The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pattamaawannalukk, 2021-03-31 08:57:14

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ

คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี
สารสนเทศ

สาระการเรียนรู้
1.ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
2.ลกั ษณะสาํ คญั ของเทคโนโลยสี ารสนเทศ
3.องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
4.ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
5.จรยิ ธรรมและความรับผิดชอบในการใช้คอมพิวเตอรก์ ับระบบสารสนเทศ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1.บอกความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้
2.บอกลักษณะสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศได้
3.อธบิ ายองคป์ ระกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้
4.บอกผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศได้
5. บอกจรยิ ธรรมและความรบั ผดิ ชอบในการใช้คอมพวิ เตอรก์ บั ระบบสารสนเทศได้

ความหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ คอื การประยุกต์ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ในระบบสารสนเทศ
ตั้งแตก่ ระบวนการจดั เก็บ ประมวลผล และการเผยแพรส่ ารสนเทศ เพือ่ ชว่ ยใหไ้ ด้สารสนเทศ
ทม่ี ีประสทิ ธิภาพและรวดเรว็ ทันตอ่ เหตกุ ารณ์ โดยเทคโนโลยสี ารสนเทศอาจประกอบด้วย

1. เคร่ืองมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สํานักงาน อุปกรณ์ส่ือสาร
โทรคมนาคมต่างๆ รวมทงั้ ซอฟท์แวรท์ ั้งแบบสําเรจ็ รปู และแบบพัฒนาขน้ึ เพ่อื ใชใ้ นงานเฉพาะด้าน

2.กระบวนการในการนําอุปกรณ์เคร่ืองมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพ่ือรวบรวม จัดเก็บ
ประมวลผลและแสดงผลลพั ธเ์ ปน็ สารสนเทศในรูปแบบตา่ งๆ ท่ีสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป
เช่น การจดั เก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมลู เปน็ ตน้

ความหมายของสารสนเทศ

สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยวิธีการเหมาะสมและ
ถูกต้อง เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์ตามต้องการ
เช่น สรุปยอดขายเพื่อนําไปใชก้ ารวิเคราะห์ วางแผนและตัดสินใจในการกําหนด
เปา้ หมายต่อไป

องคป์ ระกอบของสารสนเทศ

ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข ข้อความ หรือรายละเอียดซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบ
ต่างๆ เช่น ภาพ เสียง วิดีโอ หรือข้อมูล ข้อเท็จจริงของส่ิงที่สนใจ ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์
สิ่งของ หรอื เหตุการณ์ตา่ งดงั น้ันขอ้ มูลจึงเป็นการเก็บรวบรวมเกี่ยวกับข้อเท็จจริงของสิ่ง
ที่สนใจเพ่ือที่จะนําไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป เชน่ จาํ นวนนักเรียน จํานวนครู

การประมวลผลข้อมูล คือ กระบวนการย่อยหลายกระบวนการ ตั้งแต่การรวบรวม
ข้อมูล การแยกแยะ การตรวจความถูกต้อง การคํานวณ การจัดลําดับ การรายงานผล
รวมถึงการสง่ ข้อมูลหรือการแจกจา่ ยขอ้ มลู นัน้

สารสนเทศ คอื ส่ิวท่ไี ด้จากการนาํ ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพ่ือนํามาใช้
ประโยชนต์ ามจุดประสงค์

ลักษณะสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ

1. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้การทํางานรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยําในระบบการ
จัดการ ขององค์กรทุกแห่งต้องใช้ข้อมูลเพื่อการดําเนินการละตัดสินใจ ระบบธุรกิจจึง
ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารเป็นเคร่ืองมือช่วยในการ
ดําเนินการเพ่ือให้การทํางานมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยํา เช่น ใช้ในระบบฝาก
ถอนเงิน และระบบจองต๋ัวเคร่ืองบนิ
2. เทคโนโลยีสารสนเทศชว่ ยทาํ ใหก้ ารบริการกวา้ งขวางข้ึน เม่ือมีการพัฒนาระบบเก็บ
และ ใช้ข้อมูลทําให้การบริการต่างๆ อยู่ในรูปแบบการบริการแบบกระจาย ผู้ใช้
สามารถสั่งซือ้ สินค้าจากที่บ้าน สามารถถามขอ้ มลู ผา่ นทางโทรศัพท์ นิสิตนักศึกษาบาง
มหาวทิ ยาลยั สามารถใชค้ อมพิวเตอร์สอบถาม ผลสอบจากท่ีบ้านได้
3. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยดําเนินการในหน่วยงานต่างๆ ปัจจุบันทุกหน่วยงานต่าง
พัฒนาระบบ จัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในองค์กร ประเทศไทยมีระบบ
ทะเบียนราษฎรที่จัดทําด้วยระบบ คอมพิวเตอร์ ระบบเวชระเบียนในโรงพยาบาล
ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาษีในปัจจุบันองค์กรทุกระดับ เห็นความสําคัญท่ีจะนํา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

• Microcomputer หรือ Personal Computer (PC) คอมพิวเตอร์ขนาด
เล็กแบบตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) ใช้กัน แพร่หลายท้ังในบ้าน
โรงเรยี น และสํานกั งาน
• Macintosh (Macintosh) หรอื ที่รู้จักในช่ือย่อว่าแมค (Mac) เป็นชื่อของ
ผลิตภัณฑ์เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีพัฒนา ออกแบบ และจําหน่ายโดยบริษัท
แอปเปิล แมคอินทอชเป็นระบบคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลที่ส่วนใหญ่ใช้ใน
สาํ นกั พิมพ์ นิตยสาร โรงพิมพ์ บริษทั ออกแบบ และบรษิ ัทโฆษณา
• Laptop หรือ Notebook โน้ตบุ๊ก คือ คอมพิวเตอร์ท่ีมี ขนาดเล็กกว่า
ไมโครคอมพิวเตอร์ ถูกออกแบบไว้เพือ่ พกพาไปใชต้ าม ทต่ี ่างๆ มีขนาดเล็ก
และนํ้าหนักเบา ความสามารถในการทํางาน เทียบเท่ากับเครื่องพีซีทั่วไป
ในปัจจุบนั มหี ลายขนาดใหเ้ ลอื กตาม ความตอ้ งการใช้งาน
• Ultrabook เป็นการนําเอา Notebook และ Tablet ผนวก รวมเข้าด้วยกัน มีความบาง
และนํ้าหนักเบาใกล้เคียงกับ Tablet ทํางานได้ใกล้เคียงกับ Notebook มีคีย์บอร์ด Hard
Disk จะใช้ เป็น SSD (Solid-State Drive) หน้าจอสัมผัสแบบ Multi Touch ได้เหมือน
Tablet
• Tablet PCคือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานโดยใช้นิ้ว สัมผัสหรือปากกาเขียนลงบนจอภาพ
ได้โดยตรงแทนการใช้เมาส์และ คีย์บอร์ด ซึ่งมีซอฟต์แวร์ท่ีพัฒนาข้ึนมาเป็นพิเศษเพ่ือใช้กับ
เครื่อง ในปัจจุบันมีการใช้งานกันอย่างแพร่หลาย และมีการพัฒนากันมาก เพราะมีผู้ใช้งาน
เพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็ว นิยมใช้ในการเล่นอินเทอร์เน็ต ติดต่อส่ือสารผ่านระบบเครือข่าย
การศึกษาและความบันเทงิ

PC แบบ Tower PC แบบ All in one iMac

Notebook Ultrabook, Tablet PC

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

1. หนว่ ยรับข้อมูล (Input Unit)

2. หน่วยประมวลผลขอ้ มลู (Central Processing Unit : CPU)

3. หนว่ ยเก็บข้อมลู (Memory Unit)

4. หนว่ ยติดตอ่ สอ่ื สาร (Communication Unit)

5. หนว่ ยแสดงผล (Output Unit)

สว่ นประกอบภายนอกที่สําคญั ของคอมพวิ เตอร์ สว่ นประกอบของคอมพวิ เตอร์

คือ อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ที่นาํ มาประกอบกนั แลว้ จะได้

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอรช์ นิดต้งั โต๊ะท่สี มบรู ณ์ 1 เคร่อื ง ควรประกอบด้วย

องค์ประกอบทสี่ าํ คญั หลายอย่าง เช่น กลอ่ งซีพียู แป้นพมิ พ์ เมาส์ จอภาพ ลําโพง

1.กล่องซีพียู (Case) เป็นองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ที่ภายในบรรจุแผงเมนบอร์ด

แหล่งจ่ายไฟ และหน่วยความจําต่างๆ เช่น รอม (ROM) แรม (RAM) ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ

และซีดีรอม เป็นต้น ท่ีเรียกว่า กล่องซีพียู เพราะภายในเครื่องบริเวณแผงวงจรหลัก (Main

board) เป็นที่ติดตั้งซีพียู (CPU) ซึ่งถือว่าเป็นมันสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วน

รายละเอียดจะกลา่ วถงึ ต่อไปในเนื้อหาของบทเรยี น ในหน่วยนี้

2. แป้นพิมพ์ (Keyboard) คอื อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการพิมพข์ ้อมูลเข้าสู่เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เพือ่ ให้

หน่วยประมวลผลขอ้ มลู กลาง (CPU) ทาํ การประมวล แป้นพิมพจ์ ัดเป็นอปุ กรณด์ ้านหน่วย

ปอ้ นขอ้ มลู (Input Unit) ทีท่ ําหนา้ ท่ีในการปอ้ นข้อมลู เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

3. เมาส์ (Mouse) คือ อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการเลอื กและเล่ือนตําแหนง่ ลูกศรเพ่ือสั่งงานให้

คอมพวิ เตอร์ ทํางาน เมาสจ์ ัดเปน็ อุปกรณด์ า้ นหนว่ ยป้อนข้อมลู เช่นเดียวกับแป้นพมิ พ์ แตใ่ ช้

งานในลักษณะท่ี แตกต่างกัน เมาส์ในปจั จบุ นั มที ้ังแบบมสี ายและแบบไรส้ าย

หนว่ ยรับขอ้ มูล หน่วยแสดงผล

4. จอภาพ (Monitor)คือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลจากซีพียู
มาแล้ว เพื่อทําให้ผู้ใช้มองเห็นผลลัพธ์ของข้อมูลและสามารถติดต่อกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้
จอภาพ จดั เปน็ อุปกรณด์ ้านหน่วยแสดงผล (Output Unit)
5.ลําโพง (Speaker) คอื อปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการแปลงสัญญาณไฟฟ้าเป็นสัญญาณเสียงและแสดง
เสียงออกทางลําโพงทําให้ผู้ใช้ได้ยินสัญญาณเสียงในรูปแบบต่างๆ เช่น เสียงเพลง และ
เสยี งพดู ตา่ งๆ ลาํ โพงจัดเปน็ อุปกรณ์ ด้านหน่วยแสดงผล (Output Unit)
6. หน่วยความจําสํารอง (Secondary memory unit) หน่วยความจําสํารองเป็นส่วนเพิ่ม
หน่วยความจําให้มีขนาดใหญ่ มีความจุมาก มีราคาถูก ในระบบคอมพิวเตอร์จึงมักติดต้ัง
หน่วยความจํา สํารองเพื่อนํามาใช้เก็บข้อมูลจํานวนมากเป็นการเพิ่มขีดความสามารถด้าน
การจดจาํ ของคอมพวิ เตอร์ ใหม้ ากย่งิ ขึ้น หน่วยความจาํ สํารองมีหลายชนดิ ดังตอ่ ไปนี้
•ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk)
เป็นท่ีสําหรับเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ Hard Disk จะประกอบไปด้วยจาน Disk หรือที่เรียกว่า
Platters หลายๆ แผน่ มารวมกัน Hard Disk ส่วนมากจะอยู่ภายในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซ่ึงไม่
สะดวก ในการเคลอ่ื นย้าย บางทถ่ี กู เรียกวา่ Fixed Disk
แผ่นข้อมูลแบบบนั ทึกดว้ ยแสง (Optical Disc) แบ่งออกเป็น 2 ประเภทดว้ ยกันคือ

1.CD ROM ซีดี (Compact Disk) เป็นส่ือบันทึกข้อมูลที่มีความจุสูง โครงสร้างเป็น แผ่น
พลาสติกทรงกลมบางที่ฉาบด้วยโลหะ metallic หลักการทํางานจะใช้แสงเลเซอร์ (Laser)
ฉายลงไป บนพน้ื ผวิ ของแผน่ ทาํ ให้เกดิ หลุมรหสั เป็น 0 และ 1 การอ่านข้อมูลก็ใช้แสงเลเซอร์
กวาดไปบนพืน้ ผิว ของแผน่ แลว้ ใช้แสงสะท้อนกลบั แปลงไปเปน็ ข้อมูลทคี่ อมพิวเตอร์สามารถ
อ่านเข้าใจไดม้ ีความจุประมาณ 600 - 700 MB มีการเข้าถึงข้อมูลแบบ Random Access มี
การพัฒนาให้เขียนอ่านได้หลายๆ ครั้ง เรียกว่า Erasable Optical Disks การใช้งานต้องใช้
รว่ มกับ CD-Writer มรี าคาถกู และใชง้ านแทนซดี ีรอม ทว่ั ไปได้

หน่วยความจาสารอง

2. DVD (Digital Versatile Disc) เป็นส่ือบันทึกข้อมูล ที่มีความจุสูงมากกว่าซีดี
โครงสร้างของแผ่นเป็นแผ่นพลาสติก ทรงกลมบางที่ฉาบด้วยโลหะ Metallic
สามารถเก็บข้อมูล ได้มากสุดถึง 8.5 GB ซ่ึงเหมาะสําหรับการเก็บข้อมูล, ภาพยนตร์
หรือ ไฟล์มัลติมีเดียจํานวนมาก ภาพและเสียงของดีวีดีจะมีความคมชัด มากกว่าซีดี
แต่แผ่นดีวีดีจะต้องใช้งานร่วมกับอุปกรณ์ ดีวีดีรอมไดร์ฟ ซึ่งอุปกรณ์ดีวีดีรอมไดร์ฟ
สามารถอา่ นแผ่นได้ทกุ ประเภท
- หน่วยความจําแฟลช (Flash Memory) ยูเอสบีไดร์ฟ (USB Drive) แฮนด้ีไดร์ฟ
(Handy Drive) หรือทัมพ์ไดร์ฟ (Thumb Drive) คือ ส่ือที่ใช้บันทึกข้อมูลอีกชนิด
หน่ึงที่ปัจจุบัน ได้รับความนิยมใช้กันมาก ส่ือบันทึกข้อมูลชนิดนี้สามารถอ่าน และ
เขียนข้อมูลได้เหมือนกับแผ่น CD, DVD และฮาร์ดดิสก์ แต่มีข้อดีตรงที่ว่าพกพาได้
สะดวก เพราะมีขนาดเล็ก มีความจุ หลายขนาดต้ังแต่ 2 GB, 4 GB, 8GB, 16 GB
หรือมากกว่า พอร์ต ที่ใช้เช่ือมต่อกับส่ือบันทึกข้อมูลชนิดนี้คือพอร์ต USB
(Universal Serial Bus) สามารถทาํ งานไดใ้ นหลายระบบปฏบิ ัตกิ าร เชน่
หนว่ ยความจาํ สํารอง Windows, Macintosh, Linux

• หน่วยความจําแฟลชประเภทการ์ด (Memory Card) หน่วยความจําชนิดน้ีนิยมใช้
ในปัจจุบัน อย่างแพร่หลายเพราะสามารถนําไปใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ
เพือ่ เก็บสาํ รองข้อมูลต่างๆ กล้องดิจทิ ลั , โทรศัพท์ประเภท Smartphone, เคร่ืองเล่น
MP3 แบบพกพา หรือกล้องวิดีโอรุ่นใหมๆ่ ชนิดหนว่ ยความจําประเภทนี้ เชน่
* PC Card
* Compact Flash
* Smart Media
* Multimedia Memory Card (MMC)
* Secure Digital (SD) * Memory Stick

หน่วยความจาประเภทการ์ด

7. อปุ กรณต์ ่อพว่ ง
หน่วยความจาํ สํารองประเภทการ์ด อปุ กรณ์ตอ่ พว่ ง คอื อปุ กรณฮ์ ารด์ แวร์ท่ีนํามาต่อพ่วง
กับคอมพิวเตอร์เพ่ือทาํ ให้เกิดประโยชน์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น นําอุปกรณ์มาต่อพ่วงกับ
คอมพิวเตอร์เพ่ือพิมพ์ข้อมูล เพ่ือสแกนรูปภาพ เป็นต้น หลักการทํางานของอุปกรณ์ต่อ
พ่วงแต่ละชนิด จะแตกต่างกันข้ึนอยู่กับว่าจะให้อุปกรณ์ต่อพ่วงชนิดน้ัน ทํางานแบบใด
แต่อปุ กรณ์ที่นาํ มาตอ่ พว่ งกบั คอมพิวเตอร์จะต้องต่อสายเคเบิล หรือสายนําสัญญาณ เข้า
กับพอร์ตของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซ่ึงอาจจะเป็นพอร์ตขนาน พอร์ตอนุกรม หรือพอร์ต
USB ก็แล้วแต่ท่ีจะกําหนด หรืออาจใช้วิธีการเชื่อมต่อแบบไร้สายเช่น Wireless LAN
หรือบลูทูธ (Bluetooth) เป็นต้น และโดยทั่วไปจะต้องมีโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ท่ีใช้
ควบคุมการทํางานของอุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น ต่อพ่วงเคร่ืองพิมพ์เข้ากับคอมพิวเตอร์
จะต้องติดตั้งไดร์เวอร์เพื่อให้คอมพิวเตอร์รู้จักกับเครื่องพิมพ์นั้น ในท่ีน้ีจะกล่าวถึง
อปุ กรณ์ต่อพ่วงประเภทเครอื่ งพมิ พ์
- อุปกรณ์ต่อพ่วงประเภทเคร่ืองพิมพ์ เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงกับ
คอมพวิ เตอร์ เพื่อพิมพ์ข้อมูลออกทางกระดาษพิมพ์ โดยรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ ผ่าน
สายเคเบลิ หรือระบบ เครอื ข่าย เชน่ LAN หรอื Wireless LAN ไปยังเครอื่ งพิมพ์
ประเภทของเคร่ืองพิมพ์
1. เครอ่ื งพิมพ์ดอตเมตริก (Dot Matrix) เป็นเคร่ืองพิมพ์ที่ใช้หัวเข็มกระแทกลงไปบนผ้า
หมึก เพื่อให้ตัวอักษรท่ีจะพิมพ์ไปปรากฏบนกระดาษพิมพ์ ตัวเครื่องพิมพ์จะมีราคาแพง
ส่วนผ้าหมึก จะมีราคาถูก ปัจจุบันใช้ในงานพิมพ์เอกสารที่ต้องการสําเนาหลายชุด เช่น
ใบส่งั ซ้อื บลิ เงินสดใบเสรจ็ รับเงนิ หรอื ใบส่งของ เปน็ หลกั
หัวพมิ พ์จะประกอบดว้ ยเขม็ โลหะ เล่มเล็กๆ วางเรียงกันเป็นแถวจํานวน 9 เข็ม หรือ 24
เขม็ เขม็ แต่ละเล่มจะรับสัญญาณ ควบคุมให้พุ่งผ่านผ้าหมึก (Ribbon) ไปตกกระทบ บน
กระดาษซงึ่ มีลอ้ ยางรองรับอยดู่ า้ นหลงั ใหเ้ รียงจุดเป็นตัวอักษรหรือภาพ

เครอ่ื งพมิ พ์ดอตเมตริก

2. เคร่ืองพิมพแ์ บบพ่นหมึก (InkJet Printer)เป็นเครอื่ งพมิ พท์ ี่อาศัยหลักการพ่นหมึก ออกมา

บนกระดาษพมิ พโ์ ดยมีหวั พมิ พ์เคล่อื นทบ่ี นแกนโลหะ การทาํ งานของหวั พิมพ์ใช้วิธีการฉีดพ่น

น้าํ หมึกเปน็ จดุ ขนาดเล็ก ๆ จากกลกั น้ําหมึกให้เปน็ ตัวอักษรหรือรูปภาพ แทนลงบนกระดาษ

ความละเอียด ของการพิมพ์วัดเป็นจํานวนจุดต่อตารางน้ิว ขนาดกระดาษท่ีใช้มักเป็นขนาด

A4 หรือขนาดที่เล็กกว่า ความเร็วในการพิมพ์นับเป็นจํานวนหน้าต่อนาที การพิมพ์สีจะใช้

หลกั การพน่ หมึก 3 สีคือ นํ้าเงิน แดง และเหลืองผสมกนั

3. เคร่ืองพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) มีหลัก

การทาํ งานคล้ายกับเคร่ืองถ่ายเอกสาร โดยจะทํา

การ แปลงข้อมลู จากคอมพิวเตอร์ให้เป็นรหัสแล้ว

ใช้ลําแสง เลเซอร์ยิงเป็นรูปภาพต้นแบบลงบน

แท่นพิมพ์ท่ีเป็น ล้อยาง (Drum) แล้วทําการใช้

ความร้อนดูดผงหมึก จากกลัก (Toner) เข้ามา เครื่องพมิ พแ์ บบพ่นหมกึ

ติดกับล้อยางตามแบบพิมพ์ จากน้ันกระดาษจะ

ถูกรีดด้วยล้อยางผ่านแม่พิมพ์ท่ีมีผงหมึก ติดอยู่

ทําให้เกิดเป็นตัวอักษรหรือภาพบนกระดาษ

ความละเอียดของการพิมพ์วัดเป็นจํานวนจุดต่อ

ตารางนิ้ว (Dot Per Inch : DPI) ขนาดกระดาษ

ที่ใชม้ กั เป็นกระดาษ ขนาด A4 หรือขนาดอื่นก็ได้

ข้ึนอยู่กับคุณสมบัติของ เคร่ืองพิมพ์ ความเร็วใน

การพิมพ์นับเป็นจํานวนหน้า ต่อนาที คุณภาพใน เครื่องพิมพ์เลเซอร์

การพิมพม์ คี วามคมชัดสงู กว่า เครือ่ งพมิ พ์ Inkjet

ซอฟต์แวร์ (Software)

ซอฟต์แวร์ หมายถึง โปรแกรมหรื อชุดคาส่ังท่ีส่ังให้

คอมพิวเตอร์ทางาน เป็ นตวั ส่งั การใหอ้ ุปกรณ์เช่ือมตอ่

ทางานได้ โดยโปรแกรมจะเขียนใหท้ างานเป็ นขน้ั ตอน

โดยจะครอบคลุมการดาเนินการทง้ั หมดวา่ จะใหผ้ ลลพั ธ์

ออกมาในลักษณะใด โดยผูเ้ ขียนโปรแกรมหรื อ

โปรแกรมเมอร์จะเป็ นผูเ้ ขียนโปรแกรมกาหนดให้

โปรแกรม รับอะไรมาประมวลผล แลว้ ใหผ้ ลลพั ธ์แสดง ซอฟต์แวรร์ ะบบ
ออกมา ในรูปแบบใดแบง่ เป็น 2 ประเภทคือ ซอฟตแ์ วร์

ระบบ และซอฟตแ์ วร์ประยุกต์
ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) คือ ชุดคาส่งั หรือโปรแกรมท่ีถูกเขียนข้ึนทางานกบั ฮาร์ดแวร์

เพ่ือส่งั การควบคุมการทางานอานวยความสะดวกใหผ้ ูใ้ ชส้ ามารถติดตอ่ กบั เคร่ื องคอมพิวเตอร์ และ

คอมพิวเตอร์ทุกเคร่ืองจะตอ้ งมีระบบปฏิบตั ิการ (Operating System : OS) ระบบปฏิบตั ิการพบกนั
ท่วั ไป เชน่ Windows XP, Windows 7, Windows 8 สาหรับเคร่ื อง Macintosh เชน่
ระบบปฏิบตั ิการ Snow Leopard, Lion Mountain, Lion และยงั มีระบบปฏิบตั ิการเปิด เชน่ Linux
Ubuntu เป็นตน้
ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ (Application Software) คือ ชุดคาส่งั หรือโปรแกรมท่ีถูกสรา้ งข้ึน ใหใ้ ชง้ านดา้ น

ตา่ ง ๆ ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ ูงสุดตามความตอ้ งการของผูใ้ ชง้ านโดยแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ

1.ซอฟตแ์ วร์สาเร็จรูป (Package Program)
หรื อ ซอฟตแ์ วร์ใชง้ านท่วั ไป (General Purpose
Software)เป็ นโปรแกรมท่ีสามารถนามาประยุกตใ์ ช้

กบั งานได้ หลายๆ แบบ ทง้ั งานส่วนตวั และงานแบบ

องคก์ รในปจั จุบนั มีผูท้ ่ีจดั ทาซอฟตแ์ วร์สาเร็จรูปข้ึนมา

มากมายทง้ั โปรแกรม ท่ีสรา้ งโดยบริษัทใหญๆ่ ท่ีสรา้ ง

ข้ึนสาหรับจาหน่าย ไปจนถึง ผูท้ ่ีหดั สรา้ งโปรแกรม

สาเร็จรูปข้ึนใชง้ านแลว้ เปิดใหใ้ ชง้ าน ไดฟ้ รี ทงั้ หมดน้ี ซอฟตแ์ วร์สาเรจ็ รปู
ถือเป็ นซอฟตแ์ วร์สาเร็จรูปได้ ซ่ึงสามารถ จาแนก

ออกเป็นกลุม่ ตา่ ง ๆ ได้ 10 ประเภท ดงั น้ี

1. ซอฟตแ์ วร์ประมวลผลคา (Word Processing Software) ใชส้ าหรับสรา้ งเอกสารขอ้ ความ ตวั อกั ษร
ภาพ จดั การรูปแบบไดง้ า่ ยและสะดวกตอ่ การ ทางาน เชน่ Microsoft Word, OpenOffice Writer,
WordPad เป็นตน้
2. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นการคานวณ วิเคราะหแ์ บบ ตารางการทางาน (Spreadsheet Software) ใชส้ าหรับ
งานด้านการคานวณ วิเคราะห์หาผลลัพธ์งานลักษณะท่ีตอ้ ง สร้างตาราง เช่น Microsoft
Excel,OpenOffice Calc, 1 Lotus 1-2-3 เป็นตน้
3. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นการนาเสนอขอ้ มูล (Presentation Software) ใชส้ าหรับการนาเสนอ ขอ้ มูลใน
รูปแบบตา่ งๆ ในการประชุม สมั มนา เชน่ Microsoft PowerPoint, OpenOffice Impress เป็นตน้
4. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นการจดั การฐานขอ้ มูล (Dalathay : Mariagerriterit Softwat(s) ใชส้ าหรับ จดั เก็บ

ขอ้ มูลจานวนมาก สามารถเรียกใชง้ านได้ สรา้ งตวั ติดตอ่ กบั ฐานขอ้ มูลเพ่ือเรียกใชท้ างานได้ เชน่
Microsoft Access, OpenOffice Base เป็นตน้
5. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นงานพิมพ์ (Publishing Softwars) ใชส้ าหรับสรา้ งเอกสารสาหรับ งานพิมพแ์ ผน่ พบั
หนังสือนามบตั ร ส่ือประชาสมั พนั ธต์ า่ ง ๆ เชน่ Microsoft Publisher,Adobe InDesign เป็นตน้
6. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นส่ือรูปภาพ (Graphic Software) ใชส้ าหรับออกแบบตกแตง่ ภาพสามารถ - แบง่
ออกเป็นประเภทตา่ งๆ เชน่ Adobe Photoshop, Adobe Illustrator, Paint, CorelDraw,
SketchUp Pro เป็นตน้ ซอฟตแ์ วร์สาหรับออกแบบ เขียนแบบ 2D, 3D เชน่ AutoCAD และประเภท
ออกแบบภาพ Diagram ตา่ งๆ เชน่ Microsoft Visio เป็นตน้
7. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นส่ือผสม (Multimedia Software) เป็นโปรแกรมท่ีรวบรวมทงั้ ขอ้ ความ รูปภาพ เสียง

วิดีโอ ภาพเคล่ือนไหว ใหส้ ามารถทางานร่วมกนั ไดแ้ สดงออก เพ่ิมความน่าสนใจของ ผลงาน เชน่
Windows Movie Maker, Proshow, Corel VideoStudio Pro X5, Adobe Premiere Pro เป็น

ตน้
8. ซอฟตแ์ วร์ดา้ นการติดตอ่ ส่ือสาร (Telecommunication Software) เป็นโปรแกรมท่ี ใชใ้ นการ
ติดตอ่ พูดคุย แลกเปล่ียนส่ือตา่ งๆ ผา่ นสงั คมออนไลน์ เชน่ facebook, Line, Skype เป็นตน้
9. ซอฟตแ์ วร์เก่ียวกบั บราวเ์ ซอร์(Web Browser Software) ใชแ้ สดงขอ้ มูลท่ีแสดงผา่ น เครือขา่ ยตา่ งๆ
ทว่ั โลก เชน่ Internet Explorer, Google Chrome, Mozilla Firefox, Safari เป็นตน้
10. ซอฟตแ์ วร์อรรถประโยชน์ในการใชง้ าน (Utility Software) เป็นโปรแกรมท่ีสรา้ งข้ึน เพ่ือเพ่ิมความ
สะดวก รวมไปถึงความบนั เทิงใหก้ บั ผูใ้ ชง้ าน เชน่ WinRAR, Nero, Anti-Virus เป็นตน้

2. ซอฟตแ์ วรเ์ ฉพาะดา้ น (Special Purpose Software)
ถึงแมว้ า่ ซอฟตแ์ วร์ทว่ั ไปน้ันจะสามารถใชง้ านไดห้ ลากหลายรูปแบบ แตห่ น่วยงานธุรกิจหลายๆ ประเภท
น้นั มีขอ้ มูลรบั เขา้ ทาออกมากเกินกวา่ ท่ีจะใชง้ านซอฟตแ์ วรท์ ว่ั ไปในการจดั การบริหารงาน และ เพ่ือใหง้ าน
ออกมาเป็ นระบบมีแบบแผนมากย่ิงข้ึนหน่วยงานก็จาเป็ นตอ้ งสรา้ งงานซอฟตแ์ วร์เฉพาะธุรกิจ หรื อ
หน่วยงานข้ึนเพ่ือใชง้ านเอง เชน่ งานรับจองตวั๋ เคร่ืองบิน งานโรงแรม งานธนาคาร งานบญั ชีบริษัท เป็น
ตน้

บคุ ลากรทางคอมพวิ เตอร์ (Peopleware)

บุคลากรในระดบั ผูใ้ ช้ ผูบ้ ริหาร ผูพ้ ฒั นาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็ น

องคป์ ระกอบสาคญั ในความสาเร็ จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทาง

คอมพิวเตอร์ มากเทา่ ใด โอกาสท่ีจะใชง้ านระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ไดเ้ ต็มศกั ยภาพและ

คุม้ คา่ ย่ิงมากข้ึนเทา่ นั้น ผูใ้ ชม้ ีโอกาสพฒั นาความสามารถของตนเองและพฒั นาระบบงานไดเ้ องตาม

ตอ้ งการ

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ เชน่ บคุ ลากรทางคอมพวิ เตอร์

- นกั วิเคราะหร์ ะบบ (System Analysis)
- โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
- วิศวกรระบบ (System Engineer)
- ผูบ้ ริหารระบบงาน (Administrator)
- พนักงานปฏิบตั ิการ (Operator)
- ผูใ้ ช้ (End-User)

ขอ้ มูล (Data)

เป็นองค์ประกอบท่ีสําคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ การเก็บข้อมูลจาก
แหลง่ กาํ เนดิ ข้อมูลจะต้องมีความถูกตอ้ ง มกี ารตรวจสอบแลว้ เทา่ น้ันจึงจะมีประโยชน์ ข้อมูล
จาํ เป็นจะตอ้ งมมี าตรฐาน เมือ่ ใชง้ านในระดบั กลุ่มหรือระดับองค์การข้อมูลต้องมีโครงสร้างใน
การจัดเก็บท่เี ปน็ ระบบระเบยี บ เพื่อการสบื คน้ ทีร่ วดเรว็ มีประสทิ ธิภาพ
ขัน้ ตอนการปฏิบตั ิงาน (Procedure)

ขน้ั ตอนการปฏิบตั ิงานของผใู้ ช้หรือของบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องเป็นเร่ืองสําคัญ เมื่อได้พัฒนา
ระบบงาน แลว้ ขณะทใ่ี ช้งานก็จําเป็นต้องคํานึงถึงลําดับขั้นตอนของคนและความสัมพันธ์กับ
เครื่องท้งั ในกรณีปกติ และกรณีฉุกเฉนิ เช่น การบนั ทึกข้อมูล การประมวลผล การปฏิบัติงาน
เมื่อเครื่องชํารุดหรือข้อมูลสูญหาย และการทําสําเนาข้อมูลสํารองเพื่อความปลอดภัย และ
การทําเอกสารคู่มือการใชง้ านที่ชัดเจน
ระบบการสือ่ สารขอ้ มูล (Data Communication System)

ระบบส่ือสารข้อมูลเป็นปัจจัยสําคัญในการเชื่อมต่อสารสนเทศ ทําให้มีการใช้งาน
สารสนเทศไดม้ ี ประสิทธิภาพ ความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยดี ้านนท้ี ําให้ทุกภาคส่วนต้องมีการ
ปรับตัวเพื่อรองรับกับ ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และนํามาใช้ประโยชน์กับองค์กร
ระบบเครอื ขา่ ยและระบบโทรคมนาคม ชว่ ยทาํ ใหก้ ารตดิ ตอ่ สอ่ื สาร การแลกเปล่ียนข้อมูลง่าย
สะดวก รวดเร็ว ค่าใช้จ่ายน้อยลง เช่น มีการ ใช้สัญญาน Wifi ระบบ 4G ซ่ึงกําลังจะ
เปลี่ยนเป็น 5G ในไม่ช้า อินเทอร์เน็ตก็เป็นช่องทางหน่ึงที่มี ความสําคัญในการใช้ระบบ
สารสนเทศ

ผลกระทบของการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ผลกระทบในทางบวก

1. ช่วยส่งเสริมความสะดวกสบายของมนุษย์ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยทําให้มนุษย์มีความ
เป็นอยู่ดีข้ึน ช่วยส่งเสริมให้มีประสิทธิภาพในการทํางาน มีเคร่ืองมือสื่อสารโทรคมนาคม
สมัยใหม่ ทําให้ติดต่อถึงกันได้สะดวก มีระบบคมนาคมขนส่งที่รวดเร็ว สามารถใช้โทรศัพท์
ในขณะเดินทาง ไปมายังที่ต่างๆ มีอุปกรณ์อํานวยความสะดวกท่ีควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์
เช่น ลิฟต์ เคร่ืองซักผ้า เคร่ืองปรับอากาศ มีเครื่องช่วยให้เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ เช่นวิทยุ
โทรทัศน์ มีการแพร่กระจายสัญญาณ โทรทัศน์ผ่านดาวเทียม สามารถรับรู้ข่าวสารต่างๆ
จากทว่ั ทุกมุมโลกไดอ้ ย่างรวดเร็ว
2. ช่วยทําให้การผลิตในอุตสาหกรรมดีขึ้น ระบบการผลิตสินค้าในปัจจุบันเป็นระบบที่
ต้องการ ผลิตสินค้าจํานวนมาก มีคุณภาพมาตรฐาน การผลิตในสมัยปัจจุบันใช้เครื่องจักร
ทํางานอย่างอัตโนมัติ สามารถทํางานได้ตลอดยี่สิบสี่ช่ัวโมง ปัจจุบันมีการนําหุ่นยนต์เข้ามา
ชว่ ยในอตุ สาหกรรมการผลิต เทคโนโลยสี ารสนเทศจงึ มผี ลต่อการผลิตมาก
3. ช่วยส่งเสริมการค้นคว้าวิจัยส่ิงใหม่ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสาร เช่น
เครือข่าย คอมพิวเตอร์ช่วยให้งานค้นคว้าวิจัยในห้องปฏิบัติการวิจัยต่างๆ มีความก้าวหน้า
ย่ิงขึ้น ปัจจุบันงานค้นคว้า วิจัยทุกแขนงจําเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการคํานวณต่างๆ
นกั วจิ ยั นักวทิ ยาศาสตร์ ใช้ประโยชน์ จากคอมพิวเตอร์ในการจาํ ลองรูปแบบของสิ่งท่ีมองไม่
เห็นตัว ใช้ในการค้นหาข้อมูลท่ีมีจํานวนมาก และแพร่กระจายอยู่ทั่วโลก สามารถค้นหา
รายงานวจิ ยั ท่ีมผี ู้เคยทาํ ไวแ้ ลว้ และที่เกบ็ ไวใ้ นหอ้ งสมุดต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว
4. ช่วยส่งเสริมสุขภาพและความเป็นอยู่ให้ดีข้ึน คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับ
เทคโนโลยี สารสนเทศ ทําให้กิจการทางด้านแพทย์เจริญก้าวหน้าขึ้นอีกมาก ปัจจุบัน
เคร่ืองมือเครือ่ งใช้ทางการแพทย์ ล้วนแล้วแต่ใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยในการดําเนินการ

5. ช่วยส่งเสริมสติปัญญาของมนุษย์ คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือท่ีช่วยในการเรียนรู้ของ
มนุษย์ได้ดี ปัจจุบันมีการนําบทเรียนมาไว้ในคอมพิวเตอร์เรียกว่า คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
(Computer Assisted Instruction : CAI) คอมพิวเตอร์ยังเป็นเคร่ืองมือท่ีให้นักเรียน
นิสิต นักศึกษาเชื่อมโยงติดต่อกันทางอินเทอร์เน็ต สามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลข่าวสาร
ผา่ นทางเครอื ข่าย สามารถเรยี นร้กู ารใช้คอมพวิ เตอรห์ รอื เรยี นจาก ทห่ี ่างไกลได้
6. เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยให้เศรษฐกิจเจริญรุ่งเรือง การใช้เทคโนโลยีเป็นเรื่องท่ี
จาํ เป็น ตอ่ อตุ สาหกรรม กิจการค้า ธรุ กิจต่างๆ กจิ การทางด้านธนาคาร ช่วยส่งเสริมงาน
ทางด้านเศรษฐกิจ ทําให้กระแสเงินหมุนเวียนได้อย่างกว้างขวาง ผู้ผลิตในสาย
อุตสาหกรรมจะผลิตสินค้าได้มาก ลดต้นทุน ธุรกิจโดยรวมจําเป็นต้องอาศัยการ
แลกเปลี่ยนขอ้ มลู ระหว่างกัน มีการส่ือสารเกี่ยวข้องกันเกิดระบบการ แลกเปลี่ยนข้อมูล
ทางอิเล็กทรอนกิ ส์
7. ช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างกัน การส่ือสารโทรคมนาคมสมัยใหม่ช่วยย่นย่อ
โลก ให้เล็กลง โลกมีสภาพไร้พรมแดนมีการเรียนรู้วัฒนธรรมซ่ึงกันและกันมากข้ึน เกิด
ความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกัน ได้ดี ทําให้ลดปัญหาในเรื่องความขัดแย้ง สังคมไร้พรมแดนทํา
ใหม้ คี วามเปน็ อยูแ่ บบรวมกลุ่มประเทศมากขึน้
8. ช่วยส่งเสริมประชาธิปไตยในการเลือกต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทุกครั้ง มีการใช้
เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อกระจายข่าวสาร เพื่อให้ประชาชนได้เห็นความสําคัญของ
ระบบประชาธิปไตย แม้แต่ การเลือกตั้งที่มีการใช้คอมพิวเตอร์รวมผลคะแนน ใช้สื่อ
โทรทศั น์ วิทยุ แจง้ ผลการนบั คะแนนท่ีทาํ ให้ ทราบผลไดอ้ ย่างรวดเรว็
ผลกระทบในทางลบ

ผลกระทบในทางลบ

1. ทําให้เกิดอาชญากรรม เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถนํามาใช้ในการก่อให้เกิด
อาชญากรรมได้ มีการลักลอบใช้ข้อมูลข่าวสาร มีการโจรกรรมหรือแก้ไขตัวเลขบัญชี การ
แก้ไขระดับคะแนนผู้เรียน การแก้ไขข้อมูลในโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาพยาบาลคนไข้ผิด
ซงึ่ เปน็ การทาํ ร้ายหรอื ฆาตกรรม
2. ทําให้เกิดความสัมพันธ์ของมนุษย์เส่ือมถอย การใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารทําให้
สามารถติดต่อส่ือสารกันได้โดยไม่ต้องเห็นตัว การใช้งานคอมพิวเตอร์หรือแม้แต่การเล่นเกม
มีลักษณะ การใช้งานเพียงคนเดียว ทําให้ความสัมพันธ์กับผู้อื่นลดน้อยลง ผลกระทบน้ีทําให้
มีความเชื่อว่า มนุษยสัมพันธ์ของบุคคลจะลดน้อยลง สังคมใหม่จะเป็นสังคมท่ีไม่ต้องพ่ึงพา
กนั มาก
3. ทาํ ให้เกดิ ความวิตกกังวล ผลกระทบนี้เป็นผลกระทบทางด้านจิตใจของกลุ่มบุคคลบางคน
ท่ีมีความวิตกกังวลว่าคอมพิวเตอร์อาจทําให้เกิดการว่าจ้างงานน้อยลง มีการนําเอาหุ่นยนต์
มาใช้งานมากข้ึน มีระบบการผลิตท่ีอัตโนมัติมากข้ึน ทําให้ผู้ใช้แรงงานอาจตกงาน หรือ
หน่วยงานอาจเลิกว่าจ้างได้
4. ทําให้เกิดการเสี่ยงภัยทางด้านธุรกิจ ธุรกิจในปัจจุบันจําเป็นต้องพ่ึงพาอาศัยเทคโนโลยี
สารสนเทศมากขึ้น ข้อมูลข่าวสารทั้งหมดของธุรกิจฝากไว้ในศูนย์ข้อมูล เช่น ข้อมูลลูกหนี้
การค้า ข้อมูลสินค้าและบริการต่างๆ หากเกิดการสูญหายของข้อมูล อันเน่ืองมาจากเหตุ
อุบัติภัย เช่น ไฟไหม้ นํ้าท่วม หรือด้วยสาเหตุใดก็ตามที่ทําให้ข้อมูลสูญหายหมด ย่อมทําให้
เกิดผลกระทบตอ่ ธุรกิจได้
5. ทําให้การพัฒนาอาวุธมีอํานาจทําลายสูงมากขึ้น ประเทศท่ีเป็นต้นตํารับของเทคโนโลยี
สามารถนําเอาเทคโนโลยีไปใช้ในการสร้างอาวุธท่ีมีอานุภาพการทําลายสูง อาจมีผลต่อ
สงครามทมี่ กี าร ทาํ ลายล้างสูงเกดิ ข้นึ ได้
6. ทําให้เกิดการแพร่วัฒนธรรมและกระจายข่าวสารทไี่ มเ่ หมาะสมอย่างรวดเร็ว คอมพิวเตอร์
เป็นอุปกรณ์ที่ทํางานตามคําส่ังการนํามาใช้ในทางใดจึงขึ้นอยู่กับผู้ใช้ จริยธรรมการใช้
คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นเร่ืองสําคัญ ผู้สร้างเว็บไซต์หรือสร้างข้อมูลข่าวสารในเรื่องภาพท่ีไม่
เหมาะสม เช่น ภาพอนาจาร หรือภาพที่ทําให้ผู้อ่ืนเสียหาย การดําเนินการเช่นน้ีย่อมข้ึนอยู่
กับจริยธรรมของผู้ดําเนินการ นอกจากนี้ ยังมีการปลอมแปลงระบบจดหมาย เพ่ือส่งจด
หมายถงึ ผู้อน่ื โดยมีเจตนากระจายข่าวท่เี ปน็ เท็จ

จริยธรรมและความรับผดิ ชอบในการใช้ คอมพิวเตอรก์ บั ระบบสารสนเทศ

จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกําหนดข้ึนเพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรือควบคุม
การใช้ ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศ ซ่ึงเมื่อพิจารณาจริยธรรมเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศและ คอมพิวเตอร์แล้ว สามารถสรปุ ได้ 4 ประเดน็ ได้แก่

1. ความเปน็ สว่ นตวั (Information Privacy)

ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยท่ัวไปหมายถึงสิทธิท่ีจะอยู่ตามลําพังและเป็น
สิทธิท่ีเจ้าของสามารถท่ีจะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น ปัจจุบันมี
ประเด็นเกยี่ วกบั การละเมิดความเปน็ สว่ นตัวที่เป็นข้อนา่ สังเกต

2. ความถกู ต้อง (Information Accuracy)

ในการใชค้ อมพวิ เตอรเ์ พื่อการรวบรวม จัดเกบ็ และเรยี กใชข้ อ้ มูลนั้น คุณลกั ษณะที่สําคญั
ประการหนงึ่ คือความน่าเชอ่ื ถอื ไดข้ องขอ้ มูล ทั้งนี้ข้อมูลจะมคี วามน่าเชือ่ ถอื มากนอ้ ยเพยี งใด
ย่อมขน้ึ อยู่กับ ความถูกตอ้ งในการบนั ทึกขอ้ มูลดว้ ย ประเดน็ ดา้ นจริยธรรมทเี่ กีย่ วกบั ความ
ถกู ตอ้ งของขอ้ มลู โดยทว่ั ไป จะพจิ ารณาว่าใครจะเปน็ ผู้รบั ผิดชอบตอ่ ความถูกต้องของขอ้ มูลท่ี
จดั เกบ็ และเผยแพร่

3. ความเปน็ เจ้าของ (Information Property)

ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศมักจะกล่าวถึงการละเมิดลิขสิทธ์ิซอฟต์แวร์ เมื่อท่านซ้ือ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีการจดลิขสิทธ์ิ นั่นหมายความว่าท่านจ่ายค่าลิขสิทธิ์ในการใช้
ซอฟต์แวรน์ ัน้ ซึ่งลิขสิทธิ์ในการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บางโปรแกรม
อนุญาตให้ติดต้ังได้เพียง เคร่ืองเดียว ในขณะที่บางโปรแกรมอนุญาตให้ใช้ได้หลายเครื่อง
ตราบใดท่ที ่านยงั เปน็ บุคคลท่ีมีสิทธิ ในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีซื้อมา การคัดลอกโปรแกรม
ให้กับบุคคลอ่ืน เป็นการกระทําที่ต้องพิจารณา ให้รอบคอบก่อนว่าท่านมีสิทธิในโปรแกรม
น้ันในระดับใด

4. การเข้าถึงข้อมลู (Data Accessibility)

คือ การป้องกันการเข้าไปดําเนินการกับข้อมูลของผู้ใช้ท่ีไม่มีส่วนเก่ียวข้อง และเป็นการ
รักษา ความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิ์ในการใช้งานระบบ เช่น การบันทึก การแก้ไข
ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังน้ัน ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มีการออกแบบ
ระบบรักษาความปลอดภัย ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อ่ืนโดย
ไม่ได้รับความยินยอมน้ัน ถือว่าเป็น การผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว
ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครือข่ายร่วมกัน หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและ
ข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่างเคร่งครัดแล้ว การผิดจริยธรรมตามประเด็นที่กล่าวมา
ข้างต้นกค็ งจะไมเ่ กิดข้ึน

จรรยาบรรณการใชเ้ ครือข่ายสังคมออนไลน์

1.ใหร้ ะมัดระวังการละเมิดหรือสรา้ งความเสียหายให้ผอู้ ืน่
2. ให้แหลง่ ทม่ี าของข้อความ ควรอ้างองิ แหลง่ ขา่ วได้
3. ไม่กระทําการรบกวนผูอ้ ่ืนด้วยการโฆษณาเกนิ ความจําเปน็
4. ดแู ลและแกไ้ ขหากตกเป็นเหย่อื จากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพ่ือป้องกันมิให้คนอื่น
เป็นเหยื่อ
บัญญัติ 10 ประการ

1. ต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรท์ าํ รา้ ยหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไมร่ บกวนการทํางานของผูอ้ นื่
3. ตอ้ งไมส่ อดแนม แก้ไข หรือเปดิ ดแู ฟ้มข้อมลู ของผู้อน่ื
4.ตอ้ งไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์เพอ่ื การโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร
5. ต้องไม่ใชค้ อมพิวเตอร์สรา้ งหลักฐานท่เี ปน็ เทจ็
6. ตอ้ งมีจรรยาบรรณการใช้เครือขา่ ยสงั คมออนไลน์
7. ให้ระมัดระวังในการละเมิดหรือสร้างความเสียหายใหผ้ ้อู นื่
8. ใหแ้ หล่งทม่ี าของข้อความ ควรอา้ งองิ แหลง่ ข่าวได้
9. ไมก่ ระทาํ การรบกวนผอู้ นื่ ด้วยการโฆษณาเกนิ ความจําเป็น
10. ดูแลและแก้ไขหากตกเป็นเหยือจากโปรแกรมอันไม่พึงประสงค์ เพ่ือป้องกันมิให้คน
อืน่ เป็นเหยื่อ

สรุป

การประยกุ ตค์ วามรู้ทางวทิ ยาศาสตรม์ าใช้ในระบบสารสนเทศ ต้งั แต่กระบวนการ
จดั เก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยใหไ้ ด้สารสนเทศที่มี
ประสิทธภิ าพและรวดเรว็ ทนั ตอ่ เหตุการณ์ ประกอบด้วย ฮารด์ แวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล
ขั้นตอนการปฏบิ ัติ และระบบการส่อื สารขอ้ มูล มีลักษณะทีด่ ี คือ ถูกตอ้ งแม่นยาํ
ครบถว้ น ตรงประเด็นทีต่ อ้ งการ รวดเรว็ ทันเวลา และเชอ่ื ถือได้ ในปัจจุบัน การเขา้ ถงึ
การใช้งานทําได้ง่ายท้งั ด้านการดําเนินชวี ิต ธรุ กิจ สังคม ความม่นั คง ดงั น้ันอาจเกิด
ผลกระทบ ทงั้ ดา้ นบวกและด้านลบ ผูใ้ ชง้ านสารสนเทศจงึ ตอ้ งมีความรบั ผิดชอบ และอยู่
ในกรอบของกฎหมาย จรรยาบรรณ จรยิ ธรรมในการใชง้ าน


Click to View FlipBook Version