43
บทที่ 3
การจดั การความเส่ียง
สาระการเรยี นรู
เปนการวิเคราะหศักยภาพ และการจัดการเก่ียวกับผลการดําเนินงานที่ผานมาจนถึงปจจุบัน โดย
มงุ เนนถึงยอดการขายสนิ คา และบริหารผลกําไร สภาพแวดลอ มภายใน ภายนอก จดุ ออ น จดุ แข็ง โอกาส และ
อุปสรรค มสี ่งิ ใดบางท่ีทําใหเกิดความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ จะไดแนวทางในการจัดการแกไขความ
เสี่ยงเหลา น้นั เพอ่ื พฒั นาอาชพี ใหม นั่ คง
ตวั ช้วี ัด
1. วเิ คราะหศ กั ยภาพ และจดั การเกย่ี วกับผลการดําเนินการในอดตี ที่ผานมา 2 - 3 ป
จนถึงปจจุบนั
2. อธิบายวธิ แี กปญ หาความเสย่ี งเพอื่ ความม่นั คงของอาชีพ
3. สามารถวางแผนปฏิบตั กิ าร
ขอบขา ยเนอ้ื หา
เรื่องท่ี 1 ความหมายของความเส่ยี ง และการจดั การความเส่ยี ง
เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพ และการจดั การความเสยี่ งกับผลการดําเนินงาน
เร่อื งที่ 3 การแกป ญหาความเส่ยี ง
เรือ่ งท่ี 4 การวางแผนปฏบิ ตั กิ ารจัดการความเส่ียง
44
เรอื่ งที่ 1 ความหมายของความเสยี่ ง และการจดั การความเส่ยี ง
ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณหรือการกระทําใด ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นภายในสถานการณที่ไมแนนอน
และสงผลกระทบหรือสรางความเสียหายหรือความลมเหลว หรือการลดโอกาสที่จะบรรลุเปาหมายและ
วัตถุประสงค เชน การลงทุนใดท่ีมีความไมแนนอนในอัตราผลตอบแทนสูงความเสี่ยงก็จะสูงตาม ดังนั้น
จงึ อาจกลาวไดว า ความเสย่ี ง คอื อตั ราของความไมแนน อน
การจัดการความเส่ียง หมายถึง กระบวนการในการวิเคราะห ประเมิน ดูแล ตรวจสอบ และควบคุม
ความเส่ียงที่สัมพันธกับกิจกรรมหนาท่ีและกระบวนการทํางาน เพื่อใหงานลดความเสียหายจากความเส่ยี ง
มากท่ีสุด อนั เน่ืองมาจากภยั ทีต่ อ งเผชิญในชว งเวลาใดเวลาหน่งึ หรือเรียกวา อุบตั ิภัยทีย่ ากจะหยั่งรูวาจะเกิดขึ้น
เม่ือใด
ความสาํ คญั ของความเสย่ี ง
ในการบริหารจัดการทั่วไป จะตองดําเนินงานตามวัตถุประสงคและเปาหมายโดยเฉพาะที่จะ
เกยี่ วของกับการควบคมุ เพื่อใหไดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายน้ัน สิ่งท่ีตองเนนคือ การตรวจสอบภายใน การ
ควบคมุ ภายใน การบริหารจัดการความเสีย่ ง
ผลกระทบจากความเสี่ยง
ผลของความเสย่ี งอาจสง ผลกระทบถึงองคก ารได ดังน้ี
1. ความเส่ียงตอการดาํ เนนิ การทข่ี าดทุน ผลการดาํ เนินงานท่ีขาดทนุ ขององคการแสวงหากาํ ไรท่ีเกิด
จากการตัดสินใจผิดพลาดของผูบริหาร หรือเกิดจากภัยธรรมชาติที่ไมคาดฝน อาจนําไปสูความลมสลาย
ขององคการได สวนองคก ารทางการศึกษาถึงแมไ มไ ดเปนองคการแสวงหาผลกําไร หากผูบริหารตัดสินใจ
ผดิ พลาดยอมสง ผลถงึ ความชะงักงันหรอื ลม เหลวไดเ ชน กัน
2. ความเสี่ยงตอความลมเหลวของนโยบายหรือโครงการ หากผิดพลาดในนโยบาย ยอมสงผล
ตอทิศทางการพัฒนา หากเปน ระดบั โครงการก็จะสง ผลถึงความสญู เปลาของโครงการ จากการไมไดศึกษา
ความเปนไปได ไมไดคํานึงจุดคุมทุน หรือมีการทุจริตคอรัปชั่น โดยเฉพาะโครงการของภาครัฐที่ประสบ
ความลมเหลว
3. ความเส่ียงตอความเช่ือถือไววางใจ ความสําเร็จหรือความลมเหลวของผูบริหาร จะส่ังสมถึง
กระแสนิยมและความไวว างใจของสาธารณชน
ทําไมจึงตอ งปองกันความเสยี่ ง
ทุกคนเห็นความสาํ คญั ของการปอ งกันความเสีย่ งโดยการลดความเสี่ยงอยูแ ลว เชน ในชีวิตจริงการ
ทําประกันภัยรถยนต การทําประกันชีวิต หรือประกันสุขภาพ เหลานี้เปนการปองกันความเสี่ยงสวน
บคุ คล สวนการปอ งกันความเสีย่ งจากองคก าร เพ่ือลดความเสยี่ งในองคก ารนั่นเอง จึงพอสรุปได ดงั นี้
1. เพ่ือใหผ ลดาํ เนนิ งานของหนวยงานเปน ไปตามเปาหมาย และวตั ถุประสงคทีว่ างไว
2. เพื่อสงเสริมความมั่นคง และลดความผันผวนของรายได อันจะทําใหองคการเติบโตอยางมี
เสถียรภาพ
45
3. ลดโอกาสท่ีจะทําใหเกิดการสูญเสียจากการดาํ เนนิ งาน
4. เพิม่ คุณคาใหก ับบุคลากร และผูเกีย่ วขอ ง
5. เพื่อใหเ กิดการบรู ณาการกบั ระบบงานอ่ืนไดดีกวา เดิม
เรอ่ื งที่ 2 การวิเคราะหศักยภาพ และการจดั การความเสย่ี งกบั ผลการดาํ เนนิ งาน
ผูประกอบการตองทาํ การศึกษาวาธุรกิจของตนเปนอยางไร มีปจจัยอะไรที่มีผลกระทบตอความ
เสย่ี ง การจําแนกความเสย่ี งเพอื่ ประโยชนใ นการบรหิ ารจัดการ เชน ความเส่ียงทั่วไป และความเสี่ยงเฉพาะ
พ้ืนที่ ในแตละประเภทมีรายละเอียดแตกตางกัน บางอยางสามารถปองกันได การศึกษาความเส่ียงเฉพาะ
พื้นที่ในสถานศกึ ษา นอกจากจะศึกษาปจจัยภายในท่ีมากระทบกับความเส่ียงแลว ยังตองพิจารณาถึงความ
เสี่ยงท่ีอาจจะเกดิ จากการบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย การเงนิ การบริหารจัดการทรพั ยส ิน การพสั ดคุ รภุ ัณฑ และ
นวัตกรรมเทคโนโลยี
การเขา ใจระบบและตวั แบบ เพอ่ื นํามาจัดทาํ การบริหารความเส่ียง การศึกษาวงจรความเสี่ยงทําให
ผูบรหิ ารไดเ ห็นภาพรวมของความเสีย่ งท้ังหมด เพื่อประโยชนในการวางมาตรฐานระบบการควบคุมภายใน
การคนหา การระบุ การวิเคราะหความเส่ยี ง และการจัดลาํ ดับความเส่ยี ง วงจรความเสย่ี ง ท่ฝี า ยบรหิ ารจัดการ
ความเสีย่ งจะตอ งศกึ ษา เพอ่ื นํามาบริหารวามีวิธใี ดบา ง เชน ใชการถา ยโอนความเส่ียงหรือการควบคุมภายใน
เปน ตน
ในการวิเคราะหศักยภาพ และการจัดการความเสีย่ งกบั ผลการดําเนินงาน ประกอบดวยปจจัยสําคัญ
ดงั ตอไปนี้
1. สินคา หมายถึง สิ่งที่มีตัวตน เชน เส้ือ รองเทา หรือไมมีตัวตน เชน แกส ซื้อขายได และสราง
ความพึงพอใจใหก บั ผบู รโิ ภคได
2. ประเภทสนิ คา แบงตามลกั ษณะการซอ้ื หรือการบรโิ ภค แบง ไดเปน 2 ประเภท คอื
1) สินคา อุปโภค บรโิ ภค หมายถงึ สนิ คาหรอื บรกิ ารทผี่ ซู ื้อ ซ้อื ไปเพือ่ ใชเ อง หรือ
เพ่อื ใชใ นครอบครัว สินคาอุปโภค บรโิ ภค แบง ออกเปน 3 ประเภท คอื
(1) สนิ คา สะดวกซ้ือ เปนสินคา ทีผ่ ซู ื้อหาซ้ือไดงาย ซือ้ บอ ยครงั้ ใชเวลาในการซ้อื นอย ราคาสินคา
จะถูก การซอื้ มักจะมีการระบยุ ี่หอ เพราะผซู ือ้ คุนเคยกับสินคา น้นั เชน ยาสฟี น ยาสระผม สบู ผงซกั ฟอก เปน ตน
(2) สนิ คาจับจา ยหรอื สนิ คาเลอื กซอ้ื เปนสนิ คา ทผี่ ซู ือ้ เปรียบเทียบคุณภาพ ราคา รูปแบบ สี กอน
การตัดสนิ ใจจะเดนิ ดูหลาย ๆ รา นกอ น เชน เส้ือผา รองเทา เคร่อื งประดับ เปนตน
(3) สินคาพิเศษ เปนสินคาที่มีคุณสมบัติพิเศษ ราคาแพง เชน รถยนต บาน ผูซื้อจะคัดเลือก
อยางละเอยี ด เปรียบเทยี บราคาสนิ คา และคุณภาพของสนิ คา
2) สินคาอุตสาหกรรม หมายถึง สินคาท่ีซื้อมาเพ่ือนํามาใชผลิตเปนสินคาอ่ืนตอไป หรือเพอ่ื ใชใ น
การดาํ เนนิ งานของธรุ กจิ เชน วัตถุดบิ อปุ กรณเ ครอ่ื งจกั ร เคร่อื งมอื ส่งิ กอ สราง เปนตน
46
3. คา ใชจ ายตา ง ๆ หมายถึง ตนทุนสวนทหี่ ักออกจากรายไดใ นรอบระยะเวลาทดี่ าํ เนินการงานหนง่ึ ๆ
คา ใชจ า ยสามารถแบงไดเ ปน 3 ประเภท ดงั นี้
1) ตนทุนขาย หมายถึง ตนทุนของสินคาท่ีขายหรือบริการท่ีให กลาวคือในกิจการซ้ือเพ่ือ
ขาย ตนทนุ ของสนิ คา ทข่ี ายจะรวมราคาซอื้ และคาใชจ ายอืน่ ๆ ทจ่ี ําเปน เพ่ือใหสินคาอยูในสภาพพรอมท่ีจะ
ขาย สว นในกจิ การผลิตเพื่อขาย ตนทุนของสินคาท่ีขายคือ ตนทุนการผลิตของสินคาน้ัน ซ่ึงประกอบดวย คา
วัตถดุ บิ คาแรงงานและโสหยุ การผลติ
2) คาใชจ า ยในการดําเนนิ งาน หมายถงึ คา ใชจายทเี่ กดิ ขึ้นอนั เนอ่ื งมาจากการขายสนิ คา หรอื
บรกิ าร และคาใชจายทเี่ กดิ ขน้ึ เนอื่ งจากการบรหิ ารกิจการอนั เปน สว นรวมของการดาํ เนนิ งาน
3) คาใชจายอื่น ๆ หมายถึง คาใชจา ยนอกเหนอื จากทจี่ ดั เขา เปนตน ทนุ ขาย และคาใชจายใน
การดาํ เนินงาน เชน ดอกเบย้ี จายภาษเี งนิ ได
คา ใชจ า ยสําหรับธรุ กิจขายสินคา จะประกอบดวย ตนทุนขาย คาใชจายในการดําเนินงาน
และคาใชจายอื่น ๆ สําหรับธุรกิจบริการคาใชจายจะประกอบไปดวยคาใชจายในการดําเนินงานและ
คาใชจ า ยอื่นเทา นนั้
4. ผลกาํ ไร คือผลตอบแทนท่ีกจิ การไดรบั จากการขายสนิ คาหรือบริการ จากการประกอบธุรกจิ หรอื
เกดิ จากการดาํ เนินงาน รวมทัง้ กจิ กรรมอ่ืนซ่ึงเกยี่ วเน่อื งกบั การประกอบธุรกิจหรอื การดําเนนิ งาน
5. คแู ขง ขนั การมีคแู ขง ขนั ทางธุรกจิ เปรยี บเสมือนมียาชูกําลังท่ีจะทําใหกิจการ และพนักงานขายตาง ๆ
มีความเขมแขง็ และอดทนทีจ่ ะดําเนนิ การตอ ไปอยา งมีประสิทธิภาพ มีความกระตือรือรน สรางสรรค และ
พัฒนาตนเองใหม ีคุณภาพอยางตอ เน่ือง ถึงจะแขงขันกับคแู ขงขันในตลาดธรุ กจิ ไดอยา งแทจรงิ
คูแขงขันหมายถึง บุคคล กลุมบุคคลหรือสถาบันที่ดําเนินกิจการดานธุรกิจอยางเดียวกัน
หรือใกลเคียงกัน ซ่ึงสามารถใชแทนกันได โดยตองแขงขันกันดานการขาย การผลิตทั้งปริมาณและ
คุณภาพ เพ่ือเปนกิจการที่ยึดครองตลาดใหมากที่สุด นอกจากน้ีการแขงขันของกิจกรรมทางธุรกิจยังมี
ความสาํ คัญตอ ประชาชนท้ังระบบเศรษฐกจิ ดงั น้ี
1) มีสนิ คาใหเลือกหลากหลายมากขน้ึ เมื่อธุรกจิ ตางแขงขนั กนั มากกจ็ ะตองมีสินคา และบรกิ าร
เพ่มิ มากขึ้น เปน ผลดีแกป ระชาชนท่จี ะมีโอกาสเลอื กใชสนิ คาไดต ามความตองการ
2) สินคามีคุณภาพสูงขึ้น การแขงขันเพื่อครองสวนแบงของตลาดใหไดมากที่สุด
และนานที่สุด สนิ คา จะตอ งมคี ณุ ภาพมากทีส่ ุดเพราะเปนแรงจงู ใจสาํ คญั ของลกู คา
3) ราคาสนิ คาถกู ลง สินคาชนดิ ใดก็ตามเม่อื มีจาํ นวนมากโอกาสในการเลอื กมสี ูง คูแขงขัน
ธุรกิจจะใชกลยุทธจูงใจลูกคาดวยการลดราคา หรือใหสิทธิพิเศษตาง ๆ เพราะปริมาณสินคาที่มีอยู
ในทองตลาดคอนขางมาก
4) มีการพัฒนาสินคาแปลกใหมขึ้นเรื่อย ๆ กิจการตาง ๆ ที่ดําเนินกิจกรรมทางธุรกิจ
ที่มีคูแขงขันมากจะตองคิดคนวิธีการผลิตที่จะทําใหสินคามีคุณภาพสูงขึ้น รวมทั้งคิดคนประดิษฐ
ปรับปรุงสนิ คาอยูต ลอดเวลาเพือ่ ใหเปน ท่ีตองการของผบู รโิ ภค
47
ส่ิงท่ีควรรูเกีย่ วกบั คแู ขงขนั
พนักงานขายหากมีขอมูลที่เก่ียวกับคูแขงขันมากเทาใด ความไดเปรียบในการขายสินคา
ก็ยิ่งมีมากขนึ้ เทา นัน้ การมงุ ม่ันแตจะขายสินคาของตนเองเพียงอยางเดียวโดยไมพิจารณาสภาพตลาดและ
การขายของคูแขงขันจะทําใหเกิดปญหากับการขายของตนเอง ดังนั้นพนักงานขายควรรูขอมูลคูแขงขัน
ในดา นตาง ๆ ดังตอ ไปน้ี
(1) ขนาดของตลาด พนักงานขายจะตองหาทางทราบใหไดวาคูแขงขันครอบครอง
สวนแบงตลาดอยูมากนอ ยเพยี งใด แนวโนม การขายในอนาคตจะเปนลักษณะใด กลมุ ลูกคาท่ีสาํ คัญ ไมวา จะเปน
เพศ อายุ อาชีพ และฐานะโดยรวม
(2) การจดั จําหนายสินคา แมจ ะเปนสนิ คาชนิดเดียวกัน สินคาแตละชนิดของแตละบริษัท
หรือแตละยห่ี อ จะมีวิธกี ารจัดจําหนายสนิ คา ที่แตกตา งกนั
(3) วธิ กี ารสง เสริมการขาย การสงเสริมการขายของสินคาตาง ๆ ในปจจุบันมีหลากหลาย
วธิ ีและเปนการแขงขันที่เพ่ิมความรุนแรงมากขึ้น ไมวาจะเปนการโฆษณาดวยสื่อมวลชนทุกชนิด การลด
แลก แจก แถม สง ช้ินสว นเขา รว มชงิ โชค
(4) ลักษณะของผลิตภัณฑ พนักงานขายจะตองรูวาขณะนี้สินคาของตนมีคูแขงขันอยู
มากนอ ยเพยี งใด ยี่หอใดบาง สนิ คาของบริษัทใดกําลังครอบครองตลาด มีจุดดี จุดดอยอยางไร อะไรบางที่
เปนจุดไดเปรียบของสินคา ของตนเองกับสนิ คายี่หออน่ื ๆ
(5) ประเภทของลูกคา พนักงานขายจะตองรูวาลูกคาของคูแขงขันเปนบุคคลหรือกิจการ
ประเภทใด มีอํานาจในการจดั ซอื้ ขนาดไหน ความตองการสินคา จากคูแ ขง จาํ นวนใด ฐานะทางการเงินมัน่ คง
หรอื ไม และลูกคา เหลา นัน้ ตองการสินคาท่มี ลี กั ษณะเชน ใดบา ง
(6) ขนาดของกิจการ พนักงานขายจําเปนตองรูขอมูลเก่ียวกับกิจการของคูแขงขันวามี
ระดบั กาํ ลังความสามารถขนาดไหน เชน ขายเปน กิจการระดับครอบครวั หรอื เปน กิจการขนาดใหญท ี่มกี ําลงั
การผลิตสงู รวมท้ังเปนกิจการท่ีมสี าขาครอบคลมุ ไปท่ัวโลกหรอื ไม เพราะจะไดทราบกําลังการแขงขัน เชน
เงินทุน แมกจิ การของตนเองจะมีขนาดเลก็ กวาก็อาจจะมผี ลดี
(7) ยุทธวิธีการขายของพนักงานขาย พนักงานขายเปนบุคคลที่มีความสําคัญตอกิจการ
ทุกแหงเพราะเปนกลไกหนึ่งที่จะทําใหกิจการกาวหนาตอไป ทุกกิจการจึงตองสงเสริมและสนับสนุน
ใหพนกั งานขายศึกษาหาความรู ความชํานาญ และใหมีความสามารถแขงขันกับคแู ขง ขันได
6. สวนครองการตลาด หมายถงึ อตั รายอดขายสินคา ตอยอดขายท้ังสิ้นของคูแขงขัน ในการ
วเิ คราะหส ว นครองตลาด โดยจะหาสว นครองตลาดที่เกิดขน้ึ แลว นําไปเปรียบเทียบกับอัตราสวนครองตลาด
ที่ไดกาํ หนดไว แลว วิเคราะหถ งึ ผลตา งท่ีเกดิ ข้ึนวาเกิดจากสาเหตุอะไรแลวจึงหาวิธแี กไ ขปรบั ปรงุ ตอ ไป
7. สมรรถนะธุรกิจ หมายถงึ ความรู ทกั ษะ และคุณลักษณะที่จําเปนของบุคคลในการทํางาน
บรหิ ารธุรกิจใหป ระสบความสาํ เรจ็ มีผลงานไดตามเกณฑห รอื มาตรฐานทก่ี าํ หนดหรือสงู กวา
48
ตัวอยา งสมรรถนะ
1. สมรรถนะสว นบคุ คล ไดแ ก การตดิ ตอ สอ่ื สาร ความมนั่ ใจตนเอง ความคิดสรางสรรค
และการสรางนวัตกรรม เปน ตน
2. สมรรถนะของผูจัดการ ไดแก การติดตอสื่อสาร การวางแผน และการบริหารงาน
การทาํ งานเปน ทมี ความสามารถเชิงกลยุทธ ความสามารถดานตางประเทศ ความสามารถในการจัดการ
ตนเอง เปน ตน
8. สภาพแวดลอมภายใน หมายถึง การศึกษาจุดแข็ง จุดออน กลยุทธและวิธีการของ
คูแขง ขัน เพ่อื ใหส ามารถหามาตรการในการตอบสนอง ประกอบดวย
จุดแข็ง คือ การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกร สิ่งแวดลอมใดมีศักยภาพ มีคุณภาพ
ถือวา เปนจุดแขง็ เชน ผลติ ภณั ฑม คี ุณภาพดี เปนตน
จุดออน คือ การวิเคราะหสิ่งแวดลอมภายในองคกร ส่ิงแวดลอมใดท่ีมีประสิทธิภาพ
และสรางความเสยี หายใหองคก รถือวาเปน จุดออ น เชน บุคลากรขาดความชาํ นาญในการผลิตสินคา เปนตน
9. สภาพแวดลอมภายนอก หมายถึง การศึกษาโอกาสและอุปสรรค ตองมีความรูเก่ียวกับ
โครงสรางธุรกิจของตัวองคกรเอง ขอมูลลูกคา ขอมูลคูแขง ขาวสารทางเศรษฐกิจท้ังภายในและภายนอก
ประเทศมาเปน ตวั ชว ยในการวเิ คราะหบนพ้ืนฐานของขอ มูลทีเ่ ปน จริง
โอกาส คอื การวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายนอกองคกร ส่ิงแวดลอมใดท่ีสงผลดีตอองคกร
และเอื้อใหองคก รประสบความสาํ เร็จตามเปาหมายถอื วา เปน โอกาส เชน การทาํ ธรุ กจิ การขนสง ราคาน้ํามัน
ที่ต่ําลงถือเปนโอกาสในการทํากําไร เปน ตน
อปุ สรรค คอื สิ่งแวดลอมภายนอกองคกรท่ีสงผลเสียหายตอองคกร เชน ในชวงเศรษฐกิจตกตํ่า
ผูบริโภคมอี ํานาจการซือ้ ลดลง สงผลใหยอดขายสินคาตาง ๆ ลดลง และภัยน้ําทวมกอใหเกิดความเสียหาย
กับผูประกอบการตาง ๆหรือการทําธุรกิจการขนสง ถานํ้ามันข้ึนราคา ถือวาเปนอุปสรรคตอองคกร เพราะจะทําให
ผลกําไรลดลง เปน ตน
10. วงจรความเสี่ยง
วงจรความเสี่ยง หมายถึง การตัดสินใจของผูบริการทุกระดับจะตองเผชิญกับความเส่ียง
การทจี่ ะตองเผชญิ และตอ งเอาชนะความเส่ยี งไดน ้นั ผบู รหิ ารจาํ เปนตอ งรแู ละเขา ใจวงจรความเสี่ยงเพอ่ื จะได
นํามาใชในการบรหิ ารจดั การความเสยี่ งตามวตั ถปุ ระสงคข ององคก ร
49
การสรางตนแบบวงจรความเส่ียงจะทําใหผูบริหารไดมองเห็นภาพรวมของความเส่ียง
ทง้ั หมด สามารถนาํ มาใชในการวางมาตรฐานระบบควบคุมภายในของผูบริหารหรือของผูตรวจสอบภายใน
อีกดวย รวมทั้งการนําผลการปฏิบัติตามตนแบบวงจรความเส่ียงมาวางแผนการตรวจสอบ หรือการวาง
แผนการตรวจสอบภายในของผตู รวจสอบไดอีกวิธหี นงึ่
7 2 3
การตรวจสอบ สํารวจ คนหาและระบุ
ความเส่ยี ง ความเสี่ยง ความเสี่ยง
6 1 4
การบรหิ าร ทําความเขา ใจ การวิเคราะห
ความเสยี่ ง วัตถปุ ระสงคของ ความเสีย่ ง
องคกรนนั้ ๆ
5
การประเมิน
และจัดลาํ ดับ
ความเส่ียง
ภาพ แสดงตน แบบวงจรความเสีย่ ง
50
1. ทําความเขาใจวัตถุประสงคขององคการ เพื่อใหบุคลากรทุกคนไดเขาใจทิศทาง
และจุดมุงหมาย การที่จะทําใหบรรลุวัตถุประสงคหรือเปาหมายขององคการ ตองอาศัยการสนับสนุน
จากองคป ระกอบของวตั ถปุ ระสงค
2. การสํารวจความเส่ียง ผูบริหารควรมอบหมายใหมีผูรับผิดชอบ โดยเฉพาะทําหนาท่ี
สํารวจความเสี่ยงอาจเปน ฝายตรวจสอบ หรือผูตรวจสอบภายใน แตงตั้งผูรับผิดชอบ เปนฝายบริหาร
ความเสี่ยงโดยมอบหมายใหคณะทํางานจากผูเช่ียวชาญของหนวยงานตาง ๆ เปนคณะทํางานเฉพาะกิจ
จนกวากิจกรรมการสํารวจความเสี่ยงแตละครงั้ จะแลวเสรจ็
3. การคนหาและระบุความเสีย่ ง เปน การคนหาความเส่ยี งทตี่ อ งการจากขอ มลู ตา ง ๆ
4. การวเิ คราะหค วามเสี่ยง การวเิ คราะหข ้ึนอยกู ับลกั ษณะความเสีย่ ง และชนิดของเครื่องมอื
ท่จี ะพจิ ารณามาใชในการวิเคราะหท ี่นยิ มกนั คือ การวเิ คราะหเ ชงิ เปรยี บเทียบ
5. การประเมินและจัดลําดับความเส่ียง การประเมินความเส่ียง ความเส่ียงมีท้ังรูปธรรม
และนามธรรม แตห ลกั การประเมินจะตองทาํ ใหเหน็ ถงึ ความชดั เจน แปลผลออกมาเปนเชิงรูปธรรมท่ีสัมผัสได
วัดได กลาวคือ วัดเปนจํานวนได และวัดเปนเวลาได การจัดลําดับความเสี่ยงอาจจัดเปน ความเส่ียงสูง
ความเสย่ี งปานกลาง ความเสี่ยงต่าํ เมื่อสรุปผลออกมาไดแลว จงึ นาํ ไปบริหารความเส่ียงตอไป
6. การบริหารความเส่ียง ถือเปนหัวใจของความสําเร็จขององคการโดยตรง ท้ังน้ี เพราะ
ความเส่ียงเปนอุปสรรคสําคัญตอความสําเร็จตามวัตถุประสงคขององคการ ดังน้ัน จึงเปนหนาท่ีของ
ฝายจดั การทต่ี องรบั ผิดชอบบรหิ ารความเส่ยี งใหเกิดประโยชนสูงสดุ ตอ องคก าร
7. การตรวจสอบความเสี่ยง เปนกระบวนการที่เกี่ยวกับการควบคุม กํากับ และติดตามผลวา
กลไกลการบริหารความเสี่ยงมีการปฏบิ ตั ติ ามหรือไมเพียงใด โดยการสอบทานความเส่ียง และการควบคุม
ภายใน การประเมินระบบควบคุมภายใน การวางมาตรการปรบั ปรุงแกไ ข และการสรางสัญญาณเตือนภัย
ผูบริหารองคก ารจะตองตรวจสอบความเส่ยี งมใิ หเ กิดขึ้น หรอื ถามีกส็ ามารถควบคมุ ปองกนั
ใหเ กิดแตน อ ยที่สดุ
51
เร่ืองท่ี 3 การแกปญ หาความเสย่ี ง
การแกไขปญหาความเสี่ยง หมายถึง การทําใหเกิดสภาพการณท่ีเราคาดหวัง การที่คน
จาํ นวนมากไมส ามารถแกไขปญ หาตนเอง หรอื ผบู รหิ ารไมสามารถจะแกปญหาหนวยงานของตนได ถึงแม
จะรูสภาพหรือเปาหมายอยูแลว แตก็ไมสามารถไปสูเปาหมายได ทั้งนี้ เพราะปญหาอาจมีมาก รุนแรง มี
ความสลบั ซับซอ น คลุมเครอื และแฝงไวด ว ยปญ หาอืน่ ๆ เปน ตน
การแกปญ หาความเสยี่ งมี 4 ข้นั ตอน ดังนี้
1.ขน้ั ระบปุ ญ หา
4. ขนั้ กําหนด 2. ขน้ั สาเหตุ
แนวทางแกไ ขปญ หา ของปญ หา
3. ขัน้ การกาํ หนด
จุดมงุ หมายในการ
แกปญ หา
ภาพ แสดงข้นั ตอนการแกป ญหาความเสยี่ ง
52
1. ข้ันระบุปญหา เปนขั้นแรกท่ีมีความสําคัญ เพราะถาเราไมทราบปญหาเราก็ไมมีทาง
แกป ญหาได จําเปนตองหาสาเหตุแหง ปญ หา แลว จะนาํ สาเหตุนัน้ มาเรียงลําดับความสาํ คญั อะไรเปน เหตเุ ปน ผล
2. ขั้นสาเหตุของปญหา การหาสาเหตุของปญหาไมถูกตองจะทําใหการแกปญหาผิด ซึ่ง
ตามปกติคนเรามักจะยึดติดกับแนวคิด หรือความรูเดิม ๆ ทําใหมองเห็นปญหาแตเพียงดานท่ีสัมพันธ
สอดคลองกับแนวคิดน้นั ๆ อกี ประการ ผูที่รถู ึงสาเหตทุ ีแ่ ทจ รงิ แลว รบี ดวนสรปุ โดยไมพยายามคนหาสาเหตุ
อ่ืน ๆ
3. ข้ันการกําหนดจุดมุงหมายในการแกปญหา การคัดเลือกสาเหตุที่กอใหเกิดปญหาแลว
นําไปหาแนวทางแกไ ขจะทําใหปญหาน้นั ไดร ับการแกไข เชน ปญหาอัตราการเพิ่มของประชากรสูงมาจาก
สาเหตุอะไร คนเกดิ มาก คนตายนอย หรอื คนอพยพเขา มามาก เปนตน
4. ข้นั กาํ หนดแนวทางแกไ ขปญหา การกาํ หนดทางเลือกในการแกไขปญหาซึ่งอาจจะเปน
ทางเลือกท่ีสามารถนําไปใชแกปญหาไดจริง ไมใชเปนเพียงอุดมการณหรืออุดมคติ หรือทางเลือกนั้น
สามารถนํามาเปรียบเทียบกันได ทง้ั ทว่ี ัดเปนตวั เงินได และไมส ามารถวดั เปน ตวั เงินได
การเลือกวิธีที่ดที สี่ ุดในการแกไ ขปญ หานน้ั ควรมกี ารเปรยี บเทียบตัวเลือกทั้งหมดท่ีไดดวย
วิธีตาง ๆ โดยประเมนิ ตวั เลอื กแตละตวั แลว จงึ ตดั สนิ ใจเลอื กวิธีแกปญหาที่ดีที่สุด หรือหาวิธีใหม ปลอยให
ปญ หาคล่คี ลายไปเองโดยไมตองทําอะไร
53
เรือ่ งที่ 4 การวางแผนปฏบิ ัตกิ ารจัดการความเสีย่ ง
การวางแผนปฏิบตั กิ ารจดั การความเสี่ยง ควรมีผแู ทนจากฝายตา ง ๆ ในองคการเปนเสมือน
คณะทาํ งานกลาง หากคณะทาํ งานยังไมมคี วามชํานาญพอ ควรจางทปี่ รึกษาเขามาทาํ งานรว มกนั เพื่อวางแผน
ปฏิบตั ิการจัดการความเส่ียง โดยเร่ิมจากการสรางตัวแบบบริหารความเส่ียงระดับองคการ ซ่ึงจะตองมีการ
ทบทวน วเิ คราะห ตดั สินใจ และประเมนิ ความเส่ยี งขององคก ารกอ น ดังน้ี
1. กําหนดตวั ชีว้ ดั ประสทิ ธภิ าพ
2. จดั การฝก อบรมใหความรกู บั ผูแทนฝายตา ง ๆ ใหต ระหนักถึงความเสี่ยง
3. จดั ทําแบบสอบถาม
4. จัดใหม กี ารสมั ภาษณ
5. ดาํ เนนิ การทบทวนเอกสารท่ีมีอยูจากฝา ยตา ง ๆ โดยเนนเฉพาะดา นความเส่ยี ง
6. จัดสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการอยา งตอ เน่อื ง
7. จดั ทาํ ตัวแบบความเส่ียง
8. ตรวจสอบตดิ ตามพืน้ ทขี่ องฝา ยตา ง ๆ
9. วิเคราะหส ่ิงที่ไดจ ากการประเมิน
ส่งิ ท่จี ะไดจากการดําเนนิ งานในขน้ั น้ี มีดังนี้
1. สามารถบงช้ีไดว าความเสย่ี งขององคก ารมีอะไรบางอยา งชัดเจน
2. สามารถจัดลาํ ดับความสําคญั และประเมนิ ความเส่ยี งเหลา นนั้
3. จัดทําแผนปฏิบัติการจัดการความเสี่ยงในเรื่องท่ีสาํ คัญไดอยางชดั เจน
4. ไดรายงานการบริหารความเสี่ยงตอ ผบู ริหารได
5. สามารถจัดลําดับแผนความเส่ียงตามความสําคัญ และจําเปนกอนหลังโดยทําเปน
แผนปฏิบัตกิ ารที่ชัดเจน
การวางแผนปฏิบัตกิ ารจดั การความเส่ยี ง ประกอบดวยข้นั ตอนดําเนนิ การ ดังน้ี
1. สํารวจความเสย่ี งในองคก าร การสํารวจความเสย่ี งทัง้ องคก ารโดยศึกษาจากตัวแทนฝายตาง ๆ
ดวยวิธีการตอบแบบสอบถาม การสัมภาษณ เพื่อใหไดขอมูลท่ีเปนเหตุเปนผลตอความเสี่ยงขององคการ
โดยนําขอ มลู มากรอกในตารางความเสยี่ งทกี่ ําหนดไว ตามตัวอยา งดงั นี้
2. ประเมนิ ความเสยี่ งในระดบั องคก าร คณะทาํ งานกลางรวบรวมขอมูลความเสย่ี ง จากฝายตาง ๆ
ท่ีเก่ียวของ นาํ มาจัดลาํ ดับความเสี่ยง โดยอาจเชิญผูมสี ว นเกี่ยวของรวมพจิ ารณา
3. กําหนดตวั ควบคมุ ความเสย่ี งท่ีจะเกดิ ข้ึนในโอกาสตา ง ๆ รวมถึงผลกระทบท่อี าจเกิดขน้ึ ได
4. การทําแผนปฏิบตั ิการ จะตอ งเลือกความเส่ียงสูงสุดท่ีเปนวิกฤติกอนมาทําแผนปฏิบัติการ
เชน การทจุ รติ คอรรปั ช่นั การผนั ผวนจากราคาสนิ คาตนทุน เปนตน
5. การทาํ รายงานสรุปความเสี่ยง เพ่ือนําขอมูลความเส่ียงมาจัดทําแผนปฏิบัติการการจัดการ
ความเสย่ี ง โดยเรือ่ งวิกฤติทต่ี องเรงแกไ ข
54
ตวั อยาง แสดงขอ มลู ของความเส่ยี งภายในองคก ารทง้ั หมดของฝา ยเทคโนโลยี
ลําดบั ความเสี่ยง สาเหตุ ผลกระทบ การควบคุม ประสทิ ธิผล
ในปจจุบนั ในการ
1 การเพิม่ ขนึ้ ของเวบ็ ควบคุม
แอพพลเิ คชน่ั ใน
ปจจุบัน แนวโนม บรษิ ัทตองใหบริการ ใหผูพัฒนาระบบมี พอใช
2 การทาํ นุบํารุง ทางดา นพาณิชย ผา นทาง ความรู ความชาํ นาญ
เครอ่ื งคอมพิวเตอร
ขนาดใหญตอ งใช อเิ ล็กทรอนิกส อิเล็กทรอนกิ ส ในโครงสรา ง
ความพยายามมาก
มากขึน้ ตาม พ้ืนฐานของเวบ็
3 ศนู ยค อมพิวเตอร
มปี ญหา แนวโนม มากขึ้น
ขาดบุคลากร ไมสามารถ จางบริษัท พอใช
ใหบ ริการไดด ี ขา งนอกทํา
ไฟไหม ระบบธรุ กจิ ทง้ั หมด มีสถานทส่ี าํ หรับ ดี
แผน ดนิ ไหว ไมสามารถดําเนิน หนว ยประมวลผล
ระเบดิ ไฟดับ ตอไปได มากกวา 1/ มีระบบ
สาํ รอง
สรปุ
ดงั น้ันการบริหารจัดการความเส่ียงท่ีเปนระบบจะตองไดรับความรวมมือจากบุคลากรทุกคน
ทุกฝายในหนวยงาน ซึ่งตองถือวาเปนกิจกรรมของทุกคนในองคการ ผูบริหารจะตองสรางความเขาใจ
ใหท กุ คนตระหนักถงึ ภยั วิกฤต ความเส่ียง ทกุ คนตอ งทําเปนประจําและทําอยา งตอเน่ืองเปนระบบ มีรูปแบบ
ทีช่ ดั เจน
55
หลกั การบริหารความเสยี่ งประกอบดวย
1. การวางแผนกลยุทธ
2. การวิเคราะหความเสีย่ ง
3. การควบคุมความเสี่ยง
ในการดําเนนิ งานปฏบิ ัตกิ ารจัดการความเส่ยี ง จะไดมาจากฝายและองคการมาชวยกันประเมิน
ความเสี่ยงตาง ๆ แลวจัดลําดับวาอะไรเปนความเสี่ยง ระดับมากนอยเพียงใด รุนแรงแคไหน เพื่อนํา
ความเสี่ยงน้ัน ๆ มาบริหารจัดการกอน หลัง สวนการพิจารณาตัวควบคุมความเส่ียงทําใหเห็นสภาพการ
บริหารความเสี่ยงในองคการ วามีการกําหนดอยางไร ในการทําแผนปฏิบัติการบริหารความเสี่ยง
โดยเรียงลําดับวิกฤตวาอะไรมากอน และอะไรมาหลัง ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทายของการบริหารความเส่ียง
ที่มีรายละเอียดในเชงิ ปฏิบตั กิ าร สามารถนําไปใชไดจริงในหนว ยงาน
56
กจิ กรรมที่ 1
การวิเคราะหศักยภาพและการจัดการความเสย่ี งในองคการ
ใหผูเรียนแบงกลุม ๆ ละ 5 คน เลือกประธาน ผูนําเสนอ และเลขาแลวรวมกันพิจารณา
ตามประเดน็ ดังตอ ไปน้ี
1. อาชพี ……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
2. ขน้ั ระบุปญหา……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
3. ข้นั หาสาเหตขุ องปญ หา……………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
4. ขั้นกําหนดจดุ มงุ หมายในการแกปญหา……………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
5. ขน้ั กําหนดแนวทางแกปญหา……………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………..
57
บทที่ 4
การจัดการการผลิต การบริการ
สาระการเรยี นรู
ในสภาวะการแขงขันทางการคา และการตลาดยุคโลกาภิวัตน ธุรกิจตองมีการปรับตัว
ท่รี วดเรว็ เพื่อตอบสนองความตอ งการของผูบริโภค ในขณะที่ผูบริโภคมีความตองการสินคาท่ีหลากหลาย
และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปจจัยสําคัญหนึ่งที่ผูบริโภคใชในการตัดสินใจเลือกสินคา และบริการ คือ
คุณภาพของสินคา จึงเปนส่ิงสําคัญที่ผูประกอบอาชีพตองใหความสําคัญ และความจําเปนในการจัดการ
การผลติ และการบริการ
ตัวชว้ี ดั
1. จัดการเกีย่ วกบั การควบคมุ คณุ ภาพ
2. อธบิ ายวธิ ีการใชนวัตกรรมเทคโนโลยีในการผลิต
3. อธบิ ายขัน้ ตอนการลดตนทุนการผลิตหรอื การบรกิ าร
4. จัดทําแผนการผลิตหรือการบริการ
ขอบขา ยเนือ้ หา
เรื่องท่ี 1 การจัดการเก่ยี วกบั การควบคุมคุณภาพการผลิตหรอื การบริการ
เร่ืองที่ 2 การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต
เร่ืองที่ 3 การลดตน ทุนการผลิตและการบริการ
58
เรอ่ื งท่ี 1 การจดั การเกีย่ วกบั การควบคุมคณุ ภาพการผลิตหรือการบรกิ าร
1. ความหมายการจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ หรือการบริการ
การประกอบการอาชีพใหมีความเจริญกาวหนานั้น จําเปนที่ผูประกอบการอาชีพตองมีความรู
ความเขาใจ ในเร่ืองการจัดการการผลิต และการบริการเปนอยางดี การจัดการการผลิตหรือการบริการมี
ความหมายสรปุ ไดด งั นี้
การจัดการ หมายถึง กระบวนการที่ดําเนินงานตามขั้นตอนตาง ๆ อยางตอเนื่อง และ
มีการประสานงานกัน เพื่อใหบ รรลเุ ปา หมายขององคกรหรอื กิจการ
การผลิต หมายถึง การจัดทํา การประกอบ หรือสรางสินคาหรือผลิตภัณฑ โดยผาน
กระบวนการแปรสภาพจากวตั ถดุ ิบ
การบริการ หมายถึง การบริการที่ดีแกลูกคา หรือการทําใหลูกคาไดรับความพึงพอใจ
มีความสขุ และไดร ับผลประโยชนอ ยา งเตม็ ท่ี
การควบคุมคุณภาพ หมายถึง การจัดกิจกรรมตาง ๆ เพื่อใหผลิตภัณฑตอบสนอง
ความตองการและสามารถสรางความพึงพอใจใหกบั ลูกคาบนแนวคดิ พนื้ ฐานวา เม่ือกระบวนการดี ผลลัพธ
ทอี่ อกมาก็จะดตี าม
2. วตั ถปุ ระสงคก ารจัดการเก่ยี วกับการควบคุมคณุ ภาพการผลติ หรือการบรกิ าร
การควบคุมคุณภาพนั้น มีวัตถุประสงคเพ่ือใหสินคาหรือผลิตภัณฑ หรือการบริการบรรลุ
จดุ มุง หมายดังตอ ไปน้ี
1) สนิ คาท่ีส่งั ซ้ือหรอื สั่งผลิตมีคุณภาพตรงตามขอ ตกลงหรอื เงื่อนไขในสัญญา
2) กระบวนการผลติ ดาํ เนนิ ไปอยางถกู ตอ งเหมาะสม
3) การวางแผนการผลิตเปน ไปตามทีก่ าํ หนดไว
4) การบรรจุหีบหอดีและเหมาะสม หมายถึง สามารถนาํ สงวัสดุยังจุดหมายปลายทาง
ในสภาพดี นอกจากนกี้ ารควบคมุ คุณภาพยังกอ ใหเกิดประโยชนต อ การผลิต คอื
1) เพ่ือใหเสียคา ใชจายหรือตน ทนุ ตาํ่ ทีส่ ดุ โดยการใชป จ จัยการผลติ และวิธีการผลิตที่เหมาะสม
2) เพ่ือใหไดปริมาณสินคาตรงตามความตองการของตลาดไมมาก และไมนอยเกินไป
จนไมส ามารถตอบสนองความตองการของตลาดได
3) เพอ่ื ใหไ ดส นิ คาตรงตามเวลาที่ลกู คาตอ งการ
4) เพ่ือใหไ ดค ุณภาพสนิ คาตรงตามที่ลูกคาตอ งการ ไมม ีจุดบกพรอ งหรอื เนาเสยี
3. ข้นั ตอนการควบคมุ คุณภาพการผลิต แบง ออกเปน 4 ขัน้ ตอน คอื
1) ขัน้ การกาํ หนดนโยบาย ในข้นั นจ้ี ะเปน การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงคกวาง ๆ เชน ระดับสินคา ขนาด
ของตลาด วิธีการจําหนาย ตลอดถึงการรับประกัน ขอกําหนดเหลานี้จะเปนเคร่ืองชี้นําวากิจการจะตอง
ทําอะไรบางเพอ่ื ใหบรรลุวัตถุประสงคทีไ่ ดวางเอาไว
59
2) ข้ันการออกแบบผลติ ภณั ฑ การออกแบบผลิตภัณฑใ นท่ีน้ี หมายถงึ การกาํ หนดคุณลักษณะของ
ผลิตภัณฑ เชน วิทยุท่ีจะทําการผลิตข้ึนนี้มีขนาดกี่วัตตสามารถรับไดก่ีชวงความถี่ และมีระบบตัดคล่ืน
รบกวนหรอื ไม เปนตนขอควรคาํ นงึ ถึงสําหรับการออกแบบผลติ ภณั ฑนคี้ ือ จะตอ งรวู าฝายผลติ มีขีดความสามารถ
มากนอยเพียงใด การออกแบบผลิตภัณฑจ ึงตอ งมคี วามสมั พนั ธก ับระบบการผลติ
3) ขั้นตอนการควบคุมคณุ ภาพของการผลติ การควบคมุ คณุ ภาพการผลติ แบงออกเปนขั้นตอนยอย
3 ขน้ั คอื การตรวจสอบคณุ ภาพของช้ินสว น การควบคมุ กระบวนการผลิต และการตรวจสอบคุณภาพของ
ผลิตภัณฑ โดยในการตรวจสอบท้ัง 3 ขั้นน้ี สวนใหญจะใชเทคนิคการสุมตัวอยาง เพราะผลิตภัณฑท่ี
ผลิตไดนั้นมีจํานวนมากไมอาจจะทาํ การตรวจสอบไดอ ยางทว่ั ถึงภายในเวลาจาํ กัด
4) ขั้นการจําหนาย การควบคุมคุณภาพ จะมีลักษณะเปนการใหบริการหลังการขาย ซึ่งในระบบ
การตลาดสมัยใหมถอื วาเปน เรอ่ื งสาํ คญั มาก เพราะสินคาบางชนิดโดยเฉพาะอยางยิ่งสนิ คา ประเภทเครื่องมือ
เคร่ืองจักรหรืออุปกรณทางอิเล็กทรอนิกส ซ่ึงมีวิธีการใชและการดูแลรักษาที่คอนขางยุงยาก ผูผลิตหรือ
ผูขายจะตองคอยดูแลเพื่อใหบริการหลังการขายแกผูซื้ออยูเสมอ เพ่ือสรางความพึงพอใจ ซึ่งจะมีผลตอความ
เชือ่ มั่นและความกาวหนาทางธุรกจิ ในอนาคต
เรื่องท่ี 2 การใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ
1. ความหมายของการใชน วัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ
การใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลิต เปนการพัฒนาความสามารถในการผลิต
ผลิตภัณฑของมนุษย ชว ยในการแกปญ หาและสนองความตอ งการของมนษุ ยอ ยางสรางสรรค โดยนาํ ความรู
มาใชก บั กระบวนการเทคโนโลยีเพ่อื สรางและใชส ่งิ ของ เครื่องใช วธิ ีการใหการดํารงชีวิตมีคุณภาพดีย่ิงข้ึน
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สามารถอธบิ ายไดดงั นี้
1) นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐใหม ที่ยังไมเคยมีใชมากอน
หรอื เปน การพฒั นาดัดแปลงมาจากของเดิมทม่ี ีอยแู ลว
2) เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษยพัฒนาข้ึน เพื่อชวยในการทํางานหรือแกปญหาตาง ๆ
เชน อปุ กรณ เคร่อื งมอื เครือ่ งจกั ร วัสดุ หรอื แมกระท่ังสง่ิ ท่ไี มไ ดเ ปนส่ิงของท่ีจับตองไดหรืออาจเปนระบบ
หรือกระบวนการตาง ๆ เพื่อใหก ารทาํ งานบรรลผุ ลเปาหมาย และครอบคลมุ ถึงเร่อื ง ดงั ตอไปนี้
(1) คน เปนแหลงทรัพยากรท่ีสําคัญ ไดแก เจาของกิจการ แรงงานคนภายนอก
ที่จางมาทํางาน เปน ตน
(2) วัสดแุ ละเครอ่ื งมือ ไดแ ก วัสดอุ ุปกรณต าง ๆ
(3) เทคนคิ วิธีการ ไดแ ก ความรูท ่ีไดจ ากการศึกษาคนควาดวยตนเอง
(4) สถานที่ ไดแ ก ไรนา ฟารม ภเู ขา แมนา้ํ ทะเล สถานประกอบการตา ง ๆ
60
2. ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยี
จากการนาํ เทคโนโลยีไปใชในชีวิตประจําวันของมนุษย ทั้งนี้จากการนําเทคโนโลยี
มาใชอยา งแพรหลาย ทําใหเ กดิ ทัง้ ประโยชนและผลกระทบตอการดาํ รงชวี ิต สรุปไดดังน้ี
1) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอการศึกษา นักศึกษาสามารถเรียนไดจาก
ที่บานโดยไมตองเดินทางไป เชน การเรียนการสอนทางไกลผานอินเทอรเน็ต ทั้งภายในและภายนอก
ประเทศ รวมทงั้ การศึกษาคนควาขอมลู จากอนิ เทอรเน็ตที่มีไมจํากัด และการศึกษาเรียนรูจากสื่อประเภทตาง ๆ
เชน วิทยุ โทรทศั น วดี โิ อ และคอมพวิ เตอร เปนตน จากการนําเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน ทําให
เกิดปญ หาขาดปฏสิ ัมพันธทด่ี ีตอกันระหวา งผเู รียนกับครู เพราะการเรียนรู โดยผานส่ือเทคโนโลยีทําใหครู
ซึ่งเปน ผถู า ยทอดความรมู บี ทบาทลดนอ ยลง
2) ประโยชนแ ละผลกระทบของเทคโนโลยีตอสิ่งแวดลอม เทคโนโลยีเขามามีบทบาทใน
การปรบั ปรงุ คณุ ภาพของดนิ นา้ํ และอากาศ รวมทง้ั มีการนําของเหลือใชท่ีผานกระบวนการทางเทคโนโลยี
แลว กลบั มาใชใ หมโดยไมต องใชทรพั ยากรหลกั เทคโนโลยีจะกอ ใหเ กิดมลพิษตอสิ่งแวดลอม เพราะมนุษย
นาํ เทคโนโลยีมาใชอยางผดิ วิธี เพือ่ มงุ แตป ระโยชนส ว นตน จนหลงลืมผลกระทบทอี่ าจจะเกิดขึ้นจากการใช
เทคโนโลยีของตน
3) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอสังคม เทคโนโลยีกับสังคมเปนของคูกัน
เม่ือเทคโนโลยีเขา มามบี ทบาทเปรียบเสมือนยอโลกใหเล็กลง เนื่องจากความสะดวกในการติดตอขาวสาร
ขอมูล ทําใหธุรกิจติดตอไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ มีผลใหเศรษฐกิจเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว
จากความเจริญกา วหนาของเทคโนโลยีกอใหเกดิ ปญ หาการวางงานของแรงงาน เนื่องจากมกี ารนําเคร่ืองจักร
มาใชแทนแรงงานคน และปญหาจากการปรับตัวของผูไมรูในเร่ืองของการใชเทคโนโลยีสมัยใหม
จึงกอ ใหเ กิดปญ หาการนาํ เทคโนโลยไี ปใชอ ยางไมถูกตอ ง
4) ประโยชนและผลกระทบของเทคโนโลยีตอสุขภาพ เนื่องดวยเทคโนโลยีมุงสราง
สิ่งอาํ นวยความสะดวกตอ มนษุ ย โดยเฉพาะดา นสุขภาพ มีเครื่องออกกําลังกายภายในบาน มีวิทยุโทรทัศน
และแหลง บนั เทิง เพ่อื เสรมิ สรางสขุ ภาพ ทั้งทางรางกายและทางจิตใจ ทั้งน้ีในวงการแพทยมีความกาวหนา
ในการรักษามากขนึ้ และมขี อ มูลทางการแพทยเ ผยแพรผา นทางอินเทอรเ น็ตทําใหแพทยทั่วโลกสามารถรวมมือ
ในการปฏบิ ตั งิ านรว มกันได นอกจากน้ันเทคโนโลยีทางดานคอมพวิ เตอรมีผลทาํ ใหเ ยาวชนขาดความสนใจ
การเรยี น มุงแตก ารเลนเกมคอมพิวเตอร ไมมีเวลาออกกําลังกาย มีพฤติกรรมที่กาวราวชอบการตอสู สมาธิส้ัน
อารมณรุนแรง ไมไ ดรับการพักผอ นอยางเพยี งพอ ทาํ ใหเกดิ ความเครยี ด สายตาส้ันเรว็ กอนเวลาอนั ควร
สรุปไดวา เทคโนโลยี จะมีประโยชนอยางมาก เม่ือผูใชมีการนําไปใชไดอยางถูกวิธี
และเหมาะสม และจะเกิดผลกระทบอยางมากมาย เม่ือผูใชนําเทคโนโลยีไปใชแบบผิด ๆ ดวยความไมรู
หรือใชเทคโนโลยมี ากเกินกวา ความจาํ เปน
61
3. กระบวนการเทคโนโลยีในการผลติ
กระบวนการเทคโนโลยีเปน กระบวนการทีเ่ กี่ยวของกับการแกปญหา โดยการใชความคิด
ริเรมิ่ อยา งสรา งสรรคแ ละรอบคอบ เพ่ือสรางผลิตภัณฑท่ีกอใหเกิดประโยชนตามความตองการของมนุษย
อยางมีประสิทธิภาพ
หลักการเบื้องตนของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ สามารถ
แบงออกเปนขั้นตอน ไดดงั น้ี
1. กาํ หนดปญ หาหรือความตองการ 2. สรา งทางเลือกหรือวิธีการ
4. ออกแบบและลงมือสราง 3. เลือกวิธีการทีเ่ หมาะสม
5. ทดสอบและประเมินผล ปรับปรุงแกไ ข
แผนภมู ิ กระบวนการเทคโนโลยีในการออกแบบผลติ ภณั ฑ
4. การใชกลยุทธในการเพม่ิ และพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ
ปจ จบุ นั เทคโนโลยีเขามามีบทบาทอยางมากในการดํารงชีวิตของมนุษย ไมวาจะเปนการ
ผลิตในภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรมหรือการบริการ ลวนแตนําเทคโนโลยีเขามาใชในกิจกรรมตาง ๆ
เพราะการนําเทคโนโลยีเขามาใชในกิจกรรมตาง ๆ จะเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตใหดีข้ึน เชน สามารถ
ทํางานไดเร็วขึ้น ไดปริมาณมากขึ้น งานมีคุณภาพมากขึ้น ลดเวลาในการทํางาน ลดคาใชจายในการ
ใชแรงงานคน และทส่ี าํ คัญถาเปน ภาคอุตสาหกรรมหรือภาคเกษตรกรรมซ่ึงตองมีการแขงขันในทางธุรกิจ
ใครนําเทคโนโลยีมาใชกอนคนอ่ืนถือวา เปนกลยุทธอยางหนึ่งท่ีจะทําใหประสบความสําเร็จกอนคูแขง ซึ่ง
คําวากลยทุ ธ หมายถึง วิธีปฏิบัติ หรือแนวทางในการปฏิบัติงานท่ีจะทําใหแผนงานประสบผลสําเร็จ ขณะ
จัดทํากลยุทธจะตองมีการตรวจสอบดูวามีจุดออนในกิจกรรมใด หรือมีจุดแข็งในกิจกรรมใดหรือคูแขง
มีจุดออนในกิจกรรมใด จุดแขง็ ในกิจกรรมใด แลวนํามาเปรียบเทยี บกับของเรา เพ่ือทาํ การปรับกลยุทธตอ ไป
เมื่อรูวามีจุดออนที่จุดใด ก็สามารถนําเอาเทคโนโลยีมาใชในสวนที่เปนจุดออนนั้น
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ ดังตัวอยางการใชและปรับกลยุทธในการเพ่ิม และ
พัฒนาคุณภาพผลติ ภณั ฑ ดงั น้ี
62
ตัวอยางท่ี 1
ในอดตี การเกี่ยวขาวในนาที่มีพ้ืนท่ีกวาง ๆ จะใชแรงงานคนในการเก่ียวขาวจํานวนมาก
ตอมามีการนําเทคโนโลยเี ขามาชว ยในการเกย่ี วขา ว เชน เครอ่ื งจักรในการเก่ียวขาว ทําใหสามารถลดจํานวน
แรงงานคน และลดเวลาในการเกีย่ วขาวลงไดอ ยางมาก และถา มกี ารแขง ขันทางธุรกิจการขายขาว เกษตรกร
จะตองมีการปรับกลยุทธในการนําเทคโนโลยีเขามาชวยในการเกี่ยวขาว เพื่อใหสามารถเกี่ยวขาวได
จํานวนมากและใชเ วลานอย เพื่อใหสามารถนาํ ขา วออกมาจาํ หนายไดกอน
ตัวอยา งท่ี 2
โรงงานนํ้าพริกเผาแหงหน่ึง เดิมการลางผัก บดพริกหรือเคร่ืองเทศ การผสมสวนผสม
และการบรรจุจะใชแรงงานคนแทบท้ังหมด ทําใหผลผลิตที่ออกมาไมดีเทาที่ควร เชน ผักไมสะอาด
สวนผสมไมดีพอ นํ้าหนักและปริมาณไมไดมาตรฐาน ใชแรงงานคนมาก ทําใหเสียคาใชจายสูง รวมถึง
ใชเวลาในการทํางานมาก ทําใหไมสามารถแขงขันกับคูแขงขันอ่ืน ๆ ได สงผลใหเสียโอกาสทางธุรกิจ
เพราะฉะนั้น โรงงานน้ําพริกเผาแหงนี้ จึงไดมีการปรับกลยุทธในการดําเนินกิจกรรม โดยการนําเอา
เทคโนโลยีการผลิตมาชวย เชน เคร่ืองลางผัก เคร่ืองบด เคร่ืองผสมและเครื่องบรรจุภัณฑทําใหสามารถ
ผลิตน้ําพริกเผาไดมีประสิทธิภาพและคุณภาพมากข้ึน รวดเร็วข้ึน ลดคาใชจายในการผลิต สามารถผลิต
นํ้าพรกิ เผาออกสตู ลาดแขงขนั กบั คูแ ขงรายอื่น ๆ ไดทันเวลาและรวดเรว็ ขึน้
5. การเลือกใชเ ทคโนโลยอี ยา งสรางสรรค
การเลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และงานอาชีพ
มีหลักการ ดังตอไปนี้
1) การวิเคราะหเปรียบเทียบผลิตภัณฑหรือวิธีการที่ไดจากเทคโนโลยีตาง ๆ ทั้งทางดาน
คุณภาพ รูปแบบ วสั ดุ ความสะดวกในการใช ความคุม คา โดยกอนทจ่ี ะตัดสนิ ใจเลอื กเทคโนโลยีใดมาใชน้ัน
ผูประกอบการหรือเจาของกิจการ ควรนําคุณลักษณะท่ัวไป คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีมาศึกษา
เปรียบเทียบกอนการตดั สินใจเลอื ก
2) เมื่อมีการเลือกใชเทคโนโลยีสําหรับการสรางและพัฒนาผลิตภัณฑ เพื่อสนองตอ
ความตองการของมนุษยแลว ยอมตองมผี ลกระทบตอ สังคมและสิ่งแวดลอมตามมาดว ย ดงั นั้นผปู ระกอบการ
หรือเจาของกิจการตองศึกษาทบทวนวาเทคโนโลยีที่กําหนดเลือกใชนั้นมี ขอดี ขอเสียและผลตอสังคม
และส่ิงแวดลอมท่ีจะไดรบั นัน้ เปน อยางไร
3) ตัดสินใจเลือกและใชเทคโนโลยีมีผลตอชีวิตที่มีผลดีตอสังคม และสิ่งแวดลอม
ในทางสรางสรรคมากท่สี ุด
63
เรอ่ื งท่ี 3 การลดตน ทุนการผลิตหรือการบรกิ าร
1. แนวคิดในการลด และควบคมุ ตนทนุ การผลิต
การดาํ เนินงานธรุ กิจทกุ ประเภท ใหส ามารถดาํ รงอยไู ดอยางม่ันคง จําเปนที่ผูประกอบการ
หรือเจาของธุรกิจตองหาวิธีการลดตนทุนการผลิต และการบริการโดยแนวคิดในการลดและควบคุม
ตนทุนการผลติ นน้ั มีหลกั การ ดงั น้ี
1. ศกึ ษาวิเคราะหและสํารวจสถานภาพปจจุบันของการผลิต คือ แรงงาน วัตถุดิบ ตนทุน
การผลติ เมื่อรปู จ จยั การผลิตแลวทาํ ใหสามารถหาขอ บกพรอ ง และหาวิธีลดตน ทุนได
2. วิเคราะหหาสาเหตุของตนทุนสูญเปลาท่ีเกิดข้ึนจากการผลิตสินคา และการบริการ
หมายถึง การเสียคาใชจ า ยแตไ มไดก อ ใหเกิดประโยชนตอ ธุรกิจ
3. ปฏิบัติการลด และควบคุมตนทุนการผลิตในสวนของคาใชจายที่ไรประสิทธิภาพ
มีความสญู เปลา โดยดําเนนิ การตอเนอ่ื งใหบรรลผุ ลสาํ เรจ็
การดําเนินธุรกิจตองเผชิญกับขอจํากัดหลายอยางที่เปนอุปสรรคและเปนเหตุใหตนทุน
การผลิตสูงข้ึน จากหลายปจจัย คือ ตนทุนแรงงานมีแนวโนมสูงขึ้น ตนทุนวัตถุดิบแพงขึ้น โดยเฉพาะ
การนําวตั ถดุ ิบจากภายนอกเขา มา ทาํ ใหต น ทุนการผลิตสูงข้ึน เชน คาน้ํามัน คาน้ํา คาไฟฟา คูแขงขันมีมากข้ึน
และทวคี วามรุนแรงมากข้ึน จาํ เปนทีผ่ ปู ระกอบการหรอื เจา ของธุรกิจตองลดตนทุนการผลิตตอหนวยสินคา
ท่ีผลติ จะมผี ลใหไดกําไรมากข้ึน ดังนั้นผูประกอบการตองปรับวิธีการทําธุรกิจ เพื่อลดตนทุนการผลิตใหตํ่าลง
โดยกําหนดเปา หมายการผลติ ใหเหมาะสมเพอื่ ความอยรู อด มกี ารปรับปรุงโครงสรางในการประกอบธุรกิจ
พัฒนาระบบการสงเสรมิ การขาย ซง่ึ เปนกุญแจสําคัญสูความสาํ เรจ็
2. ปจ จยั ในการลด ควบคมุ ตนทุนการผลติ
ในการผลติ สนิ คา ตน ทุนการผลติ จะสงู หรือตํา่ นั้น ขึ้นอยูก ับปจ จยั ตาง ๆ หลายประการดงั น้ี
1. ผบู รหิ ารตองมีนโยบายและโครงการเพื่อลดตน ทนุ การผลิตอยางจริงจังและชัดเจนไมวา
จะเปนนโยบายดา นคุณภาพมาตรฐานระดบั สากล เชน ไอเอสโอ การสนับสนุนศักยภาพของบุคลากร ฯลฯ
หรอื ระบบและวิธีการลดตน ทุน ซงึ่ ตอ งดาํ เนินการอยา งจรงิ จังและตอ เน่ือง
2. สรางจิตสํานึกพนักงาน ใหมีจิตสํานึกที่ดีตอโครงการลดตนทุนการผลิต จึงจะไดรับ
ความรวมมือและประสบความสาํ เร็จได
3. มีมาตรการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ และคณุ ภาพของการบริหารจัดการธรุ กจิ อยา งจรงิ จงั
ทกุ ปจจยั ท่ีกลา วมามคี วามสาํ คัญเทา กันหมด แตก ารจะดาํ เนินการใหบรรลุเปาหมายอยางมี
คุณภาพผูบริหารธุรกิจตองกําหนดเปาหมายและการดําเนินงานอยางจริงจัง และตองมีการจัดทําขอมูล
และวัดประสทิ ธภิ าพของการลดตน ทนุ อยางตอ เนือ่ ง
ในการบริหารจัดการการผลติ ควรกาํ หนดเปาหมายในเร่ืองตาง ๆ ดงั นี้
1. ประสทิ ธภิ าพการผลติ คอื ดชั นชี ีว้ ัด การเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพและผลการดาํ เนนิ งาน
ของธุรกิจเราเองกับธุรกิจอื่นท่ีมีลักษณะการดําเนินงานเดียวกันวา มีผลการดําเนินงานธุรกิจแตกตางกัน
อยา งไร
64
2. คุณภาพสินคาและบริการ ผูประกอบการหรือเจาของธุรกิจตองปลูกฝงใหพนักงาน
มีความเขาใจในการควบคมุ คุณภาพจะทําใหเกิดความเสียหาย เพ่ือรักษาคุณภาพของผลผลิตตามมาตรฐาน
ที่กําหนดไว
3. การสงมอบ ตองสงมอบตรงเวลาตามที่ลูกคาตองการโดยไมมีปญหา การวางแผน
การผลิตและสงมอบใหล ูกคา ตองใหความสําคญั เปนพิเศษมิเชน นัน้ จะทําใหเ สยี ระบบการทาํ ธุรกิจ
4. ตนทุนการผลิต ในสินคาประเภทเดียวกันแตตนทุนไมเทากัน การลดตนทุนมิใชสิ่งที่
จะทาํ ใหค ณุ ภาพของสินคาลดลง แตเ ปนการบรหิ ารจัดการในการผลิตใหม ีการใชต น ทุนตาํ่ ลง
5. ความปลอดภัย เปนเร่ืองที่เก่ียวกับพนักงานโดยตรง ซึ่งควรกระทําอยางยิ่งเพราะ
ยิ่งเครงครัดมากเพียงใด พนักงานก็ปลอดภยั มากเทา น้ัน และมีสวนทําใหตนทุนการผลิตลดนอยลง รวมท้ัง
สรา งคุณภาพชีวติ ใหพนกั งานได
6. ขวัญและกาํ ลังใจ ยิ่งมีความปลอดภัยสูง ขวัญและกําลังใจของพนักงานก็ยิ่งสูง โดยวิธี
ที่ดีท่ีสุด คอื การเพ่ิมคาจา งและเพ่มิ สวสั ดกิ ารใหก ับพนักงาน
7. สงิ่ แวดลอ มทดี่ ีในโรงงาน ถอื เปน การสรา งคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ใี หกับพนกั งาน ปจ จุบนั ธุรกิจ
ทีเ่ ก่ียวกบั มาตรฐานและจัดการกับสิ่งแวดลอมไดดี ถอื เปนความรับผิดชอบตอ สงั คมดวย
8. จรรยาบรรณ ผปู ระกอบการหรือเจาของธุรกิจตองยอมรับและปรับเปลี่ยนกระบวนการ
ผลิตผลติ ภณั ฑห รือการบริการ เม่ือเกิดความผดิ พลาด เพือ่ สรางความปลอดภัยและความม่นั ใจใหแ กล กู คา
หากเจาของธุรกิจสามารถปลูกฝงทุกขอที่กลาวมาใหกับบุคลากรขององคกรไดรับรูและ
รวมปฏิบัติ ปญหาในกระบวนการผลิตจะไมเกิดขึ้นโดยเด็ดขาด และสิ่งที่สําคัญที่สุดคือการผลิต
จะมีประสทิ ธิภาพสูงข้นึ
3. การควบคุมการจดั การการผลติ หรือการบรกิ าร
การดําเนินงานธุรกิจใหมีการพัฒนาอยางตอเน่ือง เพื่อใหธุรกิจมีความมั่นคงน้ัน
ผูป ระกอบการหรอื เจา ของธรุ กิจตอ งมีระบบควบคุม การจัดการการผลิตและการบริการ ระบบการควบคุม
ที่นิยมใชม าก ไดแ ก วงจรควบคมุ PDCA (Deming Cycle) มรี ายละเอียด ดังนี้
1) P (Planning) การวางแผน หมายถึง การวางแผนวามีโครงการ กิจกรรมหรือวิธีการ
อะไร ในการบรหิ ารจดั การการผลิตหรือการบรกิ าร
2) D (Do) การปฏบิ ัติ หมายถงึ การดําเนินงานตามแผนท่กี ําหนดไว
3) C (Check) การตรวจสอบ หมายถึง การตรวจสอบผลที่เกิดจากการปฏิบัติวา
มีผลเปนไปตามเปาหมายหรอื วัตถุประสงคท กี่ าํ หนดไวใ นการวางแผนหรือไมอยางไร
4) A (Action) การปรับปรุงแกไขและตั้งมาตรฐานในการทํางาน หมายถึง การกําหนด
แนวทาง วิธกี ารใหมเ พ่อื แกไขปญ หาขอ บกพรอ งที่พบจากการตรวจสอบ
วงจรการควบคมุ PDCA (Deming Cycle) ตองมีการดาํ เนินการอยางตอเน่ือง เมื่อเสร็จสิ้นแลว
ตอ งเร่มิ ทาํ ใหมเพ่อื ใหเ กดิ การปรบั ปรุงและพัฒนาอยางตอเนอ่ื งโดยไมหยดุ น่ิง
65
กิจกรรมท่ี 1
การวิเคราะหก ารจัดการการผลติ หรือการบริการ
ใหผเู รียนสรปุ ขอ มูลความรู เรื่องการจัดการการผลิตหรือการบริการ ตามหัวขอตอไปน้ี
1. จากขอ มูลทั้งหมด สรุปไดขอมลู ดังนี้
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………(ไมเ กิน 5 บรรทัด)
2. การจดั การการผลิตและการบริการ มีวธิ ีการดังนี้
2.1……………………………………………………………………………………………….
2.2……………………………………………………………………………………………….
2.3……………………………………………………………………………………………….
3. หากผูเรียนเปนเจาของธุรกิจหน่ึง ผูเรียนจะมีวิธีการจัดการการผลิตหรือการบริการดานใด
เพราะอะไร
1.1 ดาน…………………………….เพราะ………………………………………………
1.2 ดา น……………………………เพราะ………………………………………………..
1.3 ดา น……………………………เพราะ………………………………………………...
4. หากผเู รียนตอ งเลือกการจดั การการผลิตหรือการบรกิ ารเรงดวน ผูเรียนจะเลือกดําเนินการในดานใด
เพราะอะไร
ดา น………………………………………………………………………………...…………………
เ พ ร า ะ …………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...................
66
บทที่ 5
การจัดการการตลาด
สาระการเรยี นรู
การจดั การการตลาดมบี ทบาทสําคญั ในการดาํ เนนิ ธุรกจิ จึงจําเปนตองมีความรูความเขาใจ
ในกิจกรรมการตลาด สามารถศึกษาวิเคราะหตลาดเพื่อใหทราบโอกาสทางการตลาดกอนตัดสินใจลงทุน
เพอื่ ธรุ กจิ จะไดดาํ เนินไปในทศิ ทางท่ีถกู ตอ ง และมีความเสี่ยงนอย ดงั นน้ั ตลาดจึงเปนความอยูร อดของธุรกจิ
ตวั ช้วี ัด
1. การจดั การการตลาดเพื่อนําผลผลติ เขาสตู ลาด
2. สามารถจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ิการการจัดการการตลาด
ขอบขา ยเนื้อหา
เรอ่ื งท่ี 1 การจัดการการตลาด
เร่อื งท่ี 2 การจดั ทําแผนปฏิบตั ิการ
67
เร่อื งที่ 1 การจัดการการตลาด
ความหมายของตลาดและการจดั การการตลาด
ตลาด หมายถึง สถานท่ีซ่ึงผูซ้ือและผูขายมาพบเพื่อโอนเปลี่ยนมือกันในกรรมสิทธิ์ของสินคา
และบริการ โดยมรี าคาเปนส่ือกลาง เปน ความหมายท่เี ปนที่รูจกั และพบเห็นกนั ทัว่ ไป เชน ตลาดนัดสวนจตุจักร
ทา ขาวกาํ นันทรง อาํ เภอพยุหครี ี ตลาดสดบางกะป ศูนยการคา เซ็นทรลั พลาซา
การจัดการการตลาด หมายถึง การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ดานธุรกิจ ซึ่งจะตองมีการวางแผน
การผลิต การโฆษณา การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการขาย การทําขอมูลฐานลูกคา
การกระจายสนิ คา การกําหนดราคา การจดั จําหนา ย ตลอดจนการดาํ เนนิ กจิ การทกุ อยาง เพือ่ สนองความตองการ
และบริการใหแกผ ูซ้ือหรือผูบรโิ ภคพอใจ ทั้งในเร่อื งราคา และบรกิ าร
การตลาดเปน กิจกรรมทางการตลาดทีน่ ักการตลาดดําเนินการ เร่ิมตั้งแตการวางแผนจนกระทั่งนํา
แผนเหลาน้ันไปปฏิบัติการวางแผนทางการตลาด นักการตลาดตองคาํ นึงถึงตัวแปรตาง ๆ ที่มีอิทธิพลตอ
ความสําเร็จของแผนการตลาด เพื่อใหแผนการตลาดนั้นมีลักษณะที่เหมาะสมและสอดคลองกับความ
ตองการของลูกคา สามารถจําแนกตัวแปรทางการตลาด ประกอบดวยผลิตภัณฑ ราคา และการจัด
จาํ หนาย ซ่งึ จะตองเขาใจความหมายของคาํ ตอไปน้ี ใหช ดั เจนดังนี้
1. ผลิตภัณฑ หมายถึง สินคาหรือการบริการที่สามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคได โดย
ผบู ริโภคเกดิ ความพึงพอใจในดา นผลติ ภณั ฑ
2. ราคา หมายถงึ จํานวนเงินท่ผี ซู อื้ ยนิ ดีจายเพอ่ื ใหไดมาซง่ึ สนิ คาหรอื บริการ
3. การจัดจําหนา ย หมายถึง การเลือกชองทางการจัดจําหนายเพื่อใหผลิตภัณฑผานออกจากผูผลิต
ไปสผู บู ริโภค และการกระจายตัวสินคา ซึ่งเปน งานทเ่ี ก่ียวของกับการวางแผนและการใชเครื่องมืออุปกรณ
เพอื่ ใหส ินคา และวัสดเุ คล่อื นยา ยจากแหลง ผลิตไปยังสถานท่ีทีต่ อ งการจะใช
ในสภาพโดยทัว่ ไปเราจะเหน็ สดั สว นประสมของการตลาด ซึ่งประกอบดวย การโฆษณา
การประชาสัมพันธ การวิจัยการตลาด การสงเสริมการตลาด การสงเสริมการขาย การทําฐานขอมูลลูกคา
และการกระจายสนิ คา ดังแสดงในภาพสวนประสมการตลาด ดงั นี้
ตลาดเปาหมาย
ผลิตภัณฑ ราคา การสง เสรมิ การตลาด การจัดจําหนา ย
การโฆษณา การขายโดยบคุ คล การสงเสริมการขาย การประชาสมั พันธ
ภาพ แสดงสว นประสมการตลาด
68
1. การโฆษณา หมายถึง การนําเสนอหรือสงเสริมความคิด ในการขายสินคาหรือบริการผานส่ือตาง ๆ
มผี อู ปุ ถัมภเปน ผูเสียคาใชจายในการโฆษณา โดยมีวัตถุประสงคของการโฆษณา เพ่ือใหเกิดความรู ความ
เขาใจเกี่ยวกับสินคาและงานบริการ เปนการใหขาวสารและชักจูงใหซื้อสินคา และซ้ือบริการสื่อที่ใชใน
การโฆษณามีหลายประเภท เชน นิตยสาร หนังสือพิมพ วิทยุ โทรทัศน ปายโฆษณา การโฆษณาทาง
ไปรษณยี เปนตน ส่ือโฆษณาแตละประเภทจะมีจุดเดนและจุดดอยแตกตางกัน ดังน้ัน การเลือกสื่อโฆษณา
ควรคาํ นึงถงึ วัตถปุ ระสงค ดงั น้ี
1) สามารถเขาถึงกลมุ เปาหมายใหม ากทสี่ ุดเทา ท่ีจะมากได
2) สอ่ื นน้ั มปี ระสทิ ธภิ าพและไดผลสงู สดุ
3) เสียคาใชจายตํา่ ทีส่ ุด
2. การประชาสมั พันธ หมายถึง การตดิ ตอ ส่อื สารเพ่ือสงเสรมิ ความเขาใจทีถ่ ูกตองรวมกัน ตลอดจน
สรางความสัมพันธอันดีตอกันระหวางลูกคา หนวยงาน รัฐบาล ประชาชน เพ่ือใหเกิดความเช่ือถือศรัทธา
ความคดิ เห็น ทัศนคติที่ดีตอองคการ การประชาสัมพันธ ไดแก ขาวแจกสําหรับเผยแพร การแถลงขาว ลูกคา
สัมพนั ธ พนักงานสมั พันธ ชมุ ชนสมั พันธ สื่อมวลชนสมั พันธ การบริการสงั คมและสาธารณประโยชน
3. การวิจัยตลาด หมายถึง การศึกษาปจจัยภายนอกและภายในเกี่ยวกับการตลาด ทําให
ผูประกอบการมีขอมูลในการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจ และสามารถบอกรายละเอียด ในการ
ดาํ เนนิ งานไดอยางชัดเจน
การวจิ ัยการตลาดหรือการศึกษาตลาด มีข้นั ตอนในการดําเนนิ งาน ดังน้ี
1) การศกึ ษาโอกาสและสถานการณข องการตลาด เปนการศึกษาเกีย่ วกบั เรื่อง โอกาสทางการตลาด
ซง่ึ เปนการศกึ ษาพฤติกรรมผบู ริโภค และ การศึกษาสถานการณทางการตลาด เปนการศึกษาส่ิงแวดลอม
ภายในและภายนอกของกจิ การนัน้ ประกอบดว ย
(1) การศกึ ษาจุดแข็ง เปน การศึกษาถงึ ขอดหี รือจุดแข็งของสนิ คาหรือบรกิ าร
(2) การศกึ ษาจุดออน เปนการศกึ ษาขอ เสียหรือปญ หาทเ่ี กดิ จากองคประกอบทางการตลาด
(3) การศึกษาโอกาส เปน การศกึ ษาขอไดเ ปรียบหรือสิ่งทเ่ี อือ้ อํานวยใหแ กก จิ การ
(4) การศึกษาอปุ สรรค เปนการศกึ ษาปญ หา อุปสรรคทจี่ ะเกิดขนึ้
2) การกาํ หนดวัตถุประสงคท างการตลาด เนนวตั ถุประสงคท างดานการผลติ ผลิตภัณฑ ราคา การจัด
จําหนาย การโฆษณา และการสงเสริมการตลาดใหสามารถตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคอันจะ
นําไปสูการสรางยอดขายและกําไร
3) การเลอื กตลาดเปาหมาย ตอ งคาํ นงึ ถงึ สิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้
(1) โอกาสทางการตลาด
(2) ลกั ษณะและความตอ งการของตลาด
(3) ขนาดของตลาด
(4) ความสามารถขององคกรในการตอบสนองความตองการของตลาดไดอยางมี
ประสิทธภิ าพ
69
(5) คูแขง ขนั และผลติ ภัณฑท สี่ ามารถทดแทนได
4) การเลอื กกลุม เปา หมายมหี ลายวธิ ี ดงั น้ี
(1) การเลือกกลุมเปาหมายเฉพาะสวน คือ การเลือกกลุมเปาหมายกลุมใดกลุมหนึ่งเพื่อ
ศึกษาศกั ยภาพขององคก รในการตอบสนองความตอ งการของลกู คา เปาหมาย
(2) การเลือกกลุมเปาหมายหลายสวน คือ การเลือกกลุมเปาหมายมากกวาหนึ่งกลุมและ
ทาํ การตลาดพรอ มกัน แตล กั ษณะกจิ กรรมทางการตลาดตา งกัน เพ่ือใหเ กิดความเหมาะสมกับลูกคาเปา หมาย
แตละกลมุ เชน บรษิ ทั ทีผ่ ลิตสนิ คา ประเภทเดียวกันในหลายรูปแบบเพ่ือตอบสนองความตองการของลูกคา
แตละกลมุ เปา หมาย เปน ตน
(3) การตลาดมวลชน คือ การทําการตลาดโดยไมแบงสวนตลาด เนนการผลิตเปน
จาํ นวนมาก ตนทุนตาํ่ สนิ คามคี วามแตกตา งกันไมมาก เพ่อื จําหนายใหป ระชาชนท่วั ไป เชน น้ําตาล นาํ้ อัดลม
ทราย เหลก็ หนิ ปูนซเี มนต เปน ตน
5) การศึกษาพฤตกิ รรมผูบริโภค คือ การแสดงออกของผูบริโภคที่เกี่ยวกับการแสวงหาสินคาและ
บรกิ ารมาเพ่อื สนองความตอ งการของตน และพฤติกรรมผูบริโภค ซึง่ แบง ออกเปน 2 สวนไดแก
(1) อุปนิสัยในการซื้อ หมายถึง นิสัยในการซื้อสินคาของผูบริโภค ซึ่งมีคําถามสําคัญ
ทนี่ าสนใจในการคนหาลักษณะนสิ ัยของผบู รโิ ภคมดี ังน้ี
1) ผูบริโภคในกจิ การของเราเปน ใคร
2) ตลาดตองการซ้อื สินคาอะไร
3) จะซอ้ื อยางไร
4) ทาํ ไมผูบริโภคจึงตองซือ้
5) เมอื่ ไรผบู รโิ ภคจะซ้ือ
6) ผบู ริโภคจะซ้ือทีไ่ หน
7) ใครมีสว นรว มในการตดั สนิ ใจซ้อื
(2) แรงจูงใจในการซ้ือ หมายถึง สาเหตุที่ทําใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการ
แรงจูงใจในการซื้อ มหี ลายประเภท ไดแก
1) แรงจูงใจในตัวสินคา ประกอบดวย แรงจูงใจข้ันปฐมภูมิ เปนการท่ีผูซ้ือ
ตัดสินใจซ้ือตัวสินคา เชน ตัดสินใจซื้อตูเย็น แรงจูงใจเฉพาะเจาะจง เปนการตัดสินใจตอจากขั้นปฐมภูมิ
คือ ตดั สินใจซอื้ ตเู ยน็ แลวจะเลอื กยีห่ อ แบบ ขนาด สี
2) แรงจูงใจซื้อสินคาจากผูขายประจํา หรืออุปถัมภ เปนแรงจูงใจที่ทําใหลูกคา
ตดั สนิ ใจซอ้ื สนิ คาจากรานคา ใด รา นคา หนงึ่
3) แรงจงู ใจเก่ียวกับเหตุผล เปนการตดั สินใจโดยใชเหตุผลในการซื้อมากกวาการ
ใชอารมณ เชน ความประหยัด คงทน
4) แรงจูงใจดานอารมณ การตัดสินใจซื้อดวยการใชอารมณของตนเอง เชน
ความภูมิใจ ความสวยงาม ความกลัว
70
5) แรงจูงใจฉับพลัน หรือการซื้อดวยแรงกระตุน เปนการซ้ือสินคาโดยท่ีไมได
ตัดสินใจซ้ือมากอน
4. การสงเสริมการขาย หมายถึง การทํากิจกรรม การโฆษณา การขายโดยบุคคล การสงเสริม
การขาย และการประชาสัมพันธ กิจกรรมน้ี ดําเนินการโดยมีวัตถุประสงคเพื่อกระตุน ใหผูซื้อตัดสินใจ
เลอื กซื้อสินคา หรือรบั บรกิ าร
กจิ กรรมการสงเสริมการตลาด นอกเหนอื จากการโฆษณาการขายโดยบุคคล และการประชาสัมพันธ
เปนการชวยกระตุนความสนใจ การซื้อของผบู ริโภคหรอื บคุ คลอนื่ ในชองทางการจดั จาํ หนา ย การจัดแสดงในงาน
แสดงสนิ คา การแจกของแถม การลดราคา การชิงโชค การแขงขัน การแจกคูปองแจกแสตมปการคา หรือ
เนน การขายโดยบุคคล ซ้อื ขายโดยใชพนักงานเปนการสื่อสารโดยตรง แบบเผชญิ หนา ระหวางผูขายและผูมี
โอกาสเปนลูกคา พนักงานขายมีความสําคัญมากเพราะผูขายสามารถปรับราคาสินคาหรือคาบริการให
สอดคลองกับความตองการของลูกคาได พนักงานขาย ที่เขาพบลูกคาสามารถโนมนาวชักจูงตลอดจนให
ขา วสารแกล กู คาไดอยา งเปนกนั เองและยดื หยุนได
การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การคนหาเพื่อใหทราบถึงสาเหตุหรืออิทธิพลที่มีตอ
การตดั สนิ ใจซือ้ สนิ คา หรอื บริการของผูบริโภค ประโยชนท่ีไดจากการวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค ทําให
ทราบถึงลักษณะที่แทจริงของตลาดและผูบริโภค ชวยใหผูบริหารการตลาดสามารถวางแผนและปรับ
กลยุทธทางการตลาดใหเ ขากบั สภาพความจริงทส่ี ุด
นักการตลาดควรนาํ หลกั การวิเคราะหพฤติกรรมผบู รโิ ภค มาปรับใชโดยคํานึงถงึ รายละเอยี ด ดงั น้ี
1. ผูบริโภคคือใคร ใชหลักการแบงสวนตลาดเขามาประกอบการพิจารณา คือ หลักภูมิศาสตร
หลกั ประชากรศาสตร หลกั จติ วิทยา หลกั พฤตกิ รรมศาสตร
2. ความตอ งการของตลาด ผูประกอบการจะตอ งศึกษาวา ผบู ริโภคตองการอะไรจากผลิตภัณฑท่ีซื้อ
เชน บางคนใชรถยนตร าคาแพง เพราะตองการความภาคภมู ใิ จ บางคนเลือกรับประทานอาหารในรานหรูหรา
นอกจากตองการความอรอยจากรสชาติของอาหารยังตองการความสะดวกสบาย การบริการท่ีดี เปนตน
นักการตลาดจะตองวิเคราะหดูวาผูบริโภคตองการซื้ออะไรเพ่ือท่ีจะจัดองคประกอบของผลิตภัณฑให
ครบถวนตามทเี่ ขาตอ งการ
3. การตัดสินใจซื้อ ผูประกอบการตองศึกษาถึงกระบวนการตัดสินใจในการซ้ือของผูบริโภคซ่ึง
จะตองผานกระบวนการ 5 ข้ันตอน ดงั นี้
1) ขัน้ เกิดความตอ งการ ผบู ริโภคมีความตองการสินคาและบริการน้ัน ๆ ความตองการน้ี
อาจเกิดขึ้นจากตัวกระตุน เชน ความหิว ความอยากได ความอยูร อด ความมีหนามีตา การเลยี นแบบ ฯลฯ
2) ขน้ั แสวงหาขอ มลู เมือ่ เกิดความตอ งการในสนิ คาหรือบรกิ ารนั้น ๆ ผูบ ริโภค จะพยายาม
เสาะแสวงหาความรเู ก่ียวกับสินคา และบริการน้ันจากผูใกลชดิ เพือ่ น ครอบครัว เพื่อนบาน การโฆษณาทาง
สอ่ื ตาง ๆ ส่ือสารมวลชน ผเู คยใชส ินคานนั้ มาแลว
3) ขน้ั การประเมนิ ทางเลือก เม่ือผูบริโภคไดร ับขาวสารขอมูลท่จี ะใชป ระกอบการตดั สนิ ใจ
ซ้อื แลว เขาจะประเมินคาทางเลือกแตละทางเพ่ือการตัดสินใจซื้อการประเมินทางเลือกผูบริโภคมักจะใช
71
ประสบการณของเขาในอดีต ทัศนคติท่ีมีตอรานคาแตละยี่หอหรือฟงความคิดเห็นจากเพ่ือน ๆ เพื่อชวยใน
การเลอื ก
4) ข้ันการตัดสินใจซ้ือ หลังจากผานข้ันการประเมินทางเลือกแลวผูบริโภคก็จะเลือก
ตราย่ีหอท่ีตนชอบมากท่ีสุด ดังนั้น นักการตลาดจึงตองเพิ่มความพยายามในการใหขอมูลแกผูบริโภค
และชวยเหลือแนะนาํ ผูบริโภคในการตัดสินใจซ้ือ
5) ขั้นความรูสึกหลังการซื้อ เมื่อผูบริโภคซื้อสินคาตรายี่หอนั้น ๆ ไปใชแลว หากไดผล
ตามที่ตนคาดคะเนไว ยอ มทาํ ใหผ บู รโิ ภคมที ศั นคติทีด่ ตี อ ตราย่หี อน้ันมากยงิ่ ขนึ้ แตถาใชแลว ไมไ ดผ ลตามท่ี
คาดไว เขายอ มมที ัศนคตไิ มด ีตอ ตราย่หี อ นนั้
1.ข้นั เกดิ ความตอ งการ 2.ข้ันแสวงหาขอ มลู 3.ขน้ั ประเมนิ ทางเลือก
5.ข้นั ความรสู กึ หลงั การซื้อ 4.ขั้นตดั สนิ ใจซื้อ
การ
ภาพแสดงกระบวนการตัดสินใจในการซ้อื
กระบวนการตัดสินใจในการซื้อนี้จะเร่ิมจากความรูสึกวาตองการสินคานั้น จนไปถึงความรูสึก
หลังการซ้ือ กระบวนการดังกลาวนี้จะกินเวลามากหรือนอย ยากหรืองายเพียงใดข้ึนอยูกับชนิดของสินคา
ตวั บุคคลท่ที าํ การซือ้ ผตู ัดสินใจซอ้ื การสงเสริมการตลาด ฯลฯ แตละขั้นตอนของกระบวนการซ้ือ ใชเวลา
ไมเ ทากนั และบางครั้งการซือ้ อาจจะไมไ ดด าํ เนินไปจนจบกระบวนการก็ได เพราะผูบริโภคเปล่ียนใจหรือ
เกดิ อปุ สรรคมาขดั ขวางทําใหเลกิ ซ้ือ หรืออาจตอ งทอดระยะเวลาในการซือ้ ออกไป
4. ทําไมผบู ริโภคจงึ ซอื้ เปน การพจิ ารณาถึงวัตถปุ ระสงคหรือจดุ มงุ หมายของการซื้อ
5. เมื่อไรผูบริโภคจึงซื้อ นักการตลาดจาํ ตองทราบถึงโอกาสในการซ้ือของผูบริโภค ซ่ึงจะแตกตาง
กันตามลกั ษณะสินคาน้ัน ๆ เพ่ือท่ีจะวางกลยุทธทางตลาดไดเหมาะสมกับพฤติกรรม การซื้อของผูบริโภค
อาจพิจารณา ดังนี้
1) การซ้ือสินคาใชประจําวัน เปนสินคาราคาไมแพงและตองซื้อใชบอย ๆ ผูบริโภค
มีความคุนเคยกับชนิด ลักษณะรูปรางของสินคาและตราย่ีหอเปนอยางดี การซื้ออาจจะซ้ือเมื่อของหมด
หรือเกอื บหมด หรือซือ้ เกบ็ ตุนไวเ พราะถึงอยา งไรกต็ อ งใชอ ยูแ ลว
72
2) กรณีที่ผูบริโภคไมคุนเคยกับตรายี่หอน้ัน ๆ ทั้ง ๆ ท่ีผูบริโภครูจักสินคานั้นดี เชน
การรับประทานอาหารนอกบาน การไปเที่ยวตางจังหวัด การเลือกโรงแรมที่พัก ซึ่งจะมีโอกาสซื้อหรือใช
บรกิ ารเหลาน้ไี ดใ นชว งวันหยุดสดุ สัปดาหห รือวันหยดุ พกั ผอ นประจําป
3) การวิเคราะหดูวาผูบริโภคจะซื้อสินคาเม่ือไร จะทําใหสามารถกําหนดกลยุทธ ในการ
สง เสริมการตลาดไดใ นชว งเวลาทเี่ หมาะสมกับการซื้อ เชน การจัดรายการลดราคา แถมปกเส้ือนักเรียนฟรี
หรือซื้อรองเทา นกั เรยี นมสี ทิ ธิซ้ือถุงเทาราคาถูก ในชว งกอ นเปด ภาคเรยี น เปน ตน
6. ผูบ รโิ ภคจะซือ้ ทไี่ หน เปน การถามเร่อื งชองทางการจาํ หนา ย แหลง ขายท่ีเหมาะสม กับสินคา โดย
พิจารณาดูวาสนิ คาชนิดนผ้ี บู รโิ ภคมกั จะซอื้ จากท่ไี หน ซ้อื จากหางสรรพสนิ คา ใหญ หรือจากรานขายของชํา
ใกลบาน เปนตน
7. ใครมสี วนรวมในการตัดสินใจซอ้ื เปน การถามเพอ่ื ใหทราบถึงบทบาทของกลุม ตา ง ๆ ที่มอี ิทธพิ ล
หรอื มสี วนรว มในการตัดสนิ ใจซื้อ
โดยสรุปผูประกอบการและนักการตลาดจะตองศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอผูบริโภค เพ่ือทราบ
ลกั ษณะความตอ งการของผบู รโิ ภค เพือ่ จดั สว นประสมทางการตลาด ไดแ ก ดานผลติ ภณั ฑ ดานการสงเสริม
การตลาด ดานแผนการจัดจาํ หนายและการกําหนดราคาใหเหมาะสม
การวางแผนการตลาด หมายถึง การกําหนดกลุมลูกคาเปาหมาย สรางความนาเชื่อถือ
ใหก บั กิจการและผทู ่ีจะรว มลงทนุ สามารถอธบิ ายวธิ ีการทจี่ ะดึงดดู และรกั ษาลกู คาทั้งรายเการายใหมไ วไ ด
การวางแผนกลยุทธทางการตลาด หมายถึง การกําหนดวัตถุประสงค การเลือกตลาดเปาหมาย
การพัฒนากลยุทธเปนการวางแผนระยะยาว ใหเกิดความอยูรอด กําไร ความเจริญเติบโตและความม่ันคง
ตลอดไป
ประโยชนข อ มูลในดา นการตลาด มีดงั นี้
1. เกดิ ความเขา ใจในปญหา
2. คาดคะเนความตอ งการได
3. ใชง บประมาณอยา งมเี หตุผลย่ิงข้นึ
4. บรหิ ารงานชดั เจนมเี ปา หมาย
5. ชว ยคนหาปญหาทางธุรกิจ
6. ชวยเพ่ิมผลผลิต
7. การพยากรณสภาวะธุรกจิ
8. ขอมูลเกี่ยวกับตลาด ลูกคา และอตุ สาหกรรมทเ่ี ปน อยู สถานการณป จ จบุ นั และแนวโนมเปน อยางไร
9. ผลติ ภณั ฑคูแขง วิธีการสงเสรมิ การจาํ หนา ยและผลการขยายของคแู ขงขันเปน อยางไร
10. ไดรบั ทราบขอ มูลผลความสําเรจ็ และปญหาที่จะเกดิ จากการขายหรือรายงานการขาย
11. มีโอกาสเปด ตลาดใหม
12. รูก ารเปล่ียนแปลงของคแู ขงขนั
13. รทู นั ทัศนคตแิ ละความตองการของลูกคา และประสิทธิภาพของกลยทุ ธในปจจบุ ัน
73
5. การทําฐานขอมลู ลกู คา
1. ความหมายของการทาํ ฐานขอ มลู ลกู คา หมายถึง ขอมูลจะชวยในการกําหนดสวนตางของการตลาด
การกําหนดกลยทุ ธ การตลาดทางตรงไมว าจะเปน กลยทุ ธการสรางสรรคงานโฆษณา กลยุทธส่ือ ตลอดจน
ใชใ นการวเิ คราะหข อ มูลตา ง ๆ เปน สิ่งสาํ คญั สาํ หรับการทาํ ตลาดทางตรง เพราะกิจการจะไมส ามารถสื่อสาร
หรือเขา ใจถงึ กลุมลูกคา ทค่ี าดหวังได หากปราศจากขอ มลู ลูกคา
2. วตั ถปุ ระสงคการทาํ ฐานขอมลู ลูกคา มีดงั นี้
1. เพอ่ื ใหทราบถึงความสําคัญของการจดั ทาํ บัญชรี ายชอ่ื ลกู คา
2. เพอ่ื ใหท ราบถึงวธิ ีการเบอื้ งตน ในการจดั ทาํ บญั ชรี ายช่อื ลูกคา
3. เพื่อใหเ ขาใจถึงประเภทของฐานขอมูล
4. เพือ่ ใหทราบถงึ องคป ระกอบของฐานขอมลู ลูกคา
1) การจดั ทาํ บัญชีรายช่อื ลกู คา สามารถดําเนินการไดดงั น้ี
(1) กรอกบัตรรายชื่อ การสอบถามช่ือ สกุล ที่อยูของลูกคา โดยเตรียมบัตรสําหรับกรอกช่ือ
ท่ีอยู ของลูกคาไวกอน ในขณะท่ีขายสินคาหรือลูกคาติดตอมาใหกรอกบัตรรายช่ือ พรอมเหตุผล เชน
เพือ่ แจง ขาวสารการลดราคา เพอื่ ใหบ รกิ ารหลังการขาย หรือเพื่อจัดทําบัตรสวนลด บัตรสมาชิกใหในภายหลัง
จะชวยใหลูกคายินดีที่จะใหขอมูลมากยิ่งขึ้น หรืออาจมีแบบฟอรมใหลูกคาที่สนใจซ้ือกรอกขอมูล
พรอ มการสั่งซือ้ จากส่อื ตา ง ๆ
(2) การสอบถามขอมูลจากลูกคาโดยตรง อาจใชวิธีใหพนักงานขายเปนผูกรอก โดยสอบถาม
ขอมูลตาง ๆ จากลูกคา พนักงานขายจะตองช้ีแจงกอนเสมอ ซ่ึงพนักงานขายหรือพนักงานรับโทรศัพท
เปนผกู รอกบัตรรายชอื่ เอง
(3) รวบรวมรายช่อื จากงานแสดงสินคา หรือนทิ รรศการ จากผเู ขาชมงานนทิ รรศการหรอื
งานแสดงสินคาตาง ๆ ก็เปนอีกกลุมหน่ึงท่ีมีความสนใจ การจะไดขอมูลของคนกลุมน้ี อาจตองมีการจัด
ตั้งโตะพเิ ศษ พรอ มเขียนประกาศแจงใหก รอกชื่อและท่ีอยู เพอ่ื ทางกจิ การจะไดสงของรางวลั บางอยางไปให
หรอื เพ่ือจับฉลากชิงโชครางวัล จะชวยใหคนกลุมน้ียินดีกรอกรายละเอียด
(4) การบริการหลงั การขาย สนิ คา บางประเภทตองมบี รกิ ารหลงั การขาย โดยทั่วไปจะมี
บัตรรับประกันสินคาดวย ซ่ึงลูกคามักจะยินดีกรอกรายละเอียดทุกอยางอยูแลว จึงเปนฐานขอมูลท่ีดีและ
รายละเอียดมากกวาบัตรของลูกคาท่ีแสดงขางตน สวนรายละเอียดที่จําเปนท่ีควรจะไดจากลูกคาจะได
กลา วถงึ ในหัวขอถัดไป
(5) การจดั สงใบสง ของขวัญในชวงเทศกาลหรือวาระพเิ ศษ บางคนอาจนิยมสัง่ ซื้อ
สินคาใหเปนของขวัญแกบ คุ คลอื่นโดยอาจจะมอบหมายใหท างกจิ การผูจําหนายเปนผจู ัดสง ใหดวย ดงั นั้น
จงึ ควรถือโอกาสน้ีในการขอรายละเอียดเก่ียวกับชื่อ ท่ีอยูของผูซื้อ และผูรับไวเพ่ือเก็บเปนหลักฐานขอมูล
และการจดั ทาํ บญั ชีรายชอ่ื ลูกคา ตอ ไป
74
(6) การสงบัตรกํานัล หรอื แบบสอบถามในกรณที ี่มีการแจกบตั รลดราคา บัตรแลกตัวอยาง
สนิ คา ฟรี หรือแบบสอบถามใหแกลูกคา เม่ือลูกคานําบัตรเหลานั้นมาใชบริการ ทางกิจการควรบันทึกชื่อ-
ท่ีอยูข องลูกคา ไว
(7) บัตรเครดติ เมื่อลูกคา ชาํ ระคา สินคา หรอื บริการทางกิจการกส็ ามารถจดชื่อ - ทอ่ี ยู
ของลูกคา ไว
(8) การแนะนาํ ตอ ของลกู คา เม่ือมีลกู คาประจาํ อาจขอใหลูกคา แนะนําชื่อ-ท่อี ยขู องบคุ คล
ใกลชิดของลูกคาที่คิดวานาจะสนใจสินคาหรือบริการของทางกิจการใหหรืออาจสรางส่ิงจูงใจใหเกิด
การแนะนาํ รายชอ่ื ใหกจิ การ เชน หากลูกคาไดรับแคตตาล็อกของกิจการแนะนําช่ือ - ที่อยู ของเพื่อนมาได
4 รายชื่อจะมขี องสมั มนาคณุ สง ใหถ ึงบา นฟรี เปน ตน
1) ประโยชนก ารทาํ ฐานขอมูลลูกคา มีดังน้ี
(1) มขี อ มลู ลกู คา กลมุ ทท่ี ํากาํ ไรไดม าก
(2) สามารถทําใหธรุ กจิ อืน่ ๆ กับกลมุ ลูกคาทีม่ อี ยูไ ด
(3) สามารถระบคุ ดั เลอื กลกู คา ทม่ี ุงหวงั ไดช ดั เจนมากข้ึน
(4) สามารถกาํ หนดกลยุทธท จี่ ะเปลยี่ นลกู คา ที่มุง หวงั ใหเ ปนลกู คา ของกจิ การ
(5) มีขอ มลู ในการทาํ กจิ กรรมกับลูกคา
(6) สามารถพัฒนาการสงเสรมิ การตลาดที่เหมาะสมได
(7) สามารถสรา งโอกาสใหม ๆ ทางการตลาด
(8) สามารถพัฒนากลยุทธทีจ่ ะดึงดดู ลกู คา กลมุ น้ี
(9) สามารถวดั ประสทิ ธิภาพของโฆษณา และการสงเสริมการตลาด
(10) ลดการสญู เสียและสามารถเพ่มิ ผลผลติ
(11) ประเมินผลสาํ เร็จในกจิ กรรมสงเสริมการขายได
(12) ลดตน ทนุ และเพ่มิ ปรมิ าณการขายเปนตน
6. การกระจายสนิ คา
การกระจายสินคา ในวงการธุรกิจปจจุบันนักการตลาดใหความสําคัญเก่ียวกับการกระจายสินคา
ไมนอยกวา ตวั แปรอน่ื ๆ ในดา นการตลาด หากผลิตภัณฑเปนท่ีตองการของตลาด แตระบบการกระจายสินคา
ไมดี เชน สงสนิ คาผิดพลาดลา ชา ผดิ สถานท่ี เปนตน เปนความสญู เสียอันย่งิ ใหญ เพราะทําใหย อดขายลดลงและ
สญู เสียลกู คา
1) จดุ ประสงคของการกระจายสินคา คอื การจดั สง สินคาใหลูกคาไดถูกตอง ไปยังสถานที่
ทถ่ี ูกตองในเวลาท่เี หมาะสม โดยเสยี คา ใชจ า ยนอ ยท่สี ุด ตลอดจนการใหบริการลูกคาที่ดีทีส่ ุด
2) บทบาทและความสําคัญของการกระจายสินคา เปนการเช่ือมโยงระหวางผูผลิต
กับผูบริโภคหรือกลาวไดวาการที่นําสินคาออกจําหนายใหผูบริโภคทันตามเวลาที่ตองการกระจายสินคา
จึงมีความสาํ คัญทีผ่ ปู ระกอบการจะตองระมัดระวังในเร่ืองตอ ไปนี้
75
(1) สนิ คา ท่ถี กู ตอง
(2) เวลาท่ีถูกตอ ง
(3) จํานวนที่ถกู ตอง
(4) สถานที่ท่ีถูกตอ ง
(5) รูปแบบที่ตอ งการ
การจดั การกระจายสนิ คา คอื การนําสนิ คา ไปถึงมือผบู รโิ ภคหรอื ลูกคา ซึง่ การกระจายสนิ คาเกี่ยวของกบั
การงานในหนา ทอ่ี ่นื ๆ ไดแ ก การเริ่มตนจากการพยากรณการขายซ่ึงเกี่ยวกับการวางแผนการจัดจําหนาย และ
การวางแผนการผลิตสว นการกระจายสนิ คา หมายถงึ การบรหิ ารระบบการขนสง ระบบชองทางการจดั ซือ้ ระบบ
ชอ งทางการจดั จาํ หนา ยระบบสินคาคงคลัง เพื่อใหไ ดมาซึ่งประสิทธิภาพ ในการจัดซ้ือวสั ดุ วัตถดุ บิ เพ่อื การผลิต
และเพื่อใหไดมาซงึ่ ประสิทธิภาพทางการตลาดทจี่ ะขายสินคาสําเรจ็ รปู และบริการสูม อื ผูบรโิ ภค
3) แนวคิดทางการตลาดมงุ การผลติ ปจจุบันธุรกจิ มงุ ใหความสนใจแนวคดิ ทางการตลาด มุงการขาย
เกอื บท้งั หมด แตแนวคิดการตลาดทางการศกึ ษา สามารถแยกไดเปน 2 แนวคดิ คือ
(1) แนวคิดมุงการผลิต คือ การมุงถึงการจัดทรัพยากรในการสรางผลิตภัณฑนําออกขาย
และสน้ิ สุดทีก่ ารนําเสนอขายสนิ คาทีม่ ีอยู
(2) แนวคดิ มงุ การตลาด คือ แนวทางการผลิตทล่ี ูกคาตองการดจู ากความตอ งการของลูกคา
เปน หลกั เพ่ือตอบสนองความตองการเหลาน้นั ใหส มบรู ณที่สดุ
กิจกรรมทางการตลาดเปน หนา ทผ่ี ปู ระกอบการและนักการตลาดจะตองดําเนนิ การใหบ รรลุ
เปาหมายที่วางไว ซง่ึ มีแนวทางการดําเนินงาน ดังนี้
(1) วิเคราะหสภาพแวดลอมและการวจิ ัยตลาด โดยการตรวจสอบผลกระทบทีเ่ กิดจากภาวะ
เศรษฐกิจและการแขงขันที่มผี ลตอการตลาด
(2) วเิ คราะหผบู ริโภค โดยการประเมินความตองการกระบวนการซ้อื ของผบู รโิ ภคใหเขา ใจ
(3) วางแผนการผลติ และบรกิ าร โดยการพัฒนา รกั ษาผลิตภณั ฑ ตรา การหีบหอ รวมทงั้ การ
ยกเลกิ ผลิตภณั ฑบ างอยาง
(4) วางแผนเกีย่ วกบั ราคา โดยการกาํ หนดชวงราคา เทคนิคการตงั้ ราคา และการใชราคาเปน
ตัวรกุ หรอื ตง้ั รบั
(5) วางแผนการจัดจาํ หนาย โดยการกาํ หนดชอ งทางการจําหนาย การขนสง การเก็บรักษา
การแยกแยะ การคา สง การคา ปลกี
(6) วางแผนการสง เสรมิ การจําหนาย โดยการโฆษณาการขายโดยบคุ คลและการประชาสัมพนั ธ
(7) พิจารณาความรับผิดชอบตอสังคม โดย มีความรับผิดชอบในแงความปลอดภัย
ความมีศีลธรรม และเนน ประโยชนค ณุ คาของสนิ คา และบรกิ าร
(8) บริหารการตลาด โดย การวางแผนทางการตลาด การประเมินถึงความเส่ียงและ
ประโยชนของการตดั สินใจทางการตลาด
76
เรื่องท่ี 2 การจดั ทาํ แผนปฏิบัตกิ าร
การจดั ทําแผนปฏิบตั กิ าร เปน กระบวนการจัดการทเ่ี ปนระบบในการประเมินโอกาสและทรัพยากร
ทางการตลาด ที่สรางและรักษาความเหมาะสมระหวางวัตถุประสงคขององคกรกับทรัพยากรท่ีมี รวมทั้ง
โอกาสทางการตลาดทีเ่ ปลยี่ นแปลงในระยะยาว เปาหมายของการวางแผนปฏบิ ัติการทํากําไร และการเติบโต
ในระยะยาว การตัดสินใจทาํ แผนปฏิบตั กิ ารจึงใชทรัพยากรในระยะยาว
การจัดทาํ แผนปฏบิ ัติการ ควรนํากลยุทธม าใชเพอ่ื มงุ ตอบคําถาม 2 ขอ คือ
(1) จะทาํ อะไรเปน กิจกรรมหลกั ในขณะน้ี
(2) กิจการจะบรรลเุ ปาหมายไดอยา งไร
การวางแผนการตลาดเชงิ กลยทุ ธ จะทาํ ใหพ นกั งานทกุ คนไดรวู าจะปฏิบตั ิใหบ รรลเุ ปา หมายในระยะ
ยาวไดอยา งไร แผนการตลาดเปนเอกสารทเี่ ขียนขึ้น เพ่ือใชเปนเสมือนหนังสือนําทาง สําหรับกิจกรรมทาง
การตลาด แกผจู ดั การฝายการตลาด
แผนการตลาดจะระบุวัตถปุ ระสงค และกิจกรรมท่ีตองทําเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคนั้น การตลาด
ถือเปนกิจกรรมทีย่ ากท่สี ุด ที่พนกั งานและผูบริหารเขาใจรว มกันและทําเพอ่ื นําไปสูเ ปา หมายรวมกันดงั น้ี
1. การเขียนแผนการตลาดที่ชัดเจนเปนงานที่ตองใชเวลา แตเปนพ้ืนฐานในการสื่อสารภายใน
องคก าร
2. แผนการตลาดจะทาํ ใหพ นกั งานทุกคนทราบวา ตนมคี วามรับผดิ ชอบอะไร ตองทาํ อะไร มีกรอบ
เวลาในการปฏบิ ัตงิ านอยา งไร
3. แผนการตลาดบงบอกวัตถุประสงคและแนวทางการจัดสรรทรพั ยากรเพ่อื ใหบรรลวุ ัตถุประสงค
4. แผนการตลาดเปน กรอบความคิดและใหท ิศทาง สวนการนาํ ไปปฏิบตั ิเปนการทํางานในลักษณะ
ทจี่ ัดการกับปญ หา โอกาส และสถานการณ
5. แผนการตลาดแสดงขั้นตอนงานท่เี รียงเปนลําดับกอนหลังก็จริง แตข้ันตอนเหลาน้ันอาจเกิดขึ้น
พรอมกันหรือประสานกันได การเขียนแผนมีหลายรูปแบบ ข้ึนอยูกับองคกร พันธกิจ วัตถุประสงค
กลุมเปา หมาย และสว นประสมทางการตลาดขององคกรน้ัน
77
ข้ันตอนของการทาํ แผนการตลาด มดี ังนี้
การกาํ หนดพันธกิจขององคกร
การระบวุ ัตถุประสงคท างการตลาด
การวเิ คราะหสถานการณ
การสรางกลยทุ ธทางการตลาด
การนาํ แผนไปปฏิบตั แิ ละการควบคุม
ภาพองคป ระกอบของแผนการตลาด
การกําหนดพันธกิจขององคกร เปนส่ิงท่ีทําใหเราไดทราบวาองคกรนั้นทําธุรกิจอะไร และสิ่งใด
ทําใหธุรกิจแตกตางจากคูแขง องคกรมีวัตถุประสงค ปรัชญาและภาพลักษณเปนอยางไร การกําหนด
พันธกิจควรเนนประโยชนท ่ลี ูกคา จะไดรบั ลกั ษณะของพันธกิจที่ดี ตอ งสะทอนวิสัยทัศนขององคก ร
การระบุวัตถุประสงคทางการตลาด เปนขอความที่ระบุเปาหมายท่ีองคกรตองการบรรลุ
โดยใชกิจกรรมทางการตลาด วตั ถปุ ระสงคท่ดี คี วรมลี ักษณะท่ีเรยี กวา “SMART” คือ
1. เจาะจง (Specific) คอื มคี วามเฉพาะเจาะจง ชัดเจน ตอ งการผลออกมาในรูปใด
2. วดั ได (Measurable) คอื วัตถุประสงคต องวัดได ทงั้ ในดานปริมาณและคุณภาพ
3. บรรลุได (Achievable) คือ มลี กั ษณะจูงใจ อยบู นพ้นื ฐานของความจรงิ มีความสม่ําเสมอ
4. สัมพนั ธกนั (Relevant) คือ ตอ งมคี วามสอดคลอ งกับนโยบายของบริษทั
5. ระบเุ วลา (Time-bound) คือ องคก รตอ งบอกวา กิจกรรมนน้ั จะเรม่ิ และสิ้นสดุ เวลาใด
วัตถุประสงคทไ่ี มมกี รอบเวลาทเ่ี รม่ิ ตน และเวลาสน้ิ สดุ สว นใหญแ ลวจะไมมีโอกาสบรรลุได
การวิเคราะหส ถานการณ เปนกิจกรรมทีผ่ ทู ําการตลาด ตอ งเขาใจสภาพแวดลอ มปจ จบุ นั และ
อนาคตสาํ หรบั ผลิตภณั ฑ การวเิ คราะหสถานการณ หรืออาจเรียกวา การวิเคราะหจุดแข็ง จุดออน โอกาส
และอปุ สรรค โดยใชเทคนคิ วิเคราะหSWOT (SWOT Analysis)
78
การสรา งกลยุทธทางการตลาด เปนการเลือกตลาดเปาหมายและสรางสวนประสมทางการตลาด
เพื่อใหเกดิ ความพึงพอใจแกต ลาดเปา หมายขององคกร ซึง่ ประกอบดว ย 3 ประการ คอื การบรรลุเปาหมาย
การสรา งสวนประสมทางการตลาด และการวางตาํ แหนงของผลิตภัณฑ
การนําแผนไปปฏิบัติและการควบคุม เปนกระบวนการที่ผูทําการตลาด ตองดําเนินงาน
ตามแผนการตลาดที่วางไว ดวยความม่ันใจวาจะสามารถบรรลุวัตถุประสงคได ซึ่งรายละเอียดในแผน
จะระบกุ ิจกรรม เวลา งบประมาณ ซ่งึ ตองมีการส่ือสารที่ดี
เมื่อนําแผนการตลาดไปปฏิบัติแลว จะตองมีการประเมินเพ่ือใหทราบวาไดดําเนินการบรรลุ
ตามวัตถุประสงคเ พียงใด มอี ะไรท่ีควรแกไข การวางแผนมีความสัมพันธใกลชิดกับการควบคุม เนื่องจาก
แผนไดร ะบถุ งึ สิง่ ทีอ่ งคก รตอ งการบรรลุ
79
กจิ กรรมท่ี 1
1. ใหนักศึกษาแบงกลมุ ๆ ละ 5 คน เลือกประธาน เลขา และผนู าํ เสนอของกลุม
2. ใหนักศึกษาคนหาอาชีพในชุมชนมา 1 อาชีพแลวรวมกันจัดทําแผนการตลาด โดยใชความรู
จากทไ่ี ดเ รยี นมา พรอ มทัง้ อธบิ ายเหตผุ ลของการทําแผนแตล ะขน้ั ตอน
3. ใหผูแทนกลมุ นําเสนอ ผลการดาํ เนินงานกลมุ
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
80
บทที่ 6
การขับเคล่อื นเพ่อื พฒั นาธุรกิจ
สาระการเรยี นรู
การขบั เคล่ือนเพอื่ พฒั นาธรุ กิจ เปนกระบวนการเรียนรูท่ีมุงเนนการสงเสริมการแกปญหา
การแสวงหาความรู การบริหารจัดการทรัพยากรพัฒนาชุมชน การจัดทําแผนและการขับเคล่ือนแผน
โดยตนเอง ดวยกระบวนการคิด วิเคราะห ใหเกิดเปนรูปธรรม จากการพออยูพอกินไปสูความพอเพียง
จนบรรลุความเขมแขง็ ยง่ั ยืนทส่ี ามารถบอกตนเองไดวา สงั คม ครอบครวั มีความอบอนุ เศรษฐกิจมีความพอเพยี ง
และมีการดํารงชวี ิตในส่งิ แวดลอมที่ดี
ตัวชีว้ ดั
1. วเิ คราะหความเปน ไปไดข องแผนพฒั นาธุรกจิ
2. พัฒนาแผนพัฒนาอาชีพ
3. ขัน้ ตอนการขบั เคล่ือนแผนพัฒนาอาชีพ
4. อธิบายปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ขท่เี กดิ จากการขบั เคลื่อนแผนธรุ กิจ
ขอบขา ยเนื้อหา
เร่ืองที่ 1 การวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี
เรอ่ื งที่ 2 การพฒั นาแผนพฒั นาอาชีพ
เรอื่ งท่ี 3 ขน้ั ตอนการขบั เคลอื่ นแผนพฒั นาอาชพี
เรือ่ งที่ 4 ปญหาอปุ สรรคและแนวทางแกไ ขท่ีเกิดจากการขับเคล่ือนแผนธุรกจิ
81
เรื่องที่ 1 การวิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนพฒั นาอาชีพ
1. องคป ระกอบการวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี
การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนาอาชีพ เปนการสรางความเช่ือมั่นและ
ความมน่ั ใจวาแผนพฒั นาอาชพี มที ศิ ทางการพฒั นาถกู ตอง สัมพันธกบั ศักยภาพของชุมชน มคี วามเปนไปไดสูง
ในการพฒั นาอาชพี โดยการวิเคราะหความเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี มอี งคประกอบ ดังนี้
1. ทนุ ทม่ี อี ยูของชมุ ชน
1) ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ เชน ดินเหนยี ว ทราย แหลงนาํ้ ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม
เปนตน
2) ทุนทางศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ไดแ ก
- ทนุ ทางศาสนา เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา พระพุทธรูปสําคัญ และ
ประวตั คิ วามเปนมา พระนักปฏิบัติ พระนักเทศน เปนตน
- ทนุ ทางศลิ ปะ เชน สถาปตยกรรมทางพุทธศาสนา ศลิ ปะ ผา และเครื่องแตง กาย
ชน้ิ งานศลิ ปหตั ถกรรม การละเลน พ้นื บาน เปน ตน
- ทุนทางวัฒนธรรมประเพณี เชน การทําบุญตักบาตรตามประเพณีทองถิ่น
เทศนมหาชาติ แหเ ทียนเขาพรรษา เปน ตน
3) ทุนทางปญ ญาของชมุ ชน เปน องคความรูที่มีอยูในชุมชน เชน สูตรขนมหมอแกง
ของจงั หวดั เพชรบรุ ี สูตรการทําปลาสมของบานกลวย อําเภอบานหมี่ จังหวัดลพบุรี รวมถึงผูรู หรือ ผูทรง
ภูมิปญญา เชน พอคําเดื่อง จงั หวดั บุรีรมั ย ครูสมหมาย จังหวัดลพบุรี เปนผูทรงภูมิปญญาดานเกษตรกรรม
ธรรมชาติ ครบู าสุทธินนั ท จงั หวัดบรุ รี ัมย ทานสมนะเสียงศลี จงั หวัดสิงหบุรี เปนผูทรงภูมิปญญา ดานการ
จัดการส่ิงแวดลอม เปน ตน
2. ความสามารถหลักของชมุ ชน
การพัฒนาอาชีพของชุมชน สงิ่ สําคญั ทตี่ อ งวิเคราะห คือ ความสามารถของชุมชนใหถองแท
จึงจะทําการกําหนดกลยุทธ การสรางคุณคา และการเจริญเติบโต รวมถึงการสรางความสามารถใน
การแขงขันอยางยั่งยืนตอไปไดถูกตองและเหมาะสม เชน บานทับพริกเปนชุมชนที่มีความสามารถใน
การปลูกหนอไมฝรั่ง มะละกอ ถั่วพู และพริก ทําใหเห็นวาบานทับพริกเปนแหลงรวบรวมความสามารถ
หลักทางการเกษตร เก่ียวกับความรู วิธีการผสมผสานความชํานาญและเทคโนโลยีการผลิตผลผลิตท่ี
หลากหลายเขา ดวยกนั การวิเคราะหความสามารถหลักของชมุ ชน สามารถพจิ ารณา ไดด งั น้ี
1) ความสามารถหลักเปนการเพิ่มศักยภาพ ทําใหชุมชนนําผลิตภัณฑเจาะตลาดไดอยาง
หลากหลาย
2) ความสามารถหลกั จะเปนประโยชนตอ ลูกคาอยางมากในการซอื้ สินคาของชุมชน
3) ความสามารถหลกั เปน สงิ่ ทค่ี ูแขงเลียนแบบไดยาก
82
3. ความตองการพัฒนา
เกิดจากการมองเห็นอยางลึกซ้ึงของคนในชุมชน บนฐานขอมูลภายในตนเอง ครอบครัว
และชมุ ชน สามารถระบุออกมาไดทนั ที และตรงกับความเปนจริง ความสําคัญ การวิเคราะหความตองการ
พัฒนา ถึงแมจะมีการสํารวจ สอบถาม จากคนภายในชุมชนแตจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคม
เศรษฐกิจ อาจจะมีผลใหการสํารวจทั่วไปที่พยายามจะดึงขอมูลสภาพเศรษฐกิจ สังคมครัวเรือน ออกมา
ประมวลผล วเิ คราะหแ ลวแปลความหมาย นาํ มาใชทําแผนเพ่ือการพัฒนาจึงมีโอกาสเกิดความคลาดเคลื่อน
ตอการพฒั นา
ดงั น้ัน เพ่ือใหเกิดความเที่ยงตรงสอดคลองกับสภาพความเปนจริงมากท่ีสุด การวิเคราะห
ความตอ งการพฒั นาสามารถดาํ เนนิ การไดดังนี้
1) เปดเวทีประชาคม ทําความเขาใจ ระบุความตองการความจําเปน เพ่ือใชเปนขอมูล
ในการจัดทําแผนพฒั นาอาชพี ซงึ่ ขอมลู ประกอบไปดวย
(1) ดา นเศรษฐกิจ
เปา หมายทางเศรษฐกจิ ของครอบครัว
การสรา งความพออยพู อกิน
การสรา งรายไดสะสมทุน
การขยายพัฒนาอาชพี
(2) รายไดคาดหวังและพอเพยี งตามสภาพที่ทาํ ไดจรงิ ดว ยตนเอง
(3) ทนุ ทีม่ ีอยู
มีที่ดิน จาํ นวนเทาไร
มีแรงงานทท่ี าํ ไดจริง จํานวนกคี่ น
มเี งนิ ทุนเพียงใด
2) นาํ ขอ มลู แตล ะดานมาสรุป วิเคราะหค วามเปนไปไดของแผนพฒั นาอาชพี
83
เรื่องที่ 2 การพฒั นาแผนพัฒนาอาชพี
การพฒั นาแผนพัฒนาอาชีพ เปนการนําขอมูลจากการวิเคราะหความเปนไปไดของแผนพัฒนา
อาชีพ มาจัดระบบและรายละเอียดใหมีความเหมาะสม ท่ีจะดําเนินการไดตามศักยภาพของตนเอง
ตามแผนภูมิ ตอ ไปนี้
การพฒั นาแผนพฒั นาอาชพี
ทาํ ความ ออกแบบ กาํ หนดตัว การจดั การ ตรวจสอบ
เขา ใจแผน ระบบ บงชี้ ความรู สภาพใน
ใหรูเทาทัน ปฏบิ ตั ิการ ขับเคล่อื น กิจกรรม
(2) ความสาํ เร็จ (4)
(1) (3) (5)
ตรวจตดิ ตามแกไ ขขอ บกพรอ ง
(6)
สรุปเสนอ การพฒั นาสู จดั ระบบสารสนเทศ
ผลงานตอ ความมัน่ คง สง เสริมการดาํ เนินงาน
สาธารณะชน และยงั่ ยนื
และรายงานผล
(7) (8) (9)
1. ทาํ ความเขาใจแผนพัฒนาโดยใหป ระชาชนทั้งชุมชน ไดรวมเรียนรูเปนการสรา ง
ความเขาใจเพ่ือใหเกิดการมสี วนรว มในการปฏิบัตกิ ารแกปญหาตามแผน
2. ออกแบบระบบปฏิบัติการตามแผน เพื่อใหมองเห็นรายละเอียดของเปาหมาย
การดาํ เนินการ กระบวนการ และกาํ หนดนโยบายเพ่ือใชดําเนินงานใหเกิดประสทิ ธภิ าพ
3. กําหนดตวั บงชีค้ วามสาํ เร็จ โดยการกําหนดตัวบง ชค้ี วามสาํ เรจ็ ของกิจกรรมท่ีกําหนดไว
ในแผนพัฒนา
4. จัดการความรูขับเคล่ือนระบบปฏิบัติการสูความสําเร็จ โดยการสงเสริมใหผูนําชุมชน
เปนผจู ดั การความรูขบั เคล่ือนสูความสาํ เรจ็
84
5. ตรวจสอบสภาพภายในกิจกรรม โดยจัดการเรียนรูไหประชาชนมีทักษะตรวจสอบ
สภาพภายในกิจกรรมเพ่ือการพัฒนาอยางตอเนือ่ ง
6. การตรวจติดตาม แกไขขอบกพรอง การดําเนินงานตามแผน โดยการสงเสริมใหผูนํา
ชมุ ชนไดปฏบิ ตั ิการ ตรวจติดตามและแกไขขอบกพรอ งการทาํ งานตามแผน
7. การเสนอผลงานตอสาธารณชน จัดกิจกรรมสงเสริมผูนําชุมชนและประชาชนไดมี
การแลกเปล่ียนเรียนรู และสรปุ ความรูพ รอ มการนําเสนอผลการดําเนนิ งาน
8. การพัฒนาสูความมั่นคงยั่งยืน ผูนําชุมชนและประชาชนรวมกันวิเคราะห กําหนด
วางรากฐานของความมน่ั คงและยงั่ ยนื
9. จัดระบบสารสนเทศ สงเสริมการดําเนินงานใหผูนําชุมชนและประชาชนรวมกัน
นําองคความรูจากกิจกรรมตาง ๆ ของกระบวนการมาจัดเปนระบบสารสนเทศพรอมนํามาบูรณาการ
ประยุกตใ ชกับการทํางานของตนเอง
เร่อื งท่ี 3 ข้นั ตอนการขบั เคล่ือนแผนพฒั นาอาชีพ
ขนั้ ตอนการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาอาชีพ ผนู าํ ชุมชน ภาคีพัฒนา คณะทํางานและประชาชน
ตอ งรวมกันดาํ เนนิ การใน 3 ประเด็น คอื
ประเด็นที่ 1 การวิเคราะหความเปน ไปไดข องแผนปฏิบัติการ
ประเด็นที่ 2 การพัฒนาแผนปฏบิ ัตกิ าร
ประเดน็ ท่ี 3 จัดการความรูการขบั เคลอื่ นแผนปฏบิ ัตกิ ารสูความสาํ เรจ็
โดยการดําเนนิ งานในแตละประเด็นมีรายละเอียด ดงั นี้
1. การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนปฏิบัติการ เปนการพิจารณารวมกันของผูเรียน
ผนู ําชุมชน คณะทาํ งาน ประชาชน และภาคเี ครือขา ย ความเหมาะสมของแผนปฏบิ ตั ิการกับสภาพความเปนจริง
ของชมุ ชนโดยพจิ ารณาจาก
1.1 การรบั ไดข องประชาชนในชมุ ชน
1.2 การเห็นดว ยของประชาชนในชมุ ชน
1.3 ความพรอมของทรพั ยากรทม่ี ีอยใู นชมุ ชน
1.4 ความจาํ เปนทีจ่ ะตองนําเขา ทรพั ยากรจากภายนอกชุมชน
2. การพัฒนาแผนปฏิบัติการ เปนการนําขอมูลจากการวิเคราะหความเปนไปได
ของแผนปฏิบัติการ มาปรับปรุงหรือพัฒนาเพ่ือใหแผนปฏิบัติการมีความเหมาะสมท่ีจะดําเนินการได
ตามศกั ยภาพของชมุ ชน
3. จัดการความรูการขับเคล่ือนแผน การจัดการความรูขับเคล่ือนแผนปฏิบัติการ
สูความสําเร็จ ครูการศึกษานอกโรงเรียน ผูเรียน ผูนําชุมชน ประชาชน และภาคีพัฒนา จะตองรวมกัน
ดําเนินการโดยมกี ระบวนการขัน้ ตอน ดังนี้
กระบวนการจดั การเรยี นรู 85
(1) กาํ หนด (2) แลกเปลี่ยน สู
ความรู เรยี นรสู รปุ เปน ความ
วเิ คราะห ทจี่ ะตองใช แสวงหา สําเร็จ
โครงการ ทาํ งาน ความรู องคค วามรู
กิจกรรม ในชุมชน เพอื่ ใชท าํ งาน
ทองถน่ิ
หหาคาควาวมามรไูรมไู มไดได (3)
- สรางองค ประยุกตใช ประเมนิ
ความรู ความรู คุณภาพ
ขบั เคลื่อน การ
- นําความรู โครงการ/ ทํางาน
เขา
(4)
ตรวจติดตาม
คุณภาพการทาํ งาน
1) การวิเคราะหโครงการ กิจกรรม นําโครงการ กิจกรรมท่ีกําหนดไวมาวิเคราะหวา
โครงการ กจิ กรรมใดบางทม่ี ีองคค วามรู พรอมดําเนนิ การไดทันที โครงการ กิจกรรมใดบางที่มีองคความรู
ไมเพียงพอท่ีจะดําเนินการ จําเปนที่จะตองใชกระบวนการการจัดการความรูมาสนับสนุนการเรียนรู
กอนการดําเนนิ งาน เพอื่ ใหสามารถขบั เคลอื่ นได
2) กระบวนการจัดการความรู การขับเคลื่อน โครงการ กิจกรรมดวยการนําส่ิงท่ีจําเปน
มาดําเนินการดวยกระบวนการจดั การความรปู ระกอบดวยกจิ กรรม ดงั น้ี
2.1 กาํ หนดความรูทต่ี องใชท าํ งาน ดว ยการนําสิ่งท่จี ะตองทาํ มาวิเคราะหวาจะตองใช
ความรูหรือเรียนรูอะไรบา ง จงึ จะสามารถดําเนนิ การได ดงั ตวั อยา ง
86
โครงการ/กิจกรรม วัตถุประสงค ความรูท่ตี องใชงาน
2.2 การแสวงหาความรใู นชุมชน ทอ งถิน่ ดว ยการแบงกลุมงานรับผิดชอบนําหัวขอความรู
ท่ีตองใชไปแสวงหาความรูจากแหลงความรู สถานประกอบการ ผูรู ฯลฯ โดยวิธีการตาง ๆ เชน
การถอดบทเรยี น การฝก ทักษะประสบการณ จนมคี วามกระจางในความรู
2.3 ในกรณีท่ไี มส ามารถแสวงหาความรูใ นชุมชนทองถ่ินได อาจจะดําเนนิ การไดโ ดย
1) ประชาพจิ ารณ ดวยการรวมกันคิดหาเหตุผล รวมกันกาํ หนดวธิ ีทาํ รวมกนั ทดลองพัฒนา
วิธกี าร สรุปเปนองคความรูของชุมชน นาํ ไปประยกุ ตใช
2) นําเขา องคค วามรู ความรบู างเรอ่ื งจําเปนตองใชผ ูเชย่ี วชาญเฉพาะ และจําเปน ตองรจู ริง ๆ
ก็ควรเชญิ ผูเช่ยี วชาญมาใหค วามรู หรือไปศกึ ษาหาความรจู ากผเู ช่ยี วชาญเฉพาะจากภายนอกชมุ ชน
2.4 การแลกเปล่ียนความรู ดาํ เนินการตอ เน่ืองจากการแสวงหาความรูของกลุมตาง ๆ ดวยการ
ใหกลุมมาแสดงขอมูลความรูท่ีไดรับมาแลว รวมกันวิเคราะหหาจุดรวม จุดเดน ดัดแปลงวิธีการ จัดเปน
ความรใู หมเพือ่ ใชท าํ งาน
2.5 ประยุกตใ ชความรขู บั เคล่ือนโครงการ กิจกรรม เปนขั้นตอนการทํางานตามแผนงาน
โครงการ กจิ กรรม ดว ยการนําความรูทจ่ี ัดไวเขา ไปใชดําเนนิ งานในแตละขัน้ ตอน
3) การตรวจติดตามคุณภาพการทาํ งาน มขี ้ันตอนทาํ งาน ดังน้ี
(1) จดั ตัง้ ใหมีคณะผูตรวจตดิ ตาม จํานวน 3-5 คน ศึกษา ทบทวนโครงการ กิจกรรมทงั้ หมด
ใหเขาใจวา ตอ งทาํ อะไร
(2) จดั ทาํ แผนการตรวจตดิ ตาม พจิ ารณาวา ควรจะตรวจติดตามโครงการ กจิ กรรมใด เมอ่ื ไร
และมีจุดเนน ทีใ่ หความสาํ คญั กบั เรอื่ งใดบาง
(3) ทําความเขาใจรวมกนั ใหชัดเจนวา การตรวจตดิ ตามไมใชการจบั ผิด แตเปนการรวมกัน
ระหวางผูตรวจติดตามกับคณะทํางานในการหาขอบกพรองท่ีจะทําใหงานเสียหายหรือคุณภาพตํ่าลง
แลว ชวยกันแกไขขอ บกพรอง
(4) การประเมินคุณภาพการทํางาน ดวยการเปดเวทีประชาคมใหคณะผูตรวจติดตาม
และคณะทํางานแตละโครงการ กิจกรรมรวมกันเสนอสภาพและผลการดําเนินงานตอเวทีประชาคม
เพื่อใหป ระชาชนไดรบั รแู ละมสี วนรว มในการสงเสริมในเรือ่ งอะไรบาง และจะกา วไปขางหนา อยางไร
87
เร่อื งท่ี 4 ปญ หาอปุ สรรคและแนวทางแกไขทเ่ี กดิ จากการขับเคลือ่ นแผนธรุ กิจ
ในการดาํ เนนิ การขบั เคล่ือนแผนธุรกิจ เปนขั้นตอนการดําเนินงานตอเน่ือง ซ่ึงในระหวาง
การดาํ เนินงานอาจมีปญหาและอปุ สรรคได ดงั นน้ั เพ่อื เปน การควบคุม ปญหาอุปสรรค และหาแนวทางแกไข
ไดท ันตอ เวลา ไมป ลอยใหเกดิ ความเสียหาย จึงควรดาํ เนนิ การ ดังน้ี
1. ตรวจสอบปญ หา อุปสรรคจากสภาพภายในของกจิ กรรม
1) ทําความเขาใจ ในโครงการ กิจกรรม ของตนเองวาจะตองตรวจสอบปญหา
อุปสรรคภายในของตนเอง เพ่ือนําขอบกพรองมาพัฒนาการดําเนินงานใหเปนไปตามแผนที่กําหนด
โดยมขี ั้นตอนการดําเนนิ การ ดังนี้
(1) ทําความเขา ใจขน้ั ตอนของการทํางาน
(2) ตรวจสอบเปรียบเทียบการทํางานวาเปนไปตามข้ันตอนหรือไม
มปี ญ หาอปุ สรรคและขอ บกพรอ งอยางไร
(3) ปฏิบตั ิการแกไขขอ บกพรองและพฒั นา
2) ดาํ เนินการตรวจสอบ ข้ันตอนดําเนินงานวาเปนไปตามเกณฑเปรียบเทียบกับ
สภาพท่เี ปนอยูแลว สรุปขอ บกพรอง
3) ปรับปรุงแกไขและพัฒนา โดยนําขอบกพรองมากําหนดแนวทางแกไขและ
พจิ ารณาวา จะมกี ารจัดการหรือใชเทคโนโลยมี าพฒั นาใหดยี ง่ิ ขน้ึ อยางไร
4) สรุปผลการตรวจสอบเปนองคความรู บันทึกผลการตรวจสอบ ผลการแกไข
ขอ บกพรอ ง ผลการพฒั นาสรปุ เปนองคค วามรู เพื่อพฒั นาเปนทุนทางปญญา
2. การตรวจสอบ ตดิ ตาม แกไขขอบกพรองการดาํ เนินงานตามแผน
1) การดําเนินงาน ตรวจสอบ ตดิ ตามและแกไขขอบกพรองใหสามารถดําเนินงาน
ตามแผน เพือ่ สรา งประสทิ ธิผลการทํางาน ใหเกิดผลตอการลงทุนของตนเองดว ยการ
(1) วางแผนการตรวจ
(2) ปฏบิ ัตกิ ารตรวจและแกไ ขขอบกพรอง
(3) ปฏบิ ัตติ ามผลการแกไ ขขอบกพรอ ง
2) ปฏบิ ัติการจดั ทาํ แผนการตรวจกิจกรรมวาอยใู นขน้ั ตอนใด
3) ปฏบิ ตั ิการตรวจและแกไขขอบกพรอ ง คณะผูนาํ ชุมชนดาํ เนินการตรวจ ดงั น้ี
(1) แจงใหผรู ับผดิ ชอบทราบลวงหนาวาจะตรวจการดําเนินงานเรื่องอะไรบาง
เพือ่ ใหคณะทํางานไดม ีสว นรวมในการตรวจสอบตนเองกับผูนาํ ชุมชน
(2) ดาํ เนินการตรวจตดิ ตาม โดยปฏิบัติการรวมกับคณะทํางานพรอมสรุป
ขอบกพรอง
(3) นาํ ผลสรปุ ขอบกพรอ งมารวมกนั กาํ หนดแนวทางแกไขและจดบันทึก
ใหคณะทํางานผรู ับผดิ ชอบ ใชด าํ เนินการแกไ ข
88
(4) กําหนดระยะเวลากลับมาติดตามผลการแกไขขอบกพรอง
ใหค ณะทํางานผรู ับผดิ ชอบรบั ทราบ
4) ปฏิบัตกิ ารตดิ ตามผลและแกไ ขขอ บกพรอง โดยคณะทํางาน ดําเนินการติดตาม
ผลการแกไ ขขอ บกพรอ ง ดังน้ี
(1) ใหคณะทาํ งานแสดงผลการแกไขขอ บกพรอ ง
(2) คณะทํางานวินิจฉัยผลการแกไขขอบกพรองวาประสบผลสําเร็จ
เพยี งใด และจะพัฒนาตอ เน่อื งอยางไร
(3) สรปุ ผลการแกไขขอ บกพรองเปนองคค วามรู
กิจกรรมท่ี 1
ใหผ ูเรียนสรุปความรู เน้ือหาสาระสําคัญท่ีเรียนรูจากหนวยการเรียนรู และตอบคําถามตามหัวขอ
ตอไปนมี้ าส้ัน ๆ พอเขาใจ
1. การประกอบธรุ กจิ ตองอาศัยปจจัยอะไรบาง......................................................................
..........................................................................................................................................................................
2. ประเด็นสําคัญเกย่ี วกับแผนธรุ กจิ มอี ะไรบา ง.....................................................................
..........................................................................................................................................................................
3. ข้ันตอนการทาํ แผนธุรกจิ มีอะไรบา ง................................................................................
..........................................................................................................................................................................
4. การวเิ คราะหค วามเปนไปไดข องแผนพัฒนาอาชพี มีอะไรบาง.........................................
..........................................................................................................................................................................
กิจกรรมที่ 2
เม่ือผูเรียนรูเร่ืองการขับเคลื่อนเพื่อพัฒนาธุรกิจไปแลว ทานคิดวาความรูที่ทานศึกษาเรียนรูมา
จะนาํ ไปใชป ระโยชนอะไรบา งอธบิ ายพอเขาใจ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
89
กิจกรรมที่ 3
ใหผูเรียนนําประเด็นตอไปน้ีพูดคุย อภิปรายในกลุมเพื่อน แลวสรุปความคิดเห็น จากการพูดคุย
และอภปิ รายมาสรุป โดยมีประเดน็ ตอไปนี้
1. เพราะอะไรจงึ ตอ งเรียนรเู รอ่ื งการขบั เคล่ือนเพื่อพัฒนาธุรกิจ
2. ถา ไมม ีความรูค วามเขา ใจเร่อื งการขบั เคลื่อนเพ่ือพัฒนาธุรกจิ จะเกดิ อะไรขึน้
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
90
บทที่ 7
โครงการพฒั นาอาชีพ
สาระการเรียนรู
โครงการพัฒนาอาชีพเปนการจัดกิจกรรมเพ่ือนําไปสูการปฏิบัติ โดยมีการกําหนด
รายละเอียดอยา งมีระบบและมีความสมั พนั ธวา ใครทาํ อะไร ท่ไี หน อยางไร เมือ่ ไร เทา ไร ทาํ ไม และหวังผลอะไร
เพ่ือใหบรรลุเปา หมายตามที่กาํ หนดไว
ตวั ช้วี ดั
1. อธบิ ายความสาํ คัญของการทําโครงการพัฒนาอาชพี
2. เขียนโครงการ
3. เขยี นแผนปฏิบตั ิการ
4. ตรวจสอบโครงการไดถ ูกตอ งและเหมาะสม
ขอบขายเนอ้ื หา
เรอ่ื งที่ 1 ความสาํ คัญของโครงการพฒั นาอาชีพ
เรอ่ื งท่ี 2 ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี
เร่อื งที่ 3 การเขยี นแผนปฏิบตั กิ าร
เร่อื งที่ 4 การตรวจสอบโครงการพฒั นาอาชีพ
91
เรือ่ งท่ี 1 ความสําคญั ของโครงการพฒั นาอาชีพ
1. ความหมายของโครงการพฒั นาอาชีพ
จากแผนปฏิบัติการ เพื่อการพัฒนาอาชีพท่ีกําหนดไวแลวน้ัน การนําแผนสูการปฏิบัติ
เพ่ือใหมีทิศทางและขอบเขตการดําเนินงานที่ชัดเจนจะตองมีการจัดทําโครงการปฏิบัติการควบคุม
การดาํ เนินงานไว
โครงการ หมายถึง งานท่ีกําหนดจะทําในระยะหนึ่ง เพ่ือแกปญหาหรือตอบสนอง
ความตองการทเี่ กิดขึ้นโดยระบุวาจะทําอะไร เมื่อไร ใชปจจัยอะไร เทาไร และมีวิธีการดําเนินงานอยางไร
เมอื่ สิ้นสุดระยะเวลา ปญ หาหรอื ความตองการนั้น ไดร ับการตอบสนองจะถอื วา โครงการน้ันสน้ิ สดุ
การดําเนินงานในรูปโครงการเปนวิธีการบริหารจัดการท่ีดี เพราะทําใหเกิดความชัดเจน
มีเหตุผล เกิดความเขาใจท่ีถูกตองตรงกัน และสามารถขยายผลการดําเนินงานได เพ่ือพัฒนากิจกรรม
หรอื งานน้นั ใหม คี วามเจริญกา วหนา ตอไป
2. ลกั ษณะของโครงการทีด่ ี
โครงการที่ดีจะตองกําหนดรายละเอียดในโครงการใหชัดเจน และมีความสัมพันธกันวา
ใครทาํ อะไร ที่ไหน อยางไร เมือ่ ไร เทาไร ทาํ ไม และหวังผลอะไร โดยลักษณะของโครงการทด่ี สี รุปได ดังน้ี
1. ตอ งกาํ หนดวัตถุประสงคใหช ดั เจนและเขา ใจงา ย โดยเนน การกาํ หนดสงิ่ ทต่ี องการใหเกดิ
เมื่อโครงการส้ินสุดลง เชน สามารถจัดทําบัญชีครัวเรือนไดถูกตองและสามารถลดคาใชจายไดอยางนอย
รอ ยละ 10 ของรายไดทง้ั หมด
2. สามารถนาํ ไปปฏิบัติงานไดจ ริง ไมเปนโครงการที่เล่อื นลอย เพอฝน สวยหรู
3. สอดคลองกับสภาพความเปนจริงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการเมือง
ตอบสนองตอ ความตองการและความสาํ คัญของกลุมเปา หมาย และไมเ กนิ ความรูค วามสามารถของผูป ฏิบัติ
4. มีรายละเอียดของส่ิงตาง ๆ ท่ีเปนองคประกอบของโครงการ เชน วิธีการปฏิบัติ
ระยะเวลาท่ีแนน อนตงั้ แตเ วลาเรม่ิ ตน และสิ้นสดุ โครงการเพ่ือเปนประโยชนต อการกําหนดคา ใชจ าย
และทรัพยากร
5. ระบุทรัพยากรและแหลงทรัพยากร ท่ีจําเปนตองใชอยางชัดเจนตลอดจนงบประมาณ
และแหลงเงินทุนทีต่ อ งใชในการดาํ เนินงาน
6. ผลท่คี าดวาจะไดร บั ตอ งสอดคลองกับเปาหมายและวตั ถุประสงคของโครงการทกี่ ําหนดไว
3. การเตรียมการเขยี นโครงการ
การประกอบอาชพี สามารถแบงออกได 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก อาชีพที่ประกอบการเอง
กับอาชีพรับจาง ในการเขยี นโครงการจําเปนทผ่ี ูเรียนตอ งรวู าไมวาจะเปน อาชพี ประเภทใด ตองมกี ารเตรยี ม
ขอมลู ใหพ รอมกอ นการเขียนโครงการมรี ายละเอยี ดดงั นี้
92
1) แนวทางการเตรียมขอมูลกอ นการเขียนโครงการสาํ หรบั อาชีพทปี่ ระกอบการเอง
(1) พจิ ารณาเรือ่ งทุน การดําเนินงานอาชีพใหประสบความสําเร็จตองศึกษาขอมูลวา
อาชีพน้ันตองใชทุนมากนอยเพียงไร ในเรื่องอะไรบาง มีทุนพอหรือไม ถาไมพอจะหาไดจากแหลงทุน
ทใี่ ดบาง การคดิ อัตราดอกเบี้ยของแหลงทุนเปนอยางไร ตองใชห ลกั ประกันอะไร แลวมหี ลักประกันหรือไม
เงื่อนไขการกเู งนิ เปน อยางไร ประเดน็ รายละเอยี ดเหลานีต้ อ งพิจารณาใหรอบคอบ เพ่อื ใหส ามารถคํานวณทุน
ในการดาํ เนนิ งานไดเหมาะสม และไมกอ ใหเ กดิ ปญ หาระหวา งดาํ เนินงานโครงการ
(2) พจิ ารณาเร่ืองแรงงาน การประกอบการเองตองใชแรงงาน ผูประกอบการตอง
คิดวาใชแรงงานมากหรือนอยเพียงไรควรเปนแรงงานเพศหญิงหรือเพศชาย ใชแรงงานเองในครอบครัว
หรือตอ งใชแรงงานจากภายนอก ถาตองใชแรงงานจากภายนอกครอบครัวจะหาแรงงานไดในชุมชนหรือ
ตอ งหาจากท่ีอ่ืน หากเปนแรงงานในชุมชนอาจมาทาํ งานเชา กลับเยน็ ไมต อ งเตรยี มที่พัก หากมาจากภายนอก
ชุมชน ตองเตรยี มที่พกั ให ผูป ระกอบการตองพจิ ารณาใหร อบคอบและยอ นกลับไปคดิ เรอื่ งทนุ ดวย
(3) พิจารณาเรอ่ื งการตลาด ซง่ึ การตลาดนี้ตอ งพจิ ารณาวาอาชีพที่ดําเนินการอยูน้ัน
เปน ทีต่ อ งการของคนในชมุ ชนหรอื แหลงใกลเคยี งเพยี งใด มีคแู ขงหรือไม เพราะอาชีพทปี่ ระสบความสําเร็จ
มากทสี่ ุด คือ อาชีพที่ปราศจากคแู ขง นอกจากนี้ ตองพิจารณาถึงนิสัยการใชจายของคนในชุมชนตลอดจน
กาํ ลงั ซอ้ื ดว ยวาจะเปน อยางไร
(4) พิจารณาเรอ่ื งการจัดการ การจดั การเปนหวั ใจสําคญั ของการประกอบอาชพี อิสระ
หลายคนมีทนุ มแี รงงาน ตลาดมีความตองการ แตดําเนินงานอาชีพไมประสบความสําเร็จเนื่องจากจัดการ
อาชีพไมเปน จึงจําเปนที่ผูประกอบการตองมีความรูในเรื่องการจัดการอาชีพ ในอาชีพที่ประกอบการให
มากท่ีสดุ การจดั การท่วี านี้ไดแก การบรหิ ารเร่ืองการลงทุนทําอยางไรจึงจะใหการลงทุนทุกบาททุกสตางค
ไดผลคุมคา การบรหิ ารการทํางานใหมกี ารทาํ งานอยา งมรี ะบบ การบริหารดานการตลาดใหมีคนรูจักสินคา
เกดิ ความประทับใจในสนิ คา
(5) พิจารณาความถนัดของตนเอง สิ่งสาํ คัญเหนอื ส่งิ อน่ื ใดในการดําเนินงานอาชีพ
คือ ความถนัด ความสามารถ อุปนิสัย ความพรอมของผูประกอบการในการประกอบอาชีพวาชอบหรือไม
ถนัดหรือไม ทาํ ไดห รือไม ถาทาํ ไดกพ็ จิ ารณาสงิ่ ประกอบอื่น ๆ ดงั ท่ีไดก ลาวมาแลว
(6) พิจารณาอาชีพท่ีดําเนินการวามีความสอดคลองกับชุมชนหรือไม หากเปน
อาชพี ที่ตอ งใชนํ้า มแี หลงน้ําพอเพียงหรือไม เสนทางคมนาคมและการติดตอกับชุมชนอ่ืนมีสภาพอยางไร
คนในชุมชนมีความเชื่อ หรือขนบธรรมเนียมประเพณีเปนอยางไร บางอาชีพอาจไปขัดกับความเชื่อของ
คนในชมุ ชนเปนสวนมากหรือไม เชน ตัดสินใจเล้ียงหมูในขณะท่ีคนในชุมชนสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม
หรอื ขุดบอ เลี้ยงปลาในบริเวณใกลวัด
2) แนวทางการเตรยี มขอมูลกอ นการเขยี นโครงการสําหรบั อาชีพรับจา ง
(1) คา จา งแรงงานมากหรือนอย การพิจารณาวาคาจางมากหรือนอยนั้นจะพิจารณา
จากตัวเงินที่ไดรับอยางเดียวไมถูกตอง ตองเปรียบเทียบกับเวลาที่ตองทํางานดวยวากี่ชั่วโมง เพราะ
บางสถานประกอบการใหเ งนิ เดือนมากกวาสถานประกอบการอ่นื แตใหท าํ งานตงั้ แตเชาเลิกค่ําเวลาพักผอน