ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ สานักบริหารยุทธศาสตร์ สานักงานศาลปกครอง
ดาเนิ นการสารวจความเช่ือมนั่ ของประชาชนต่อการอานวยความยุติธรรม
ของศาลปกครอง ประจาปี งบประมาณ พ .ศ. ๒๕๕๔ โดยการจัดส่ง
แบบสอบถามไปยงั กลุ่มตวั อย่างท่ีเป็ นเป้าหมายในการศึกษาทวั่ ประเทศ
จานวน ๓ กลุ่มหลกั ได้แก่ กลุ่มเจ้าหน้าที่ของรฐั กลุ่มอาจารย์ นักวิชาการ
นักวิจยั และกลุ่มประชาชนทวั่ ไป ครอบคลุมทงั้ ผ้ทู ่ีมีประสบการณ์และผ้ทู ่ีไม่
มีประสบการณ์ในการใช้บริการของศาลปกครอง เพ่ือนาข้อมูลท่ีได้มาใช้
เป็ นแนวทางในการพัฒนากระบวนการอานวยความยุติ ธรรมของ
ศาลปกครอง สาหรบั หวั ข้อ ความเช่ือมนั่ ต่อการตดั สินคดีของศาลปกครอง
พบว่า คดีปกครองที่ประชาชนมีความเช่ือมนั่ มากท่ีสดุ คือ คดีมาบตาพดุ [1]
[1] สานักบริหารยุทธศาสตร์ สานักงานศาลปกครอง สรุปผลการสารวจความเช่ือมั่นของ
ประชาชนต่อการอานวยความยุติธรรมของศาลปกครอง ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔
( ๔ ตุลาคม ๒๕๕๔ ) หน้า ๕
การวพิ ากษ์ทางวชิ าการ
คาส่ังกาหนดมาตรการหรือวธิ ีการเพื่อบรรเทาทุกข์
เป็ นการชั่วคราวก่อนการพพิ ากษาคดี
กรณรี ะงบั ๗๖ โครงการ ทม่ี าบตาพดุ
ศาสตราจารย์ ดร. พนัส ทศั นียนนท์ กล่าวว่า “หลกั นิ ติธรรมส่ิงแวดล้อม” นัน้
มาจากบทบญั ญตั ิมาตรา ๓ ประกอบกบั มาตรา ๖๗ ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั ร
ไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ตวั อย่างของคดีส่ิงแวดล้อมท่ีนาหลกั นิ ติธรรมสิ่งแวดล้อมมา
ประกอบการพิจารณาคดี คือ “คดีมาบตาพดุ ” ซึ่งเป็ นการพิจารณาคดีโดยศาลปกครอง
๒ คดี คดีแรก ศาลปกครองระยองพิพากษาให้มาบตาพดุ และอีกหลายตาบลของจงั หวดั
ระยองเป็ นเขตควบคุมมลพิษ คดีที่สอง เป็ นการฟ้องคดีท่ีศาลปกครองกลางเพ่ือขอให้
ศาลเพิกถอนรายงานการวิเคราะหผ์ ลกระทบส่ิงแวดล้อมและเพิกถอนใบอนุญาตโครงการ
ที่ผ้ถู กู ฟ้องคดีให้ความเหน็ ชอบหรืออนุญาต จานวน ๗๖ โครงการ โดยโครงการดงั กล่าว
ไม่ได้ปฏิบตั ิตามบทบญั ญตั ิมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
พุทธศกั ราช ๒๕๕๐ ซ่ึงศาลปกครองกลางมีคาสงั่ ระงบั โครงการหรือกิจกรรม จานวน
๗๖ โครงการ ที่กาลงั ดาเนิ นการในพื้นที่มาบตาพุดและพื้นท่ีใกล้เคียงในจงั หวดั ระยอง
ไว้เป็นการชวั่ คราวก่อนศาลจะมีคาพิพากษา[1]
[1]พนัส ทศั นียนนท์, อ้างใน ปรยี านุช มหาวรรณ, ศูนย์สนับสนุนวชิ าการคดปี กครอง สานักวจิ ยั และวชิ าการ
สานกั งานศาลปกครอง สรปุ การสมั มนาวชิ าการศาลยตุ ธิ รรมครบรอบ ๑๒๘ ปี “ศลิ ปะในการตดั สนิ คดสี งิ่ แวดลอ้ ม” เอกสารทนั
ขา่ ววชิ าการ สวว. ฉบบั ท่ี ๕๕ ประจาสปั ดาหท์ ่ี ๓ เดอื นเมษายน ๒๕๕๓.
“ดร. คนึงนิจ ศรีบวั เอย่ี ม” กรณีมาบตาพดุ เป็นภาพสะท้อนการดาเนิน
นโยบายการพัฒนาประเทศท่ี ไม่ได้ คานึ งถึงหลักการพัฒนาที่ ยัง่ ยืน
แต่เป็ นการพัฒนาท่ี มุ่งเน้ นการใช้ทรัพยากรอย่างเข้มข้น จนเลยขีด
ความสามารถท่ีส่ิงแวดล้อมจะเยียวยาและจดั การโดยตวั เองได้ จึงก่อให้เกิด
มลพิษในส่ิงแวดล้อมและส่งผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตต่างๆ รวมทงั้ สุขภาพของ
ประชาชนท่ีอาศยั อยู่ในบริเวณโดยรอบพื้นที่อุตสาหกรรม นับเป็ นปัญหาท่ี
เกิดขึ้นซ้าซาก ทัง้ ท่ีมีให้เห็นได้ในประเทศอุตสาหกรรมอื่นๆ ท่ีเคยผ่าน
ประสบการณ์อนั เลวร้ายเช่นนี้มาก่อน แต่กลบั กลายเป็นบทเรียนที่ผทู้ ่ีเกี่ยวข้อง
ในสงั คมไทยมิได้เรียนร้แู ละหาทางป้องกนั
สงั คมไทยคงไม่ต้องการเห็นการฟ้ องคดีสิ่งแวดล้อมมากขึ้น จึงเกิด
คาถามตามมาว่าระบบกลไกการจดั การส่ิงแวดล้อมปกติท่ีเป็ นอยู่ในปัจจุบนั
ไม่อาจนาไปส่กู ารแก้ไขปัญหาให้เกิดความเป็นธรรมได้เพียงลาพงั อีกต่อไปแล้ว
จึงถงึ เวลาแล้วท่ีจะต้องยกระดบั การมองปัญหาและแนวทางการแก้ไขท่ีสงู ขึน้
คณุ ชานาญ จนั ทรเ์ รือง นักวิชาการอิสระ
“เป็นก้าวล่วงข้ามแดนของการใช้อานาจอธิปไตยของฝ่ ายบริหาร”
คณุ ชานาญ เหน็ ว่า น่าจะเป็นกา้ วลว่ งขา้ มแดนของการใชอ้ านาจอธปิ ไตยของฝ่ายบรหิ ารในการใชอ้ านาจ
บริหาร ซ่ึงศาลจะสามารถตรวจสอบได้เพียงในแง่ของความชอบด้วยกฎหมายเท่านัน้ มิใช่ในแง่ของ
ความเหมาะสมหรอื เป็นการกาหนดนโยบายใหฝ้ ่ายบรหิ ารนาไปปฏบิ ตั ิ ซ่งึ จะทาใหฝ้ ่ายตุลาการมอี านาจเหนือ
ฝ่ายบรหิ ารทข่ี ดั ตอ่ หลกั การแบง่ แยกและถว่ งดุลการใชอ้ านาจอธปิ ไตยตามหลกั นติ ริ ฐั
ฉะนนั้ การควบคุมหรอื ตรวจสอบฝ่ายบรหิ ารของฝ่ายตุลาการจงึ สามารถทาไดใ้ นแงข่ องความชอบดว้ ย
กฎหมาย มใิ ชก่ ารควบคุมในแงข่ องความเหมาะสม
อน่ึง กรณขี องมาบตาพดุ น้แี ตกต่างจากกรณีของการขายหนุ้ ของการไฟฟ้าฝ่ายผลติ ทศ่ี าลปกครองสงู สดุ
มคี าสงั่ คุม้ ครองชวั่ คราวมใิ หข้ ายหุ้นเพราะหากมกี ารเปิดขายหุ้นไปแลว้ ย่อมท่จี ะยากแก่การแกไ้ ขเยยี วยาใน
ภายหลงั แต่กรณกี ลบั กนั ในกรณีมาบตาพดุ น้ีเมอ่ื มคี าสงั่ คุม้ ครองชวั่ คราวแลว้ กลบั ทาใหเ้ กดิ ความยากลาบากใน
การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ และหากมคี าพพิ ากษาถงึ ทส่ี ดุ ใหย้ กฟ้องยอ่ มยากทแ่ี กไ้ ขเยยี วยาใหก้ ารบรหิ ารหรอื
ภาวะเศรษฐกจิ การลงทุนกลบั สสู่ ภาพเดมิ
อย่างไรก็ตาม แม้ว่ากรณีมาบตาพุดน้ีศาลเห็นว่า การกระทาทางการปกครองใดท่มี ปี ัญหาเก่ยี วกบั
ความน่าจะไม่ชอบดว้ ยกฎหมาย เพราะเหตุทไ่ี ม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของบทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนูญในเร่อื ง
สทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชน จนเป็นเหตุใหศ้ าลกาหนดมาตรการชวั่ คราวฯขน้ึ แต่กม็ ไิ ดห้ มายความว่าเป็น
การวนิ ิจฉยั วา่ ฝ่ายผถู้ กู ฟ้องคดกี ระทาการไมช่ อบดว้ ยกฎหมายแลว้ เพราะยงั ตอ้ งมกี ารพจิ ารณาพพิ ากษาจนถงึ
ทส่ี ดุ เสยี กอ่ น
ดร. วรเจตน์ ภาคีรตั น์
“Extreme” ทศั นะต่อคาสงั่ ศาลปกครองสงู สดุ กรณีมาบตาพดุ (1)
ใบตองแหง้ สมั ภาษณ์ ดร.วรเจตน์ ภาครี ตั น์
“เร่อื งน้ีความจรงิ มปี ัญหาทางเทคนิคดว้ ย ในเร่อื งวธิ กี ารคุม้ ครองชวั่ คราว ว่ามนั เป็นเร่อื งการทุเลาการบงั คบั คาสงั่
ทางปกครอง วธิ กี ารทศ่ี าลปกครองสงู สดุ ใชใ้ นการทุเลาการบงั คบั ไม่ถูกตามวธิ พี จิ ารณา ซง่ึ อ.อคั รวทิ ยไ์ ดเ้ ขยี นความเหน็
แยง้ ไวช้ ดั เจน ไปอ่านดไู ด้ แต่ประเดน็ น้ีเป็นประเดน็ เทคนิค เป็นประเดน็ ทางวธิ พี จิ ารณา คนทวั่ ไปจะเขา้ ใจยาก ผมอาจไม่
ตอ้ งพดู กไ็ ด”้
“ผมมคี วามเหน็ เหมอื น อ.อคั รวทิ ยว์ ่า เร่อื งน้ีศาลชนั้ ตน้ กาหนดวธิ กี ารคุม้ ครองชวั่ คราวไม่ตรงตามเง่อื นไขกฎหมาย
กาหนด ถ้าอธิบายความคือ การสงั่ คุ้มครองชวั่ คราวมีอยู่ 2 แบบ อันหน่ึงคือการทุเลาการบังคบั ตามกฎหรือคาสงั่
ทางปกครอง อกี อนั กค็ อื การบรรเทาทุกขช์ วั่ คราว ซง่ึ เงอ่ื นไขไมเ่ หมอื นกนั ”
“คดนี ้ีคนฟ้องฟ้องขอใหเ้ พกิ ถอนตวั การอนุญาต ส่วนท่มี กี ารอนุญาตไปแลว้ มนั กเ็ ป็นคาสงั่ ทางปกครอง การฟ้อง
เพิกถอนและขอคุ้มครองชวั่ คราว คือการขอให้ระงบั การดาเนินการตามคาสงั่ ทางปกครอง ซ่ึงเวลาศาลจะพิจารณา
ศาลพจิ ารณาเง่อื นไขเร่อื งการทุเลาการบงั คบั ตามกฎหรอื คาสงั่ ทางปกครอง แต่ศาลไม่ไดใ้ ชอ้ นั น้ี ศาลไปเอาอกี อนั หน่ึง
เรยี กว่าการบรรเทาทุกข์ชวั่ คราว ซ่งึ มนั ไม่ตรง ศาลเอาอกี อนั หน่ึงมาใชซ้ ่ึงมนั ไม่ตรงในทางหลกั กฎหมาย ศาลมองว่า
โอเคมนั เกดิ มลพษิ ขน้ึ มาแลว้ กไ็ ม่ strict กม็ องว่าเอาการบรรเทาทุกขช์ วั่ คราวคอื สงั่ ใหร้ ะงบั ไปก่อน ซง่ึ ในทางวธิ พี จิ ารณา
ไมถ่ กู ตอ้ งตามหลกั เกณฑท์ างกฎหมายทบ่ี ญั ญตั ไิ ว”้
ดร. วรเจตน์ ภาคีรตั น์
“Extreme” ทศั นะต่อคาสงั่ ศาลปกครองสงู สดุ กรณีมาบตาพดุ (2)
ใบตองแหง้ สมั ภาษณ์ ดร.วรเจตน์ ภาครี ตั น์
“สทิ ธิท่ีเก่ียวพนั มนั ไม่ได้มแี ต่ตวั สทิ ธิชุมชน หรือสทิ ธิของบุคคลในเร่ืองการรกั ษาคุณภาพสงิ่ แวดล้อมอย่างเดียว
สทิ ธอิ นั น้ีอยใู่ นมาตรา 66-67 แตผ่ ปู้ ระกอบการกม็ สี ทิ ธเิ หมอื นกนั เป็นสทิ ธติ ามรฐั ธรรมนูญอกี สทิ ธหิ น่ึง คอื สทิ ธใิ นเสรภี าพ
ในการประกอบกจิ การหรอื ประกอบอาชพี ตามมาตรา 43 ซง่ึ เม่อื ไดร้ บั อนุญาตแลว้ กเ็ ป็นสทิ ธซิ ง่ึ ไดร้ บั ประกนั อกี เหมอื นกนั
เพราะฉะนนั้ น้าหนักทงั้ สองอนั น้ีตอ้ งชงั่ กนั เวลาจะทาอะไร ใหม้ นั ไปดว้ ยกนั จะเอาสุดโต่งไปดา้ นใดดา้ นหน่ึงไม่ได้ เพราะ
รฐั ธรรมนูญมคี ณุ คา่ ตรงน้ี กฎหมายมหาชนมคี ุณคา่ สองดา้ นน้ีอยดู่ ว้ ยกนั ”
“ประเดน็ สาคญั อกี ประเดน็ หน่ึงทไ่ี ม่ไดม้ กี ารพูดอย่างละเอยี ด คอื ประเดน็ เร่อื งผมู้ อี านาจฟ้องคดี ศาลไม่ไดช้ ใ้ี หช้ ดั ว่า
ผฟู้ ้องคดอี ยา่ งสมาคมต่อตา้ นภาวะโรครอ้ น หรอื สมาคมสมชั ชาองคก์ รเอกชนดา้ นการตุม้ ครองสง่ิ แวดลอ้ มฯ เอาอานาจฟ้อง
มาจากไหน แลว้ ผฟู้ ้องคดที เ่ี ป็นปัจเจกบุคคลนนั้ ถอื ว่าเป็นบุคคลซง่ึ รวมกนั เป็นชุมชนแลว้ หรอื ไม่ จะถอื ว่าผฟู้ ้องคดเี หล่าน้ี
เป็นชมุ ชนอนั จะนบั วา่ เป็นผทู้ รงสทิ ธติ ามรฐั ธรรมนูญอยา่ งไร”
“ศาลชนั้ ตน้ เขยี นซบั ซอ้ นมากเลย คอื 76 โครงการบอกใหร้ ะงบั หมด ยกเวน้ โครงการทไ่ี มร่ ะงบั คอื ไดใ้ บอนุญาตก่อน
วนั บงั คบั ใชร้ ฐั ธรรมนูญ 50 และโครงการท่ไี ม่ไดก้ าหนดประเภทให้ทารายงานวเิ คราะห์สง่ิ แวดลอ้ ม แต่ว่าถ้าโครงการท่ี
ยกเวน้ ใหท้ าไปก่อนไดเ้ ป็นโครงการท่ตี ้องดาเนินตามบทบญั ญตั มิ าตรา 67 วรรคสองกต็ ้องไปดาเนินการตามมาตรา 67
วรรคสองอีก คอื ผมอ่านแล้วก็งงว่าตกลงจะระงบั โครงการอนั ไหนบ้าง ศาลสูงแก้คาสงั่ ศาลชนั้ ต้นบางส่วนคอื ให้ระงบั
โครงการทงั้ หมดเป็นการชวั่ คราว และยกเวน้ โครงการทท่ี าได้ กาหนดลงไปเป็น 11 โครงการ” “เหตุผลผมไม่คดิ ว่าชดั กว่า
คอื เรอ่ื งน้ีเป็นปัญหาขอ้ เทจ็ จรงิ ”
คณุ คริส โปตระนันทน์ นิสิตชนั้ ปี ท่ี 4 คณะนิติศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั
มาบตาพดุ : อานาจศาลปกครอง อานาจที่ต้องทบทวน
คณุ คริส เหน็ ว่า หากศาลปกครองนัน้ ต้องการคุ้มครองสทิ ธเิ สรภี าพของประชาชนผูฟ้ ้องคดนี ้ี ศาลปกครอง
จะต้องคานึงถึงผลเสยี หายจากคาสงั่ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราว การสงั่ หยุดโครงการเพราะไม่ทาตามกฎหมายสามารถทาได้
แต่ต้องอย่าลมื ว่ากรณีดงั กล่าวเอกชนเหล่าน้ีไม่ได้มคี วามผดิ อะไรเลย ถ้าจะให้เขาต้องมานัง่ รบั กรรมค่าเสยี หายทงั้ หมด
ถงึ แมว้ า่ จะเป็นบรษิ ทั ไทยกต็ าม คงตอ้ งมแี ผนปรบั ยา้ ยการลงทุนเป็นแน่
สงิ่ ท่ีน่าจะพอรบั ได้ หากศาลปกครองมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะสงั่ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราว ณ วนั ท่ีศาลสงั่ คาสงั่ น้ี
ศาลปกครองตอ้ งอยา่ ลมื หลกั กฎหมายปกครองทส่ี าคญั ทส่ี ดุ “หลกั การเยียวยา” (Compensation) แต่อยา่ งไรกต็ าม คาสงั่
ศาลปกครองดงั กล่าวไมไ่ ดม้ กี ารกล่าวถงึ เร่อื งการเยยี วยาใหภ้ าคเอกชนแมแ้ ต่น้อย สงิ่ ทศ่ี าลปกครองอาจจะยงั พอแกไ้ ขไดก้ ็
คอื หากเอกชนฟ้องหน่วยงานราชการในคดใี หร้ บั ผดิ ชอบค่าเสยี หาย ศาลปกครองอาจจะยงั มโี อกาสทาใหค้ วามเช่อื มนั่ ของ
เอกชนกลบั มาอกี ครงั้ อนั ทจ่ี รงิ เร่อื งการเยยี วยาในประโยชน์ทเ่ี สยี หายใน พ.ร.บ. วธิ ปี ฏบิ ตั ริ าชการ พ.ศ.2539 มหี ลกั ปฏบิ ตั ิ
ในการเพกิ ถอนคาสงั่ ทม่ี ชิ อบดว้ ยกฎหมายในกรณีทเ่ี อกชนไม่มสี ่วนผดิ อยแู่ ลว้ แต่อย่างไรกด็ ี กรณีมาบตาพุดนนั้ พเิ ศษกว่า
ตรงทค่ี วามเสยี หายครงั้ น้ีเกดิ จากคาสงั่ บรรเทาทุกขช์ วั่ คราวเท่านัน้ ยงั ไมถงึ ขนั้ มกี ารเพกิ ถอนใบอนุญาต ปัญหาน้ีจงึ เป็น
ปัญหาทศ่ี าลปกครองจะตอ้ งพจิ ารณาวา่ จะชดเชยเยยี วยาความเสยี หายใหแ้ กภ่ าคเอกชนอยา่ งไร
ศาลปกครองนัน้ เป็นศาลท่มี เี ขตอานาจกว้างขวาง การพิพากษารวมถึงการสงั่ บรรเทาทุกข์ชวั่ คราว จึงทาให้เกิด
ผลกระทบต่อสาธารณชนในวงกวา้ ง นอกจากน้ีมขี อ้ สาคญั ทต่ี ้องพจิ ารณามากคอื การออกคาสงั่ บรรเทาทุกขช์ วั่ คราวมกั มี
คาสงั่ ดว้ ยความรวดเรว็ เพ่อื ใหท้ นั ต่อการคุม้ ครองเสรภี าพของผฟู้ ้องคดี ซ่งึ ณ จุดน้ีเองท่นี ่าห่วงว่าการทศ่ี าลปกครองจะสงั่
คาสงั่ น้ีออกไป อาจทาใหล้ ะเลยถงึ รายละเอยี ดทส่ี าคญั รวมถงึ ขอ้ เทจ็ จรงิ ทไ่ี ม่อาจพจิ ารณาไดใ้ นระยะเวลาอนั สนั้ ประเดน็ น้ี
สงั คมจงึ ควรคดิ ว่า การออกคาสงั่ บรรเทาทุกขช์ วั่ คราว ควรหรือไม่ที่จะต้องมีกรอบบางอย่างเพื่อจากดั อานาจของ
ศาลปกครองมากกว่านี้ มิฉะนัน้ คาสงั่ บรรเทาทกุ ขช์ วั่ คราวอาจทาให้เกิดความเสียหายแก่สงั คมในวงกว้างได้
การเป็ น “นักกฎหมาย” นั้น มิได้หมายความว่าผู้นั้นจะเป็ น “ผู้เชี่ยวชาญ
กฎหมาย” และนอกจากนัน้ กฎหมายก็มีหลายสาขา เช่น กฎหมายแพ่ง กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความ กฎหมายรฐั ธรรมนูญ กฎหมายปกครอง ฯลฯ ดงั นัน้ การเป็ น
“ผ้เู ช่ียวชาญกฎหมาย (หากเป็ น)” กม็ ิได้หมายความว่า ผ้นู ัน้ จะเช่ียวชาญกฎหมายได้ใน
กฎหมายทุกสาขา นอกจากนัน้ การดารง “ตาแหน่งทางบริหาร” ในสถาบนั การศึกษา เช่น
ตาแหน่งคณบดีคณะนิ ติศาสตรก์ ็ดีหรือตาแหน่งอธิการบดี ในมหาวิทยาลยั ที่มีการเรียน
การสอนทางนิติศาสตรก์ ด็ ี กบั ความเช่ียวชาญกฎหมายนัน้ กเ็ ป็นคนละเรอ่ื งกนั
ดงั นัน้ ผ้ทู ี่ดารงตาแหน่งคณบดีนิ ติศาสตร์ในมหาวิทยาลยั จึงมิได้หมายความ
ว่าผ้นู ัน้ จะเป็ น “ผ้เู ชี่ยวชาญกฎหมาย” และแม้ว่าผ้นู ัน้ จะเป็ นผ้เู ช่ียวชาญกฎหมาย ก็มิได้
หมายความว่า ผนู้ ัน้ จะเป็ น “ผ้เู ชี่ยวชาญกฎหมายรฐั ธรรมนูญ” และแม้แต่อาจารย์ “ผ้ทู ี่สอน
วิ ชากฎหมายรัฐธรรมนูญ” ในมหาวิทยาลัยเอง ก็มิ ได้หมายความว่า ผู้นั้นจะเป็ น
“ผเู้ ชี่ยวชาญกฎหมายรฐั ธรรมนูญ” ซ่ึงเราสามารถทราบได้เพียงการนาเอาตาราหรือเอกสาร
ท่ีอาจารยใ์ ช้สอนนักศึกษา(ถ้าหากจะมี) วางเทียบกบั ตารารฐั ธรรมนูญของประเทศที่พฒั นา
แล้วกจ็ ะเหน็ ความแตกต่าง[1]
[1]อมร จนั ทรสมบรู ณ์, ผลไม้มีพิษมาจากต้นไม้ท่ีมีพิษจริงหรอื (?), สานักพิมพว์ ิญญชู น, กรงุ เทพมหานคร : พฤษภาคม ๒๕๕๕, หน้า ๒๔.
“วิธีคิด” การห้ามศาลวางหลกั กฎหมายแทนรฐั สภา มีผลให้ศาล
สนใจแต่ตวั บทแทนอุดมคติท่ีสอนกนั ว่าต้องใส่ใจความเป็ นธรรมในลาดบั
สงู สดุ โดยเฉพาะคดีสิ่งแวดล้อมท่ีปัญหามลพิษเติบใหญ่ไปเรว็ จนตวั บทตาม
ไม่ทนั ซึ่งทาให้เกิด “ช่องว่างแห่งความเป็นธรรม” ที่เหน็ ชดั เสมอ
ดงั นัน้ “หลกั อุดช่องว่างทางกฎหมาย” (Filling Gaps in Law) ที่ให้
อานาจศาล “อุดช่องว่าง” เป็ นการชัว่ คราวจึงเป็ นเรื่องสาคัญสาหรับ
คดีสิ่งแวดล้อมท่ีเกี่ยวพนั คณุ ค่าของความเป็ นมนุษย์ เพราะการอดุ ช่องว่าง
ทางกฎหมาย (Gaps of Law) ทาให้สามารถอดุ ช่องว่างความไม่เป็ นธรรม
(Gaps of Justice) ไปพร้อมกนั
บทสรปุ ท่ีกล่าวมาข้างต้น เป็ นประโยชน์ต่อการส่ือสารให้สงั คมไทย
เข้าใจถึงบทบาทของอานาจตุลาการ ในการ “อุดช่องว่างทางกฎหมาย”
เพื่อความเป็ นธรรมทางสังคม ที่สามารถกระทาได้ภายใต้บริบทของ
หลกั การแบ่งแยกอานาจ (Separation of Power) ซ่ึงไม่ใช่เป็ นการแย่งชิง
ใช้อานาจของฝ่ ายนิติบญั ญตั ิแต่อย่างใด
ทีมวิจยั ปัญหาตุลาการศาสตร์ “ศาลวางหลกั กฎหมายอยา่ งไร ใน ๔ คดีมลพิษใหญ่ในประเทศญี่ป่ ุน”, (How Judges Think),
แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะท่ีดี (นสธ.), ๒๕๕๖
เมอื่ มลู ค่าเศรษฐกิจเสียหาย
จะเป็นจะตายเหมอื นแผน่ ดินจะสิ้นสดุ
แต่คณุ ค่าของความเป็นมนุษย์
มาบตาพดุ เสียหายไมร่ บั รู้ ฯ
สจุ ิตต์ วงษ์เทศ
มติชนรายวนั ปี ท่ี 32 ฉบบั ที่ 11537
วนั ที่ 11 ตลุ าคม พ.ศ. 2552
คดีมาบตาพดุ
คนที่เขาได้รบั ทกุ ขม์ ากว่า 25 ปี
ขอให้เขาได้มีโอกาสได้คืนพืน้ ท่ีบา้ ง ได้หายใจบริสทุ ธ์ิบา้ ง
ให้เขาได้รบั การฟื้ นฟใู นทางจิตใจ
3 ปี อตุ สาหกรรมไม่ตาย....
นายอานันท์ ปันยารชนุ อดีตนายกรฐั มนตรี 62
ประธานกรรมการแก้ไขปัญหาการปฏิบตั ิตามมาตรา 67 วรรคสอง
ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย
ปาฐกถา
“มองผา่ นมาบตาพดุ สคู่ วามเขม้ แขง็ ของภาคประชาชนสกู่ ารปฏริ ปู ประเทศไทย”
“สงั สรรค์ สาระ ระดมทุน ครบรอบ 5 ปี เครอื ขา่ ยประชาชนภาคตะวนั ออก”
ณ สนามกฬี ากลางจงั หวดั ระยอง
วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2553
ทม่ี า สานกั ขา่ วอศิ ราวนั พฤหสั บดี วนั ท่ี 6 มกราคม 2554
คดีมาบตาพดุ
คาสงั่ สานักนายกรฐั มนตรี ที่ 250/2552
เรอ่ื ง แต่งตงั้ คณะกรรมการแก้ไขปัญหาการปฏิบตั ิตามมาตรา 67 วรรคสอง
ของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ลงวนั ที่ 13 พฤศจิกายน 2552
นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรฐั มนตรี ประธานกรรมการ กล่าวว่า ปัญหาที่มาบตาพดุ ไม่ได้
เกิดจากการมีรฐั ธรรมนูญตามมาตรา 67 แต่เกิดจากการปฏิบตั ิและบงั คบั ใช้กฎหมายที่หละหลวม ไม่ว่าจะเป็น
ฝ่ ายอตุ สาหกรรม ฝ่ ายชุมชน และภาครฐั ดงั นัน้ การแก้รฐั ธรรมนูญมาตรานี้จึงไม่ใช่วิสยั ในการแก้ปัญหา
คณะกรรมการชุดนี้ไม่ได้มีหน้าที่หรือคิดจะมาตดั สินว่า ใครผิดใครถกู ในอดีตใครเป็ นต้นเหตุหรือ
ผ้กู ่อเหตุท่ีทาให้เหตุการณ์รุนแรงขึ้น คณะกรรมการจะพิจารณาเร่ืองนี้ด้วยใจที่เป็ นอิสระ และการแสวงหา
“ความเป็ นธรรมในแง่ของสิทธิ มนุษยชน”
ภาคธรุ กิจและภาคอตุ สาหกรรมต้องทางาน ทามาหากินตาม “หลกั ธรรมาภิบาล” และ “รบั ผิดชอบ
ต่อสงั คม” ส่วนชมุ ชนกม็ ีสิทธิที่จะมีอากาศบริสทุ ธ์ิ มีน้าดื่มต้องบริสทุ ธ์ิ มีอาชีพทามาหากินได้ ไม่ถกู กระทบจาก
มลพิษ แต่วนั นี้เขาเป็นเหย่ือของมลภาวะที่เกิดขึน้ จากอตุ สาหกรรม
แต่ไม่ใช่ว่าเราจะไปบอกว่าความผิดทงั้ หมดอยู่ที่อุตสาหกรรม ความผิดอาจจะเกิดขึ้นจากหลาย
ประการ เช่น กติกาไมแ่ น่ชดั มีการเปล่ียนแปลง ไม่มีการบงั คบั ใช้ โดยเหตผุ ลอะไร
หน้าที่ของคณะกรรมการ คือ การประสานข้อเสนอข้อคิดเหน็ ของทุกฝ่ าย และพยายามหาจดุ ร่วม
ท่ีทุกฝ่ ายรบั ได้ นโยบายท่ีผมตงั้ ไว้ คือ คณะกรรมการจะไม่วินิจฉัยว่า ใครผิด ใครถกู แต่จะหาข้อเทจ็ จริงและ
เสนอแนะข้อคิดเหน็ ทงั้ หมด ท่ีทาให้ทกุ คนอย่ดู ้วยกนั ได้
63
คดีมาบตาพดุ มีส่วนผลกั ดนั ทาให้เกิด
พฒั นาการทางความคิดของสงั คมไทยอย่างจริงจงั
เกี่ยวกบั เรอ่ื ง
การพฒั นาอตุ สาหกรรมเชิงเศรษฐนิเวศ
Eco Industrial Development : EID
เมืองอตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ
Eco Industrial Town : EIT
การประเมินส่ิงแวดล้อมระดบั ยทุ ธศาสตร์
Strategic Environmental Assessment : SEA
ปฏิกิริยาของมหาชน (Public Reaction) ต่อ
การพิจารณาคดีของศาลปกครองคดีมาบตาพดุ
เป็ นการ รวบรวมปฏิ กิ ริ ยาของมหาชนต่ อ
ศ า ล ป ก ค ร อ ง ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า พิ พ า ก ษ า ค ดี ม า บ ต า พุด
ซึ่ งเป็ นความเห็นที่ ปรากฏต่ อสาธารณะโดยทัว่ ไป
ประกอบด้วย ความเห็นของนักวิชาการ บทบรรณาธิการ
คอลมั น์ต่างๆ และ ข่าวหนังสือพิมพท์ งั้ ในและต่างประเทศ
เป็ นข้อเทจ็ จริงที่ตุลาการศาลปกครองจะได้รบั รู้
ความร้สู ึกและความคิดเหน็ ของบุคคลจากกลุ่มต่างๆ ที่มี
ต่อการทาหน้าท่ีของศาลปกครองระหว่างการพิจารณาคดี
และภายหลงั การพิพากษาคดี
ซ่ึงส่ิงท่ีนาเสนอจะเป็นผลดีต่อการฝึ กฝนตลุ าการ
ให้มีจิตใจท่ีมัน่ คงและมีความกล้า (GUTS) ในการใช้
ดุลพินิ จตดั สินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและหลกั วิชาการ
เพราะการมีคาสงั่ หรือคาพิพากษาในคดีปกครองนัน้ ต้องมี
การให้เหตุผลที่มีความสมเหตุสมผล เพื่อให้เป็ นที่ยอมรบั
ของสงั คม โดยตุลาการต้องไม่หวนั่ ไหวต่อกระแสต่างๆ ท่ี
เกิดขึ้นในสงั คมอยู่ตลอดเวลา เพื่อฝึ กฝนจิตใจตุลาการ
ไม่ให้เกิดอคติขึ้นในการทาหน้ าท่ี อันเป็ นคุณสมบตั ิ ที่
สาคญั อย่างย่ิงของผ้ดู ารงตาแหน่งตุลาการศาลปกครอง
ทกุ ระดบั ชนั้ 65
67
คดีมาบตาพดุ
ศาสตราจารย์ ดร.อกั ขราทร จุฬารตั น ประธานศาลปกครองสูงสุด
กล่าวว่า “แนวทางของศาล ไม่ใช่การชัง่ น้าหนัก ระหว่างชีวิตชาวบ้าน
ที่ เ ดื อ ด ร้ อ น กับ เ งิ น ล ง ทุ น ข อ ง ธุร กิ จ ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ อ า จ ก ร ะ ท บ ต่ อ ไ ป ถึ ง
ทิศทางการพฒั นาประเทศ แต่สิ่งท่ีสาคญั กว่านัน้ คือ ความมีเหตุมีผล
ซึ่งไม่ใช่เร่ืองของเงินหมื่นล้านแสนล้าน ถ้าคาพิพากษาของศาลสามารถ
อธบิ ายไดช้ ดั เจน รฐั บาลเองกต็ อ้ งครุ่นคดิ วา่ แนวทางทถ่ี ูกตอ้ งควรปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร
เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความถูกต้องควรปฏบิ ตั อิ ย่างไร เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความถูกต้องและแนวทาง
ปฏิบตั ิในอนาคต ไม่ใช่แก้ปัญหาเป็นรายกรณี เพราะปัญหาวกิ ฤตสง่ิ แวดล้อม
เกดิ ขน้ึ ทวั่ ไปหมด ทงั้ ในนิคมอุตสาหกรรมและนอกนิคมอุตสาหกรรม ถ้ารฐั บาล
ไม่สร้างแนวทางท่ถี ูกต้องวนั ขา้ งหน้าก็ต้องตามไปแก้ปัญหาแต่ละกรณีไม่รู้จบ
และจะมตี น้ ทุนทต่ี อ้ งจา่ ยแพงขน้ึ ไปเรอ่ื ยๆ เช่นเดียวกนั กบั ภาครฐั ภาคเอกชน
รวมถงึ ภาคประชาชน กค็ วรเลิกทาตวั เป็น ศรีธนญชยั เสียที”
หนงั สือพมิ พป์ ระชาชาติธุรกิจ วนั ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๒, หนา้ ๒.
การวินิ จฉัยคดีปกครอง
ความสมดลุ
การชงั่ น้าหนัก
70
ความสมดลุ ของธรรมชาติ
71
ตราช่ัง : การชั่งนา้ หนักโดยทั่วไป
สิ่งของสองข้างน้าหนักไมเ่ ท่ากนั
จึงไมเ่ กิดความสมดลุ และตราชงั่ เอียง
72
ความหมายเชิงสัญลกั ษณ์
ความเท่ียงธรรม
73
ตราชั่ง : ในความหมายการช่ังนา้ หนักพยานหลกั ฐาน
ที่จะนามารับฟังในการวนิ ิจฉัยคดโี ดยทัว่ ไป
74
การทาให้เกดิ ความสมดุลด้วยหลกั ตรรกศาสตร์
ดลุ ยภาพ เหตุผล
balance, equilibrium การเพม่ิ น้าหนกั ใหอ้ กี ขา้ ง
ทาใหเ้ กดิ ความสมดลุ
75
การทาให้เกดิ ความสมดุลด้วยตรรกศาสตร์
เหตผุ ล
ความยาวของระยะทางจากจุดหมนุ ทม่ี ากกวา่
อกี ดา้ นหน่ึง ทาใหเ้ กดิ ความสมดุล
ดลุ ยภาพ
balance,
equilibrium
76
ความสมดุลขององค์ประกอบต่างๆในพืน้ ที่
แสดง ความสมดลุ ของแรง ๓ แรง ประกอบด้วย ก้อนน้าหนัก N1 N2 และ N3 ซึ่งมีน้าหนักไม่
เท่ากนั โดยก้อนน้าหนักห้อยแขวนจากเชือก ๓ เส้น ท่ีผกู ติดกนั โดยเชือก ๒ เส้นคล้องผา่ นรอก
ท่ีไรแ้ รงเสียดทาน แรงทงั้ สามกระทาตรงปมเชือกที่เหน็ ลกู ศรพ่งุ ออกมาและอย่ใู นลกั ษณะสมดลุ
แรง ๓ แรง แทนได้ด้วยความหมายของ สิ่งท่ีมีชีวิต ส่ิงแวดล้อม เศรษฐกิจ สงั คม หรือ
ประโยชน์ของส่วนรวม ประโยชน์ของชุมชน ประโยชน์ของบุคคล ฯลฯ ที่สามารถอยู่ร่วมกนั
ในพืน้ ที่ได้ในลกั ษณะสมดลุ 77
ความหลากหลายของ ดลุ ยภาพ Balance, Equilibrium
ความหลากหลายของ ดลุ ยภาพ Balance, Equilibrium
การวนิ ิจฉัยคดปี กครอง
เกยี่ วกบั สิ่งแวดล้อม การผงั เมือง อาคาร และเหตุเดือดร้อนราคาญ
ข้ันตอนการสรุป ข้ันตอนการวเิ คราะห์ ข้นั ตอนการสังเคราะห์ ข้นั ตอนการวนิ ิจฉัยคดี การพพิ ากษาคดี
ข้อกฎหมายและข้อเทจ็ จริง Analysis
Synthesis Synopsis
บทบัญญัติของกฎหมาย เจตนารมณ์และวตั ถุประสงค์
ทเี่ กยี่ วข้อง ของกฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง นาผล ( Syllabus )
การพเิ คราะห์มา
ข้อเทจ็ จริงเกย่ี วกบั ความชอบด้วยกฎหมาย ประมวลด้วยกนั สรุปคาวนิ ิจฉัย คาพพิ ากษา
การใช้อานาจรัฐ เพ่ือให้เห็นภาพรวม ด้วยเหตุผลทม่ี ี และ
ทเ่ี กดิ ในปัจจุบัน
ข้อเทจ็ จริงตาม คากล่าวอ้างของคู่กรณี ความ คาบงั คบั
คากล่าวอ้างของคู่กรณี รับฟังได้เพยี งใด และกาหนด สมเหตุสมผล รวมท้งั
สภาพท่ีเหมาะสม เพ่ือแสดงให้เห็น ข้อสังเกต
ข้อเทจ็ จริงเกยี่ วกบั มสี ภาพทเ่ี กย่ี วข้องหรือมผี ลกระทบ ว่าการพพิ ากษา และ
สภาพทางด้านกายภาพ อย่างไรกบั เนื้อหาของคดี ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ แนวทางหรือ
ต่อบุคคลและสังคม ก่อให้เกดิ วธิ ีการ
เศรษฐกจิ สังคม ความยุตธิ รรม ดาเนินการ
การบริหารราชการ ฯลฯ ภายหลงั ให้เป็ นไป
การพพิ ากษาคดี และ ตาม
ตามเจตนารมณ์ ความสงบสุข คาพพิ ากษา
ของกฎหมาย
ในสังคม
อย่างไร
ภานุพนั ธ์ ชัยรัต ๕ กรกฎาคม ๒๕๔๗
การวินิ จฉัยคดีปกครองท่ีเป็ นการดาเนิ นกิจกรรม
ทางปกครองท่ีมีลกั ษณะเป็นการกระทาทางกายภาพ
จึงเป็นการหาเหตผุ ลเพื่ออธิบายด้วยตรรกศาสตรว์ ่า
สมเหตสุ มผลหรือไม่
เพื่อสรา้ งความสมดลุ ขององคป์ ระกอบต่างๆ
เพื่อให้เกิดความเป็ นธรรม
เพื่อการอย่รู ว่ มกนั อย่างสงบสขุ ในสงั คม
นายภานุพนั ธ์ ชยั รตั ๒๙ กนั ยายน ๒๕๕๒
81
ตลุ าการศาลปกครอง
ทาหน้าท่ีอย่ใู นองคก์ รตลุ าการของรฐั
และมีหน้าท่ีอานวยความยตุ ิธรรมทางปกครอง
ท่าน คือ ทรพั ยากรบคุ คลอนั มีค่าของแผน่ ดิน
เพื่อให้เกิดความยตุ ิธรรมแก่ประชาชน และ
ความสงบสขุ แห่งราชอาณาจกั ร
82
พระราชดารัส
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
“ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึน้ ในเกณฑ์ท่ีท่านจะต้องทาหน้าที่น้ันจะต้อง
เป็ นเรื่องจริง เป็ นเร่ืองในชีวิตจริง ไม่ใช่อยู่ในตารา ฉะน้ัน ก็ขอร้องให้
ท่านคิดให้ ดีๆ ใช้ ดุลยพินิจ หมายความว่า ประกอบความรู้ท่ีมี และ
ประกอบกบั ความรู้ทจ่ี ะต้องขวนขวาย การงานท่ที ่านจะทาจะเกดิ ประโยชน์
อย่างย่ิง ถ้าประกอบวิชาการและความรู้ในทางปฏิบัติมาประกอบกับ
ความซื่อสัตย์สุจริต ”
พระราชดารสั ฯเนื่องในโอกาสโปรดเกล้าฯ ให้ตลุ าการศาลปกครองชนั้ ต้น ร่นุ ท่ี ๑ เข้าเฝ้าฯ เพ่ือ
ถวายสตั ยป์ ฏิญาณต่อพระมหากษตั ริย์ ณ ศาลาเริง วงั ไกลกงั วล วนั พธุ ที่ ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๔๔ 83