The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ (หน่วยที่ ๓ ใช้สอบสอน)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by anniversary271259, 2021-05-29 15:02:55

แผนการจัดการเรียนรู้ (หน่วยที่ ๓ ใช้สอบสอน)

แผนการจัดการเรียนรู้ (หน่วยที่ ๓ ใช้สอบสอน)

แผนการจัดการเรยี นรู้

กล่มุ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ
ศลิ ปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์



คณุ ครูนทกี านต์ เพญ็ จนั ทร์
(ครสู ายลม)

กกแดดเดแดแดเ

การออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้
รายวชิ า ศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์

รหัสรายวิชาศ๑๕๑๐๒
จำนวน ๘๐ ชัว่ โมง/๒ หนว่ ยกิต

จดั ทำโดย
นายนทกี านต์ เพญ็ จันทร์
รหสั ประจำตัว ๖๑๘๑๑๖๕๐๕๓

คำนำ

คู่มือครู แผนการจัดการเรยี นรู้ ศลิ ปะ ป.๕ ชุดน้ี เป็นสื่อการเรียนรทู้ ีจ่ ดั ทำขึน้ เพอ่ื ใช้เปน็
แนวทางในการจัดการเรยี นรูโ้ ดยยึดหลกั การออกแบบการจดั การเรยี นรแู้ บบ Backward Design ท่เี น้น
ผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง (Child-Centered) ตามหลักการเนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั ให้นกั เรยี นมสี ่วนร่วมใน
กิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ สามารถสร้างองคค์ วามรไู้ ดด้ ว้ ยตนเองทัง้ เปน็ รายบคุ คลและรายกลุ่ม
บทบาทของครูมีหน้าทเ่ี อ้อื อำนวยความสะดวกให้นกั เรยี นประสบผลสำเร็จ โดยสร้างสถานการณเ์ รียนรู้
ท้งั ในห้องเรยี นและนอกห้องเรียน ทำใหน้ ักเรยี นสามารถเชื่อมโยงความรใู้ นกลุ่มสาระการเรียนรู้อนื่ ๆ
ไดใ้ นเชิงบรู ณาการดว้ ยวิธกี ารหลากหลายเนน้ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และสรุปความรู้ด้วย
ตนเอง ทำให้นักเรยี นได้รับการพฒั นาทง้ั ด้านความรู้ ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นิยมที่ดี และดา้ น
ทกั ษะ/กระบวนการ นำไปส่กู ารอยรู่ ่วมกันในสงั คมอยา่ งสันติสขุ

การจดั ทำคูม่ ือครู แผนการจดั การเรียนรู้ ศิลปะชุดน้ี ไดจ้ ัดทำตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ซง่ึ ครอบคลมุ ทกุ สาระการเรียน คอื ทัศนศิลป์ ดนตรี และ
นาฏศลิ ป์ ภายในเลม่ ได้นำเสนอแผนการจดั การเรียนรรู้ เู้ ปน็ รายชัว่ โมงตามหน่วยการเรียนร้เู พ่ือใหค้ รู
นำไปใชใ้ นการจัดการเรยี นร้ไู ดส้ ะดวกยิ่งขึ้น นอกจากนี้แต่ละหน่วยการเรียนยงั มีการวดั และประเมนิ ผล
การเรยี นรทู้ ้งั ๓ ด้าน ไดแ้ ก่ ด้านความรู้ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม และด้านทักษะ/
กระบวนการ ทำใหท้ ราบผลการเรียนร้แู ตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ของนกั เรยี นไดท้ นั ที

นายนทีกานต์ เพ็ญจันทร์
ผูจ้ ดั ทำ

สารบญั หนา้

เรอื่ ง ๑

แผนการจดั การเรียนรรู้ ายปี ๓
มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ดั ๗
จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๗
สาระสำคญั ๗
สาระการเรยี นรู้ ๗
คำอธิบายรายวชิ า ๘
รหสั วชิ า ๑๑
ตารางโครงสรา้ งรายวิชา ๑๒
๑๒
แผนการจดั การเรียนรูร้ ายหนว่ ย หน่วยที่ ๑ ๑๒
มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด ๑๒
จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑๓
สาระสำคัญ ๑๓
สาระการเรียนรู้ ๑๓
สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น ๑๔
ทักษะของผ้เู รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ ๑๗
ช้ินงานหรอื ภาระงาน ๑๘
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑๘
สื่อการสอน ๒๐
แหลง่ เรยี นรใู้ นหรือนอกสถานท่ีการ ๒๐
วดั และประเมนิ ผล ๒๑
กิจกรรมเสนอแนะ ๒๑
บนั ทึกผลหลังการสอน ๒๒
ปัญหา/อปุ สรรค/แนวทางแก้ปัญหา ๒๓
ข้อเสนอแนะ ๒๕
ความคดิ เหน็ ของหวั หนา้ สถานศึกษา
แบบทดสอบกอ่ นเรียน
แบบทดสอบหลงั เรียน

ใบงาน/แบบฝึกหดั ตา่ ง ๆ ๒๗
แผนการจดั การเรียนรู้รายหน่วย หนว่ ยที่ ๒ ๓๓
๓๔
มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชีว้ ัด ๓๔
จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓๔
สาระสำคญั ๓๕
สาระการเรียนรู้ ๓๕
สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ๓๕
ทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ ๒๑ ๓๖
ชิ้นงานหรือภาระงาน ๓๖
การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ๓๗
สื่อการสอน ๓๘
แหล่งเรียนรใู้ นหรอื นอกสถานทกี่ าร ๓๘
วดั และประเมินผล ๔๐
กิจกรรมเสนอแนะ ๔๐
บันทึกผลหลังการสอน ๔๑
ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแกป้ ญั หา ๔๑
ขอ้ เสนอแนะ ๔๒
ความคิดเหน็ ของหัวหน้าสถานศึกษา ๔๓
แบบทดสอบกอ่ นเรียน ๔๕
แบบทดสอบหลงั เรียน ๔๗
ใบงาน/แบบฝึกหัดต่าง ๆ ๕๕
แผนการจัดการเรียนรูร้ ายหนว่ ย หน่วยที่ ๓ ๕๕
มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั ๕๕
จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๕๕
สาระสำคัญ ๕๕
สาระการเรยี นรู้ ๕๖
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ๕๖
ทกั ษะของผ้เู รยี นในศตวรรษที่ ๒๑ ๕๗
ชน้ิ งานหรือภาระงาน ๕๗
การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ๕๙
สอ่ื การสอน

แหลง่ เรียนรใู้ นหรือนอกสถานที่การ ๕๙
การวัดและประเมินผล ๕๙
กจิ กรรมเสนอแนะ ๕๕
บนั ทกึ ผลหลังการสอน ๖๒
ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแกป้ ญั หา ๖๓
ขอ้ เสนอแนะ ๖๓
ความคดิ เห็นของหวั หน้าสถานศึกษา ๖๔
ใบงาน/แบบฝึกหัดตา่ ง ๖๕

1

แผนการจดั การเรยี นรู้รายปี

รายวิชาดนตรี รหัสวชิ า ศ๑๕๑๐๒ กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ิลปะ

ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ เวลา ๘๐ ชว่ั โมง

ครผู ู้สอน นายนทีกานต์ เพญ็ จันทร์ จำนวน ๒ หนว่ ยกิต

๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั

มาตรฐานการเรียนรู้

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์

วเิ คราะห์ วพิ ากษ์วิจารณค์ ณุ ค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอยา่ งอิสระ ชื่น

ชม และประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั

มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม

เหน็ คุณค่างานทัศนศิลป์ ท่เี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ภมู ิปญั ญาไทยละสากล

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์

วิพากษว์ จิ ารณ์คณุ ค่าดนตรี ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ความคดิ ต่อดนตรอี ยา่ งอสิ ระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน

ชีวิตประจำวัน

มาตรฐาน ศ ๒.๒ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างดนตรี ประวัตศิ าสตร์ และวฒั นธรรม เห็น

คณุ ค่าของดนตรี ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมิปัญญาไทยและสากล

มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์

วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั

มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม

เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศลิ ป์ ท่เี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปญั ญาท้องถ่นิ ภมู ปิ ัญญาไทยและสากล

ตวั ช้วี ัด

มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์

วเิ คราะห์ วิพากษว์ จิ ารณ์คณุ ค่างานทัศนศิลป์ ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ช่ืน

ชม และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน

ศ ๑.๑ ป.๕/๑ บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏใน

สง่ิ แวดล้อมและงานทศั นศิลป์

2

ศ ๑.๑ ป.๕/๒ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างด้วยวัสดุ
อุปกรณ์ และวิธกี ารที่ต่างกนั

ศ ๑.๑ ป.๕/๓ วาดภาพ โดยใช้เทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี
ศ ๑.๑ ป.๕/๔ สร้างสรรคง์ านปั้นจากดินน้ำมันหรือดินเหนียว โดยเน้นการถ่ายทอด
จนิ ตนาการ
ศ ๑.๑ ป.๕/๕ สร้างสรรค์งานพมิ พภ์ าพ โดยเนน้ การจดั วางตำแหน่งของส่ิงต่าง ๆ ใน
ภาพ
ศ ๑.๑ ป.๕/๖ ระบุปญั หาในการจดั องค์ประกอบศิลป์ และการสือ่ ความหมายในงาน
ทศั นศิลป์ของตนเอง และบอกวิธกี ารปรับปรุงงานให้ดขี ึ้น
ศ ๑.๑ ป.๕/๗ บรรยายประโยชน์และคุณคา่ ของงานทศั นศิลปท์ ี่มีผลต่อชีวิตของคน
ในสังคม
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เห็นคณุ คา่ งานทัศนศลิ ป์ ทเ่ี ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ ภูมิปัญญาไทยละสากล
ศ ๑.๒ ป.๕/๑ ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทศั นศลิ ป์ในแหล่ง
เรียนรู้ หรือนทิ รรศนาการ
ศ ๑.๒ ป.๕/๒ อภปิ รายเกี่ยวกบั งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรม และภมู ิปัญญาใน
ท้องถิน่
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วจิ ารณ์คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สกึ ความคิดตอ่ ดนตรีอย่างอสิ ระ ช่ืนชม และประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั
ศ ๒.๑ ป.๕/๑ ระบอุ งคป์ ระกอบดนตรใี นเพลงท่ใี ช้ในการสื่ออารมณ์
ศ ๒.๑ ป.๕/๒ จำแนกลักษณะของเสียงขับร้องและเครื่องดนตรีที่อยู่ในวงดนตรี
ประเภทตา่ ง ๆ
ศ ๒.๑ ป.๕/๓ อ่าน เขียน โน้ตดนตรไี ทยและสากล ๕ ระดับเสยี ง
ศ ๒.๑ ป.๕/๔ ใชเ้ คร่อื งดนตรบี รรเลงจังหวะ และทำนอง
ศ ๒.๑ ป.๕/๕ ร้องเพลงไทยหรือเพลงสากลหรือเพลงไทยสากลทีเ่ หมาะสมกบั วยั
ศ ๒.๑ ป.๕/๖ ดน้ สดงา่ ย ๆ โดยใชป้ ระโยคเพลงแบบถาม ตอบ
ศ ๒.๑ ป.๕/๗ ใชด้ นตรรี ว่ มกบั กิจกรรมในการแสดงออกตามจนิ ตนาการ
มาตราฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เหน็ คณุ ค่าของดนตรี ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ภมู ิปัญญาไทยและสากล
ศ ๒.๒ ป.๕/๑ อธิบายความสัมพนั ธ์ระหว่างดนตรีกบั ประเพณีในวัฒนธรรมต่าง ๆ

3

ศ ๒.๒ ป.๕/๒ อธิบายคณุ ค่าของดนตรที มี่ าจากวฒั นธรรมที่ต่างกัน
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึกความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม ประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวัน

ศ ๓.๑ ป.๕/๑ บรรยายองคป์ ระกอบนาฎศลิ ป์
ศ ๓.๑ ป.๕/๒ แสดงทา่ ทางประกอบเพลงหรือเรอ่ื งราวตามความคิดของตน
ศ ๓.๑ ป.๕/๓ แสดงนาฏศิลป์ โดยเนน้ การใช้ภาษาท่าทางและนาฏยศัพท์ในการสื่อ
ความหมายและการแสดงออก
ศ ๓.๑ ป.๕/๔ มีส่วนรว่ มในกล่มุ กับการเขียนเคา้ โครงเรือ่ งหรอื บทละครสน้ั ๆ
ศ ๓.๑ ป.๕/๕ เปรยี บเทียบการแสดงนาฏศลิ ปช์ ุดต่าง ๆ
ศ ๓.๑ ป.๕/๖ บอกประโยชน์ท่ีได้รับจากการชมการแสดง
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เหน็ คณุ คา่ ของนาฏศิลป์ ทเี่ ปน็ มรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ ภูมิปญั ญาไทยและสากล
ศ ๓.๒ ป.๕/๑ เปรยี บเทยี บการแสดงประเภทตา่ ง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถนิ่
ศ ๓.๒ ป.๕/๒ ระบหุ รอื แสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลปพ์ ้ืนบ้านทสี่ ะทอ้ นถงึ วฒั นธรรมและ
ประเพณี

๒. จดุ ประสงค์การเรียนรู้

ความรู้ (K)
๑. อธิบายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อมและงาน

ทศั นศิลปไ์ ด้ (K)
๒. เปรยี บเทยี บความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ท่สี ร้างดว้ ยวัสดอุ ุปกรณ์ และวิธีการ

ท่ีต่างกันได้ (K)
๓. อธบิ ายจากการวาดภาพ โดยใชเ้ ทคนิคของแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสไี ด้ (K)
๔. อธิบายจากการสร้างสรรค์งานปั้นจากดนิ น้ำมันหรอื ดินเหนียว โดยเน้นการถ่ายทอด

จนิ ตนาการได้ (K)
๕. อธบิ ายการสรา้ งสรรค์งานพิมพภ์ าพ โดยเน้นการจดั วางตำแหน่งของสิง่ ตา่ ง ๆ ในภาพ

ได้ (K)
๖. อธิบายถึงปญั หาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์

ของตนเอง และบอกวธิ ีการปรับปรงุ งานใหด้ ีข้นึ ได้ (K)
๗. อธบิ ายประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของงานทศั นศลิ ปท์ ีม่ ีผลตอ่ ชวี ติ ของคนในสงั คมได้ (K)

4

๘. สรุปและบรรยายเกยี่ วกับลกั ษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้ หรือนิทร
รศนาการได้ (K)

๙. อภปิ รายเก่ยี วกับงานทศั นศลิ ปท์ ่สี ะท้อนวัฒนธรรม และภูมปิ ัญญาในทอ้ งถิน่ ได้ (K)
๑๐. อธบิ ายเกย่ี วกบั องค์ประกอบดนตรที ีใ่ ชใ้ นการสือ่ อารมณ์ได้ (K)
๑๑. อธบิ ายลักษณะของเสียงขบั รอ้ งและเครื่องดนตรีทีอ่ ยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ ได้ (K)
๑๒. อธิบายการอ่าน เขียน โนต้ ดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสียงได้ (K)
๑๓. จำแนกเครอื่ งหมายและสัญญาลักษณท์ างดนตรไี ทยและสากลได้ (K)
๑๔. อธิบายเกย่ี วกับการใช้เครอื่ งดนตรีบรรเลงจังหวะ และทำนองได้ (K)
๑๕. เปรยี บเทยี บการขับรอ้ งเพลงไทยหรอื เพลงสากลหรือเพลงไทยสากลที่เหมาะสมกับ
วยั ของนกั เรียนได้ (K)
๑๖. อธบิ ายการรอ้ งเพลงแบบดน้ สด โดยใช้ประโยคเพลงแบบถาม ตอบได้ (K)
๑๗. อธิบายการใช้ดนตรีรว่ มกับกิจกรรมในการแสดงได้ (K)
๑๘. อธิบายความสมั พนั ธร์ ะหว่างดนตรีกบั ประเพณใี นวฒั นธรรมตา่ ง ๆ ได้ (K)
๑๙. อธบิ ายคณุ คา่ ของดนตรีทีม่ าจากวฒั นธรรมท่ตี ่างกันได้ (K)
๒๐. วเิ คราะห์การบรรยายองค์ประกอบของนาฏศิลป์ได้ (K)
๒๑. บอกลกั ษณะทา่ ทางประกอบบทเพลงหรือเรอ่ื งราวตามความคดิ ของตนเองได้ (K)
๒๒. อธิบายจากการแสดงนาฏศลิ ป์ โดยเน้นการใช้ภาษาทา่ ทางและนาฏยศพั ทใ์ นการส่ือ
ความหมายและการแสดงออกได้ (K)
๒๓. อธบิ ายการเขียนเคา้ โครงเรอื่ งหรือบทละครส้นั ๆ ได้ (K)
๒๔. เปรยี บเทยี บการแสดงนาฏศลิ ป์ชุดตา่ ง ๆ ได้ (K)
๒๕. บอกประโยชนท์ ่ีได้รบั จากการชมการแสดงได้ (K)
๒๖. เปรยี บเทยี บการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแตล่ ะท้องถิ่นได้ (K)
๒๗. อธิบายแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลปพ์ ื้นบ้านทส่ี ะทอ้ นถงึ วัฒนธรรมและประเพณไี ด้ (K)
ทกั ษะ (P)
๑. อภิปรายเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อมและงาน
ทศั นศิลปไ์ ด้ (P)
๒. นำเสนอความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างด้วยวัสดุอุปกรณ์ และวิธีการท่ี
ต่างกนั ได้ (P)
๓. ปฏิบัตกิ ารวาดภาพ โดยใช้เทคนคิ ของแสงเงา น้ำหนกั และวรรณะสีได้ (P)
๔. นำเสนอการสร้างสรรค์งานปั้นจากดินน้ำมันหรือดินเหนียว โดยเน้นการถ่ายทอด
จินตนาการได้ (P)

5

๕. นำเสนอการสร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ โดยเน้นการจัดวางตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ใน
ภาพได้ (P)

๖. ตรวจสอบปัญหาในการจัดองค์ประกอบศิลป์ และการส่อื ความหมายในงานทัศนศิลป์
ของตนเอง และบอกวิธกี ารปรบั ปรงุ งานใหด้ ีขึ้นได้ (P)

๗. นำเสนอประโยชน์และคณุ ค่าของงานทัศนศลิ ปท์ มี่ ผี ลตอ่ ชีวติ ของคนในสังคมได้ (P)
๘. นำเสนอเกยี่ วกบั ลักษณะรปู แบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้ หรอื นทิ รรศนาการ (P)
๙. นำเสนอเกีย่ วกับงานทัศนศลิ ปท์ ส่ี ะทอ้ นวัฒนธรรม และภูมิปญั ญาในท้องถ่นิ ได้ (P)
๑๐. นำเสนอองคป์ ระกอบดนตรีทใี่ ชใ้ นการส่ืออารมณ์ (P)
๑๑. นำเสนอลกั ษณข์ องเสยี งขับรอ้ งและเคร่ืองดนตรีที่อยูใ่ นวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ (P)
๑๒. ปฏิบัติการอ่าน เขียน โนต้ ดนตรไี ทยและสากล ๕ ระดบั เสยี งได้ (P)
๑๓. นำเสนอการใช้เครือ่ งดนตรีบรรเลงจงั หวะและทำนองได้ (P)
๑๔. ปฏบิ ตั ิการขับรอ้ งเพลงไทยหรอื เพลงสากลหรือเพลงไทยสากลได้ (P)
๑๕. ปฏิบัตกิ ารขบั รอ้ งเพลงโดยการดน้ สด โดยใชป้ ระโยคเพลงแบบถาม ตอบได้ (P)
๑๖. แสดงดนตรีรว่ มกบั กิจกรรมในการแสดงได้ (P)
๑๗. นำเสนอความสมั พันธ์ระหวา่ งดนตรีกับประเพณีในวฒั นธรรมต่าง ๆ (P)
๑๘. นำเสนอคุณคา่ ของดนตรีที่มาจากวฒั นธรรมทตี่ ่างกัน (P)
๑๙. สาธิตการบรรยายองคป์ ระกอบของนาฏศลิ ปไ์ ด้ (P)
๒๐. แสดงท่าทางประกอบบทเพลงหรือเรอ่ื งราวตามความคดิ ของตนเองได้ (P)
๒๑. แสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าทางและนาฏยศัพท์ในการสื่อความหมาย
และการแสดงออก (P)
๒๒. ปฏิบัตกิ ารเขียนเค้าโครงเรื่องหรอื บทละครสั้น ๆ ได้ (P)
๒๓. นำเสนอการแสดงนาฏศิลป์ชุดต่าง ๆ ได้ (P)
๒๔. มสี ่วนร่วมในการชมการแสดง (P)
๒๕. นำเสนอการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยในแต่ละท้องถิ่นได้ (P)
๒๖. ปฏิบตั ิการแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พ้ืนบ้านทีส่ ะทอ้ นถึงวฒั นธรรมและประเพณไี ด้ (P)
เจตคติ (A)
๑. เห็นความสำคัญเกี่ยวกับจังหวะ ตำแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดล้อมและ
งานทศั นศิลป์ (A)
๒. ชื่นชมความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ ที่สร้างด้วยวัสดุอุปกรณ์ และวิธีการที่
ต่างกัน (A)
๓. ชน่ื ชมการวาดภาพ โดยใชเ้ ทคนคิ ของแสงเงา น้ำหนกั และวรรณะสี (P)

6

๔. ภูมิใจการสร้างสรรค์งานปั้นจากดินน้ำมันหรือดินเหนียว โดยเน้นการถ่ายทอด
จินตนาการ (A)

๕. ภูมใิ จการสร้างสรรค์งานพมิ พ์ภาพ โดยเนน้ การจัดวางตำแหน่งของสิง่ ต่าง ๆ ในภาพ (A)
๖. เห็นความสำคัญในการจดั องค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลป์
ของตนเอง และบอกวิธกี ารปรบั ปรงุ งานใหด้ ีขึ้น (A)
๗. เหน็ ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศลิ ปท์ ่มี ีผลต่อชวี ติ ของคนในสงั คม (A)
๘. เห็นความสำคัญเกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ในแหล่งเรียนรู้ หรือนิทร
รศนาการ (A)
๙. เหน็ ความสำคัญเก่ยี วกบั งานทัศนศิลปท์ ่ีสะทอ้ นวัฒนธรรม และภูมิปญั ญาในท้องถ่นิ (A)
๑๐. เหน็ ความสำคญั ขององค์ประกอบดนตรี (A)
๑๑. เห็นความสำคัญของลักษณะของเสียงขับร้องและเครื่องดนตรีที่อยู่ในวงดนตรี
ประเภทตา่ ง ๆ (A)
๑๒. นักเรียนมีความพึงพอใจในการปฏิบัติการอ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ๕
ระดับเสียง (A)
๑๓. นกั เรยี นเห็นประโยชน์ของการใช้เคร่ืองดนตรบี รรเลงจังหวะและทำนอง (A)
๑๔. นกั เรียนมีความภาคภมู ิใจในการขบั ร้องเพลงไทยหรือเพลงสากลหรอื เพลงไทยสากล
๑๕. นักเรียนมีความภาคภมู ิใจในการขับรอ้ งเพลงโดยการด้นสด (A)
๑๖. ชืน่ ชมการใช้ดนตรรี ่วมกบั กจิ กรรมในการแสดง (A)
๑๗. ชื่นชมความสัมพนั ธ์ระหวา่ งดนตรกี บั ประเพณใี นวัฒนธรรมต่าง ๆ (A)
๑๘. ชน่ื ชมคุณค่าของดนตรี และวัฒนธรรมตา่ ง ๆ (A)
๑๙. ชน่ื ชม และเหน็ คณุ ค่าของนาฏศลิ ป์ไทย (A)
๒๐. เห็นความสำคญั ของท่าทางท่ใี ชใ้ นการประกอบบทเพลงในการแสดง (A)
๒๑. ชื่นชมในการแสดงนาฏศิลป์ โดยเน้นการใช้ภาษาท่าทางและนาฏยศัพท์ในการสื่อ
ความหมายและการแสดงออก (A)
๒๒. เห็นคุณคา่ ของบทละครที่ใชใ้ นการการแสดงนาฏศลิ ป์ (A)
๒๓. ชื่นชมผลงานในการแสดงนาฏศลิ ปช์ ุดต่าง ๆ (A)
๒๔. เห็นคณุ ค่าจากประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการชมการแสดง (A)
๒๕. ชื่นชมในการแสดงประเภทตา่ ง ๆ ของไทยในแตล่ ะทอ้ งถ่นิ (A)
๒๖. ชน่ื ชมการแสดงนาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบา้ นทส่ี ะท้อนถงึ วัฒนธรรมและประเพณี (A)

7

๓. สาระสำคญั

เป็นความคิดรวบยอดของเน้ือหาท่นี ำมาจัดการเรียนรใู้ นแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ของกลุ่ม
สาระการเรยี นรู้ศิลปะ

๔. สาระการเรยี นรู้

เปน็ หวั ขอ้ ย่อยที่นำมาจัดการเรยี นรูใ้ นแต่ละแผนการจัดการเรยี นรู้ ซึง่ สอดคล้องกับสาระการ
เรยี นร้แู กนกลาง

๕. คำอธิบายรายวชิ า

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับเครื่องดนตรีไทยและสากลประกอบจังหวะและทำนอง วงดนตรีไทย วง
ดนตรีสากล องค์ประกอบดนตรี เครื่องหมาย และสัญลักษณ์ทางดนตรี หลักการขับร้องดนตรีกับการแสดง
นาฏศลิ ป์ ดนตรีกบั ประเพณีท้องถิน่ การแสดงทา่ ทางประกอบนิทานและบทเพลง นาฏยศัพทแ์ ละภาษาท่า
รำทางนาฏศลิ ป์ไทยการแสดงนาฏศิลป์ไทย องค์ประกอบนาฏศิลป์ ละคร หลกั การชมการแสดงนาฏศิลป์
ไทย และนาฏศิลป์สากล

ให้นักเรียนสังเกตภาพเครื่องดนตรีไทย เครื่องดนตรีสากล วงดนตรีไทย วงดนตรีสากล ตัวโน้
ประเพณีท้องถิ่น การแสดงนาฏศิลป์ เพื่อวิเคราะห์และอธิบายเกี่ยวกับภาพด้วยประสบการณ์และใช้ทัก
กระบวนการคิดต่าง ๆ บันทึกตัวโน้ต ฝึกขับร้องเพลง และปฏิบตั ทิ ่ารำประกอบเพลงจากภาพท่ีกำหนดได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมเกี่ยวกับดนตรีและนาฏศิลปไ์ ด้อย่างเหมาะสม เกิดความคิด
สรา้ งสรรค์ จินตนาการ

เหน็ คณุ ค่า และตระหนักถึงความสำคัญของดนตรแี ละนาฏศิลป์ที่เป็นมรดก เอกลกั ษณข์ องชาติ
ที่สะท้อนถึงวัฒนธรรม ประเพณี และสามารถนำความรู้ทางดนตรี และนาฏศิลป์มาประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๖. รหัสรายวิชา

ศ ๑.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ศ ๑.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
ศ ๒.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖ ป.๕/๗
ศ ๒.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๑ ป.๕/๒ ป.๕/๓ ป.๕/๔ ป.๕/๕ ป.๕/๖
ศ ๓.๒ ป.๕/๑ ป.๕/๒

รวม ๒๖ ตัวชีวัด

8

ตารางโครงสร้างรายวชิ า

รายวิชาดนตรี รหัสวิชา ศ๑๕๑๐๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรศู้ ลิ ปะ

ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ จำนวน ๘๐ ชวั่ โมง/๒ หนว่ ยกิต

หน่วยท่ี ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตราฐาน/ตัวชวี ดั เวลา

(ชว่ั โมง)

๑ พื้นฐานทางดนตรี ๖

๑.๑ องค์ประกอบดนตรี ศ ๒.๑ ป.๕/๑ ๒

๑.๒ การสื่ออารมณ์เพลงด้วยองค์ประกอบดนตรี ศ ๒.๑ ป.๕/๑ ๒

๑.๓ ลักษณะของเสียงขับร้องและเสียงของเครื่องดนตรีท่ี ศ ๒.๑ ป.๕/๒ ๒

อยใู่ นวงดนตรปี ระเภทตา่ งๆ

๒ ทักษะดนตรี ๔

๒.๑ เคร่อื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี ศ ๒.๑ ป.๕/๓ ๒

๒.๒ ดนตรีกับการแสดงออกตามจินตนาการการ ศ ๒.๑ ป.๕/๗ ๒

๓ เทคนิคการบรรเลงดนตรี ๔

๓.๑ การปฏบิ ตั ดิ นตรีสากล ศ ๒.๑ ป.๕/๔ ๒

๓.๒ การปฏิบตั ดิ นตรีไทย ศ ๒.๑ ป.๕/๔ ๒

๔ หลักการขบั รอ้ ง ๘

๓.๑ การรอ้ งเพลง ศ ๒.๑ ป.๕/๕ ๒

๓.๒ การสรา้ งประโยคเพลง ศ ๒.๑ ป.๕/๖ ๒

๓.๒ การร้องเพลงประสานเสียง ศ ๒.๑ ป.๕/๕ ๒

๓.๓ การดน้ สด ศ ๒.๑ ป.๕/๖ ๒

๕ ดนตรกี บั มรดกทางวฒั นธรรม ๔

๕.๑ ดนตรีกับงานประเพณีทอ้ งถ่นิ ศ ๒.๒ ป.๕/๑ ๒

๕.๒ คุณค่าของดนตรีจากแหล่งวฒั นธรรมของไทย ศ ๒.๒ ป.๕/๒ ๒

๖ นาฎศิลปใ์ นท้องถน่ิ ๔

9

หนว่ ยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตราฐาน/ตัวชวี ดั เวลา
(ชัว่ โมง)
๖.๑ การแสดงพนื้ บ้าน ศ ๓.๒ ป.๕/๑
๖.๒ ฟ้อนบายสี ศ ๓.๒ ป.๕/๒ ๒

๗ การแสดงนาฎศลิ ป์และการละคร ศ ๓.๑ ป.๕/๒
ศ ๓.๑ ป.๕/๓ ๑๐
๗.๑ การแสดงท่าทางประกอบเพลงปลกุ ใจเพอ่ื นไทย ศ ๓.๑ ป.๕/๓
๗.๒ รำวงมาตรฐานเพลงรำมาซมิ า ศ ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๕ ๒
๗.๓ รำวงมาตรฐานเพลงดอกไมข้ องชาติ ศ ๓.๑ ป.๕/๔ ๒
๗.๔ ระบำไก่ ๒
๗.๕ ละครหุ่น ศ ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๖ ๒

๘ การชมการแสดงนาฎศลิ ปไ์ ทย ศ ๓.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๖

๘.๑ หลักการชมการแสดงนาฎศิลป์ไทยและประโยชน์ที่ ศ ๑.๑ ป.๕/๖,ป.๕/๗
ได้รบั จากการชมการแสดงนาฎศิลปไ์ ทย ศ ๑.๑ ป.๕/๖,ป.๕/๗ ๓
ศ ๑.๑ ป.๕/๖,ป.๕/๗
๘.๒ หลักการชมโขนและประโยชน์ที่ได้รับจากการชมการ ศ ๑.๑ ป.๕/๖,ป.๕/๗ ๓
แสดงโขนไทย
ศ ๑.๑ ป.๕/๖,ป.๕/๗ ๘
๙ พนื้ ฐานงานศลิ ป์ ศ ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๖
ศ ๑.๑ ป.๕/๑,ป.๕/๖ ๒
๙.๑ เอกภาพ ๒
๙.๒ ความสมดุล ๒
๙.๓ จุดเด่น ๒
๙.๔ ความกลมกลนื

๑๐ องค์ประกอบศลิ ป์

๑๐.๑ ความขดั แย้ง ๒
๑๐.๒ จังหวะ ๒
๑๐.๓ ตำแหน่ง

๑๑ ความแตกต่างและประโยชน์ของงานศลิ ป์

10

หน่วยท่ี ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด เวลา
(ชว่ั โมง)
๑๑.๑ ความแตกตา่ งระหว่างานทัศนศลิ ป์ ศ ๑.๑ ป.๕/๒
ศ ๑.๑ ป.๕/๗ ๒
๑๑.๒ ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของงานทศั นศิลป์ ๒
๑๒ สรา้ งสรรคง์ านศลิ ป์ ศ ๑.๑ ป.๕/๓
ศ ๑.๑ ป.๕/๓ ๑๒
๑๒.๑ การวาดภาพโดยใช้เทคนคิ ของแสงเงาและนำ้ หนกั
๑๒.๒ การวาดภาพโดยใช้เทคนคิ ของวรรณะสี ๓


๑๒.๓ การป้นั ตามจนิ ตนาการ ศ ๑.๑ ป.๕/๔ ๓
๑๒.๔ การพมิ พ์ภาพด้วยเศษวัสดุ ศ ๑.๑ ป.๕/๕ ๓

๑๓ งานศิลป์กับวัฒนธรรม ศ ๑.๒ ป.๕/๑ ๔
ศ ๑.๒ ป.๕/๒
๑๓.๑ ศิลปวัฒนธรรมไทย ๒
๑๓.๒ งานทัศนศิลป์ท่ีสะท้อนวัฒนธรรมและภมู ปิ ญั ญาไทย ๒

11

แ แผนการจดั การ
เรยี นรรู้ ายหน่วย
หน่วยท่ี ๑
พน้ื ฐานทางดนตรี

12

แผนการจัดการเรียนรู้หนว่ ยที่ ๑

สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ รายวชิ าดนตรี

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เวลา ๖ ชวั่ โมง

เร่อื ง พ้นื ฐานทางดนตรี

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์

คุณคา่ ดนตรี ถา่ ยทอดความรู้สึก ความคดิ ต่อดนตรอี ยา่ งอิสระ ชื่นชมและประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน

ตัวชวี้ ัด

ศ ๒.๑ ป.๕/๑ ระบุองค์ประกอบดนตรใี นเพลงทใี่ ช้ในการสื่ออารมณ์

ศ ๒.๑ ป.๕/๒ จำแนกลักษณะของเสียงขับร้องและเครอื่ งดนตรีทอี่ ยใู่ นวงดนตรีประเภท

ตา่ ง ๆ

๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

๒.๑ อธิบายเกย่ี วกบั องค์ประกอบดนตรที ใี่ ชใ้ นการส่ืออารมณ์ได้ (K)
๒.๒ อธบิ ายลักษณะของเสียงขับรอ้ งและเครอ่ื งดนตรีที่อยใู่ นวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ ได้ (K)
๒.๓ นำเสนอองค์ประกอบดนตรที ่ใี ช้ในการสอื่ อารมณ์ (P)
๒.๔ นำเสนอลักษณ์ของเสยี งขับรอ้ งและเคร่อื งดนตรีทอี่ ยูใ่ นวงดนตรีประเภทต่าง ๆ (P)
๒.๕ เหน็ ความสำคัญขององคป์ ระกอบดนตรี (A)
๒.๖ เห็นความสำคัญของลักษณะของเสียงขับร้องและเครื่องดนตรีที่อยู่ในวงดนตรีประเภท
ต่าง ๆ (A)

๓. สาระสำคญั

การเขา้ ใจองค์ประกอบต่าง ๆ ทางดนตรี ทำใหส้ ามารถรับร้ถู ึงความไพเราะของดนตรไี ด้มากขึ้น

๔. สาระการเรียนรู้

13

องคป์ ระกอบดนตรี
- องคป์ ระกอบดนตรีไทย
- องคป์ ระกอบดนตรีสากล

๕.สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น ( เฉพาะท่ีเกดิ ในหน่วยการเรียนรนู้ ้ี)

 ความสามารถในการสอ่ื สาร
 ความสามารถในการคดิ
 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. ทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษท่ี 21 (3R 8C + 2L) (จุดเนน้ ส่กู ารพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น)

 ทักษะการอา่ น (Reading)
 ทักษะการ เขียน (Writing)
 ทกั ษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and
problem solving)
 ทักษะดา้ นการสร้างสรรคแ์ ละนวตั กรรม (Creativity and innovation)
 ทักษะดา้ นความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ ำ (Collaboration , teamwork
and leadership)
 ทักษะด้านความเขา้ ใจตา่ งวฒั นธรรม ตา่ งกระบวนทัศน์ (Cross-cultural understanding)
 ทักษะด้าน การส่ือสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communication information
and
media literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร (Computing)
 ทกั ษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)
 ทักษะการเปล่ียนแปลง (Change)
 ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills)
 ภาวะผนู้ ำ (Leadership)

๗. ชน้ิ งานหรือภาระงาน ( หลักฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ )

๗.๑ การทำแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรียน

14

๗.๒ การคิดท่าทางและเคลอ่ื นไหวร่างกายประกอบองคป์ ระกอบทางดนตรี
๗.๓ ใบงาน เรอื่ ง องค์ประกอบดนตรี
๗.๔ ใบกิจกรรม
๗.๕ การทำโครงงาน

๘. การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้

๘.๑ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๑ หน่วยยอ่ ยที่ ๑.๑
เรื่อง องคป์ ระกอบดนตรี
รูปแบบการเรยี นรู้ : การสอนแบบใหผ้ ู้เรียนรายงานในช้ันเรยี น ช่วั โมงท่ี ๑-๒

ข้ันที่ ๑ นำเข้าสูบ่ ทเรียน
๑. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพอ่ื ประเมนิ ความรู้
๒. ครูขอตัวแทนนักเรียนหรืออาสาสมัครออกมาเล่าประสบการณ์เกี่ยวกับการฟังเพลง

หรอื ฟังการบรรเลงดนตรีทน่ี กั เรียนประทบั ใจหรือช่ืนชอบให้ครูและเพือ่ น ๆ ฟงั
ขั้นท่ี ๒ การสอน
๑. ครูนำเสอนเนื้อหาเรื่อง องค์ประกอบดนตรี เกี่ยวกับความหมายขององค์ประกอบ

ดนตรี องคป์ ระกอบดนตรไี ทย องคป์ ระกอบดนตรสี ากล ว่าประกอบด้วยองค์ประกอบใดบา้ ง
๒. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มศึกษาความรู้เรื่ององค์ประกอบดนตรี

ไทยและองคป์ ระกอบดนตรีสากล ดังน้ี
- กลุ่มที่ ๑ ศึกษาเรื่อง จังหวะในองค์ประกอบดนตรไี ทย
- กลุ่มที่ ๒ ศึกษาเรอื่ ง ทำนองในองค์ประกอบดนตรีไทย
- กล่มุ ที่ ๓ ศกึ ษาเรือ่ ง จังหวะในองคป์ ระกอบดนตรีสากล
- กลมุ่ ที่ ๔ ศึกษาเรือ่ ง ทำนองในองค์ประกอบดนตรสี ากล

๓. ใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ออกมาอธบิ ายหน้าช้ันเรยี น
ข้นั ท่ี ๓ สรปุ ผล

ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง องค์ประกอบดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้เสริมในส่วนท่ี
นกั เรยี นไม่เข้าใจหรอื สรุปไม่ตรงกับจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

ขั้นท่ี ๔ ฝึกฝนนกั เรียน
๑. ครูเปิดเพลงให้นักเรียนฟังทีละเพลง แล้วให้นักเรียนช่วยกันจำแนกองค์ประกอบ

ดนตรขี องแตล่ ะเพลง เพ่อื ประเมนิ ความเข้าใจ
๒. ใหน้ ักเรียนปฏิบัติ กจิ กรรม จำแนกองค์ประกอบดนตรี แล้วชว่ ยกันเฉลยหนา้ ช้ันเรียน

ขน้ั ที่ ๕ การนำไปใช้

15

นกั เรยี นสามารถนำความรู้เรอื่ ง องค์ประกอบดนตรี ไปใชใ้ นการเปรียบเทยี บลักษณะของ
เพลงไทยและเพลงสากลที่สนใจ วา่ มีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นความร้เู สริมในการเรียน
หรือหัดเลน่ ดนตรไี ทยและสากลทสี่ นใจในโอกาสตอ่ ไป

๘.๒ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ หนว่ ยย่อยท่ี ๑.๒
เรอื่ ง การสือ่ อารมณเ์ พลงดว้ ยองคป์ ระกอบดนตรี
รปู แบบการเรยี นรู้ : การสอนแบบใหผ้ ู้เรียนรายงานในชน้ั เรยี น ชั่วโมงท่ี ๓-๔

ข้ันที่ ๑ นำเข้าสูบ่ ทเรียน
ครูเปดิ เพลงที่มจี ังหวะและทำนองท่สามารถส่ืออารมณ์ในลกั ษณะต่าง ๆ ได้ เชน่ เพลงที่

มีจงั หวะชา้ ปานกลาง เร็ว และเพลงท่มี ีการเปลี่ยนทำนองที่หลากหลายและเพลงทีไ่ มม่ กี ารเปล่ียน
ทำนองให้นักเรียนฟัง แล้วถามนักเรียนว่าเพลงที่มีจังหวะและทำนองแบบใด ที่สามารถถ่ายทอด
อารมณ์สนุกสนานไดด้ ี ให้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็น

ข้นั ที่ ๒ การสอน
๑. ครูนำเสนอเนื้อหาเรื่อง การสื่ออารมณ์เพลงด้วยองค์ประกอบดนตรี โดยอธิบาย

เก่ียวกับความสมั พนั ธ์ระหวา่ งจงั หวะกบั อารมณ์ของบทเพลงและทำนองกับอารมณ์ของบทเพลงให้
สอดคล้องกับเพลงที่เปิดให้นักเรียนฟัง โดยครูอาจเปิดเพลงประกอบการอธิบายไปด้วยเพื่อให้
นกั เรียนเข้าใจและสามารถจำแนกได้

๒. แบง่ นักเรียนออกเปน็ ๒ กล่มุ กลุ่มละเท่า ๆ กนั โดยกล่มุ ท่ี ๑ ศึกษาเรื่องการถ่ายทอด
อารมณ์ของจังหวะ และกลุ่มที่ ๒ ศึกษาเรื่องการถ่ายทอดอารมณ์ของทำนองเพลง แล้วร่วมกัน
อภิปรายหน้าชัน้ เรยี น

๓. ครูตงั้ คำถามนักเรยี นว่าจังหวะแบบใดที่สื่ออารมณ์เศรา้ ได้ดีท่ีสดุ หรือทำนองเพลงใดท่ี
สามารถถา่ ยทอดอารมณ์และความรู้สึกเศรา้ ไดด้ ที ส่ี ุด เพื่อเปน็ การประเมนิ ความเขา้ ใจของนกั เรียน

ขั้นท่ี ๓ สรปุ ผล
ใหน้ กั เรียนรว่ มกันสรปุ การสอ่ื อารมณเ์ พลงดว้ ยองค์ประกอบดนตรี โดยครูคอยให้ความรู้

เสริมในสว่ นที่นักเรยี นไม่เข้าใจหรอื สรุปไม่ตรงกับจดุ ประสงค์การเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๔ ฝึกฝนนักเรียน
ให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรม สื่ออารมณ์ด้วยจังหวะเพลง และกิจกรรม สื่ออารมณ์ด้วย

ทำนองเพลงพร้อมบันทกึ ผลแล้วนำเสนอขอ้ มลู หนา้ ชัน้ เรยี น
ข้นั ที่ ๕ การนำไปใช้
นักเรียนสามรถนำความรู้เรื่อง การสื่ออารมณเ์ พลงดว้ ยองค์ประกอบดนตรี ไปใช้ในการ

เลือกฟงั เพลงทมี่ ีการใชอ้ งคป์ ระกอบดนตรีท่ีสามารถสื่ออารมณ์ออกมาไดต้ รงกับอารมณข์ องตนเอง

16

ในขณะที่ต้องการฟังเพลงได้อย่างเหมาะสมและไดป้ ระโยชน์อย่างแท้จริง เช่น วันที่นักเรียนรู้สึก
อารมณ์ดีก็ต้องเลือกฟังเพลงที่มีจังหวะคึกคักและมีทำนองขยับขึ้น ลงบ่อย ๆ เพื่อให้เข้ากับ
บรรยากาศในขณะน้ันเป็นต้น

๘.๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ หน่วยยอ่ ยที่ ๑.๓
เร่ือง ลกั ษณะของเสยี งขบั ร้องและเสียงของเครอ่ื งดนตรที ่อี ยใู่ นวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ
รูปแบบการเรยี นรู้ : การสอนแบบให้ผเู้ รยี นรายงานในชนั้ เรยี น ชว่ั โมงที่ ๕-๖

ขั้นท่ี ๑ นำเข้าสู่บทเรยี น
ครูขออาสาสมัครนกั เรียนออกมาเล่าประสบการณ์เกีย่ วกับเสยี งร้องของนักร้องที่ตนเอง

ชื่นชอบหรือเสียงเครื่องดนตรีที่เกิดจากการบรรเลงของวงดนตรีที่ตนเองชื่นชอบ ว่ามีลักษณะ
อย่างไร และให้ร้องเพลงของนักร้องที่ตนเองชื่นชอบ หรือเลียนแบบเสียงของวงดนตรีที่นักเรียน
กลา่ วถึง เพอ่ื เป็นการประเมินความรกู้ ่อนเรยี นของนกั เรยี น

ขั้นที่ ๒ การสอน
๑. ครูนำเสนอเนือ้ หาเร่ือง ลักษณะของเสียงขับร้องและเสียงของเคร่ืองดนตรีที่อย่ใู นวง

ดนตรีประเภทต่าง ๆ โดยอธิบายเกี่ยวกับลักษณะของเสียงขับร้องของนักร้องกลุ่มต่าง ๆ ให้
นกั เรียนทราบ

๒. ครสู นทนาถงึ หลกั การฟงั เสยี งเครอ่ื งดนตรใี นวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ และถามนกั เรียน
แตล่ ะคนว่ามหี ลกั ในการฟังอย่างไร ให้นกั เรยี นแลกเปล่ียนประสบการณ์และแสดงความคิดเห็นซึ่ง
กันและกัน จากนน้ั ครูสรุปหลักการฟงั เสียงของเคร่ืองดนตรใี นวงดนตรีประเภทต่าง ๆ ให้นักเรียน
เข้าใจ

๓. ครใู หน้ กั เรยี นดูวดี ีทัศน์หรือดูภาพการบรรเลงวงดนตรพี ้นื บ้าน แลว้ ถามนักเรียน เป็น
วงดนตรพี น้ื บ้านอะไร มเี คร่อื งดนตรีอะไรประกอบอยูบ่ า้ งจากนั้นครอู ธิบายว่าวงดนตรีพื้นบ้านเป็น
วงดนตรที ี่ใช้บรรเลงในแต่ละท้องถ่นิ ซง่ึ แตล่ ะทอ้ งถิ่นจะมลี ักษณะทีแ่ ตกตา่ งกัน

๔. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม แล้วแจกภาพวงดนตรีพื้นบ้านของภาคต่าง ๆ กลุ่ม
ละ ๑ ภาพ ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ค้นคว้าหาความรเู้ กย่ี วกับภาพวงดนตรีท่ีครแู จกให้ จากนั้นให้ตวั แทนกลุ่ม
ออกมารายงานหนา้ ช้ันเรียน

๕. ครูใหน้ กั เรียนดูวดี ที ัศนห์ รือภาพการบรรเลงวงดนตรไี ทย แล้วถามนกั เรียนว่า วงดนตรี
ไทยในภาพท่เี ห็นมเี ครือ่ งดนตรอี ะไรประกอบอยูบ่ ้างและเป็นวงดนตรปี ระเภทใด จากนัน้ ครูอธิบาย
ถึงประเภทของวงดนตรีไทยพร้อมยกตัวอย่างประเภทและชนิดของวงดนตรีไทยโดยใช้
ภาพประกอบ

17

๖. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๓ กลุ่ม แล้วแจกภาพวงปีพ่ าทย์ วงเครื่องสาย และวงมโหรี
กลมุ่ ละ ๑ ภาพ ให้แต่ละกลุ่มค้นควา้ หาความรู้เกยี่ วกบั ภาพวงดนตรีท่ีครูแจกให้ จากนัน้ ให้ตัวแทน
กลุ่มออกมารายงานหนา้ ช้นั เรียน

๗. ครูแบ่งนักเรยี นออกเปน็ ๔ กล่มุ แล้วแจกภาพวงซิมโฟนีออร์เคสตร้า วงคอมโบ้ วงโยธ
วาทติ และวงแตรวงชาวบ้าน กลุ่มละ ๑ ภาพ ให้แต่ละกลมุ่ ค้นคว้าหาความรู้เกยี่ วกับภ-พวงดนตรี
ทคี่ รูแจกให้จากน้นั ให้ตัวแทนกล่มุ ออกมารายงานหน้าชั้นเรียน

ขนั้ ที่ ๓ สรปุ ผล
ให้นักเรียนร่วมกันสรปุ เรื่อง ลักษณะของเสยี งขับรอ้ งและเสยี งของเคร่ืองดนตรีทีอ่ ย่ใู นวง

ดนตรปี ระเภทตา่ ง ๆ โดยครูคอยใหค้ วามรเู้ สริมในสว่ นที่นักเรยี นไม่เข้าใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกับจุดประสงค์
การเรยี นรู้

ขัน้ ที่ ๔ ฝกึ ฝนนกั เรียน
๑. ให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรม จำแนกลักษณะของเสียงนักร้องแต่ละกลุ่ม กิจกรรม

จำแนกลักษณะของเสียงดนตรีพื้นบ้าน กิจกรรม จำแนกลักษณะเสียงของวงดนตรีไทย และกิจกรรม
จำแนกลักษณะเสยี งของวงดนตรสี ากล พร้อมบันทกึ ผลแล้วนำเสนอข้อมูลหนา้ ชั้นเรียน

๒. ให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน
๓. ใหน้ ักเรยี นทำโครงงานตามความสนใจ
ข้ันที่ ๕ การนำไปใช้
นักเรียนสามารถนำความรู้เรื่อง ลักษณะของเสยี งขับร้องและเสยี งของเครือ่ งดนตรีท่อี ยู่
ในวงดนตรปี ระเภทต่าง ๆ ไปใชใ้ นการฟงั เพลงหรอื วงดนตรีท่ีตนเองสนใจ โดยนำหลกั การฟังเสียง
ของเครื่องดนตรีในวงดนตรีไปใช้จำแนกเสียงขับร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่อยู่ในวงดนตรี
ประเภทต่าง ๆ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

๙. ส่อื การสอน

๑. CD-ROM เพลงที่มจี ังหวะและทำนองท่หี ลากหลาย
๒. ใบกจิ กรรม
๓. หอ้ งสมดุ
๔. สอ่ื การเรยี นรู้ ศลิ ปะ สมบรู ณแ์ บบ ช้นั ป.๕ บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์วฒั นาพานิช จำกัด
๕. อินเตอร์เนต็
๖. หนงั สือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ศิลปะ ชน้ั ป.๕ บรษิ ัท สำนกั พมิ พว์ ัฒนาพานิช จำกัด
๗. แบบฝกึ ทกั ษะ รายวชิ าพ้นื ฐาน ศิลปะ ชนั้ ป.๕ บรษิ ทั สำนักพิมพว์ ฒั นาพานิช จำกดั

18

๑๐. แหลง่ เรยี นร้ใู นหรอื นอกสถานท่ี

๑. การไปทัศนศึกษาในมหาวิทยาลัยตา่ ง ๆ ทม่ี ีการแสดงดนตรี
๒. พิพธิ ภณั ฑ์ดนตรีสากลกรงุ เทพ
๓. พิพธิ ภณั ฑบ์ า้ นดรุ ิยางคศิลปนิ มนตรี ตราโมท

๑๑. การวดั และประเมินผล

สมรรถณของผเู้ รยี น วิธวี ัดผล เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ าร
ประเมนิ
๑. ความสามารถในการคิด สังเกต
แบบประเมิน ตามตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑใ์ นระดบั
สมรรถณะของ คะแนนคุณลกั ษณะอัน ปานกลางขน้ึ ไป
ผู้เรยี นรายบุคคล พงึ ประสงค์

๒.ความสามารถในการใช้ สงั เกต แบบประเมิน ตามตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ
ทกั ษะชวี ติ สมรรถณะของ คะแนนคุณลกั ษณะอัน ปานกลางขึ้นไป
ผูเ้ รยี นรายบคุ คล พงึ ประสงค์

๓.ความสามารถในการใช้ สังเกต แบบประเมิน ตามตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑใ์ นระดับ
เทคโนโลยี สมรรถณะของ คะแนนคณุ ลักษณะอัน ปานกลางขน้ึ ไป
ผเู้ รียนรายบุคคล พงึ ประสงค์

ทักษะของผเู้ รยี นใน วิธวี ดั ผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ าร
ศตวรรษท่ี ๒๑ ประเมนิ
สงั เกต
๑.ทกั ษะการสร้างสรรค์ แบบประเมิน ตามตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑใ์ นระดับ
และนวตั กรรม(Creativity ทกั ษะของผ้เู รียน คะแนนทักษะของผเู้ รยี น ปานกลางขึน้ ไป
and innovation ) ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในศตวรรษที่ ๒๑
รายบุคคล

19

ทักษะของผูเ้ รยี นใน วิธวี ดั ผล เครอ่ื งมอื วดั ผล เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑ์การ
ศตวรรษที่ ๒๑ ประเมนิ
สังเกต
๒.ทกั ษะด้านความ แบบประเมนิ ตามตารางเกณฑ์การให้ ผ่านเกณฑใ์ นระดับ
ร่วมมือ การทำงานเปน็ ทักษะของผูเ้ รียน คะแนนทักษะของผ้เู รียน ปานกลางขน้ึ ไป
ทมี และภาวะผูน้ ำ ในศตวรรษที่ ๒๑ ในศตวรรษท่ี ๒๑
(Collaboration , รายบุคคล
teamwork and
leadership)

๓. ทักษะการเรียนรู้ สังเกต แบบประเมนิ ตามตารางเกณฑ์การให้ ผ่านเกณฑ์ในระดับ
(Learning Skills) ทักษะของผ้เู รยี น คะแนนทกั ษะของผู้เรยี น ปานกลางขนึ้ ไป
ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในศตวรรษท่ี ๒๑
รายบุคคล

ชิน้ งาน/ภาระงาน วธิ วี ัดผล เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ าร
ประเมนิ
๑. การทำแบบทดสอบก่อน ตรวจ แบบทดสอบ
เรยี นและหลงั เรยี น แบบทดสอบ คะแนน๙-๑๐=ดมี าก ทดสอบความรูก้ ่อน
คะแนน๖-๘=ดี เรียนและหลงั เรยี น
คะแนน๔-๕=พอใช้ วา่ การเรียนในคร้ังนี้
คะแนน๐-๓=ปรับปรุง ช่วยเพมิ่ ความรขู้ อง
ผา่ นเกณฑ์ในระดับดขี ้ึน นักเรยี นมากขึน้
ไป ขนาดไหน

๒.การคิดทา่ ทางและ สงั เกต แบบสงั เกต คะแนน๙-๑๐=ดมี าก มคี วามสรา้ งสรรคใ์ น
เคลอ่ื นไหวร่างกายประกอบ พฤตกิ รรม พฤติกรรม คะแนน๖-๘=ดี การคิดท่าทาง
องค์ประกอบทางดนตรี รายบคุ คล คะแนน๔-๕=พอใช้ ประกอบจงั หวะ
คะแนน๐-๓=ปรบั ปรงุ ดนตรี
ผา่ นเกณฑใ์ นระดับดีขนึ้
ไป

20

ชิ้นงาน/ภาระงาน วธิ วี ัดผล เครอื่ งมอื วัด เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ าร
ประเมนิ
๓. ใบงาน เร่ือง ตรวจ แบบทดสอบ
องค์ประกอบดนตรี แบบทดสอบ คะแนน๙-๑๐=ดีมาก ตอบคำถามถูกตาม
คะแนน๖-๘=ดี ใบงานที่ส่ัง
คะแนน ๔-๕ = พอใช้
คะแนน๐-๓=ปรบั ปรุง
ผ่านเกณฑ์ในระดับดขี ึน้
ไป

๔. การทำโครงงาน สงั เกต แบบสงั เกต คะแนน๙-๑๐=ดมี าก ปฏบิ ตั ิการทำงาน
พฤตกิ รรม พฤตกิ รรม คะแนน๖-๘=ดี รว่ มกนั อย่างสามัคคี
ของแตล่ ะ รายบคุ คล คะแนน ๔-๕ = พอใช้
กลมุ่ โครงงาน คะแนน ๐-๓ = ปรับปรงุ
ผา่ นเกณฑ์ในระดบั ดขี ึ้น
ไป

๑๒. กจิ กรรมเสนอแนะ

๑. กจิ กรรมสำหรบั กลุ่มสนใจพเิ ศษ
- ศึกษาองค์ประหกอบดนตรีไทยและดนตรีสากลอื่น ๆ เพิ่มเติม โดยศึกษาเกี่ยวกับ

ความสำคัญขององค์ประกอบแต่ละชนิด แล้วนำมาอภิปรายหน้าชั้นเรียนให้ครูและเพื่อน ๆ ฟังและ
แสดงความคิดเห็น

๒. กิจกรรมสำหรับฝึกทกั ษะเพม่ิ เตมิ
- นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กลุม่ ละ ๔-๕ คน รว่ มกนั ศกึ ษาองค์ประกอบของดนตรไี ทยและดนตรี

สากลทส่ี นใจ แล้วนำมาอภปิ รายหน้าช้นั เรียนใหค้ รูและเพือ่ น ๆ ฟงั และแสดงความคดิ เห็น

๑๓. บันทึกผลหลังการสอน
สรุปผลการเรียนการสอน นักเรียนทัง้ หมดจำนวน ๕ คน

21

จดุ ประสงค์การ จำนวนนกั เรียนท่ีผา่ น จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่าน

เรียนรู้ข้อที่ จำนวนคน ร้อยละ จำนวนคน ร้อยละ

๑๔. ปญั หา/อปุ สรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………..………………………………………………………………….
….……………………………………………………………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๕. ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..…………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชอ่ื …………………………ตำแหนง่ ครวู ิทยฐานะ
(…………………………)

22

ลงช่ือ…………………………หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้
(…………………………)

ลงชอื่ …………………………รองผูอ้ ำนวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ
(…………………………)

๑๖. ความเหน็ ของหวั หน้าสถานศกึ ษา

ไดท้ ำการตรวจแผนการเรียนรู้ของ....................................................แล้วมีความคดิ เห็นดงั น้ี
๑. เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
๒. การจดั กจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้

 เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไมเ่ นน้ ผ้เู รยี นเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป
๓. ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ…………………………………………………………………………………………………….

ลงชอ่ื …………………………ผปู้ ระเมนิ
(…………………………)

ผู้อำนวยการโรงเรียน…………………………

23

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ชอื่ …………………………นามสกุล…………………………เลขที่……….ชั้น……….
คำชแ้ี จง : ให้  คำตอบท่ถี กู ตอ้ งลงในช่องสีเ่ หลย่ี มทกี่ ำหนดให้

๑. เพลงสอ่ื อารมณ์ สนุกสนาน มจี ังหวะเป็นอย่างไร
 จงั หวะเร็ว
 จงั หวะชา้
 จงั หวะสามช้นั
 จังหวะสองช้ัน

๒. เพลงใครหนอสือ่ อารมร์แบบใด
 ฮึกเหิม
 ซาบซงึ้
 คกึ คกั
 สนุกสนาน

๓. จังหวะเรว็ สือ่ อารมณ์แบบใด
 ดใี จ
 เศร้า
 หดหู่
 เสียใจ

๔. องค์ประกอบดนตรมี ีความสำคัญอยา่ งไร
 ทำใหเ้ คร่อื งดนตรีทใ่ี ช้บรรเลงทันสมัย
 ทำใหผ้ ู้บรรเลงดนตรเี ล่นดนตรไี ด้ดขี น้ึ
 ทำให้ผ้ฟู ังเพลงเข้าใจบทเพลงมากขึน้
 ทำใหเ้ พลงมคี วามไหเราะ

๕. เพลงใครหนอมี่ความหมายเกย่ี วกับเรอื่ งใด
 เพลงปลุกใจของเหล่าทหาร
 การพลัดพรากจากคนรัก
 การบรรยายถึงพระคุณของพ่อและแม่
 การบรรยายความสวยของผูห้ ญิง

๖. เพลงท่ีมีจังหวะช้าจะใหอ้ ารมณอ์ ยา่ งไร
 ตืน่ เต้นดี ใจ

24

 ฮึกเหมิ คกึ คัก
 โศกเศรา้ เส่ยี ใจ
 สนกุ สนานครกึ คร้ืน
๗. เสียงดนตรเี กิดจากปัจจยั ในข้อใด
 เสยี งร้องของมนษุ ย์
 เสียงของธรรมชาติ
 เสียงรอ้ งของสัตว์
 เสียงของการทำเคร่อื งดนตรี
๘. องคป์ ระกอบดนตรีในข้อใดท่ีกำหนดความชา้ เรว็ ของบทเพลง
 จงั หวะ
 ทำนอง
 ผู้เล่นดนตรี
 เครอื่ งดนตรี
๙. ทำนองเพลงจะมีลักษณะใดนนั้ ขึ้นอยกู่ ับสง่ิ ใด
 ผู้บรรเลงดนตรี
 ผ้ปู ระพันธ์
 ผ้ขู ับรอ้ ง
 จงั หวะ
๑๐. ข้อใดไมใ่ ชอ่ งคป์ ระกอบดนตรีทัง้ หมด
 การประสานเสียง ผู้บรรเลงดนตรี
 เครือ่ งดนตรี เนือ้ เพลง
 ทำนองผู้ขบั ร้อง
 จังหวะ เสยี ง

25

แบบทดสอบหลังเรยี น

ช่อื …………………………นามสกุล…………………………เลขท่ี……….ชนั้ ……….
คำชแ้ี จง : ให้  คำตอบทีถ่ กู ตอ้ งลงในช่องส่ีเหลี่ยมท่กี ำหนดให้

๑. องคป์ ระกอบดนตรีในข้อใดทก่ี ำหนดความช้า เร็ว ของบทเพลง
 จงั หวะ
 ทำนอง
 ผู้เลน่ ดนตรี
 เครือ่ งดนตรี

๒. ทำนองเพลงจะมีลกั ษณะใดนัน้ ขน้ึ อยกู่ ับส่ิงใด
 ผู้บรรเลงดนตรี
 ผู้ประพนั ธ์
 ผขู้ ับรอ้ ง
 จังหวะ

๓. ข้อใดไม่ใชอ่ งค์ประกอบดนตรีท้งั หมด
 การประสานเสียง ผู้บรรเลงดนตรี
 เครื่องดนตรี เนอื้ เพลง
 ทำนองผูข้ ับร้อง
 จงั หวะ เสียง

๔. องคป์ ระกอบดนตรีมคี วามสำคัญอยา่ งไร
 ทำให้เครอื่ งดนตรที ใ่ี ช้บรรเลงทันสมยั
 ทำให้ผู้บรรเลงดนตรีเล่นดนตรีได้ดขี ้ึน
 ทำใหผ้ ้ฟู งั เพลงเขา้ ใจบทเพลงมากขึ้น
 ทำใหเ้ พลงมคี วามไหเราะ

๕. เพลงใครหนอมค่ี วามหมายเก่ยี วกับเร่ืองใด
 เพลงปลุกใจของเหล่าทหาร
 การพลัดพรากจากคนรัก
 การบรรยายถงึ พระคุณของพ่อและแม่
 การบรรยายความสวยของผหู้ ญิง

๖. เพลงท่มี ีจงั หวะชา้ จะใหอ้ ารมณอ์ ยา่ งไร
 ตน่ื เต้นดี ใจ

26

 ฮกึ เหิม คกึ คกั
 โศกเศรา้ เส่ยี ใจ
 สนกุ สนานครกึ ครน้ื
๗. เสยี งดนตรเี กดิ จากปัจจยั ในขอ้ ใด
 เสียงรอ้ งของมนษุ ย์
 เสยี งของธรรมชาติ
 เสียงรอ้ งของสัตว์
 เสยี งของการทำเคร่ืองดนตรี
๘. เพลงสอื่ อารมณ์ สนกุ สนาน มีจงั หวะเป็นอย่างไร
 จงั หวะเร็ว
 จงั หวะช้า
 จงั หวะสามชน้ั
 จังหวะสองชน้ั
๙. เพลงใครหนอสอื่ อารมร์แบบใด
 ฮกึ เหิม
 ซาบซง้ึ
 คึกคัก
 สนกุ สนาน
๑๐. จังหวะเรว็ สอ่ื อารมณ์แบบใด
 ดีใจ
 เศรา้
 หดหู่
 เสียใจ

27

ใบงาน/แบบฝึกหัดต่าง ๆ
ใบงานท่ี ๑ เรื่อง องคป์ ระกอบดนตรี

ชอ่ื …………………………นามสกลุ …………………………เลขที่……….ช้ัน……….
คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนร่วมกนั กนั ร้องเพลงใครหนอ จากน้นั ตอบคำถามลงในแบบบนั ทึก

เน้อื รอ้ ง ทำนอง สรุ พล โทณวนิก เพลงใครหนอ
ใครหนอรักเราเท่าชีวี
ใครหนอปรานไี ม่มีเสื่อมคลาย
ใครหนอรกั เราใช่เพยี งรปู กาย รกั เขาไมห่ นา่ ยมิคดิ ทำราย…ใครหนอ
ใครหนอเห็นเราเศร้าทรวงใน ใครหนอเอาใจปรอบเราเรอื่ ยมา
รักเขากว้างกว่าพนื้ พสธุ า นภากาศ
ใครหนอรักเราดั่งดสงแก้มตา หรือเอานภามาแทนกระดาษ
จะเอาโลกมาทำปากกา ประกาศพระคุณไม่พอ
ใครหนอใครกันให้เราข่ีคอ…คณุ พอ่ คุณแม่
เอานำ้ หมดมหาสมทุ รแทนหมึกวาด รแู้ ลว้ ละก็อยา่ มวั น่ังรอทดแทนบญุ คณุ
ใครหนอรักเราเท่าชวี นั

ใครหนอชกั ชวนดหู นังสจี่ อ

๑. ชือ่ เพลง………………………….ใครแต่ง…………………………
๒. เพลงนมี้ ีจงั หวะชา้ หรือเร็ว…………………………ให้อารมณแื ละความรู้สึกอยา่ งไร…………………………
๓. ทำนองเพลงน้ีฟงั แล้วรู้สกึ อยา่ งไร…………………………
๔. เพลงน้มี ีการประสานเสียงหรอื ไม่…………………………
๕. เพลงนมี้ ีความหมายเกี่ยวกับอะไร…………………………

28

แบบประเมนิ กจิ กรรมรายบคุ คล

ประเด็นการประเมนิ
ลำดับ ช่ือ-นามสกลุ ตรง ถกู ตอ้ ง มีความ มีความ ตรงตอ่

จุดประส สมบูรณ์ สร้างสร เปน็ เวลา รวม
งคท์ ี่ รค์ ระเบียบ
กำหนด เรยี บรอ้ ย

ระดับคะแนน
๕ หมายถึง ดมี าก
๔ หมายถงึ ดี
๓ หมายถงึ ปานกลาง
๒ หมายถงึ พอใช้
๑ หมายถงึ ปรบั ปรุง

ลงชอื่ …………………………ผปู้ ระเมิน
(…………………………)

วันท่ี………./………./……….

29

เกณฑป์ ระเมินใหค้ ะแนนใบงาน

ประเด็นการประเมนิ คะแนน

๑. ผลงานตรงตาม ๙-๑๐ (ดีมาก) ๖-๘ (ด)ี ๔-๕(ปาน ๐-๓ (พอใช)้
จดุ ประสงค์
กลาง) ผลงานไม่
สอดคลอ้ งกบั
ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม จุดประสงค์

สอดคล้องกบั สอดคลอ้ งกบั สอดคล้องกบั

จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ของ จดุ ประสงคข์ อง

เนือ้ หาทเี่ รยี นเป็น เนื้อหาทเี่ รียน

ส่วนใหญ่ เล็กนอ้ ย

๒.ผลงานมคี วามถูกต้อง เนื้อหาสาระถกู ต้อง เนือ้ หาสาระถกู ต้อง เน้ือหาสาระ เน้ือหาสาระไม่
สมบรู ณ์ เป็นสว่ นใหญ่ ถกู ตอ้ งเลก็ น้อย ถกู ต้อง

๓. ผลงานมีความเปน็ ผลงานมคี วามเป็น ผลงานมคี วามเป็น ผลงานค่อนข้าง ผลงานไมม่ คี วาม
ระเบียบเรียบรอ้ ย ระเบียบเรยี บร้อย ระเบียบเรยี บร้อย เปน็ ระเบียบ เปน็ ระเบยี บ
นา่ อ่าน นอ้ ยแตย่ ังมี เรยี บรอ้ ยแต่มี เรียบร้อย
ข้อบกพรอ่ ง ข้อบกพรอ่ ง
บางส่วน หลายจุด

๔.การสง่ งานตรงตอ่ เวลา สง่ งานตรงตามเวลา ส่งงานช้าเลยเวลาที่ ส่งงานช้าเลย สง่ งานชา้ เลยเวลา

ที่กำหนด กำหนด๑-๒วัน เวลาทก่ี ำหนด๓- ทีก่ ำหนดมากกวา่

๔วัน ๕วัน

เกณฑ์การประเมนิ
คะแนน ระดบั คุณภาพ

๙-๑๐ ดีมาก
๖-๘ ดี
๔-๕ พอใช้
๐-๓ ปรบั ปรุง

30

แบบประเมนิ กิจกรรมรายบคุ คล

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

ลำดับ ชอื่ -นามสกุล มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ มุ่งมน่ั ในการ

ทำงาน

๕ ๔ ๓๒ ๑ ๕ ๔๓๒๑๕๔๓๒๑

ระดับคะแนน
๕ หมายถึง ดมี าก
๔ หมายถึง ดี
๓ หมายถึง ปานกลาง
๒ หมายถงึ พอใช้
๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ

ลงชือ่ …………………………ผู้ประเมิน
(…………………………)

วันที่………./………./……….

31

เกณฑ์การใหค้ ะแนนสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น

คะแนน

พฤติกรรมบง่ ชี้ ๕ (ดมี าก) ๔ (ดี) ๓ (ปาน ๒ (พอใช้) ๑

๑. ความสามารถใน กลาง) (ปรบั ปรุง)
การคดิ
มีความสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ ไมม่ ีความคิด
๒. ความสามารถใน
การใช้ทกั ษะชวี ิต ในการคดิ ในเชงิ ในการคิดในเชิง ในการคิดในเชิง ในการคดิ ในเชิง ในเชิง

สรา้ งสรรค์ได้ สร้างสรรค์ได้ สร้างสรรคไ์ ด้ สร้างสรรค์ได้ สรา้ งสรรค์

ออกมาดเี ยีย่ ม ออกมาดี ออกมาในระดับ ออกมาในระดบั

ปานกลาง ปานกลางควร

ปรับปรุง

มคี วามสามารถ ความสามารถใน ความสามารถใน ความสามารถใน ไมม่ ี

ในการใชท้ ักษะ การใช้ทักษะ การใชท้ ักษะ การใช้ทักษะ ความสามารถ

ตา่ งๆได้อยา่ ง ตา่ งๆได้อย่าง ตา่ งๆได้ปาน ตา่ งๆได้ปาน ในการใชท้ กั

ดเี ย่ียม ดี กลาง กลางพอใช้

๓. ความสามารถใน มคี วามสามารถ มีความสามารถ ความสามารถใน ความสามารถใน ไม่มี
การใชเ้ ทคโนโลยี ในการใช้ ในการใช้ การใช้ การใช้ ความสามารถ
เทคโนโลยีเพ่อื เทคโนโลยเี พื่อ เทคโนโลยเี พื่อ เทคโนโลยีเพ่อื ในการใช้
การเรียนรใู หม่ การเรียนรูใหม่ การเรียนรูใหม่ การเรียนรใู หม่ เทคโนโลยีเพ่ือ
ๆไดอ้ ย่างดี ๆไดอ้ ย่างดี ๆได้ปานกลาง ๆไดป้ านกลาง การเรยี นรู้
เยยี่ ม พอใช้

32

เกณฑ์การใหค้ ะแนนทกั ษะของผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ ๒๑

คะแนน

พฤตกิ รรมบง่ ช้ี ๕ (ดีมาก) ๔ (ด)ี ๓ (ปาน ๒ (พอใช)้ ๑

กลาง) (ปรับปรุง)

๑.๑.ทักษะการ มคี วามสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ มีความสามารถ ไม่มีความคิด

สรา้ งสรรคแ์ ละ ในการคดิ ในเชงิ ในการคิดในเชิง ในการคดิ ในเชงิ ในการคิดในเชงิ ในเชงิ

นวัตกรรม(Creativity สรา้ งสรรค์ได้ สร้างสรรค์ได้ สร้างสรรค์ได้ สร้างสรรค์ได้ สรา้ งสรรค์

andinnovation) ออกมาดเี ยยี่ ม ออกมาดี ออกมาในระดบั ออกมาในระดับ

ปานกลาง ปานกลางควร

ปรับปรงุ

๒.ทกั ษะดา้ นความ มีความสามัคคี มคี วามสามัคคี มคี วามสามัคคี มีความสามัคคี ไม่มีความ

ร่วมมอื การทำงาน กนั ในการ กนั ในการ กนั ในการ กนั ในการ สามคั คใี นการ

เป็นทมี และภาวะ ทำงานได้อย่าง ทำงานได้อยา่ ง ทำงานได้ปาน ทำงานไดป้ าน ทำงาน

ผู้นำ(Collaboration, ยอดเยยี่ ม ดี กลาง กลางพอใช้

teamwork and

leadership)

๓.ทักษะการเรียนรู้ มคี วามสามารถ มีความสามารถ มคี วามสามารถ มีความสามารถ ไม่มี

(LeaningSkills) ในการเรยี นรู้ ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ในการเรียนรู้ ความสามารถ

ด้วยตนเองได้ ดว้ ยตนเองได้ ดว้ ยตนเองได้ ดว้ ยตนเองได้ ในการเรียนรู้

อยา่ งดเี ย่ียม อยา่ งดี อยา่ งดี ปาน ปานกลางพอใช้ ดว้ ยตนเองได้

กลาง

33

แผนการจดั การ
เรียนรู้รายหนว่ ย

หนว่ ยที่ ๒
ทักษะดนตรี

34

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๒

สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ รายวิชาดนตรี

ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๕ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

เร่อื ง ทกั ษะดนตรี เวลา ๔ ชว่ั โมง

๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วัด

มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์

คณุ ค่าดนตรี ถ่ายทอดความร้สู ึก ความคิดต่อดนตรอี ย่างอิสระ ชืน่ ชมและประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำวัน

ตวั ชีว้ ดั

๑. ศ ๒.๑ ป.๕/๓ อ่าน เขียน โนต้ ดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสยี ง

๒. ศ ๒.๑ ป.๕/๗ ใชด้ นตรีร่วมกบั กจิ กรรมในการแสดงออกตามจนิ ตนาการ

๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้

๒.๑ อธบิ ายการอ่าน เขยี น โน้ตดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับเสียง (K)
๒.๒ ปฏิบัติการอ่าน เขยี น โน้ตดนตรไี ทยและสากล ๕ ระดบั เสยี งได้ (P)
๒.๓ นักเรียมีความพึงพอใจในการปฏิบัติการอ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ๕ ระดับ
เสียง (A)
๒.๔ อธิบายการใชด้ นตรีร่วมกับกิจกรรมในการแสดงได้ (K)
๒.๕ แสดงดนตรรี ่วมกบั กจิ กรรมในการแสดงได้ (P)
๒.๖ ช่ืนชมการใช้ดนตรรี ่วมกบั กจิ กรรมในการแสดง (A)

๓. สาระสำคญั

๑. เครื่องหมายและสัญญาลักษณ์ทางดนตรีเป็นสิ่งสำคัญในการเรียนหรือการหัดเล่นดนตรี
ซ่ึงเปรยี บเสมอื นเป็นภาษาทางดนตรี ถา้ เราอา่ นหรือเขียนภาษาทางดนตรไี ด้ถกู ต้องและคล่องแค่ว ก็จะ
สามารถเรยี นหรอื เลน่ ดนตรไี ดเ้ ร็วและง่ายขึน้ และเป็นไปตามจุดประสงค์ของบทเพลงนนั้ ๆ

๒. ดนตรีที่ใช้ประกอบกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์โดยส่วนใหญ่จะใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็ง แต่
ปัจจุบันสามารถประยุกต์ใช้บทเพลงหรือวงดนตรีร่วมสมัยต่าง ๆ มาประกอบได้ ส่วนการสร้างสรรค์
เสียงประกอบการเล่าเรื่องเป็นการประดิษฐ์หรือคิดลักษณะของเสียงตามเรื่องราวหรือตัวละครที่
ต้องการถ่ายทอดใหผ้ ู้อนื่ เข้าใจ

35

๔. สาระการเรยี นรู้

๔.๑ เคร่อื งหมายและสัญญาลกั ษณท์ างดนตรี
- บนั ไดเสยี ง ๑ เสยี ง C Major Scale
- โนต้ เพลงในบันไดเสยี ง ๕ เสยี ง Pentatonic Scale

๔.๒ การบรรเลงเคร่อื งดนตรีประกอบกิจกรรมนาฏศลิ ป์
๔.๓ การสรา้ งสรรคเ์ สยี งประกอบการเลา่ เรือ่ ง

๕.สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน ( เฉพาะที่เกิดในหนว่ ยการเรียนร้นู ้ี)

 ความสามารถในการสอื่ สาร
 ความสามารถในการคิด
 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

๖. ทกั ษะของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21 (3R 8C + 2L) (จดุ เน้นส่กู ารพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน)

 ทกั ษะการอ่าน (Reading)
 ทักษะการ เขยี น (Writing)
 ทักษะการ คิดคำนวณ (Arithmetic)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแกป้ ัญหา (Critical thinking and
problem solving)
 ทกั ษะด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and innovation)
 ทกั ษะด้านความร่วมมอื การทำงานเปน็ ทีม และภาวะผูน้ ำ (Collaboration , teamwork
and leadership)
 ทักษะดา้ นความเข้าใจตา่ งวฒั นธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross-cultural understanding)
 ทักษะด้าน การสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communication information
and
media literacy)
 ทักษะดา้ นคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (Computing)
 ทักษะอาชพี และทักษะการเรียนรู้ (Career and learning self-reliance, change)
 ทกั ษะการเปลี่ยนแปลง (Change)
 ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills)
 ภาวะผ้นู ำ (Leadership)

36

๗. ชิน้ งานหรอื ภาระงาน ( หลกั ฐาน / รอ่ งรอยแสดงความรู้ )

๗.๑ การทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน
๗.๒ การอา่ นและเขยี นโนต้ ดนตรีไทยและสากล
๗.๓ ใบงาน เรอ่ื ง โนต้ ดนตรีไทยและโน้ตดนตรีสากล
๗.๔ ใบงาน เรอื่ ง การพากยเ์ สียง

๘. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้

๘.๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี ๒ หน่วยยอ่ ยท่ี ๒.๑
เร่ือง เครอ่ื งหมายและสญั ลักษณท์ างดนตรี
รูปแบบการเรียนรู้ : การสอนแบบใหผ้ เู้ รยี นรายงานในชน้ั เรียน ช่วั โมงท่ี ๑-๒

ขั้นท่ี ๑ นำเขา้ สู่บทเรยี น
๑. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพือ่ ประเมินความรู้
๒. ครนู ำภาพโน้ตหรือแผนภมู โิ น้ตดนตรีไทยและสากลมาใหน้ ักเรยี นดู แล้วถามนักเรียน

วา่ ร้จู กั ชอ่ื โนต้ ตวั ใดบ้าง ให้นกั เรียนช่วยกนั ตอบเพ่ือประเมินความร้กู อ่ นเรยี น
ข้ันที่ ๒ การสอน
๑. ครูนำเสนอเน้ือหาเรือ่ ง เครื่องหมายและสัญญาลักษณทางดนตรี เกี่ยวกับโน้ตดนตรี

ไทย โนต้ ดนตรีสากล บันไดเสยี ง ๕ เสยี ง Pentatonoc Scale ให้นักเรยี นทราบ
๒. ครนู ำนกั เรยี นอ่านโนต้ เพลงลาวจ้อยและโนต้ เพลงแขกบรเทศพรอ้ ม ๆ กนั ท้ังห้อง
๓. ให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามใน กิจกรรม อ่านและเขียนโนต้ ดนตรีไทย และช่วยกนั

เฉลย
๔. ใหน้ ักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ ๔-๕ คน รว่ มกนั หาโน้ตเพลงไทย ๑ เพลง แล้วฝึกเขียน

โน้ตเพลงตามให้ถูกตอ้ ง (เขียนลงในสมดุ ) และฝึกออกเสียงตามละดับโน้ตดังกล่าวให้ถูกต้อง และ
ออกมานำเสนอหนา้ ชนั้ เรียน

ขน้ั ท่ี ๓ สรปุ ผล
ให้นักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง เครื่องหมายและสัญญาลักษณทางดนตรี โดยครูคอยให้

ความร้เู สรมิ ในส่วนทน่ี กั เรียนไม่เขา้ ใจหรอื สรปุ ไม่ตรงกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ขั้นที่ ๔ ฝกึ ทำให้ชำนาญ
ให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรม อ่านเขียนโน้ตไทย กิจกรรม อ่านโน้ตในบันไดเสียง

Pentatonic Scale และกิจกรรม เขยี นโน้ตในบันไดเสยี ง Pentatonic Scale พรอ้ มบนั ทกึ ผลแล้ว
นำเสนอข้อมูลหนา้ ช้ันเรียน

ขั้นที่ ๕ การนำไปใช้

37

นักเรียนสามรถนำความรู้เรื่อง เครื่องหมายและสัญญาลักษณทางดนตรี ไปใช้ในการขบั
ร้องเพลงหรือหัดเล่นเครื่องดนตรีตามเครื่องหมายและสัญญาลักษณ์ทางดนตรี เพื่อจะได้ถูกต้อง
ตามบทเพลงและตามความต้องการของผู้ประพันธ์เพลงที่ต้องการถ่ายทอดอารมณ์ของบทเพลง
ออกมาไดอ้ ย่างแทจ้ รงิ

๘.๒ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๒ หน่วยยอ่ ยท่ี ๒.๒
เรื่อง ดนตรีกับการแสดงออกตามจนิ ตนาการการ
รูปแบบการเรยี นรู้ : การสอนแบบใหผ้ ูเ้ รียนรายงานในชนั้ เรียน ช่ัวโมงที่ ๓-๔

ขน้ั ท่ี ๑ นำเขา้ ส่บู ทเรียน
ให้นักเรียนดูวีดีทัศน์เกี่ยวกับการแสดงโขนและให้นักเรียนสังเกตโดยการฟังเสียงการ

บรรเลงดนตรีประกอบกิรยิ าท่าทางของตัวโขน และถามนักว่าเปน็ วงดนตรปี ระเภทใด เพอ่ื ประเมิน
ความรู้ของนักเรยี น

ข้ันท่ี ๒ การสอน
๑. ครูนำเสนอเนื้อหาเรื่องราว ดนตรีกับการแสดงออกตามจินตนาการ เกี่ยวกับการ

บรรเลงดนตรีประกอบกิจกรรมการแสดงนาฏศิลป์และการสร้างสรรค์ทางดนตรีเกี่ยวกับเสียง
ประกอบเล่าเรือ่ งตามจนิ ตนาการต่าง ๆ ใหน้ กั เรียนทราบ

๒. ครูเปิดแผ่นบันทึกเสียงการบรรเลงเพลงหน้าพาทย์และเพลงร้องที่แสดงอากัปกิริยา
ของตัวโขนใหน้ ักเรียนฟงั และใหน้ กั เรียนแสดงความร้สู ึกตามเพลง

๓. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ร่วมกันหานิทานเรื่องสั้น ๆ เรื่องอะไรก็ได้
ตามทกี่ ลมุ่ สนใจมา ๑ เรอื่ ง และแบ่งหน้าทกี่ ันแสดงตามบทบาทของตวั ละคร และสร้างสรรค์เสียง
ของตัวละครไปตามจนิ ตนาการ แล้วนำมาแสดงให้ครูและเพอื่ น ๆ ชม และแสดงความคดิ เหน็

ขั้นที่ ๓ สรุปผล
ให้นักเรียนร่วมกันสรุป ดนตรีกับการแสดงออกตามจินตนาการ โดยครูคอยให้ความรู้

เสรมิ ในส่วนที่นกั เรียนไม่เขา้ ใจหรือสรุปไมต่ รงกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ข้นั ท่ี ๔ ฝกึ ฝนนกั เรยี น
ให้นักเรียนปฏิบัติ กิจกรรม ใช้ดนตรีร่วมกับการแสดงออกตามจินตนาการของตนเอง

และกิจกรรม ฝกึ สร้างเสยี งประกอบเลา่ เร่ือง พรอ้ มบันทึกผลแลว้ นำเสนอขอ้ มูลหน้าชั้นเรยี น
ขั้นที่ ๕ การนำไปใช้
นกั เรยี นสามรถนำความรเู้ ร่ือง ดนตรกี ับการแสดงออกตามจินตนาการ ไปประยุกต์ใช้ใน

การแสดงหรอื ถา่ ยทอดเรื่องราวตา่ ง ๆ ตามจนิ ตนาการของตนเอง

๙. สื่อการสอน

38

๑. ภาพโน้ตหรอื แผนภมู ิโนต้ ดนตรีไทยและดนตรสี ากล
๒. โนต้ เพลงไทยและสากลในบันไดเสียงต่าง ๆ
๓. CD-ROM ภาพและเพลงหน้าพาทย์ทเ่ี กย่ี วกับการแสดงโขน
๔. หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน ศลิ ปะ ช้ัน ป.๕ บรษิ ัท สำนกั พมิ พว์ ัฒนาพานชิ จำกัด
๕. แบบฝึกทักษะ รายวชิ าพนื้ ฐาน ศิลปะ ชั้น ป.๕ บริษทั สำนกั พมิ พว์ ัฒนาพานชิ จำกัด

๑๐. แหลง่ เรียนรู้ในหรือนอกสถานท่ี

๑. การไปทัศนศึกษาในมหาวทิ ยาลัยต่าง ๆ ที่มกี ารแสดงดนตรี
๒. พพิ ธิ ภณั ฑ์ดนตรีสากลกรุงเทพ
๓. พพิ ธิ ภัณฑ์บา้ นดรุ ิยางคศลิ ปิน มนตรี ตราโมท

๑๑. การวดั และประเมินผล เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ าร
สมรรถณะของผู้เรยี น วธิ วี ดั ผล ประเมนิ
แบบประเมิน ตามตารางเกณฑก์ ารให้
๑.ความสามารถในการคดิ สงั เกต สมรรถนะของ คะแนนสมรรถณะของ ผ่านเกณฑ์ในละดบั
ผู้เรยี นรายบคุ คล ผเู้ รียน ปานกลางขน้ึ ไป
๒.ความสามารถในการใช้ สงั เกต แบบประเมนิ ตามตารางเกณฑก์ ารให้
ทกั ษะชวี ติ สมรรถนะของ คะแนนสมรรถนะของ ผา่ นเกณฑ์ในละดับ
ผเู้ รียนรายบุคคล ผ้เู รยี น ปานกลางขึ้นไป
๓.ความสามารถในการใช้ สงั เกต แบบประเมิน ตามตารางเกณฑก์ ารให้
เทคโนโลยี สมรรถนะของ คะแนนสมรรถนะของ ผา่ นเกณฑ์ในละดับ
ผเู้ รยี นรายบคุ คล ผู้เรยี น ปานกลางขึน้ ไป

ทกั ษะของผูเ้ รยี นใน วธิ ีวัดผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การ
ศตวรรษที่ ๒๑ ประเมนิ
สังเกต
๑.ทกั ษะการสร้างสรรค์ แบบประเมนิ ตามตารางเกณฑก์ ารให้ ผ่านเกณฑ์ในละดับ
และนวตั กรรม ทกั ษะของผู้เรยี น คะแนนทักษะของผเู้ รยี น ปานกลางข้นึ ไป
ในศตวรรษท่ี ๒๑ ในศตวรรษที่ ๒๑
รายบคุ คล

39

ทกั ษะของผ้เู รยี นใน วธิ ีวดั ผล เครื่องมอื วัดผล เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การ
ศตวรรษที่ ๒๑ ประเมนิ
สงั เกต
๒.ทักษะดา้ นความร่วมมือ แบบประเมนิ ตามตารางเกณฑก์ ารให้ ผา่ นเกณฑ์ในระดบั
สงั เกต ทกั ษะของผเู้ รยี น คะแนนทกั ษะของผู้เรียน ปานกลางใชข้ นึ้ ไป
๓.ทกั ษะการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑ ในศตวรรษท่ี ๒๑
รายบคุ คล
แบบประเมนิ ตามตารางเกณฑ์การให้ ผา่ นเกณฑ์ในระดับ
ทกั ษะของผู้เรยี น คะแนนทักษะของผ้เู รียน ปานกลางใชข้ น้ึ ไป
ในศตวรรษที่ ๒๑ ในศตวรรษที่ ๒๑
รายบุคคล

ช้ินงาน/ภาระงาน วธิ วี ัดผล เคร่อื งมือวดั เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑก์ าร

๑.การทำแบบทดสอบกอ่ น ตรวจ แบบทดสอบ ประเมนิ
เรยี นและหลังเรยี น แบบทดสอบ
แบบทดสอบ คะแนน๙-๑๐=ดีมาก ทดสอบความรู้กอ่ น
๒.การอ่านและเขยี นโนต้ ตรวจ
ดนตรไี ทยและสากล แบบทดสอบ ใบงาน คะแนน๖-๘=ดี เรียนและหลงั เรยี น

๓.ใบงานเรือ่ งโนเ้ ตดนตรี ตรวจใบงาน คะแนน๔-๕=พอใช้ ว่าการเรยี นในคร้งั น้ี
ไทยและโน้ตดนตรีสากล
คะแนน๐-๓=ปรับปรงุ ช่วยเพม่ิ ความรู้ของ

ผ่านเกณฑใ์ นละดบั นกั เรียนมากขนึ้

พอใช้ขึ้นไป ขนาดไหน

คะแนน๙-๑๐=ดมี าก อา่ นและเขียนโน้ต

คะแนน๖-๘=ดี ดนตรีไทยและสากล

คะแนน๔-๕=พอใช้ ได้อยา่ งถูกตอ้ งจึงได้

คะแนน๐-๓=ปรับปรงุ คะแนน

ผ่านเกณฑ์ในละดับ

พอใชข้ ้ึนไป

คะแนน๙-๑๐=ดมี าก ตอบคำถามถูกตาม

คะแนน๖-๘=ดี ใบงานท่สี ่งั

คะแนน ๔-๕ = พอใช้

คะแนน๐-๓=ปรบั ปรงุ

ผ่านเกณฑ์ในละดบั

พอใชข้ ึ้นไป

40

ชน้ิ งาน/ภาระงาน วธิ ีวดั ผล เครือ่ งมือวัด เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ าร
ประเมนิ
๔.ใบงานเรือ่ งการพากย์ ตรวจใบงาน ใบงานงาน
เสียง คะแนน๙-๑๐=ดมี าก ตอบคำถามถกู ต้อง
คะแนน๖-๘=ดี ตามใบงานที่ส่ัง
คะแนน ๔-๕ = พอใช้
คะแนน๐-๓=ปรบั ปรงุ
ผา่ นเกณฑ์ในละดบั
พอใชข้ ้ึนไป

๑๒. กิจกรรมเสนอแนะ

๑๒.๑ กิจกรรมสำหรับกลมุ่ สนใจพิเศษ
- นกั เรียนศกึ ษาเคร่ืองหมายและสญั ญาลักษณท์ างดนตรอี ืน่ เพม่ิ เติม และฝึกใช้ให้ถกู ตอ้ ง
- ศึกษาบทเพลงหน้าพาทย์อื่น ๆ ที่ใช้ในการแสดงต่าง ๆ ทางนาฏศิลป์ แล้วจดบันทึก

ลักษณะเพลงและอากปั กริ ิยาของตัวละครไว้
- ฝกึ ถ่ายทอดเรอื่ งราวตามเนื้อหาของบทเพลงที่สนใจออกมาเป็นท่าทางตา่ ง ๆ ให้บุคคล

ในครอบครวั ชม และร่วมแสดงความคิดเห็น
๑๒.๒ กิจกรรมสำหรับฝกึ ทกั ษะเพม่ิ เตมิ
- นักเรียนฝึกอา่ นโนต้ และเขียนโน้ตในบันไดเสียงเพนทาทอนิคหรือบันไดเสียงอ่ืน ๆ ให้

เกดิ ความคล่องแคล่วและแมนยำ
- หาโอกาสเขา้ ชมการแสดงทางนาฏศิลปต์ ่าง ๆ และสังเกตเก่ียวกับวงดนตรีหรอื บทเพลง

ทใ่ี ชป้ ระกอบการแสดงวา่ มลี กั ษณะอย่างไร จดบันทกึ แลว้ นำมาอภิปรายหนา้ ช้ันเรยี น
- วาดภาพเน้อื อหาของเพลงทีส่ นใจ โดยวิเคราะห์เพลงว่าถา่ ยมอดเร่อื งราวอะไร และวาด

เป็นภาพตามจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์

๑๓. บันทกึ ผลหลังการสอน

สรุปผลการเรยี นการสอน นกั เรียนทั้งหมดจำนวน ๕ คน

41

จดุ ประสงค์การ จำนวนนักเรียนท่ีผ่าน จำนวนนักเรยี นทไี่ มผ่ ่าน

เรยี นรขู้ ้อท่ี จำนวนคน รอ้ ยละ จำนวนคน ร้อยละ

๑๔. ปญั หา/อุปสรรค/แนวทางแกไ้ ข

………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..…………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑๕. ข้อเสนอแนะ

………………………………………………………………………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………..…………………………………………………………………….…
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ…………………………ตำแหนง่ ครูวทิ ยฐานะ
(…………………………)

42

ลงช่อื …………………………หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
(…………………………)

ลงชอ่ื …………………………รองผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ
(…………………………)

๑๖. ความเห็นของหัวหนา้ สถานศกึ ษา

ไดท้ ำการตรวจแผนการเรียนรูข้ อง....................................................แลว้ มคี วามคิดเห็นดังน้ี
๑. เปน็ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่

 ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
๒. การจัดกิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรยี นรู้

 เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั มาใช้ในการสอนได้อย่างเหมาะสม
 ยังไม่เน้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป
๓. ขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ…………………………………………………………………………………………………….

ลงช่อื …………………………ผปู้ ระเมิน
(…………………………)

ผู้อำนวยการโรงเรยี น…………………………

43

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ชื่อ…………………………นามสกุล…………………………เลขท่ี……….ชนั้ ……….
คำชแี้ จง : ให้  คำตอบที่ถูกตอ้ งลงในช่องส่เี หล่ยี มที่กำหนดให้

๑. ขอ้ ใดหมายถึงตวั โน้ต
 สญั ลักษณ์ทใี่ ช้ในเนอ้ื เพลง
 สัญญาลกั ษณ์ที่กำหนดเสียงสูง ตำ่
 สญั ญาลกั ษณ์ท่ใี ช้บอกความหมายของเพลง
 สัญญาลกั ษณ์ทแ่ี สดงงถึงความไพเราะของเพลง

๒. ข้อใดเขยี นสัญลักษณโ์ น้ตตวั ซอล มี ที เสียงต่ำได้ถกู ตอ้ ง
 ซ* ม* ท*
 ซ+ ม+ ท+
 ซฺ มฺ ทฺ
 ซ- ม- ท-

๓. โนต้ ดนตรีไทยแต่ละตวั จะมีละดบั เสยี งห่างกันกีเ่ สียง
 ๑ เสยี ง
 ๒ เสยี ง
 ครงึ่ เสยี ง
 ผิดทกุ ขอ้

๔. โดนดนตรสี ากลตวั ท่ี ๕ มีชือ่ เรยี กวา่ อยา่ งไร
 ซอล
 โด
 ลา
 ฟา

๕. โน้ตในข้อใดมีอตั ราจังหวะของโนต้ มากที่สุด
 โน้ตตวั ดำ
 โน้ตตวั กลม
 โน้ตตัวเขบ็ต ๑ ชัน้
 ถกู ทกุ ข้อ

๖. การเขียนสัญญาลกั ษณ์กญุ แจซอลตอ้ งเรม่ิ ต้นเขียนทีบ่ รรทดั เส้นท่ีเทา่ ไหร่
 เสน้ ท่ี ๑

44

 เส้นท่ี ๒
 เสน้ ที่ ๓
 เส้นท่ี ๔
๗. ตวั โน้ตข้อใดที่อยู่คาบเส้น
 ฟา
 ซอล ลา
 มี ที
 ซอล ที
๘. ข้อใดหมายถึงบันไดเสยี ง
 เสยี งสูงตำ่ ทเี่ รยี งลำดับเป็นขน้ั
 เสียงดนตรที ี่เรียงสลบั กนั ไปมา
 เสยี งดนตรีท่เี รียงลำดับจากตำ่ ไปสูง
 สยี งดนตรที ่ีเรยี งไว้ในห้องเพลงแต่ละห้อง
๙. บนั ไดเสยี งท่ีมีโน้ต ๕ ตัว เรยี กว่าอะไร
 เพนทาทอนคิ
 ไดอาทอนคิ
 ซบั ทอนคิ
 ถกู ทกุ ขอ้
๑๐. บทเพลงใดท่ไี มน่ ยิ มใชบ้ ันไดเสยี ง ๕ เสยี ง
 เพลงบลูส์
 เพลงรอ็ ค
 เพลงพ้ืนบา้ น
 เพลงกลอ่ มเด็ก


Click to View FlipBook Version