The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ.2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by primlak_kon, 2020-06-22 05:05:22

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ.2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

แผนปฏิบัติราชการรายปี (พ.ศ.2563) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

Keywords: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช

แผนปฏบิ ตั ิราชการรายปี (พ.ศ. 2563)

มหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

“ประทปี ถิ่น ประเทอื งไทย ก้าวไกลส่สู ากล”

สารบัญ หน้า

แผนปฏิบตั ริ าชการรายปี พ.ศ. 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช

สว่ นท่ี 1 บทสรปุ ผู้บริหาร 1
สว่ นท่ี 2 ความสอดคล้องกับแผน 3 ระดับ ตามนยั ยะของมตคิ ณะรัฐมนตรี 4
เม่ือวนั ที่ 4 ธนั วาคม 2560
4
2.1 ยุทธศาสตร์ชาติ (แผนระดับท่ี 1) 4
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม

2.2 แผนระดับท่ี 2 (เฉพาะที่เก่ยี วขอ้ ง) 6
2.2.1 แผนแมบ่ ทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ 7
ประเดน็ ท่ี 12 การพฒั นาการเรยี นรู้ 8
ประเด็นที่ 15 พลงั ทางสังคม 9
ประเด็นที่ 17 ความเสมอภาคและหลกั ประกนั ทางสังคม
ประเด็นที่ 23 การวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม 10
2.2.2 แผนการปฏิรูปประเทศ 11
ดา้ นการบรหิ ารราชการแผน่ ดิน 11
ดา้ นสังคม
ด้านการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบ 14
2.2.3 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 15
ยทุ ธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนษุ ย์ 15
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 10 การพัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหล่อี มล้าในสงั คม 16
2.2.4 นโยบายและแผนระดับชาตวิ ่าด้วยความม่ันคงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 – 2564) 17
นโยบายความมัน่ คงแห่งชาติที่ 9 เสรมิ สร้างความม่ันคงของชาติจากภัยการทุจรติ
นโยบายความมั่นคงแห่งชาตทิ ่ี 1 เสริมสร้างความมนั่ คงของสถาบันหลักของชาติและ 19
19
การปกครองระบบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ 19
ส่วนที่ 3 สาระสาคัญแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรธี รรมราช 20
23
3.1 ภาพรวม 25
3.1.1 วสิ ัยทัศนข์ องสว่ นราชการ 27
3.1.2 พนั ธกิจของส่วนราชการ
29
3.2 แผนปฏิบตั ริ าชการ
3.2.1 แผนปฏิบตั ิราชการ เรื่อง 1 การพัฒนาท้องถ่ิน
3.2.2 แผนปฏบิ ตั ิราชการ เรอ่ื ง 2 การผลติ และพัฒนาครู
3.2.3 แผนปฏบิ ตั ิราชการ เร่ือง 3 ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
3.2.4 แผนปฏบิ ัตริ าชการ เรอ่ื ง 4 การพฒั นาระบบบริหารจัดการ

3.3 ประมาณการวงเงินงบประมาณ พ.ศ. 2563
3.3.1 ประมาณการรายไดข้ องส่วนราชการ (กรณสี ่วนราชการมีรายได้)

สารบัญ หนา้
31
3.3.2 ประมาณการวงเงินงบประมาณทังหมด
ภาคผนวก 34
35
ภาคผนวก 1 ประวตั มิ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช 43
ภาคผนวก 2 สถานการณป์ ัจจุบนั 47
ภาคผนวก 3 การแปลงแผนปฏิบตั ริ าชการสู่การปฏบิ ตั ิ 50
ภาคผนวก 4 การกา้ กบั ติดตาม และประเมินผล
ภาคผนวก 5 การทบทวน และการปรับแผน

1

สว่ นที่ 1

บทสรุปผูบ้ ริหาร

มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 4 ธันวาคม 2560 กาหนดให้แผนในประเทศไทยมี 3 ระดับ ได้แก่
ระดบั ท่ี 1 : แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ประกอบดว้ ย 6 ยทุ ธศาสตร์ มี 35 ประเด็น เป็นเป้าหมายระยะยาวใน
การพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ระดับท่ี 2 : ประกอบด้วย 4 แผน ได้แก่ 1) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
จานวน 23 ฉบับ แบ่งออกเป็น 85 แผนย่อย เพื่อให้การดาเนินการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ไม่เกิดการทางาน
ซาซ้อนนาไปจัดทาแผนปฏบิ ตั ิได้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึน 2) แผนปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน + 2 ด้าน (แผนปฏิรูป
ประเทศดา้ นการศึกษาและแผนปฏิรูปประเทศ ด้านตารวจ) 3) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี
12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 4) แผนความมั่นคง ระดับที่ 3 : Action plan หรือแผนปฏิบัติ แบ่งออกได้
2 ประเภท ได้แก่ 1) แผนปฏบิ ัติการ ใช้สาหรบั ประเด็นใหญ่มีหน่วยงานเกี่ยวข้องหลายหน่วย เช่น แผนปฏิบัติ
การวิจัย แห่งชาติ แผนปฏิบัติการเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ เป็นต้น 2) แผนปฏิบัติราชการของหน่วยงาน
ซ่ึงแบ่งออกไดเ้ ป็น ระยะ 5 ปี เบืองตน้ 3 ปี คือ ปี 2563 – 2565 และ แผนปฏบิ ตั ิราชการ ระยะ 1 ปี

รฐั ธรรมนญู แห่งราอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2560 หมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา 65 ให้รัฐ
จัดให้มียุทธศาสตร์ชาติ เป็นเป้าหมายในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน มาตรา 142 กาหนดให้ร่าง พ.ร.บ.
งบประมาณรายจ่ายประจาปี ต้องมีความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาต่าง ๆ และ
มาตรา 162 กาหนดให้คาแลลงนโยบายของรัฐบาลท่ีมีต่อรัฐสภา ต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติดังนัน
หน่วยงานของรัฐซ่ึงรวมลึงสลาบันอุดมศึกษา จึงมีหน้าท่ีในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติให้สาเร็จตาม
เป้าหมาย ด้วยการจัดทาแผน ระดับ 3 ใหต้ อบเป้าหมายของแผนในระดบั 2 และ 1

พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2562 มาตรา 4 (มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการนันโดยจัดทาเป็น
แผนห้าปีซ่ึงต้องสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สงั คมแห่งชาตนิ โยบายของคณะรัฐมนตรีทแ่ี ลลงตอ่ รฐั สภา และแผนอ่นื ทเี่ ก่ียวขอ้ ง)

พระราชบัญญตั ิการอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2562 มาตรา 5 (3) กาหนดให้การจัดการอุดมศึกษาต้อง
ตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ และ
แผนด้านการอุดมศึกษา และมาตรา 26 กาหนดให้สลาบันอุดมศึกษามีหน้าที่และอานาจในการจัดการศึกษา
การวิจัยและสร้างนวัตกรรม การบริการวิชาการแก่สังคม การทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม และอื่น ๆ
ตามกฎหมายกาหนด โดยต้องดาเนินการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บท แผนการปฏิรูปประเทศ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ แผนการศกึ ษาชาติ และแผนดา้ นการอดุ มศกึ ษา

กรอบแนวคิดการจัดทาแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช คอื

1. กรอบแนวทางตามมตคิ ณะรัฐมนตรเี มื่อวนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2560 กาหนดแผนในประเทศไทย
2. กรอบแนวทางตามท่ีสานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ (สศช.)
3. ยทุ ธศาสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภัฏเพือ่ การเพื่อการพัฒนาท้องลิ่น ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579)
4. นโยบายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2559 – 2562
5. ขอ้ มลู สารสนเทศของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช
6. รายงานผลการประเมินของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เช่น รายงานการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน รายงานการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงาน และเกณฑ์คุณภาพ
การศกึ ษาเพอ่ื การดาเนินการทีเ่ ป็นเลศิ

2

กระบวนการจัดทาแผนปฏิบตั ิราชการมหาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช ดงั นี

 วันที่ 17 – 20 มิลุนายน 2562 ระดมความคิดเห็นก่อเกิดผลึกแนวคิดท่ีเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนามหาวิทยาลัย เพื่อจัดทาแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 ระดับมหาวิทยาลัย และจัดทา
แผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 ระดับหน่วยงาน ด้วยการมีส่วนร่วมของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย
ประกอบด้วย ผู้บริหารของมหาวิทยาลัย คณะ สานัก สลาบัน ระดับคณะ สานัก สลาบัน และส่วนงานต่าง ๆ
และผ้ทู เ่ี กี่ยวข้อง ณ จังหวัดตรงั โดยได้มอบหมายใหร้ องอธิการบดี ผชู้ ว่ ยอธิการบดี กากับดูแลตามภาระหน้าท่ี
ตรวจสอบ และให้ขอ้ เสนอแนะ โดยกาหนดวสิ ัยทศั น์ ดังนี “มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เป็นสลาบัน
ทผี่ ลิตบัณฑิต ทีม่ อี ัตลกั ษณ์ มีคุณภาพ มีสมรรลนะและเป็นสลาบันหลักท่ีบูรณาการองค์ความรู้สู่นวัตกรรม ใน
การพฒั นาท้องลน่ิ เพ่ือสร้างความมน่ั คงให้กับประเทศ” ประกอบดว้ ย 4 ยทุ ธศาสตร์ 44 ตวั ชีวดั 9 เป้าประสงค์
16 กลยุทธ์ 34 โครงการ

 วันที่ 9 ตุลาคม 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และ
นวตั กรรม (ดร.สุวทิ ย์ เมษนิ ทรยี ์) ไดม้ อบหมายใหส้ ลาบันอดุ มศกึ ษาขบั เคล่ือนใน 3 ด้าน ได้แก่ การสร้างและ
พัฒนาคนให้เป็น Smart Citizen การสร้างและพัฒนาองค์ความรู้ Value Based Economy และการสร้าง
และพัฒนานวัตกรรม Innovation Nation เป็นการสะท้อนบทบาทของการอุดมศึกษา ว่ามีความสาคัญในวง
กว้างและมีทิศทางที่ชัดเจนต่อการวางรากฐานของประเทศให้มีความเข้มแข็ง ซึ่งนโยบายและแผนเป็นกลไก
ส า คั ญ ใ น ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ป็ น ปึ ก แ ผ่ น ใ ห้ ป ร ะ ช า ค ม อุ ด ม ศึ ก ษ า เ ดิ น ห น้ า ไ ป สู่ เ ป้ า ห ม า ย ไ ด้ พ ร้ อ ม กั น
การขับเคลื่อนมหาวิทยาลยั ให้สอดรับกับแผนในระดังสูงขึนไปและบรรลุจุดมุ่งหมายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ทังนี
การวางแผนที่ดีจะต้องมีการติดตาม ประเมิน และปรับปรุงแผนเป็นระยะเพื่อให้การดาเนินงานตามแผนนัน
ประสบความสาเร็จและกอ่ ใหเ้ กิดการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื จงึ กาหนดให้ทกุ มหาวิทยาลัยมีหน้าที่รายงานทุกโครงการ
ทังที่ใช้และไม่ใช้งบประมาณเข้าสู่ระบบ eMENSCR ซึ่งย่อมาจาก Electronic Monitoring and Evaluation
System of National Strategy and Country Reform เป็นระบบภายใต้ระเบียบว่าด้วยการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ.2562
พัฒนาโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ปัจจุบันควบคุมการใช้งานโดย
สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ (สศช.) มีวัตลุประสงค์ที่จะเป็นระบบฐานข้อมูลแห่งชาติ
ที่รวบรวมโครงการของหน่วยงานรัฐทังหมด และเปิดให้หน่วยงานรัฐด้วยกันสามารลเข้าลึงข้อมูลได้ เพื่อลด
ขันตอนการทางานระหวา่ งกนั และลดการใชก้ ระดาษ

 วันที่ 13 – 15 พฤศจิกายน 2562 ได้มีการทบทวนและจัดทาแผนปฏิบัติราชการ
ให้สอดคล้องกับกรอบตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2560 กาหนดแผนในประเทศไทยให้มี 3 ระดับ
และแนวทางที่สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ณ ห้องประชุมนิลพยัคฆ์
สานักงานอธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช คอื

o ทบทวนแผนปฏบิ ัตริ าชการรายปี พ.ศ. 2563
o จดั ทาแผนปฏิบตั ิราชการ ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565
o จัดทาแผนปฏิบัติราชการด้านต่าง ๆ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2563 - 2565 ตามเกณฑ์ประเมิน
และตัวบง่ ชีของระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของกลมุ่ ราชภฎั

 วันท่ี 12 ธันวาคม 2562 เสนอแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 แผนปฏิบัติราชการ
ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 และแผนปฏิบัติราชการด้านต่าง ๆ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 - 2565)
ตอ่ คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัย (กบ.) ในคราวการประชมุ ครงั ท่ี 13/2562 เพ่ือพิจารณาให้ขอ้ เสนอแนะ

 วันที่ 25 ธันวาคม 2562 เสนอแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 แผนปฏิบัติราชการ
ระยะ 3 ปี พ.ศ. 2563 – 2565 และแผนปฏิบัติราชการด้านต่าง ๆ ระยะที่ 1 พ.ศ. 2563 - 2565

3

ต่อคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยในคราวการประชุมครังท่ี 12/2562 เพื่อพิจารณาอนุมัติ และให้
ข้อเสนอแนะกรอบแนวทางการพัฒนาสู่การดาเนินการของมหาวิทยาลัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพ่ือสู่
การปฏิบัติตอ่ ไป

ในส่วนของการแปลงแผนปฏิบัติราชการรายปี พ.ศ. 2563 สู่การปฏิบัติ มหาวิทยาลัย
กาหนดให้หน่วยงานจัดทาแผนปฏิบัติราชการรายปีระดับหน่วยงาน ให้สอดรับกับแผนปฏิบัติราชการรายปี
ระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งจะต้องกาหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ผลผลิต ผลลัพธ์ ระยะเวลา งบประมาณ
และผู้รับผิดชอบในภารกิจหลัก ต้องสอดคล้องกับการดาเนินงานเร่ือง/ประเด็นต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัยแล้ว
นาเสนอตอ่ คณะกรรมการประจาคณะ สลาบัน สานกั เพื่อพจิ ารณาอนุมัติแล้วหน่วยงานนาแผนปฏิบัติราชการ
รายปี พ.ศ. 2563 ที่ได้รบั การอนุมัติดงั กลา่ วไปขับเคลือ่ นงานในพนั ธกิจตา่ ง ๆ ของหนว่ ยงานต่อไป

สาหรับการกากับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของโครงการ/กิจกรรม และ
ความสาเร็จขององค์กร มหาวิทยาลัยมีกลไกเพื่อควบคุมกากับการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ
และแผนการใช้จ่ายงบประมาณ และให้การปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง และประเมินผลการปฏิบัติงานของ
หน่วยงานตา่ ง ๆ ดงั นี

1. การประกันคุณภาพการศึกษาและสนับสนุนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล
งานมหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ได้แก่ การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในประจาปีของ
มหาวิทยาลัย และภายนอกมหาวิทยาลัย โดยมีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาและสนับสนุนการ
ตดิ ตาม ตรวจสอบ

2. ประเมินความก้าวหน้าและการวัดผลระดับความสาเร็จของโครงการ/กิจกรรม
โดยใหห้ น่วยงานรายงานผลการดาเนนิ งานเปน็ รายไตรมาส

3. ตดิ ตามผลการใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบตั ริ าชการรายปีระดับมหาวิทยาลัย
และระดับหน่วยงาน ผ่านระบบ MIS ของมหาวิทยาลยั

4. รายงานผลการดาเนินงานเป็นรายไตรมาสในระบบติดตามและประเมินผล
แห่งชาติ (eMENSCR) โดยทุกมหาวิทยาลัยมหี น้าท่รี ายงานทุกโครงการทงั ทีใ่ ชแ้ ละไม่ใชง้ บประมาณเขา้ สรู่ ะบบ

4

สว่ นท่ี 2

ความสอดคลอ้ งกบั แผน 3 ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรฐั มนตรี เมอื่ วนั ท่ี 4 ธันวาคม 2560

2.1 ยทุ ธศาสตร์ชาติ (แผนระดบั ท่ี 1)

1) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์
(1) เป้าหมาย
1. คนไทยเปน็ คนดี คนเกง่ มีคณุ ภาพ พรอ้ มสาหรบั วลิ ีชวี ิตในศตวรรษท่ี 21
2. สังคมไทยมสี ภาพแวดล้อมทเี่ อือและสนับสนุนต่อการพฒั นาคนตลอดชว่ งชีวติ
(2) ประเด็นยทุ ธศาสตร์
1. ปฏิรูปกระบวนการเรยี นรู้ท่ตี อบสนองต่อการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
2. การตระหนกั ลึงพหปุ ัญญาของมนุษย์ทห่ี ลากหลาย
(3) การบรรลเุ ปา้ หมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
1. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระดับการศึกษา รวมลึงจัดกิจกรรม

เสริมทักษะเพ่ือพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษที่ 21 มีการผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับเนือหาและวิธีการสอน
โดยใช้เทคโนโลยีสนับสนุนทฤษฎีการเรียนรู้แบบใหม่ในการพัฒนาเนือหาและทักษะแบบใหม่ เทคโนโลยีเพื่อ
การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21

2. พัฒนาระบบการเรียนรู้เชิงบูรณาการท่ีเน้นการลงมือปฏิบัติ มีการสะท้อน
ความคิด/ทบทวนไตร่ตรอง โดยเน้นการเรียนการสอนท่ีเสริมสร้างทักษะชีวิต และสามารลนามาใช้ต่อยอดใน
การประกอบอาชีพไดจ้ ริง

3. ปรับบทบาทจาก“ครูสอน” เป็น “โค้ช” หรือ “ผู้อานวยการการเรียนรู้” ทา
หน้าที่กระตุ้น สร้างแรงบันดาลใจ แนะนาวิธีเรียนรู้และวิธีจัดระเบียบการสร้างความรู้ ออกแบบกิจกรรมและ
สร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ให้ผู้เรียน และมีบทบาทเป็นนักวิจัยพัฒนากระบวนการเรียนรู้เพ่ือผลสัมฤทธิ์ของ
ผู้เรียน รวมทังปรับระบบการผลิตและพัฒนาครูตังแต่การดึงดูด คัดสรร ผู้มีความสามารลสูงให้เข้ามาเป็นครู
คุณภาพ การสนับสนุนสื่อการสอน และสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างกัน รวมลึง
การพัฒนาครูที่มีความเชี่ยวชาญด้านการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ และวัดผลงานจากการ
พฒั นาผู้เรียนโดยตรง

4. การสนับสนุนสื่อการสอนและสร้างเครือข่ายพัฒนาครูให้มีการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ระหวา่ งกัน รวมลงึ การพัฒนาครูที่มคี วามเชย่ี วชาญดา้ นการสอนมาเป็นผู้สร้างครูรุ่นใหม่อย่างเป็นระบบ
และวดั ผลงานจากการพฒั นาผูเ้ รยี นโดยตรง

5. พัฒนาระบบการเรยี นรใู้ นชุมชนให้เขา้ ลงึ ความรู้ได้ทกุ ท่ี ทกุ เวลา ปรับปรุงแหล่ง
เรียนรูใ้ นชุมชนให้เปน็ พืนที่เรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และมีชีวิต รวมลึงการเรียนรู้และทบทวนทักษะพืนฐาน ได้แก่
การอ่านออก-เขียนได้-คิดเลขเป็น โดยระดมทรัพยากรจากภาคเอกชนและภาคประชาสังคม การพัฒนา
ทัศนคติและแรงบันดาลใจท่ีอยากเรียนรู้ การสร้างนิสัยใฝ่เรียนรู้ และให้ผู้เรียนได้ตระหนักลึงส่ิงที่เกิดขึน
รอบตวั รวมทังนาความรู้ไปพฒั นาตอ่ ยอดหรอื ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิตได้

6. ล่ายทอดความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์ ประเพณี วัฒนธรรมของไทยและ
พัฒนาการของประเทศเพื่อนบ้านเพิ่มการรับรู้ของคนไทยด้านพหุวัฒนธรรม การเห็นคุณค่าและมีความอด
กลันต่อความแตกต่างทางความเช่ือความคิด วิลีชีวิต ผ่านความสามารลในการใช้ภาษาเพื่อนบ้าน การ

5

แลกเปลีย่ นเด็ก เยาวชน และนักเรียนการฝังตัวและการทางานระยะสันในประเทศเพ่ือนบ้านในภูมิภาคเอเชีย
อาคเนย์

7. การพัฒนาทักษะดิจิทัล ทักษะการคัดกรองความรู้ องค์ความรู้ การใช้
เทคโนโลยีผสมผสานกับคุณค่าของครูไปพร้อมกัน การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพท่ีประชาชนสามารล
เข้าลึงทรัพยากรและใช้ประโยชน์จากระบบการเรียนรู้และพัฒนาตนเองผ่านเทคโนโลยีการเรียนรู้สมัยใหม่ให้
เกดิ ประโยชน์สงู สุด

8. การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพสลาบันการศึกษาท่ีมีความเช่ียวชาญและมี
ความโดดเดน่ เฉพาะสาขาสู่ระดับนานาชาติ ในการให้บริการทางการศึกษา วิชาการ และการพัฒนาสมรรลนะ
แรงงาน ควบคู่กับการสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและการแลกเปลี่ยนนักเรียน นักศึกษา และ
บุคลากรทางการศึกษาเพ่ือสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการ เป็นศูนย์ฝึกอบรม และศูนย์ทดสอบสมรรลนะใน
ระดบั ภูมิภาค

9. สร้างเด็กและเยาวชนไทยมีการพัฒนาที่สมดุลมีทางเลือกในการใช้ศักยภาพพหุ
ปัญญาในการดารงชีวิต เกิดอาชีพบนฐานพหุปัญญาท่ีสังคมยอมรับและเห็นความสาคัญ รวมทังมีกลไกคัด
กรองและสง่ เสริมเด็กและเยาวชนที่มีความสามารลพิเศษจัดโรงเรียน ระบบเสริมประสบการณ์ การมีส่วนร่วม
ของภาคเอกชน ตลอดจนสร้างมาตรการจูงใจเพ่ือพัฒนาผู้มีความสามารลพิเศษผลักดันให้ประเทศไทยมี
บทบาทเด่นในประชาคมโลก ทังดา้ นกฬี าภาษาและวรรณกรรม สุนทรยี ศิลป์ ตลอดจนการวจิ ยั

2) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
(1) เป้าหมาย
1. สรา้ งความเป็นธรรม และลดความเหลอ่ื มลาในทกุ มติ ิ
2. เพ่ิมขีดความสามารลของชุมชนท้องลิ่นในการพัฒนา การพ่ึงตนเองและการ

จัดการ ตนเองเพ่ือสรา้ งสังคมคุณภาพ
(2) ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์
1. การลดความเหลื่อมลา สรา้ งความเปน็ ธรรมในทกุ มิติ
2. การเสรมิ สรา้ งพลังทางสังคม
3. การเพิ่มขีดความสามารลของชุมชนท้องล่ินในการพัฒนาการพ่ึงตนเองและการ

จัดการตนเอง

(3) การบรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ
1. สนับสนุนการรวมตัวและดึงพลังของภาคส่วนต่าง ๆ โดยเฉพาะการเช่ือมพลัง

ของคนสามวัย คือเยาวชนคนรุ่นใหม่คนวัยทางาน และผู้สูงอายุ ให้มาเป็นกาลังของการพัฒนาเพื่อส่วนรวม
เพื่อปรึกษาหารือปัญหาสาธารณะของพืนที่ ตังแต่ระดับชุมชน ท้องล่ิน อาเภอจนลึงระดับ จังหวัด และสร้าง
เครือขา่ ยในพืนท่ี รวมลงึ การสรา้ งชุมชนเสมือนบนเครือข่ายส่ือ ให้เป็นเครือข่ายเรียนรู้ร่วมกันทางสังคมที่ร่วม
ทาสิ่งท่สี รา้ งสรรค์ และการยกย่องใหค้ ุณคา่ กบั การทาประโยชน์ร่วมกันเพื่อสว่ นรวม

2. สนบั สนุนการรวมกลุม่ ของสมาชกิ ในชุมชนเพ่อื สร้างความเข้มแข็งของชุมชน ให้
ชมุ ชนไดบ้ รหิ ารจัดการและมสี ว่ นรว่ มในกิจการทส่ี ง่ ผลกระทบต่อชมุ ชนโดยตรง สะท้อนปัญหาความต้องการท่ี
แท้จริงของชุมชน โดยมีข้อมูลครัวเรือนเพื่อสนับสนุนการจัดทาแผนกลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาค และ
เชื่อมโยงกับการกาหนดการจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกันขับเคลื่อนกลไกความร่วมมือทุกภาคส่วนให้มี
เป้าหมายทิศทาง มีความสมดุล มีอิสระและมีอานาจในการตัดสินใจเพ่ือให้สามารลติดตามความก้าวหน้าใน
การยกระดับความเขม้ แข็งของชมุ ชนได้อย่างต่อเนื่อง

6

2.2 แผนระดบั ท่ี 2 (เฉพาะท่เี ก่ียวข้อง)

2.2.1 แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ
(1) ประเดน็ ท่ี 12 การพัฒนาการเรยี นรู้
(1.1) เป้าหมายระดับประเดน็ ของแผนแม่บทฯ

 เป้าหมายที่ 1. คนไทยมีการศึกษาท่ีมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
มีทักษะท่ีจาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารลในการแก้ปัญหา ปรับตัว สื่อสาร และทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้
อย่างมปี ระสิทธผิ ลเพม่ิ ขนึ มนี สิ ยั ใฝ่เรียนร้อู ย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ

 เป้าหมายท่ี 2. คนไทยได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพตามความ
ลนดั และความสามารลของพหุปัญญาดขี ึน

 การบรรลเุ ปา้ หมายตามแผนแมบ่ ทฯ
1. พฒั นาการเรยี นรู้ มุ่งเนน้ ผเู้ รยี นให้มที ักษะการเรียนรแู้ ละมีใจใฝ่

เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปลี่ยนบทบาทครู การเพิ่มประสิทธิภาพระบบ
บริหารจดั การศกึ ษา และการพฒั นาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวางพืนฐานระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้
ดจิ ทิ ลั แพลตฟอร์ม และการสรา้ งระบบการศึกษาเพ่อื เป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ

2. การพัฒนาและรักษากล่มุ ผมู้ ีความสามารลพิเศษของพหุปัญญา
แต่ละประเภท การสร้างสภาพแวดลอ้ มและระบบสนับสนุนประชากรไทยมีอาชีพบนฐานพหุปัญญา การสร้าง
เสริมศักยภาพผู้มีความสามารลพิเศษให้สามารลต่อยอดการประกอบอาชีพได้อย่างม่ันคงท่ีครอบคลุมทังการ
พัฒนาและสง่ เสรมิ พหุปัญญาผา่ นครอบครวั ระบบสลานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมทังส่ือ ตังแต่ระดับปฐมวัย
เพอื่ สรา้ งเดก็ และเยาวชนไทยมกี ารพัฒนาท่สี มดุล มที างเลอื กในการใชศ้ กั ยภาพพหปุ ญั ญาในการดารงชีวิต

(1.2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ท่ีตอบสนอง
ตอ่ การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21

 แนวทางการพัฒนา
1) การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอือต่อการพัฒนาทักษะ

สาหรับศตวรรษที่ 21
2) การเปลย่ี นโฉมบทบาท “คร”ู ให้เป็นครูยคุ ใหม่
3) การเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ

ทกุ ประเภท
4) การพฒั นาระบบการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ
5) สรา้ งระบบการศกึ ษาเพอื่ เปน็ เลศิ ทางวิชาการระดบั นานาชาติ

 เป้าหมายของแผนย่อย คนไทยได้รับการศึกษาท่ีมีคุณภาพตาม
มาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู้ และทักษะที่จาเป็นของโลกศตวรรษท่ี 21 สามารลเช้าลึงการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนอ่ื งตลอดชวี ิตดขี นึ

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ พัฒนาการ
เรียนรู้ท่ีเสริมสร้างทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 ทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษ ภาษาท่ี 3 และภาษาท้องลิ่น
ทักษะการเรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา มีการออกแบบระบบการเรียนรู้ใหม่ การเปล่ียนบทบาทครู
การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต การวางพืนฐานระบบ
รองรับการเรียนรโู้ ดยใชด้ ิจทิ ัลแพลตฟอรม์ การสร้างระบบการศกึ ษาเพือ่ เปน็ เลศิ ทางวชิ าการระดบั นานาชาติ

7

(1.3) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ี
หลากหลาย

 แนวทางการพัฒนา
2) สร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบ

สนับสนุนท่ีเหมาะสมสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษ โดยจัดให้มีโครงสร้างพืนฐานและระบบสนับสนุนเพ่ือ
ผ้มู คี วามสามารลพิเศษไดส้ ร้างความเข้มแข็งและต่อยอดได้ จัดให้มีกลไกการทางานในลักษณะการรวมตัวของ
กลุ่มผู้มีความสามารลพิเศษในหลากสาขาวิชา เพื่อรวมนักวิจัยและนักเทคโนโลยีชันแนวหน้าเพ่ือพัฒนาต่อ
ยอดงานวิจัยเพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ สร้างความร่วมมือและเชื่อมต่อสลาบันวิจัยชันนาท่ัวโลก เพ่ือ
สร้างความเข้มแข็งให้นกั วจิ ยั ความสามารลสูงของไทยให้มีศกั ยภาพสูงย่งิ ขึน

 เป้าหมายของแผนย่อย ประเทศไทยมีระบบข้อมูลเพื่อการส่งเสริม
การพัฒนาศักยภาพตามพหุปัญญา เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและการส่งต่อการพัฒนาให้เต็มตามศักยภาพ
เพม่ิ ขนึ

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ พัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพตามความลนัดและความสามารลของพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย อาทิ ภาษา ตรรกะ และ
คณิตศาสตร์ ด้านทัศนะและมิติดนตรี กีฬาและการเคลื่อนไหวของร่างกาย การจัดการตนเอง มนุษยสัมพันธ์
รวมลึงผู้มีความสามารลอันโดดเด่นด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายด้าน โดยมุ่งเน้นการพัฒนาและรักษากลุ่มผู้มี
ความสามารลพิเศษของพหุปัญญาแต่ละประเภท การสร้างภาพแวดล้อมและระบบสนับสนุนประชากรไทยมี
อาชพี บนฐานพหุปัญญา การสร้างเสริมศักยภาพผู้มีความสามารลพิเศษให้สามารลต่อยอดการประกอบอาชีพ
ได้อย่างม่ันคง เพ่ือบรรลุเป้าหมายสู่คนไทยที่มีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยุคใหม่
และอ่นื ๆ มสี มั มาชีพตามความลนัดของตนเอง

(2) ประเด็นที่ 15 พลงั ทางสังคม
(2.1) เปา้ หมายระดบั ประเดน็ ของแผนแมบ่ ทฯ
 เป้าหมาย คนไทยทุกช่วงวัยมีคุณภาพ ได้รับการพัฒนาอย่างสมดุล

ทังด้านร่างกาย สติปัญญา และคุณธรรมจริยธรรม เป็นผู้ท่ีมีความรู้และทักษะในศตวรรษท่ี 21 รักการเรียนรู้
อยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชีวติ

 การบรรลเุ ป้าหมายตามแผนแม่บทฯ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการ
พัฒนาสังคมเพ่ิมขนึ

(2.2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ การเสรมิ สรา้ งทนุ ทางสังคม
 แนวทางการพัฒนา
2) เพิ่มขีดความสามารถของชุมชนท้องถิ่นในการพัฒนา

การพง่ึ ตนเอง และการจัดการตนเอง สง่ เสรมิ ใหม้ ีระบบการสนับสนุนความเข้มแข็งและเพ่ิมขีดความสามารล
ของชุมชนท้องล่ินท่ีครอบคลุมทุกมิติตังแต่ เศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม และการขับเคล่ือน
นโยบายสาธารณะ ตังแต่ระดับชุมชน ตาบล อาเภอ จังหวัด ที่เนนการมีสวนรวมของทุกภาคส่วน เสริมสร้าง
ผู้นาการเปล่ียนแปลงสามวัยในท้องลิ่น ได้แก่ เยาวชน คนวัยทางาน และผู้สูงอายุ เพ่ือให้เกิดการสืบทอด
ทักษะภูมิปัญญาของกลุ่มคนท่ีจะเป็นแกนนาการพัฒนาในท้องลิ่นระดับตาบลและหมู่บ้าน ก่อให้เกิดการ
เปล่ียนแปลงท่ีมาจากทุกวัย และสนับสนุนการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนได้ด้วยตนเอง พัฒนาระบบ

8

ฐานข้อมูลพืนฐานเพ่ือใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาชุมชนท่ีมีกระบวนการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและบน
ฐานขอ้ มลู เชิงประจกั ษ์ โดยยึดยทุ ธศาสตร์ชาติและแผนระดบั ต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ งเปน็ กรอบการดาเนนิ งาน

 เป้าหมายของแผนยอ่ ย ภาคีการพัฒนามีบทบาทในการพัฒนาสังคม
มากขึนอยา่ งต่อเน่อื ง

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ ส่งเสริมให้มี
ระบบการสนับสนุนความเข้มแข็งและเพ่ิมขีดความสามารลของชุมชนท้องลิ่นท่ีครอบคลุมทุกมิติตังแต่
เศรษฐกิจ สงั คม ทรพั ยากรและสิง่ แวดล้อม และการขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะ

(3) ประเด็นที่ 17 ความเสมอภาคและหลกั ประกันทางสังคม
(2.1) เปา้ หมายระดบั ประเด็นของแผนแม่บทฯ

 เปา้ หมายท่ี 1 คนไทยทกุ คนไดร้ บั การคุ้มครองและมีหลักประกันทาง
สังคมเพิม่ ขึน

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนแม่บทฯ ปิดช่องว่างการคุ้มครองทาง
สังคมในประเทศไทย จะช่วยก่อให้เกดิ ความเสมอภาคในสังคม และนาไปสู่ความเหล่ือมลาที่ลดลงได้อย่างเป็น
ระบบและเปน็ ท่ยี อมรบั ในระดับสากล การสรา้ งหลักประกันทางสังคมท่ีครอบคลุมและเหมาะสมกับประชากร
ทกุ กลุ่ม

(2.2) แผนย่อยของแผนแม่บทฯ ด้านการคุ้มครองทางสังคมขันพืนฐานและ
หลกั ประกันทางเศรษฐกจิ สังคม และสุขภาพ

 แนวทางการพฒั นา
1. ขยายฐานความคุ้มครองทางสังคม โดยกาหนดระดับมาตรฐาน

ขันต่าของสวสั ดิการแตล่ ะประเภทแต่ละกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมและชัดเจน เพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนทุก
ช่วงวัยต้องเจอสภาวะความยากจนกรณีประสบเหตุการณ์ท่ีทาให้ต้องสูญเสียรายได้ เพ่ือเป็นหลักประกันใน
การดาเนินชีวิตทางสังคมได้ โดยการจัดระบบหรือมาตรการในรูปแบบต่าง ๆ ให้สามารลคุ้มครองสิทธิขัน
พืนฐานของประชาชนทุกคน บริการสังคม การประกันสังคม การช่วยเหลือทางสังคม การคุ้มครองอย่างเป็น
ทางการและไม่เป็นทางการ ซ่ึงครอบคลุมลึงการจัดโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม สาหรับผู้ด้อยโอกาสและ
คนยากจน ให้สามารลเข้าลึงบริการพืนฐานของภาครัฐได้อย่างมีคุณภาพ และการจัดการกับความเส่ียงทาง
สังคมทเี่ กดิ ขนึ จากวิกฤตทางเศรษฐกิจ สังคม และภัยพิบัติต่าง ๆ เพื่อปิดช่องว่างการคุ้มครองทางสังคมต่าง ๆ
ในประเทศไทย

 เป้าหมายของแผนย่อย คนไทยทุกคน โดยเฉพาะกลุ่มด้อยโอกาส
และกลุ่มเปราะบางได้รบั การคุ้มครองและมีหลักประกนั ทางสงั คมเพ่ิมขึน

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ ป้องกัน
ไม่ให้ประชาชนทุกช่วงวัยต้องเจอสภาวะความยากจนกรณีประสบเหตุการณ์ท่ีทาให้ต้องสูญเสียรายได้ เพ่ือ
เป็นหลักประกันในการดาเนินชีวิตทางสังคมได้ โดยการจัดระบบหรือมาตรการในรูปแบบต่าง ๆ ให้สามารล
คุ้มครองสิทธิขันพืนฐานของประชาชนทุกคน บริการสังคม การประกันสังคม การช่วยเหลือทางสังคม การ
ค้มุ ครองอย่างเปน็ ทางการและไม่เป็นทางการ ซง่ึ ครอบคลมุ ลึงการจัดโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคม

9

(4) ประเดน็ ที่ 23 การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม
(3.1) เปา้ หมายระดบั ประเดน็ ของแผนแม่บทฯ

 เป้าหมาย ความสามารลในการแข่งขันด้านโครงสร้างฐานทาง
เทคโนโลยี และดา้ น โครงสร้างพืนฐาน ทางวิทยาศาสตร์ของ ประเทศเพม่ิ สูงขึน

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนแมบ่ ทฯ ขับเคล่ือนการวิจัยและพัฒนา
นวัตกรรมของประเทศ ตามผลที่คาดว่าจะได้รับเพื่อสนับสนุนการดาเนินการตามยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านเศรษฐกิจ ด้านองคค์ วามรูพ้ นื ฐาน และดา้ นปัจจยั สนับสนุนดา้ นการวิจัยและพฒั นานวัตกรรม

(3.2) แผนยอ่ ยของแผนแมบ่ ทฯ การวิจัยและพัฒนานวตั กรรม ด้านสงั คม

 แนวทางการพฒั นา
1) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยการส่งเสริม

การวิจยั พฒั นา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ของประเทศตลอดทุกช่วงวัย
(ปฐมวัย วัยเด็ก วัยเรียน วัยแรงงาน วัยสูงอายุ) การตระหนักลึงพหุปัญญาของมนุษย์ท่ีหลากหลาย เพ่ือให้
ประชาชนไทยมีทักษะความรู้ และเป็นกาลังในการพัฒนาประเทศ โดยมีประเด็นการวิจัยท่ีสาคัญ อาทิ
โภชนาการและสุขภาวะในช่วงปฐมวัย การปลูกฝังความเป็นคนดี วินัย และจิตสาธารณะในวัยเรียน การ
พัฒนาทักษะและสมรรลนะที่จาเป็นในศตวรรษที่ ๒๑ ในวัยเรียนและวัยแรงงาน บุคลากรทางการศึกษา ครู
หลักสูตรและกระบวนการสอน การส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุ ระบบบริการสาธารณสุข และวิทยาศาสตร์
ทางการกฬี า

2) สร้างความเสมอภาคทางสังคม โดยการส่งเสริมการวิจัย พัฒนา
และประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการแก้ปัญหาความเหลื่อมลาในสังคม เพื่อลดความแตกต่างทางด้านรายได้
รายจ่าย การเข้าลงึ บริการขันพืนฐาน และเพิ่มความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม โดยมีประเด็นการวิจัยท่ี
สาคัญ อาทิ การจัดการที่ดินทากิน ระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
และกระจายอานาจ การเข้าลงึ บรกิ ารสาธารณะและกระบวนการยตุ ธิ รรม

3) ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยการ
ส่งเสริมการวิจัย พัฒนา และประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ เพ่ือให้มีความ
ทนั สมัย ตอบสนองความต้องการและใหบ้ ริการประชาชนไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็ว และโปร่งใส โดยมีประเด็นการ
วิจยั ทสี่ าคญั อาทิ รฐั บาลดจิ ิทัล ระบบขอ้ มูลขนาดใหญ่ภาครฐั กลไกการพฒั นาในเชงิ พนื ท่ี

 เป้าหมายของแผนย่อย คุณภาพชีวิต ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
และความเสมอภาคทางสงั คมไดร้ ับการยกระดบั เพม่ิ ขนึ จากผลการวิจยั และพัฒนานวตั กรรมเชิงสงั คม

 การบรรลุเป้าหมายตามแผนย่อยของแผนแม่บทฯ ส่งเสริมการ
วจิ ยั พฒั นา และประยกุ ต์ใช้นวตั กรรมในการแก้ปัญหาความเหลื่อมลาในสังคม เพื่อลดความแตกต่างทางด้าน
รายได้ รายจ่าย การเข้าลึงบริการขันพืนฐาน และเพิ่มความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม โดยมีประเด็น
การวิจัยท่ีสาคัญอาทกิ ารจัดการทีด่ นิ ทากนิ ระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ การเสริมสร้างความเข้มแข็งของ
ชมุ ชนและกระจายอานาจ การเข้าลึงบริการสาธารณะและกระบวนการยุตธิ รรม

10

2.2.2 แผนการปฏิรปู ประเทศ
(1) แผนการปฏริ ูปประเทศ ดา้ นการบริหารราชการแผ่นดิน
1) เร่ือง/ประเด็นการปฏิรูปท่ี 1 บริการภาครัฐ สะดวก รวดเร็ว และตอบ

โจทยช์ วี ิตประชาชน
 ขั้นตอนการดาเนินงาน กาหนดช่องทางการให้คาปรึกษาแก่

ประชาชน ทเี่ หมาะสมเพื่อให้ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อยา่ งทนั ทว่ งที
 กิจกรรม จัดเตรียมความพร้อมในการให้คาปรึกษาทังด้านทรัพยากร

ด้านการจดั บรกิ ารและดา้ นเทคโนโลยี

 เป้าหมายกิจกรรม ให้ประชาชนได้รับข้อมูลคาปรึกษาจากหน่วยงาน
ของรฐั ไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว ผา่ นช่องทางท่ีเหมาะสม

 ขั้นตอนการดาเนินงาน จัดให้มีการให้บริการแบบเบ็ดเสร็จผ่าน
ช่องทางดจิ ิทัล และศูนยบ์ รกิ ารรว่ ม

 กิจกรรม. สนับสนุนให้เกิดการใช้งาน เช่น การประชาสัมพันธ์ การ
สร้างแรงจูงใจ (Incentives) ให้ประชาชนขอรับบริการภาครัฐผ่านช่องทางออนไลน์มากขึน การสร้างความ
ม่ันคงปลอดภัยของการใหบ้ ริการใหป้ ระชาชนเพอ่ื ใหเ้ กิดความเช่ือมน่ั เปน็ ต้น

 เป้าหมายกิจกรรม ประชาชนมีความสะดวก รวดเร็วในการติดต่อ
รับบริการของแตล่ ะกระทรวง

2) เรือ่ ง/ประเดน็ การปฏิรูปที่ 2 ระบบข้อมูลภาครัฐมีมาตรฐาน ทันสมัย และ
เชือ่ มโยงกนั ก้าวสรู่ ฐั บาลดิจิทัล

 ขั้นตอนการดาเนินงาน 1.การพัฒนาหรือนาระบบดิจิทัลมาใช้
ปฏิบัตงิ าน และการบริหารราชการ

 กจิ กรรม
1. พัฒนา หรือนาระบบดิจิทัลเพ่ือรองรับทางานตามภารกิจเฉพาะของ

หน่วยงาน
2. พัฒนา หรือนาระบบดิจิทัลเพื่อรองรับงานพืนฐานของหน่วยงาน

เช่น งานสารบรรณ งานแผนและงบประมาณ งานพัสดุ งานบรหิ ารบุคคล เปน็ ตน้

 เป้าหมายกิจกรรม เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐสามารลดาเนินงานตาม
ภารกิจไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพโดยการนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชง้ าน

 ขั้นตอนการดาเนินงาน 2. การพัฒนาระบบดิจิทัล งานพืนฐานของรัฐ
แบบรวมศูนย์ รองรับการเชอื่ มโยงขอ้ มูล และการทางานรว่ มกันระหวา่ งหน่วยงาน

 กจิ กรรม 1. พัฒนาหรือจัดให้มีระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ
แบบรวมศูนย์และรองรับการเชือ่ มโยงหนงั สอื ราชการระหวา่ งหนว่ ยงาน

 เป้าหมายกิจกรรม หน่วยงานภาครัฐมีระบบดิจิทัลสนับสนุนงานสาร
บรรณ ซ่งึ เชื่อมโยงข้อมลู กับหนว่ ยงานอ่นื ได้

 กิจกรรม 2. พัฒนาระบบสารสนเทศการงบประมาณ (Smart e-
Budgeting) โดยบรู ณาการงาน ด้านงบประมาณร่วมกบั ระบบงานที่เกีย่ วข้อง

11

 เป้าหมายกจิ กรรม
1. ยกระดับกระบวนการงบประมาณของประเทศ
2. เพ่ิมประสิทธิภาพ โปร่งใส และสนับสนุนการจัดการ

งบประมาณไดอ้ ย่างคล่องตัว
 กิจกรรม 3. พฒั นาระบบบริหารการเงนิ การคลงั ภาครัฐอย่างสมบูรณ์

แบบ (New GFMIS) โดยเป็นฐานขอ้ มลู กลางแบบ Matrix และ Online Real Time
 เป้าหมายกิจกรรม ยกระดับการบริหารการเงินการคลังของประเทศ

ดว้ ยเทคโนโลยดี ิจทิ ัล
 กิจกรรม 4. พัฒนาระบบบริหารสินทรัพย์รวม สาหรับเงินสด

สินทรัพยห์ มนุ เวยี น สนิ ทรพั ยล์ าวร อสังหาริมทรัพย์ และหลักทรัพย์ โดยเชือ่ มโยงขอ้ มลู กับระบบงานทีเ่ ก่ียวข้อง
เช่น e-Budgeting, e-GP, GFMIS อยา่ งเต็มรูปแบบ

 เป้าหมายกิจกรรม ยกระดับการบริหารสินทรัพย์ของประเทศด้วย
เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั

 กิจกรรม 5. พัฒนาหรือจัดให้มีระบบบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล
ของรัฐ (Integrated HR Management System: iHRMS) ท่ีเป็นแบบรวมศูนย์ และเช่ือมโยงกับระบบต่างๆ ท่ี
เกีย่ วข้อง เชน่ ระบบจ่ายตรงเงนิ เดือนของกรมบัญชีกลาง เปน็ ตน้

 เปา้ หมายกจิ กรรม หนว่ ยงานภาครฐั สามารลใช้ระบบบริหารจัดการ
ทรพั ยากรบคุ คลแบบรวมศูนย์ ซึ่งเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบงานต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้อง ลดความซาซ้อนในการลงทุน
ของหน่วยงาน

(2) แผนการปฏิรปู ประเทศ ด้านสงั คม
1) เร่อื ง/ประเดน็ การปฏิรูปที่ 4 ระบบสรา้ งเสริมชุมชนเขม้ แข็ง

 ขั้นตอนการดาเนินงาน การปฏิรูประบบการสร้างเสริมชุมชน

เขม้ แขง็ เชิงประเดน็ และกลไก : ทรัพยากรและทนุ ชมุ ชน

 กิจกรรม สง่ เสริมเครือข่ายวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องลิ่น และนวัตกรรม
ชมุ ชน ใหเ้ ข้มแขง็ และเปน็ ระบบ

 เป้าหมายกิจกรรม มีกลไกสนับสนุนการสร้างและแลกเปลี่ยน

องค์ความรู้เพ่ือชมุ ชนโดยชมุ ชน
(3) แผนการปฏริ ูปประเทศ ด้านการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
1) เรอ่ื ง/ประเด็นการปฏิรูปที่ 2 ด้านการป้องปราม (1)

 ข้ันตอนการดาเนินงาน
1. ให้ส่วนราชการมีการ บริหารงานบุคคลที่เป็นไป ตามระบบคุณธรรม
(Merit System) ได้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่เปน็ “คนดี คนเกง่ คนกลา้ ยืนหยดั ในส่งิ ทีล่ กู ตอ้ ง”
2. ใหห้ ัวหน้าสว่ นราชการ หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ หรอื ผ้บู ังคับบัญชา มี
มาตรการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเป็น
ตัวอย่างในการบริหารงานด้วยความซ่ือตรงและรับผิดชอบ กรณีปล่อย ปละละเลยไม่ดาเนินการให้ลือเป็น
ความผิดวินยั หรือความผิดทางอาญา

12

3. เสริมสร้างหน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นกลไกอิสระและมีความ
เป็นมืออาชพี ในการเฝ้าระวงั การทุจรติ ในหน่วยงาน

4. ให้มกี ารลดการใชด้ ลุ ยพินิจของเจ้าพนักงานของรัฐในการใช้อานาจรัฐ
ทีไ่ ดร้ ับมอบ

5. ให้เจ้าพนักงานของรัฐบริการประชาชนตามหน้าที่ที่ได้รับโดยไม่
คานงึ ลงึ อามสิ สนิ จ้าง

 กิจกรรม 1. ให้ทุกส่วนราชการจัด กิจกรรมเพ่ือเชิญชวนให้
ขา้ ราชการน้อมนาปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน็ หลัก ในการครองตนจนเปน็ วลิ ีชวี ิต

 เป้าหมายกิจกรรม เพ่ือเชิญชวนให้ข้าราชการน้อมนาปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักในการครองตน จนเป็นวิลีชีวิตซึ่งจะช่วยให้ข้าราชการ ลดความโลภอันเป็น
ตน้ เหตขุ องการทจุ รติ

 กิจกรรม 4. การบริหารงานภาครัฐ ต้องมีการกาหนดคุณสมบัติ
ประจาตาแหน่ง (Job Specification)

 เป้าหมายกิจกรรม เพ่ือใช้ในการสรรหาและคัดเลือกบุคคลเข้าดารง
ตาแหนง่ รวมลึงกาหนดเส้นทางการรับราชการ (Career Path) การสืบทอดงาน (Succession Planning) ใน
การเข้าสู่ตาแหน่งผู้บริหารระดับสูงที่ชัดเจน เปิดเผย และตรวจสอบได้จากประชาชน โดยต้องมีการบันทึก
คุณสมบัติและเหตุผลในการสรรหาหรือการคัดเลือกที่เป็นรูปธรรมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ ความรู้
ความสามารล ประสบการณ์ ความประพฤติ และพฤติกรรมทางจริยธรรมในอดีต ทังนี หัวหน้าส่วนราชการ
และผู้บริหารต้องไม่เป็นผู้ท่ีเคยลูกลงโทษทางวินัยและจริยธรรม แม้ว่าได้รับการล้างมลทินก็ตาม และผ่าน
เกณฑ์ประเมิน “สัตบุรุษ” ตามที่ทางราชการกาหนด รวมลึงต้องไม่อยู่ในความผูกพันแห่งอาณัติ มอบหมาย
หรือความครอบงาใด ๆ และปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เพ่ือประโยชน์ส่วนรวมของปวงชนชาวไทย
โดยปราศจากการขดั กันแหง่ ผลประโยชน์

 กิจกรรม ปลุกจิตสานึกให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีคุณธรรมความซ่ือตรง
(Integrity) โดยเน้นความซอ่ื ตรงต่อหนา้ ที่ (ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต วิริยะอุตสาหะ ทางานให้สาเร็จตามเป้าหมายอย่างดี
ทีส่ ดุ ) และซอ่ื ตรงต่อประชาชน

 เป้าหมายกิจกรรม ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ีของรัฐน้อมนาปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ พอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุ้มกัน ด้วยเงื่อนไขความรู้ควบคู่คุณธรรมเพื่อลด
ความโลภมาประยุกต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิตจนเปน็ วลิ ชี ีวติ

 กิจกรรม หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจต้องรับผิดชอบให้มี
การบริหารจัดการหน่วยงานตามมาตรการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.
กาหนดอยา่ งเคร่งครดั และตอ่ เนื่อง

 เป้าหมายกิจกรรม บรู ณาการกับการพัฒนาและดารงความประพฤติ
ที่ดีของเจ้าหน้าท่ีของรัฐเข้าด้วยกัน อันได้แก่ การส่งเสริมคุณธรรม การเสริมสร้างจริยธรรม และการกวดขัน
วนิ ัย โดยให้มีการรายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาปตี ่อสาธารณะ เพ่อื ใหป้ ระชาชนได้รบั ทราบ

 กิจกรรม ให้ทุกหน่วยงานของรัฐนามาตรการควบคุมภายในที่
เหมาะสมสาหรับนติ ิบุคคลในการป้องกนั การให้สินบนเจ้าพนกั งานของรัฐ เจ้าพนักงานของรัฐต่างประเทศและ
เจา้ พนกั งานขององค์การระหว่างประเทศมาใช้

13

 เป้าหมายกิจกรรม ใช้เป็นมาตรฐานในการปฏิบัติภารกิจของ
หนว่ ยงานของรัฐ ดังนี

(1) การป้องกนั การรบั สินบนตอ้ งเป็นนโยบายสาคญั จากระดับบรหิ าร
สงู สุด

(2) การประเมินความเสยี่ งในการให้สนิ บนกับเจา้ หน้าที่
(3) มาตรการปอ้ งกนั เกย่ี วกบั กรณีมีความเส่ยี งสงู ทจี่ ะเปน็ การให้และ
เรียกรับสนิ บนต้องมรี ายละเอียดท่ชี ดั เจน
(4) ตอ้ งนามาตรการป้องกนั การใหส้ ินบนไปปรบั ใช้กบั ผู้ที่มีความ
เก่ยี วขอ้ งทางธรุ กิจกบั หนว่ ยงาน
(5) ตอ้ งมรี ะบบบัญชที ่ีดี
(6) ต้องมีแนวทางการบริหารทรัพยากรบุคคลท่ีสอดคล้องกับมาตรการ
ป้องกันการรับสินบน (เชน่ บุคคลทมี่ นี ิสยั ใชเ้ งนิ อยา่ งฟุ่มเฟือยหรือมีหนสี นิ มากไมค่ วรดารงตาแหนง่ ท่ีมีอานาจ
รฐั )
(7) ตอ้ งมีมาตรการสนบั สนุนใหม้ กี ารรายงานการกระทาผดิ หรือกรณีมี
เหตนุ ่าสงสัย
(8) ตอ้ งทบทวนตรวจสอบและประเมินผลมาตรการป้องกันการรบั
สินบนเปน็ ระยะ

 กิจกรรม ให้มีการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงาน
(Integrity and Transparency Assessment – ITA) ตามระเบียบที่ ป.ป.ช. กาหนดเป็นประจาทุกปี หากไม่
ผา่ นการประเมนิ ในเกณฑ์ ๘๐% หวั หนา้ สว่ นราชการอาจไดร้ ับการพิจารณาย้ายออกจากตาแหน่ง

 เป้าหมายกิจกรรม เพื่อเร่งรัด กากับ ติดตามให้หน่วยงานให้
ความสาคญั กับการประเมนิ ITA

 กิจกรรม ทุกหน่วยงานของรัฐต้องพัฒนาระบบการตรวจสอบภายใน
ของหน่วยงานให้มีประสิทธิผลอยู่เสมอ และลือว่าเป็นภารกิจที่สาคัญซ่ึงหัวหน้าส่วนราชการต้องกากับดูแล
ดว้ ยตนเอง

 เป้าหมายกิจกรรม พัฒนาระบบการตรวจสอบภายในของหน่วยงาน
ให้มีประสิทธผิ ลอยู่เสมอ และลือวา่ เปน็ ภารกจิ ทสี่ าคญั ซึ่งหวั หนา้ สว่ นราชการตอ้ งกากบั ดูแลด้วยตนเอง

 กิจกรรม การบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐต้องยึดหลัก
คุณธรรมภายใต้การควบคุมของคณะกรรมการหรืออนุกรรมการบริหารงานบุคคลของหน่วยงาน และต้องยึด
หลกั การกระจายอานาจการบริหาร

 เป้าหมายกิจกรรม บริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐต้องยึด
หลกั คุณธรรม

 กจิ กรรม หนว่ ยงานของรฐั ต้องจัดทาค่มู อื สาหรบั ประชาชน

 เป้าหมายกิจกรรม จัดทาคู่มือสาหรับประชาชน ประกอบด้วย
หลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขในการยื่นคาขอขันตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุญาต และรายการ
เอกสารหรือหลักฐานที่ผู้ขออนุญาตจะต้องยื่นมาพร้อมกับคาขอ รวมลึงการเผยแพร่ขันตอน ระยะเวลา และ
หลักฐานท่ีต้องใช้ในการดาเนินการผ่านสื่อสาธารณะของหน่วยงาน พร้อมกับจัดทาแผนผังขันตอนการ
ดาเนนิ การขนาดที่เห็นไดช้ ดั เจนภายในหนว่ ยงานที่ใหบ้ ริการประชาชน

14

 กจิ กรรม หน่วยงานของรฐั ทกุ หน่วยต้องปลุกจิตสานึกจิตบริการให้กับ
เจา้ พนักงานของรัฐ และเน้นยาใหต้ ระหนกั ว่า งานบริการประชาชนเปน็ หน้าที่

 เป้าหมายกิจกรรม ปลุกจิตสานึกจิตบริการให้กับเจ้าพนักงานของรัฐ
และเน้นยาให้ตระหนักว่า งานบริการประชาชนเป็นหน้าที่ซึ่งทาให้ต้องมีหน่วยงานของรัฐ จึงต้องให้การดูแล
ประชาชนเสมือนเป็นผู้บังคับบัญชาหรือญาติผู้ใหญ่อย่างเสมอภาคกันโดยไม่เลือกปฏิบัติ และไม่รับ
อามสิ สินจา้ งใด ๆ

 กิจกรรม ให้ทุกหน่วยงานของรัฐประกาศนโยบายไม่รับประโยชน์ใด
ๆ จากการปฏบิ ตั ิหน้าที่

 เป้าหมายกิจกรรม ประกาศนโยบายไม่รับประโยชน์ใด ๆ จากการ
ปฏิบัติหน้าท่ี โดยติดประกาศไว้ที่หน่วยงานของรัฐซ่ึงให้บริการประชาชน รวมลึงการไม่รับของขวัญจากการ
ปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการ

2.2.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12
1) วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มี

ระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดี มีจิตสาธารณะ และมีความสุข โดยมีสุขภาวะและสุขภาพท่ีดี ครอบครัวอบอุ่น
ตลอดจน เป็นคนเก่งทีม่ ที กั ษะความรคู้ วามสามารลและพฒั นาตนเองได้ต่อเนอื่ งตลอดชีวติ

2. เพื่อให้คนไทยมีความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคม ได้รับความเป็น
ธรรมในการเขา้ ลึง ทรัพยากรและบริการทางสังคมท่ีมีคุณภาพ ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมทัง
ชุมชนมี ความเข้มแขง็ พ่ึงพาตนเองได้

3. เพ่ือให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มีเสลียรภาพ และมีความย่ังยืน
สร้างความเข้มแข็งของ ฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานใหม่โดยการใช้นวัตกรรมที่เข้มข้นมากขึน
สรา้ งความเขม้ แข็งของ เศรษฐกจิ ฐานราก และสร้างความม่นั คงทางพลังงาน อาหาร และนา

4. เพื่อรักษาและฟ้ืนฟูทรัพยากรธรรมชาติและคุณภาพส่ิงแวดล้อมให้
สามารลสนับสนนุ การเติบโตทีเ่ ปน็ มติ รกบั ส่ิงแวดล้อมและการมีคุณภาพชีวติ ท่ีดีของประชาชน

5. เพือ่ ใหก้ ารบริหารราชการแผ่นดินมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ทันสมัย และ
มีการทางาน เชิงบูรณาการของภาคีการพัฒนา

6. เพ่ือให้มีการกระจายความเจริญไปสู่ภูมิภาคโดยการพัฒนาภาคและ
เมืองเพ่ือรองรบั การพฒั นายกระดบั ฐานการผลติ และบริการเดิมและขยายฐานการผลิตและบริการใหม่

2) เปา้ หมายรวม ทันสมัย โปร่งใส
1. คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยทส่ี มบูรณ์
2. ระบบเศรษฐกจิ มีความเขม้ แขง็ และแขง่ ขนั ได้
3. มีระบบบริหารจัดการภาครัฐท่ีมีประสิทธิภาพ

ตรวจสอบได้ กระจายอานาจและมสี ่วนรว่ มจากประชาชน

3) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสรา้ งและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
(3.1) เปา้ หมายระดบั ยุทธศาสตร์
1. คนไทยส่วนใหญ่มีทัศนคติและพฤติกรรมตามบรรทัดฐานที่ดีของ

สงั คมเพ่ิมขนึ

15

2. คนในสังคมไทยทกุ ชว่ งวัยมีทักษะ ความรู้ และความสามารลเพ่มิ ขึน
3. คนไทยได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพสูงตามมาตรฐานสากล และ
สามารลเรียนรูด้ ้วย ตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง
4. คนไทยมสี ุขภาวะทดี่ ีขนึ
5. สลาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งและมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ประเทศเพ่ิมขึน โดยเฉพาะสลาบันครอบครัว สลาบันการศึกษา สลาบันทางศาสนา ชุมชน สื่อมวลชน และ
ภาคเอกชน
(3.2) แนวทางการพัฒนา
1. ปรับเปล่ียนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย จิต
สาธารณะ และพฤติกรรม ทพี่ งึ ประสงค์
2. พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้ และความสามารลในการ
ดารงชีวติ อย่างมีคณุ ค่า
3. ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
4. ลดปัจจัยเส่ียงด้านสุขภาพและให้ทุกภาคส่วนคานึงลึงผลกระทบ
ต่อสขุ ภาพ
5. เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการระบบสขุ ภาพภาครัฐและปรับ
ระบบการเงินการคลงั ดา้ นสขุ ภาพ
6. พัฒนาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับ
สงั คมสูงวัย
7. ผลักดันให้สลาบันทางสังคมมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่าง
เขม้ แขง็

4) ยทุ ธศาสตร์ที่ 10 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม
(4.1) เปา้ หมายระดับยทุ ธศาสตร์
1. เพม่ิ ความเข้มแขง็ ดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยขี องประเทศ
2. เพิ่มความสามารลในการประยกุ ต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ

นวตั กรรมเพือ่ ยกระดบั ความสามารลการแข่งขนั ของภาคการผลติ และบริการ และคณุ ภาพชีวติ ของประชาชน
(4.2) แนวทางการพฒั นา
1. เร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาและผลักดันสู่การใช้

ประโยชนใ์ นเชิงพาณิชย์และ เชงิ สงั คม
2. พฒั นาผู้ประกอบการใหเ้ ป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี
3. พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี

วจิ ัย และนวตั กรรม

5) ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลอื่ มลา้ ในสงั คม
(5.1) เปา้ หมายระดับยุทธศาสตร์
1. ลดปัญหาความเหลื่อมลาด้านรายได้ของกลุ่มคนท่ีมีฐานะทาง

เศรษฐกจิ สังคม ทีแ่ ตกตา่ งกัน และแก้ไขปญั หาความยากจน
2. เพม่ิ โอกาสการเข้าลึงบรกิ ารพนื ฐานทางสงั คมของภาครัฐ

16

3. เพ่ิมศักยภาพชุมชนและเศรษฐกิจฐานรากให้มีความเข้มแข็ง
เพื่อให้ชุมชนพึง่ พา ตนเองและไดร้ บั สว่ นแบ่งผลประโยชนท์ างเศรษฐกจิ มากขึน

(5.2) แนวทางการพัฒนา
1. เพ่ิมโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่ีมีรายได้

ต่าสดุ ให้สามารลเขา้ ลงึ บรกิ ารทม่ี ีคณุ ภาพของรัฐ และมีอาชีพ
2. กระจายการให้บริการภาครัฐทังด้านการศึกษา สาธารณสุข และ

สวัสดิการทมี่ ีคณุ ภาพให้ ครอบคลุมและท่ัวลึง
3. เสริมสร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการ

สร้างความเข้มแข็งการเงิน ฐานรากตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือให้ชุมชนสามารลพ่ึงพาตนเอง
ได้ มสี ิทธใิ นการจัดการ ทนุ ท่ีดินและทรพั ยากรภายในชมุ ชม

2.2.4 นโยบายและแผนระดบั ชาติว่าดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2560 - 2564)

1) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่ 9 : เสริมสร้างความม่ันคงของชาติจากภัยการ
ทุจริต รองรับวัตลุประสงค์ 3.4.5 เพื่อพัฒนาศักยภาพของภาครัฐ และส่งเสริมบทบาทและความเข้มแข็งของ
ทุกภาคสว่ น ในการรบั มือกบั ภยั คุกคาม ทกุ รปู แบบที่กระทบกบั ความม่นั คง

 แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ รองรับทุกนโยบาย :
การเสรมิ สรา้ งความมน่ั คงของมนษุ ย์ รองรับทกุ นโยบายความม่นั คงแห่งชาติ

 เปา้ หมายเชิงยุทธศาสตร์ ประชาชนมีความสามัคคี มีความปลอดภัยใน
การดารงชีวิต มีสว่ นรว่ มและมีความพรอ้ มเผชิญปญั หาและรับมอื กบั ภยั คุกคามและปัญหาด้านความมน่ั คง

 ตัวช้วี ดั
(1) ระดับการเสริมสรา้ งความสามคั คีของคนในชาติ
(2) ระดบั การมีส่วนร่วมของหนว่ ยงานของรฐั ภาคเอกชน องค์กร

ปกครองสว่ นท้องลิน่ องคก์ รภาคประชาสังคม และ ประชาชนท่วั ไป ในกจิ กรรมสนบั สนุนงานดา้ นความม่ันคง

 กลยทุ ธ์
(1) สง่ เสริมให้คนไทยมีความสามัคคี สงั คมมีความสงบสุข และประเทศมี

การพัฒนา อย่างย่ังยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยผนึกกาลังทุกภาคส่วนตังแต่ระดับชุมชน
ตาบล หม่บู ้าน จังหวดั ภาค และ ประเทศชาติ ให้เป็นเครือข่ายสนับสนุนงานด้านความมั่นคงและให้ตระหนัก
ลงึ ความรบั ผิดชอบต่อ ผลประโยชน์สว่ นรวมของประเทศชาติ

(2) ส่งเสริมให้ประชาชนสามารลดารงชีวิตโดยปกติและสามารลเข้าลึง
กระบวนการยุติธรรม

(3) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของ คน ชุมชน พืนที่ เพ่ือให้มี
ภมู ิคุ้มกันและมีขดี ความสามารลในการเฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความมั่นคงโดยเฉพาะภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ ตลอดจนมีความสามารลในการปรับตัวให้ทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความท้าทายใหม่
ๆ ในอนาคต รวมทังเสรมิ สรา้ ง ความพร้อมของประเทศทจ่ี ะเผชญิ สลานการณ์ต่าง ๆ อันเกิดจากภยั คุกคามทุกรูปแบบ

(4) พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านความ
มัน่ คง ใหแ้ กผ่ บู้ ริหาร และผทู้ ี่ปฏบิ ตั งิ านทงั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ ให้รบั รู้ลึงความสาคัญของมิติความ
ม่ันคงท่ีต้องประสานและบูรณาการ การวางแผนและการปฏบิ ตั ิงานท่เี กอื กลู กนั อย่างเปน็ เอกภาพ

17

(5) ส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ปลูกฝังวัฒนธรรม ภูมิ
ปญั ญาท้องลิ่น ค่านิยม ที่ดีงาม ความภูมิใจในชาติ การจัดการความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยการเรียนการสอน
ทงั ในระบบและนอกระบบ สลานศกึ ษาเพ่อื สนับสนนุ กจิ กรรมในดา้ นความมนั่ คง

(6) ส่งเสริมให้หน่วยงานของรัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ องค์กรภาค
ประชาสังคม องคก์ ร ปกครองสว่ นทอ้ งลิ่น องค์กรพัฒนาเอกชน และ ประชาชนทั่วไป ได้เข้ามามีบทบาทและ
สว่ นร่วมในการสนับสนนุ โครงการความร่วมมือต่าง ๆ และกิจกรรมด้านความมั่นคงในการขจัดหรือลดปัญหา
ด้านความม่ันคง เพื่อส่งเสริม การขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเน่ือง การมีเสลียรภาพทางเศรษฐกิจ ความ
สงบสุขของสังคม และการกระจาย รายได้ท่ีท่ัวลึง เพื่อให้ประชาชนได้รับประโยชน์จากความเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจไปพรอ้ มกันอย่างทว่ั ลึง เป็นธรรม และยง่ั ยนื (Inclusive and Sustainable Growth)

2) นโยบายความมั่นคงแห่งชาติท่ี 1 : เสริมสร้างความม่ันคงของสลาบันหลักของ
ชาติและการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขรองรับวัตลุประสงค์ 3.4.1
เพื่อส่งเสริมและรักษาไว้ซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และ
วัตลุประสงค์ 3.4.2 เพ่ือเสริมสร้างจิตสานึกของคน ในชาติให้มีความจงรักภักดี และธารงรักษาไว้ซึ่งสลาบัน
ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์

 แผนระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ รองรับนโยบายท่ี 1 :
การเสริมสร้างความม่ันคงของสลาบันหลักของชาติภายใต้การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี
พระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ

 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ สลาบันพระมหากษัตริย์ภายใต้การปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ได้รับการธารงรักษาด้วยการปกป้อง เชิดชูเทิดทูน
อย่างสมพระเกียรติ

 ตัวชี้วัด
(1) ระดับความสาเร็จในการลวายความปลอดภัยพระมหากษัตริย์และ

พระบรมวงศานุวงศ์
(2) ระดับความสาเร็จในการบังคับใช้มาตรการทางกฎหมายท่ีเป็นไป

อย่างรอบคอบและไม่สง่ ผลกระทบต่อสลาบันพระมหากษตั รยิ ์
(3) ระดบั ความสาเร็จของประชาชน/ทุกภาคส่วนที่มีความรักและเทิดทูน

สลาบนั พระมหากษตั ริย์

 กลยทุ ธ์
(1) เสริมสร้างประสิทธิภาพของกลไก/มาตรการภาครัฐ ความร่วมมือใน

การลวายความปลอดภัยพระมหากษตั ริยแ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์
(2) ส่งเสริมทุกภาคส่วนในสังคมรวมลึงชุมชนไทยในต่างประเทศให้

ตระหนกั รูแ้ ละเข้าใจลึงบทบาทและคณุ ค่าของสลาบนั พระมหากษัตริย์ในฐานะศูนย์รวมจิตใจของชาติ ส่งเสริม
ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีของรัฐ และประชาชนทัว่ ไปเรยี นรแู้ ละเขา้ ใจหลกั การทรงงานตลอดจนเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ
เกย่ี วกับสลาบนั พระมหากษตั ริย์ และพระราชกรณียกิจผา่ นชอ่ งทางและสอื่ ต่าง ๆ ทงั ในและตา่ งประเทศ

(3) นาศาสตร์พระราชาและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยุกต์ใช้เพ่อื การพฒั นา ท่ยี ่งั ยนื รวมลงึ เร่งขยายผลตามโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริและแบบอย่างที่
ทรงวางรากฐานไวใ้ หแ้ พร่หลาย เปน็ ที่ประจักษ์

18

(4) สร้างความเข้าใจลึงเหตุผลและความจาเป็นในการบังคับใช้กฎหมาย
ท่ีเกี่ยวกับการหม่ิน สลาบันฯ ควบคู่ไปกับการติดตามเฝ้าระวังการเผยแพร่ข้อมูลที่กระทบต่อความม่ันคง
เกี่ยวกบั สลาบันพระมหากษัตรยิ ์ เพ่ือให้การใช้มาตรการทางกฎหมาย ทังมิติการป้องกัน ปราบปราม และการ
ดาเนนิ งานเกย่ี วกับการกระทาความผิด ทางคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ไปด้วยความเหมาะสม

19

ส่วนที่ 3

สาระสาคญั แผนปฏิบตั ริ าชการรายปี (พ.ศ. 2563)
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

3.1 ภาพรวม

3.1.1 ปรัชญามหาวิทยาลัย
ประทีปล่นิ ประเทืองไทย กา้ วไกลสูส่ ากล

3.1.2 วสิ ยั ทศั น์มหาวทิ ยาลัย
มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช เปน็ สลาบันอดุ มศึกษาชนั นาของภาคใต้
ทมี่ ุง่ เน้นดา้ นการผลติ และพฒั นาครู การจัดการศิลปะและวัฒนธรรม
องค์ความรู้ ภมู ปิ ญั ญา สู่การพัฒนาอุตสาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว การบรกิ าร
เทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร

3.1.3 พันธกจิ มหาวทิ ยาลยั
1. ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ มีทัศนคติที่ดี เป็นพลเมืองดีในสังคม และมีสมรรลนะตาม

ความต้องการของผใู้ ช้บัณฑิต
2. วิจยั สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมที่มีคุณภาพและได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับ มุ่งเน้น

การบูรณาการเพ่อื นาไปใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรม
3. พัฒนาท้องล่ินตามศักยภาพ สภาพปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของชุมชน โดย

การล่ายทอดองคค์ วามรู้ เทคโนโลยี และน้อมนาแนวพระราชดารสิ ู่การปฏบิ ัติ
4. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพ่ือการพัฒนาท้องล่ิน และเสริมสร้าง

ความเข้มแขง็ ของผูน้ าชมุ ชนใหม้ คี ณุ ธรรมและความสามารลในการบรหิ ารงานเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม
5. บริหารจัดการทรัพยากรภายในมหาวิทยาลัยอย่างมีประสิทธิภาพด้วยหลัก

ธรรมาภบิ าล พร้อมรองรบั บรบิ ทการเปลย่ี นแปลง เพ่อื ให้เกิดการพฒั นาอยา่ งต่อเนือ่ งและยั่งยืน

3.1.4 เอกลกั ษณ์
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องล่นิ
เนน้ บริการวิชาการ สบื สานทานุบารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม

3.1.5 อตั ลักษณ์
บัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช เป็นบัณฑิตนักคิด
นักปฏบิ ตั ิ มจี ิตสาธารณะ

20

3.2 แผนปฏบิ ัติราชการ

3.2.1 แผนปฏบิ ัติราชการ เรอ่ื ง 1. การพฒั นาทอ้ งถนิ่

1) เป้าหมาย ชุมชนท้องลิ่นได้รับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม
ดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ด้านการศึกษา

2) ตวั ชี้วัด และคา่ เปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย ปี 2563

ตวั ช้วี ัด มหาวิทยาลัย หนว่ ยงาน

1.1 มฐี านขอ้ มูลของพนื ทบ่ี รกิ าร (ศกั ยภาพชุมชน สภาพปัญหา และ 55 หมูบ่ า้ น คณะละ 13
ความต้องการที่แท้จริงของชุมชน) เพ่ือใช้ในการวิเคราะห์ ประเมิน หม่บู ้าน
และวางแผนพัฒนาเชิงพืนท่ีตามศักยภาพของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรธี รรมราช 55 หมู่บ้าน/ คณะละ 12
1.2 จานวนหมู่บ้าน จานวนโรงเรียนที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ โรงเรยี น หมู่บ้าน/โรงเรียน
นครศรีธรรมราชดาเนินโครงการอันเป็นผลจากการวางแผนการ
พฒั นาเชิงพนื ท่ี ร้อยละ 3.16 รอ้ ยละ 3.16
1.3 ร้อยละสะสมของจานวนหม่บู ้าน จานวนโรงเรียนที่มหาวิทยาลัย
ราชภฏั นครศรีธรรมราช เข้าดาเนินโครงการพัฒนา เปรียบเทียบกับ 63 โครงการ คณะละ 13
จานวนหมบู่ า้ นทงั หมดในพนื ทบี่ ริการ (การกระจายตัวเชิงพืนท่ี) โครงการ
1.4 จานวนโครงการพฒั นาท้องลนิ่ ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 7 ภาคี
นครศรีธรรมราช และจานวนโครงการฯ สะสม (แยกประเภทตาม เครือข่าย คณะละ 2
เปา้ หมาย) ร้อยละ 3.16 ภาคเี ครือขา่ ย
1.5 จานวนภาคเี ครือข่ายทงั ภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ภาคประชาสังคม ทร่ี ว่ มมือกับมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช ร้อยละ 3.16
ดาเนนิ โครงการพัฒนาท้องลิ่นในพนื ท่ีบริการ
1.6 อัตราสว่ นโครงการพัฒนาท้องลิ่นที่มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั รอ้ ยละ 50 ร้อยละ 50
นครศรธี รรมราชเป็นแกนนา เปรียบเทยี บกบั โครงการพฒั นาท้องลิ่น (5,000 คน) (1,000 คน)
ทงั หมดของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช
1.7 จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการท่เี ก่ยี วกบั การน้อมนาพระราโชบาย ร้อยละ 50 รอ้ ยละ 50
ด้านการศึกษาเพื่อเสริมสร้างคุณลักษณะคนไทยที่พงึ ประสงค์ทงั 4
ประการ สู่การปฏบิ ตั ิในพืนท่ีบรกิ ารของมหาวิทยาลยั ราชภัฏ ร้อยละ 85 รอ้ ยละ 85
นครศรธี รรมราช
1.8 อตั ราการอา่ นออกเขยี นได้ของจานวนประชากรโดยเฉพาะ
ประชากรในวยั ประลมศกึ ษาในพนื ทเ่ี ขตบรกิ ารวิชาการของ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช

หมายเหตุ: สารวจจานวนประชากรทอี่ ่านไม่ออกในพนื ทเ่ี ขตบริการวชิ าการมี
จานวนเท่าไร จากนนั กม็ าทาใหอ้ ่านออกเขียนได้ ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50

1.9 ร้อยละของหมู่บ้านทีม่ ีดชั นชี วี ัดความสุขมวลรวมชมุ ชนเพ่มิ ขึน

21

ตัวชี้วดั คา่ เปา้ หมาย ปี 2563
มหาวิทยาลัย หน่วยงาน

1.10 อตั ราการเพ่ิมขนึ ของรายได้ครวั เรอื นในพืนทกี่ ารพฒั นาของ 35 ครัวเรือน คณะละ 7

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรธี รรมราช (0.0045) ครวั เรือน

(0.0009)

1.11 มแี หล่งเรยี นรดู้ ้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภมู ิปญั ญาทอ้ งลนิ่ 1 แหลง่ คณะละ 1 แหลง่

เพอื่ เสรมิ สร้างคณุ ค่าและสานกึ รักษ์ท้องลิน่

1.12 จานวนวิสาหกจิ ชุมชน ผู้ประกอบการใหม่ในพนื ทีบ่ ริการของ 3 คณะละ

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราชทีป่ ระสบความสาเร็จจากการ วสิ าหกจิ ชมุ ชน/ 1 วิสาหกิจ

สนบั สนุนองค์ความรจู้ ากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรีธรรมราช ราย ชุมชน/ราย

1.13 อัตราการอพยพของประชากรวยั ทางานในชุมชนท้องลน่ิ ลดลง 7 ชมุ ชน คณะละ 2 ชุมชน

(รอ้ ยละ 0.31) (ร้อยละ 0.08)

หมายเหตุ หมบู่ ้านทง้ั หมด นครศรธี รรมราช + ตรงั จานวน 2,274 หมบู่ ้าน

ครวั เรอื นทั้งหมด นครศรีธรรมราช 565,508 + ตรงั 223,740 = 789,248 ครวั เรอื น

3) แนวทางการพัฒนา
(1) สร้างและพัฒนาความร่วมมือกับผู้ว่าราชการจังหวัดในการวางแผนพัฒนาเชิง

พืนที่ และดาเนินโครงการตามพันธกิจและศักยภาพของมหาวิทยาลัยโดยกาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณและ
คุณภาพ รวมลึง Timeline ในการดาเนินการทุกขันตอนอย่างเป็นรูปธรรม (ระยะสัน ระยะกลาง และระยะ
ยาว) ทงั นตี อ้ งไดร้ ับความเห็นชอบจากผวู้ ่าราชการจงั หวัดดว้ ย

(2) บรู ณาการความร่วมมือภายในมหาวิทยาลัยและภายนอกมหาวิทยาลัย (ภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม) ในการดาเนินโครงการพัฒนาให้บรรลุตามเป้าหมายอยา่ งมีนยั สาคัญ

(3) บูรณาการการจัดการเรียนการสอน การวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ กับการ
พฒั นาทอ้ งล่ิน

4) แผนงาน/โครงการ สาคญั

โครงการที่จะดาเนนิ การ ผู้รับผิดชอบ

1. โครงการติดอาวุธทางปัญญาเพือ่ การพัฒนาท้องลน่ิ อย่างย่งั ยืน (C) - คณะทุกคณะ

- สลาบนั วจิ ัยและพัฒนา

2. โครงการส่งเสริมสขุ ภาวะชมุ ชนเพ่ือวัดดัชนีความสุขมวลรวมชุมชน (C) - คณะทุกคณะ

- สลาบันวิจยั และพัฒนา

3. โครงการจัดทาฐานข้อมูล (Big Data) ของพืนท่ีบริการ เพื่อใช้เป็นเครื่องมือ - คณะทุกคณะ

ช่วยตัดสินใจในการวางแผนพัฒนาท้องล่ินตามบทบาทและศักยภาพของ - สลาบนั วจิ ัยและพัฒนา

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช (C)

4. โครงการสง่ เสริม สืบสานตามพระราโชบายด้านการศึกษาและแนว - คณะทุกคณะ

พระราชดาริ (A) - สลาบนั วจิ ยั และพัฒนา

- งานพระราโชบายด้านการศึกษา

- โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน

- โครงการพระราชดาริต่าง ๆ

22

โครงการทจ่ี ะดาเนินการ ผ้รู บั ผดิ ชอบ

5. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาท้องลิ่น และการจัดการ - คณะทุกคณะ

องค์ความรู้และการลอดบทเรียนประเมินผลงานวิจัย งานสร้างสรรค์และ - สลาบนั วจิ ัยและพฒั นา

นวตั กรรมเชิงพนื ทบ่ี ริการ (ภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คม) (A)

6. โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ภูมิปัญญาท้องล่ิน - คณะทุกคณะ

เพื่อสร้างคุณค่า และสานกึ รกั ษ์ทอ้ งลิน่ (A) - สลาบันวิจยั และพฒั นา

7. โครงการการบรู ณาการความรว่ มมือระหวา่ งการวิจยั กับการบริการวชิ าการ - คณะทุกคณะ

เพือ่ ใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นการสอนตามพนื ทบี่ รกิ ารวิชาการของมหาวิทยาลยั - สลาบันวิจัยและพัฒนา

(A)

23

3.2.2 แผนปฏิบัติราชการ เรอ่ื ง 2 การผลติ และพัฒนาครู

1) เป้าหมาย บั ณ ฑิ ต ค รู ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช

มอี ัตลักษณ์ และสมรรลนะเป็นเลิศ เปน็ ทีต่ ้องการของผใู้ ชบ้ ัณฑิต

2) ตวั ชี้วดั และคา่ เป้าหมาย

ตัวชว้ี ดั คา่ เป้าหมาย
มหาวิทยาลัย หนว่ ยงาน

2.1 มกี ารปรบั ปรุงหลกั สูตรครศุ าสตร์/ศึกษาศาสตรแ์ ละกระบวนการ 6 คณะครุศาสตร์
ผลติ ครเู พ่ือให้บณั ฑติ ครูของมหาวิทยาลัยราชภฏั มีอัตลักษณ์ สมรรลนะ หลกั สูตร/ 6 หลกั สูตร/
และคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ พร้อมด้วยคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ กระบวนการ กระบวนการ
ตามพระราโชบายด้านการศกึ ษาและคณุ ลักษณะครศู ตวรรษที่ 21
รอ้ ยละ 100 รอ้ ยละ 100
2.2 ร้อยละครูของครทู ม่ี ีประสบการณ์สอนในโรงเรียนตอ่ ปีการศึกษา

2.3 รอ้ ยละของบัณฑิตครทู ี่จบจากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช รอ้ ยละ 95 ร้อยละ 95
ทสี่ อบบรรจุผ่านเกณฑ์ของหนว่ ยงานต่าง ๆ ทังภาครฐั และเอกชน
ภายในเวลา 1 ปี 1 ระบบ คณะครศุ าสตร์
1 ระบบ
2.4 มี Platform เพอื่ สรา้ งเครอื ขา่ ยแลกเปล่ียนเรียนรูร้ ะหว่างบัณฑิตครู รอ้ ยละ 3 ร้อยละ 3
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ที่เขา้ สู่วชิ าชีพ (เขตพนื ท่บี ริการ:นครศรีธรรมราช +
ตรงั ) ร้อยละ 50 ร้อยละ 50
ร้อยละ 5 รอ้ ยละ 5
2.5 ผลคะแนน O - NET (Ordinary National Educational Test) 2 ผลงาน/ คณะครศุ าสตร์
หรือผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนท่ีเพมิ่ ขึนจากการพัฒนาสมรรลนะครู 2 ผลงาน/สาขา
ประจาการของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรธี รรมราช สาขา

2.6 สดั ส่วนบัณฑิตครทู ี่ไดร้ ับการบรรจุเขา้ ทางานในภมู ภิ าค
- ในภมู ิภาค
- นอกภมู ภิ าค

2.7 ผลงานการวิจัยเฉพาะสาขาวิชาชีพครูท่ีได้รับตีพิมพ์เผยแพร่ทังใน
ระดับชาติและนานาชาติ หรือนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการผลิตและ
พัฒนาครเู พิ่มขึน

3) แนวทางการพฒั นา
(1) ปรับปรุงหลักสูตรครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์และกระบวนการผลิตให้มีสมรรลนะ

เป็นเลิศ เป็นที่ยอมรับดว้ ย SIL (School Integrated Learning) และสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ
(2) พัฒนาสมรรลนะครขู องครใู ห้มคี วามเป็นมอื อาชพี
(3) บ่มเพาะนักศึกษาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ให้มีสมรรลนะตามมาตรฐานวิชาชีพ

พรอ้ มดว้ ยจิตวญิ ญาณความเป็นครูและ คุณลักษณะ 4 ประการ 1) ทัศนคติที่ดีและลูกต้อง 2) มีพืนฐานชีวิตที่
ม่ันคงเข้มแขง็ 3) มีงานทา มีอาชีพ 4) เปน็ พลเมืองดี มรี ะเบยี บวนิ ัย

(4) จัดทาแผนการดาเนินงานตามข้อ 1 – 3 โดยกาหนดเป้าหมายเชิงปริมาณและ
คุณภาพ รวมลึงขันตอนและระยะเวลา (Timeline) ในการปฏิบัติงาน ทังระยะสัน ระยะกลาง และระยะยาว
เพื่อให้สามารลบรรลเุ ป้าหมายได้อย่างเป็นรปู ธรรม

24

4) แผนงาน/โครงการ สาคัญ

โครงการที่จะดาเนินการ ผูร้ ับผิดชอบ

8. โครงการพฒั นาและปรับปรงุ หลักสูตรทุกระดบั (A) - คณะทุกคณะ
- สานกั สง่ เสริมและงาน
ทะเบยี น

9. โครงการผลิตครูเปน็ เลศิ เพ่อื พฒั นาท้องลิน่ ในระบบปิด (C) - คณะทุกคณะ

- สานักสง่ เสรมิ และงาน

ทะเบยี น

10. โครงการพฒั นาสมรรลนะครูเพอื่ พฒั นาท้องล่ิน (A) - คณะทุกคณะ
- สานกั สง่ เสริมและงาน
ทะเบียน

11. โครงการบรู ณาการงานวิจยั กับการเรยี นการสอนและพันธกจิ อื่น (A) - คณะทุกคณะ
- สานกั ส่งเสริมและงาน

ทะเบยี น

12. โครงการสนับสนุน DLTV (Digital Learning Thailand) เพ่ือแก้ปัญหา - คณะทุกคณะ

ขาดแคลนครูใหก้ ับโรงเรยี นขนาดเล็ก (C) - สานกั สง่ เสริมและงาน
ทะเบยี น

13. โครงการพฒั นาโรงเรียนสาธติ ใหเ้ ป็นศนู ยฝ์ ึกปฏบิ ตั กิ ารและการวิจัยเป็น - คณะทุกคณะ

ตน้ แบบให้กบั โรงเรยี นในท้องลน่ิ (C) - สานักสง่ เสริมและงาน

- การศึกษาตงั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขันพนื ฐาน ทะเบียน

- วเิ คราะหผ์ ลการสอบ O -NET - โรงเรียนสาธิต

14. โครงการจดั ทาคลังข้อสอบวดั แววความเปน็ ครูของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั - คณะทุกคณะ

(C) - สานกั สง่ เสริมและงาน
ทะเบียน

15. โครงการชุมชนการเรยี นรูแ้ หง่ วชิ าชพี ของคณาจารยผ์ ู้สอนและนักศึกษา - คณะทุกคณะ
ครู (A)

16. โครงการจัดทา Platform เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบัณฑิต - คณะทุกคณะ

ครจู ากมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏทเี่ ข้าสูว่ ชิ าชพี (C) - สานักสง่ เสริมและงาน

ทะเบยี น

25

3.2.3 แผนปฏิบัติราชการ เร่ือง 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา

1) เป้าหมาย
1. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราชมีความเป็นเลิศในการสร้างความม่ันคง

ใหก้ บั ประเทศดว้ ยการบรู ณาการองค์ความรู้สูน่ วตั กรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพืนท่ี
2. ยกระดับคุณภาพบัณฑิตให้เป็นท่ีต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ด้วยอัตลักษณ์

ด้านสมรรลนะ และคณุ ลกั ษณะ 4 ประการ พร้อมรองรบั บริบททเี่ ปล่ียนแปลง
3. อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษาทุกสาขาวิชาเป็นมืออาชีพ มีสมรรลนะเป็นท่ี

ยอมรบั ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ

2) ตวั ชีว้ ดั และคา่ เปา้ หมาย ค่าเปา้ หมาย ปี 2563

ตวั ช้ีวัด มหาวิทยาลัย หนว่ ยงาน
1 หลักสูตร/ปี 1 หลกั สตู ร/ปี
3.1 จานวนหลักสูตรทลี่ กู ปรับปรุงใหท้ นั สมัยและหลกั สตู รใหมใ่ น
รปู แบบสหวทิ ยาการท่ตี อบสนองต่อการพฒั นาท้องล่ิน และ 25 ผลงาน/ คณะละ 25
สอดคล้องกบั การพฒั นาประเทศ คณะ/ปี ผลงาน/คณะ/ปี
3.2 ผลงานของนักศึกษา อาจารย์ทีไ่ ดร้ ับการตีพิมพ์เผยแพร่หรอื (อาจารย์)
ได้รบั รางวัลในระดับชาติและนานาชาติ (อาจารย)์
2 ผลงาน/คณะ/ 2 ผลงาน/คณะ/ปี
3.3 รอ้ ยละนักศกึ ษาที่ไดร้ ับประกาศนยี บัตรวิชาชีพทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ปี (นักศึกษา)
สาขาทสี่ าเรจ็ การศึกษา (นักศึกษา)
3.4 ระดบั ความสามารลดา้ นการใช้ภาษาอังกฤษของผู้สาเร็จ ร้อยละ 100
การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรีตามมาตรฐาน CEFR (Common ร้อยละ 100
European Framework of Reference for Languages) หรือ
เทยี บเทา่ มาตรฐานสากลอืน่ ๆ ร้อยละ 5 ร้อยละ 5

- สาขาวิชาภาษาอังกฤษ C1 ร้อยละ 100 ร้อยละ 90 รอ้ ยละ 90
- คณะครศุ าสตร์ (ท่ีไม่ใช่เอกภาษาองั กฤษ) B2 รอ้ ยละ 20
- คณะและสาขาวชิ าอื่น ๆ B1 รอ้ ยละ 30 4.00 คะแนน 4.00 คะแนน
3.5 อตั ราการไดง้ านทาตรงสาขา ประกอบอาชพี อสิ ระทังตาม รอ้ ยละ 1/ปี รอ้ ยละ 1/ปี
ภมู ลิ าเนาและนอกภมู ลิ าเนา ของบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
ภายในระยะเวลา 1 ปี
3.6 ผลการประเมนิ สมรรลนะของบัณฑิตโดยสลานประกอบการ
ผู้ใช้บัณฑิต
3.7 อตั ราการศึกษาต่อในพืนทข่ี องประชากรวัยอุดมศกึ ษาเพ่มิ ขึน

26

3) แนวทางการพฒั นา
(1) ปรบั ปรุงหลกั สูตรเดมิ ให้ทนั สมัยและพัฒนาหลักสตู รใหม่ในรูปแบบสหวิทยาการ

ที่ตอบสนองการพัฒนาท้องล่ิน และสอดคลอ้ งกบั แนวทางการพฒั นาประเทศ
(2) ปรบั กระบวนการจดั การเรียนรู้ ใหบ้ ูรณาการกบั การทางานและเสริมสร้างทักษะ

และจิตสานกึ ในการพฒั นาทอ้ งลน่ิ
(3) ผลิตบัณฑิตได้ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ทังด้านสมรรลนะวิชาชีพ

ทักษะบัณฑิตศตวรรษที่ 21 และคุณลักษณะ 4 ประการ คือ 1) มีทัศนคติที่ดีและลูกต้อง 2) มีพืนฐานชีวิตท่ี
มน่ั คงเข้มแขง็ 3) มีอาชีพ มงี านทา และ 4) มคี วามเปน็ พลเมอื งดี มีระเบียบวินัย

(4) พฒั นาห้องปฏิบัติการอปุ กรณก์ ารเรยี นรู้เพอื่ สนบั สนุนการผลิตบัณฑติ
(5) พฒั นาศกั ยภาพผสู้ อนให้เปน็ มอื อาชีพ

4) แผนงาน/โครงการ สาคัญ

โครงการทจ่ี ะดาเนนิ การ ผ้รู บั ผิดชอบ

17. โครงการปรบั ปรุงหลกั สูตรเดิมให้ทันสมยั และพฒั นาหลกั สูตรใหม่ใน - คณะทุกคณะ

รปู แบบสหวิทยาการ และตอบสนองการพัฒนาท้องลิน่ และผู้เรียน (A) - สานักส่งเสริมวชิ าการและ

งานทะเบียน

18. โครงการพฒั นาความรว่ มมอื กับเครือข่ายสลานประกอบการและ - คณะทุกคณะ

องค์กรวชิ าชีพเพื่อจัดการเรยี นรู้ (C)

19. โครงการบรู ณาการองคค์ วามรสู้ นู่ วัตกรรมราชภัฏนครศรีธรรมราช - คณะทุกคณะ

เพ่อื การพัฒนาเชงิ พืนท่ี (C) - สลาบนั วจิ ัยและพัฒนา

20. โครงการมกี ารบูรณาการการเรียนการสอนกับการพัฒนานักศึกษาให้ - คณะทุกคณะ

มีคณุ ลกั ษณะตามอตั ลักษณบ์ ัณฑติ 4 ประการ (A) - สานักสง่ เสริมวิชาการและ

งานทะเบยี น

- กองพัฒนานกั ศึกษา

21. โครงการบ่มเพาะให้บณั ฑติ มีทักษะเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ภายใต้ - คณะทุกคณะ

บรบิ ทของการพัฒนาท้องลนิ่ อยา่ งยง่ั ยืน (C)

22. โครงการพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษ สาหรบั นักศึกษา (พดู ฟัง อ่าน - สานักวทิ ยบรกิ ารและ

เขยี น) ใหเ้ ป็นไปตามกรอบมาตรฐาน CEFR ท่ีกาหนด (A) เทคโนโลยี

- คณะทุกคณะ

23. โครงการพัฒนาทักษะการสอน เพ่อื ค้นหาแนวปฏบิ ตั ิท่ีดใี นเรือ่ งการ - คณะทุกคณะ

สอน (A)

24. โครงการพฒั นาห้องปฏบิ ัตกิ าร อปุ กรณก์ ารเรยี นรู้ (A) - คณะทุกคณะ

25. โครงการพัฒนาศกั ยภาพผสู้ อนใหเ้ ป็นมอื อาชีพ (A) - คณะทุกคณะ

- สานกั ส่งเสริมวิชาการและ

งานทะเบยี น

27

3.2.4 แผนปฏบิ ัตริ าชการ เรอ่ื ง 4 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ

1) เป้าหมาย
1. เพิ่มบทบาทการเป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือท้องลิ่น โดยให้ความสาคัญกับการบูรณา

การการเรยี นการสอนกบั การพัฒนาทอ้ งล่นิ และการสร้างผลประโยชนจ์ ากทรพั ยส์ ินทางปญั ญา
2. สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรภายในและต่างประเทศ เพ่ือเสริมสร้าง

ประสิทธผิ ลตามวิสัยทศั น์และพนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช
3. ส่งเสริมบุคลากรท่ีเป็นคนดีและคนเก่งให้พัฒนาและแสดงออกลึงความรู้

ความสามารลและศักยภาพเพ่อื พัฒนามหาวิทยาลัยและท้องล่ินอยา่ งเตม็ ท่ี
4. ปรับปรุง/พัฒนาระบบบริหารจัดการโดยเฉพาะด้านฐานข้อมูลงบประมาณและ

บุคลากรให้ทนั สมยั รวดเรว็ มีประสิทธภิ าพ โปร่งใส และมธี รรมาภิบาล

2) ตวั ชี้วดั และคา่ เปา้ หมาย

ตัวชี้วดั ค่าเปา้ หมาย ปี 2563
มหาวิทยาลัย หนว่ ยงาน

4.1 จานวนอาจารย์และนักศึกษา ศิษย์เก่า ท่ีได้รับรางวัลระดับชาติ - อาจารย์ 5 คน คณะละ

นานาชาติ - ศษิ ยเ์ กา่ 8 คน - อาจารย์ 1 คน

- นกั ศกึ ษา 15 - ศษิ ยเ์ กา่ 2 คน

คน - นกั ศกึ ษา 3

คน

4.2 อัตราส่วนจานวนผลงานวิจัยและองค์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีเป็น 1 : 1 ชิน คณะละ

ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาต่อจานวนผลงานดังกล่าวท่ีลูกนาไปใช้ประโยชน์ (รอ้ ยละ 100) 1 : 1 ชนิ

อยา่ งเปน็ รูปธรรม (รอ้ ยละ 100)

4.3 ผลการสารวจการรับรู้ข่าวสาร (เชน่ นโยบาย/แผนพฒั นาตา่ ง ๆ ระดบั 4.51 ระดบั 4.51

ทีส่ าคัญระดับชาต/ิ จงั หวัด/องคก์ ร) ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลยั

4.4 จานวนฐานขอ้ มลู เพ่ือบริหารจดั การและการตดั สินใจตามพันธ 6 ฐานขอ้ มลู หน่วยงานละ

กิจหลักของมหาวิทยาลัยราชภัฏเพอ่ื การพัฒนาท้องล่ิน 2 ฐานข้อมูล

4.5 ระดบั ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสการบริหารงาน ระดบั สงู มาก ระดบั สูงมาก

ภาครัฐ (รอ้ ยละ 82.00) (ร้อยละ 82.00)

4.6 จานวนเครือขา่ ยความร่วมมอื กับองค์กรภายในและตา่ งประเทศ จานวน 2 หนว่ ยงานละ

เครอื ข่าย 1 เครอื ข่าย

4.7 ระบบบริหารจัดการที่มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล 3 ระบบ หน่วยงานละ

1 ระบบ

4.8 ฐานข้อมูลศิษย์เก่าและกิจกรรมสัมพันธ์เพ่ือขยายเครือข่ายและ 6 คณะละ 1

ปรบั ปรงุ ฐานขอ้ มูลศิษยเ์ กา่ ฐานข้อมูลหรอื ฐานข้อมูลหรือ

กจิ กรรม กิจกรรม

4.9 ผลสารวจความคดิ เหน็ /ความพงึ พอใจของประชาชน/ผ้รู บั บริการ ระดับ 4.00 ระดับ 4.00

ที่มตี อ่ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ

28

ตวั ชว้ี ัด ค่าเปา้ หมาย ปี 2563

4.10 ร้อยละบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนท่ีได้รับการ มหาวิทยาลัย หน่วยงาน
พัฒนาอยา่ งน้อยปีละ 1 ครัง (พ) ร้อยละ 100 ร้อยละ 100
4.11 ร้อยละของอาจารยท์ ี่ดารงตาแหน่งทางวชิ าการ (พ)
4.12 รอ้ ยละของอาจารยท์ ี่มีคุณวุฒปิ ริญญาเอก (พ) ร้อยละ 30 ร้อยละ 30
4.13 ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของสลานศึกษา (พ)
ร้อยละ 30 รอ้ ยละ 30
4.14 ร้อยละการเบกิ จา่ ยงบประมาณ (พ)
4.14.1 เงินงบประมาณรายจา่ ยลงทนุ 3.25 (หลักสตู ร) 3.25 (หลกั สตู ร)
4.14.2 เงนิ งบประมาณรายจ่ายภาพรวม 4.35 (คณะ) 4.35 (คณะ)
200 (สนบั สนุน) 200 (สนบั สนุน)
4.15 ระดับความสาเร็จการพัฒนาสู่มหาวิทยาลัยสีเขียว (Green
University) (พ) ร้อยละ75 ร้อยละ 75
4.16 ร้อยละความพึงพอใจด้านสภาพแวดล้อมโครงสร้างพืนฐาน ร้อยละ 88 รอ้ ยละ 88
ระบบสาธารณูปโภคของมหาวทิ ยาลัย (พ)
4.17 ร้อยละของรายได้ที่เพิ่มขึนจากการบริหารสินทรัพย์ของ ระดบั 4.00 ระดับ 4.00
มหาวทิ ยาลยั (พ)
รอ้ ยละ 86.00 ร้อยละ 86.00

ร้อยละ 15 รอ้ ยละ 15

3) แนวทางการพัฒนา
(1) ปรับปรุงหลักสูตรเดิมให้ทันสมัยและพัฒนาหลักสูตรใหม่ในรูปแบบสหวิทยาการ

ที่ตอบสนองการพฒั นาท้องล่นิ และสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ
(2) ปรับกระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้บูรณาการกับการทางานและเสริมสร้างทักษะ

และจติ สานกึ ในการพฒั นาท้องลิ่น
(3) ผลิตบณั ฑติ ไดต้ ามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต ทังด้านสมรรลนะวิชาชีพ ทักษะ

บัณฑิตศตวรรษท่ี 21 และคุณลักษณะ 4 ประการ คือ 1) มีทัศนคติท่ีดีและลูกต้อง 2) มีพืนฐานชีวิตท่ีมั่นคง
เข้มแข็ง 3) มอี าชพี มงี านทา และ 4) มีความเป็นพลเมืองดี มีระเบียบวินยั

(4) พฒั นาหอ้ งปฏิบัติการอปุ กรณก์ ารเรยี นรูเ้ พอ่ื สนบั สนุนการผลิตบัณฑิต
(5) พฒั นาศกั ยภาพผสู้ อนใหเ้ ป็นมืออาชีพ

4) แผนงาน/โครงการ สาคญั ผรู้ ับผิดชอบ
โครงการท่จี ะดาเนนิ การ
ทุกหนว่ ยงาน
26. โครงการเครือข่ายสัมพันธเ์ พอ่ื การพัฒนาท้องลน่ิ (C)
- สานกั วิทยบริการและ
27. โครงการพฒั นาเครอื ข่ายศษิ ย์เกา่ เพื่อร่วมสร้างสรรคม์ หาวิทยาลัย เทคโนโลยสี ารสนเทศ
และสงั คม (พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ศษิ ย์เก่าให้เปน็ ปจั จบุ ัน) (A) - สานกั งานอธกิ ารบดี
- สานกั สง่ เสริมและงานทะเบียน

29

โครงการทจี่ ะดาเนนิ การ ผู้รับผิดชอบ

28. โครงการส่งเสริมสนับสนนุ บุคลากรสู่ความเป็นเลิศ (C) - ทกุ หน่วยงาน

- งานนิตกิ ารและการเจ้าหน้าท่ี

29. โครงการพฒั นาระบบบริหารจัดการมหาวทิ ยาลยั ส่คู วามเป็นเลศิ ทกุ หน่วยงาน

(C)

30. โครงการพัฒนาส่งิ อานวยความสะดวก สภาพแวดล้อมและการ -ทุกหนว่ ยงาน

จัดการเรยี นการสอนให้ทนั สมัยอย่างต่อเนอ่ื ง (C) - สานกั งานอธิการบดี

31. โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอื่ ใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน - สานักวิทยบรกิ ารและ

และการพฒั นาฐานข้อมูลต่าง ๆ (A) เทคโนโลยีสารสนเทศ

- สานกั งานอธกิ ารบดี

- สานกั ส่งเสริมและงานทะเบียน

32. โครงการ “ราชภัฏโพลล์” (C) - ทกุ หนว่ ยงาน

- สานกั งานอธกิ ารบดี

33. โครงการสนับสนุนการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานใหเ้ กิดคุณธรรม - ทุกหน่วยงาน

และความโปร่งใส มีประสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภบิ าล (A) - ส่วนมาตรฐาน

34. โครงการบริหารจดั การทรัพย์สนิ ของมหาวิทยาลยั ใหเ้ กิดรายได้ - ทกุ หนว่ ยงาน

อยา่ งเปน็ ระบบ (A) - หนว่ ยงานจดั หารายได้

3.3 ประมาณการวงเงินงบประมาณ พ.ศ. 2563

3.3.1 ประมาณการรายไดข้ องสว่ นราชการ (กรณสี ว่ นราชการมีรายได้)

หน่วยงานในสังกดั แหล่งรายได้ (กจิ กรรม/ภารกจิ ) วงเงนิ (ลา้ นบาท)
44,338,240.00
คา่ ธรรมเนียม 19,959,450.00
19,779,390.00
1. บารงุ การศึกษา โครงการ กศ.บป
2,063,600.00
2. บารงุ การศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลัย 930,500.00
981,750.00
3. เงนิ บารงุ การศึกษา บ.พี ออลล์ จากดั (มหาชน) 623,550.00

4. ลงทะเบยี นบณั ฑติ 1,306,330.63
244,107.00
5. การขนึ ทะเบยี นนักศกึ ษาใหม่
1,062,223.63
6. การสอบเทยี บโอนผลการเรยี น 6,216,589.96
6,216,589.96
คา่ ปรับ 18,644,249.00
1,573,600.00
1. คา่ ปรับห้องสมดุ 12,993,500.00
4,077,149.00
2. ค่าปรบั สง่ มอบงานลา่ ชา้ กว่ากาหนด

ดอกเบ้ยี

ดอกเบยี ปรับ

ค่าเชา่

1. คา่ เช่าหอพักบุคลากร

2. คา่ บารุงหอพกั นกั ศกึ ษา

3. คา่ เช่าสลานที่ (อสงั หา) + ห้องประชุม สนามกีฬา ฯ

30

หนว่ ยงานในสังกัด แหล่งรายได้ (กิจกรรม/ภารกิจ) วงเงนิ (ลา้ นบาท)

อ่ืน ๆ 16,351,255.25

1. จาหน่ายใบสมคั รและคา่ รับสมคั ร 3,094,900.00

2. การออกหลกั ฐานต่าง ๆ 194,660.00

3. สอบวัดความรภู้ าษาองั กฤษ 667,500.00

4. ค่าสอบวดั ความรูค้ อมพิวเตอร์ 470,900.00

5. คา่ คู่มือนักศกึ ษา 588,700.00

6. ค่าบตั รประจาตวั นกั ศึกษาใหม่ 283,600.00

7. คา่ สอบวดั ความสามารลไทย-อังกฤษ 733,200.00

8. รายได้เปิดบญั ชีธนาคาร 27,100.00

9. คา่ สอบวัดคณุ สมบตั ิ 2,000.00

10. ค่าสมคั รสอบพนกั งานมหาวทิ ยาลัย 40,700.00

11. ค่าสมัครสอบพนักงานราชการ 71,400.00

12. คา่ สมคั รสอบลูกจ้างชว่ั คราว 21,300.00

13. รายได้อบรมภาษาองั กฤษ 186,600.00

14. คา่ ลงทะเบยี นโครงการเชอื่ มเหล็กกลา้ 30,000.00

15. คา่ สมัครสอบ ToEic 166,950.00

16. คา่ สมัครสอบ CU-TEP 1,500.00

17. รายได้จดั บริการ (โครงการตา่ ง ๆ)/บรกิ ารวชิ าการ 720,885.00

18. ค่าบารุงมเิ ตอรน์ าและไฟฟ้า 1,773,782.25

19. รายได้ อปท. 68,950.00

20. รายไดโ้ ครงการความรว่ มมอื กลาโหม 4,900.00

21. คา่ จาหนา่ ยครุภณั ฑ์เส่ือมสภาพ 8,966.00

22. ขายทอดตลาดครุภณั ฑ์ 106,000.00

23. รายไดจ้ ากการจาหน่ายเครื่องหมายนักศึกษา 761,780.00

24. รายไดจ้ ากศนู ยห์ นังสือ 1,981,621.00

25. รายได้จากศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ 714,700.00

26. รายไดจ้ ากศนู ย์ฝึกประสบการณ์วิชาชีพเคยี งคีรี 957,265.00

27. รายไดค้ ่าบรกิ ารสระวา่ ยนาและฟติ เนส 666,800.00

28. รายได้ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยี 96,300.00

29. ค่าจา้ งที่ปรึกษาโครงการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน 285,825.00

ขององค์การปกครองสว่ นท้องลิน่ - ITA

30. เงนิ สนบั สนนุ แขง่ รลประหยดั พลงั งาน 9,000.00

31. โครงการผลิตครูเพอ่ื พฒั นาท้องล่นิ 299,221.00

32. เงินลงขันครูของแผ่นดนิ 2562 100,000.00

33. โครงการวิ่งมนิ ิมาราธอน 361,550.00

34. ธนาคารกรงุ ไทย สนับสนุนเพื่อการศึกษา 600,000.00

35. สานกั งานเขตพืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 12 Boot Camp รนุ่ ที่ 20 252,700.00

รวมทั้งสิ้น 86,856,664.84

3.3.2 ประมาณการวงเงนิ งบประมาณท้ังหมด 744,194,500 ล้านบาท

แผนปฏบิ ตั ิราชการ

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพฒั นาทอ้ งถิ่น
1) โครงการติดอาวธุ ทางปญั ญาเพ่อื การพฒั นาทอ้ งถิ่นอยา่ งยั่งยืน (C)
2) โครงการส่งเสริมสุขภาวะชมุ ชนเพื่อวดั ดัชนีความสุขมวลรวมชมุ ชน (C)
3) โครงการจดั ทาฐานขอ้ มูล (Big Data) ของพ้นื ท่ีบริการ เพือ่ ใช้
เปน็ เคร่ืองมือช่วยตัดสินใจในการวางแผนพฒั นาทอ้ งถิ่นตามบทบาทและ
ศักยภาพของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช (C)
4) โครงการส่งเสรมิ สืบสานตามพระราโชบายด้านการศึกษาและ
แนวพระราชดาริ (A)
5) โครงการสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการพฒั นาทอ้ งถิ่น และการ
จดั การองค์ความร้แู ละการถอดบทเรยี นประเมินผลงานวจิ ัย งานสร้างสรรค์
และนวตั กรรมเชิงพนื้ ที่บริการ (ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม) (A)
6) โครงการพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ด้านศิลปวฒั นธรรม ประเพณี
ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ เพ่ือสรา้ งคุณค่า และสานกึ รกั ษท์ อ้ งถ่ิน (A)
7) โครงการการบรู ณาการความรว่ มมือระหวา่ งการวจิ ัยกบั การบริการวชิ าการ
เพื่อใช้ในการพฒั นาการเรยี นการสอนตามพนื้ ที่บรกิ ารวชิ าการของมหาวทิ ยาลัย (A)

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การผลิตและพัฒนาครู
8) โครงการพฒั นาและปรับปรุงหลักสูตรทกุ ระดับ (A)
9) โครงการผลิตครูเปน็ เลิศเพ่ือพฒั นาทอ้ งถิ่นในระบบปดิ (C)
10) โครงการพฒั นาสมรรถนะครูเพ่อื พฒั นาทอ้ งถิ่น (A)
11) โครงการบรู ณาการงานวจิ ัยกบั การเรียนการสอนและพนั ธกิจอ่ืน (A)

31

วงเงนิ รวม งบประมาณแผ่นดิน รายไดห้ นว่ ยงาน เงนิ กู้ อื่น ๆ
ในประเทศ ตา่ งประเทศ

30,787,436 27,614,600 3,172,836

8,936,100 8,840,000 96,100

4,457,700 4,457,700 -

3,000,000 3,000,000 -

2,150,000 2,000,000 150,000
361,000 - 361,000

4,600,836 2,290,100 2,310,736

7,281,800 7,026,800 255,000

21,200,148 12,062,700 9,137,448
30,000 30,000 -

3,970,000 1,691,900 2,278,100
50,000 - 50,000
290,000 - 290,000

แผนปฏบิ ตั ิราชการ

12) โครงการสนบั สนนุ DLTV (Digital Learning Thailand) เพอ่ื แกป้ ญั หา
ขาดแคลนครใู หก้ บั โรงเรียนขนาดเล็ก (C)
13) โครงการพฒั นาโรงเรยี นสาธติ ใหเ้ ปน็ ศูนย์ฝึกปฏบิ ตั ิการและการวจิ ัยเปน็ ต้นแบบ
ใหก้ ับโรงเรียนในทอ้ งถ่ิน (C)
14) โครงการจัดทาคลังข้อสอบวดั แววความเปน็ ครูของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั (C)
15) โครงการชมุ ชนการเรียนรู้แหง่ วชิ าชพี ของคณาจารยผ์ ู้สอนและนกั ศึกษาครู (A)
16) โครงการจดั ทา Platform เครือขา่ ยแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระหวา่ งบณั ฑิตครจู าก
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ที่เขา้ สู่วชิ าชพี (C)
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษา
17) โครงการปรบั ปรงุ หลักสูตรเดิมใหท้ นั สมัยและพฒั นาหลักสูตรใหม่ในรูปแบบ
สหวทิ ยาการ และตอบสนองการพฒั นาทอ้ งถน่ิ และผู้เรยี น (A)
18) โครงการพฒั นาความร่วมมือกบั เครือขา่ ยสถานประกอบการและ
องค์กรวชิ าชีพเพอ่ื จดั การเรยี นรู้ (C)
19) โครงการบรู ณาการองค์ความรูส้ ู่นวตั กรรมราชภฏั นครศรธี รรมราชเพื่อ
การพฒั นาเชงิ พืน้ ที่ (C)
20) โครงการมีการบรู ณาการการเรยี นการสอนกับการพฒั นานกั ศึกษาใหม้ ี
คุณลักษณะตามอัตลักษณ์บณั ฑิต 4 ประการ (A)
21) โครงการบม่ เพาะใหบ้ ณั ฑิตมีทกั ษะเปน็ ผู้ประกอบการรนุ่ ใหม่ ภายใต้บริบท
ของการพฒั นาทอ้ งถิ่นอยา่ งยง่ั ยนื (C)
22) โครงการพฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษ สาหรับนักศึกษา (พดู ฟงั อ่าน เขยี น)
ใหเ้ ปน็ ไปตามกรอบมาตรฐาน CEFR ที่กาหนด (A)
23) โครงการพฒั นาทกั ษะการสอนเพอื่ ค้นหาแนวปฏบิ ตั ิที่ดีในเรือ่ งการสอน (A)

32

วงเงนิ รวม งบประมาณแผ่นดนิ รายได้หน่วยงาน เงนิ กู้ อ่ืน ๆ
ในประเทศ ตา่ งประเทศ

832,600 832,600 -

15,942,548 9,508,200 6,434,348

- --
85,000 85,000

- --

69,150,276 14,310,700 54,839,576
220,500 112,400 108,100

65,000 45,000 20,000

3,463,000 - 3,463,000

44,308,666 4,161,900 40,146,766

25,000 22,000 3,000

4,213,550 3,626,000 587,550

9,659,400 25,000 9,634,400

แผนปฏบิ ตั ิราชการ

24) โครงการพฒั นาหอ้ งปฏบิ ตั ิการ อุปกรณก์ ารเรยี นรู้ (A) 74
25) โครงการพฒั นาศักยภาพผู้สอนใหเ้ ปน็ มืออาชีพ (A)
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 การพฒั นาระบบบรหิ ารจัดการ
26) โครงการเครอื ข่ายสัมพนั ธเ์ พือ่ การพฒั นาทอ้ งถิน่ (C)
27) โครงการพฒั นาเครือขา่ ยศิษย์เก่า เพอื่ ร่วมสร้างสรรค์มหาวทิ ยาลัย และสังคม
(พฒั นาระบบฐานข้อมูลศิษย์เก่าใหเ้ ปน็ ปจั จุบนั ) (A)
28) โครงการส่งเสริมสนบั สนนุ บคุ ลากรสู่ความเปน็ เลิศ (C)
29) โครงการพฒั นาระบบบรหิ ารจดั การมหาวทิ ยาลัยสู่ความเปน็ เลิศ (C)
30) โครงการพฒั นาสิ่งอานวยความสะดวก สภาพแวดล้อมและการจัดการเรียน
การสอนใหท้ นั สมัยอยา่ งต่อเนื่อง (C)
31) โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานและ
การพฒั นาฐานขอ้ มูลต่าง ๆ (A)
32) โครงการ “ราชภฏั โพลล์” (C)
33) โครงการสนบั สนนุ การดาเนนิ งานของหน่วยงานใหเ้ กดิ คุณธรรม และความโปรง่ ใส
มีประสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล (A)
34) โครงการบรหิ ารจัดการทรัพย์สินของมหาวทิ ยาลัย ใหเ้ กิดรายได้อย่างเปน็ ระบบ
(ขับเคล่ือนการดาเนนิ การแผนโครงการเชิงรกุ ในการจัดหารายได้อย่างเปน็ รปู ธรรม) (A)
รวม 34 โครงการ

33

วงเงนิ รวม งบประมาณแผ่นดิน รายไดห้ นว่ ยงาน เงนิ กู้ อ่ืน ๆ
ในประเทศ ตา่ งประเทศ

7,016,680 6,313,400 703,280

178,480 5,000 173,480

623,056,640 460,298,300 162,758,340

281,500 - 281,500

20,000 - 20,000

24,434,480 2,995,400 21,439,080
526,687,693 419,282,020 107,405,673
57,869,826 29,500,180 28,369,646

70,000 - 70,000

497,000 107,000 390,000
12,753,141 8,410,700 4,342,441

443,000 3,000 440,000

44,194,500 514,286,300 229,908,200

34

ภาคผนวก 1
ประวัตมิ หาวิทยาลัยราชภฏั นครศรธี รรมราช

“มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ” มีกาเนิดและพัฒนาจาก “โรงเรียนฝึกหัดครู
นครศรธี รรมราช” โดยเร่ิมแรกในปี พ.ศ. 2448 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการ
จดั ตัง้ “โรงเรียนฝึกหัดครูเมืองนครศรีธรรมราช” ขึ้น โดยใช้กุฏิของพระวัดท่าโพธ์ิเป็นสถานที่เรียน ต่อมาเมื่อวันที่
1 มกราคม พ.ศ. 2500 กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูนครศรีธรรมราช แต่เนื่องจาก
ก่อสร้างอาคารเรียนไม่ทัน จึงเปิดทาการสอนช่ัวคราวที่อาคารห้องสมุดประชาชน สนามหน้าเมือง จังหวัด
นครศรธี รรมราช และในปี พ.ศ. 2502 เปิดสอนจริงในสถานท่ีปัจจุบัน ซ่ึงตั้งอยู่บริเวณเชิงเขามหาชัย หมู่ท่ี 4 ตาบล
ท่าง้ิว อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช พ้ืนที่ประมาณ 300 ไร่ ห่างจากตัวเมืองนครศรีธรรมราช ไปทางทิศ
ตะวันตกตามถนน นคร - นบพิตา เป็นระยะทาง 13 กิโลเมตร ซ่ึงเป็นสถานท่ีท่ีพลเอกมังกร พรหมโยธี อดีต
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มาสารวจและตกลงใจที่จะจัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูข้ึนมาใหม่ในจังหวัด
นครศรีธรรมราช ก่อตั้งตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 9 มกราคม 2500 โดยพลเอกมังกร พรหมโยธี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในรัฐบาล จอมพล ป.พิบูลสงคราม ได้ใช้เปิดสอนคร้ังแรกเมื่อวันที่ 17
พฤษภาคม 2500 ด้วยหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) เปิดรับนักเรียนมัธยมปีที่ 6 จาก 6 จังหวัด
ภาคใต้ตอนบน ประกอบด้วย จังหวัดกระบ่ี พังงา ภูเก็ต ระนอง ชุมพร และนครศรีธรรมราช หลังจากเปิดสอนได้
12 ปี จึงได้รับการยกฐานะเป็น “วิทยาลัยครูนครศรีธรรมราช” ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการเม่ือวันที่ 13
กุมภาพันธ์ 2512 ดว้ ยหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.ช้ันสูง) ต่อมาสามารถเปิดสอนถึงระดับ
ปริญญาตรีตามพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2518 และพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พุทธศักราช 2538
ตามลาดบั

เม่อื วนั ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2535 ไดร้ ับพระราชทานชือ่ “ราชภัฏ” แทนคา “วิทยาลัยครู” พร้อม ๆ กับ
วิทยาลัยครูอื่น ๆ ทั่วประเทศ จากนั้นจึงได้รับการตราพระราชบัญญัติเพื่อกากับควบคุมดูแลและพัฒนาสถาบันข้ึน
ชือ่ ว่า “พระราชบัญญัติสถาบนั ราชภัฏ” เมือ่ พุทธศกั ราช 2538 ต่อมาได้มีการปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2547
ในช่ือ “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547” กาหนดให้มีฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาในสังกัด
กระทรวงศกึ ษาธิการทาหนา้ ทเ่ี ปน็ สถาบันอุดมศึกษาเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์ให้การศึกษาวิชาการและ
วิชาชีพชั้นสูงเปิดสอนในระดับปริญญา ทาการวิจัย ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงพัฒนาและถ่ายทอด
เทคโนโลยี ทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม ผลิตครูและส่งเสรมิ วทิ ยฐานะครู

ปัจจุบันสถาบันแห่งน้ีจึงมีฐานะเป็น “มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช” ปฏิบัติพันธกิจทาง
วิชาการ เช่นเดยี วกับมหาวิทยาลยั อ่ืน ๆ ในประเทศ สามารถเปิดสอนทั้งระดับปริญญาตรีจนถึงระดับปริญญาเอกได้
ควบคู่ไปกับพันธกิจด้านการวิจัย การบริการวิชาการ และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรมภายใต้ปรัชญา
“ประทปี ถิน่ ประเทืองไทย”

35

ภาคผนวก 2
สภาวการณป์ ัจจบุ นั

การวิเคราะห์ปัจจัยภายในและภายนอกใช้หลักการบนพื้นฐานของข้อมูลท่ีได้จากการประเมิน
ตนเองและโดยองค์กรตา่ งๆ เช่น จดุ เดน่ และโอกาสการพฒั นา รายงานการตรวจประเมินคุณภาพ ข้อเสนอแนะเพ่ือ
การพัฒนามหาวทิ ยาลยั วิเคราะหท์ ิศทาง สถานการณท์ เ่ี ปลีย่ นแปลงของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครศรีธรรมราช

สรุปผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสถาบนั (SWOT Analysis)
สภาพแวดล้อมภายในของสถาบัน ประกอบด้วย บุคลากร ผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษา

กระบวนการจัดการ หลักสูตรการเรียนการสอน สถานภาพทางการเงิน วัฒนธรรมองค์กร ความร่วมมือภายใน
สถาบนั และปัจจัยเกื้อหนุนพันธกจิ ตา่ ง ๆ

สภาพแวดล้อมภายนอกของสถาบัน ประกอบด้วย สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี
สภาพการแข่งขนั ด้านผรู้ บั บริการ และผู้ใช้บณั ฑิต

ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน สรปุ ได้ดงั นี้

1. ด้านผลติ บณั ฑติ

จุดแข็ง (S)
1. มหาวิทยาลัยมีคณะกรรมการวิชาการ ทั้งระดับคณะ และคณะกรรมการระดับมหาวิทยาลัยให้

คาปรกึ ษาในการดาเนินงานวิชาการ และงานท่เี ก่ยี วข้อง ทาให้งานวชิ าการมีการพัฒนา อย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ
มากข้นึ (SSR)

2. หลักสูตรให้ความสาคัญในการจัดการเรียนการสอนท่ีโดยมีการพัฒนาการอย่างต่อเน่ืองจากผล
การประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรและเริ่มใช้หลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ปี 2558 ของสานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ในทุกหลกั สตู ร (SSR)

3. มหาวทิ ยาลัยมีกระบวนการและกิจกรรมพัฒนานักศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายสามารถส่งผล
ตอ่ ความสาเรจ็ ตามอัตลักษณท์ ีม่ หาวทิ ยาลยั กาหนด คอื เป็นบัณทติ นักคิด นกั ปฏบิ ตั ิ มีจิตสาธารณะ (SAR)

4. มหาวิทยาลัยมีศาสตร์การเรียนการสอนที่มีความหลากหลาย ตอบสนองต่อกลุ่มเป้าหมายใน
ท้องถิ่นได้หลายกลุ่ม จึงเป็นส่วนหนึ่งท่ีทาให้สามารถตอบสนองงานพัฒนาท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมี
เครือขา่ ยท่สี นับสนนุ การผลติ บณั ฑติ ที่เขม้ แขง็ (พ)

5. หลักสูตรมีการทาบันทึกตกลงความร่วมมือ (MOU) กับสถานประกอบการและหน่วยงาน
ภายนอกเพ่ือพฒั นาศกั ยภาพและทักษะการทางานของนกั ศึกษาให้ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บัณฑติ (พ)

6. มหาวิทยาลยั สนับสนุนให้แต่ละคณะได้ดาเนินการนานักศึกษาลงพื้นที่เพื่อบูรณาการการเรียนรู้
หลังจากเรียนทฤษฎีหรือปฏิบัติการควบคู่ไปกับการเรียนทฤษฏี เพื่อส่งเสริมการพัฒนาทักษะและศักยภาพการ
เรียนรใู้ นพ้นื ท่ีจริง (พ)

36

จดุ ที่ควรพัฒนา (W)
1. มหาวทิ ยาลยั ยงั มีกลไกและมาตรการกากับ ติดตามที่ไม่เข้มงวดเท่าท่ีควร ในการให้ทุกหลักสูตร

ผา่ นเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพหลกั สูตร (SAR)
2. มาตรการเพมิ่ จานวนนกั ศึกษาของมหาวิทยาลยั ยังไม่มีประสทิ ธิภาพเท่าที่ควร (จานวนนักศึกษา

เตม็ เวลาเทยี บเท่าต่อจานวนอาจารย์ประจา (FTES) ) (SAR)
3. การสร้างความเข้มแข็งทางด้านภาษาอังกฤษเพ่ือการทางานให้กับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยยัง

ไมป่ ระสบความสาเร็จตามเป้าหมาย (SAR)
4. มหาวิทยาลัยมีมาตรการ กากับ ติดตาม ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาทักษะความสามารถด้าน

ภาษาอังกฤษและด้านคอมพวิ เตอรข์ องนกั ศึกษาไมต่ อ่ เน่ือง (SSR)
5. มหาวิทยาลัยยังไม่มีการยกระดับคุณภาพการผลิตครูให้มีคุณภาพระดับ Premium ตามกรอบ

ของการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่งทั่วประเทศ โดยการบูรณาการหลักสูตรแบบสห
วทิ ยาการ (SAR)

6. มหาวิทยาลัยยังขาดกระบวนการส่งเสริมการค้นหาแนวปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) ด้านการ
เรียนการสอนอยา่ งเปน็ ระบบท่ชี ดั เจน (พ)

โอกาส (O)
1. รัฐบาลประกาศยุทธศาสตร์ชาติ ไทยแลนด์ 4.0 โดยเน้นการใช้นวัตกรรมการศึกษาในการสร้าง

ชาติ (พ)
2. การกาหนดกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษาท่ีชัดเจนจากกระทรวง ครอบคลุมบทบาทหน้าที่ตาม

พ.ร.บ. ของสถาบนั อดุ มศกึ ษา (พ)

อุปสรรค (T)
1. การเปล่ียนแปลงของนโยบายทางการศกึ ษาของภาครฐั ที่มีการปรับเปลีย่ นอยบู่ ่อยครัง้ (พ)
2. ทางเลือกทางการศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาเพ่ิมข้นึ (พ)

37

2. ด้านวจิ ัยสรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรม

จุดแขง็ (S)
1. มหาวทิ ยาลัยมีระบบจงู ใจใหค้ ณาจารย์ สร้างผลงานทางวชิ าการอยา่ งต่อเนือ่ ง (SSR)
2. คณะผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั มีความมงุ่ มน่ั ในการสนับสนนุ การวจิ ยั อยา่ งจรงิ จงั (SSR)
3. แนวโน้มของการบรู ณาการงานวิจัยมีความชดั เจนและเปน็ รูปธรรมมากข้ึน
4. มหาวิทยาลัยมีนโยบายในการบูรณาการด้านศิลปะและวัฒนธรรมในการจัดการเรียนการสอน

การวจิ ัยและการบริการวชิ าการ (SSR)
5. มหาวิทยาลัยมผี ลงานทางวิชาการทีเ่ พ่มิ ขนึ้ อย่างต่อเนอ่ื ง (SAR)
6. มหาวิทยาลัยมีระบบกลไกท่ีชัดเจนและเข้มแข็งในการสนับสนุนการพัฒนางานวิจัยและ

นวัตกรรมสร้างสรรค์ รวมไปทัง้ ผลงานวิชาการใหเ้ กดิ ขึน้ อย่างต่อเน่อื ง (พ)
7. ผลงานวิจัยท่ีได้สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชุมชนท้องถ่ินได้อย่างแท้จริง ในมิติท่ีหลากหลาย

ท้งั ดา้ นการยกระดบั คุณภาพชีวติ การพฒั นาทกั ษะและศักยภาพ และการพัฒนาในเชิงโครงสรา้ ง (พ)
8. มหาวิทยาลัยมหี นว่ ยจัดการวิจัยเชิงพ้ืนท่ี ซ่ึงสามารถทางานร่วมกับพ้ืนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

และตอบสนองความต้องการของทอ้ งถน่ิ (พ)

จุดทค่ี วรพฒั นา (W)
1. การบรหิ ารข้อมูลสารสนเทศด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยยังไม่มีความต่อเน่ือง และเป็นระบบ

เทา่ ท่คี วร (SAR)
2. การนางานบรกิ ารวิชาการของมหาวิทยาลัยที่ประสบความสาเร็จไปขยายผลในเชิงพาณิชย์ เช่น

เขา้ โครงการ Startup ยังไม่เดน่ ชัดเทา่ ทค่ี วร (SAR)
3. มหาวทิ ยาลยั ควรมีการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการวิจัยของมหาวิทยาลัย ให้มีประสิทธิภาพ

และใชข้ อ้ มลู จากระบบสารสนเทศมาชว่ ยพฒั นาผลงานทางวิชาการของมหาวิทยาลยั อย่างคุ้มคา่ (SSR)
4. มหาวิทยาลัยมีการส่งเสริมการเผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรมในวารสารที่ Impact Factor

สูงขึ้นยงั ไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพเทา่ ท่คี วร (SAR)

โอกาส (O)
1. รัฐบาลประกาศยุทธศาสตร์ชาติ ไทยแลนด์ 4.0 โดยเน้นการใช้นวัตกรรมการศึกษาในการสร้าง

ชาติ (พ)

2. การกาหนดกรอบมาตรฐานการอุดมศึกษาที่ชัดเจนจากกระทรวง ครอบคลุมบทบาทหน้าท่ีตาม

พ.ร.บ. ของสถาบนั อุดมศกึ ษา (พ)

3. นโยบายจากกระทรวงท่ีส่งเสริมงานวิจัยและนวัตกรรมให้เป็นแกนหลักในการพัฒนาและ
ขับเคล่ือนประเทศ (พ)

อุปสรรค (T)
1. ลกั ษณะภูมิอากาศท่ีมคี วามแปรปรวน สง่ ผลใหเ้ กดิ อุปสรรคต่อการดาเนินงานวจิ ัยในเชงิ พน้ื ท่ี

ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ (พ)

38

3. ดา้ นการพัฒนาทอ้ งถิน่

จุดแขง็ (S)
1. มหาวิทยาลัยสนับสนุนให้แต่ละคณะสามารถบูรณาการศาสตร์การเรียนรู้ได้ตรงกับความ

ตอ้ งการของชุมชน ท้องถิ่น และสงั คม (SSR)
2. มหาวิทยาลัยมีการทาความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก (MOU) ด้านการบริการวิชาการ เกิด

เปน็ ความร่วมมือด้านการใหก้ ารบรกิ ารได้อยา่ งทว่ั ถงึ ตามความต้องการแตล่ ะพ้ืนท่ี (SSR)
3. มหาวิทยาลัยมีการจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้และการบริการวิชาการเพ่ือตอบสนองความความ

ต้องการของชมุ ชน ท้องถ่นิ และสงั คม (SSR)
4. มหาวิทยาลัยมีต้นทุนการทะนุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม ในการขับเคลื่อนพันธกิจของ

มหาวิทยาลัย (SSR)
5. มหาวิทยาลัยมีศูนย์ศิลปวัฒนธรรมเป็นหน่วยงานหลัก และเป็นท่ียอมรับในการสนับสนุนการ

ขับเคล่ือนงานศลิ ปะและวัฒนธรรม (SSR)
6. สถานท่ีต้ังของมหาวิทยาลัย อยู่ในพ้ืนที่พหุวัฒนธรรม ที่มีหลากหลายทางศิลปะและวัฒนธรรม

(SSR)
7. มหาวิทยาลัยมีโครงการสนองต่อโครงการตามพระบรมราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่ 10 รวมท้ังสนองโครงการพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
อย่างต่อเนือ่ ง (SAR)

8. มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจากหน่วยงานภายนอก ให้เป็นแกนนาของการจัดกิจกรรมด้าน
วฒั นธรรม (SAR)

จุดทคี่ วรพฒั นา (W)
1. มหาวทิ ยาลัยขาดการการจัดรูปแบบการบูรณาการดาเนินงานด้านการบริการวิชาการกับภารกิจ

อ่ืนๆ และการบูรณาการระหว่างหน่วยงานให้ชัดเจน ตลอดจนค้นหาแนวปฏิบัติที่ดี เพ่ือเป็นตัวขับเคล่ือนในการ
ดาเนินงานด้านน้ี (SSR)

2. มหาวิทยาลัยขาดการปรับปรุงภาระงานด้านบริการวิชาการแก่สังคมให้เป็นรูปธรรม และ
เทียบเคียงกับภารกิจด้านอน่ื ๆ ได้อย่างเป็นรปู ธรรม (SSR)

3. มหาวิทยาลัยยังไม่มีการสร้างต้นแบบทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะวัฒนธรรมพ้ืนบ้านนาสู่การ
เรยี นรทู้ ้งั ในระดับหลักสูตรต่าง ๆ และการเผยแพรส่ ู่ชมุ ชน (SSR)

4. มหาวิทยาลัยยังขาดการพัฒนาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
แบบออนไลน์ (MOOC) เพอ่ื ยกระดบั การพัฒนาระบบการจัดการศึกษาในการบริการวิชาการของโรงเรียนเป้าหมาย
เช่น โรงเรยี นตารวจตระเวนชายแดน เปน็ ตน้ (SAR)

5. มหาวทิ ยาลัยขาดการขับเคลอ่ื นระบบฐานข้อมูล ทะเบียนศิลปินพ้ืนบ้าน โนรา หนังตะลุง เพลง
บอก ให้เป็นรปู ธรรมและสะดวกตอ่ การสบื ค้น (SAR)

6. มหาวิทยาลัยยังไม่มีการประมวล สังเคราะห์ความรู้เก่ียวกับ “นครศรีธรรมราช” ให้มีความ
สมบูรณ์ จัดทาเปน็ ฐานขอ้ มลู เพอื่ ใชใ้ นการเรียนการสอนรายวิชานครศรีธรรมราชศึกษาและเผยแพร่สู่ระดับประเทศ
และสากล ผ่านส่อื Online (SAR)

โอกาส (O) 39

1. รฐั บาลประกาศยุทธศาสตร์ชาติ ไทยแลนด์ 4.0 โดยเน้นการใช้นวตั กรรมการศกึ ษาในการสร้างชาติ (พ)
2. มเี ครอื ขา่ ยศษิ ยเ์ ก่าท่ีอยใู่ นพน้ื ที่ให้บริการวิชาการ (พ)
3. ชุมชนพ้ืนทบ่ี ริการมีทรัพยากรที่อดุ มสมบรู ณ์ มคี วามพร้อมตอ่ การพัฒนา (พ)

อปุ สรรค (T)
ทัศนคติและการใหค้ วามรว่ มมือในการดาเนนิ การบริการวิชาการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ (พ)

40

4. ดา้ นการสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมือ
จุดแข็ง (S)

1. มหาวิทยาลัยมีนโยบายให้ทุกหน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วมในกิจกรรมด้านทะนุบารุงศิลปะ และ
วัฒนธรรมร่วมกนั (SSR)

2. มหาวิทยาลัยมีการทาบันทึกความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก (MOU) ด้านการบริการ
วชิ าการ เกดิ เป็นความร่วมมอื ดา้ นการให้การบริการไดอ้ ย่างท่วั ถึงตามความต้องการแตล่ ะพนื้ ที่ (พ)

จดุ ท่คี วรพฒั นา (W)
1. การติดตามความคืบหน้าการนาเสนอพระบรมธาตุสู่มรดกโลกของมหาวิทยาลัยยังไม่มีความ

ต่อเนอื่ ง (สภาฯ)
2. มหาวทิ ยาลัยขาดการรวบรวมระบบฐานข้อมูลดา้ นเครอื ขา่ ยภายนอกในการดาเนินงานตามพันธ

กิจด้านตา่ ง ๆ ในองค์กร

โอกาส (O)
1. หน่วยงานราชการในจังหวัดให้ความสาคัญและมีโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการทะนุบารุง

ศิลปวฒั นธรรมอยู่อย่างตอ่ เนือ่ ง (พ)
2. มีเครือขา่ ยศษิ ยเ์ กา่ อยู่ในองค์กรทง้ั ภาครัฐและเอกชนในพนื้ ที่ของมหาวทิ ยาลยั (พ)

อุปสรรค (T)
ทศั นคติและการใหค้ วามรว่ มมอื ในการดาเนินการสร้างเครือข่ายขององคก์ รภายนอก (พ)

41

5. ด้านการบรหิ ารจัดการ

จุดแขง็ (S)
1. บคุ ลากรมีการทางานเปน็ ทมี และมจี ิตสาธารณะ ปฏิบัตงิ านอย่างเตม็ ศกั ยภาพ (SSR)
2. มหาวิทยาลัยมีภูมิทัศน์ อาคาร สถานท่ี โสตทัศนูปกรณ์ ท่ีจะช่วยอานวยความสะดวกในการ

ทางานและการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น (SSR)
3. มรี ะบบการคัดเลือกบุคลากรตามเกณฑ์มาตรฐาน (SSR)
4. นโยบายการกระจายอานาจจากผู้บริหารของมหาวิทยาลัยทาให้การทางานมีประสิทธิภาพและ

รวดเรว็ ขึน้ (SSR)
5. มหาวิทยาลัยมีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ นโยบาย และแผนกลยุทธ์สู่การปฏิบัติท้ังระยะส้ัน

และระยะยาวอย่างสมบรู ณ์ (SAR)
6. มหาวิทยาลัยมีการสนบั สนุนการพฒั นาศักยภาพและสมรรถนะของบุคลากรอย่างต่อเนือ่ ง (พ)
7. มหาวิทยาลยั มีระบบการติดตามและการประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ ปน็ ไปตามพนั ธกิจและ

แผนปฏบิ ตั ิราชการอยา่ งเครง่ ครัด (พ)

จุดทีค่ วรพฒั นา (W)
1. มหาวิทยาลัยยังขาดการกาหนดคู่เปรียบเทียบ และประเด็นการเปรียบเทียบเพ่ือทาการ

Benchmarking ในประเดน็ การบริหารตา่ ง ๆ (EdPEx)
2. ระบบตดิ ตามอาจารยท์ ่ลี าศึกษาตอ่ ยงั มคี วามบกพร่องในบางส่วน ทาให้ติดตามข้อมูลได้อย่างไม่

สมบูรณ์ (EdPEx)
3. ระบบการรับฟังเสียงลูกค้าและวิธีการนาผลมาปรับปรุงการดาเนินการยังมีกระบวนการท่ีไม่

ชดั เจน (EdPEx)
4. มหาวิทยาลัยยังขาดการพัฒนาระบบการจัดเก็บเอกสารหลักฐานในรูปแบบออนไลน์หรือ

Intranet เพื่อให้บุคลากรที่เก่ียวข้องสามารถเข้าถึงเอกสารได้อย่างทั่วถึง (SAR)
5. มหาวิทยาลัยมีการจัดระบบบริหารแผน บริหารงานบุคคล ในลักษณะบูรณาการเช่ือมโยง

หน่วยงานให้การบรหิ ารเกดิ เอกภาพและเอือ้ อานวยต่อการปฏบิ ตั ิงานยงั ไม่มีประสิทธิภาพเท่าทคี่ วร (SSR)
6. มหาวทิ ยาลัยมรี ะบบการสารวจสภาพปัญหาส่ิงอานวยความสะดวกและสาธารณูปโภคในเชิงรุก

ค่อนขา้ งน้อย (SSR)
7. มหาวิทยาลยั ขาดการสร้างระบบการผลักดนั การเกดิ รายได้เขา้ องค์กรอย่างเปน็ รปู ธรรม (SSR)
8. มหาวิทยาลัยขาดการวิเคราะห์อัตรากาลังในปัจจุบัน แนวโน้มอัตรากาลังในอนาคต

วางแผนการได้มาอัตรากาลังทเ่ี หมาะสมและเพียงพอ รวมทั้งกาหนดภาระงาน ติดตามงานและประเมินผล ให้แต่ละ
คนทาแผนพฒั นาตนเอง ใหส้ อดคล้องกบั แผนพัฒนาบุคลากรของมหาวทิ ยาลัย (SAR)

9. มหาวิทยาลัยขาดการส่งเสริมความตระหนักในเร่ืองระบบการประกันคุณภาพให้เป็นส่วนหนึ่ง
ของวัฒนธรรมองค์กร โดยใช้แผนกลยุทธ์เป็นหลักในการบริหารจัดการและจัดระบบเติมข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน
ผู้บริหารทุกระดับควรมีส่วนร่วมในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง สามารถเข้าใจตัวบ่งชี้และเกณฑ์การ
ประเมนิ ทกุ ประเดน็ (SAR)

42

โอกาส (O)
1. กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏมีแผนยุทธศาสตร์กาหนดทิศทางการดาเนินงานท่ีชัดเจน และมีการ

กาหนดจดุ ยนื ให้มหาวทิ ยาลัยเป็นมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถน่ิ (พ)
2. มีเครือข่ายศษิ ย์เกา่ ท่สี นับสนุนการดาเนินงานของมหาวิทยาลัย (พ)
3. นโยบายภาครัฐการบรหิ ารองคก์ รในยุค 4.0 (E-Government) (พ)

อปุ สรรค (T)
นโยบายรัฐบาลมีการปรับเปลี่ยนอยู่บ่อยครั้ง ส่งผลต่อการวางแผนการดาเนินงานของมหาวทิ ยาลยั (พ)

43

ภาคผนวก 3
การแปลงแผนปฏบิ ตั ริ าชการสู่การปฏบิ ตั ิ

การแปลงแผนปฏิบัตริ าชการสู่การปฏิบตั ิ หมายถงึ การสือ่ สาร ถ่ายทอดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ไปสู่
ระดับคณะ สถาบัน/สานัก หน่วยงานปฏิบัติต่าง ๆ โดยกาหนดเป้าประสงค์และกลยุทธ์ทั้งในระดับมหาวิทยาลัย
คณะ สานกั สถาบัน ไปจนถงึ ระดับบุคคลทส่ี ามารถปฏิบัติได้จริง และมีความสอดคล้องเชื่อมโยงระหว่างกัน รวมทั้ง
มีความสมดุลระหว่างมติ ปิ ระสิทธิผล มิตคิ ณุ ภาพ มติ ิประสิทธิภาพ และมิติการพฒั นาองค์กร โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

1. หลักการ
การปฏิรูประบบราชการไทยเป็นความพยายามในการเปลี่ยนแปลงการบริหารของภาครัฐ โดยอาศัย

แนวคิดเกยี่ วกับการบรหิ ารงานภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management) โดยแนวคิดดังกล่าวต้องการให้มีการ
ปรับเปล่ียนกระบวนทัศน์และวิธีการบริหารภาครัฐโดยเปล่ียนมาเน้นถึงวัตถุประสงค์และสัมฤทธิ์ผลของการ
ดาเนินงาน ทั้งในแง่ของผลผลิต (Output) และผลผลัพธ์ (Outcome) และความคุ้มค่าของเงิน รวมท้ัง
การพัฒนาคณุ ภาพและสรา้ งความพึงพอใจใหแ้ ก่ประชาชนผู้รับบริการ โดยนาเอาเทคนิคการบริหารจัดการสมัยใหม่
เข้ามาประยุกตใ์ ช้ เช่น การวางแผนเชงิ กลยทุ ธ์ การวัดและการประเมินผลงาน การบรหิ ารคณุ ภาพโดยรวม เปน็ ต้น

เทคนิควิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ “การบริหารงานท่ีมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์” หรือ RBM (Results
Based Management) เปน็ การบูรณาการหรอื เชือ่ มโยงเรอื่ งของการวางแผนเชิงกลยุทธร์ ะบบการงบประมาณ และ
ระบบการวัดผลงานเขา้ ด้วยกันอย่างครบวงจร โดยกาหนดวัตถุประสงค์ขององค์กรและเป้าหมายของการปฏิบัติงาน
อย่างชัดเจนและสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยการจัดทาตัวช้ีวัดผลก ารดาเนินงานหลัก (Key
Performance Indicator) และเกณฑ์มาตรฐานไว้ลว่ งหน้า รวมทัง้ การใชป้ ระโยชน์ของข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับผล
การดาเนินงานในการปรับปรุงประสิทธิภาพ คุณภาพและประสิทธิภาพของการดาเนินงาน ในส่วนของระบบ
การงบประมาณ เป็นการเชื่อมโยงผลงานของหน่วยงานภาครัฐในแผนระดับยุทธศาสตร์กับคาของบประมาณ
กล่าวคือ ผลผลิตหลักในแผนยุทธศาสตร์กับเม็ดเงินงบประมาณจะต้องสอดรับกัน เรียกว่า การวางแผน
“การงบประมาณที่มุ่งเน้นผลงาน” หรือ PBB (Performance Based Budgeting) หน่วยงานภาครัฐจะต้องแสดง
ต้นทุนกิจกรรม (Activity Based Costing) และต้นทุนต่อหน่วย (Unit Cost) อันจะเป็นประโยชน์ในการปรับปรุง
ประสทิ ธิภาพการดาเนนิ งาน โดยสรุปแล้วกรอบการบรหิ ารยุทธศาสตรอ์ ยา่ งครบวงจร มี 5 ข้ันตอนดังนี้

1.1 การพัฒนายุทธศาสตร์ คือ การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตร์ โดยอาจใช้
เคร่ืองมือในการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่เป็นโอกาส อุปสรรค การวิเคราะห์ปัจจัยภายในดูจุดอ่อน จุดแข็งของ
องค์กร (SWOT Analysis) การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholder Analysis) ท้ังน้ี
ยุทธศาสตรต์ ้องสอดคลอ้ งกบั แผนการบรหิ ารราชการแผ่นดินและพันธกจิ ขององค์กร

1.2 การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ คือ การสื่อสาร ถ่ายทอด และแปลงยุทธศาสตร์ไปสู่
การปฏิบัติ โดยต้องกาหนดเป้าประสงคแ์ ละกลยทุ ธท์ งั้ ในระดับกระทรวง ทบวง กรม ไปจนถึงระดับบุคคลที่สามารถ
ปฏบิ ัติได้จรงิ และมคี วามสอดคล้องเชือ่ มโยงระหว่างกนั รวมทง้ั มีความสมดลุ ระหว่างมิตปิ ระสิทธิผล มิติคุณภาพ มิติ
ประสิทธิภาพ และมิติการพัฒนาองค์กรด้วย ซึ่งหน่วยงานอาจใช้ Balanced Scorecard และแผนท่ียุทธศาสตร์
(Strategy Map) ในการวางแผนและสือ่ สาร กลยทุ ธ์ได้


Click to View FlipBook Version