The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1 A คดีมาบตาพุด คำสั่งคุ้มครองชั่วคราว Power Point

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pachairat, 2021-10-22 03:34:29

1 A คดีมาบตาพุด คำสั่งคุ้มครองชั่วคราว Power Point

1 A คดีมาบตาพุด คำสั่งคุ้มครองชั่วคราว Power Point

คดปี กครองเกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง การควบคุมอาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ

กรณศี ึกษา “คดมี าบตาพดุ ”

คาส่ังกาหนดมาตรการหรือวธิ ีการคุ้มครองใดๆ เพ่ือบรรเทาทุกข์ชั่วคราวก่อนการพพิ ากษาคดี

คาสั่งศาลปกครองกลาง คดหี มายเลขดาที่ ๙๐๘/๒๕๕๒ ลงวนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒
คาสั่งศาลปกครองสูงสุด คาร้องที่ ๕๘๖/๒๕๕๒ คาสั่งที่ ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวนั ท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๕๒

ผงั เมืองรวมมาบตาพดุ เขตควบคุมมลพษิ

ท่าเรือน้าลึกมาบตาพดุ ชายหาดเมืองระยองในอดีต ชายหาดเมืองระยองปัจจุบนั

นายภานุพนั ธ์ ชัยรัต 3 / 2 / 2564

การพจิ ารณาและพพิ ากษาคดปี กครอง

“คดมี าบตาพดุ ”

การใช้อานาจของศาลปกครอง

ในฐานะ

องค์กรใช้อานาจอธิปไตยของรัฐ

อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย
พระมหากษตั ริย์ผู้ทรงเป็ นประมุขทรงใช้อานาจน้ัน

ทาง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และ ศาล

2

อานาจศาลปกครอง

อานาจในฐานะองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

(รฐั สภา คณะรฐั มนตรี ศาล)

อานาจในฐานะศาลซ่ึงเป็นองคก์ รตลุ าการของรฐั
มาตรา ๑๙๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐
(การนิติบญั ญตั ิ การบริหารราชการแผน่ ดิน การพิจารณาพิพากษาคดี)

อานาจในฐานะศาลเพ่ือพิจารณาพิพากษาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พระราชบญั ญตั ิว่าด้วยการวินิจฉัยชี้ขาดอานาจหน้าท่ีระหว่างศาล พ.ศ. ๒๕๔๒

(ศาลยตุ ิธรรม ศาลปกครอง ศาลทหาร)

อานาจในฐานะศาลปกครองเพื่อพิจารณาพิพากษาตามเนื้อหาคดีปกครอง
ตามบทบญั ญตั ิแห่งพระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๒

(กฎ คาสงั่ และ การกระทาอ่ืนใด)
(มาตรา ๙ (๖) คดีพิพาทเกี่ยวกบั เร่ืองที่มีกฎหมายกาหนดให้อย่ใู นเขตอานาจศาลปกครอง)

ประเดน็
ศาลปกครองของไทย

ในฐานะ
องค์กรใช้อานาจอธิปไตยของรัฐ

4

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ประเทศไทยภายหลงั เปลย่ี นแปลงการปกครองปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ใช้การปกครอง
ตามแนวความคิดรัฐธรรมนูญนิยม มีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็ นกฎหมาย
สูงสุด กาหนดหลักการสาคัญของระบอบการปกครองประเทศ ประมุขของรัฐ
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ โครงสร้ างอานาจขององค์กรท่ีใช้ อานาจอธิปไตย
การรับรองสิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย และหน้าที่ของ ชนชาวไทย เป็ นต้น

รัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรก คือ รัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรสยาม

พุทธศักราช ๒๔๗๕ บัญญัติไว้ดังนี้ มาตรา ๒ อานาจอธิปไตย ย่อมมาจากปวงชน

ชาวสยาม พระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้ อานาจนั้นแต่โดยบทบัญญัติแห่ง

รัฐธรรมนูญน้ี มาตรา ๖ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจนิติบัญญัติ โดยคาแนะนาและ

ยินยอมของสภาผู้แทนราษฎร มาตรา ๗ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจบริหาร

ทางคณะรัฐมนตรี มาตรา ๘ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้ อานาจตุลาการ ทางศาลที่ได้ต้ังขึ้น

ตามกฎหมาย 5

แนวความคดิ

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๔๙๒ บัญญัติไว้ดังนี้

มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย มาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้

อานาจน้ันแต่โดยบทบัญญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๘ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้อานาจ

นิติบัญญัติ ทางรัฐสภา มาตรา ๙ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจบริหาร ทาง

คณะรัฐมนตรี มาตรา ๑๐ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้ อานาจตุลาการ ทางศาล

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๑๗ บัญญัติไว้ดังนี้

มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้

อานาจน้ันแต่โดยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๑๐ พระมหากษัตริย์ทรงใช้

อานาจนิติบัญญัติ ทางรัฐสภา มาตรา ๑๑ พระมหากษัตริย์ทรงใช้ อานาจบริหาร ทาง

คณะรัฐมนตรี มาตรา ๑๒ พระมหากษตั ริย์ทรงใช้ อานาจตุลาการ ทางศาล 6

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๒๑ บัญญัติไว้ดังนี้
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย มาจากปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขทรงใช้
อานาจน้ันทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบญั ญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ บัญญัติไว้ดังนี้
มาตรา ๓ อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริย์ผ้เู ป็ นประมุขทรงใช้
อานาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญตั แิ ห่งรัฐธรรมนูญนี้

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ บัญญัติไว้ดังนี้
มาตรา ๓ วรรคหน่ึง อานาจอธิปไตย เป็ นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรง
เป็ นประมุขทรงใช้อานาจน้ันทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่ง

รัฐธรรมนูญนี้ วรรคสอง การปฏิบัติหน้าท่ีของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมท้ัง

องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐต้องเป็ นไปตาม หลกั นิติธรรม

7

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

ในช่วงระยะเวลา ๕๐ ปี ภายหลงั ประเทศไทยเปล่ยี นแปลงการปกครองในปี พ.ศ.

๒๔๗๕ การใช้อานาจอธปิ ไตยของรฐั เป็นไปตามแนวความคิดหลกั การแบ่งแยกอานาจ โดย

บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนูญไดก้ าหนดใหม้ กี ารแบ่งแยกอานาจอธปิ ไตยออกเป็นสามอานาจ ไดแ้ ก่

อานาจนิตบิ ญั ญตั ิ อานาจบรหิ าร และอานาจตุลาการ และกาหนดใหพ้ ระมหากษตั รยิ ท์ รงใชอ้ านาจ

แต่ละอานาจผ่านองค์กรทก่ี าหนดไวโ้ ดยเฉพาะ คอื อานาจนิตบิ ญั ญตั ทิ างรฐั สภา อานาจบรหิ าร

ทางคณะรฐั มนตรี และอานาจตุลาการทางศาล ตามแนวความคิดท่กี ล่าวมาเป็นการแบ่งแยก

อานาจอธปิ ไตยออกเป็นสามอานาจ และกาหนดใหอ้ งคก์ รแต่ละองคก์ รใชอ้ านาจแต่ละอานาจแยก

จากกนั โดยเดด็ ขาด จงึ กล่าววา่ “ศาลเป็นองคก์ รใช้อานาจตลุ าการ”

แต่ภายหลงั การประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๑ และ

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยฉบบั ต่อๆมาจนถงึ ฉบบั ปัจจุบนั การใชอ้ านาจอธปิ ไตยของรฐั

ไม่ได้เป็ นไปตามแนวความคิดตามหลักการแบ่งแยกอานาจ เช่นเดียวกับบทบัญญัติของ

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยในระยะแรก จงึ ไม่ไดม้ บี ทบญั ญตั ใิ หแ้ บ่งแยกอานาจอธปิ ไตย

เป็นสามอานาจ แต่บญั ญตั ใิ หพ้ ระมหากษตั รยิ ท์ รงใชอ้ านาจอธปิ ไตยซ่งึ เป็นอานาจสูงสุดของรฐั

ทม่ี เี พยี งหน่ึงเดยี วผา่ นองคก์ รหลกั ของรฐั สามองคก์ ร คอื รฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล ดงั นนั้

ในปัจจุบนั จงึ กล่าววา่ “ศาลเป็นองคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั ” 8

อานาจอธิปไตย & การแบ่งแยกอานาจ

หลกั การแบง่ แยกอานาจกบั สภาพความเป็นจริงของประเทศไทย

ท่ีมา : พิเชษฐ เมาลานนท์ นิลุบล ชยั อิทธิพรวงศ์ และ พรทิพย์ อภิสิทธิวาสนา (ทีมวิจยั ปัญหาตุลาการศาสตร์) ศาลปกครองของไทย
ยอ่ มพฒั นากา้ วไกล เม่ือใชว้ ธิ ีประเมินตนเอง วารสารข่าวกฎหมายใหม่ ปี ท่ี ๖ ฉบบั ที่ ๑๐๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ หนา้ ๒๘

9

คดมี าบตาพดุ

“คดีปกครองเกี่ยวกบั การตงั้ ถ่ินฐานมนุษย”์

(HUMAN SETTLEMENT)

คดปี กครองทม่ี ีลกั ษณะ

ความเป็ นสหวทิ ยาการ

(Interdisciplinary)

ศาลปกครองสูงสุด คาสงั่ ที่ ๕๙๒/๒๕๕๒
ลงวนั ที่ ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒ คาสง่ั อุทธรณ์
คาสง่ั ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดาท่ี
๙๐๘/๒๕๕๒ ลงวนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒

ศาลปกครองกลาง
คาสงั่ คดีหมายเลขดาที่ ๙๐๘/๒๕๕๒

ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒

คดีปกครองเก่ียวกบั การตงั้ ถิ่นฐานมนุษย์ HUMAN SETTLEMENT

คดมี าบตาพดุ ศาลปกครองกลาง คดหี มายเลขดาที่ ๙๐๘/๒๕๕๒ คดหี มายเลขแดงท่ี ๑๓๕๒/๒๕๕๓

“ปัญหาพืน้ ฐานของพืน้ ท่ีมาบตาพดุ ” 12

ความไม่สมดลุ ของการวางแผนการตงั้ ถ่ินฐานมนุษย์
การไม่เคารพในคณุ ค่าของความเป็นมนุษย์
การขาดธรรมาภิบาลของภาครฐั และเอกชน

ความเป็ นมาของข้อเทจ็ จริงบนพืน้ ทม่ี าบตาพุด
ทเี่ ป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดี

สนามบินนานาชาติสุวรรณภูมิ
บริเวณแหลมฉบงั

บริเวณมาบตาพุด

ESB ศูนย์กลางความเจริญของประเทศไทย
GROWTH POLE & GROWTH CENTRE

แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ บริเวณมาบตาพดุ

ESB : Eastern Seaboard Development Program

โครงการพฒั นาพืน้ ทีช่ ายฝ่ังทะเลตะวนั ออก

โครงการถมทะเลเพ่ือก่อสร้างท่าเทยี บเรือและนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพดุ

นายกรัฐมนตรี (อานันท์ ปันยารชุน) ส่ังการตามคาวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
ท่ี ๑๐๘/๒๕๔๒ ดงั น้ี ให้อธิบดีกรมเจา้ ท่าใช้อานาจสั่งให้ การนิคมอุตสาหกรรม หยุดการถมทะเลไว้
เป็ นการช่ัวคราว จนกว่าจะได้รับอนุญาตก่อสร้างสิ่งล่วงล้าลาน้ าให้ถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วย
การเดินเรือในน่านน้าไทย กฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอ้ ม และรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย (หนงั สือสานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกาท่ี นร.๐๖๐๕/ร.๖๕๙๒ ลงวนั ที่ ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๒)

ศาลปกครองกลาง คดีหมายเลขดาที่ ๑๔๕๑/๒๕๔๕ คดีหมายเลขแดงท่ี ๔๗๔/๒๕๔๙ 15
ศาลปกครองสูงสุด คดีหมายเลขดาที่ อ.๓๗๐/๒๕๔๙ คดีหมายเลขแดงท่ี อ.๒๑/๒๕๕๕

สภาพชายฝ่ังทะเลและชายหาดของจงั หวดั ระยองในอดตี 16

สภาพความเสียหายของชายฝ่ังทะเลจากการถมทะเลก่อสร้างท่าเรือมาบตาพดุ

ท1่าเ0ท/ยี2บ2เ/ร2ือ0ม2า1บตาพดุ ทถ่ี มทะเลยื่นออกไปในทะเล 3 - 4 กโิ ลเมตร 18

19

ชายหาดเมืองระยอง
และ

เกาะสะเกด็

BEFORE
AFTER

สภาพชายหาดเมืองระยองในปัจจุบนั

ผงั เมืองรวมบริเวณพืน้ ท่ีมาบตาพดุ จงั หวดั ระยอง

การกาหนดประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการอตุ สาหกรรม

ผงั กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินเริ่มแรก ทด่ี นิ ประเภทอุตสาหกรรม

2531 เพมิ่ ตามวาทกรรม NICs

New Industrial Country

และ การขาดธรรมาภิบาลของภาครัฐและเอกชน
เพยี งเพือ่ บรรลเุ ป้าหมายการพฒั นาอุตสาหกรรม

2534

2540 ผงั และข้อกาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน 23

“เขตควบคมุ มลพิษ”

พระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕

มาตรา ๕๙ ในกรณีที่ปรากฏว่าท้องท่ีใดมีปัญหามลพิษ ซึ่งมีแนวโน้มที่จะ
ร้ายแรงถึงขนาดเป็ นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนหรืออาจก่อให้เกิด
ผลกระทบเสียหายต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อม ให้ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
มีอานาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากาหนดให้ท้องที่น้ันเป็ น เขตควบคุมมลพิษ
เพื่อดาเนินการควบคุม ลด และขจดั มลพษิ ได้

มาตรา ๖๐ เพื่อประโยชน์ในการจัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อจัดการคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมในระดบั จังหวดั ตามมาตรา ๓๗ ให้เจ้าพนักงานท้องถนิ่ ในท้องที่ท่ไี ด้ประกาศ
กาหนดให้เป็ นเขตควบคุมมลพิษตามมาตรา ๕๙ จัดทาแผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัด
มลพิษในเขตควบคุมมลพิษน้ัน เสนอต่อผู้ว่าราชการจังหวัด เพื่อรวมไว้ในแผนปฏิบัติ
การเพื่อการจดั การคุณภาพส่ิงแวดล้อมในระดบั จงั หวดั

เขตควบคุมมลพษิ พืน้ ทม่ี าบตาพดุ

ศาลปกครองระยอง

คดีหมายเลขดาท่ี ๑๙๒/๒๕๕๐
คดีหมายเลขแดงที่ ๓๒/๒๕๕๒

25

ข้อเท็จจริงทแ่ี สดงถงึ ความไม่มธี รรมาภบิ าลของภาครัฐและเอกชน

หนงั สือสานกั งานคณะกรรมการกฤษฎีกา
ท่ี นร.๐๖๐๕/ร.๖๕๙๒ ลงวนั ท่ี ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๔๒

เขตควบคุมมลพษิ พืน้ ทมี่ าบตาพดุ

ชุมชนเมืองใหม่มาบตาพดุ ทถ่ี ูกครอบด้วยพืน้ ทอี่ ตุ สาหกรรม

นิคมอตุ สาหกรรมปิ โตรเคมที ข่ี ยายพืน้ ทเ่ี ข้าไปใกล้ชุมชนบ้านฉาง

26

ทมี่ าของข้อกฎหมาย
ทเี่ ป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดี

บทบญั ญตั ิ มาตรา ๖๗ ของ

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐

มาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ บญั ญตั ิว่า

การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน
อย่างรุนแรงท้งั ทางดา้ นคุณภาพสิ่งแวดลอ้ มทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ
จะกระทามิได้ เว้นแต่ จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ

ส่ิงแวดลอ้ มและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และ จดั ให้มีกระบวนการ
รับฟังความคิดเห็นประชาชนและผมู้ ีส่วนไดเ้ สียก่อน รวมท้งั ให้องคก์ รอิสระ
ซ่ึงประกอบดว้ ยผูแ้ ทนองคก์ รเอกชนดา้ นสิ่งแวดลอ้ มและสุขภาพ และผูแ้ ทน
สถาบนั อุดมศึกษาท่ีจดั การศึกษาด้านสิ่งแวดลอ้ ม หรือทรัพยากรธรรมชาติ
หรือดา้ นสุขภาพ ใหค้ วามเห็นประกอบก่อนมีการดาเนินการดงั กล่าว

คดีมาบตาพดุ

คาสงั่ ศาลปกครองกลาง คดหี มายเลขดาท่ี ๙๐๘/๒๕๕๒ ลงวนั ท่ี ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒
คาสงั่ ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวนั ท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒

ผฟู้ ้องคดี

สมาคมต่อต้านสภาวะโลกร้อน ท่ี ๑
สมาคมสมชั ชาองคก์ รเอกชนด้านการค้มุ ครองส่ิงแวดล้อมอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ ที่ ๒

นายสทุ ธิชยั อชั ฌาศยั กบั พวกรวม ๔๓ คน ที่ ๓

ผถู้ กู ฟ้องคดี

คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ที่ ๑
เลขาธิการสานักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่ ๒

รฐั มนตรีว่าการกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่ ๓
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงอตุ สาหกรรม ที่ ๔
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงพลงั งาน ที่ ๕
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม ที่ ๖
รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ ท่ี ๗
การนิคมอตุ สาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ ๘

29

คาขอของผฟู้ ้องคดีให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสงั่

(๑) สงั่ เพิกถอนใบอนุญาตโครงการหรือกิจกรรมท่ีเขา้ ข่ายเป็ นโครงการหรือกิจกรรม
ซ่ึงอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอยา่ งรุนแรงท้งั ทางดา้ นคุณภาพส่ิงแวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสุขภาพที่ไดอ้ นุญาตไปแลว้ นบั ต้งั แต่วนั ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ เป็นตน้ มา

(๒) ส่ังให้ดาเนินการตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ มาตรา
๖๗ และพระราชบญั ญตั ิสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ ดงั น้ี

(๒.๑) จดั ให้มีการศึกษาหรือประเมินผลกระทบด้านสุขภาพของประชาชนในชุมชน

ที่โครงการหรือกิจกรรมน้นั ไปก่อต้งั หรือดาเนินการในพ้ืนท่ีอยา่ งทวั่ ถึงและรอบดา้ น
(๒.๒) จดั ให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผูม้ ีส่วนไดเ้ สียก่อน

อยา่ งทวั่ ถึงและรอบดา้ น
(๒.๓) จดั ให้องคก์ ารอิสระซ่ึงประกอบดว้ ยผูแ้ ทนองคก์ ารเอกชนดา้ นสิ่งแวดลอ้ มและ

สุขภาพ และผแู้ ทนสถาบนั อุดมศึกษาท่ีจดั การการศึกษาดา้ นส่ิงแวดลอ้ มหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือ
ดา้ นสุขภาพ ใหค้ วามเห็นประกอบก่อนมีการดาเนินการ

ผู้ฟ้องคดีที่ ๑ กับพวกได้ย่ืนคาขอให้ศาลกาหนดมาตรการหรือวิธีการคุ้มครองใดๆ
เพ่ือบรรเทาทุกข์ชว่ั คราวก่อนการพิพากษา โดยขอศาลมีคาส่ังให้โครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการ
ท่ีกาลงั ดาเนินการในพ้ืนท่ีตาบลมาบตาพุดและใกลเ้ คียง จานวน ๗๖ โครงการ ตามเอกสารทา้ ยฟ้อง
ระงบั โครงการไวช้ วั่ คราวก่อนศาลจะมีคาพพิ ากษา

“คดีมาบตาพดุ ”

หมายเหตุ : โครงการหรือกิจกรรมตามคาขอทา้ ย
คาฟ้องท้งั หมดจานวน ๗๖ โครงการ แยกเป็ น โครงการ
ท่ีประกอบกิจการแลว้ ๑๕ โครงการ อยรู่ ะหว่างดาเนินการ
ก่อสร้างหรือติดต้งั เคร่ืองจกั รและอุปกรณ์ ๑๑ โครงการ
ได้รั บใบอนุ ญาตแล้วแต่ยังไม่ได้เริ่ มการก่ อสร้ าง
๕๐ โครงการ ซ่ึงโครงการท่ีได้รับใบอนุญาตน้ีบางส่วน
ไดร้ ับอนุญาตก่อนการประกาศใชร้ ัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๕๐

องค์คณะที่ ๑๙ ศาลปกครองกลาง

องคค์ ณะพิจารณาพพิ ากษา “คดีมาบตาพดุ ”
คดีหมายเลขดาท่ี ๙๐๘/๒๕๕๒ คดีหมายเลขแดงท่ี ๑๓๕๒/๒๕๕๓
คาสั่งกาหนดมาตรการหรือวธิ ีการคุ้มครองใดๆ เพื่อบรรเทาทุกข์ช่ัวคราวก่อนการพพิ ากษา
ศาลปกครองกลาง คดหี มายเลขดาที่ ๙๐๘/๒๕๕๒ ลงวนั ที่ ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒

“คดีมาบตาพดุ ”

ศาลปกครองกลาง มีคาสงั่ กาหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกขเ์ ป็น

การชวั่ คราวก่อนการพิพากษา ดงั นี้

“ให้ผถู้ กู ฟ้องคดีทงั้ แปดสงั่ ระงบั โครงการหรือกิจกรรมตามเอกสารหมายเลข
๗ ท้ายคาฟ้ อง ไว้เป็ นการชัว่ คราว จนกว่าศาลจะมีคาพิพากษาหรือศาลมีคาสัง่
เปล่ียนแปลงเป็ นอย่างอื่น

ยกเว้น โครงการหรือกิจกรรมท่ีได้รบั ใบอนุญาตก่อนวนั ประกาศใช้บงั คบั
รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ โครงการหรือกิจกรรมท่ีไม่ได้
กาหนดให้เป็นประเภทโครงการหรอื กิจกรรมที่ต้องจดั ทารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบ
ส่ิงแวดล้อม ตามประกาศกระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เร่ือง กาหนด
ประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซ่ึงต้องจดั ทารายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบ
ส่ิงแวดล้อม และหลกั เกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบตั ิ และแนวทางการจดั ทารายงานการ
วิเคราะหผ์ ลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวนั ท่ี ๑๖ มิถนุ ายน ๒๕๕๒

ทงั้ นี้ ไม่รวมถึงการดาเนิ นการเพ่ือให้เป็ นไปตามบทบญั ญตั ิมาตรา ๖๗
วรรคสอง ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐”

ท่านวชิ ัย ชื่นชมพนู ุท ท่านหัสวุฒิ วฑิ ติ วริ ิยกลุ ท่านอคั รวทิ ย์ สุมาวงศ์ ท่านอกั ราทร จุฬารัตน ท่านพรี ะพล เชาวน์ศิริ ท่านปิ ยะ ปะตงั ทา ท่านปรีชา ชวลติ ธารง
ตลุ าการหัวหน้าคณะ
ตลุ าการหัวหน้าคณะ ตลุ าการหัวหน้าคณะ รองประธานศาลปกครองสูงสุด ประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลปกครองสูงสุด ตุลาการหัวหน้าคณะ

“คดมี าบตาพดุ ”

ภาพประวตั ิศาสตร์การพจิ ารณาคดปี กครองของประเทศไทย
คดปี กครองทม่ี เี นื้อหาเกย่ี วกบั การต้งั ถนิ่ ฐานของมนุษย์ คุณค่าของความเป็ นมนุษย์

เศรษฐกจิ สังคม ส่ิงแวดล้อม และการบริหารราชการแผ่นดนิ

องค์คณะที่ ๑ ศาลปกครองสูงสุด

ประกอบด้วย ประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธานศาลปกครองสูงสุด ๒ ท่าน และ
ตุลาการหัวหน้าคณะในศาลปกครองสูงสุดทุกองค์คณะ จานวน ๔ ท่าน ออกน่ังบัลลงั ก์ในการอ่านคาสั่ง
ศาลปกครองสูงสุด ซึ่งมเี พยี งคร้ังเดยี วในประวตั ิศาสตร์เม่ือมีการจดั ต้งั ศาลปกครองขนึ้ มา

“คดีมาบตาพดุ ”

ศาลปกครองสงู สดุ มีคาสงั่ แก้คาสงั่ ของศาลปกครองชนั้ ต้น
บางส่วน เป็น

“ให้ผ้ถู กู ฟ้ องคดีทงั้ แปดสงั่ ระงบั โครงการหรือกิจกรรม
ตามเอกสารหมายเลข ๗ ท้ายคาฟ้อง ไว้เป็ นการชวั่ คราว จนกว่า
ศาลจะมีคาพิพากษาหรือคาสงั่ เปลี่ยนแปลงเป็ นอย่างอ่ืน ยกเว้น
โครงการหรือกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรม ลาดบั ที่ ๑๖ ลาดบั ที่
๒๒ ลาดบั ท่ี ๓๗ ลาดบั ที่ ๔๑ ลาดบั ท่ี ๔๕ ลาดบั ที่ ๕๐ และ ลาดบั ที่
๕๔ และประเภทคมนาคม ลาดบั ที่ ๒ ลาดบั ที่ ๓ ลาดบั ที่ ๔ และ
ลาดับที่ ๖ นอกจากที่แก้ให้เป็ นไปตามคาสงั่ ของศาลปกครอง
ชนั้ ต้น” (หมายเหตุ : ยกเว้น จานวน ๑๑ โครงการ)

ศาลปกครอง

ในบริบทขององคก์ รใช้อานาจอธิปไตยของรฐั

คดีมาบตาพดุ เป็ นคดีปกครองที่สาคญั ของประเทศไทย ศาลปกครองสูงสุดได้
แสดงนัยสาคญั ของการใช้ อานาจตุลาการ (Judicial Power) ผ่านกระบวนการพิจารณา
คดีปกครองต่ อสังคมไทยและสังคมโลก โดยการพิ จารณาอุทธรณ์ คาสัง่ ของ
ศาลปกครองชัน้ ต้นและการออกนัง่ บลั ลังก์อ่านคาสัง่ กาหนดมาตรการหรือวิธีการ
เพ่ือบรรเทาทุกขเ์ ป็ นการชวั่ คราวก่อนการพิพากษา ดาเนิ นการพิจารณาโดยองค์คณะ
ที่ ๑ ศาลปกครองสูงสุด ประกอบด้วย ประธานศาลปกครองสูงสุด รองประธาน
ศาลปกครองสงู สดุ และตลุ าการหวั หน้าคณะในศาลปกครองสงู สดุ ทุกองคค์ ณะ

นัยที่หน่ึ ง เพื่อวางหลักกฎหมายคดีปกครองโดยการตีความอุดช่องว่าง
กฎหมายของฝ่ ายตุลาการ เพ่ือค้มุ ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนและแก้ไขปัญหา
สิ่งแวดล้อมของประเทศ เน่ืองจากฝ่ ายรฐั สภาไม่ตรากฎหมายออกมาใช้บงั คบั ตาม
บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญ และฝ่ ายบริหารไม่ปฏิบตั ิหน้าท่ีตามอานาจที่กฎหมายหลาย
ฉบบั กาหนดให้ต้องปฏิบตั ิ

คาวินิจฉัยของศาลปกครองสงู สดุ

คาสงั่ ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี ๕๙๒/๒๕๕๒ ลงวนั ท่ี ๒ ธนั วาคม ๒๕๕๒

สิทธิของบุคคลที่มาตรา ๖๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาไทย พุทธศกั ราช
๒๕๕๐ บญั ญตั ิรองรบั ไว้ ย่อมได้รบั ความคุ้มครอง การที่ยงั ไม่มีบทบญั ญตั ิแห่งกฎหมาย
กาหนดหลกั เกณฑ์ เง่ือนไข และวิธีการใช้สิทธิดงั กล่าวนัน้ ไม่ใช่เหตุที่องคก์ รของรฐั จะยกขึน้
มาเป็ นข้ออ้างเพ่ือปฏิเสธไม่ให้ความคุ้มครองสิทธิดงั กล่าวได้ เพราะโดยหลกั การใช้และ
การตีความกฎหมาย เจตนารมณ์ตามบทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญซึ่งเป็ นกฎหมายสูงสุดของ
ประเทศ จะมีผลตามที่บญั ญตั ิโดยทันที ไม่ว่าจะมีบทบญั ญตั ิให้ต้องมีการตรากฎหมาย
กาหนดรายละเอียดในเรอื่ งดงั กล่าว

กรณีนี้ ศาลรฐั ธรรมนูญเคยมีคาวินิ จฉัยที่ ๓/๒๕๕๒ ตงั้ แต่วนั ท่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๕๒
เกี่ยวกบั มาตรา ๔๖ แห่งพระราชบญั ญตั ิส่งเสริมและรกั ษาคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.
๒๕๓๕ ว่า รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ มีเจตนารมณ์ให้สิทธิและ

เสรีภาพที่รฐั ธรรมนูญฉบบั นี้รบั รองไว้มีสภาพบงั คบั ได้ทนั ทีที่รฐั ธรรมนูญประกาศให้มีผล
ใช้บงั คบั โดยไม่ต้องรอให้มีการบญั ญตั ิกฎหมายอนุวตั ิการมาใช้บงั คบั ก่อน

ดงั นัน้ ก่อนการดาเนิ นโครงการหรือกิจกรรมใดๆ ที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบอย่าง
รนุ แรงต่อคณุ ภาพสิ่งแวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติและสขุ ภาพ จึงต้องดาเนินการให้ครบถ้วน
ตามหลกั เกณฑท์ งั้ หลายที่กาหนดไว้ในมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรฐั ธรรมนูญดงั กล่าว

นัยท่ีสอง เพ่ือหยุดยงั้ ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มาบตาพดุ ท่ีมี
แนวโน้ มของความรุนแรงมากย่ิงขึ้น เน่ื องจากเป็ นข้อพิพาทท่ีมีสาเหตุ
พื้น ฐ า น ม า จ า ก ข้ อ เ ท็จ จ ริ ง ท า ง ด้ า น ก า ย ภ า พ อัน ซับ ซ้ อ น ท่ี เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กับ
การตัง้ ถิ่นฐานมนุษย์ ซ่ึงมีการเปล่ียนแปลงของพื้นท่ีอย่างมากมายจาก
นโยบายการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศไทยตามแนวทางการพฒั นา
เศรษฐกิจมหภาค ซ่ึงทุกรฐั บาลท่ีผ่านไปให้ความสาคญั ต่อผลประโยชน์ท่ีจะ
ได้รบั จากการส่งเสริมการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ โดยไม่ได้ให้
ความสาคญั ต่อการวางแผนจดั การพืน้ ที่เพื่อการตงั้ ถ่ินฐานมนุษยอ์ ย่างยงั่ ยืน
เท่าท่ีควร ทาให้เกิดปัญหาด้านกายภาพท่ีสร้างความเสียหายอย่างร้ายแรง
ต่อการตงั้ ถ่ินฐานมนุษย์ ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และส่งผล
กระทบต่อสุขอนามยั ของประชาชน การทาลายระบบนิ เวศ หรือทรพั ยากร

ทางทะเล ซ่ึงเป็นฐานทรพั ยากรเพ่ือการยงั ชีพท่ีสาคญั ของชมุ ชนตามชายฝัง่
ทะเลตะวนั ออกอย่างกว้างขวาง อนั นาไปส่กู ารนาข้อพิพาททางปกครองบน

พืน้ ที่มาบตาพดุ มาฟ้องยงั ศาลปกครองกลางและศาลปกครองระยองจานวน
หลายคดีตลอดระยะเวลาสิบปี ที่ผา่ นมา

นัยที่สาม เพ่ือให้สังคมไทยและสังคมโลกมัน่ ใจต่อกระบวน
การยุติธรรมทางปกครองของประเทศไทย เนื่องจากคดีมาบตาพุดเป็ น

คดีปกครองที่สาคญั เป็นที่สนใจของสงั คมไทยและสงั คมโลกอย่างกว้างขวาง

เพราะมีส่วนเกี่ยวข้องกบั การลงทุนด้านอตุ สาหกรรมของบรรษทั ขนาดใหญ่
ทงั้ ในประเทศไทยและต่างประเทศ ท่ีมีเงินลงทุนในพื้นท่ีมาบตาพดุ รวมกนั

หลายล้านล้านบาท ดงั นัน้ เมื่อศาลปกครองกลางมีคาสงั่ กาหนดมาตรการ
หรือวิธีการเพื่อบรรเทาทกุ ขเ์ ป็นการชวั่ คราวก่อนการพิพากษาคดีมาบตาพดุ
ส่ือมวลชนระดบั โลกทงั้ หนังสือพิมพแ์ ละโทรทศั น์ได้เสนอข่าวคดีมาบตาพดุ

อย่างกว้างขวาง ตลอดจนมีการสอบถามเก่ียวกบั คดีมาบตาพดุ จากคณะทูต

ของหลายประเทศท่ีมีการลงทุนในพื้นที่มาบตาพุดต่อนายกรฐั มนตรีหรือ
คณะผแู้ ทนของประเทศไทยทงั้ ภาครฐั และเอกชนท่ีเดินทางไปยงั ต่างประเทศ
รวมทงั้ ได้มีการเฝ้าติดตามการพิจารณาคดีมาบตาพุดอย่างใกล้ชิดและ

อย่างต่อเนื่อง

ศาลปกครอง

การบังคบั ใช้กฎหมาย
เพื่ออานวยความเป็ นธรรมทางสังคม
ในการจดั การมลพษิ ของประเทศไทย

40

41

การไต่สวนข้อเทจ็ จริงสถานที่
ทเี่ ป็ นมูลเหตุแห่งการฟ้องคดี

(การเดนิ เผชิญสืบ)

บริเวณแหล่งอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ
จังหวดั ระยอง
















Click to View FlipBook Version