพื่อพัฒนาประเทศใหม้ ั่นคง
เปน็ ขน้ั เปน็ ตอนไป

4) ความพอดีด้านเทคโนโลยี : รจู้ กั ใช้เทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมให้สอดคล้องกับความ ต้องการ และ
ควรพฒั นาเทคโนโลยีจากภมู ิปญั ญาชาวบา้ นของเราเอง และสอดคลอ้ งเปน็ ประโยชนต์ ่อ
สภาพแวดล้อมของเราเอง

5) ความพอดีด้านเศรษฐกิจ : เพ่มิ รายได้ ลดรายจ่าย ดํารงชีวติ อย่างพอสมควร พออยู่ พอกนิ ตาม
อตั ภาพ และฐานะของตนเอง

จะเห็นไดว้ า่ การพฒั นาเร่ิมจากการสร้างพื้นฐาน ความพอกนิ พอใช้ ของประชาชนใน ชาติเป็นสว่ น
ใหญก่ ่อน แลว้ จึงคอ่ ยเสรมิ สร้างความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ตามลําดับ เพอื่ จะได้ เกิด
สมดลุ ทางดา้ นตา่ งๆ หรือเป็นการดาํ เนินการไปอยา่ งเปน็ ข้ันเป็นตอน จากระดับหน่ึงไปส่อู ีกระดับ
หนงึ่ โดยสรา้ งความพรอ้ มทางด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม ท่ไี ม่ใช่เป็นการ “ก้าวกระโดด” ที่ตอ้ งใช้
ปจั จยั ภายนอกต่างๆ มาเป็นตัวกระตุ้น เพียงเพื่อให้เกดิ ความทนั กันในชวั่ ขณะหนึ่ง ซ่ึงในทส่ี ดุ

27

ประชาชนไม่สามารถปรบั ตวั ให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและการแข่งขนั ดงั กลา่ วได้ ก็จะเกิด
ปัญหา ตามมา ดังทปี่ ระเทศไทยไดป้ ระสบปญั หาเศรษฐกจิ เมอื่ ปี พ.ศ.2540

การประยกุ ต์ใช้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เกดิ ได้หลายด้านและหลายรูปแบบไม่มีสตู ร สาํ เร็จ
แต่ละคนจะตอ้ งพิจารณาปรับใชต้ ามความเหมาะสม ให้สอดคล้องกับเงอ่ื นไข และสภาวะที่ตน
เผชญิ อยู่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจะช่วยให้เรา “ฉกุ คิด” ว่ามที างเลอื กอกี ทางหน่ึงทจ่ี ะชว่ ย
ให้ เกิดความยัง่ ยืน มั่นคง และสมดุลในระยะยาว

2.4 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นเปน็ ความสามารถของนกั เรยี นในดา้ นตา่ งๆ ซึ่งเกิดจากนักเรยี น ไดร้ ับ
ประสบการณจ์ ากกระบวนการเรยี นการสอนของครู โดยครูต้องศกึ ษาแนวทางในการวัดและ
ประเมนิ ผล การสร้างเครอื่ งมือวัดใหม้ ีคุณภาพนนั้ ไดม้ ผี ใู้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ไว้ ดังนี้

2.4.1 ความหมายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเป็นความสามารถทางสมองดา้ นต่างๆ ทีน่ ักเรยี นสามารถ ไดร้ ับจาก
ประสบการณ์ทง้ั ทางตรงและทางอ้อม จากการจดั กระบวนการการเรยี นรู้ ซึง่ มนี ักวชิ าการ และ
นักการศึกษาหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นไว้ดังน้ี

ขนิษฐา บุญภกั ดี (2552, น.10) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น หมายถึง คณุ ลักษณะและ ความสามารถ
ของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอน อาจจะได้มาจากกระบวนการทีไ่ มต่ อ้ งอาศยั การ ทดสอบ
เชน่ การสังเกต และจากการใช้แบบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทว่ั ไป

ชาลินี แพ็ทเทอสัน (2549 น. 29) ไดใ้ หค้ วามหมายของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน คือ ผลการสอนที่
เกดิ จากความรู้ ทกั ษะความสามารถในดา้ นต่างๆ ของนกั เรียน ทเ่ี กดิ จากการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมและประสบการณ์การเรยี นรู้

28

ธัญพร อรรถเดช (2548, น.31) ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หมายถึง คุณลกั ษณะและ ความสามารถ
ของบุคคลทพี่ ฒั นาดีขน้ึ อนั เกิดจากการเรยี นการสอน การฝกึ อบรม การไดป้ ฏิบตั ิ ซึ่งประกอบไป
ดว้ ย ความรู้ และสมรรถภาพทางสมอง

นา้ํ ทพิ ย์ รวยร่ืน (2546, น.31) ได้กล่าววา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความ สําเร็จในดา้ น
ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะทเ่ี กดิ จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทีไ่ ด้รบั การ ฝึกฝน
หรอื ประสบการณ์เรยี นร้ใู นด้านต่างๆ ของแตล่ ะบคุ คล โดยการทดสอบจากแบบวัดผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี น

บญุ ชม ศรสี ะอาด (2556, น.68) กล่าวว่า ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถึง ผลที่เกิด ข้ึนจากการ
คน้ คว้า การอบรม การสง่ั สอน หรอื ประสบการณ์ต่างๆ รวมทง้ั ความรสู้ กึ ค่านิยม จริยธรรมตา่ งๆ
ทเ่ี ป็นผลมาจากการฝึกสอน รวม 7

ปราณี กองจนิ ดา (2549, น42) กลา่ วว่า ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ หรอื
ผลสําเรจ็ ท่ไี ดร้ บั จากกจิ กรรมการเรยี นการสอนเป็นการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมและประสบการณ์
เรียนร้ทู างดา้ นพุทธิพสิ ัย จติ พสิ ยั และทักษะพสิ ัย และยงั ไดจ้ ําแนกผลสัมฤทธิท์ างการเรียนไว้ตาม
ลกั ษณะของวตั ถุประสงคข์ องการเรียนการสอนทแี่ ตกตา่ งกนั

พวงรัตน์ ทวีรัตน์ (2543, นว9) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น (Academic Achievement)
หมายถึง คณุ ลกั ษณะรวมถึงความรูค้ วามสามารถของบุคคลอนั เปน็ ผลมาจากการเรียนการสอน
คอื มวลประสบการณ์ทงั้ ปวงทีบ่ คุ คลได้รับจากการเรียนการสอน ทําให้บุคคลเกดิ การเปล่ยี นแปลง
พฤติกรรมในด้มานต่างๆ ของสมรรถภาพสมอง

พิชติ ฤทธจ์ิ รญู (2545, น.96) กลา่ ววา่ ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน หมายถึง พฤตกิ รรม ด้าน
ความสามารถทางสติปัญญาของบคุ คลเปน็ สมรรถภาพทางดา้ นสมอง หรอื สตปิ ัญญาของบคุ คล ใน
การเรยี นร้สู ่งิ ตา่ งๆ

พิมพันธ์ เดชะคปุ ต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข (2548, น.125) กลา่ วว่า ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียน
หมายถงึ ขนาดของความสําเร็จทไ่ี ดจ้ ากกระบวนการเรียนการสอน

29

พิมพ์ประภา อรัญมิตร (2552, น.18) กลา่ วว่า ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น หมายถึง คุณลักษณะ
ความรู้ ความสามารถ ทแี่ สดงถึงความสําเรจ็ ในการเรยี นการสอนวชิ าตา่ งๆ ซงึ่ สามารถวัด เปน็
คะแนนได้จากแบบทดสอบภาคทฤษฎี หรอื ภาคปฏบิ ตั ิ หรือท้งั สองอยา่ ง

ไพรโรจน์ ชาํ นาญ (2550, น.25) ไดก้ ลา่ วถึงความหมาย ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวา่ หมายถึง
คุณลกั ษณะ และความสามารถของบุคคลที่พฒั นางอกงามขึ้น อนั เน่ืองมาจากผลการเรียนการ
สอน การฝึกอบรม ซึ่งประกอบดว้ ย ความสามารถทางสมอง ความรทู้ ักษะ ความรู้สกึ และค่านยิ ม
ตา่ งๆ

ภพ เลาหไพบูลย์ (2542, น.329) กล่าวว่า ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น หมายถึง พฤตกิ รรม ท่ี
แสดงออกถึงความสามารถในการกระทําส่งิ หนง่ึ สงิ่ ใดได้ จากทีไ่ ม่เคยกระทํา หรอื กระทําไดน้ ้อย
กอ่ นทจี่ ะมีการเรยี นการสอน ซง่ึ เป็นพฤติกรรมทีม่ ีการวัดได้

ศุภพงศ์ คลา้ ยคลงึ (2548, น.200) กลา่ ววา่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น หมายถึง ผลสําเร็จ ท่เี กิดขึ้น
จากพฤติกรรม การกระทํากจิ กรรมของแตล่ ะบคุ คล ทตี่ ้องอาศัยความพยายามอย่างมาก ท้งั
องคป์ ระกอบท่ีเกี่ยวข้องกับสตปิ ญั ญา และองค์ประกอบที่ไม่ใชส่ ติปัญญา ซง่ึ สามารถสงั เกตท่วี ดั
ได้ดว้ ยเครื่องมือทางจิตวทิ ยา หรอื แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ตา่ งๆ

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2546, น.7) ไดก้ ล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิ ทางการ
เรยี น เปน็ ความสามารถของผเู้ รยี นตามผลการเรยี นรู้ในบทเรยี นด้านตา่ งๆ ประกอบด้วย ความรู้
ความคิด กระบวนการเรยี นรู้ และเจตคติ 555555

สมพร เช้ือพนั ธ์ (2547 น.53) สรปุ วา่ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หมายถงึ ความสามารถ ความสําเร็จ
และสมรรถภาพด้านต่างๆ ของผเู้ รียนทไี่ ด้จากการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการเรียนการ สอน การ
ฝึกฝนหรอื ประสบการณข์ องแต่ละบคุ คล ซึ่งสามารถวัดได้จากการทดสอบดว้ ยวิธีการต่างๆ

สมหวัง พิธยิ านุวฒั น์ (2537, น.71) กล่าววา่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถงึ ผลท่ี เกิดจากการ
สอนหรือกระบวนการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมซึ่งแสดงออกมา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านพุทธพิ สิ ัย ดา้ นจิต
พสิ ยั และด้านทักษะพิสัย ด

30

Good (1959, p.6 อ้างถึงใน สุภาพ สทิ ธิศักดิ์, 2554, น.35) ไดก้ ลา่ วถึง ความหมาย ผลสมั ฤทธิ์
ทางการเรยี น หมายถึง การเขา้ ถึงความรหู้ รือพฒั นาทกั ษะการเรยี น ซึ่งโดยปกติพิจารณาจาก
คะแนนสอบ หรือคะแนนที่ได้จากงานที่ครูมอบหมาย หรอื ทัง้ สองอย่าง จากท่ีกลา่ วมาสามารถ
สรปุ ได้วา่ ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน หมายถงึ ความสามารถของบคุ คลที่มคี วามแตกตา่ งกันหลงั จาก
การได้ เรยี นรู้ สามารถวัดได้จากแบบทดสอบหรืองานทไี่ ด้รบั มอบหมาย และการสงั เกตพฤตกิ รรม
ซึง่ ประกอบดว้ ย ความสามารถ ทางสมอง ด้านความรูท้ กั ษะ ความรสู้ ึก และ ค่านยิ มต่างๆ สาํ หรบั
การ วิจยั คร้ังนี้วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดา้ นความรู้ ความคิด และดา้ นทักษะกระบวนการเรยี นรู้

จากความหมายของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นข้างต้น สรปุ ได้วา่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หมายถึง
ผลทเ่ี กดิ จากกระบวนการเรียนการสอนที่จะทําให้นักเรียนเกดิ การเปล่ียนแปลงพฤติกรรม และ
สามารถวัดไดโ้ ดยการแสดงออกมาท้ัง 3 ด้าน คือ ด้านพุทธพิ ิสัย ด้านจติ พสิ ัย และดา้ นทักษะพสิ ัย

2.4.2 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

พชิ ิต ฤทธจ์ิ รญู (2545, น.96) กลา่ ววา่ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น หมายถึง
แบบทดสอบท่ใี ชว้ ัดความรู้ ทักษะ และความสามารถทางวิชาการทีน่ กั เรียนได้เรยี นรู้มาแลว้ ว่า
บรรลผุ ลสาํ เร็จตามจดุ ประสงคท์ ่ีกําหนดไว้เพยี งใด

สริ ิพร ทิพย์คง (2545, น.193) กล่าววา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น หมายถึง ชดุ
คําถามที่ม่งุ วดั พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนว่ามีความรู้ ทักษะ และสมรรถภาพดา้ น สมองด้าน
ต่างๆ ในเรอ่ื งท่เี รยี นร้ไู ปแลว้ มากน้อยเพียงใด

สมพร เชอื้ พันธ์ (2547 น. 59) กล่าวว่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน หมายถึง
แบบทดสอบหรือชดุ ของขอ้ สอบที่ใชว้ ดั ความสาํ เรจ็ หรอื ความสามารถในการทาํ กจิ กรรม การ
เรยี นร้ขู องนักเรียนทเี่ ปน็ ผลมาจากการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนของครผู ูส้ อน ว่าผา่ น
จุดประสงค์การเรียนรู้ทตี่ ั้งไว้เพียงใด

แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ประเภททีค่ รสู ร้างมีหลายแบบ แตท่ ่ีนิยมใช้ มี 6 แบบ
ดังน้ี

31

1) ขอ้ สอบอัตนัยหรอื ความเรยี ง (Subjective or Essey test) เป็นข้อสอบท่มี เี ฉพาะ คาํ ถาม แล้ว
ให้นักเรยี นเขยี นตอบอย่างเสรี เขยี นบรรยายตามความรูแ้ ละเขยี นข้อคิดเห็นของแต่ละคน

2) ข้อสอบแบบกาถกู -ผิด (True-false test) คือ ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบที่มี 2 ตัวเลอื ก แต่
ตวั เลอื กดังกล่าวเป็นแบบคงทแ่ี ละมีความหมายตรงกนั ข้าม เชน่ ถูก-ผิด ใช่ ไมใ่ ช่ จรงิ -ไมจ่ รงิ
เหมอื นกัน-ตา่ งกัน เป็นต้น รวม

3) ข้อสอบแบบเติมคํา (Completion test) เปน็ ข้อสอบทป่ี ระกอบดว้ ย ประโยค หรือ ข้อความที่
ยงั ไมส่ มบรู ณแ์ ล้วให้ตอบเติมคาํ หรอื ประโยค หรือขอ้ ความลงในชอ่ งวา่ งท่ีเวน้ ไวน้ น้ั เพือ่ ให้ มี
ใจความสมบรู ณแ์ ละถูกต้อง

4) ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ (Short answer test) เปน็ ขอ้ สอบท่ีคลา้ ยกับข้อสอบแบบ เตมิ คํา แต่
แตกตา่ งกันที่ข้อสอบแบบตอบสั้นๆ เขยี นเปน็ ประโยคคาํ ถามสมบรู ณ์ (ขอ้ สอบเติมคาํ เป็น
ประโยคหรอื ข้อความทย่ี งั ไมส่ มบรู ณ์) แล้วให้ผตู้ อบเขียนตอบ คาํ ตอบทีต่ อ้ งการจะส้นั และ
กะทัดรดั ได้ใจความสมบูรณ์ ไม่ใชเ่ ปน็ การบรรยายแบบข้อสอบอัตนยั หรอื ความเรยี ง

5) ขอ้ สอบแบบจบั คู่ (Matching test) เปน็ ขอ้ สอบแบบเลอื กตอบชนิดหนึง่ โดยมคี ่า หรอื
ขอ้ ความแยกออกจากกันเปน็ 2 คู่ แล้วให้ผูต้ อบเลือกจับคู่ว่าแตล่ ะข้อความในชดุ หนง่ึ จะคู่กบั คาํ
หรอื ข้อความใดในอีกชุดหนึ่ง ซึ่งมีความสมั พันธ์กนั อย่างใดอย่างหน่งึ ตามท่ผี ู้ออกข้อสอบกาํ หนดไว้

6) ข้อสอบแบบเลอื กตอบ (Multiple choice test) คําถามแบบเลือกตอบโดยทั่วไป
ประกอบดว้ ย 2 ตอน คอื ตอนนําหรือคําถาม (Stem) กบั ตอนเลอื ก (Choice) ในตอนเลอื กนั้นจะ
ประกอบด้วย ตัวเลือกท่ีเป็นคาํ ตอบถูกและตวั เลอื กลวง ปกตจิ ะมีคําถามทกี่ าํ หนดใหพ้ จิ ารณา
แล้วหา ตัวเลอื กที่ถูกตอ้ งมากท่สี ดุ เพยี งตัวเลือกเดยี วจากตัวเลอื กอ่นื ๆ และคําถามแบบเลอื กตอบ
ท่ีดีนยิ มใช้ ตัวเลือกทใ่ี กล้เคยี งกนั

ดงั น้นั ในการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน จึงเปน็ วธิ ีการวัดประเมิน ผลการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตรซ์ ึง่ มีการสรา้ งแบบทดสอบหลากหลาย ได้แก่ ข้อสอบอตั นัยหรือความเรียง ข้อสอบ
แบบกาถกู กาผดิ ข้อสอบแบบเตมิ คาํ ขอ้ สอบแบบตอบสนั้ ๆ ขอ้ สอบแบบจบั คู่ และขอ้ สอบ แบบ

32

เลือกตอบ ในการวิจัยครัง้ นผี้ ูว้ จิ ัยสรา้ งแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นแบบเลอื กตอบ
เนื่องจากเป็นแบบทดสอบท่ีสามารถวดั พฤติกรรมทั้ง 6 ดา้ น ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านความเข้าใจ
ดา้ น การนาํ ไปใช้ ด้านการวเิ คราะห์ ด้านการสงั เคราะห์ และด้านการประเมินค่า

2.4.3 ลกั ษณะของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิท่ดี ี

นกั การศกึ ษาหลายท่านไดก้ ลา่ วถึงลักษณะของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ ดี่ ี (สริ ิพร ทพิ ยค์ ง,
2545, น.195 และ พชิ ิต ฤทธิ์จรญู , 2545, น.135-161)

1) ความเที่ยงตรง เปน็ แบบทดสอบทีส่ ามารถนาํ ไปวัดในสิง่ ท่เี ราตอ้ งการวัดได้อยา่ ง ถูกต้อง
ครบถว้ น ตรงตามจดุ ประสงค์ทต่ี อ้ งการวดั

2) ความเชอ่ื มนั่ แบบทดสอบทมี่ คี วามเชือ่ ม่ัน คือ สามารถวัดได้คงทไี่ มว่ ่าจะวัดกค่ี รั้ง กต็ าม เช่น
ถ้านําแบบทดสอบไปวัดกบั นักเรยี นคนเดมิ คะแนนจากการสอบทงั้ สองคร้ังควรมคี วาม สมั พันธก์ ัน
ดี เม่อื สอบได้คะแนนสูงในคร้ังแรกก็ควรไดค้ ะแนนสงู ในการสอบครั้งท่ีสอง

3) ความเป็นปรนยั เปน็ แบบทดสอบที่มีคาํ ถามชดั เจน เฉพาะเจาะจง ความถกู ต้อง ตามหลักวชิ า
และเข้าใจตรงกัน เมื่อนักเรยี นอ่านคําถามจะเขา้ ใจตรงกนั ข้อคําถามตอ้ งชัดเจนอา่ นแล้ว เขา้ ใจ
ตรงกัน

4) การถามลึก หมายถึง ไมถ่ ามเพยี งพฤติกรรมข้นั ความรู้ความจาํ โดยถามตามตํารา หรือถาม
ตามทคี่ รสู อน แต่พยายามถามพฤติกรรมขนั้ สูงกวา่ ขนั้ ความรู้ความจํา ได้แก่ ความเข้าใจการ
นาํ ไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมนิ ค่า

5) ความยากง่ายพอเหมาะ หมายถึง ขอ้ สอบทบี่ อกให้ทราบว่า ขอ้ สอบขอ้ นนั้ มีคน ตอบถูกมาก
หรือตอบถกู นอ้ ย ถ้ามคี นตอบถูกมากขอ้ สอบขอ้ นัน้ ก็งา่ ย และถ้ามีคนตอบถูกนอ้ ยข้อสอบ ขอ้ นนั้ ก็
ยาก ข้อสอบทีย่ ากเกนิ ความสามารถของนักเรียนจะตอบได้น้ันก็ไมม่ ีความหมาย เพราะไม่
สามารถจําแนกนักเรียนไดว้ า่ ใครเก่ง ใครออ่ น ในทางตรงกันข้ามถ้าขอ้ สอบง่ายเกินไปนกั เรียน
ตอบไดห้ มดกไ็ มส่ ามารถจําแนกไดเ้ ช่นกนั ฉะนน้ั ขอ้ สอบที่ดคี วรมีความยากง่ายพอเหมาะ ไม่ยาก
เกินไป ไม่งา่ ยเกินไป

33

6) อาํ นาจจาํ แนก หมายถึง แบบทดสอบนส้ี ามารถแยกนกั เรยี นได้วา่ ใครเกง่ ใครออ่ น โดยสามารถ
จาํ แนกนักเรียนออกเป็นประเภทๆ ได้ทุกระดับอย่างละเอยี ด ต้ังแต่ออ่ นสุดจนถึงเก่งสดุ

7) ความยตุ ิธรรม คําถามของแบบทดสอบ ตอ้ งไมม่ ชี อ่ งทางชแี้ นะให้นกั เรยี นทีฉ่ ลาด ใชไ้ หวพรบิ
ในการเดาไดถ้ กู ต้อง และไม่เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นทเ่ี กียจครา้ นซง่ึ ดตู าํ ราอยา่ งคร่าวๆ ตอบได้ และ
ตอ้ งเปน็ แบบทดสอบทไ่ี มล่ ําเอยี งต่อกลมุ่ ใดกลุ่มหน่ึง

สรุปได้วา่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ ด่ี ี ตอ้ งเปน็ แบบทดสอบท่ีมคี วามเท่ยี งตรง ความ เช่ือมั่น
ความเป็นปรนัย ถามลกึ มคี วามยากง่ายพอเหมาะ มีค่าอํานาจจําแนก และมคี วามยตุ ิธรรม

2.5 งานวจิ ยั ที่เก่ยี วข้อง

นกั การศึกษาหลายท่านท้ังในและตา่ งประเทศ ใหค้ วามสนใจและนาํ เสนอแนวคิดเก่ียวกับ แนวคดิ
การจดั การเรียนรูแ้ บบห้องเรยี นกลบั ด้านไวห้ ลายทา่ น ดังต่อไปนี้

2.5.1 งานวิจัยในประเทศ

จันทวรรณ ปยิ ะวฒั น์ (2556) ศึกษาการใชห้ ้องเรียนกลับทางในระบบช้ันเรียน ออนไลน์
“ClassStart.org” ของไทย พบวา่ ClassStart สามารถชว่ ยลดภาระงานสอนไดจ้ รงิ และผู้เรยี น
เรียนรู้มากขึ้นได้ โดยผสู้ อนควรคํานงึ ถึงประเด็นสําคัญ 3 ประการ คอื 1) ทักษะและหน้าที่ความ
รบั ผิดชอบท่เี ปล่ยี นไปของผู้สอน 2) เนอ้ื หาความรู้แบบคลปิ วิดโี อทีน่ า่ สนใจตอ่ ผเู้ รยี น และ 3)
กิจกรรมการเรยี นรูใ้ นห้องเรยี น และทางออนไลน์ อกี ทง้ั ผู้สอนสามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ครอ่ื งมอื ตา่ งๆ
ท่ี ClassStart มใี ห้ในห้องเรยี นออนไลน์ ในการทาํ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรยี นร้ผู า่ นทาง
ออนไลน์ ได้ดว้ ย เชน่ สนทนาทางเวบ็ บอร์ด ดาํ เนนิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรโู้ ดยผ้สู อน การเชิญ
ผเู้ ช่ียวชาญมาเปน็ แขกรับเชญิ เพอ่ื แลกเปล่ยี นเรียนร้กู ับผู้เรยี นทางออนไลน์ หรือการกาํ หนดให้
ผู้เรียนบนั ทกึ วิเคราะห์ เน้ือหาประเดน็ ทก่ี ําหนดแล้วทาํ การโหวตบันทึกท่ีได้รบั ความเหน็ หรือการ
กดชอบ (Like) มากท่สี ุด จํานวน 5 บันทกึ เพอื่ เลือกมาให้รางวัลและนํามาสนทนาพูดคุยกนั ต่อใน
หอ้ งเรียน เป็นต้น

34

ศุภศลิ ป์ รีฮงุ (2556) ศึกษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นท่ีมีต่อการจดั การเรียนการสอน โดยใชร้ ูปแบบ
Flipped Classroom ในรายวชิ าสขุ ศกึ ษา เรื่อง เพศศึกษา ของนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษา ปีท่ี 6/2
ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2556 ของโรงเรียนอสั สมั ชญั คอนแวนต์ สลี ม คะแนนเฉล่ยี หลังการ
ทดลองสงู กว่าก่อนการทดลอง โดยคะแนนก่อนเรยี นมีคา่ เฉลี่ยรอ้ ยละ 80.86 และคะแนนหลงั
เรียนมี ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 88.33 ซึง่ มคี ะแนนเฉลีย่ เพ่ิมข้ึน ซง่ึ แสดงวา่ การจัดกิจกรรมการเรียนรดู้ ้วย
วธิ ีหอ้ งเรียน

กลับดา้ น (Flipped Classroom) ชว่ ยให้นกั เรยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้นึ ค่าดชั นี
ประสิทธิผล ของแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้แบบห้องเรียนกลบั ด้าน (Flipped Classroom)
เรื่องเพศศกึ ษา วิชา สุขศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 6 มคี ่าเท่ากบั 0.8225 หมายความว่า นกั เรยี น
มีความก้าวหน้าในการเรียน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.25

ชนิดา พันธุ์โสภณ (2559) ศกึ ษาเร่อื ง การพัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบ หอ้ งเรียนกลับ
ดา้ นสาํ หรบั การจดั การเรียนรู้ รายวชิ าภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ผลการ ศึกษา
พบวา่ ผเู้ รียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนหลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นด้วยรปู แบบการจดั การเรยี นรู้
แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน โดยมคี า่ เฉลีย่ ของคะแนนก่อนเรียน คดิ เป็นร้อยละ 45.12 มคี ่าเฉลี่ยของ
คะแนน หลังเรียน คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.23 และมีส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานกอ่ นเรียนเทา่ กับ 1-2 ส่วน
เบ่ยี งเบน มาตรฐานหลังเรียน 2.34

รจนา ปอ้ มแคง (2556) ศึกษาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น วชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม
เร่อื ง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 ท่ไี ด้รับการจดั การ
เรยี นรโู้ ดยใชผ้ ังมโนทัศน์ ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2556 ผลการวจิ ยั พบวา่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ
เรยี น วชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรอ่ื ง หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใชผ้ งั
มโนทัศน์ของ นกั เรียน หลังไดร้ ับการจดั การเรยี นรโู้ ดยใชผ้ ังมโนทัศน์ นักเรยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการ
เรยี นสงู ข้นึ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาํ คญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01

ศศิรินทร์ ธารพระจนั ทร์ (2557) ศกึ ษาผลการใชแ้ นวทางการดําเนินการพัฒนา ผลสมั ฤทธิ์ทางการ
เรยี น ตามรปู แบบการจดั การเรียนรู้ โดยบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง กลุ่มสาระ

35

การเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6 พบวา่ ผลการ
ทดลองใช้รูปแบบการจัดการเรยี นรโู้ ดยบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นกั เรยี นมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นใช้รูปแบบ คดิ เป็นรอ้ ยละ 56.18 และหลังการใช้รูปแบบการ จดั การ
เรยี นรูโ้ ดยบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คิดเป็นร้อยละ 87.38 ผ่านเกณฑท์ ่ี
โรงเรียนกาํ หนด นั่นคอื รอ้ ยละ 75 นนั่ คือ ผ่านเกณฑร์ ะดบั 3

สมฤดี พพิ ิธกลุ (2559, น.54) ศกึ ษาเรือ่ ง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่อง เศรษฐกจิ
พอเพยี งกบั การพฒั นาเศรษฐกิจของไทย ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 โดยใชแ้ ผนจดั การ เรยี นรู้
แบบกลมุ่ รว่ มมือเทคนคิ STAD รว่ มกบั สื่อประสม พบว่า การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิท์ างการ
เรยี น เรอื่ ง เศรษฐกิจพอเพยี งกบั การพัฒนาเศรษฐกิจไทย ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 5 หลงั
เรียน โดยใชแ้ ผนจดั การเรียนรูแ้ บบกลมุ่ ร่วมมือเทคนคิ STAD รว่ มกบั ส่ือประสม มผี ลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียน สูงกวา่ เกณฑ์ อย่างมนี ัยสําคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .05

สุภาพร สดุ บนดิ (2556, น.273) ศึกษาเรอื่ ง การเปรยี บเทียบความรบั ผิดชอบตอ่ การ เรียน เจต
คติต่อการเรียน และผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาวทิ ยาศาสตร์ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษา ปีที่ 1 ท่ี
ไดร้ บั การจัดกิจกรรมการเรยี นรูต้ ามแนวคิดหอ้ งเรยี นกลบั ทาง (Flipped Classroom) และการ
จัดกจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบปกติ ผลการวิจยั พบว่า นกั เรียนท่ไี ด้รบั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ตาม
แนวคิดห้องเรยี นกลับทาง (Flipped Classroom) มคี วามรับผิดชอบต่อการเรียน เจตคติต่อการ
เรยี นและ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นหลงั เรยี น สงู กวา่ กอ่ นเรยี นอยา่ งมนี ยั สาํ คญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01

ลทั ธพล ค่านสกลุ (2557, น.321) ศกึ ษาเรือ่ ง ผลของการจัดการเรยี นรูแ้ บบห้องเรยี น กลบั ดา้ น
ดว้ ยพอดคาสต์ โดยใชก้ ลวิธีการกํากับตนเองท่มี ีผลต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนเร่ือง โครงสร้างการ
โปรแกรมและการกาํ กับตนเองของนักเรียนหอ้ งเรยี นพเิ ศษวิทยาศาสตร์ ผลการวิจยั พบวา่
นกั เรยี นห้องเรยี นพเิ ศษวทิ ยาศาสตร์ทเ่ี รยี นรู้ด้วยการจดั การเรยี นรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน โดย ใช้
กลวธิ ีการกํากบั ตนเอง มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เร่อื ง โครงสร้างการ โปรแกรม หลังเรียนสูงกวา่
ก่อนเรียนอย่างมีนัยสาํ คัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

36

พมิ พป์ ระภา พาลพ่าย (2557, น.69) ศกึ ษาเรือ่ ง การใช้ส่ือสังคมตามแนวคิดห้องเรยี น กลับด้าน
เรื่อง ภาษาเพือ่ การสือ่ สารเพ่อื ส่งเสรมิ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี นชั้นประถมศึกษา ปที ี่ 6
ผลการวจิ ัยพบวา่ ผลการเปรยี บเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรยี นกบั คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรยี น พบวา่ นกั เรยี นที่เรียนรสู้ อ่ื สังคมตามแนวคิดห้องเรยี นกลบั ดา้ น เพ่ือส่งเสรมิ ผลสัมฤทธ์ิ
ทางการ เรียนของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 มีคะแนนผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงกว่าคะแนน
ทดสอบกอ่ น เรียนอย่างมีนยั สาํ คัญทร่ี ะดับ .05

2.5.2 งานวจิ ยั ตา่ งประเทศ

Eric (2013) ไดศ้ กึ ษาวิจัยเรื่อง ผลของแนวคิดห้องเรยี นกลบั ดา้ นทีม่ ตี อ่ ผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรียน
และการรบั ร้ขู องนักเรียน วชิ าคณติ ศาสตร์ โดยแบง่ นกั เรยี นออกเป็น 2 หอ้ ง ห้องหนึ่ง เป็นการ
เรยี นการสอนแบบด้งั เดิม อีกห้องเปน็ การเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนกลับดา้ น ผลการวจิ ัย พบวา่
วธิ สี อนของแนวคดิ ห้องเรยี นกลับด้าน มผี ลทาํ ใหน้ กั เรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงขึ้น มีความ
พงึ พอใจตอ่ การเรียนตามแนวคิดหอ้ งเรยี นกลบั ดา้ น มากกว่าการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม และ
การเรยี นการสอนแบบกลบั ดา้ นทําให้มีทัศนคติท่ีดตี อ่ การเรียนรูม้ ากข้นึ

Larsen (2013) ไดศ้ ึกษาวจิ ยั เรื่อง กจิ กรรมความร่วมมอื ของการจัดการเรียนการสอน ห้องเรียน
กลับด้าน วิชาคณติ ศาสตร์ จากการสาํ รวจและการสัมภาษณ์ พบว่า การจัดสภาพแวดล้อม การ
เรียนรรู้ ่วมกนั ในชน้ั เรยี น ชว่ ยเพิ่มศักยภาพในกระบวนการคิดของผู้เรยี น ทาํ ใหเ้ กิดความเป็นตัว
ของตวั เอง และรูจ้ ักกาํ หนดเป้าหมายท่ีชัดเจนมากย่ิงข้ึน

Johnson (2013) ไดศ้ ึกษาวิจยั เรื่อง การรับรู้ในการจดั การเรียนการสอนหอ้ งเรียนกลบั ดา้ นของ
นกั เรียนโรงเรียนมัธยมปลาย 3 แหง่ การสาํ รวจทั้งเชงิ คุณภาพและเชิงปริมาณ โดยศึกษาการ
จัดการเรียนการสอนแบบหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น ช่วยส่งเสรมิ การเรียนร้ขู องผู้เรียนไดอ้ ยา่ งไร และส่ิง
ใดท่ี ทาํ ใหผ้ ูเ้ รยี นตอบสนองการเรยี นรู้เอกตั บคุ คล ผลการวิจยั พบวา่ นกั เรียนได้ทําการบา้ นนอ้ ย
กวา่ การ สอนแบบเดิม และทําใหน้ ักเรยี นสนุกสนานกับสภาพการจัดการเรยี นรู้ ไดป้ ระโยชนจ์ าก
การฟัง บรรยายจากวดิ ที ัศน์ การใชเ้ ทคโนโลยี ทําใหน้ ักเรยี นเกิดการเรียนรู้แบบจริง เกดิ
ผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนมากขน้ึ เกดิ การประเมินด้วยการคน้ พบปัญหา สามารถสร้างการจดั

37

สภาพการเรียนรไู้ ด้ง่ายขน้ึ การใช้วิดีทัศน์สร้างปฏิสมั พันธก์ นั และเนน้ กจิ กรรมการเรยี นให้หอ้ งให้
เกดิ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน มากขึน้

Tucker (2013) ไดศ้ ึกษาวจิ ัยเร่ือง ประสทิ ธิภาพของหอ้ งเรียนกลบั ด้าน ได้ทําการ สํารวจและใช้
แบบสอบถาม การเรยี นวชิ าชวี วิทยาของโรงเรยี นมัธยมปลายแห่งหนึ่ง โดยใชก้ ารเรียน ผ่านสือ่ วิดิ
ทัศน์ เวลา 10 นาที และนําความรู้ไปแลกเปลย่ี นร่วมกับเพือ่ นรว่ มหอ้ งในช้นั เรยี น ผลการวจิ ัย
พบวา่ นักเรียนมคี วามพึงพอใจและสนกุ สนานกับการเรยี น ชอบแนวทางการเรยี น หอ้ งเรียนกลบั
ดา้ นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม

Randall and Others (2013) ไดศ้ ึกษาวจิ ัยเร่อื ง การผสมผสานแนวคดิ ห้องเรียนกลับดา้ น กับ
การสอนด้วยเทคโนโลยีของหลกั สตู ร information Systems spreadsheet course ระดับ
มหาวิทยาลยั ผลการวจิ ยั พบวา่ เทคโนโลยีและแนวคดิ ห้องเรยี นกลบั ดา้ นทงั้ สองอยา่ ง สามารถ
จดั การเรยี นการสอน ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และสามารถประเมนิ ผลได้ชัดเจน ทําใหก้ ารเรียนรู้
งา่ ยย่ิงข้ึน สามารถจูงใจให้ ผู้เรยี นให้สนใจการเรียนการสอนได้มากกวา่ การเรยี นแบบดั้งเดิม

Michael J. Herold; Thomas D. Lynch; Rajiv Ramnath and Jayashree Ramanathan
(2012, pp.1-6) ท่ีไดศ้ ึกษาการสอนวศิ วกรรมซอฟตแ์ วร์ โดยใชห้ อ้ งเรยี นกลบั ทาง โดยหลักสูตรน้ี
ไมม่ ี การบรรยายในชัน้ เรียน แต่ให้นักเรียนศึกษาบนั ทกึ มาลว่ งหน้า การสง่ เสริมการเรียนแบบ
ห้องเรียน กลบั ทางโดยใชเ้ ทคนิคการอภิปราย การทดสอบประจาํ สปั ดาหเ์ พอ่ื เป็นการทดสอบวา่
นักเรียนได้ชมการ บรรยายก่อนที่จะอภปิ รายในชัน้ เรียน ผลการวิจยั พบว่า เปา้ หมายของ
ห้องเรยี นกลบั ทาง คอื การเพม่ิ ปริมาณและคุณภาพของการอภิปรายในชนั้ เรยี น ซง่ึ ขอ้ มลู ได้จาก
การสัมภาษณ์นักเรยี น และสามารถ ประเมินความรสู้ กึ ของนกั เรยี นท่ีมีตอ่ การอภิปรายในช้นั เรยี น
ได้

Maureen J. Lage (2000, pp.29-43) พบวา่ หอ้ งเรยี นกลบั ทางเปน็ กลยทุ ธ์การสอนทีก่ ระตุ้นให้
นักเรยี นเกดิ การเรียนรู้ และเทคโนโลยกี ารเรียนสมัยใหม่ทำใหม้ คี วามเป็นไปได้สำหรับเหตกุ ารณ์
ตา่ งๆ เชน่ การบรรยายทีแ่ บบเดมิ จะเกดิ ขนึ้ ในชัน้ เรียน เหตุการณ์ทอ่ี าจจะเกิดข้ึนนอกห้องเรยี น
จะเกิดข้นึ ในห้องเรยี นไดภ้ ายใต้การแนะนำของครูผสู้ อน

38

จากการศึกษางานวิจยั ทีเกยี่ วขอ้ ง สรุปได้วา่ การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับดา้ นเป็น
แนวทางในการพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนรู้ รายวชิ าสังคมศึกษา ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ และเป็น
สารสนเทศสำหรับครู ผูบ้ รหิ าร ในการวางแผนจัดการเรียนรู้ เพือ่ ให้ผู้เรียนได้เกดิ การเรียนรแู้ บบ
จริง (Master Learning) และเปน็ การชว่ ยนกั เรยี นทม่ี ีความสามารถแตกต่างกนั ใหก้ า้ วหน้าในการ
เรยี นรู้ตามความสามารถของตนให้มปี ระสิทธิภาพตอ่ ไป

39

บทที่ 3
วิธีดำเนินการวิจัย

การวจิ ยั นี้ เปน็ วิจัย เชิงทดลอง โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื่ เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการ
เรียน เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง กอ่ นเรียนและหลงั เรยี น ของนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี3 โดยใช้
รูปแบบการเรียนรแู้ บบห้องเรยี นกลับด้าน
ผู้วจิ ัยดำเนนิ การวจิ ยั ดังนี้

เรมิ่ ตน้

ศกึ ษาทฤษฎแี ละแนวทางในการจดั การเรียนการสอนแบบห้องเรยี นกลบั ดา้ น
พัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน

ประเมินรูปแบบการจดั การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านโดยผู้เชี่ยวชาญ
พัฒนาหลกั สตู รการจัดการเรยี นการสอนแบบหอ้ งเรียนกลบั ด้าน

การดำเนินการเรียนการสอนรปู แบบหอ้ งเรยี นกลบั ด้าน

วดั และประเมนิ ผล

40

1.ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
2.เครอื่ งมือท่ใี ช้ในการวิจัย
3.การเกบ็ ข้อมลู
4.สถิติทใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

3.1 ประเภทและแบบแผนการวจิ ยั 3.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.3 เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย 3.4
ขนั้ ตอนในการสรา้ งเครอ่ื งมอื 3.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.6 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.7 สถิติที่ใช้ใน
การวิจยั

3.1 แบบแผนการวิจัย

การวจิ ยั ครัง้ น้ีเป็นการวิจัยเชิงทดลอง (True Experimental Designs) ผูว้ จิ ัยได้ใช้แบบแผน การวจิ ยั
แบบ The Pretest-Posttest Equivalent-Groups Design (Best and Kahn, 2006, p.181)

3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง

3.2.1 ประชากรท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ครั้งนี้ คอื นักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรยี นเตรยี มอุดม ศึกษา
พัฒนาการ รัชดา ทีล่ งทะเบยี นเรียนในภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2566 จาํ นวน 11 หอ้ งเรียน จํานวน
นกั เรียนทง้ั หมด 485 คน

3.2.2 นักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นเตรียมอดุ มศกึ ษาพฒั นาการ รชั ดา ทีล่ งทะเบียนเรียนใน
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2566 จํานวน 2 หอ้ งเรียน รวม 89 คน แบ่งเปน็ กลมุ่ ทดลอง จํานวน 45
คน กล่มุ ควบคุม 44 คน ซึง่ ไดม้ าจากการส่มุ แบบกลมุ่

3.3 เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวจิ ยั

เคร่ืองมอื ที่ผู้วิจยั ไดใ้ ชใ้ นการวิจยั แบ่งเปน็ เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการทดลอง และเครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ ในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู โดยมรี ายละเอยี ดดังนี้

41

3.3.1 แผนการจัดการเรยี นร้เู พือ่ การศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน รายวิชาสงั คมศึกษา เรอ่ื ง
เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชก้ ารจัดการเรยี นรแู้ บบห้องเรียนกลับด้าน ของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3
จาํ นวน 5 แผน ใชส้ อนแผนละ 3 ช่ัวโมง รวมทั้งหมด 15 ชั่วโมง โดยมเี น้ือหาสาระดังนี้ แผนการ
จัดการเรยี นรูท้ ่ี 1 ความรทู้ ่วั ไปเกีย่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพียง
จาํ นวน 3 ช่ัวโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 2 หลกั แนวคิด/หลกั การของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จํานวน 3 ช่ัวโมง แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 3 เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การดํารงชีวติ จํานวน 3 ชั่วโมง
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 รอบรู้ด้วยโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 3 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 5 โครงงานพาเพลนิ จํานวน 3 ชั่วโมง
3.3.2 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ าสังคมศึกษา เรอ่ื ง เศรษฐกจิ พอเพียง ชนิด 4
ตัวเลอื ก จาํ นวน 30 ข้อ
3.3.3 แบบประเมนิ ความสอดคล้องและความเหมาะสมแผนการจัดการเรียนร้รู ายวิชา สังคมศกึ ษา
เรื่อง เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใชก้ ารจดั การเรียนร้แู บบห้องเรยี นกลับดา้ น
3.3.4 แบบประเมนิ ความสอดคลอ้ งแบบทดสอบวัดสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนรายวิชาสงั คม ศึกษา เรอื่ ง
เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยใช้การจัดการเรยี นรูแ้ บบห้องเรยี นกลบั ดา้ น
3.4 ขน้ั ตอนในการสร้างเครอื่ งมือ

ผวู้ ิจยั ดําเนินการสร้างเครอื่ งมอื การทดลองและการหาคุณภาพเคร่ืองมือ ตามลําดับข้นั ตอน
ดังน้ี
3.4.1 แผนการจัดการเรยี นรูเ้ พ่ือการศึกษาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา เรอ่ื ง
เศรษฐกจิ พอเพียง โดยใช้การจัดการเรยี นร้แู บบหอ้ งเรยี นกลบั ดา้ นของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษา ปีท่ี 1
จาํ นวน 5 แผน ผู้วจิ ัยมีแนวทางกาดําเนนิ การ ดังน้ี

42

3.4.1.1 ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาระการ เรียนรู้สงั คม
ศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชวี้ ัดของชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 1

3.4.1.2 ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรยี มอุดมศกึ ษาพัฒนาการ รชั ดา พทุ ธศักราช 2551
เพ่อื ศึกษาสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวัด คําอธิบาย
รายวิชา และหนว่ ยการเรียนรู้ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3

3.4.1.3 ศกึ ษาเอกสารเก่ยี วกบั การจดั การเรียนรแู้ บบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น

3.4.14 วเิ คราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และชวั่ โมงสอนโดย ละเอียด เพื่อให้
เหมาะสมกับการจัดการเรียนรู้

3.4.1.5 ดําเนนิ การสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน จาํ นวน 5 แผน และดาํ เนนิ การ
สรา้ งแผนการจัดการเรยี นรปู้ กติ จํานวน 5 แผน

3.4.1.6 นาํ แผนการจัดการเรยี นรู้เสนออาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบความเทยี่ งตรงเชงิ เช้ือหาพร้อมทงั้
ใหข้ ้อเสนอแนะเพอื่ นํามาปรบั ปรุงและแก้ไข

3.4.1.7 นําแผนการจัดการเรียนรไู้ ปใหผ้ เู้ ช่ียวชาญตรวจ จํานวน 5 ท่าน แล้วนาํ มา ปรับปรุงตาม
คาํ แนะนาํ โดยพิจารณาหาคา่ ดัชนคี วามสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั

เน้อื หาและกิจกรรมการเรียนรู้ (Index of Objective Congruence : IOC) ตามวิธขี อง Rovinelli
และ Hambleton และได้ค่าความสอดคลอ้ ง คอื 0.80 โดยพิจารณาจากเกณฑ์การประเมิน ดงั น้ี

+1 หมายถงึ แน่ใจวา่ เน้ือหาและการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้

สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรูต้ ัวชว้ี ดั 0 หมายถงึ ไมแ่ นใ่ จวา่ เนอ้ื หาและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชีว้ ัด -1 หมายถึง แน่ใจว่าเน้อื หาและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ไมส่ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้ตวั ชี้วดั

43

โดยกาํ หนดค่าดชั นีความสอดคล้องมาตรฐานการเรยี นรตู้ ัวชี้วัด เน้อื หา และกิจกรรมการเรียนรู้ (IOC)
ทม่ี คี า่ > 0.50 ถอื วา่ มีความเหมาะสมและสอดคล้องระหวา่ ง องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียน
รู้อยใู่ นเกณฑท์ ีย่ อมรบั ได้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2556, น.70-71)

3.4.2 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นรายวชิ าสังคมศึกษา เรอื่ ง เศรษฐกิจพอเพียง

3.4.2.1 ศกึ ษาเอกสารเก่ยี วกบั การวัดผล ประเมนิ ผล และการสรา้ งขอ้ สอบโดย ศึกษามาตรฐานการ
เรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรแู้ ละวิเคราะห์หลักสูตรสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร์

3.4.2.2 สร้างแบบทดสอบชนิดเลอื กตอบ แบบ 4 ตวั เลอื ก สรา้ งให้สอดคลอ้ งกับ วัตถุประสงค์การ
เรียนรู้ จํานวน 60 ข้อ

3.4.2.3 นําแบบทดสอบไปให้อาจารย์ท่ปี รกึ ษาตรวจสอบเพ่ือแก้ไขปรับปรงุ

3.4.24 นําแบบทดสอบใหผ้ ้เู ชี่ยวชาญ จํานวน 5 คน พิจารณาความเทย่ี งตรงของ แบบทดสอบเพอ่ื
ตรวจสอบแก้ไขปรบั ปรุงและนาํ มาวิเคราะห์หาความเท่ียงตรงเชิงเนือ้ หาและหาค่า ดชั นีความ
สอดคลอ้ ง (Index of Objective Congruence : IOC) ตามวิธีของ Rovinelli และ Hambleton
และได้ค่าสอดคล้อง คือ 0.60 โดยพิจารณาจากเกณฑก์ ารประเมิน ดังนี้

+1 หมายถึง - แนใ่ จว่าเนือ้ หาและการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

- สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรตู้ วั ชีว้ ดั 0 หมายถึง ไมแ่ น่ใจว่าเน้อื หาและการจดั กจิ กรรมการ
เรยี นรู้

สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรตู้ ัวชว้ี ัด -1 หมายถึง

แนใ่ จว่าเน้อื หาและการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ไม่สอดคล้องกบั มาตรฐานการเรยี นรู้ตัวช้ีวัด

โดยกาํ หนดค่าดชั นีความสอดคล้องมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ัด เนือ้ หา และกจิ กรรมการเรยี นรู้ (IOC)
ทมี่ ีคา่ 2 0.50 ถอื ว่า มีความเหมาะสมและสอดคล้องระหวา่ ง องค์ประกอบของแผนการจัดการเรยี น
รู้อยู่ในเกณฑ์ทีย่ อมรบั ได้ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2556, น.70-71)

44

3.4.2.5 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าสังคมศึกษา มาปรับปรุง ตามข้อเสนอแนะ
ของผูเ้ ชยี่ วชาญแลว้ นําไปทดสอบกบั นกั เรยี นท่ีไมใ่ ชก่ ลมุ่ ตวั อย่าง และนาํ กระดาษคําตอบมาตรวจให้
คะแนนเพ่ือหาค่าความยากง่าย (p) และค่าอํานาจจําแนก (1) ของ แบบทดสอบไปวเิ คราะหร์ ายข้อ
พบวา่ ค่าความยากงา่ ย (p) เท่ากบั 0.53 และค่าอํานาจจําแนก (1) เท่ากบั 0.47 แลว้ เลือกข้อสอบที่
ตรงตามเกณฑ์ 30 ข้อ

3.4.2.6 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนทีก่ ําจดั ความคลาดเคล่อื นแล้วมา หาค่าความ
เชอ่ื มัน่ โดยใชส้ ตู รในการหาคา่ ความเชอื่ ม่นั ของแบบทดสอบ โดยใช้สตู รของ KuderRichardson 20
(KR - 20) พบวา่ มีค่าเท่ากับ 0.8567

3.5 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

การวิจยั คร้งั น้ีผวู้ จิ ยั เป็นผดู้ ําเนนิ การทดลอง และเกบ็ รวบรวมข้อมูลกับนกั เรียนที่เปน็ กลุ่ม ตวั อย่าง
และกลุ่มควบคุม ได้ดาํ เนินการตามขัน้ ตอน ดงั ตอ่ ไปนี้

3.5.1 ช้แี จงจดุ ประสงคข์ องการเรยี นใหก้ บั นกั เรียนท้ัง 2 กลมุ่ ให้เข้าใจ

3.5.2 แนะนาํ การจัดการเรียนรูแ้ บบหอ้ งเรียนกลับดา้ น ให้กับนกั เรยี นกลมุ่ ทดลองเขา้ ใจ ลําดับ
ขนั้ ตอน และการจัดการเรยี นรู้ในแตล่ ะข้นั ตอนของการจัดการเรียนร้แู บบหอ้ งเรียนกลับด้าน

3.5.3 ทาํ การทดสอบกอ่ นเรียนกบั นกั เรยี นทงั้ 2 กล่มุ โดยใชแ้ บบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี น
รายวชิ าสังคมศึกษา เร่ือง เศรษฐกิจพอเพียง แบบชนดิ เลอื กตอบ ชนิด 4 ตวั เลอื ก จํานวน 30 ข้อ
แล้วตรวจให้คะแนนตามเกณฑท์ ี่ตัง้ ไว้

3.5.4 ผู้วจิ ัยดาํ เนนิ การจัดการเรียนรู้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ท้งั 2 กลุ่ม ตามระยะเวลา ที่กําหนด
โดยใชเ้ น้อื หาเดียวกนั ระยะเวลา 5 คาบๆ ละ 3 ช่ัวโมง จํานวน 15 ชั่วโมง โดยจัดการเรียนรู้ ดงั นี้

3.5.4.1 กลุ่มทดลองจัดกจิ กรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลบั ดา้ น

3.5.4.2 กลมุ่ ควบคมุ จดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบปกติ

45

3.55 เก็บรวบรวมผลการทําแบบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นท่ไี ด้มาวเิ คราะห์ขอ้ มูล ด้วยการทดสอบ
ความแตกต่างของผลคะแนนก่อนและหลังการทดลอง ทัง้ กลมุ่ ควบคุม และกลมุ่

ทดลอง นํามาวเิ คราะห์ทดสอบค่าที (t-test Dependent) และหาค่าเฉล่ยี (Mean) สว่ นเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (Standard Deviation)

3.5.6 ผู้วิจยั เก็บรวบรวมผลการทําแบบวัดผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทไี่ ด้มาวิเคราะหข์ ้อมลู

ดว้ ยการทดสอบความแตกตา่ งของผลคะแนนหลังการทดลอง ทง้ั กลมุ่ ควบคุมและกล่มุ ทดลอง นาํ มา
วิเคราะหท์ ดสอบค่าท่ี (t-test Independent) และคา่ เฉลี่ย (Mean) ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน
(StandardDeviation)

3.6 การวิเคราะหข์ ้อมูล

การวิจยั คร้งั นี้ผู้วจิ ยั วิเคราะหข์ ้อมูลที่ไดจ้ ากการทดลอง โดยใชโ้ ปรแกรมสาํ เรจ็ รปู เพ่ือการ

วจิ ัยตามขั้นตอน ดังนี้

3.6.1 การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวชิ าสังคมศกึ ษา เร่ือง เศรษฐกจิ พอเพียง โดยการ
จัดการเรียนรูแ้ บบปกติ ของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ก่อนเรยี นและหลังเรยี นมาวเิ คราะห์ หา
คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน โดยใช้ t-test for dependent แล้วนาํ เสนอขอ้ มูลโดยการใช้ตาราง
ประกอบคาํ บรรยาย

3.6.2 การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา เรอื่ ง เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใช้
การจัดการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับดา้ น ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลัง เรยี น
มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน โดยใช้ t-test for dependent แลว้ นําเสนอข้อมลู
โดยการใชต้ ารางประกอบคาํ บรรยาย

3.6.3 การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน รายวิชาสังคมศึกษา เร่อื ง เศรษฐกจิ พอเพยี ง ของ
นักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 หลังเรียนระหว่างกล่มุ ทไี่ ดร้ บั การเรยี นรู้แบบปกติและกล่มุ ท่ีไดร้ ับ การ

46

จดั การเรยี นร้แู บบห้องเรียนกลับดา้ น มาวิเคราะหห์ าค่าเฉลี่ย สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน โดยใช้ t-test
for independent แล้วนําเสนอข้อมูล

47

บรรณานุกรม

กรมวิชาการ,กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช

2551 (พิมพ์คร้งั ท่ี 3). กรงุ เทพฯ: ครุ ุสภา ลาดพร้าว.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2553). หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

(พิมพ์คร้ังที่ 3). กรงุ เทพฯ: ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

ขณษิ ฐา บุญภักด.ี (2552). การศึกษาปัจจยั ท่มี ีผลต่อผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักศกึ ษาระดบั

ปรญิ ญาตรี คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม

เกล้าธนบรุ ี. (วทิ ยานพิ นธป์ ริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
ธนบุร)ี .

ฆนทั ธาตทุ อง. (2552). การออกแบบการสอนแบบย้อนกลับ (พิมพ์ครงั้ ที่ 4). นครปฐม: เพชรเกษม

การพิมพ.์

จนั ทวรรณ ปิ ยะวัฒน์. (2558). โมเดลตน้ แบบทดลองท าห้องเรยี นกลบั ทาง (Flipped Classroom).

สบื คน้ จาก www.gotoknow.org/post/531520.

ชนาธิป พรกลุ . (2552).การออกแบบการสอน การบรู ณาการการอ่าน การคดิ วเิ คราะห์ และการเขียน

(พมิ พค์ ร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนาธปิ พรกลุ . (2557).การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎแี ละการน าไปใช้ (พมิ พค์ รั้งที่ 3). กรงุ เทพฯ:

จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .


Click to View FlipBook Version