The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิชาสังคมศึกษา ประถม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วิชาสังคมศึกษา ประถม

วิชาสังคมศึกษา ประถม

หนงั สอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม

รายวชิ าสงั คมศึกษา

(สค11001)

ระดับประถมศึกษา

หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

หามจาํ หนาย

หนงั สอื เรยี นเลมน้ี จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดนิ เพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ สําหรบั ประชาชน
ลิขสทิ ธเ์ิ ปน ของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สาํ นักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ

หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสงั คม

รายวชิ าสังคมศึกษา (สค11001)
ระดับประถมศกึ ษา

(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)

เอกสารทางวิชาการลําดบั ท่ี 35/2557

คาํ นํา

สํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดด ําเนินการจัดทําหนังสือ
เรยี นชุดใหมนขี้ ึ้น เพ่ือสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ท่ีมีวัตถุประสงคใ นการพัฒนาผูเ รียนใหม ีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญา
และศักยภาพในการประกอบอาชีพการศึกษาตอและสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน สังคม
ไดอยา งมีความสุขโดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใชด วยวิธีการศึกษาคนควาดว ยตนเอง ปฏิบัติ
กจิ กรรม รวมทั้งแบบฝกหดั เพ่ือทดสอบความรูค วามเขา ใจในสาระเน้อื หา โดยเมื่อศึกษาแลว ยังไมเขาใจ
สามารถกลบั ไปศกึ ษาใหมไ ด ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูหลังจากศึกษาหนังสือเรียนนี้ โดยนํา
ความรูไ ปแลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นในชน้ั เรียน ศกึ ษาจากภูมิปญญาทองถ่ินจากแหลง เรยี นรูและจากส่อื อื่น ๆ

ในการดําเนนิ การจัดทาํ หนงั สอื เรียนตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 ไดร บั ความรว มมอื ทดี่ ีจากผทู รงคณุ วุฒิและผูเก่ียวขอ งหลายทานท่ีคน ควาและเรียบเรียง
เน้ือหาสาระจากส่ือตาง ๆ เพ่ือใหไ ดส ่ือที่สอดคลอ งกับหลักสูตรและเปน ประโยชนตอผูเ รียนที่อยู
นอกระบบอยา งแทจ ริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณ
คณะทีป่ รกึ ษา คณะผูเรยี บเรยี ง ตลอดจนคณะผูจัดทาํ ทุกทานทีไ่ ดใ หค วามรว มมือดว ยดไี ว ณ โอกาสน้ี

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวา หนังสือเรียนชุดน้ี
จะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอ เสนอแนะประการใด สํานักงาน
สงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ขอนอมรับไวดว ยความขอบคุณย่ิง

สํานกั งาน กศน.
กันยายน 2557

สารบญั หนา

คํานํา 1
โครงสรางรายวชิ า 2
บทที่ 1 ภูมศิ าสตรก ายภาพประเทศไทย 5
8
เร่อื งที่ 1 ลกั ษณะภมู ศิ าสตรก ายภาพของชุมชน ทอ งถ่ิน 11
เร่อื งที่ 2 ลักษณะภูมศิ าสตรกายภาพของประเทศไทย 16
เรื่องที่ 3 การใชขอมูลภูมิศาสตรก ายภาพชมุ ชนทอ งถิ่นในการดํารงชีวิต
เรื่องท่ี 4 ทรพั ยากรธรรมชาติและการอนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ
เร่ืองที่ 5 ศกั ยภาพของประเทศไทย

บทที่ 2 ประวัติศาสตรช าติไทย 21
เรอ่ื งท่ี 1 ความหมาย ความสําคัญของประวตั ศิ าสตร 22
เร่ืองท่ี 2 ประวตั คิ วามเปนมาของชนชาตไิ ทย 23
เร่ืองที่ 3 ประวตั ิและผลงานของบรรพบรุ ุษไทยทมี่ สี วนปกปอง
และสรา งความเจรญิ ใหแ กช าติบานเมือง 44

บทที่ 3 เศรษฐศาสตร 74
เรอื่ งท่ี 1 เศรษฐศาสตรในครอบครวั และชุมชน 75
เร่ืองท่ี 2 กิจกรรมทางเศรษฐกจิ 76
เรอ่ื งที่ 3 คณุ ธรรมของผูผลิตและผบู ริโภค 83
เรื่องที่ 4 ทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอมในทอ งถนิ่ และชุมชน 85

บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง 91

เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คัญของการเมืองและการปกครอง 92

เร่ืองท่ี 2 โครงสรางการบรหิ ารราชการแผนดิน 95

เรือ่ งท่ี 3 ความสัมพนั ธร ะหวา งอํานาจนิตบิ ัญญัติ อํานาจบรหิ าร อาํ นาจตุลาการ 98

เรอ่ื งท่ี 4 การมสี วนรวมทางการเมอื งการปกครองในระดับทอ งถ่ิน

และระดบั ประเทศ 100

บรรณานกุ รม 103

คณะผจู ดั ทาํ 105

โครงสรา งรายวิชา

สาระสําคญั

การไดเ รียนรูเกี่ยวกับตนเอง สภาพแวดลอมทองถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศของตนทั้งดาน
ประวตั ศิ าสตร ลกั ษณะทางภูมิศาสตร กายภาพ เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ตลอดจนการไดรับการ
พัฒนาความรู ความเขา ใจในศาสนา มจี ติ สํานกึ และมีสวนรวมในการอนุรักษวัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ มเพอื่ การพัฒนาท่ียั่งยืน

ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั

1. อธิบายขอมูลเก่ียวกับภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง การปกครอง
ทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั ตนเอง ชุมชน ทอ งถิ่น และประเทศไทย

2. ระบุสภาพความเปล่ียนแปลงดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร การเมือง
การปกครอง และกฎหมายทีม่ ผี ลกระทบตอวถิ ชี ุมชนทอ งถน่ิ ชวี ติ คน สงั คม และประเทศ

3. เกิดความตระหนักและสามารถนําความรูทางดานภูมิศาสตร ประวัติศาสตร เศรษฐศาสตร
การเมือง การปกครองไปประยกุ ตใชไ ด

ขอบขา ยเนื้อหา

เร่ืองท่ี 1 ภมู ศิ าสตรทางกายภาพประเทศไทย
เรอื่ งที่ 2 ประวตั ศิ าสตรช าติไทย
เรื่องที่ 3 เศรษฐศาสตร
เรอื่ งที่ 4 การเมืองการปกครอง

ส่อื ประกอบการเรยี นรู

- เอกสารแบบเรยี น
- เอกสารเสริม

1

บทท่ี 1
ภมู ศิ าสตรทางกายภาพประเทศไทย

สาระสําคญั

ลกั ษณะทางกายภาพและสรรพสงิ่ ในโลก มคี วามสัมพันธซงึ่ กันและกนั และมีผลกระทบตอระบบนิเวศ
ธรรมชาติ การนาํ แผนที่และเคร่ืองมือภูมิศาสตรมาใชในการคนหาขอมูล จะชวยใหไดรับขอมูลท่ีชัดเจนและ
นาํ ไปสูการใชก ารจัดการไดอ ยา งมีประสิทธิภาพ การปฏสิ ัมพันธร ะหวา งมนษุ ยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพ
ทําใหเ กดิ สรา งสรรคว ัฒนธรรมและจติ สาํ นึกรวมกนั ในการอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ ม เพอ่ื การ
พัฒนาท่ียง่ั ยืน

ผลการเรียนรทู คี่ าดหวงั

1. อธิบายลักษณะภูมิศาสตรท างกายภาพของประเทศไทยได
2. บอกความสมั พนั ธระหวา งปรากฏการณท างธรรมชาติกับการดําเนนิ ชีวิตได
3. ใชแผนทแ่ี ละเครื่องมอื ภมู ศิ าสตรไ ดอ ยางเหมาะสม
4. วิเคราะหส ภาพแวดลอ มทางกายภาพ วฒั นธรรมและกระบวนการเปลยี่ นแปลทาง

ลักษณะกายภาพและลักษณะวฒั นธรรมทอ งถ่ินได
5. วิเคราะหศ กั ยภาพของชมุ ชนทอ งถิน่ เพือ่ เช่ือมโยงเขา สูอาชีพ

ขอบขายเนอ้ื หา ลักษณะทางภมู ิศาสตรกายภาพของชมุ ชน
ลกั ษณะทางภูมิศาสตรก ายภาพของประเทศไทย
เรื่องที่ 1 การใชขอมลู ภูมิศาสตรกายภาพชมุ ชน ทอ งถน่ิ เพอ่ื ใชใ นการดํารงชีวติ
เรอ่ื งที่ 2 ทรพั ยากรธรรมชาติและการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาติ
เรื่องท่ี 3 ศกั ยภาพของประเทศไทย
เรื่องที่ 4
เรื่องท่ี 5

2

เรอ่ื งที่ 1 ลักษณะทางภูมิศาสตรกายภาพของชมุ ชน ทอ งถิน่

ภูมศิ าสตร หมายถึง วิชาที่ศกึ ษาเกยี่ วกับพนื้ ผิวโลกท่เี ก่ยี วกบั ภูมิประเทศ ภมู ิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ
ผลติ ผล และคน รวมทงั้ การกระจายของส่งิ ตาง ๆ เหลาน้ี คือ 6 วิชาทศี่ กึ ษาถึงความสมั พันธร ะหวา งโลกกับมนุษย
สง่ิ แวดลอมกับมนุษย

ภูมิอากาศ หมายถึง การปฏิสัมพันธเกี่ยวกับองคประกอบของอุตุนิยมวิทยา รักษารูปแบบตาง ๆ เชน
ภมู อิ ากาศแบบรอนชืน้ ภูมิอากาศแบบอบอุนช้นื ภมู ิอากาศแบบรอนแหงแลง เปนตน

ภูมิประเทศ หมายถึง การปฏิสัมพันธเกี่ยวกับองคประกอบของแผนดิน จําพวก หิน ดิน ความตาง
ระดับ ทําใหเกิดภาพลักษณรูปแบบตาง ๆ เชน พ้ืนท่ีแบบภูเขา พ้ืนที่แบบลาดเชิงเขา พ้ืนที่ราบ พื้นที่ลุม
เปน ตน

ลกั ษณะภูมิประเทศไทย

ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีประมาณ 513, 115 ตารางกิโลเมตร มีพ้ืนที่ใหญเปนอันดับท่ี 3 ของเอเชีย
ตะวนั ออกเฉยี งใต ประเทศไทยต้ังอยใู นคาบสมุทรอนิ โดจีน ซึง่ เปน สว นหน่ึงของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต

ทิศเหนอื ทต่ี ้งั ของประเทศไทยจรดประเทศสหภาพเมียนมาร (พมา) และสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาว จุดเหนอื สดุ ของประเทศอยูทอ่ี ําเภอแมสาย จังหวัดเชยี งราย

ทิศตะวันออก จรดประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว และกัมพชู า จุดตะวันออกสุดอยทู ่ี
อาํ เภอพิบูลมงั สาหาร จงั หวดั อุบลราชธานี

ทิศตะวันตก จรดประเทศสหภาพเมียนมาร (พมา) จุดตะวันตกสุดอยูที่อําเภอแมสะเรียง จังหวัด
แมฮ องสอน

ทิศใต จรดประเทศมาเลเซีย จุดใตสุดอยทู ่ีอําเภอเบตง จังหวัดยะลา

การแบง ภาคภูมศิ าสตรของประเทศไทย

ประเทศไทยแบง ตามลกั ษณะภูมศิ าสตรไ ด 6 ภาค ไดแก ภาคเหนือ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคกลาง
ภาคตะวนั ออก ภาคตะวนั ตก และภาคใต

ภาคเหนือ

ลักษณะภูมิประเทศของภาคเหนือ ประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ 9 จังหวัด คือ จังหวัดเชียงใหม
เชียงราย แมฮองสอน ลาํ พนู ลาํ ปาง แพร นาน อตุ รดิตถ และพะเยา มีพื้นที่ 93,690 ตารางกโิ ลเมตร ลกั ษณะ
ภูมปิ ระเทศเปน เทือกเขาสูง และท่รี าบหุบเขา เทือกเขาที่สําคัญ ไดแก เทือกเขาแดนลาว ถนนธงชัย ผีปนน้ํา
และหลวงพระบาง ยอดเขาท่สี งู ท่สี ดุ ในประเทศไทย คอื ดอยอนิ ทนนท มคี วามสงู 2,595 เมตร และเปนสวนหนึ่ง
ของเทอื กเขาถนนธงชัยในพน้ื ทจี่ ังหวดั เชียงใหม

3

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือมพี น้ื ที่ 170,000 ตารางกโิ ลเมตร ประกอบดวยจังหวดั ตา ง ๆ 19 จงั หวดั คือ
จงั หวัดหนองคาย เลย อดุ รธานี นครพนม สกลนคร กาฬสนิ ธุ ขอนแกน มหาสารคาม รอยเอ็ด ชัยภูมิ ยโสธร
อุบลราชธานี ศรสี ะเกษ บรุ รี ัมย นครราชสีมา สุรินทร มกุ ดาหาร อาํ นาจเจรญิ และหนองบัวลําภู ภูมิประเทศ
ทว่ั ไปเปน แองคลายแองกระทะ ลาดเอียง ไปทางตะวันออกเฉียงใตมขี อบเปนภูเขาสูง ทางตะวันตกและทางใต
ขอบทางตะวันตก ไดแก เทือกเขาเพชรบูรณ และเทือกเขาดงพญาเย็น สวนทางใตไดแก เทือกเขาสันกําแพง
และเทอื กเขาพนมดงรัก พ้ืนทีต่ ะวันตกเปนทีร่ าบสูง เรียกวา ทีร่ าบสูงโคราช ภูเขาบริเวณนี้เปนภูเขาหินทราย
ทีร่ จู กั กนั ดีเพราะเปน แหลง ทอ งเทย่ี ว คือ ภูกระดึง ภหู ลวง ในจังหวัดเลย แมนํ้าท่ีสําคัญของภาคน้ีไดแก แมนํ้าชี
และแมน้ํามลู ซ่งึ มีแหลงกําเนิดจากเทอื กเขาทางทิศตะวันตก และทางใตแลวไหลลงสูแมน้ําโขง ทําใหสองฝง
แมนํ้าเกิดเปนท่ีราบ น้ําทวมถึงเปนตอน ๆ พ้ืนที่ราบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมักมีทะเลสาบรูปแอก
เปนจํานวนมากแตทะเลสาบเหลานี้จะมีน้ําเฉพาะฤดูฝนเทาน้ันเม่ือถึงฤดูรอน นํ้าก็จะเหือดแหงไปหมด
เพราะดนิ สวนใหญเ ปน ดนิ ทรายไมอ มุ นาํ้ นํ้าจึงซึมผานไดเร็ว ภาคนี้จึงมีปญหาเรื่องการขาดแคลนนํ้าและดิน
ขาดความอุดมสมบรู ณ ทําใหพืน้ ที่บางแหงไมส ามารถใชป ระโยชนใ นการเกษตรไดอยางเต็มท่ี ปจจุบันรัฐบาล
ไดพ ยายามปรับปรงุ พ้นื ทีใ่ หด ขี ึ้นโดยใชร ะบบชลประทานสมยั ใหม ทาํ ใหส ามารถเปน แหลง เพาะปลกู ขา วหอมมะลิ
ที่ดที ีส่ ดุ แหง หน่ึงของประเทศไทย

ภาคกลาง
ลักษณะภมู ิประเทศของภาคกลาง

ภาคกลางมพี ื้นท่ี 91,795 ตารางกิโลเมตร ประกอบดว ยจงั หวัดตาง ๆ 22 จังหวัดคือ จังหวัดสุโขทัย
พิจิตร พิษณุโลก กําแพงเพชร เพชรบูรณ นครสวรรค อุทัยธานี ชัยนาท สิงหบุรี ลพบุรี อางทอง สระบุรี
สุพรรณบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี นครปฐม กรุงเทพมหานคร สมุทรปราการ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม และนครนายก ลักษณะภูมิประเทศเปนที่ราบลุมแมน้ําอันกวางใหญไดแก ท่ีราบลุมแมนํ้า
เจาพระยาและทาจีน มีเทือกเขาเปนขอบเขตของภาคทั้งดานตะวันตกและตะวันออก แบงเขตภูมิประเทศ
ออกเปน 2 สวน ไดแ ก เขตท่ีราบภาคกลางตอนบนและเขตที่ราบภาคกลางตอนลาง

เขตที่ราบภาคกลางตอนบน ต้งั แตพ น้ื ท่จี ังหวดั นครสวรรค ขน้ึ ไปจนจรดตอนเหนือของภาคมีลักษณะ
เปนพนื้ ท่ีราบลุมแมน า้ํ สลับกับภเู ขา

เขตท่ีราบภาคกลางตอนลา ง ตงั้ แตพ น้ื ทจี่ งั หวดั นครสวรรคลงมาจนจรดปากอาวไทยเขตพื้นที่ราบลุม
แมน ํ้าอนั กวา งใหญ

ภาคตะวันออก
ลักษณะภมู ิประเทศภาคตะวนั ออก

ภาคตะวันออกมีพื้นท่ี 34,380 ตารางกิโลเมตรเปนภาคท่ีมีพื้นที่เล็กท่ีสุดในบรรดาภาคท้ัง 5 ภาค
ของไทย ประกอบดว ย 7 จังหวดั คอื จงั หวัดปราจนี บรุ ี ชลบรุ ี ฉะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบุรี ตราด และสระแกว
ลักษณะภมู ปิ ระเทศของภาคตะวนั ออก แบง เปน 4 ลกั ษณะ ดังน้ี

4

เขตเทอื กเขา ไดแก เทอื กเขาสนั กาํ แพงและเทอื กเขาบรรทดั สวนใหญเปน ภเู ขาหินทรายและเทอื กเขา
จันทบรุ ี สวนใหญเ ปนภูเขาหินอัคนหี รือหนิ แกรนิต เขตที่ราบลุมแมน้ํา ไดแก ที่ราบลุมแมน้ําบางปะกง ในพ้ืนที่
ฉะเชิงเทราและปราจีนบุรี บริเวณปากแมนํ้าท่ีไหลลงสูอาวไทยท่ีอําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทราจะมี
ลกั ษณะเปนหาดโคลนเลน เขตท่ีราบชายฝงทะเล นับต้ังแตปากนํ้าบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ลงมาจนถึง
อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด มีหาดทรายสวยงามและเปนแหลงทองเที่ยวท่ีสําคัญมีประชากรตั้งถ่ินฐาน
หนาแนนมากกวาเขตอ่ืน ๆ มีแมน้ําสายส้ัน ๆ หลายสาย เชน แมน้ําระยอง แมน้ําจันทบุรี และแมน้ําตราด
เฉพาะบรเิ วณปากนํา้ จะเปน หาด

โคลนเลน และเกาะ เปน แหลง ทอ งเทีย่ วท่ีสําคญั ไดแ ก เกาะลา น เกาะสีชัง (จังหวัดชลบุรี) เกาะชาง
(จงั หวัดตราด) และเกาะเสม็ด (จังหวดั ระยอง) เปน ตน

ภาคตะวนั ตก

ลกั ษณะภมู ิประเทศภาคตะวันตก
ภาคตะวันตกมีพ้ืนที่ประมาณ 53,679 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวย 5 จังหวัด คือ จังหวัดตาก
กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ ลักษณะภูมิประเทศของภาคตะวันตกสวนใหญเปนภูเขา
สลับกับหุบเขาท่ีคอนขางชื้นและแคบกวาหุบเขาของภาคเหนือ เนื่องจากการกัดเซาะของแมนํ้าลําธาร
มภี ูมปิ ระเทศคลา ยภาคเหนือ แบง ไดด ังนี้
เขตเทือกเขา ไดแ ก เทือกเขาถนนธงชยั เปนแนวแบงเขตระหวา งไทยกับพมา จากจังหวัดแมฮ อ งสอน
ถึงจังหวัดตาก, เทือกเขาตะนาวศรี เปนแนวแบงเขตไทยกับพมา มีชองทางติดตอท่ีดานสิงขร จังหวัด
ประจวบคีรีขนั ธ และดา นบดั ตี้ จงั หวัดกาญจนบุรี, เทอื กเขาหินปูน อยรู ะหวางแมนํ้าแควใหญ และแมน้ําแคว
นอ ย สวนใหญเปนภเู ขาหินปนู มถี าํ้ หนิ งอกหินยอ ย
เขตท่ีราบ อยูระหวางเขตเทือกเขากับท่ีราบตํา่ ภาคกลางจนถึงอาวไทย เปนท่ีราบลุมแมน้ําปง แมนํ้า
แมกลอง ที่ราบแมน้ําเพชรบุรี และที่ราบชายฝงทะเลท่ีเปนหาดทรายสวยงาม เชน หาดชะอํา หาดวังหิน
และอา วมะนาว

ภาคใต

ลักษณะภมู ิประเทศภาคใต

ภาคใตมีพ้ืนที่ 70,715 ตารางกิโลเมตร ประกอบดวยจังหวัดตาง ๆ 14 จังหวัด คือ จังหวัดชุมพร
พทั ลุง สรุ าษฎรธ านี นครศรีธรรมราช สงขลา ปตตานี ยะลา นราธิวาส ระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และสตูล

เปนดินแดนสว นหน่งึ ของคาบสมุทรมลายู จึงขนาบดวยทะเลทั้งสองดาน ไดแก อาวไทย มหาสมุทรแปซิฟก
และทะเลอนั ดามัน มหาสมทุ รอนิ เดยี

ลักษณะภูมิประเทศเปนเขตเทือกเขา ประกอบดวยแนวเทือกเขา 3 แนว ไดแก เทือกเขาภูเก็ต

เทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาสันกาลาคีรี สวนใหญจะวางตัวในแนวเหนือ-ใต มีความอุดมสมบูรณ
ของปาไมและแรธาตุ เขตท่รี าบชายฝงอาวไทย ไดแก ท่ีราบลุมแมนํ้าตาป ที่ราบลุมแมนํ้าปากพนัง ท่ีราบลุม
แมนํ้าปตตานี และท่ีราบรอบทะเลสาบสงขลา เกิดจากการทับถมของตะกอนดินโคลนและทราย ท่ีน้ําจาก

แมน ้ําและกระแสคลื่นพัดพามาทับถม จนกลายเปนที่ราบอันกวางใหญ และมีประชากรต้ังถิ่นฐานหนาแนน
มากกวา เขตพนื้ ท่ีอื่น ๆ ชายฝง ดานอาวไทยเรม่ิ ตัง้ แตช ายฝง จังหวัดชมุ พรลงไปจนถึงจงั หวดั นราธวิ าส เปนชายฝง

5

แบบเปลอื กโลกยกตวั ขึ้นสูง นํา้ ทะเลจึงตน้ื มหี าดทรายสวยงาม และมีอาวขนาดใหญ เชน อาวบานดอน อาวสวี
ฯลฯ บรเิ วณปากแมนาํ้ จะเปน หาดโคลนและมีปาชายเลน ลักษณะภูมิประเทศที่เดนของชายฝงดานอาวไทย
คอื ทะเลสาบสงขลา เปนทะเลสาบเปดหรือทะเลสาบนาํ้ เค็ม (Lagoon) ในอดีตกาลมีกระแสลมและคลื่นพดั พา
ตะกอนทรายมาทบั ถมจนเปนแนวสนั ทราย หรือแหลม ปดปากอาวจนกลายเปนทะเลสาบสงขลาในปจจุบัน
และทีร่ าบชายฝง ทะเลอนั ดามนั เปนท่รี าบแคบ ๆ เน่อื งจากมีภูเขาต้ังชดิ ตระหงาน ตดิ กบั ชายฝงทะเล ชายฝง
ดานอันดามัน จะเริ่มต้ังแตชายฝงจังหวัดระนองจนไปถึงจังหวัดสตูล มีลักษณะเปนชายฝงแบบเปลือกโลก
ยุบตวั หรอื จมตัว ทําใหม นี ํา้ ทะเลลึกและมีชายฝง ทเี่ วาแหวงมาก

กจิ กรรมที่ 1
ลกั ษณะภมู ิประเทศของประเทศไทยมอี ทิ ธพิ ลตอความเปน อยูของคนไทยอยา งไรบา ง
อธบิ ายและยกตวั อยา งมาใหเ ขาใจ

กจิ กรรมที่ 2
ใหผ ูเ รยี นบอกถงึ ลักษณะทางภมู ิศาสตรก ายภาพของจงั หวัดของตนวามลี กั ษณะอยางไรและ
สงผลตอ การประกอบอาชีพของคนในชมุ ชนอยางไรบา งพรอ มยกตัวอยา ง

เรือ่ งท่ี 2 ลักษณะทางภูมิศาสตรของประเทศไทย

ลักษณะ ทําเล ทตี่ ้งั ของประเทศไทย

ประเทศไทยต้ังอยูในคาบสมุทรอินโดจีน และอยูทางทิศตะวันออกเฉียงใตของทวีปเอเชีย ท่ีต้ังของ
ประเทศไทยอยูแถบศูนยส ตู ร จงึ เปนบริเวณทไ่ี ดร บั พลังงานความรอ นจากดวงอาทิตยม าก เปน ประเทศทอ่ี ยใู น
เขตรอ น และมอี ณุ หภมู ขิ องอากาศเฉลีย่ สูงตลอดทัง้ ป

6

ลกั ษณะภูมิอากาศ ประเทศไทย

ประเทศไทยต้ังอยูใกลเสนศูนยสูตรในซีกโลกตอนเหนือ ประเทศไทยจึงมีภูมิอากาศแบบทุงหญา
สะวนั นาเปนสวนใหญ ภูมิอากาศของประเทศไทย ไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต และลมมรสุม
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ดงั นี้

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต ประเทศไทยฤดูฝนเริ่มระหวางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจะพัดจากมหาสมุทรอินเดียมายังทวีปเอเชีย ทําใหเกิดฝนตกชุกท่ัวประเทศไทย
ดังนนั้ ชายฝง ดา นตะวันตกในภาคใตจะไดรับปริมาณฝนมากกวาชายฝงตะวันออก เชน จังหวัดระนอง ภูเก็ต
จะไดรบั ปริมาณนํ้าฝนมากกวาทุกจังหวัด สวนจังหวัดที่มีปริมาณฝนตกมากที่สุดในประเทศไทย คือ อําเภอ

7

คลองใหญ จังหวัดตราด ซ่ึงอยูทางภาคตะวันออก เพราะเปนจังหวัดที่รับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตไดอยาง
เต็มที่

ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทยฤดูหนาวเร่ิมระหวางกลางเดือนตุลาคมถึงกลางเดือน
กมุ ภาพนั ธ ลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือจะพัดจากตอนเหนือของจีนมายังตอนลางของทวีปเอเชียจึงทําให
อากาศหนาวเย็นแตไมมฝี นตก สว นภาคใตก อใหเกดิ ฝนตกได เพราะลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือจะพัดผาน
อาวไทยกอ น จงึ หอบไอน้ํามาจากอา วไทย ทําใหฤดูหนาวของภาคใตม ฝี นตกและอากาศไมหนาวจดั

ส่งิ แวดลอมทางธรรมชาตมิ ีอทิ ธิพลตอ การดาํ เนนิ ชีวติ ของทอ งถ่ิน
ลักษณะทางธรรมชาตขิ องทองถิ่นตา ง ๆ จะมีองคประกอบทีส่ ําคญั ทีไ่ มเ หมือนกันซึ่งผูเรียนควรจะได

เรียนรูถึงลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ องคประกอบแตละชนิดจะมีหนาท่ี
เฉพาะ และมีความสัมพันธซึ่งกันและกัน เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศของแตละภาค
ในประเทศไทยมีความแตกตา งกนั ดังน้ันจงึ ทําใหก ารดําเนินชวี ิตของประชากรในทอ งถ่ินจึงแตกตางกนั พอสรปุ
ไดด ังน้ี

ภาค ลักษณะภมู ปิ ระเทศ การประกอบอาชีพและ ประเพณีและการนบั ถอื
เหนอื
และภูมิอากาศ ความเปนอยู ศาสนา
กลาง
เปนทรี่ าบหุบเขา ดนิ มี เพาะปลกู พชื ผกั เมอื ง สงกรานต การแหค รัวทาน
ตะวันออก
เฉียงเหนือ ความอดุ มสมบูรณอ ากาศ หนาว และอาชีพ ปอยสางลอง (บวชลูกแกว)
ตะวันออก
ตะวนั ตก หนาวเยน็ เปนเวลานาน การทอ งเที่ยว นับถือศาสนาพทุ ธ
ใต
เปนทรี่ าบลมุ และมีความ ทาํ นา ทาํ สวนผลไม แขงเรือ พชื มงคล วิง่ ควาย

อดุ มสมบูรณ ตอนบนของ เล้ียงสัตว ทาํ ประมง การลงแขก เกีย่ วขาว นบั ถอื

ภาคในฤดหู นาวอากาศ น้ําเคม็ และน้าํ จดื รบั จา ง ศาสนาพทุ ธ

หนาวและรอ นในฤดรู อ น ในโรงงานอุตสาหกรรม

ตอนลา งของภาคฤดรู อน การทอ งเท่ยี วและมี

และฤดูหนาวไมแตกตา ง ประชากรหนาแนนกวา

กันมากนกั มฝี นตกชุกกวา ภาคอ่ืน ๆ

ตอนบน

เปน ทรี่ าบสงู พน้ื ดนิ เปน ทําไร เลยี้ งสัตว ประชากร แหเ ทียนพรรษา

ดินปนทรายอากาศ คอ นขางยากจน และ บุญบง้ั ไฟ คลอ งชา ง

แหงแลง โยกยา ยไปอยูทอี่ น่ื มาก นับถือศาสนาพทุ ธ

คลายภาคกลาง

คลายภาคกลาง

เปน ทร่ี าบฝง ทะเลอากาศ ทําสวนยางพารา ปาลม บุญเดือนสบิ ชงิ เปรต

8

ภาค ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ การประกอบอาชีพและ ประเพณีและการนบั ถอื

และภมู อิ ากาศ ความเปนอยู ศาสนา

รอ นชน้ื ฝนตกตลอดทง้ั ป นา้ํ มนั เหมอื งแร ประมง วงิ่ ควาย นับถอื ศาสนาพุทธ

นา้ํ เค็มและอาชพี และศาสนาอสิ ลาม

การทองเท่ียว

กิจกรรมที่ 1
ใหผเู รยี นแบง กลมุ ศกึ ษาคนควา ลกั ษณะภมู ิประเทศภมู อิ ากาศและอาชพี ของประชากรใน
แตละภาคแลว นํามาอภิปราย
กิจกรรมท่ี 2
ใหนกั เรียนบอกช่ือจงั หวดั ในภาคเหนือ ภาคใต และภาคกลางมาภาคละ 5 จงั หวัด

เรื่องที่ 3 การใชข อมลู ภูมิศาสตรกายภาพชุมชน ทองถิน่ ในการดาํ รงชีวิต

การใชแผนท่ีและเครอื่ งมือทางภมู ศิ าสตร

การเรยี นรคู วามหมาย องคประกอบและชนิดของแผนที่ทําใหสามารถใชแผนที่ชนิดตาง ๆ ไดอยาง
เหมาะสม เปนเคร่อื งมอื สําคัญในการจดั ทําแผนท่ีในการสํารวจขอมลู ทอ งถิน่ ได

แผนท่ี คือ สง่ิ ท่ีแสดงลักษณะของพ้ืนที่บนผิวโลก ท้ังที่เปนอยูตามธรรมชาติและส่ิงที่มนุษยสรางข้ึน
โดยแสดงลงบนแผน แบบราบ มกี ารยอ สวนใหเล็กลงตามตองการ อาศัยสัญลักษณและเครื่องหมายท่ีกําหนด
ขนึ้ แสดงลกั ษณะของสิง่ ตา ง ๆ บนโลก

แผนทเี่ ปน เครื่องมอื ทส่ี าํ คัญท่ที ําใหเ รารูวา ทะเล มหาสมุทร ทวีป และประเทศตา ง ๆ ต้งั อยูบ ริเวณใด
บนพน้ื โลก แตก ารท่เี ราตองการจะไดป ระโยชนอ ยา งแทจรงิ จากการใชแ ผนท่ีเทา นน้ั เราจําเปน จะตอ งมคี วามรู
ความเขา ใจเกี่ยวกับแผนท่เี สยี กอ น เชน ตอ งอา นแผนที่เปน และรจู ักเลอื กชนิดของแผนท่ีตามโอกาสที่จะใช
จึงจะสามารถใชแผนทไี่ ดอ ยา งถูกตอง

ความสาํ คัญของแผนท่ี

แผนที่เปนเคร่ืองมือทางภูมิศาสตรอยางหนึ่งของมนุษยสรางข้ึนเพ่ือนําไปใชประโยชนในกิจกรรม
ตาง ๆ เชน ใชคนหาสถานที่ เสนทางคมนาคมขนสง การทองเท่ียว แหลงเกษตรกรรม และกิจการทหาร
เปนตน ผใู ชแ ผนทจ่ี ะทราบขอ มูลบนพื้นทีจ่ รงิ อยางถูกตองชดั เจนและประหยัดเวลา

9

ชนดิ ของแผนที่

1. แผนที่ทางกายภาพ คอื แผนท่แี สดงถึงลกั ษณะทวั่ ไป ไดแก
1.1 แผนทภ่ี มู ปิ ระเทศ
1.2 แผนทภ่ี ูมิอากาศ
1.3 แผนทร่ี ัฐกจิ
1.4 แผนทเ่ี ศรษฐกจิ
1.5 แผนที่ประวัติศาสตร

2. แผนที่เฉพาะเรื่อง เปนแผนที่ท่ีแสดงขอมูลตามความตองการของผูศึกษา เชน แผนท่ีสรางทาง
รถยนต รถไฟ เครือ่ งบิน แผนท่ที างหลวง แผนท่ีทหาร แผนท่กี ารเดนิ เรือ แผนท่ีปาไม แผนทีท่ ่ดี นิ เปน ตน

องคป ระกอบของแผนที่ คอื สว นตาง ๆ ในแผนทีท่ ท่ี ําใหเ ขา ใจในการอานแผนทีไ่ ดถ กู ตอ งมากขึ้นซึ่งมี
องคป ระกอบทส่ี าํ คัญ ดงั นี้

1. เสน รงุ -เสน แวง เสน ทผ่ี านขว้ั โลกเหนือไปยังข้ัวโลกใต เรียกวา เสนแวง และเสนท่ีผาน
แนวตะวนั ตกไปยังตะวันออก เรียกวา เสนรุง เสนรุงที่ยาวท่ีสุดเรียกวา เสนศูนยสูตร ท้ังเสนรุงและเสนแวง
เปนเสนสมมติ

2. มาตราสวนคําพดู
3. มาตราสวนบรรทัด

กิจกรรม

แบง ใหกลมุ นกั เรยี นชว ยกันคิดหาคาํ ตอบของคาํ ถามทีว่ า “การหาทิศทางในแผนที่
เราจะทราบไดอยางไรวาสว นใดคอื ทิศเหนอื ในกรณที ่ีไมไ ดร ะบทุ ิศไวในแผนท”ี่

สญั ลักษณตาง ๆ ที่ใชในแผนที่

เครือ่ งหมายท่ีใชแ ทนสิ่งตาง ๆ บนผวิ โลกซึ่งมรี ปู รา งคลายของจริงและนยิ มใชสัญลกั ษณ ทเี่ ปน สากล
ดังนี้

เครอื่ งมือวดั ระยะในการทําแผนผงั และพน้ื ทีอ่ ยางงา ย ๆ
การสรางแผนผัง แผนที่ จะตองยอสวนจากพื้นที่จริงลงแผนแบนราบ เคร่ืองวัดระยะจึงมี

ความจําเปน อยา งยิง่ เครอื่ งวัดท่ีนิยมนํามาใช ไดแ ก
1. การนบั กา ว เนน การวดั ระยะที่ใชเ ครือ่ งมืองาย ๆ ท่ที ุกคนมีอยู กอนการเดินตองทําระยะ

ใหผ ูวดั หาคาความยาวมาตรฐานของระยะ 1 กา วของตนเองกอ น ถาตองการวดั ระยะ ใหเ ดินนบั กาว ไดจาํ นวน
กา วแลว นํามาคูณกบั กาวมาตรฐานของตน ก็จะไดระยะจริงโดยประมาณ

10

2. โซ เปนเคร่ืองมอื ท่เี ปนโลหะเปนขอ ๆ มหี ลายชนิด แตละชนิดมีความยาวขอแตกตางกัน
มที ั้งระบบองั กฤษและระบบเมตรกิ

3. เทป เปน เครื่องมอื วดั ที่นิยมใชกันมากท่ีสุดในปจจุบัน เพราะใชงาย สะดวก นํ้าหนักเบา
กะทดั รดั พกพาไดสะดวก มีหลายขนาด

กิจกรรมที่ 1

ใหน ักเรยี นเขยี นแผนผงั จงั หวัดทผ่ี ูเรียนอาศยั อยู โดยใชเ คร่อื งมอื ทางภูมศิ าสตรอ ยา งงา ย
แลว นําเสนอในกลมุ

เครื่องมอื ทใ่ี ชในการสาํ รวจทอ งถิน่ เชิงภูมศิ าสตร

การศกึ ษาเรือ่ งใด ๆ กต็ าม ผเู รียนจะตอ งมเี ครอ่ื งมอื ในการศกึ ษา ซ่ึงอาจมอี ยแู ลว หรอื ผเู รยี นอาจตอง
สรางขึ้นเองแลวแตก รณี และตองเหมาะสมกับเร่ืองที่จะศึกษา สําหรับเคร่ืองมือในการศึกษาจําแนกได 2 ชนิด คือ

1. เคร่ืองมือสํารวจขอมูลทองถิ่นเชิงภูมิศาสตรเศรษฐกิจและสังคม ไดแก แบบสังเกตการณ
แบบสัมภาษณ แบบสอบถาม แผนท่ภี าพถายทางดาวเทยี ม เปน ตน

2. เครอ่ื งมอื สํารวจทองถน่ิ เชงิ ภูมิศาสตรกายภาพ แบง ได ดังน้ี
2.1 เคร่ืองมือศึกษาลักษณะภูมิประเทศ เชน เข็มทิศ เทปวัดระยะแผนท่ี

และภาพถายทางอากาศ เปนตน
2.2 เครื่องมือศึกษารวมกับแผนท่ีและภาพถายทางอากาศ เชน เครื่องมือวัดพ้ืนที่

เครื่องมือวัดระยะ เครื่องมือวัดมมุ กลอ งสามมติ ิ เปนตน
2.3 เครอ่ื งมอื สาํ หรบั แผนที่และแผนผงั ไดแ ก เข็มทิศ โซ เทป การบันทึก
2.4 เครอื่ งมอื สาํ หรบั ศกึ ษาภมู ศิ าสตร ไดแก เทอรโมมเิ ตอรช นดิ ตาง ๆ เครือ่ งมอื

วัดลม เครือ่ งมือวัดปริมาณนาํ้ ฝน เคร่อื งมือวดั ความชื้น เคร่อื งมือวดั ความดันอากาศ

11

กิจกรรมท่ี 1

ใหนักเรียนเขยี นแผนผังจังหวดั ทผี่ เู รยี นอาศัยอยู โดยใชเครื่องมือทางภมู ิศาสตรอ ยางงา ยแลว นําเสนอในกลมุ

กจิ กรรมท่ี 2

ใหผ เู รยี นเลือกคาํ ตอบทีถ่ ูกตองทส่ี ดุ เพียงคําตอบเดียว

1. ส่งิ ใดทแ่ี สดงลกั ษณะของผวิ โลกโดยแสดงบนพื้นราบและใชเ คร่อื งหมาย แทนสิง่ ทปี่ รากฏบนพืน้ โลก คอื อะไร

ก. แผนที่ ข. ลกู โลก

ค. แผนผงั ง. ภาพถายอากาศ

2. ขอใดเปนแผนทแี่ สดงปริมาณ

ก. แผนที่แสดงฤดูกาล ข. แผนที่แสดงชนดิ ของปาไม

ค. แผนทแ่ี สดงจํานวนประชากร ง. แผนทแ่ี สดงลกั ษณะทางธรณี

3. เมอื่ ยนื หันหนาไปทางทิศตะวันตก ทศิ ใต จะอยูท างดา นใด

ก. ดา นหนา ข. ดา นซา ย

ค. ดานขวา ง. ดา นหลัง

4. สญั ลกั ษณท ีใ่ ชแ ทนท่ีตง้ั เมอื งในแผนท่ี จัดเปนสัญลักษณป ระเภทอะไร

ก. สญั ลักษณท เ่ี ปนสี ข. สญั ลักษณทเ่ี ปนจดุ

ค. สัญลกั ษณที่เปน เสน ง. สญั ลกั ษณทเี่ ปน พน้ื ที่

5. สเี หลืองเปน สญั ลักษณแทนสงิ่ ใดในแผนท่ี

ก. ปา ไม ข. ทุงหญา

ค. เนนิ เขา ง. ไหลท วปี

ใหผ ูเ รยี นศกึ ษาคน ควา หาขอ มูลเกี่ยวกบั หนว ยงาน หรอื องคก รตา ง ๆ วา มีการนาํ แผนที่มาใชประโยชน
อยางไรบาง (บอกมา 3 หนวยงาน)

เรอ่ื งที่ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ และวธิ กี ารอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม เปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติที่อยูรอบตัวเรามีท้ังส่ิงมีชีวิต
เชน คน สัตว พชื และสง่ิ ไมมชี ีวิต เชน นํา้ อากาศ หิน ดิน และสง่ิ ท่ีเกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาตเิ หลา นมี้ อี ทิ ธิพล
ซึง่ กันและกนั

ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึงสิง่ ตา ง ๆ ท่ีเกดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติและมนุษย สามารถนํามาใชใหเกิด
ประโยชนต อการดํารงชวี ิต เราสามารถแบง ทรพั ยากรออกเปน 3 ประเภท คือ

1. ประเภทที่ใชแ ลวหมดไป ไดแ ก แรธ าตุ นาํ้ มัน กาซ ธาตุอาหารพชื ในดิน

12

2. ประเภทท่ใี ชไ มหมดแตเสอ่ื มคณุ ภาพ ไดแก ดิน นํ้า อากาศ
3. ประเภททีใ่ ชแลวหมดไปแตส ามารถหาทดแทนข้ึนมาได ไดแ ก ปาไม สัตวป า
ทรัพยากรธรรมชาติมีความสําคัญตอความเปนอยูของมนุษยมาก ประเทศไทยอุดมสมบูรณดวย
ทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิด มีปริมาณมากนอยขึ้นอยูกับความแตกตางของสภาพภูมิศาสตรแตละภาค
มนุษยใชทรัพยากรบางอยางเพ่ือความอยูรอดของชีวิต เชน นํ้า อากาศ และทรัพยากรบางชนิดนํามาใช
อุปโภคหรอื บรโิ ภค เชน พชื ผกั แรธ าตุ ปา ไม เปนตน
ประเทศไทยอุดมไปดว ยทรพั ยากรธรรมชาติหลายชนิด ปริมาณ และแหลงท่ีปรากฏอาจจะแตกตาง
กันท้ังนข้ี ึ้นอยกู ับสภาพภมู ศิ าสตรทแ่ี ตกตา งกนั ดว ยทรัพยากรธรรมชาติมีความสําคัญตอชีวติ ความเปนอยูของ
มนุษยมาก มนษุ ยตอ งใชท รพั ยากรบางอยาง เพ่ือความอยูรอดของชีวิต เชน น้ํา อากาศ ทรัพยากรบางอยาง
เพอื่ ความอยูรอดของชวี ิต เชน น้ํา อากาศ ทรพั ยากรบางอยางนํามาใชอ ุปโภค หรือบรโิ ภค เชน พืชผัก แรธาตุ
ปาไม เปน ตน
ทรัพยากรธรรมชาตสิ าํ คัญในประเทศไทยทม่ี ีอิทธิพลตอการดาํ รงชีวติ ของประชากร ไดแก

1. ทรพั ยากรดนิ

ประเทศไทยไดช ื่อวา เปนเมืองเกษตรกรรม เปนแหลงอูขาว อูน้ําท่ีสําคัญของโลกทรัพยากรดิน จึงมี
ความสําคญั ตอประเทศเปน อยา งย่ิง ลักษณะของดินในประเทศไทย สรุปไดดังน้ี

1.1 ดินเหนียว พบท่ัวไปในบริเวณราบลุมแมนํ้าสายตาง ๆ ซ่ึงมีนํ้าทวมถึงทุกภูมิภาค
เน้ือดินละเอยี ด เหมาะจะทํานาขา ว และทําไรป อกระเจา

1.2 ดนิ รวน พบทว่ั ไปในพ้ืนที่ลานตะพักลาํ นํา้ ของแมน าํ้ สายตาง ๆ ซ่ึงเปนพื้นท่ีท่ีอยูหางจาก
สองฝง แมนา้ํ ออกไป เปนลกั ษณะท่ีราบข้ันบันได และนํ้าทวมไมถึง เนื้อดินเปนสวนประกอบของดินเหนียวและ
ดนิ ทราย ใชป ลกู พืชไร ออ ย ขา วโพด มันสําปะหลงั ฯลฯ

1.3 ดินอินทรียวัตถุ เปนดินที่เกิดจากการยอยสลายของพืชและซากสัตวท่ีเนาเปอยทับถม
เปนชนั้ ๆ พบทีท่ เี่ คยเปนปา ชายเลนมากอ น (ในปจจบุ นั คือปาพรุ) แตม กั จะมธี าตุกํามะถนั ปนอยูม าก

1.4 ดินทราย เปนดนิ ทีม่ อี งคประกอบของเนอ้ื ทรายมากทสี่ ดุ มคี วามอดุ มสมบรู ณคอนขา งตํ่า
พบมากในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ในบรเิ วณชายฝงแมน า้ํ และเชิงเขาในภาคอ่นื ๆ จะพบในพื้นทช่ี ายฝง
ทะเล ใชท ําสวนมะพราว และปลูกปาเพือ่ พฒั นาคุณภาพของดิน

2. ทรัพยากรน้าํ

ประเทศไทยมีปริมาณฝนอยูในเกณฑปานกลาง เฉล่ียประมาณปละ 1,675 มิลลิเมตร จัดไดวาเปน
ประเทศที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรน้ํามากพอสมควร ทั้งแหลงนํ้าบนพื้นผิวดิน (แมน้ําลําคลอง)
และแหลง นํา้ ใตดิน (นํ้าบาดาล)

แตเน่ืองจากพื้นท่ีสวนใหญของประเทศมีฝนตกไมสม่ําเสมอตลอดป จึงมักประสบปญหาขาดแคลนนํ้า
ในชวงฤดูแลง โดยเฉพาะน้ําใชในการเกษตร ซงึ่ ประสบปญ หาเกอื บทุกพื้นทีข่ องประเทศ

13

ภาคท่มี คี วามอดุ มสมบรู ณข องทรัพยากรนา้ํ มากท่สี ดุ คอื ภาคกลางเพราะมแี มน า้ํ สายใหญม คี วามยาว
และใหน้ําตลอดปหลายสาย ไดแก แมน้ําเจาพระยา ทาจีน และแมกลอง ตลอดจนแหลงนํ้าใตดินก็นับวามี
ความอดุ มสมบูรณมากวา ภาคอืน่ ๆ เชน กัน

สวนภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ประสบปญหาความไมอ ดุ มสมบรู ณของแหลง นา้ํ ตามธรรมชาติมากทสี่ ดุ
ในฤดแู ลงจะขาดแคลนนํ้าใชในการอปุ โภค บรโิ ภค และการเพาะปลูก บางพ้นื ท่ีไดช่ือวาประสบปญหาภัยแลง
ซาํ้ ซาก

แมจะมีแมน้ําชี และแมนํ้ามูล ซึ่งเปนแมน้ําสายใหญและมีความยาวมากของภาค แตปริมาณนํ้า
ในฤดแู ลง กลับมนี อ ย ไมสามารถใชประโยชนไดม ากนัก ย่ิงแหลงน้ําใตดินมีปญหาดานคุณภาพ เน่ืองจากมีแร
หนิ เกลือ (เกลอื สินเธาว) แทรกอยูในชนั้ หินทว่ั ไป จึงทาํ ใหแหลงนาํ้ บาดาลสว นใหญ มรี สกรอยเค็มใชประโยชน
ไดน อ ย

ในปจ จบุ นั มกี ารนาํ นํ้ามาใชก ันมากโดยเฉพาะภาคกลาง กรุงเทพฯ และปริมณฑล เพราะมีการขยายตัว
ทางเศรษฐกจิ อยางกวา งขวาง เชน บานจดั สรร โรงงานอตุ สาหกรรม ฯลฯ ในขณะที่การผลิตนํ้าประปาของรัฐ
ยังกระจายไมท ั่วถึงดพี อ

ดังนัน้ เมื่อมีการขุดเจาะนาํ น้ําบาดาลมาใชกนั เพ่ิมมากขนึ้ ทาํ ใหเกิดปญ หาแผน ดินทรุด เนือ่ งจากแหลง
น้าํ ใตด ินมกั อยใู นชองวา งหรือรอยแตกของช้นั หินใตด ินทงั้ สนิ้ เมือ่ นําน้ํามาใชกันมาก ๆ จึงเกิดเปนโพรงใตดิน
และเกิดการทรดุ ตัวลงในทีส่ ดุ

3. ทรัพยากรปา ไม

ในปจจุบัน ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีปาไมเหลืออยูเพียงรอยละ 25 ของพื้นที่ประเทศหรือประมาณ
131,485 ตารางกิโลเมตร (พ.ศ. 2547)

ลกั ษณะของปาไมใ นประเทศไทย แบง เปน 2 ประเภทใหญ ๆ ตามสภาพภมู ปิ ระเทศ ดังนี้
1. ปา ไมไมผ ลดั ใบ เปน ปา ไมท ข่ี ้ึนในเขตอากาศรอนชื้น แบบมรสมุ เขตรอน มฝี นตกชุกเกอื บ

ตลอดป มคี วามชืน้ สูง ทาํ ใหมใี บเขยี วชอุมตลอดปเ หมอื นไมผลัดเปล่ียนใบ โดยมากจะพบในพื้นท่ีภาคใตและ
ภาคตะวนั ออก

ปาไมผ ลัดใบ แบง ออกเปน 5 ชนดิ ยอย ๆ ดังนี้
1.1 ปา ดงดิบ มีตน ไมขนึ้ หนาทบึ ทง้ั ไมยนื ตน ใหญแ ละไมย นื ตน เล็ก
1.2 ปาดบิ เขา พบในพ้ืนท่ีสูงตงั้ แต 1,000 เมตรขึ้นไป เกือบทุกภาค เปนปา ทใ่ี หกําเนิดตนน้าํ

ลาํ ธาร
1.3 ปาสนเขา พบในพืน้ ที่สูงตัง้ แต 700 เมตรขน้ึ ไป เกอื บทกุ ภาคเชน กัน มีไมส นนานาชนดิ
1.4 ปาพรุ เปน ปาทพี่ บบรเิ วณชายฝง ทะเลของภาคใต มที ั้ง ไมย นื ตน ไมพุม ไมเลื้อย

และพืชลมลกุ

14

1.5 ปาชายเลน เปนปาทขี่ ึ้นบริเวณชายทะเลที่เปน โคลนเลนโดยเฉพาะบรเิ วณปากแมน้ํา
มีความสําคัญตอระบบนิเวศวิทยา หรือแหลงที่อยูอาศัยและแหลงเพาะพันธุของสัตวนํ้า ไมที่สําคัญคือ
ไมโ กงกาง ลําพู จาก เปนตน

2. ปาไมผลัดใบ พบในเขตภูมิอากาศแบบทุงหญาเมืองรอนที่มีฝนตกปละ 4 เดือน
ในฤดูแลงไมป ระเภทนจ้ี ะผลัดใบพรอมกันเกือบหมดทง้ั ตน พบในพนื้ ท่ีราบและพืน้ ท่สี ูงไมเกิน 1,000 เมตร
แบง ออกเปน 2 ชนดิ ดงั น้ี

2.1 ปาเบญจพรรณ พบในเกือบทุกภาคของประเทศ ไมสําคัญท่ีมีคาทางเศรษฐกิจ ไดแก
ไมส ัก ไมประดู ไมแดง ไมย าง ฯลฯ

2.2 ปาแดง ปาโคก หรือ ปาแพะ เปนปา โปรง พบมากในบรเิ วณทร่ี าบหรอื เนนิ เขาเตี้ย ๆ
ซึ่งเปนพ้ืนที่สีแดง โดยเฉพาะในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไมที่มีคุณคาทางเศรษฐกิจ คือ ไมเต็งรัง
ไมพะยอม ฯลฯ

4. ทรัพยากรแรธ าตุ

ประเทศไทยมีแหลงแรธาตุอุดมสมบรู ณก ระจายอยูท่ัวไป โดยเฉพาะบริเวณเขตเทือกเขาสงู
ในภาคเหนือ ภาคตะวนั ตก และภาคใต ในที่น้ี จาํ แนกแรธาตไุ ดเปน 3 ชนิด ดงั นี้

4.1 แรโลหะ ไดแ ก ดีบกุ ทงั สเตน ตะก่ัว สงั กะสี ทองแดง เหลก็ พลวง และแมงกานสี
4.2 แรอ โลหะ ไดแก ยปิ ซัม หินปูน ดนิ มารล (ดนิ สอพอง) และรัตนชาติ
4.3 แรเช้อื เพลิง ไดแก นํา้ มันดิบ กาซธรรมชาติ และถานหนิ (ลิกไนต)

5. ทรัพยากรสตั วป า

สตั วป า อาศยั อยูใ นปาตามโพรงไม ซอกหิน ถ้าํ สัตวเ หลาน้ีตองพ่ึงพาหากินดวยตนเอง ปรับตัวใหเขา
กบั สง่ิ แวดลอ ม เชน เสอื ชา ง กวาง หมี แรด ลิง คาง เปนตน ปจจุบันสัตวปาถูกคุกคามมากขึ้นทําใหสัตวปา
บางชนิดสูญพันธไป ประเทศไทยไดมีพระราชบัญญัติสงวนและคุมครองสัตวปาข้ึน เม่ือวันท่ี 26 ธันวาคม
2530 ดงั น้นั รัฐบาลจึงกาํ หนดใหว ันท่ี 26 ธันวาคม ของทุกปเปน “วันคุมครองสัตวป า แหงชาติ”

ทรัพยากรและการแลกเปลย่ี นทรพั ยากร

เน่ืองจากประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณดวยทรัพยากรธรรมชาติหลายชนิดของแตละทองถิ่น
เมอื่ มมี ากในทอ งถ่ินก็ดเู หมือนวาเปน ของไมม ีประโยชนหรือไมมีคุณคา แตในขณะเดียวกันทองถิ่นอ่ืนมีความ
ตอ งการจึงทาํ ใหม กี ารแลกเปลย่ี นทรพั ยากรระหวา งทองถิ่นเกดิ ขึน้ ตวั อยา งขา งลางน้ีเปนทรัพยากรธรรมชาติ
ท่มี ีอยใู นแตละภาคและนาํ ไปสกู ารแลกเปลยี่ นทรัพยากรระหวา งทองถนิ่

ภาคเหนือ มีลนิ้ จี่ ลาํ ไย สม เขียวหวาน และผักผลไมเมืองหนาว เชน บร็อคโคล่ี เซเลอรี่ สตรอวเบอรร่ี
ลูกทอ ลกู พลับ สาล่ี เปนตน

ภาคใต มที เุ รียน เงาะ ลองกอง มงั คุด และสัตวน้ําเค็ม เชน ปลา กุง หอย ปลาหมึก และอื่น ๆ เชน
มะพราว แรธ าตุตา ง ๆ

15

ภาคกลาง ปลูกขา ว ทาํ สวนผกั - ผลไม เชน สมโอ ชมพู มะมว ง ขนุน ขา วโพด ออ ย ผักตาง ๆ และ
เลี้ยงสตั ว เชน สกุ ร เปด ไก ปลานาํ้ จืด เปน ตน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ปลูกถั่ว งา ขาวโพดออน มันสําปะหลัง ปอ ฝาย และสัตวเลี้ยง เชน โค
กระบือ สกุ ร เปนตน

ผลกระทบท่เี กิดจากการใชทรพั ยากร

ทรัพยากรธรรมชาตเิ มื่อนํามาใชม ากเกนิ ไปโดยไมมีการสรางการทดแทนก็จะทําใหเกิดความสูญเสีย
หรอื ถกู ทาํ ลายได เชน การตดั ถนนเพอ่ื ใชใ นการคมนาคม หรอื การสรางเขื่อนกักเก็บน้ําจะตองใชเนื้อท่ีบริเวณ
พ้นื ดินจํานวนมหาศาล ทําใหพ้ืนดินท่ีเปนปาไมถูกโคนทําลายลง ทําใหปาไมลดลง สัตวปาลดลงเพราะพื้นที่ปา
ถกู ทําลายทาํ ใหสภาพอากาศทชี่ มุ ชน้ื อดุ มสมบูรณ เกดิ ความแหงแลง ฤดูกาลผนั แปรหรอื ฝนตกไมตองตามฤดูกาล
หรอื ตกนอ ย หรอื มีการใชพ ้ืนดนิ เพือ่ การเพาะปลูกมากขน้ึ มกี ารทําลายปาเพ่ือการเพาะปลูก นอกจากนี้การใช
สารเคมีในการเพาะปลูกเกินความจําเปน ทําใหดินที่อุดมสมบูรณเสื่อมสภาพเม่ือทรัพยากรเส่ือมลง
สภาพสง่ิ แวดลอมก็เสอ่ื มไปดว ย

ส่ิงแวดลอ ม
สง่ิ แวดลอ ม หมายถงึ สงิ่ ตา ง ๆ ทั้งหลายที่อยรู อบตวั เราท้ังสิ่งท่ีมีชีวิตและส่ิงท่ีไมมีชีวิต ส่ิงท่ี

เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ ส่ิงท่ีมนุษยสรางขึ้น อาจมีประโยชนหรือไมมีประโยชนตอมนุษยก็ได เราแบง
สงิ่ แวดลอ มเปน 2 ประเภทคือ

1. สิ่งแวดลอ มตามธรรมชาติ คือสงิ่ แวดลอ มทเ่ี กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ ไดแก คน พืช สัตว
ดนิ นํ้า อากาศ ฯลฯ สิ่งแวดลอ มนี้แบงเปน 2 ชนดิ ไดแก

1.1 สง่ิ แวดลอ มท่มี ชี ีวิต เชน คน สตั ว พชื ฯลฯ
1.2 สิง่ แวดลอ มที่ไมมีชีวิต เชน ดนิ น้าํ อากาศ ภเู ขา ฯลฯ
2. สิ่งแวดลอมทม่ี นษุ ยส รา งขึน้ แบง เปน 2 ชนิด คอื
2.1 สิ่งแวดลอมทางกายภาพ เปนสิ่งที่มนุษยสรางข้ึนเปนวัตถุ สามารถมองเห็นได
ชัดเจน เชน อาคารบา นเรือน ยานพาหนะ เสื้อผา ฯลฯ
2.2 ส่ิงแวดลอมทางสังคม เปนสิ่งแวดลอมท่ีมนุษยสรางข้ึน แตไมใชวัตถุจึงไมอาจ
มองเหน็ ได แตเปนสงิ่ ที่มผี ลตอ พฤตกิ รรมท่ีแสดงออก เชน ประเพณีวัฒนธรรม กฎหมายขอ บังคับ เปนตน

วธิ กี ารอนุรกั ษทรพั ยากรธรรมชาติ

เนื่องจากมีการทําลายทรัพยากรธรรมชาติจากการกระทําของมนุษย และการกระทําน้ันมีความ
รวดเรว็ และรุนแรงเกินกวาระบบธรรมชาติจะฟน ฟดู ว ยตวั เอง ดงั นั้นเปน สิง่ จาํ เปนเรงดว นที่ตองการรณรงค
ใหทุกคนในสังคมชวยกันอนุรักษ และมีความสํานึกอยางจริงจังกอนท่ีจะสงผลกระทบเลวรายไปกวาน้ี
โดยคาํ นึงถงึ สิ่งตอ ไปนี้

16

1. ความสญู เปลา อนั เกดิ จากการใชท รัพยากรธรรมชาติ
2. ใชแ ละรักษาทรพั ยากรธรรมชาติดวยความระมัดระวัง และตองใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
และคุมคาที่สุด
3. ใชแลวตองมีการทดแทน
4. ตอ งควบคมุ อัตราการเกิดและการเปลี่ยนแปลงของประชากรใหสอดคลอ งเหมาะสมกนั
5. ใชทรพั ยากรอยางมปี ระสทิ ธภิ าพและหาสง่ิ ใหม ๆ ใชอยา งพอเพยี ง
6. ใหการศึกษาใหประชาชนตระหนักและเขาไปมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอม

กิจกรรม

1. ทรัพยากรธรรมชาติหมายถงึ อะไร อธิบายและยกตัวอยางมา 3 ชนิด
2. ใหผ ูเรยี นยกตวั อยางวธิ กี ารอนรุ ักษท รัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ มมา 3 ขอ
3. ใหผ ูเรยี นแบง กลมุ ศึกษา คนควา ผลกระทบทเ่ี กิดจากการใชและการเปล่ียนแปลง คือ
ส่งิ แวดลอม ธรรมชาติ และทรพั ยากรในทอ งถิน่ แลว นํามาแลกเปล่ียนเรียนรรู ว มกัน
4. ปจ จบุ นั ประเทศไทยประสบภาวะวิกฤตกิ ารณท รพั ยากรธรรมชาติอยางไร
บอกมา 3 ขอ

เรือ่ งที่ 5 ศักยภาพของประเทศไทย

5.1 ศักยภาพของประเทศไทย
ศักยภาพ หมายถึง อาํ นาจหรอื คุณสมบตั ทิ มี่ แี ฝงอยูใ นสิง่ ตาง ๆ อาจทําใหพัฒนา หรือใหปรากฏเห็น

เปนสิ่งทป่ี ระจักษได กระทรวงศกึ ษาธิการไดม ีนโยบายในการจัดการศึกษาเพือ่ ความเปนอยูท่ดี ีสรา งความมัง่ คง่ั
ทางเศรษฐกิจและความมั่นคงทางสังคมใหกับประเทศโดยการนําศักยภาพของประเทศไทยใน 5 ดาน
มาใชป ระโยชนไดแก

1) ดา นทรัพยากรธรรมชาติ
ประเทศไทยเปนประเทศที่มีทรัพยากรธรรมชาติอยูอยางมากมาย ทรัพยากรธรรมชาติ เปนสิ่งที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และมนุษยสามารถนําไปใชประโยชนเพ่ือการดํารงชีวิต ประโยชนดานเศรษฐกิจ
และการพักผอนหยอนใจ จําแนกทรัพยากรธรรมชาติแบงเปน 4 ชนิด คือ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรนํ้า
ทรพั ยากรปาไม และทรัพยากรแรธ าตุ

17

2) ดานภูมอิ ากาศ
ประเทศไทยตั้งอยูในเขตรอน สภาวะอากาศโดยท่ัวไปจึงรอนอบอาวเกือบตลอดป อุณหภูมิเฉล่ีย
ตลอดปของประเทศไทยมีคาประมาณ 27 องศาเซลเซียส อยางไรก็ตามอุณหภูมิจะมีความแตกตางกันไป
ในแตล ะพื้นที่และฤดูกาล พื้นที่ที่อยูลึกเขาไปในแผนดินบริเวณตั้งแตภาคกลาง และภาคตะวันออกตอนบน
ข้ึนไปจนถึงภาคเหนือจะมีอุณหภูมิแตกตางกันมาก ระหวางฤดูรอนกับฤดูหนาวและระหวางกลางวัน
กบั กลางคนื โดยในชว งฤดรู อนอณุ หภูมิสูงสุดในตอนบา ย ปกติจะสูงถึงเกือบ 40 องศาเซลเซียส หรือมากกวา
น้ันในชวงเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม โดยเฉพาะเดือนเมษายนจะเปนเดือนท่ีมีอากาศรอนจัดที่สุดในรอบป
สวนฤดูหนาวอุณหภูมติ ํา่ สุดในตอนเชามืดจะลดลงอยูในเกณฑหนาวถึงหนาวจัด โดยเฉพาะเดือนธันวาคมถึง
มกราคมเปน ชว งท่มี อี ากาศหนาวมากท่สี ุดในรอบป ซึง่ ในชว งดังกลา วอณุ หภมู อิ าจลดลงตํ่ากวาจุดเยือกแข็งได
ในภาคเหนือ และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื บรเิ วณพนื้ ที่ซง่ึ เปนเทือกเขาหรอื บนยอดเขาสูง สําหรับพื้นที่ซึ่งอยู
ติดทะเล ไดแ ก ภาคตะวนั ออกตอนลา งและภาคใต ความผันแปรของอณุ หภูมิในชวงวันและฤดูกาลจะนอยกวา
โดยฤดูรอนอากาศไมรอนจัดและฤดูหนาวอากาศไมหนาวจัดเทาพื้นท่ีซ่ึงอยูลึกเขาไปในแผนดิน ลักษณะ
ภมู ิอากาศจําแนกเปน 3 ฤดู คอื

ฤดูฝน จะเร่มิ ปลายเดอื นพฤษภาคม และส้ินสดุ ปลายเดอื นตลุ าคม
ฤดหู นาว จะเริ่มเดอื นตลุ าคมไปส้ินสดุ เดือนกุมภาพันธ อากาศหนาวจัด จะมีอุณหภูมิต่ํากวา 8.0
องศาเซลเซยี ส อากาศหนาว มอี ณุ หภมู ิระหวาง 8.0 - 15.9 องศาเซลเซียส และอากาศเยน็ มอี ุณหภูมิระหวาง
16.0 - 22.9 องศาเซลเซียส
ฤดูรอน จะเร่ิมกลางเดือนกุมภาพันธ ไปสิ้นสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม อากาศรอน จะมี
อุณหภมู ริ ะหวา ง 35 - 39.9 องศาเซลเซยี ส อากาศรอ นจัด มอี ณุ หภมู ิ 40 องศาเซลเซียสข้นึ ไป
3) ดา นภูมิประเทศ และทาํ เลทต่ี ง้ั
ประเทศไทย มีพ้ืนท่ี 513,115 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 321 ลานไร) มีลักษณะคลายขวาน
โดยภาคใตเ ปน ดามขวาน แนวดานตะวันตกเปนสันขวาน ภาคเหนือเปนหัวขวาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวนั ออกเปน คมขวาน จากลักษณะดังกลาว ความยาวจากเหนือสุดถึงใตสุด วัดจากอําเภอแมสาย
จังหวดั เชียงรายไปจนถงึ อําเภอเบตง จงั หวัดยะลา มคี วามยาว 1,650 กิโลเมตร สวนท่ีกวางสุดจากตะวันออก
ไปตะวนั ตก วัดจากอาํ เภอสริ ินธร จังหวัดอุบลราชธานี ไปยังอาํ เภอสงั ขละบรุ ี จงั หวัดกาญจนบุรี เปน ระยะทาง
800 กิโลเมตร บริเวณแผนดินสวนที่แคบท่ีสุดของประเทศตั้งอยูระหวางแนวชายแดนกัมพูชากับพ้ืนที่
บานโขดทราย ตําบลหาดเล็ก อําเภอคลองใหญ จังหวัดตราด มีระยะทางเพียง 450 เมตร และสวนพื้นท่ี
บา นวงั ดวน ตําบลหวยทราย อําเภอเมือง จังหวัดประจวบคีรีขันธ วัดจากชายแดนประเทศพมาจนถึงทะเล
อา วไทย มีระยะทาง 10.6 กิโลเมตร สําหรับสวนท่ีแคบที่สุดของแหลมมลายู (แผนดินระหวางอาวไทยและ
ทะเลอันดามัน) อยูในพ้ืนท่ีของจังหวัดชุมพรและระนอง มีระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร เรียกสวนนี้วา
"คอคอดกระ"

18

สภาวิจัยแหงชาติไดแบงประเทศไทยออกเปน 6 ภูมิภาค ตามลักษณะธรรมชาติ รวมไปถึงธรณี
สันนิษฐานและทางนํ้า รวมไปถึงรูปแบบวัฒนธรรมมนุษย โดยภูมิภาคตาง ๆ ไดแก ภาคเหนือ
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก และภาคใต

4) ดา นศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
ประเทศไทย เปนสังคมที่ไมเหมือนที่ใดในโลก ผูคนมีความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ มีจิตใจโอบออมอารี
มีความสามัคคีในหมูคนทุกเช้ือชาติ ทุกศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทย เปนเอกลักษณของชาติ
ท่คี นไทยทกุ คนภาคภมู ใิ จ เปน ความงดงามทส่ี ืบทอดอนั ยาวนาน

ศลิ ปะ เชน ภาพฝาผนังตามวดั วาอาราม พระราชวัง เคร่ืองประดบั และเครอ่ื งใชท ว่ั ไป
การแสดงแบบไทย ลิเก โขน ราํ วง ดนตรีไทย เพลงไทย ฯลฯ

วัฒนธรรม เชน การแตงกาย ภาษาไทย อักษรไทย อาหารไทย สมุนไพรไทย มารยาทไทย
การไหว การเคารพผูอาวโุ ส ฯลฯ

ประเพณี เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณีลอยกระทง ประเพณีชักพระ ประเพณีแหเทียน
เขา พรรษา ฯลฯ

5) ดานทรพั ยากรมนุษย
คนไทยนบั เปนทรัพยากรที่มีคาที่สุดของประเทศ มีศกั ยภาพทแี่ ตกตา ง หลากหลาย มีความรู
ความเชี่ยวชาญในทุกสาขาอาชีพ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค เชน ดานการแพทย วิศวกรรม การเกษตร
นักออกแบบ ตลอดจนภูมิปญญาตาง ๆ ฯลฯ ประกอบกับ บุคลิกลักษณะนิสัยของคนไทยท่ีมีความสุภาพ
ออนนอ มถอ มตน ยม้ิ แยมแจม ใส มีความสามารถในการปรับตัวไดดี
รัฐบาลไดต ระหนักถึงคุณคาที่มีอยูของศักยภาพท้ัง 5 ดาน ดังกลาวจึงไดสงเสริมใหประชาชนไดนํา
ศักยภาพดงั กลาว ไปใชป ระโยชนเ พื่อการมรี ายไดและสรา งอาชีพทมี่ ่นั คง

5.2 กระบวนการวเิ คราะหศ ักยภาพชุมชนทองถิ่น
1. สํารวจรวบรวมขอ มลู ชมุ ชน
1.1 ขอ มลู ท่ีสาํ รวจ ประกอบดว ย
1) ขอมูลประชากร เชน จํานวนประชากร ครอบครัว ระดับการศึกษาของคนใน

ชุมชน ภูมปิ ญ ญาทองถ่นิ
2) ขอมลู ดานเศรษฐกิจ เชน อาชีพหลัก อาชีพเสริม รายรับ รายจาย ของครอบครัว

ชมุ ชน รานคา ในชมุ ชน การบริโภคสินคา สถานประกอบการ การใชป ระโยชนจากท่ีดิน
3) ขอมูลดานประเพณีและวัฒนธรรม เชน ความเช่ือ ศาสนา ประเพณีทองถ่ิน

การละเลน กฬี าพ้นื เมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ
4) ขอ มลู ดา นการเมอื งการปกครอง เชน บทบาทผูนํา โครงสรางอํานาจการปกครอง

การมสี ว นรวมของคนในชุมชน

19

5) ขอมูลดานสังคม เชน โรงเรียน สถานีอนามัย แหลงเรียนรูในชุมชน กลุมตาง ๆ
ในชมุ ชน ความสมั พนั ธข องคนในชมุ ชน

6) ขอมูลดานระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม เชน ทรัพยากรธรรมชาติในทองถิ่น
สภาพดิน แหลงน้ํา สภาพอากาศ วตั ถุดิบ แหลงทอ งเทยี่ วในชุมชน ทองถนิ่

1.2 วิธีการสาํ รวจขอมลู
การไดมาของขอมูลดังกลาวขางตน สามารถดําเนินการไดหลายวิธี ข้ึนอยูกับวัตถุประสงค
ของการสํารวจ ลักษณะของขอมูลที่ตองการ เชน การสังเกต การสัมภาษณ การใชแบบสอบถาม การสนทนากลุม
การศกึ ษาจากเอกสาร โดยมีเทคนคิ วธิ ีการดังนี้

1) การสังเกต เปนวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลโดยผูสังเกตเฝาดูพฤติกรรมจริงหรือ
เหตกุ ารณจ ริงโดยผูสังเกตอาจเขาไปทํากิจกรรมรวมในเหตุการณ หรือไมมีสวนรวมโดยเฝาดูอยูหาง ๆ ก็ได
การสังเกตมที ั้งแบบมโี ครงสรางกบั แบบไมมโี ครงสรา ง การสังเกตแบบมีโครงสรางตองเตรียมหัวขอ ประเด็น
ทต่ี อ งใชใ นการสังเกตลวงหนา แลว บนั ทกึ รายละเอียดสิ่งทสี่ งั เกตตามประเด็นท่กี ําหนด สว นการสงั เกตแบบ
ไมม ีโครงสรางเปนการสงั เกตไปเรื่อย ๆ ตามสิง่ ที่พบเหน็

2) การสัมภาษณ เปนวิธีเก็บขอมูลโดยผูสัมภาษณกับผูใหสัมภาษณพบปะกัน
การสมั ภาษณม ที ั้งแบบมีโครงสรา งและแบบไมม โี ครงสรา ง การสมั ภาษณแบบมโี ครงสรา งผูส ัมภาษณจะเตรยี ม
คําถาม เตรยี มลําดบั คาํ ถามไวลว งหนา สว นการสมั ภาษณแ บบไมมีโครงสรา งเปนการพูดคุยไปเร่ือย ๆ จะถาม
คําถามใดกอนหลงั กไ็ ด

3) การใชแบบสอบถาม ผูเก็บขอมูลจะตองเตรียมแบบสอบถามไวลวงหนา โดยมี
คําช้แี จง รายการขอ มลู ท่ตี องการ

4) การสนทนากลุม เปนการเกบ็ รวบรวมขอมูลจากวงสนทนา โดยผูรวมวงสนทนา
เลือกมาจากผูที่มีความรูในเร่ืองน้ัน ๆ เพื่อใหไดขอมูลตรงตามประเด็นท่ีตองการ และมีผูจดบันทึกขอมูล
จากการสนทนาพรอมปฏิกิริยาของผูรวมสนทนาและบรรยากาศของการสนทนา แลวสรุปเปนขอสรุปของ
การสนทนาแตล ะครง้ั

5) การศึกษาจากเอกสาร เปน การเก็บรวบรวมขอ มูลท่ีมีผูรวบรวมเรียบเรียงไวแลว
ในลักษณะของเอกสาร โดยพิจารณาเลอื กใชใ หเหมาะสม

2. วิเคราะหศ ักยภาพของชุมชน ทอ งถ่ิน
เมื่อดําเนินการสํารวจขอมูลแลว นําขอมูลท่ีไดจากการสํารวจ มาชวยกันวิเคราะห โดยนํา

ขอมูลท่ีไดม าจดั หมวดหมู เรยี งลาํ ดับ (เชงิ คุณภาพ) คํานวณคาตวั เลข (เชงิ ปรมิ าณ) ตีความ สรุป และนําเสนอ
ในรปู แบบตา ง ๆ ทส่ี ามารถสอ่ื ความหมายได เชน ขอ ความ ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ ฯลฯ และทส่ี าํ คัญในการ
วิเคราะหขอ มูลชุมชน คือ ประชาชนในชมุ ชนตองมีสว นรวมในการวิเคราะห ใหขอคิดเห็น แลกเปล่ียนเรียนรู
รวมกนั

ตวั อยาง ผลการวิเคราะหศักยภาพชุมชน บานปาเหม้ียง โดยการพิจารณา จุดเดน จุดดอย
(ปจจัยจากภายในชุมชน ทองถิน่ ) โอกาส และอปุ สรรค (ปจจัยจากภายนอกชมุ ชน ทอ งถิ่น)

20

จุดเดนของชุมชน มดี งั น้ี
ดานทรัพยากรธรรมชาติ มีปาไมอุดมสมบูรณ เปนแหลงตนนํ้าลําธาร มีลําธารไหลผานหมูบาน
เหมาะสาํ หรับการปลูกเหมย้ี ง (ชาพันธุอ สั สมั ) จงึ มีวถิ ชี ีวิตท่ีเปน เอกลักษณ สบื เนือ่ งกันมานาน 200 ป ดวยการ
ประกอบอาชีพทาํ สวนเหมยี้ ง
ดา นภมู ิอากาศ มอี ากาศหนาวเย็นเกอื บตลอดป อณุ ภมู สิ ูงสดุ 25 องศา
ดานภมู ปิ ระเทศ และทําเลทต่ี ัง้ เปน หมบู านขนาดเล็ก หา งจากจังหวัดลําปาง ประมาณ 81 กิโลเมตร
เปน หมบู านรอยตอ ระหวางจงั หวัดลําปาง และจังหวดั เชียงใหม ต้งั อยูบนภูเขา อยูใ นเขตพื้นทคี่ วามรบั ผิดชอบ
ของอทุ ยานแหง ชาติแจซอน มีทวิ ทัศนส วยงาม
ดานศิลปวัฒนธรรม และประเพณี เปนชุมชนเกาแกมีอายุกวา 200 ป วิถีชีวิตอาชีพของคนในชุมชน
ผูกพนั กับการเกบ็ เหม้ยี ง หยุดเก็บเหมี้ยงทุกวันพระ มีตํารายาโบราณที่บันทึกบนกระดาษพับสาท่ีเขียนเปน
ภาษาลา นนา ประเพณีแหโคมสาย การฟอนเจิง เทศกาลดอกเสี้ยวบาน
ดานทรัพยากรมนุษย คนในชุมชนมีอัธยาศัยไมตรี แกนนําชุมชนเขมแข็ง มีภูมิปญญาทองถิ่นดาน
หมอเมือง (สมุนไพร) กลุมตาง ๆ มคี วามเขม แขง็ เชน กลมุ แมบาน กลุมเยาวชน กลมุ สหกรณผ ใู ชไฟฟาพลงั นํ้า
จุดดอย การประกอบอาชีพทําสวนเหม้ียง ทําไดเพียง 7 เดือนในรอบป อีก 5 เดือน จะวางงาน
สภาพพ้นื ทเ่ี ปนภเู ขาสูงไมสามารถทาํ นาได ตองซอื้ ขาวจากภายนอก การคมนาคมติดตอกับภายนอกคอนขาง
ลําบาก รายไดห ลักของชุมชนจากการขายเหมีย้ งอยางเดยี ว เคร่อื งอุปโภคบรโิ ภคตอ งซอ้ื จากภายนอกท้งั หมด
โอกาส สถานการณปจจุบัน ซึ่งเปนปจจัยภายนอก คือ กระแสการทองเที่ยวเชิงอนุรักษ การจัดกิจกรรม
การทอ งเท่ียวในชมุ ชน เพ่ือศึกษาวัฒนธรรม วิถีชีวิตของทองถ่ิน ตลอดจนพักผอน และการผจญภัย โดยพัก
คา งคนื กับชาวบานหรือทเี่ รียกกันวา โฮมสเตย (Home Stay) ไดร บั ความนิยมเพิ่มขึ้น
อปุ สรรค การตดิ ตอ สอื่ สารกบั ภายนอกยากลําบาก ไมม สี ัญญาณโทรศัพท
3. นําผลการวิเคราะหศกั ยภาพชุมชนไปใชประโยชนใ นการเชือ่ มโยงสงู านอาชีพ
จากตวั อยา งการวเิ คราะหศ ักยภาพของชุมชนบา นปา เหมยี้ ง สามารถเชือ่ มโยงเขา สกู ารสรา งอาชพี ใหม
คือ อาชีพโฮมสเตย (Home Stay) ซึ่งเปนรูปแบบการทองเท่ียวอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถตอบสนองความ
ตอ งการของนกั ทองเท่ียว และสามารถเสรมิ สรา งรายไดใ หก บั คนในชมุ ชน และเปนอาชพี ทีจ่ ัดอยใู นกลุมอาชีพ
ดานการบริหารจัดการและการบริการ ซ่ึงเปนหนึ่งใน 5 กลุมอาชีพ ตามนโยบายของรัฐบาล ไดแก
1) เกษตรกรรม 2) อุตสาหกรรม 3) พาณิชยกรรม 4) ความคิดสรางสรรค และ 5) การบริหารจัดการและ
การบริการ

กิจกรรมเสริม
ใหผเู รียนบอกศักยภาพชุมชนชนของตนเองที่เหน็ วาสามารถเชื่อมโยงไปสูก ารประกอบอาชีพได

แลว นาํ มาแลกเปลย่ี นเรยี นรรู วมกัน

…………………………

21

บทท่ี 2
ประวตั ิศาสตรชาติไทย

สาระสําคญั

ชาติไทยมีบรรพบุรุษท่ีเสียสละเลือดเน้ือเพ่ือสรางอาณาจักรใหคนไทยไดมีท่ีอยูอาศัย มีที่
ทํากนิ อุดมสมบรู ณและมศี กั ดศ์ิ รขี องความเปนชาติไทยถึงปจจบุ ัน นาน 700 ป โดยมีพระมหากษัตริยที่มีความ
ปรชี าชาญ ทัง้ ดา นการรบ การปกครอง และการพฒั นาดานตาง ๆ ท่ีคนไทยทุกคนตองตระหนัก และรวมกัน
รกั ษาประเทศชาตใิ หอ ยอู ยา งมั่นคง รมเยน็ เปนสขุ ตลอดไป

ผลการเรียนรทู ี่คาดหวัง

1. อธิบายขอมลู เก่ียวกับประวัติศาสตรได
2. ระบสุ ภาพความเปลย่ี นแปลงทางประวัตศิ าสตรได
3. เกิดความตระหนกั และสามารถนาํ ความรูเ กย่ี วกบั ประวัตศิ าสตรไ ปประยกุ ตใ หทันกบั
สภาพการเปลยี่ นแปลงกบั สภาพชมุ ชน สงั คมและความม่นั คงของประเทศชาติได

ขอบขา ยเนอ้ื หา ความหมายความสาํ คัญของประวัตศิ าสตร
ประวัตศิ าสตรค วามเปนมาของชนชาตไิ ทย
เร่ืองที่ 1 ประวัติและผลงานของบรรพบุรษุ ไทยทม่ี ีสวนปกปองและสรา งความ
เร่ืองที่ 2 เจรญิ ใหแ กชาตบิ า นเมอื ง
เรื่องท่ี 3

22

เร่อื งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของประวตั ิศาสตร

ความหมาย ความสาํ คัญของประวตั ศิ าสตร
ความหมาย

ประวัติศาสตร หมายถึง เร่ืองราวหรือประสบการณในอดีตที่เกิดข้ึนจากการกระทําของมนุษย
ทงั้ เรือ่ งราวที่เก่ยี วกบั แนวคดิ พฤติกรรม สิง่ ประดษิ ฐ มีววิ ฒั นาการทม่ี า ซงึ่ มนี กั ประวตั ิศาสตรไดศึกษาคนควา
ใหรูเรื่องราวที่เกิดข้ึนตามวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร

ตวั อยา ง ประวัติศาสตรท่เี กีย่ วกับแนวความคิดของคนในอดตี เชน การฝงศพของคนจีนที่มีการฝงคน
เปน ไปพรอ มกับคนตาย เพราะเชอื่ วา ผูต ายจะมีคนคอยรบั ใชหลังการตาย การขดุ คน พบบริเวณท่ฝี ง ศพของคน
โบราณมกั พบอุปกรณ เครอื่ งใชตาง ๆ ใกลบ ริเวณนน้ั ๆ เพราะเกิดจากความเช่ือวาผตู ายจะไดม ีของใช เปน ตน

ตวั อยาง ประวตั ิศาสตรเกีย่ วกับพฤตกิ รรม เชน ในสมัยยุคดึกดําบรรพท่ีพบวา คนสมัยน้ันยังชีพดวย
การลา สัตวเปนอาหาร เพราะพบอาวธุ สาํ หรับลาสัตวใ นบริเวณที่เปน ทอ่ี ยูอาศัยของคนสมยั น้ัน

ตวั อยา ง ประวตั ศิ าสตรท่ีเกี่ยวกับสิ่งประดิษฐ เชน อาวุธโบราณ เคร่ืองถวยชาม ภาพเขียนตามผนัง
ทเ่ี ปน การสะทอนเรื่องราว วิถีชวี ติ ของคนสมยั ตาง ๆ

ประวตั ศิ าสตร
ความสําคัญของประวัตศิ าสตร

ประวตั ศิ าสตรม คี วามสําคัญมากกบั ชีวติ เราคนไทย นอกจากจะใหเราไดเรียนรูเร่ืองราวของตนเองวา
ไดมคี วามเปน อยมู าอยางไร และมเี หตกุ ารณใดเกดิ ขน้ึ บางในอดีต มีพัฒนาการ หรือวิวัฒนาการในแตละดาน
มาอยางไร ผูศ ึกษาประวัติศาสตรย ังไดร บั ประโยชนดังน้ี

1. เปน ผมู ีเหตุ มีผล เพราะการศกึ ษาประวัตศิ าสตรตองคิด และหาหลกั ฐานเหตุผลประกอบ
เพราะอธบิ ายสิ่งทพ่ี บอยางสมเหตสุ มผล

2. เปนผทู ่เี หน็ คณุ คาของประวตั ิศาสตร เขา ใจเร่ืองราวตาง ๆ ทั้งที่เปนของประเทศไทยเรา
หรือตางประเทศได

3. เปนคนทีล่ ะเอยี ดรอบคอบ เพราะการศึกษาประวตั ศิ าสตร ตองดูทุกรายละเอียดไมวาจะ
เปนหลักฐานรอ งรอยที่เปนวัตถุ สภาพแวดลอ ม หรือขอมลู ทางประวัตศิ าสตรอื่น ๆ กอ นทีจ่ ะสรปุ วา เกิดอะไรข้ึน

4. ทําใหม คี วามเขาใจเพ่ือนมนุษย เพราะจากการศึกษาเรื่องราวของชนชาติตาง ๆ ทําใหรู
และเขาใจกนั อยา งลกึ ซงึ้

5. เปนการถายทอดความรูที่ไดศึกษามาใหกับผูใกลเคียงและคนรุนตอไปได ทําให
ประวตั ิศาสตรไ มสูญหายไป

23

ขอมูลหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร

หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรมีการจัดแบงเปนหลายลกั ษณะ ดังนี้
1. หลักฐานตามแหลง ขอมลู เชน เอกสาร เทปบนั ทกึ การสมั ภาษณ วรรณกรรม
2. หลักฐานตามลกั ษณะการบันทึกขอมลู เชน การจารึก พงศาวดาร บันทึกสว นตัว
จดหมายเหตุ สารานกุ รม เงนิ ตรา โบราณสถาน โบราณวัตถุ และอ่ืน ๆ
3. หลักฐานตามยุคสมัย เชน ยุคกอนประวัติศาสตร ไดแก โครงกระดูก ซากโบราณสถาน
เครอื่ งมือเครอ่ื งใช ฯลฯ ยคุ ประวัตศิ าสตร เปน สมยั ที่มกี ารบนั ทกึ เรอื่ งราวในหนังสัตว แผน ศิลา ดินเผา รวมถึง
เร่อื งราวทม่ี ีการเลาสบื ตอ กันในรปู แบบของตํานาน ศลิ าจารึก พงศาวดาร ฯลฯ
4. หลกั ฐานตามเจตนารมณข องผเู กย่ี วของในเหตกุ ารณ ทงั้ ทีโ่ ดยเจตนาทีจ่ ะบันทกึ เร่ืองราว
ไวแ ละทีไ่ มม ีเจตนาบันทึกไว

กิจกรรมท่ี 1

ใหผูเรียน เขยี นเลาประวตั ิศาสตร จงั หวัดทีผ่ เู รยี นอาศยั อยมู คี วามยาวครง่ึ หนา (เขยี นตวั บรรจง)

เร่ืองท่ี 2 ประวัติความเปนมาของชนชาตไิ ทย

ประวตั คิ วามเปนมาของชนชาติไทย

สมัยกอนกรุงสโุ ขทัยเปนราชธานี
ในการศกึ ษาประวตั ิศาสตรช นชาติไทย มกี ารศกึ ษากนั และมีขอสันนิษฐานท่ีใกลเคียงกัน คือ

เดมิ ท่ไี ดอพยพมาจากแถบภเู ขาอัลไต และอพยพเร่ือยมาจนถึงแหลมทองในปจจุบัน “ในตอนกลางลุมแมนํ้า
แยงซี เปนท่ีตั้งของอาณาจักรฌอ ซึ่งนักประวัติศาสตร ฌอในสมัยน้ันคือชนชาติไทย พระเจาฌอปาออง
ซง่ึ ครองราชยอยรู ะหวาง พ.ศ. 310 ถึง 343 วาเปน กษตั รยิ ไ ทย ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาของนักวิชาการ
ท่ีศึกษาเร่ืองราวเก่ียวกับความเปนมาของชนชาติไทย จะทําใหทราบถึงการตั้งถ่ินฐานนับแตเริ่มตน
การดําเนินชีวิต และการผสมผสานทางวัฒนธรรมของชาติไทย อยางไรก็ตามไดมีขอสันนิษฐานหรือแนวคิด
ตาง ๆ ท่ีมีหลักฐานนาเช่ือถือ มีผลใหการศึกษาประวัติศาสตรความเปนมาของ ชนชาติไทย สามารถสรุป
แนวคิดทเ่ี ชื่อวาชนชาติไทยอพยพมาจากบริเวณประเทศจีน และทางตอนเหนือของภาคพ้ืนเอเชียตะวันออก
เฉียงใต สามารถแยกออกไดดงั นี้

1. แนวคิดที่เชื่อวาถ่ินเดิมของคนไทยอยูบริเวณเทือกเขาอัลไต แนวคิดน้ีเกิดจาก
ขอ สันนษิ ฐานที่วา ถ่ินกาํ เนดิ ของมนษุ ยอยูบรเิ วณตอนกลางของทวีปเอเชีย คือ ทางตอนใตของเทือกเขาอัลไต
ซึ่งปจ จบุ นั อยใู นประเทศมองโกเลีย

24

2. แนวคิดที่เชื่อวาถ่ินกําเนิดของชนชาติไทยอยูบริเวณทางตอนใตของจีนทางเหนือของ
ภาคพน้ื เอเชียตะวันออกเฉียงใต ตลอดจนรฐั อัสสมั ของอนิ เดีย

3. แนวคิดน้ีเชื่อวา คนไทยอาศัยอยูกระจัดกระจายกันไป ต้ังแตมณฑลกวางตุง เร่ือยไปทาง
ตะวันตก ในมณฑลกวางสี ยนู าน กยุ โจว เสฉวน ตลอดจนรัฐอสั สัมของอินเดยี โดยอาศยั ความเช่ือวา มผี ูคนท่ีมี
ภาษาและวัฒนธรรมคลา ยกับคนไทย อยูท างตอนใตของจนี เปนจาํ นวนมากรวมทั้งพบหลักฐานจากบันทึกของ
จีนทก่ี ลาวถงึ คนไทยสมยั แรก ๆ เปนเวลา 2,000 ปแลว

4. แนวคดิ ท่ีเช่อื วาถน่ิ เดิมของคนไทยอยูในบริเวณมณฑลเสฉวน สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ
กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเสนอความเห็นไววาคนไทย นาจะอยูแถบดินแดนทิเบตติดตอกับจีน
(มณฑลเสฉวนปจจุบัน) ประมาณ พ.ศ. 500 ถูกจีนรุกรานจึงอพยพมาอยูที่ยูนานทางตอนใตของจีนแลว
กระจายไปตัง้ ถนิ่ ฐานของบริเวณเง้ียวฉาน สิบสองจไุ ท ลา นนา ลา นชาง

ในการศึกษาถึงประวัติความเปนมาของชนชาติไทย ยังมีขอสันนิษฐานท่ีตางกันออกไป
แตอ ยางไรก็ตามชนชาติมีการต้ังถิ่นฐานในแหลมมลายูถึงปจจุบัน ซ่ึงเปนดินแดนท่ีเราคนไทยไดใชเปนที่อยู
ทํากนิ สบื ตอ กันมาอยางยาวนาน

ท่ีมา ณรงค พวงพิศ (บรรณาธิการ) หนังสือเรียนสังคมศึกษา, ประวัติศาสตรไทย รายวิชา ส 028
ประวตั ศิ าสตรการตงั้ ถิ่นฐานในดนิ แดนประเทศไทย กรงุ เทพฯ:

กจิ กรรมท่ี 1

1. จากขอสนั นิษฐานเก่ยี วกบั ความเปนมาของชนชาตไิ ทยทเ่ี ช่อื วา มาจากทางตอนใตของ
ประเทศจีน มหี ลกั ฐานทางประวตั ิศาสตรใ ด ทจี่ ะสะทอ นใหเ ชื่อไดบ า ง อธบิ ายมาพอเขา ใจ

2. ผูเรียนท่ีศกึ ษาความเปนมาของชนชาตไิ ทยมคี วามเหมือน หรือตา งออกไปใหส รุปมา 1 - 2
หนา เพื่อนาํ มาแลกเปลีย่ นเรียนรรู วมกัน

3. ใหผูเรยี นศกึ ษาความเปนมาของชุมชนท่ีอาศยั อยู พรอ มทงั้ อางองิ แหลงทม่ี าของขอ มลู ดว ย

25

อาณาจกั รตาง ๆ ของไทย

สมยั กอนกรงุ สุโขทัย

รัชญา ไชยา (http://sukhothai.go.th/history/hist_01.htm) ไดเรยี บเรยี งเก่ียวกบั ประวัติศาสตรชาติไทย
สมยั กอนตง้ั กรงุ สโุ ขทยั ไว ดงั น้ี

คําวาไทย เปนชื่อรวมของชนเผามองโกล ซ่ึงแบงแยกออกเปนหลายสาขา เชน ไทยอาหมในแควน
อสั สมั ไทยใหญ ไทยนอย ไทยโท ในแควน ต้งั เก๋ีย อุปนิสยั ปกติมักเออ้ื เฟอเผ่ือแผ รักสนั ติและความเปนอสิ ระ

ความเจรญิ ของชนชาติไทยน้ี สันนษิ ฐานวา มีอายไุ ลเ ล่ยี กันมากบั ความเจรญิ ของชาวอยี ปิ ต บาบิโลเนยี
และอสั สิเรยี โบราณ ไทยเปนชาติท่มี คี วามเจรญิ มากอ นจนี และกอ นชาวยุโรป ซงึ่ ขณะนั้นยังเปน พวกอนารยชน
อยเู ปนระยะเวลา ประมาณ 5,000-6,000 ปทีแ่ ลว ทชี่ นชาตไิ ทยไดเคยมีท่ีทํากินเปนหลักฐาน มีการปกครอง
เปนปก แผนและมรี ะเบียบแบบแผนอยู ณ ดนิ แดนซึ่งเปนประเทศจนี ในปจ จุบนั

เม่ือประมาณ 3,500 ป กอนพุทธศักราช ชนชาติไทยไดอพยพขามเทือกเขาเทียนชาน เดินทางมา
จนถงึ ทร่ี าบลมุ อนั อดุ มสมบูรณ ณ บรเิ วณตนแมน ้าํ ฮวงโห และแมน ้ําแยงซีเกียงและไดตงั้ ถ่นิ ฐานอยู ณ บริเวณ
ท่ีแหงน้ันแลวเลิกอาชีพเลี้ยงสัตวแตเดิม เปลี่ยนมาเปนทําการกสิกรรม ความเจริญ ก็ย่ิงทวีมากข้ึน
มีการปกครองเปนปกแผนและไดข ยายทที่ าํ กนิ ออกไปทางทศิ ตะวันออกตามลาํ ดับ

ในขณะทชี่ นชาตไิ ทยมคี วามเปน ปกแผนอยู ณ ดินแดนและมคี วามเจริญดงั กลาว ชนชาติจีนยังคงเปน
พวกเล้ียงสตั ว ที่เรร อ นพเนจรอยูตามแถบทะเลสาบแคสเปย น ตอมาเม่ือประมาณกวาหนึ่งพันปท่ีไทยอพยพ
เขา มาอยใู นท่รี าบลมุ แมน าํ้ เรียบรอยแลว ชนชาติจีนจึงไดอ พยพเขามาอยูในลุมนํ้าดังกลาวนี้บาง และไดพบวา

26

ชนชาติไทยไดค รอบครองและมีความเจริญอยูกอ นแลว ในระหวางระยะเวลานน้ั เราเรยี กวา อายลาว หรือพวก
มุง ประกอบกนั ข้ึนเปน อาณาจักรใหญถ งึ 3 อาณาจกั ร คือ

อาณาจักรลงุ ตง้ั อยูทางตอนเหนอื บริเวณตน แมน ้าํ เหลือง (หวงโห)
อาณาจกั รปา ตั้งอยูทางใตลงมาบริเวณพื้นที่ทางเหลือของมณฑลเสฉวน อาณาจักรปา
จดั วา เปน อาณาจักรที่สําคัญกวา อาณาจักรอ่ืน
อาณาจักรเงย้ี ว ตง้ั อยทู างตอนกลางของลุมแมนํา้ แยงซเี กียง
ทั้งสามอาณาจกั รน้ี มคี วามเจรญิ รงุ เรอื งขน้ึ ตามลําดบั ประชากรก็เพ่ิมมากขนึ้ จึงไดแผขยาย
อาณาเขตออกมาทางทศิ ตะวนั ออก โดยมีแมน้ําแยงซีเกียงเปน แกนหลกั
จากความอุดมสมบูรณในพื้นที่ถิ่นท่ีอยูใหม มีอิทธิพลทําใหเปล่ียนแปลงอุปนิสัยเดิมตั้งแต
ครง้ั ยังทําการเลยี้ งสตั วท ่โี หดเหีย้ ม และชอบรกุ ราน มาเปน ชนชาติที่มใี จกวา งขวาง รกั สงบพอใจความสันติ
อนั เปน อุปนสิ ัยทเี่ ปน มรดกตกทอดมาถึงไทยรุนหลังตอ มา

เหตทุ ีช่ นชาติจนี เขามารจู ักชนชาตไิ ทยเปนครงั้ แรก

เมือ่ แหลงทํามาหากนิ ทางแถวทะเลสาบแคสเปย น เกิดอัตคัด ขาดแคลน ทําใหชนชาติจีนตองอพยพ
เคล่อื นยายมาทางทิศตะวันออก เม่ือประมาณ 2,500 ป กอนพุทธศักราช ชนชาติจีนไดอพยพขามเทือกเขา
เทียนชาน ท่ีราบสูงโกบี จนมาถึงลุมแมน้ําไหว จึงไดตั้งถ่ินฐานอยู ณ ที่นั้น และมีความเจริญข้ึนตามลําดับ
ปรากฏมีปฐมกษัตริยของจีนชื่อ ฟูฮี ไดมีการสืบวงศกษัตริยกันตอมา แตขณะน้ันจีนกับไทยยังไมรูจักกัน
ลว งมาจนถึงสมยั พระเจายู จนี กับไทยจึงไดร ูจักกันครั้งแรก โดยมีสาเหตุมาจากที่พระเจายู ไดมีรับสั่งใหมีการ
สํารวจพระราชอาณาเขตข้ึน ชาวจีนจึงไดมารูจักชาวไทย ไดเห็นความเจริญรุงเรืองของอาณาจักรอายลาว
จึงยกยองนับถือถึงกับใหสมญาอาณาจักรอายลาววา อาณาจักรไต ซ่ึงมีความหมายวาอาณาจักรใหญ
สันนษิ ฐานวา เปน สมัยแรกที่จีนกับไทยไดแ ลกเปล่ียนสมั พันธไมตรตี อกนั

อาณาจกั รอา ยลาวถูกรกุ ราน

เม่ือประมาณ 390 ป กอนพุทธศักราช พวกจีนไดถูกชนชาติตาดรุกราน พวกตาดไดลวงเลยเขามา
รุกรานถงึ อาณาจักรอายลาวดว ย อาณาจกั รลุงซึ่งอยูทางเหนือ ตองประสบภัยสงครามอยางรายแรง ในที่สุด
ก็ตองท้ิงถิ่นฐานเดิม อพยพลงมาทางนครปา ซึ่งอยูทางใต ปลอยใหพวกตาดเขาครอบครองนครลุง ซ่ึงมี
อาณาจักรเขตประชิดตดิ แดนจนี ฝา ยอาณาจักรจีนในเวลาตอมาเกิดการจลาจล พวกราษฎรพากันอพยพหนี
ภยั สงคราม เขา มาในนครปาเปน คร้งั แรก เมื่ออพยพมาอยูก นั มากเขา กม็ าเบยี ดเบยี นชนชาติไทยในการครอง
ชีพ ชนชาติไทยทนการเบยี ดเบยี นไมไ ด จึงไดอ พยพจากนครปามาหาท่ีทาํ กนิ ใหมทางใตครั้งใหญเมื่อประมาณ
50 ป กอนพุทธศักราช แตอาณาจักรอายลาวก็ยังคงอยูจนถึงประมาณ พ.ศ. 175 อาณาจักรจีนเกิดมีแควน
หน่ึง คือ แควนจิน๋ มีอาํ นาจขึน้ แลวใชแ สนยานภุ าพเขา รกุ รานอาณาจักรอายลาว นับเปนครั้งแรกที่ไทยกับจีน
ไดรบพุงกัน ในท่ีสุดชนชาติไทยก็เสียนครปาใหแกจีน เมื่อ พ.ศ.205 ผลของสงครามทําใหชาวนครปาท่ียัง
ตกคางอยูในถ่ินเดิม อพยพเขามาหาพวกเดียวกันที่อาณาจักรเง้ียว ซ่ึงขณะนั้นยังเปนอิสระอยูไมไดอยูใน

27

อาํ นาจของจนี แตฝ ายจีนยงั คงรุกรานลงทางใตสอู าณาจกั รเงี้ยวตอไป ในท่สี ุดชนชาตไิ ทยกเ็ สียอาณาจักรเงี้ยว
ใหแกพระเจา จน๋ิ ซฮี องเต เมื่อป พ.ศ. 328

อาณาจักรเพงาย

ต้ังแต พ.ศ. 400 – 621 เม่ืออาณาจักรอายลาวถูกรุกรานจากจีน ท้ังวิธีรุกเงียบและรุกรานแบบ
เปดเผยโดยใชแสนยานุภาพ จนชนชาติไทยอายลาวสิ้นอิสรภาพ จึงไดอพยพอีกคร้ังใหญ แยกยายกันไป
หลายทิศหลายทาง เพ่ือหาถิ่นอยูใหม ไดเขามาในแถบลุมแมน้ําสาละวิน ลุมแมน้ําอิรวดี บางพวกก็ไปถึง
แควน อัสสมั บางพวกไปยังแควนตังเก๋ีย เรียกวา ไทยแกว บางพวกเขาไปอยูที่แควนฮุนหนํา พวกนี้มีจํานวน
คอนขางมาก ในทีส่ ดุ ไดต ้งั อาณาจกั รขนึ้ เมอื่ พ.ศ. 400 เรียกวา อาณาจกั รเพงาย

ในสมยั พระเจาขุนเมอื งไดม ีการรบระหวา งไทยกบั จีนหลายครง้ั ผลดั กนั แพผ ลดั กนั ชนะ สาเหตุทีร่ บกัน
เนื่องจากวา ทางอาณาจักรจีน พระเจาวูตี่ เล่ือมใสในพระพุทธศาสนาและไดจัดสมณทูตใหไปสืบสวน
พระพทุ ธศาสนาทปี่ ระเทศอนิ เดีย แตการเดินทางของสมณทตู ตองผา นเขา มาในอาณาจักรเพงาย พอขุนเมือง
ไมไ วใ จจงึ ขดั ขวาง ทําใหก ษัตรยิ จนี ขดั เคืองจึงสง กองทพั มารบ ผลท่ีสุดชาวเพงายตอ งพา ยแพ เมื่อ พ.ศ. 456

ตอมาอาณาจกั รจนี เกิดการจลาจล ชาวนครเพงายจึงไดโ อกาสแขง็ เมือง ตง้ั ตนเปน อิสระ จนถึง พ.ศ.
621 ฝายจีนไดรวมกันเปนปกแผนและมีกําลังเขมแข็ง ไดยกกองทัพมารุกรานไทย สาเหตุของสงคราม
เนอ่ื งจากพระเจาม่ิงตี่ กษตั ริยจนี ไดว างแผนการขยายอาณาเขต โดยใชศ าสนาเปนเครื่องมอื โดยไดสงสมณทูต
ไปเผยแพรพ ระพทุ ธศาสนายงั ประเทศใกลเ คียง สําหรับนครเพงายนั้น เม่ือพระพุทธศาสนาแผไปถึงพอขุนลิวเมา
ซึง่ เปน หวั หนา ก็เลอื่ มใส ชาวนครเพงายโดยท่ัวไปก็ยอมรับนับถือเปนศาสนาประจําชาติ ดวยตางก็ประจักษ
ในคุณคาของพระธรรมอันวิเศษยอดเย่ียม นับวาสมัยนี้เปนสมัยสําคัญที่พระพุทธศาสนาไดแผเขามาถึง
อาณาจักรไทย คอื เม่ือประมาณ พ.ศ. 612 เม่ือเปนเชนน้ันฝายจีนจึงถือวาไทยตองเปนเมืองขึ้นของจีนดวย
จึงไดสง ขนุ นางเขามาควบคมุ การปกครองนครเพงาย เม่ือทางไทยไมยอมจึงเกิดผิดใจกัน ฝายจีนไดกรีฑาทัพ
ใหญเขาโจมตีนครเพงาย นครเพงายจึงเสยี อสิ รภาพ เม่อื พ.ศ. 621

อาณาจักรนานเจา (พ.ศ. 1193 – 1823)

หลงั จากนครเพงายเสยี แกจีนแลว ก็ไดมีการอพยพครั้งใหญกันอกี ครัง้ หน่งึ ลงมาทางทิศใตแ ละทางทศิ
ตะวนั ตก สว นใหญม กั เขามาตงั้ อยตู ามลมุ แมน ้าํ ในเวลาตอ มาไดเ กดิ มีเมอื งใหญข ึ้นถึง 6 เมือง ท้ัง 6 เมืองตาง
เปนอสิ ระแกก นั ประกอบกบั ในหว งเวลาน้ันกษัตริยจีนกําลังเสื่อมโทรม แตกแยกออกเปนสามกก กกของเลาป
อนั มีขงเบง เปนผนู ํา ไดเ คยยกมาปราบปรามนครอิสระของไทย ซึ่งมีเบง เฮกเปน หัวหนา ไดส าํ เรจ็ ชาวไทยกลมุ นี้
จึงตอ งอพยพหนภี ยั จากจีน

ตอมาเม่ือ พ.ศ. 850 พวกตาดไดยกกําลังเขา รุกราน อาณาจักรจนี ทางตอนเหนือ เมื่อตีไดแลวก็ตั้งตนขึ้น
เปนกษัตริยทางเหนือมีปกกิ่งเปนเมืองหลวง สวนอาณาจักรทางใต กษัตริยเช้ือสายจีนก็ครองอยูท่ีเมืองนํ่ากิง
ทั้งสองพวกไดรบพุงกันเพ่ือแยงชิงความเปนใหญ ทําใหเกิดการจลาจลไปทั่วอาณาจักร ผลแหงการจลาจล
คร้งั น้ัน ทาํ ใหน ครอิสระทง้ั 6 ของไทย คือ ซลี ง มง เส ลางกง มุงซยุ เอีย้ แซ และเทง เซยี้ ง กลบั คืนเปน เอกราช

28

นครมงเส นับวา เปนนครสําคัญ เปน นครท่ใี หญกวา นครอื่น ๆ และต้ังอยูต่ํากวานครอื่น ๆ จึงมีฐานะ
มั่นคงกวา นครอื่น ๆ ประกอบกับมีกษัตริยที่มีพระปรีชาสามารถและเขมแข็ง คือ พระเจาสินุโล พระองคได
รวบรวมนครรฐั ทง้ั 6 เขาเปนอันหน่งึ อนั เดียวกันรวมเรียกวา อาณาจกั รมงเส หรอื หนองแส จากนั้นพระองคได
วางระเบียบการปกครองอาณาจักรอยางแนนแฟน พระองคไดดําเนินนโยบายผูกมิตรกับจีน เพื่อปองกัน
การรุกราน เน่ืองจากในระยะนนั้ ไทยกําลงั อยใู นหว งเวลาสรางตัวจนมีอํานาจ เปนอาณาจักรใหญท ่ีมีอาณาเขต
ประชิดติดกบั จนี ทางฝายจนี เรยี กอาณาจกั รน้ีวา อาณาจกั รนานเจา

แมวาอาณาจักรนานเจาจะส้ินรัชสมัย พระเจาสินุโลไปแลวก็ตาม พระราชโอรสของพระองค
ซ่งึ สบื ราชสมบตั ิ ตอมากท็ รงพระปรีชาสามารถ นน่ั คอื พระเจา พีลอโกะ พระองค ไดทําใหอาณาจักรนานเจา
เจรญิ รุง เรืองยิง่ ขึ้นไปกวาเดิม อาณาเขตก็กวางขวางมากขนึ้ กวาเกา งานชิ้นสําคัญของพระองคอยางหน่ึงก็คือ
การรวบรวมนครไทยอิสระ 5 นคร เขาดว ยกนั และการเปน สมั พนั ธไมตรีกับจนี

ในสมัยน้ีอาณาจักรนานเจา ทิศเหนือจรดมณฑลฮุนหนํา ทิศใตจรดมณฑลยูนาน ทิศตะวันตกจรด
ทิเบต และพมา และทศิ ตะวันออกจรดมณฑลกวางไส บรรดาอาณาจักรใกลเคยี งตางพากันหวั่นเกรง และยอม
ออนนอมตออาณาจักรนานเจาโดยทั่วหนากัน พระเจาพีลอโกะ มีอุปนิสัยเปนนักรบ จึงโปรดการสงคราม
ปรากฏวาครงั้ หนึง่ พระองคเ สด็จเปน จอมทพั ไปชว ยจีนรบกบั ชาวอาหรับ ทมี่ ณฑลซินเกยี ง และพระองคไดรับ
ชัยชนะอยางงดงาม ทางกษัตริยจ นี ถงึ กบั ยกยอ งใหสมญานามพระองควา ยูนานออง พระองคเ ปนกษัตรยิ ที่เห็น
การณไ กล มีนโยบายในการแผอาณาเขตท่ีฉลาดสุขุมคัมภีรภาพ วิธีการของพระองค คือ สงพระราชโอรสให
แยกยา ยกันไปต้งั บานเมอื งข้ึนใหมท างทิศใตแ ละทางทิศตะวันออกเฉยี งใต ไดแก บรเิ วณหลวงพระบาง ตังเก๋ีย
สิบสองปน นา สบิ สองจุไทย (เจาไทย) หัวพันท้ังหาทั้งหก กาลตอมาปรากฏวาโอรสองคหน่ึงไดไปสรางเมือง
ชื่อวา โยนกนคร ขน้ึ ทางใต เมืองตาง ๆ ของโอรสเหลานี้ตางก็เปนอิสระแกกัน เมื่อส้ินสมัยพระเจาพีลอโกะ
(พ.ศ. 1289) พระเจาโกะ ลอฝง ผูเปนราชโอรสไดครองราชยส ืบตอ มา และไดดําเนินนโยบายเปนไมตรีกับจีน
ตลอดมา จนถึง พ.ศ.1293 จึงมีสาเหตุขัดเคืองใจกันขึ้น มูลเหตุเนื่องจากวา เจาเมืองฮุนหนําไดแสดงความ
ประพฤตดิ หู ม่ินพระองค พระองคจึงขัดเคืองพระทัย ถึงขั้นยกกองทัพไปตีไดเมืองฮุนหนํา และหัวเมืองใหญ
นอยอ่ืน ๆ อีก 32 หัวเมือง แมวาทางฝายจีนจะพยายามโจมตีกลับคืนหลายคร้ังก็ไมสําเร็จ ในท่ีสุดฝายจีน
กเ็ ข็ดขยาด และเลกิ รบไปเอง ในขณะทีไ่ ทยทาํ สงครามกับจนี ไทยกไ็ ดทาํ การผกู มิตรกบั ทิเบต เพื่อหวงั กาํ ลังรบ
และเปนการปอ งกันอนั ตรายจากดา นทเิ บต

เมือ่ ส้ินสมยั พระเจาโกะ ลอฝง ราชนดั ดา คอื เจา อายเมอื งสูง (อเี หมาซนุ ) ไดขน้ึ ครองราชยส บื ตอ มา
มีเหตุการณในตอนตนรชั กาล คอื ไทยกบั ทิเบตเปน ไมตรกี นั และไดร วมกําลงั กนั ไปตีแควน เสฉวนของจนี แตไม
เปนผลสําเร็จ ในเวลาตอมา ทิเบตถูกรุกรานและไดขอกําลังจากไทยไปชวยหลายครั้ง จนฝายไทย
ไมพอใจ ประจวบกนั ในเวลาตอ มา ทางจีนไดแ ตง ทตู มาขอเปน ไมตรกี ับไทย เจาอายเมืองสูงจงึ คดิ ท่ีจะเปน ไมตรี
กับจีน เมอ่ื ทางทิเบตทราบระแคะระคายเขา กไ็ มพ อใจ จงึ คิดอบุ ายหกั หลังไทย แตฝ ายไทยไหวทัน จึงสวมรอย
เขา โจมตีทเิ บตยอยยบั ตีไดหัวเมืองทเิ บต 16 แหง ทําใหท ิเบตเข็ดขยาดฝม ือของไทยนับตงั้ แตน ัน้ มา

ในเวลาตอ มากษตั รยิ น า นเจาในสมยั หลงั ออ นแอ และไมม ีนิสยั เปน นักรบ ดงั ปรากฏในตามบันทึกของ
ฝายจีนวา ในสมัยท่ีพระเจาฟา ขึ้นครองราชย เมื่อป พ.ศ. 1420 นั้น ไดมีพระราชสาสนไปถึงอาณาจักรจีน

29

ชวนใหเปนไมตรกี นั ทางฝา ยจนี ก็ตกลง เพราะยงั เกรงในฝม ือ และความเขมแข็งของไทยอยู แตกระน้ันก็ไมละ
ความพยายามทีจ่ ะหาโอกาสรุกรานอาณาจักรนานเจา ปรากฏวา พระเจา แผน ดนิ จนี ไดสง ราชธดิ า หงางฝา
ใหมาอภเิ ษกสมรสกับพระเจาฟา เพอ่ื หาโอกาสรุกเงยี บในเวลาตอมา โดยไดพยายามผันแปรขนบธรรมเนียม
ประเพณใี นราชสํานัก ใหม ีแบบแผนไปทางจนี ทลี ะนอ ย ๆ ดังน้ัน ราษฎรนานเจาก็พากันนิยมตาม จนในที่สุด
อาณาจักรนา นเจา กม็ ีลักษณะคลายกับอาณาจกั รจนี แมว าสน้ิ สมยั พระเจาฟา กษัตริยน านเจาองคหลัง ๆ ก็คง
ปฏบิ ัตติ ามรอยเดมิ ประชาชนชาวจนี กเ็ ขา มาปะปนอยดู วยมาก แมกษัตริยเองก็มีสายโลหิตจากทางจีนปะปน
อยูดวยแทนทุกองค จึงกอใหเกิดความเสื่อม ความออนแอข้ึนภายในมีการแยงชิงราชสมบัติกันในบางคร้ัง
จนในท่ีสุดเกิดการแตกแยกในอาณาจักรนานเจา ความเสื่อมไดดําเนินตอไปตามลําดับจนถึงป พ.ศ. 1823
ก็ส้นิ สดุ ลงดว ยการโจมตขี องกุบไลขาน กษตั รยิ แ หง ราชอาณาจกั รจีน อาณาจักรนา นเจาดับลงในครงั้ น้นั

ชนชาติตาง ๆ ในแหลมสวุ รรณภูมกิ อ นทไ่ี ทยจะอพยพมาอยู

ชนชาตดิ งั้ เดิม และมีความเจริญนอยท่ีสุดก็คือพวก นิโกรอิด ซ่ึงเปนบรรพบุรุษของพวกเงาะ เชน
เซมัง ซาไก ปจ จุบันชนชาติเหลาน้มี ีเหลืออยูนอ ยเต็มที แถวปก ษใตอาจมเี หลอื อยบู าง ในเวลาตอมาชนชาติ
ที่มอี ารยธรรมสูงกวา เชน มอญ ขอม ละวา ไดเขา มาตงั้ ถน่ิ ฐาน

ขอม มีถ่ินฐานทางทิศตะวันออกเฉียงใตของแหลมสุวรรณภูมิ ในบริเวณแมนํ้าโขงตอนใตและ
ทะเลสาบเขมร

ลาวหรอื ละวา มีถิ่นฐานอยูบ ริเวณลมุ แมน ํา้ เจาพระยา เปน ดินแดนตอนกลางระหวา งขอมและมอญ
มอญ มถี ่ินฐานอยบู ริเวณลุมแมนาํ้ สาละวนิ และแมน ้าํ อริ วดี
ท้ังสามชาติน้ีมีความละมายคลายคลึงกันมาก ตั้งแตรูปราง หนาตา ภาษา และขนบธรรมเนียม
ประเพณสี ันนษิ ฐานไดว า นา จะเปน ชนชาติเดียวกันมาแตเ ดมิ
อาณาจักรละวา เมื่อประมาณ พ.ศ. 700 ชนชาติละวา ซึ่งเขาครอบครองถิ่นเจาพระยา ไดต้ัง
อาณาจักรใหญขน้ึ สามอาณาจกั ร คอื
อาณาจกั รทวาราวดี มีอาณาเขตประมาณตัง้ แตร าชบรุ ี ถงึ พิษณโุ ลก มนี ครปฐมเปนเมืองหลวง
อาณาจกั รโยนกหรอื ยาง เปนอาณาจักรทางเหนือในเขตพืน้ ทเี่ ชียงราย และเชยี งแสนมีเงนิ ยาง
เปน เมอื งหลวง
อาณาจกั รโคตรบรู ณ มอี าณาเขตตั้งแตน ครราชสมี าถึงอุดรธานี มนี ครพนมเปน เมอื งหลวง
อาณาจกั รที่นํามาเผยแพร แหลมสุวรรณภมู ไิ ดเ ปน ศนู ยก ลางการคาของจีน และอินเดียมาเปนเวลา
ชานาน จนกลายเปนดินแดนแหงอารยธรรมผสม ดวยความอุดมสมบูรณของบริเวณน้ี เปนเหตุดึงดูดให
ชาวตางชาติเขามาอาศัย และติดตอคาขาย นับต้ังแต พ.ศ. 300 เปนตนมา ไดมีชาวอินเดียมาอยูในดินแดน
สุวรรณภูมิเปนจํานวนมากขึ้นตามลําดับ รวมทั้งพวกท่ีหนีภัยสงครามทางอินเดียตอนใต ซึ่งพระเจาอโศก
มหาราช กษัตริยแหงแควนโกศลไดก รีฑาทัพไปตีแควน กลงิ คราษฎร ชาวพ้ืนเมืองอินเดียตอนใต จึงอพยพเขา
มาอยูท่ีพมา ตลอดถึงพ้ืนท่ีท่ัวไปในแหลมมลายูและอินโดจีน อาศัยท่ีพวกเหลานี้มีความเจริญอยูแลว จึงได
นําเอาวิชาความรแู ละความเจริญตา ง ๆ มาเผยแพร คอื

30

ศาสนาพทุ ธ พระพทุ ธศาสนา ซงึ่ เหมาะสมในทางอบรมจิตใจ ใหความสวางกระจางในเร่ือง
บาป คุณ โทษ สันนิษฐานวา พุทธศาสนาเขามาเผยแผเปนครั้งแรกโดยพระโสณะและพระอุตระในสมัย
พระเจา อโศกมหาราชแหง อนิ เดยี

ศาสนาพราหมณ มีความเหมาะสมในดานการปกครอง ซึ่งตองการความศักด์ิสิทธ์ิและ
เด็ดขาด ศาสนานี้สอนใหเคารพในเทพเจา ท้ังสาม คือ พระอิศวร พระพรหม และพระนารายณ

นติ ิศาสตร ไดแก การปกครอง ไดวางแผนการปกครองหัวเมืองตลอดจนการต้ังมงคลนาม
ถวายแกพระมหากษตั รยิ แ ละต้งั ชอื่

อกั ษรศาสตร พวกอินเดียตอนใตไดนําเอาตัวอักษรคฤณฑเขามาเผยแพร ตอมาภายหลังได
ดัดแปลงเปน อักษรขอม และอกั ษรมอญ พอ ขนุ รามคาํ แหงมหาราชไดทรงประดษิ ฐอกั ษรไทย โดยดัดแปลงจาก
อกั ษรขอม เมื่อป พ.ศ. 1823

ศิลปะศาสตร ไดแก ฝม อื ในการกอ สรา ง แกะสลัก กอพระสถูปเจดยี  และหลอ พระพุทธรปู

การแผอ ํานาจของขอมและพมา

ประมาณป พ.ศ. 601 โกณทญั ญะ ซ่ึงเปนชาวอินเดียไดสมรสกับนางพญาขอม และตอมาไดขึ้นเปน
กษัตริยครอบครองดนิ แดนของนางพญาขอม จดั การปกครองบา นเมืองดว ย ความเรียบรอย ทํานุบํารุงกิจการ
ทหาร ทาํ ใหขอมเจริญข้ึนตามลําดับ มีอาณาเขตแผขยายออกไปมากข้ึน ในท่ีสุดก็ไดยกกําลังไปตีอาณาจักร
โคตรบรู ณ ซึ่งเปน อาณาจกั รที่อยูทางเหนือของละวาไวไ ด แลว ถือโอกาสเขาตอี าณาจักรทวาราวดี

ตอมาเม่ือประมาณป พ.ศ. 1600 กษัตริยพมาผูมีความสามารถองคหน่ึง คือ พระเจาอโนธรามังชอ
ไดยกกองทพั มาตีอาณาจกั รมอญ เม่อื ตีอาณาจกั รมอญไวใ นอํานาจไดแลว ก็ยกทพั ลวงเลยเขามาตอี าณาจักร
ทวาราวดี และมอี ํานาจครอบครองตลอดไปทงั้ สองฝง แมนํ้าเจาพระยา อาํ นาจของขอมก็สูญสิ้นไป แตเมื่อส้ิน
สมัยพระเจาอโนธรามงั ชอ อาํ นาจของพมาในลมุ น้ําเจาพระยากพ็ ลอยเสื่อมโทรมดับสญู ไปดวย เพราะกษัตริย
พมา สมยั หลังเสอ่ื มความสามารถและมักแยงชิงอํานาจซงึ่ กนั และกัน เปดโอกาสใหแวน แควนตาง ๆ ทเี่ คยเปน
เมืองข้ึน ต้ังตัวเปนอิสระไดอีก ในระหวางน้ี พวกไทยจากนานเจา ไดอพยพเขามาอยูในดินแดนสุวรรณภูมิ
เปนจํานวนมากขึ้น เมื่อพมา เสอ่ื มอํานาจลง คนไทยเหลานี้ก็เริ่มจัดการปกครองกันเองในลุมนํ้าเจาพระยา
ฝายขอมน้ันเมื่อเห็นพมาทอดท้ิงแดนละวาเสียแลว ก็หวนกลับมาจัดการปกครองในลุมแมน้ําเจาพระยา
อกี วาระหน่งึ โดยอางสิทธแิ หงการเปนเจาของเดิม อยางไรก็ตามอาํ นาจของขอมในเวลาน้นั ก็ซวดเซลงมาแลว
แตเนื่องจากชาวไทยทีอ่ พยพเขา มาอยูยงั ไมมอี ํานาจเต็มที่ ขอมจงึ บงั คบั ใหชาวไทยสงสวยใหขอม พวกคนไทย
ทีอ่ ยูในเขตลุมแมน ้ําเจา พระยาตอนใต ไมกลาขดั ขนื ยอมสงสวยใหแกขอมโดยดี จึงทําใหขอมไดใจและเริ่ม
ขยายอาํ นาจขึ้นไปทางเหนือ ในการนี้เขาใจวาบางครั้งอาจตองใชกําลังกองทัพเขาปราบปราม บรรดาเมือง
ท่ีขัดขืนไมยอมสงสว ย ขอมจงึ สามารถแผอาํ นาจขนึ้ ไปจนถึงแควน โยนก

สวนแควนโยนกนั้น ถือตนวาไมเคยเปนเมืองขึ้นของขอมมากอน จึงไมยอมสงสวย ใหตามที่ขอม
บังคับ ขอมจึงใชกําลังเขาปราบปรามนครโยนกไดสําเร็จ พระเจาพังคราช กษัตริยแหงโยนก ลําดับท่ี 43
ไดถกู เนรเทศไปอยูท ีเ่ มอื งเวยี งสีทอง

31

แควน โยนกเชียงแสน (พ.ศ. 1661 – 1731)

ดังไดท ราบแลว วาโอรสของพระเจา พีลอโกะ องคหน่ึง ชือ่ พระเจาสิงหนวตั ิ ไดม าสรางเมอื งใหมขน้ึ ทาง
ใต ช่ือเมืองโยนกนาคนคร เมืองดังกลาวน้ีอยูในเขตละวา หรือในแควนโยนก เม่ือประมาณป พ.ศ. 1111
เปน เมืองที่สงางามของยา นนัน้ ในเวลาตอมาก็ไดร วบรวมเมอื งท่อี อนนอ ม ตัง้ ขึน้ เปนแควนช่ือโยนกเชยี งแสน
มอี าณาเขตทางทิศเหนือตลอดสิบสองปนนา ทางใตจรดแควนหริภุญชัย มีกษัตริยสืบเชื้อสายตอเนื่องกันมา
จนถึงสมัยพระเจา พงั คราชจงึ ไดเ สียทีแกข อมดังกลาวแลว

อยา งไรก็ตาม พระเจา พงั คราชตกอับอยูไ ดไมนานนกั ก็กลับเปนเอกราชอีกครั้งหนึ่ง ดวยพระปรีชา
สามารถของพระโอรสองคนอย คือ พระเจาพรหม ซ่ึงมีอุปนิสัยเปนนักรบ และมีความกลาหาญไดสรางสม
กําลังผูคน ฝกหัดทหารจนชํานิชํานาญ แลวคิดตอสูกับขอม ไมยอมสงสวยใหขอม เมื่อขอมยกกองทัพมา
ปราบปราม ก็ตีกองทพั ขอมแตกพายกลบั ไป และยังไมแผอ าณาเขตเลยเขามาในดนิ แดนขอมไดถึงเมืองเชลียง
และตลอดถงึ ลานนา ลานชาง แลวอญั เชญิ พระราชบิดากลับไปครองโยนกนาคนครเดิม แลวเปล่ียนช่ือเมือง
เสียใหมวาชัยบุรี สวนพระองคเองน้ัน ลงมาสรางเมืองใหมทางใตชื่อเมืองชัยปราการ ใหพระเชษฐา คือ
เจาทุกขิตราช ดํารงตําแหนงอุปราช นอกจากน้ันก็สรางเมืองอื่น ๆ เชน เมืองชัยนารายณ นครพางคํา
ใหเจานายองคอ่นื ๆ ปกครอง

เมื่อส้ินรัชสมัยพระเจาพังคราช พระเจาทุกขิตราช ก็ไดขึ้นครองเมืองชัยบุรี สวนพระเจาพรหม
และโอรสของพระองคก็ไดครองเมืองชัยปราการ ตอมาในสมัยนั้นขอมกําลังเสื่อมอํานาจจึงมิไดยกกําลังมา
ปราบปราม ฝา ยไทยน้นั แมก ําลังเปนฝายไดเปรียบ แตก ค็ งยงั ไมม ีกาํ ลังมากพอที่จะแผขยาย อาณาเขตลงมา
ทางใตอกี ได ดังนั้นอาณาเขตของไทยและขอมจงึ ประชดิ กันเฉยอยู

เม่ือส้ินรัชสมัยพระเจาพรหม กษัตริยองคตอ ๆ มาออนแอและหยอนความสามารถ ซึ่งมิใชแตท่ี
นครชยั ปราการเทานัน้ ความเสอ่ื มไดเ ปนไปอยา งท่วั ถงึ กันยังนครอ่ืน ๆ เชน ชัยบุรี ชัยนารายณ และนครพางคํา
ดังนั้น ในป พ.ศ. 1731 เมอื่ มอญกรฑี าทพั ใหญมารกุ รานอาณาจักรขอมไดชยั ชนะแลว ก็ลวงเลยเขามารุกราน
อาณาจักรไทยเชียงแสน ขณะน้ันโอรสของพระเจาพรหม คือ พระเจาชัยศิริ ปกครองเมืองชัยปราการ
ไมส ามารถตา นทานศึกมอญได จึงจําเปน ตอ งเผาเมอื ง เพ่ือมิใหพวกขา ศกึ เขาอาศยั แลวพากนั อพยพลงมาทาง
ใตของดินแดนสุวรรณภูมิ จนกระทั่งมาถึงเมืองรางแหงหนึ่งในแขวงเมืองกําแพงเพชร ชื่อเมืองแปป
ไดอาศัยอยูที่เมืองแปปอยูหวงระยะเวลาหน่ึง เห็นวาชัยภูมิไมสูเหมาะเพราะอยูใกลขอม จึงไดอพยพลงมา
ทางใตจนถึงเมอื งนครปฐมจึงไดพ ักอาศัยอยู ณ ท่ีน้ัน

สวนกองทัพมอญ หลังจากรุกรานเมืองชัยปราการแลว ก็ไดยกลวงเลยตลอดไปถึงเมืองอ่ืน ๆ
ในแควนโยนกเชียงแสน จึงทําใหพระญาติของพระเจาชัยศิริ ซ่ึงครองเมืองชัยบุรี ตองอพยพหลบหนีขาศึก
เชนกัน ปรากฏวาเมืองชัยบุรีนั้นเกิดน้ําทวม บรรดาเมืองในแควนโยนกตางก็ถูกทําลายลงหมดแลว
พวกมอญเห็นวาหากเขา ไปตั้งอยูก็อาจเสียแรง เสียเวลา และทรัพยสินเงินทอง เพ่ือท่ีจะสถาปนาข้ึนมาใหม
ดังนั้นพวกมอญจงึ ยกกองทพั กลับ เปน เหตใุ หแ วน แควนน้ีวางเปลาขาดผปู กครองอยหู ว งระยะเวลาหน่งึ

ในระหวางที่ฝายไทย กําลังระส่ําระสายอยูนี้ เปนโอกาสใหขอมซ่ึงมีราชธานีอุปราชอยูท่ีเมืองละโว
ถอื สทิ ธิ์เขาครองแควนโยนก แลวบังคับใหคนไทยที่ตกคางอยูน้ันใหสงสวยใหแกขอม ความพินาศของแควน

32

โยนกคร้งั น้ี ทาํ ใหช าวไทยตองอพยพแยกยายกนั ลงมาเปนสองสายคือ สายของพระเจาชัยศิริ อพยพลงมาทางใต
และไดอ าศัยอยชู ัว่ คราวทเ่ี มืองแปปดังกลาวแลว สวนสายพวกชัยบุรีไดแยกออกไปทางตะวันออกของสุโขทัย
จนมาถงึ เมอื งนครไทยจึงไดเขาไปต้ังอยู ณ เมืองนั้นดวยเห็นวาเปนเมืองที่มีชัยภูมิเหมาะสมเพราะเปนเมือง
ใหญ และตั้งอยสู ดุ เขตของขอมทางเหนือ ผคู นในเมืองนัน้ สว นใหญกเ็ ปน ชาวไทย อยา งไรกต็ ามในชน้ั แรกที่เขา
มาต้งั อยูนน้ั กค็ งตองยอมขึน้ อยูกบั ขอม ซง่ึ ขณะนน้ั ยังมอี ํานาจอยู

ในเวลาตอ มา เมอื่ คนไทยอพยพลงมาจากนานเจา เปนจาํ นวนมาก ทําใหนครไทยมีกาํ ลังผูคนมากข้ึน
ขางฝายอาณาจักรลานนาหรือโยนกนนั้ เมื่อพระเจาชัยศิรทิ ิ้งเมืองลงมาทางใต แลวกเ็ ปน เหตใุ หดนิ แดนแถบนน้ั
วางผูปกครองอยูระยะหนึ่ง แตในระยะตอมาชาวไทยก็คางการอพยพอยูในเขตน้ันก็ไดรวมตัวกัน ตั้งเปน
บานเมอื งข้นึ หลายแหง ตั้งเปน อิสระแกกัน บรรดาหัวเมอื งตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในครั้งนั้นก็นับวาสําคัญ มีอยูสามเมือง
ดวยกัน คือ นครเงินยาง อยูทางเหนือ นครพะเยาอยูตอนกลาง และเมืองหริภุญไชย อยูลงมาทางใต
สวนเมืองนครไทยน้ันดวยเหตุท่ีวามีท่ีตั้งอยูปลายทางการอพยพ และอาศัยที่มีราชวงศเชื้อสายโยนกอพยพ
มาอยูทเ่ี มืองน้ี จึงเปนทน่ี ยิ มของชาวไทยมากกวาพวกอ่ืน จึงไดรับยกยองขึ้นเปนพอเมืองที่ตั้งของเมืองนคร
ไทยนนั้ สนั นิษฐานวานา จะเปนเมืองเดยี วกันกับเมอื งบางยาง ซงึ่ เปนเมืองใหญมีเมืองขึ้น และเจาเมืองมีฐานะ
เปนพอขนุ

เมื่อบรรดาชาวไทยเกิดความคิดท่ีจะสลัดแอกของขอมครั้งน้ี บุคคลสําคัญในการนี้ก็คือ พอขุนบาง
กลางหาว ซึ่งเปนเจาเมืองบางยาง และพอขุนผาเมือง เจาเมืองราดไดรวมกําลังกันยกข้ึนไปโจมตีขอม
จนไดเมอื งสุโขทยั อนั เปนเมืองหนา ดานของขอมไวได เมื่อป พ.ศ. 1800 การมีชัยชนะของฝายไทยในคร้ังนั้น
นบั วา เปนนมิ ิตหมายเบอ้ื งตน แหง ความเจริญรุงเรืองของชนชาติไทยและเปนลางรา ยแหงความเสือ่ มโทรมของ
ขอม เพราะนับแตว าระนั้นเปน ตนมา ขอมก็เสื่อมอํานาจลงทุกที จนในที่สุดก็สิ้นอํานาจไปจากดินแดนละวา
แตยงั คงมีอาํ นาจปกครองเหนือลมุ น้าํ เจา พระยาตอนใต

อาณาจกั รสโุ ขทัย

กรงุ สโุ ขทัย ตามตํานานกลาววาพระยาพาลีราชเปนผูต้ังเมืองสุโขทัยเม่ือ พ.ศ. 1043 และมีกษัตริย
ปกครองตอ กันมาหลายองค ถึงสมัยพระยาอภัย ขอมลาํ พูนมารกุ ราน พระยาอภยั จงึ หนีขอมไปจําศีลอยูที่เขา
หลวงและไปไดสาวชาวปา ช่ือนางนาคเปนชายา ตอมาพระยาอภยั ก็กลบั สโุ ขทัยเพ่อื ครองเมืองตามเดิมและได
มอบผากําพลกับพระธาํ มรงคไวใ หนางนาคเปน ทร่ี ะลกึ เมื่อพระยาอภัยกลบั ไปแลวนางนาคก็ไดก าํ เนิดบุตรชาย
แตไ มร ูจ ะเก็บลกู ไวท่ีไหน จึงท้ิงลูกไวทเ่ี ขาหลวงพรอมผา กําพลและพระธาํ มรงค พรานปา คนหน่ึงไปพบจึงเก็บ
มาเลยี้ ง

ตอมาพระยาอภัยเมื่อกลับไปครองเมืองดังเดิมแลวก็ไดเกณฑชาวบานไปชวยกันสรางปราสาท
นายพรานถูกเกณฑไปดวย ระหวางการกอสรางปราสาทนายพรานไดวางเด็กนอยไวขางปราสาทนั้น
เม่อื แสงแดดสองถูกเด็กนอ ยยอดปราสาทกโ็ อนเอนมาบงั รม ใหเดก็ อยางอศั จรรย พระอภัยมาดพู ระกมุ ารพรอม
ผากําพลและพระธาํ มรงคจึงไดขอเด็กไปเปนบุตร ต้ังชื่อใหวาอรุณกุมาร พระยาอภัยมีโอรสอีกองคหน่ึงกับ
มเหสใี หมชอ่ื วา ฤทธกิ ุมาร ตอมาภายหลงั ไดไ ปครองเมืองนครสวรรคแ ละมีนามใหมว าพระลือ สวนอรุณกุมาร

33

ไปไดธดิ าเมืองศรสี ชั นาลยั เปน ชายาจึงไปครองศรสี ัชนาลยั มีนามใหมว า พระรวงโรจนฤทธิ์ พรอมท้ังยายเมือง
หลวงจากสโุ ขทยั ไปศรสี ชั นาลยั พระรว งโรจนฤทธไ์ิ ดเ สดจ็ ไปเมืองจีนและไดพระสทุ ธเิ ทวีราชธิดากรุงจีนมาเปน
ชายาอีกองคหน่ึง พรอมท้ังไดนําชางชาวจีนกลับมาต้ังเตาทําถวยชามที่ศรีสัชนาลัย ซ่ึงเรียกวาเตาทุเรียง
คร้งั ถงึ ป พ.ศ. 1560 ขอมมารุกรานศรีสัชนาลัย มีขอมดําดินมาจะจับพระรวงโรจนฤทธ์ิ พระรวงจึงสาบให
ขอมกลายเปน หินอยูต รงนน้ั

เมือ่ ขนึ้ ครองเมอื ง พระรวงไดยายเมืองหลวงจากศรีสัชนาลัยมาที่สุโขทัย เมื่อส้ินรัชกาลแลว พอขุน
นาวนําถม ไดป กครองสโุ ขทยั ตอมา และสโุ ขทยั ก็ตกเปนเมืองขน้ึ ของขอม พอ ขนุ นาวนําถมและพอขุนศรีเมือง
มานพยายามชวยกันขบั ไลขอมจากสุโขทยั แตไมสาํ เรจ็

ป พ.ศ. 1800 พอ ขนุ บางกลางหาวกับพอ ขนุ ผาเมอื งสามารถขบั ไลขอมไดสําเร็จ พอขุนบางกลางหาว
ข้ึนเปนกษัตริยสุโขทัยทรงพระนามวา พอขุนศรีอินทราทิตย สุโขทัยเจริญรุงเรืองมากท่ีสุดในสมัย
พอขุนรามคําแหงและสมัยพระยาลิไทย สมัยพอขุนรามคําแหงนี้มีการเชิญพระสงฆจากนครศรีธรรมราช
มาชวยกนั ประดษิ ฐลายสือไทยเปนเอกลกั ษณข องสุโขทัยเอง ซึง่ พฒั นาตอ มาเปนหนังสือไทยในปจจบุ นั

พ.ศ. 1893 พระเจาอูทองทรงสถาปนาอยุธยาเปนราชธานีอีกแหงหนึ่งของคนไทย แตอยุธยากับ
สุโขทัยก็ไมไดเปนศตั รกู ัน

ในสมัยพระยาลิไทยนั้นขุนหลวงพะงั่วแหงอยุธยาไดมารวมมือกัน เพ่ือเผยแผพุทธศาสนา
ใหเจริญรุงเรอื งมีการนิมนตพ ระสงฆม าชว ยรวบรวมพระธรรมวินัยที่กระจัดกระจายเพราะศึกสงครามและให
คณะสงฆร ว มกันรางไตรภูมิพระรวงเพื่อใชสอนพุทธบริษัทใหทําความดี ในสมัยพระยาลิไทยน้ีไดมีการสราง
พระพทุ ธรปู สาํ คญั ของไทยสามองค คือ พระพุทธชินราช พระพทุ ธชนิ สหี  และพระศากยมุนี

ยคุ หลงั พระยาลิไท อาณาจักรสุโขทัยออ นแอลง ในทีส่ ุดจงึ ถูกผนวกรวมเปน อาณาจกั รเดยี วกบั อยุธยา
เมื่ออยธุ ยาเสยี กรุงแกพมา คร้ังที่ 2 เมอื งสโุ ขทัยก็ยิ่งเสอ่ื มลง พลเมอื งสโุ ขทัยสว นใหญอ พยพหนสี งคราม

เม่อื ต้ังกรงุ ธนบุรี สุโขทยั ก็ถูกฟนฟขู นึ้ ใหมด วย โดยไปตงั้ เมอื งอยูทบ่ี านธานีริมแมน้ํายม ตอมาก็ถูกยก
ฐานะเปน อําเภอธานขี ึน้ อยูกับจงั หวัดสวรรคโลก พ.ศ. 2475 เปลี่ยนช่ืออําเภอธานีเปนอําเภอสุโขทัยธานีและ
พ.ศ. 2482 ยบุ จงั หวดั สวรรคโลกเปนอําเภอ และยกฐานะอําเภอสุโขทยั ธานขี น้ึ เปน จังหวัดสุโขทัยแทน

การกอ ตั้งอาณาจักรสโุ ขทัย

การกอต้ังอาณาจักรสุโขทัยเทาที่ปรากฏหลักฐานแวนแควน สุโขทัยไดกอตั้งขึ้นในชวงกลางพุทธ
ศตวรรษท่ี 18 โดยศูนยกลางอํานาจของสุโขทัยอยูบริเวณลุมแมน้ํานาน ตอมาจึงไดขยายตัวไปทางดาน
ตะวนั ตกบริเวณลมุ แมนํ้าปง และทิศตะวนั ออกบรเิ วณลุมแมน ํา้ ปา สกั

จากศลิ าจารกึ หลักท่ี 2 ศิลาจารึกวัดศรชี ุม จงั หวัดสุโขทัย ไดกลาวถึงการขยายอํานาจทางเศรษฐกิจ
และการเมอื งของชมุ ชนเมอื งในลมุ แมน ้ํายม และลุมแมน้ํานาน ในรัชสมัยของพอขุนศรีนาวนําถมขุนในเมือง
เชลียง (ศรีสัชนาลยั ) เปนเจา เมอื งปกครองในฐานะเมืองขึ้น ขอมไดครอบครองเมืองศรีสัชนาลัย และสุโขทัย
เม่ือประมาณกลางพทุ ธศตวรรษท่ี 18 ซึ่งสันนิษฐานวา เปนการขยายเมือง โดยการรวบรวมเมืองเปนเมืองคู

34

ดังปรากฏเรียกในศิลาจารึกวา “นครสองอัน” การรวมเมืองเปนเมืองคูน้ีเปนการรวมทรัพยากรสําหรับ
การขยายเมืองใหเ ปนแวน แควน ใหญโ ตข้นึ พระองคม โี อรส 2 พระองค คอื พอขนุ ผาเมอื ง เจาเมืองราด
และพระยาคาํ แหงพระราม เจาเมืองสระหลวงสองแคว (เมืองพษิ ณุโลก)

พอขุนผาเมอื งน้ํา ปรากฏความในจารกึ วากษัตริยขอมในสมัยนั้น ซ่ึงสันนิษฐานวา คือ พระเจาชัยวรมัน
ที่ 7 (พ.ศ. 1724 – 1761) ไดยกราชธิดา คือ “นางสุขรมหาเทวี” ให เพื่อสรางสัมพันธไมตรี พรอมท้ัง
พระราชทานเครอ่ื งราชูปโภค คือ พระขรรคชยั ศรีและพระนามเฉลิมพระเกยี รตวิ า “ศรอี นิ ทราทติ ย หรือ
ศรีอินทราบดินทราทิตย” อาณาเขตของกรุงสุโขทัยในสมัยพอขุนศรีนาวนําถม คงไมกวางขวางเทาใดนัก
สนั นษิ ฐานวา ครอบคลุมถึงเมืองฉอด (เมอื งสอด) ลําพนู พษิ ณุโลกและอาํ นาจในสมัยขอมในการควบคุมเมือง
ในอาณาเขตในสมัยของพอขุนศรีนาวนําถมคงไมมั่นคงนัก แตละเมืองคงเปนอิสระในการปกครองตนเอง
เมืองหลายเมืองคงเปน เมอื งในระบบเครอื ญาติ หรือเมอื งท่ีมีสัมพันธไมตรตี อกัน ภายหลังเม่ือพอขุนศรีนาวนําถม
สิ้นพระชนม คงเกดิ ความวุนวายในเมอื งสุโขทยั ขอมสบาดโขลญลาํ พง ซึง่ สนั นษิ ฐานวา อาจเปนเจาเมืองลําพง
ซ่ึงเปนเมืองที่ปรากฏชื่อในศิลาจารึก หรืออาจเปนขุนนางขอมที่กษัตริยขอมสงมากํากับดูแลอยูท่ีสุโขทัย
ไดน าํ กําลังเขา ยึดเมืองสุโขทัย ศรีสชั นาลัย และเมอื งใกลเ คยี งไวได พอขนุ ผาเมอื ง เจา เมืองราดและพระสหาย
คอื พอขนุ บางกลางหาว เจาเมืองบางยาง ไดรวมกาํ ลังกันปราบปรามจนไดชัยชนะ พอขนุ บางกลางหาวจงึ ไดขึ้น
ครองราชย ณ เมืองสุโขทัย มีพระนามวา “พอขุนศรีอินทราทิตย” เปนปฐมกษัตริยราชวงศพระรวง
สวนพอขุนผาเมืองไดกลับไปครองเมืองราดดงั เดิม

หลักฐานในศิลาจารึกกลาววา หลังสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช เมืองตาง ๆ ในอาณาเขตของ
สุโขทัยไดแยกตัวเปน อสิ ระ ไมยอมรบั ศูนยอาํ นาจที่เมืองสโุ ขทัยเหมือนดังเชน สมัยท่พี อขนุ รามคําแหงมหาราช
ดํารงพระชนมช พี อยู ปรากฏขอ ความในศิลาจารึกหลกั ท่ี 3 ศิลาจารึกนครชมุ จังหวดั กาํ แพงเพชรวา “บานเมือง
ขาด....หลายบ้ัน หลายทอนแซว หลายบ้ันหลายทอน ด้ังเมืองพ... นกเปนขุนหน่ึงเมืองคนที
พระบาง หาเปนขุนหนึง่ เมอื งเชยี งทองหาเปน ขุนหน่ึง...” ความแตกแยกของเมอื งตา ง ๆ ในอาณาจักรสุโขทัย
หลงั สมัยพอ ขุนรามคําแหงมหาราชนน้ั อาจเนอื่ งมาจากศูนยกลางอํานาจปราศจากความเขมแข็ง บานพ่ีเมืองนอง
ในอาณาจักรสุโขทัยไดแตกแยกออกถืออํานาจปกครองตนเองโดยไมข้ึนแกกันเมืองประเทศราชท่ีมีกําลัง
กลา แข็งพากนั แยกตัวเปน อสิ ระ เชน เมืองนครศรธี รรมราช และเมืองหงสาวดี เปนตน

อาณาจักรสุโขทยั มีความเจรญิ รงุ เรอื งสบื มาประมาณ 200 ปเ ศษ (พ.ศ. 1762 – 1981) ภายหลงั จึงตก
อยใู ตอ ํานาจของกรงุ ศรีอยุธยา และถกู รวมเปนอนั หนึ่งอนั เดียวกับกรุงศรอี ยุธยาในสมยั พระบรมราชาธิราชที่ 2
(เจา สามพระยา)

กิจกรรมที่ 2

1) จากการประวตั ศิ าสตรส มยั สโุ ขทยั กรงุ สโุ ขทยั เสอ่ื มอาํ นาจลง เพราะสาเหตใุ ด
อธิบายมาพอเขา ใจ

2) หลกั ฐานสําคญั ใดทที่ าํ ใหเ ราทราบประวัตศิ าสตรส มัยสโุ ขทยั อธิบายมาพอเขา ใจ

35

อาณาจกั รกรงุ ศรีอยธุ ยา

อาณาจักรอยุธยาถือกําเนิดข้ึนมาจากการรวมตัวของแวนแควนสุพรรณบุรีและลพบุรี พระเจาอูทอง
ไดสถาปนาอยุธยาขน้ึ เม่ือวันศุกรที่ 4 มนี าคม พ.ศ. 1893 (ค.ศ. 1351) โดยตง้ั ข้ึนในเมอื งเกา “อโยธยา” ท่มี ี
มากอ น ในบรเิ วณท่ีเรียกวา หนองโสน ซึ่งมีแมน้ํา 3 สาย คือ แมน้ําเจาพระยา แมน้ําลพบุรี และแมนํ้าปาสัก
มาบรรจบกัน แลว ตั้งนามพระนครน้วี า “กรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดี ศรีอยธุ ยา มหาดิลกบวรรัตนราชธานี
บุรีรมย” คนทวั่ ไปเรียกตวั เมอื งอยุธยาวา “เกาะเมอื ง” มีรปู ลักษณะคลา ยเรือสําเภา โดยมีหัวเรืออยูทางดาน
ทิศตะวันออก ชาวตางประเทศในสมัยน้ัน กลาวถึง กรุงศรีอยุธยาวาเปนเวนิสตะวันออก เน่ืองจากกรุงศรี-
อยุธยามีการขุดคูคลองเชื่อมโยงสัมพันธกันกับแมนํ้าใหญรอบเมือง จึงทําใหอยุธยามีสภาพเปนเกาะมีแมน้ํา
ลอ มรอบ

การสถาปนากรงุ ศรีอยุธยา

ชาวไทยเริม่ ต้งั ถ่นิ ฐานบริเวณตอนกลาง และตอนลางของลุม แมนํ้าเจาพระยามาต้ังแตพุทธศตวรรษท่ี
18 แลว มีเมืองสําคัญหลายเมือง อาทิ ละโว อโยธยา สุพรรณบุรี นครชัยศรี เปนตน ตอมาราวปลาย
พุทธศตวรรษที่ 19 อาณาจักรขอม และสุโขทยั เริม่ เสือ่ มอํานาจลง พระเจาอูทอง

เจาเมอื งอทู อง ซ่ึงขณะนน้ั เกิดโรคหา ระบาดและขาดแคลนน้ํา จงึ ทรงดาํ ริจะยายเมืองและพจิ ารณาชัยภูมิ
เพ่ือต้ังอาณาจักรใหม พรอมกนั นนั้ ตอ งเปน เมอื งทมี่ ีนํ้าไหลเวียนอยตู ลอด ครัง้ แรกพระองคท รงประทบั ทตี่ ําบล-
เวียงเหล็ก เพื่อดูช้ันเชิงเปนเวลากวา 3 ป และตัดสินพระทัยสรางราชธานีแหงใหมบริเวณตําบลหนองโสน
(บึงพระราม) และสถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเปนราชธานี เมื่อวันศุกรที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 มีช่ือตาม
พงศาวดารวา กรงุ เทพทวารวดีศรีอยุธยา มหนิ ทรายธุ ยา มหาดิลกภพนพรัตน ราชธานีบุรีรมย ดวยบริเวณนั้น
มแี มน า้ํ ลอ มรอบถงึ 3 สาย อันไดแก แมนํ้าลพบุรีทางทิศเหนือ แมนํ้าเจาพระยาทางทิศตะวันตก และทิศใต
แมน าํ้ ปา สกั ทางทศิ ตะวนั ออก เดมิ ทีบรเิ วณนไ้ี มไ ดม ีสภาพเปน เกาะ ตอมาพระองคท รงดาํ ริใหข ดุ คูเช่ือมแมน้ํา
ท้ัง 3 สาย กรุงศรีอยุธยาจึงมีน้ําเปนปราการธรรมชาติใหปลอดภัยจากขาศึก นอกจากนี้ที่ต้ังกรุงศรีอยุธยา
ยังหางจากปากแมน้ําไมมาก เม่ือเทียบกับเมืองใหญ ๆ อีกหลายเมืองในบริเวณเดียวกัน ทําใหกรุงศรีอยุธยา
เปนศูนยกลางการกระจายสินคา สูภ มู ภิ าคอืน่ ๆ ในอาณาจกั ร รวมทง้ั อาณาจกั รใกลเคยี งอกี ดวย

ขยายตัวของอาณาจกั ร

กรุงศรอี ยธุ ยาดาํ เนนิ นโยบายขยายอาณาจักรดวย 2 วิธีคอื ใชกาํ ลงั ปราบปราม ซึ่งเห็นไดจากชัยชนะ
ในการยึดครองเมอื งนครธม (พระนคร) ไดอ ยา งเดด็ ขาดในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 และอีกวิธีหนึ่ง
คือ การสรา งความสมั พันธแ บบเครอื ญาติ อันเหน็ ไดจากการผนวกกรุงสุโขทยั เขา เปนสว นหนง่ึ ของอาณาจักร

ชวงสมยั รัชกาลของสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศ พระองคมีโอรสอยู 5 พระองค ซ่ึงท้ัง 5 พระองค
กห็ มายอยากไดใ นราชสมบัติ เมือ่ พระเจาเอกทัศน (โอรสองคโต) และพระเจาอุทุมพร (โอรสองครอง) ไดมีสทิ ธิ
ในราชสมบัติเทากัน โดยพระเจาเอกทัศนเปนโอรสองคโตยอมไดในราชสมบัติ สวนพระเจาอุทุมพรก็ทรงมี
สติปญญาเปนเลิศ สามารถควบคุมกองกําลังได นั้นเปนการจุดชนวนใหท้ัง 2 พระองคตองสลับการขึ้น
ครองราชยกัน โดยในยามสงบ พระเจาเอกทัศนจะทรงครองราชยในยามสงคราม พระเจาอุทุมพร

36

จะทรงครองราชย ในทางพมาเมอ่ื กษัตริย พระเจาอลองพญา สวรรคตจากการถูกกระสุนปนใหญ พระโอรส
จึงต้ังทัพเขายึดเมืองอยุธยาในป 2309 ในเวลาตอมาเมื่อพระเจาอุทุมพรหมดความมั่นใจในการครองราชย
เพราะพระเชษฐา (เอกทศั น) กท็ วงคนื ราชสมบตั ติ ลอดเม่ือไลขาศึกได จึงออกผนวช โดยไมสึก ทําใหพระเจา
เอกทัศนครองราชยไ ดน าน 9 ป ท่ีคายบางระจัน ชาวบานบางระจันไดขอกําลังเสริมจากอยุธยา แตพระองค
ไมใ ห และในเวลายิงปนใหญก ใ็ หใ สกระสุนนอย เพราะจะทําใหมเหสีรําคาญเสียง ทําใหพระเจาตากสินผูนํา
กองทัพหมดศรัทธาและนําทัพตีคายออกจากกรุงในท่ีสุด กรุงศรีอยุธยาถูกเผาไมเหลือแมนวัดวาอาราม
นับเวลาของราชธานีได 417 ป เสยี กรุงใหแกพ มา 2 คร้ัง คือ คร้ังแรก ป พ.ศ. 2112 ในสมัยสมเด็จพระมหินทราธิราช
(โอรสของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ) ตกเปนเมืองข้ึนของพมาเปนเวลา 15 ป และเมื่อป พ.ศ.2117
พระนเรศวรมหาราช ทรงกูเอกราชกลับคืนมาและเม่ือวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 กรุงศรีอยุธยาก็ถึงกาล
ลม สลาย

กรงุ ศรีอยุธยามกี ษตั ริยปกครองทั้งหมด 33 พระองค จาก 5 ราชวงศ ไดแก ราชวงศอูทอง ราชวงศ
สุพรรณบรุ ี ราชวงศสุโขทยั ราชวงศป ราสาททอง ราชวงศบา นพลูหลวง

กจิ กรรมท่ี 3

1) ลักษณะเดนของการสรางกรงุ ศรอี ยธุ ยาเปนเมอื งหลวง คอื อะไร
2) สาเหตสุ าํ คญั ท่ที ําใหไทยตองการเสียกรุงศรีอยธุ ยาใหพ มา 2 คร้งั คอื อะไร

อาณาจกั รกรงุ ธนบุรี

สมเด็จพระเจา ตากสนิ สามารถยึดธนบรุ ีและกรงุ ศรอี ยธุ ยาคืนมาจากพมา ได ทําใหพ ระองคม ีความชอบ
ธรรมในการสถาปนาพระองคเปนพระมหากษัตริย แตเน่ืองจากเห็นวา กรุงศรีอยุธยาเสียหายเกินกวาที่จะ
บรู ณะใหคืนไดดังเดิม จงึ ทรงสถาปนากรงุ ธนบุรีขึน้ เปนราชธานีในปเดียวกนั

การสถาปนาธนบรุ เี ปน ราชธานี

เมือ่ สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช สามารถกูเอกราชของชาติไทยไดแลว ปญหาของไทยในขณะน้ัน
คือ การปองกันตนเองใหพนจากการโจมตีโดยพมาและหาอาหารใหพอเล้ียงผูคนท่ีมีชีวิตรอดจากสงคราม
แตส ภาพอยุธยาขณะนัน้ ไมอ าจจะฟน ฟบู รู ณะไดอยางรวดเร็วดวยกําลังคนเพียงเล็กนอย อีกท้ังพมาไดรูลูทาง
และจดุ ออนของอยุธยาเปนอยางดีแลว ดังน้ัน พระองคจําเปนที่จะตองหาชัยภูมิท่ีเหมาะสมในการสถาปนา
ราชธานีแหงใหมและไดรบั พระราชทานนามวา “กรุงธนบุรีศรมี หาสมทุ ร” กรุงธนบรุ ตี ง้ั อยูท างฝงตะวนั ตกของ
แมน ํา้ เจาพระยา ซงึ่ เปน พ้นื ทีข่ องเมืองบางกอกเดิมในสมยั อยุธยาเมืองบางกอก มฐี านะเปน “เมืองทาเดมิ ”
คอื เปนที่จอดเรอื สนิ คา และเปนเมืองหนา ดา นทท่ี าํ หนา ที่ปอ งกันขาศกึ ทจ่ี ะยกทพั เขา มาทางปากน้ําเจาพระยา
รวมท้ังมีหนาท่ีตรวจตราเก็บภาษีเรือและสินคาท่ีข้ึนลองตามลําน้ําเจาพระยาตอนลางบางกอกซึ่งมีปอม
ปราการและมดี านเก็บภาษดี านใหญท ีเ่ รียกวา ขนอนบางกอก

37

เมืองบางกอกจึงมีชุมชนคนตางชาติ เชน จีน อินเดีย มุสลิม ท่ีเดินทางมาติดตอคาขายและ
เปนทางผานของนักเดินทาง เชน นกั การทตู พอคา นักการทหาร และนักบวชท่ีเขามาเผยแผศาสนา รวมทั้ง
นักเผชิญโชคท่ีตองการเดินทางไปยังอยุธยา ดังนั้น โดยพื้นฐานท่ีต้ังของกรุงธนบุรีจึงอยูในบริเวณท่ีราบลุม
อันอุดมสมบรู ณข องปากนาํ้ เจาพระยา และเปนเมืองที่มคี วามเจรญิ ทางเศรษฐกจิ มากอ น ตลอดจนเปน เมืองทมี่ ี
ความปลอดภยั เพราะมที ั้งปอมปราการและแมน ้ําลาํ คลองทีป่ องกันไมใหข า ศึกโจมตไี ดโดยงาย

เม่อื สมเดจ็ พระเจาตากสินมหาราช ไดสถาปนากรุงธนบุรีเปนราชธานี พระองคทรงโปรดเกลาฯ ให
สรางพระราชวังขน้ึ เปน ที่ประทับ โดยสรา งพระราชวงั ชดิ กาํ แพงเมอื งทางดา นใต มีอาณาเขตต้ังแตปอมวิไชย-
ประสิทธ์ิและวัดทายตลาด (วัดโมลีโลกยาราม) ข้ึนมาจนถึงวัดอรุณราชวราราม วัดท้ังสองจึงเปนวัดในเขต
พระราชฐาน สําหรับวัดแจงมีฐานะเปนพระอารามหลวง และเปนที่ประดิษฐานพระแกวมรกตท่ีไดอัญเชิญ
มาจากเวียงจันทรเ ม่ือ พ.ศ. 2322

การปกครอง หลงั จากกรุงศรอี ยุธยาเสยี ใหแ กพมา เมอ่ื พ.ศ. 2310 บา นเมอื งอยูในสภาพ
ไมเ รียบรอย มีการปลน สะดมกันบอย ผูคนจึงหาผูคุมครองโดยรวมตัวกันเปนกลุมเรียกวา ชุมนุม ชุมนุมใหญ ๆ
ไดแก ชุมนุมเจาพระยาพิษณุโลก ชุมนุมเจาพระฝาง ชุมนุมเจาพิมาย ชุมนุมเจานครศรีธรรมราช เปนตน
สมเดจ็ พระเจา ตากสนิ ทรงใชเวลาภายใน 3 ป ยกกองทัพไปปราบชุมนุมตาง ๆ ที่ตั้งตนเปนอิสระจนหมดส้ิน
สําหรับระเบียบการปกครองน้ัน พระองคทรงยึดถือ และปฏิบัติตามระเบียบการปกครองแบบสมัยกรุงศรี-
อยุธยาตอนปลายตามท่ีสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงวางระเบียบไว แตรัดกุมและมีความเด็ดขาดกวา
คนไทยในสมัยน้นั จงึ นยิ มรับราชการทหาร เพราะถาผูใดมีความดีความชอบ ก็จะไดรับการปูนบําเหน็จอยาง
รวดเร็ว

เศรษฐกิจ ในขณะทีส่ มเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราชขน้ึ ครองราชยนั้น บานเมอื งกาํ ลังประสบ
ความตกตาํ่ ทางเศรษฐกจิ อยางทสี่ ุด เกิดการขาดแคลนขาวปลาอาหาร และเกิดความอดอยากยากแคน จึงมี
การปลนสะดมแยง อาหาร มหิ นาํ ซํา้ ยังเกดิ ภยั ธรรมชาติขนึ้ อกี ทําใหภาวะเศรษฐกิจท่ีเลวรายอยูแลวกลับทรุด
หนักลงไปอีกถึงกับมีผูคนลมตายเปนจํานวนมาก สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงแกไขวิกฤตการณดวย
วิธกี ารตา ง ๆ เชน ทรงสละทรพั ยส ว นพระองคซอื้ ขา วสารมาแจกจายแกราษฎรหรือขายในราคาถกู พรอ มกบั มี
การสงเสริมใหมีการทํานาปล ะ 2 ครง้ั เพ่อื เพ่ิมผลผลติ ใหเ พียงพอ การสิน้ สุดอํานาจทางการเมืองของสมเด็จ-
พระเจา ตากสินมหาราช ในตอนปลายรัชกาล สมเดจ็ พระเจาตากสนิ มหาราช เน่ืองจากพระองคทรงตรากตรํา
ทํางานหนักในการสรางความเปนปกแผนแกชาติบานเมือง พระราชพงศาวดารฉบับตาง ๆ ได บันทึกไววา
สมเด็จพระเจา ตากสนิ ทรงมีพระสติวปิ ลาส ทาํ ใหบา นเมอื งเกดิ ความระส่าํ ระสายและไดเกิดกบฏขึ้นท่ีกรุงเกา
พวกกบฏไดทําการปลนจวนพระยาอินทรอภัยผรู ักษากรงุ เกาจนถงึ หลบหนีมายังกรงุ ธนบรุ ี สมเดจ็ พระเจาตากสิน
มหาราชโปรดใหพระยาสวรรคไปสืบสวนเอาตัวผูกระทําผิดมาลงโทษ แตพระยาสรรคกลับไปเขาดวยกับ
พวกกบฏ และคุมกําลังมาตีกรุงธนบุรี ทําใหสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึกตองรีบยกทัพกลับจากเขมร
เพ่ือเขาแกไขสถานการณในกรุงธนบุรี และจบั กุมผูกอ การกบฏมาลงโทษ รวมทง้ั ใหขา ราชการปรกึ ษาพจิ ารณา
ความท่ีมีผูฟองรองกลาวโทษสมเด็จพระเจาตากสินมหาราชในฐานะท่ีทรงเปนตนเหตุแหงความยุงยากใน

38

กรงุ ธนบรุ ีและมีความเห็นใหส ําเร็จโทษพระองค เพื่อมิใหเกิดปญหายุงยากอีกตอไป สมเด็จพระเจาตากสิน-
มหาราชจงึ ถกู สําเรจ็ โทษ

กิจกรรมที่ 4

1) เหตุการณใ นสมัยกรงุ ธนบรุ ใี ดทอ่ี ยูในความทรงจําของคนไทยในปจจบุ นั
อธบิ ายมาพอเขาใจ

2) สาเหตุท่ีสมเดจ็ พระเจา ตากสนิ ตอ งเสยี กรงุ ใหก ับพมา คืออะไร อธบิ ายมาพอเขาใจ

กรงุ รตั นโกสนิ ทร

จุดเริม่ ตน ของรตั นโกสนิ ทร สมเดจ็ พระเจา ตากสินมหาราช เปน พระมหากษัตริยนักรบอีกพระองคหน่ึง
ของชาตไิ ทยทีม่ อี จั ฉริยะภาพทางการทหารอยางหาผูใดเทียมมิได สิบหาปตลอดรัชกาลทรงตรากตรําทําศึก
ไมเ วน แตล ะป หวั เมืองใหญนอยและอาณาจักรใกลเคียงตางครั่นครามในพระบรมเดชานุภาพ กองทหารมา
อันเกรียงไกรของพระองคนั้น เปนตนแบบในการรุกรบยุคตอมาเปนตัวอยางอันดีของทหารในยุคปจจุบัน
พระองคก อ็ ยใู นสภาวะท่ีมติ า งอะไรจากสมเดจ็ พระนเรศวรฯ คือ มีกําลังนอยกวาแทบจะทุกครั้ง แตพระองค
ก็สามารถเอาชัยไดจากพระวิริยะอุตสาหะและพระปรีชาสามารถทางการทหาร ทรงกลาที่จะเปลี่ยนแปลง
ในสิ่งท่ีลาหลัง ท่ีศัตรูรู ท่ีใคร ๆ ก็รู ทรงกลาที่จะปฏิวัติความเชื่อใหม ๆ ท่ีทหารควรจะใชเพื่อใหเหมาะกับ
สถานการณที่คับขัน การคุมพลยกแหกวงลอมพมาจากคายวัดพิชัยน้ัน ถือไดวาเปนทหารหนีทัพท่ีคิดกบฏ
เปน ทรยศตอ แผนดนิ แตพ ระองคก ม็ ิไดลังเลท่ีจะทรงกระทําเพื่อบานเมืองในวันขางหนา หากพระองคไมคิด
เอาบานเมืองเปนหลักชัยแลว ไหนเลยจะยอนกลับมาเพ่ือกูกรุงในอีกแปดเดือนถัดมา ดังน้ัน จึงเห็นไดวา
ยศศกั ด์ิตาง ๆ ท่ีพระองคมีในตําแหนงพระยาวชิรปราการ ผูรั้งเมืองกําแพงเพชรน้ัน หาไดมีความสําคัญตอ
พระองคไมแมแตนอ ย ทรงรดู วี า เมอื่ สน้ิ ชาติ ยศศักด์ใิ ด ๆ กไ็ มมีความหมาย และในพระนครนัน้ กไ็ มมีขนุ ทหาร
ผใู หญค นใดทีจ่ ะมนี ํ้าใจและกลา หาญทพ่ี อจะรักษาชาตไิ วไ ด พระองคจึงกระทาํ การอันท่ียากท่ีทหารคนใดผูใด
จะกลาทาํ

พระเจาตากสินฯ ทรงเปนกษัตริยนักรบท่ีเริ่มดวยพระองคเอง จากที่มีทหารเพียงแคหารอยคน
ทรงกระทําการจากเลก็ ๆ เรอื่ ยไปจนถึงการใหญ ซงึ่ นนั่ คอื การสถาปนากรงุ ธนบุรี ราชธานีใหมที่มีกองทัพกวา
สองแสนคน ไวเ ปนท่ีสรางความเปน ปกแผนใหก ับคนไทย การเมืองการปกครองในกรุงธนบุรีในยุคเริ่มแรกนั้น
รม เย็นเปน สขุ เพราะกรุงธนบรุ มี กั จะเปน ฝา ยรุกในเร่ืองของการทหาร ไพรฟาประชาชนในเมืองจะปลอดภัย
จากขาศึก เพราะกองทพั ของพระเจาตากสินฯ จะยกพลไปรบในดินแดนขา ศกึ เปนสวนใหญ พระเจาตากสินฯ
ทรงมีนโยบายทางการทหารเปนแนวเชิงรุกอาณาจักรใกลเคียงตางยอมอยูใตเศวตฉัตร เพราะกรุงธนบุรี
มีกองทัพท่ีเขมแข็งและยุทธวิธีในการรบก็ไมเหมือนใครเปนแบบใหมท่ีไมอาจมีใครแกทางศึกได
พระราชอาณาจกั รจงึ กวา งขวางย่ิงกวา ในสมยั ราชธานเี ดิม

39

กรงุ ธนบรุ แี ละพระเจา ตากสินฯ เริ่มมปี ญ หาในทางการปกครองจากการที่รบั เอาขนุ นางเกาของอยธุ ยา
มารับราชการ มีการแบง พรรคแยง พวก ลางรา ยเรม่ิ ปรากฏ กองทัพกรุงธนบุรปี ราชัยเปนครั้งแรกที่เมืองเขมร
เพราะทหารแตละทพั ระแวงกนั เอง ไมเรง เดินทัพเพ่ือสมทบทัพหลวงท่พี ระเจา ตากสินฯ ทรงใหพระโอรสเปน
จอมทัพ ทัพตา ง ๆ ไมบรรจบกันตามพิชัยสงครามดังทเ่ี คยปฏิบัติ สุดทา ยเกิดกบฏท่ีเมืองหลวงนําโดยพระยาสรรค
ขุนนางอยุธยาเกาเช้ือสายไทยแท ๆ ท่ีพระเจาตากสินทรงนํามาชุบเลี้ยง จนเจาพระยามหากษัตริยศึกตอง
ยกทพั กลบั จากเขมรมาปราบปรามและปราบดาภิเษกเปน ปฐมราชวงศจ ักรี หมดส้นิ ยคุ กรงุ ธนบุรี

พระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกฯ ข้นึ เสวยราชยเปน พระเจาแผนดินไทย ไดทรงทําพิธีตั้งเสาหลักเมืองตาม
ประเพณี เสาหลักเมอื งไดสรางเปนศาลเทพารกั ษเ รยี กกนั สามญั วา “ศาลเจา พอ หลักเมือง” และรับส่ังใหยาย
เมืองหลวงมาอยูก รุงเทพฯ ซ่ึงเปนสวนหนึ่งของกรุงธนบุรี อยูฟากตะวันออก เรียกเมืองบางกอก ซ่ึงมีคนจีน
อาศัยอยูมาก เม่ือยายมาอยูฝงตะวันออกแลว ไดทรงสรางเปนเมืองหลวงขึ้น เรียกวา กรุงเทพมหานคร
บวรรตั นโกสินทร ตอมาในรัชกาลท่ี 4 จงึ ทรงเปลี่ยนเปน กรุงเทพพระมหานคร อมรรตั นโกสินทร

เหตุท่ียายกรงุ เพราะทรงเลง็ เห็นวา
1. กรงุ ธนบรุ คี บั แคบ อยรู ะหวางวัดเปน การยากทจ่ี ะขยาย
2. อยูฝง คดของแมน้ําทาํ ใหนํา้ เซาะตลิ่งพงั อยเู รื่อย
3. การทมี่ าตั้งทีก่ รงุ เทพฯ นัน้ ที่ต้ังเหมาะสมกวา อาศัยแมน้าํ เปน กําแพงเมือง และตัวเมือง
อาจขยายได
สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงเปนผูสามารถ ทรงแกปญหาตาง ๆ คือ

เมื่อเสวยราชยข้ึนครองกต็ อ งรบี สรา งเมอื ง สรางพระนครอยู 3 ป จงึ สาํ เร็จ พ.ศ. 2325 พอสมโภชพระนครแลว
ในปนัน้ เองพมา ก็ยกกองทพั ใหญม าประชิด

การต้ังกรุงรตั นโกสนิ ทรเ ปน ราชธานี

สมัยกรุงรัตนโกสินทร คือ ระยะเวลาตั้งแตแรกต้ังกรุงเทพมหานคร เม่ือ พ.ศ. 2325 เปนตนมา
เหตทุ เี่ รียกวา สมัยกรุงรัตนโกสินทร ก็เพราะเรียกตามความนิยมท่ีสืบเนื่องมาแตโบราณที่นิยมเรียกช่ือตาม
เมอื งหลวง เชน สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา เหตุการณสมัยปลายกรุงธนบุรี ในปลายรัชสมัยพระเจากรุงธนบุรี
บานเมืองเกิดจลาจล เน่ืองจากพระเจากรุงธนบุรีทรงมีพระสติวิปลาส สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีมีพระราช
โองการใหพ ระยาสรรคไปปราบกบฏแตพระยาสรรคกบั เขารวมกบั พวกกบฏ นําพรรคพวกควบคุมตัวพระเจา-
กรงุ ธนบุรีไว ความทราบถงึ สมเด็จเจา พระยามหากษัตริยศึกจึงรีบยกทัพใกลมากรุงธนบุรีเพ่ือปราบกบฏและ
สามารถจับผเู ปนกบฏมาลงโทษได ขาราชการท้ังหลายลงความเห็นวา สมควรสําเร็จโทษพระเจากรุงธนบุรี
และไดทูลเชิญสมเดจ็ เจา พระยามหากษตั ริยศ กึ ปกครองประเทศตอ ไป

พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกฯ ทรงรับการกราบบังคมทูลเชิญจากประชาชนข้ึนเปน
พระมหากษัตริยจ ากประชาชน โดยทรงทาํ พิธปี ราบดาภเิ ษกข้ึนเปนปฐมบรมกษตั รยิ แหงราชวงศจ กั รี เมือ่ วนั ท่ี
6 เมษายน พ.ศ. 2325 และทรงสถาปนาเมืองหลวงใหม มีนามวา “กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร

40

มหินทรายุธยามหาดิลก ภพนพรัตนราชธานีบุรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตาลสถิต
สักกะทัตติยวษิ นุกรรมประสทิ ธ์”ิ ใชเ วลาในการสรา ง 7 ป พระองคท รงมีพระราชปณิธานวา “ตง้ั ใจอุปถมั ภก
ยอยกพระศาสนาจะปกปองขอบขัณฑสีมา รกั ษาประชาชนและมนตร”ี

สมัยรชั กาลที่ 1 ไทยทาํ สงครามกับพมาถึง 7 ครง้ั ครั้งทีส่ ําคัญทีส่ ุด คือ สงคราม 9 ทัพ โดยพระเจาปดุง
กษัตริยพมารวมพลจํานวนถึง 144,000 คน จดั เปน 9 ทัพเขาตไี ทยโดยแบงเปนตีกรุงเทพ 5 ทัพ หัวเมืองฝาย
เหนือ 2 ทัพ และฝายใต 2 ทัพ ไทยมีกําลังเพียงครึ่งหน่ึงของพมา แตดวยพระปรีชาสามารถของ
พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลกมหาราชและกรมพระราชวังบวรสถานมงคล จงึ ทาํ ใหฝ ายพมาพายแพ
กลับไป

ดานการปกครอง มีการปกครองตามแบบกรุงศรีอยุธยาและธนบุรี คือ ยึดแบบที่สมเด็จ
พระบรมไตรโลกนาถทรงวางไว แตว างระเบยี บใหรัดกุมมากข้ึน โดยมีพระมหากษัตริยเปนพระประมุขสูงสุด
ในระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย

ดานเศรษฐกิจ จังกอบ คือ การชักสวนจากสินคา หรือเก็บเงินเปนอัตราตามขนาดของ
ยานพาหนะทีข่ นสนิ คา อากร คือ การเกบ็ ชกั สวนจากผลประโยชนท่รี าษฎรทําได เชน การทาํ นา ทําสวน สวย
คอื สิง่ ที่ราษฎรเสยี ใหแกร ฐั แทนการใชแ รงงาน ฤชา คอื คา ธรรมเนียมทีเ่ รยี กเกบ็ จากบริการตาง ๆ ที่รัฐทําให
ราษฎร

1. เงินคา ผูกปขอมอื จนี เปน เงินคาธรรมเนียมที่เรียกเก็บจากชายชาวจีน เพ่ือทดแทนการ
ถกู เกณฑแรงงาน ซ่ึงเร่มิ ในสมัยรัชกาลที่ 2

2. เงินคาราชการ เปน เงินท่ไี พรจายแทนการเขาเวรราชการ เริ่มในสมัยรัชกาลท่ี 3 อัตรา
คนละ 18 บาทตอ ป

3. การเดินสวนเดินนา เริ่มมีขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี 2 โดยเรียกเก็บเปน ขาวเปลือก เรียกวา
หางขา ว

4. ระบบเจา ภาษนี ายอากร เอกชนเปน ผปู ระมลู เพือ่ เปน ผจู ดั เกบ็ ภาษี
ดานสังคม สังคมในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังคงมีลักษณะคลายสังคมสมัยอยุธยา
ตอนปลาย แตมีความสบายมากกวา เพราะไมคอยมีสงคราม เปนสงั คมเกษตรกรรม ครอบครวั มขี นาดใหญ
ยึดระบบอาวุโส มีการแบงฐานะของบุคคลออกเปนพระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ ขุนนาง ไพร
(ประชาชนธรรมดา) ทาส สําหรบั พระสงฆเปน ช้นั พิเศษที่ไดรับการเคารพนับถอื จากประชาชน

การปฏิรปู ราชการในสมยั รัชกาลท่ี 4

1. เปด โอกาสใหร าษฎรรอ งทกุ ข ถวายฎกี าไดอ ยา งสะดวก ดว ยการตกี ลองวนิ ิจฉยั เภรี
2. ปรับปรุงดานการกฎหมายและการศาล ตั้งโรงพิมพ อักษรพิมพการ เพอื่ พิมพประกาศและ

แถลงขาว
3. ขนุ นางขา ราชการสวมเสอื้ เวลาเขาเฝา

41

4. ทรงจางแหมมแอนนา มาเปนครูสอนภาษาอังกฤษใหแกพระราชโอรสและพระราชธิดาใน
พระบรมมหาราชวงั

5. ทรงทาํ นบุ ํารงุ พระศาสนา ทรงใหเ สรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา
เหตุการณเกี่ยวกับตางประเทศในสมัยรัชกาลท่ี 4 มีเพื่อนบานของไทย เชน พมา มลายู ตกเปน
เมืองขึ้นของอังกฤษ ในป พ.ศ. 2398 สมเด็จพระนางเจาวิคตอเรียแหงอังกฤษ ทรงสงทูตช่ือ เซอร จอหน
เบาวรงิ มาขอทาํ สัญญากับไทย ชือ่ สัญญาเบาวรงิ สัญญาน้ีมีท้ังขอดีและก็ขอเสีย หลังจากท่ีไทยทําสัญญานี้
ไปแลว ก็มีหลายชาติมาทําสญั ญาน้กี ันอกี เซอรจอหน เบาวรงิ ไดบ รรดาศักดิเ์ ปน “พระยาสยามนุกูล สยามิศร
มหายศ” พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวไดเปลี่ยนชื่อกรุงเทพ จากคําวา บวร เปน อมร ท่ีแปลวา
เทวดา และมกี ารตดั ถนนเจริญกรงุ ซึ่งเปน ถนนสายแรกของไทย

การปฏริ ปู ในสมยั รัชกาลที่ 5

1. การเลิกทาส แบบคอยเปนคอยไป โดยโปรดใหเลิกการซื้อขายทาส ลดคาตัวทาส ลูกทาส ในป
พ.ศ. 2411 ทรงใชเ วลา 31 ป แผนดินไทยจงึ หมดทาส

2. ดา นการศึกษา ไดมีการตัง้ โรงเรียนมหาดเลก็ หลวงและโรงเรยี นวัดมหรรณพาราม

การปรับปรงุ ประเพณตี า ง ๆ

- ยกเลกิ พิธกี ารหมอบคลานเวลาเขา เฝา
- ยกเลกิ ทรงผมมหาดไทย
- จดั การไฟฟา
- จัดการประปา
ท่ีสาํ คัญ คอื ทรงตองการดูแลทุกขสขุ ของราษฎรอยางแทจริง โดยเสด็จประพาสตนจึงไดเสด็จเยือน
ราษฎรตามหวั เมอื งตา ง ๆ อยเู สมอ โปรดใหเ ลิกทาส ทําใหพระองคไดรับการถวายพระนามวา “สมเด็จพระปย-
มหาราช” เพราะทรงเปนที่รักของประชาชนทุกคน ทรงครองราชยนาน 42 ป วันท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453
เปน วันสวรรคต มีการนําพวงมาลาไปถวายสักการบูชา ณ พระบรมรปู ทรงมาทุกป เรยี กวา วันปยมหาราช
พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา เจา อยูหัว หรือพระมหาธีรราชเจา ทรงเปน พระราชโอรสของรชั กาลท่ี 5
พระราชกรณียกจิ ของพระองคในการปฏิรูปงานดานตาง ๆ คอื

1. การปกครอง ทรงสาํ เรจ็ การศึกษาจากประเทศองั กฤษ จงึ ทรงนาํ การปกครองแบบ
ประชาธิปไตยมาทดลองแกขาราชการดวยการต้ังเมืองประชาธิปไตย คือ “ดุสิตธานี” (อยูในบริเวณ
โรงพยาบาลพระมงกุฎ) มีการเลือกต้ัง การแสดงความคิดเห็น แตยังไมไดผล เพราะราษฎรไดรับการศึกษา
ยังไมเพียงพอ มกี ารออกหนงั สอื พมิ พ “ดสุ ติ สมิต” ใหประชาชนแสดงความคดิ เหน็

2. ความสมั พันธกบั ตางประเทศ สงครามโลกครัง้ ที่ 1 เกิดขนึ้ ในป พ.ศ. 2457 – 2461 ในยุโรป
พระองคตัดสินพระทัยเขากับฝา ยสัมพันธมิตร เยอรมนเี ปนฝายรุกรานและแพ ทําใหไทยมีฐานะเทาเทียมกับ
ฝายสัมพันธมิตร ทาํ ใหส ามารถแกไ ขสนธสิ ัญญาเบาวริง ทีท่ ําในสมยั รชั กาลท่ี 4

42

รัชกาลท่ี 6 ทรงไดรับความรวมมือชวยเหลือจาก ดร.ฟรานซิส บี แซร ไดชวยเจรจาเก่ียวกับ
สนธิสัญญาเบาวริงกับประเทศตาง ๆ ประเทศแรกที่ยอมแกไข คือ โปรตุเกส จนครบทุกประเทศ ตอมา
ดร. ฟรานซิส บแี ซร ไดร ับพระราชทานบรรดาศกั ดิ์เปน พระยากัลยาณไมตรี เหตุการณกอนการเปล่ียนแปลง
การปกครอง เม่ือพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวเสด็จข้ึนครองราชย พระองคจัดใหมีการกระทํา
ท่ีเกีย่ วกบั ประชาธปิ ไตย ไดแก

1. ทรงตง้ั สภาตาง ๆ ใหม สี ว นในการปกครองแผน ดิน
2. โปรดเกลา ฯ ใหรา งรฐั ธรรมนูญ แตไ มไดรับความเห็นจากสภาที่ปรึกษาราชการแผน ดนิ
3. ทรงเตรยี มการและฝก ทดลองใหป ระชาชน รจู กั ใชสทิ ธใิ นการปกครองทอ งถ่นิ
4. คณะราษฎร ประกอบดว ย บรรดาผูท ่ีไปศกึ ษาจากตางประเทศเปน นักเรยี นไทยทจ่ี บจากเมอื งนอกมา
ทาํ งานในประเทศไทย พวกน้ีไดรับพระราชทานทุนไปศึกษาท่ีตางประเทศ รวมผูท่ีเปนขาราชการท่ีถูกปลด
จากงานและจากทหาร มีหวั หนา คอื พลเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ตอมาไดเ ลื่อนเปนพลตรี ไดพาคณะราษฎร
เขา เฝารชั กาลที่ 7 ซงึ่ ขณะนัน้ ประทับอยูทหี่ วั หนิ เมือ่ พระองคไดขาวการเปล่ียนแปลงการปกครองก็โปรดให
คณะราษฎรเขาเฝาพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เม่ือวันที่ 24 มิถุนายน 2475 พระองคไดตรัสวา
เตรียมจะพระราชทานรัฐธรรมนูญอยูแลว ไมตองการใหเสียเลือดเน้ือ มีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว เม่ือวันท่ี
27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และไดมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวร เม่ือวันที่ 10 ธันวาคม 2475 และวันน้ี
เปน วันรัฐธรรมนูญ โดยมีนายกรัฐมนตรีคนแรก คือ พระยามโนปกรณนิติธาดา (กอน หุตะสิงห) ตอมาไดมี
นายกรฐั มนตรคี นท่ี 2 คือ พลเอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ไมค อ ยไดผ ล
สมบูรณ เพราะอํานาจไปอยูในคนบางกลุมเทานั้น ทําใหพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดสละ
ราชสมบัติ เม่ือวันที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2477 และไดเสด็จไปท่ีประเทศอังกฤษ พระองคไดเสด็จสวรรคตที่
ประเทศอังกฤษ อนสุ าวรียข องพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู ัวอยูที่หนา รฐั สภาใกลกบั สวนดุสติ นับเปน
พระบิดาแหงประชาธิปไตยของไทย

ราชวงศจักรี

ชอื่ ของราชวงศจักรมี ที ่มี าจากบรรดาศกั ดิ์ “เจาพระยาจักรศี รีองครกั ษ” ตําแหนง สมุหนายก ซ่ึงเปน
ตาํ แหนงทางราชการท่พี ระองคเ คยทรงดํารงตําแหนงมากอนในสมัยกรุงธนบุรี คําวา “จักรี” นี้พองเสียงกับ
คําวา “จักร” และ “ตร”ี ซงึ่ เปนเทพอาวุธของพระนารายณ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จุฬาโลกมหาราช
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลาฯ ใหสรา งพระแสงจักรและพระแสงตรีไว 1 สํารบั และกําหนดใหใชเปนสญั ลักษณ
ประจาํ ราชวงศจักรีสืบมาจนถึงปจจุบัน

43

พระปฐมบรมมหาชนกแหงราชวงศจ ักรี

พระมหากษัตรยิ ไ ทย

ราชวงศจักรี : Chakri (พ.ศ. 2325 – ปจจุบัน)

* ราชวงศจกั รี *

พระปรมาภิไธย ขึ้นครองราชย ส้นิ สุดการครองราชย หมายเหตุ

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร 6 เมษายน 7 กันยายน

มหาจกั รบี รมนาถฯ พระพุทธยอดฟาจฬุ า พ.ศ. 2325 พ.ศ. 2352

โลกมหาราช

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร 7 กันยายน 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367

มหาอศิ รสนุ ทรฯ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย พ.ศ. 2352

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 21 กรกฎาคม 2 เมษายน

มหาเจษฎาบดนิ ทรฯ พระน่ังเกลา พ.ศ. 2367 พ.ศ. 2394

เจาอยหู ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร 2 เมษายน 1 ตลุ าคม

มหามงกุฎฯ พระจอมเกลาเจาอยูหัว พ.ศ. 2394 พ.ศ. 2411

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 1 ตลุ าคม 23 ตลุ าคม

มหาจุฬาลงกรณฯ พระจุลจอมเกลา พ.ศ. 2411 พ.ศ. 2453

เจา อยหู วั มหาราช

พระบาทสมเดจ็ พระรามาธิบดี 23 ตุลาคม 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ.

ศรสี นิ ทรมหาวชริ าวุธฯ พระมงกุฎเกลา พ.ศ. 2453 2468

เจา อยหู ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทร 26 พฤศจกิ ายน 2 มีนาคม

มหาประชาธปิ กฯ พระปกเกลา เจา อยหู วั พ.ศ. 2468 พ.ศ. 2477

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทร 2 มนี าคม 9 มิถุนายน

มหาอานนั ทมหดิ ลฯ พ.ศ.2477 พ.ศ. 2489

พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทร 9 มถิ นุ ายน 13 ตลุ าคม

มหาภมู พิ ลอดุลยเดช มหิตลาธเิ บศร พ.ศ. 2489 พ.ศ.2559

รามาธบิ ดี จกั รีนฤบดนิ ทร

สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพติ ร

สมเดจ็ พระเจา อยหู วั มหาวชริ าลงกรณ 1 ธันวาคม ปจ จุบัน

บดินทรเทพยวรางกรู พ.ศ. 2559

44

กจิ กรรมที่ 5

1) สมยั รัชกาลใดของราชวงศจ ักรที ่มี คี วามเจรญิ สูงสดุ ดา นศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม
2) สมยั รัชกาลท่ี 5 การปฏริ ูปการปกครองท่ีมีความสําคัญตอคนไทย คอื เรือ่ งใด
3) ประวัติศาสตรไทย ท่ที าํ ใหไทยตอ งเสยี เอกราชไปถึงสามครง้ั มสี าเหตมุ าจากเรอื่ งใด

เร่อื งที่ 3 ประวตั แิ ละผลงานของบรรพบุรษุ ไทยท่ีมีสวนปกปอ ง
และสรางความเจรญิ ใหแ กชาติบา นเมอื ง

สมยั สุโขทัย

พอขุนรามคําแหงมหาราช

พอ ขุนรามคําแหงไดรับการยกยองวาเปนท้ังนักรบ นักปราชญ ทําใหชาติไทยมีตัวอักษรของตนเอง
ทรงประดษิ ฐห นังสือทเี่ รียกวา “ลายสือไทย” ข้ึน ทรงทํานุบํารงุ บา นเมืองใหเจริญกาวหนาท่ีสุดในทุก ๆ ดาน
และทําใหอ าณาจักรสุโขทัยมอี าณาเขตกวางขวางทสี่ ุดในสมัยพระองค

พระบรมราชานสุ าวรียพ อขนุ รามคาํ แหงมหาราช จงั หวดั สุโขทัย

พระราชประวัติ

พอขุนรามคําแหงมหาราช เปนพระราชโอรสองคที่ 3 ของพอขุนศรีอินทราทิตย (ปฐมกษัตริยแหง
กรุงสุโขทยั ) กับนางเสือง แหงกรุงสุโขทัย มีพระโอรส พระราชธิดา รวมบิดา มารดา 3 พระองค พระองคใหญ
สน้ิ พระชนมต ั้งแตยังเยาว พระองคก ลางทรงพระนามตามศิลาจารึกวา “ขุนบาลเมือง” องคเล็กทรงพระนามวา


Click to View FlipBook Version