The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปเล่มสมาคมแม่บ้านทหารบก ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by icepiyanuch, 2021-11-08 02:22:11

รูปเล่มสมาคมแม่บ้านทหารบก ปี 2564

รูปเล่มสมาคมแม่บ้านทหารบก ปี 2564

สมาคมแม่บา้ นทหารบก
สาขา กรมกิจการพลเรือนทหารบก

ประจำปี ๒๕๖๔

รคู้ วามต้องการทางทหาร ชํานาญประสานพลเรอื น
Serve the Armed Forces,

Coordinate with Civilians Professionally.

พลโท
(นิรันดร ศรีคชา)

เจา้ กรมกิจการพลเรือนทหารบก

สมาคมแม่บา้ นทหารบก
สาขา กรมกจิ การพลเรือนทหารบก

Thai Army Wives Association,

Directorate of Civil Affairs Branch

... วิสยั ทัศน์ ...

มุ่งเนน้ ในการสร้างครอบครวั กําลงั พลให้มีความเข้มแขง็ พง่ึ พาตนเองได้
และสามารถบรหิ ารจัดการเศรษฐกิจภายในครอบครัวให้ดาํ รงชีวติ ได้
อย่างมีความสุขรวมท้ังดูแลบุตรธดิ าให้เป็นคนดีของสงั คม

... หลักการทํางานท่ีสาํ คญั ...

ใส่ใจดแู ลสมาชิกแมบ่ ้านทหารบกสาขากรมกิจการพลเรอื นทหารบก
ดว้ ยความรกั และบรหิ ารงานในสมาคมฯ ใหป้ ระสบความสาํ เรจ็
ตามวัตถุประสงค์

สารบญั

หน้า

- ประวัตสิ มาคมแม่บ้านทหารบก ๑

- นโยบายสมาคมแม่บา้ นทหารบก ๒

- โครงการหลักสมาคมแม่บา้ นทหารบก ๓ - ๑๐

- ระเบยี บกรมกจิ การพลเรอื นทหารบก ๑๑ - ๑๓

ว่าด้วยสมาคมแม่บ้านทหารบก

สาขา กรมกิจการพลเรอื นทหารบก พ.ศ. ๒๕๖๔

- คำส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสมาคมแม่บา้ นทหารบก ๑๔ – ๑๕
สาขา กรมกจิ การพลเรอื นทหารบก

- รายชอ่ื สมาชิกแม่บ้านทหารบก ๑๖
สาขา กรมกจิ การพลเรือนทหารบก

- ภาคผนวก ๑๗ - ๒๗

- ผังการจัดของสมาคมแม่บา้ นทหารบก ๒๘
สาขา กรมกจิ การพลเรือนทหารบก

ประวตั ิสมาคมแม่บา้ นทหารบก

สมาคมแม่บ้านทหารบก เดิมได้เร่ิมจัดต้ังเป็นชมรมแม่บ้าน
ทหารบก ต้ังแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๐๙ เพ่ือสนับสนุนการทํางานของ
เหล่าทหาร รวมถึงให้การดูแลช่วยเหลือครอบครัวของกําลังพล
ในด้านอาชีพเสริมและสวัสดิการต่างๆ ภายหลังจึงได้จดทะเบียน
เป็นสมาคมแม่บ้านทหารบก เมื่อวันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๑๙ โดยมี
คุณหญิงแสงเดือน ณ นคร ภริยา พลเอก เสริม ณ นคร ผู้บัญชาการ
ทหารบก เปน็ นายกสมาคมแมบ่ า้ นทหารบกท่านแรก

ต่อมานับเป็นพระกรณุ าคุณเป็นล้นพ้นอย่างหาท่สี ุดมิได้ ในโอกาสท่ี
พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ
ท ร ง พ ร ะ ก รุ ณ า รั บ เป็ น อ ง ค์ พ ร ะ อุ ป ถั ม ภ์ ส ม า ค ม แ ม่ บ้ า น ท ห า ร บ ก
เม่ือวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๒๒ ดังนั้น เพื่อน้อมรําลึกและสํานึกใน
พระกรุณาคุณ ตลอดจนเพ่ือเป็นเกียรติประวัติและเป็นสิริมงคล
อย่างย่ิง เหล่าสมาชิกแม่บ้านทหารบก จึงได้ยึดถือ วันท่ี ๓ สิงหาคม
ของทกุ ปี เป็นวันคลา้ ยวนั สถาปนาสมาคมแมบ่ ้านทหารบก เปน็ ต้นมา



นโยบายสมาคมแม่บา้ นทหารบก

๑. เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ด้วยการถวายพระเกียรติแด่
พระบรมวงศานุวงศ์ ในโอกาสต่างๆ

๒. สนับสนุนโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดํารติ ่างๆ
๓. ส่งเสริมให้ครอบครัวกําลังพลมีความเข้มแข็งสามารถดูแล
ครอบครวั ของตนเองได้
๔. ดูแลสวัสดิการของครอบครัวกําลังพล โดยเฉพาะบุตรท่ีมี
ความต้องการพิเศษและคู่สมรสท่ีทุพพลภาพ ให้ได้รับการดูแลอย่าง
ถูกต้อง มีคณุ ภาพชวี ิตดีขึน้
๕. ส่งเสริมให้ครอบครัวกําลังพลมีอาชีพเสริมเพ่ือเสริมรายได้ให้
ครอบครัว
๖. สง่ เสรมิ สนบั สนุนดา้ นการศกึ ษา (ทุนการศึกษาระดับปรญิ ญาตร)ี
๗. ส่งเสริมให้ครอบครัวกําลังพลเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย
อันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
๘. เน้นการดูแลให้ขวัญและกําลังใจแก่กําลังพลและครอบครัว
ทุกระดับ โดยยดึ หลักความรกั ความเมตตา
๙. กําหนดให้มีการทํางานอย่างเป็นระบบ โดยสมาคมแม่บ้าน
ทหารบก จะเป็นศูนย์กลางในการบริหารงานและให้แต่ละหน่วยขึ้น
ตรงเปน็ ผู้ขับเคลือ่ นใหโ้ ครงการต่างๆ บรรลเุ ปา้ หมาย



โครงการหลักสมาคมแมบ่ ้านทหารบก

๑. โครงการหว่ งใยบุตรที่มคี วามตอ้ งการพิเศษ
๒. โครงการปนั น้ำใจสคู่ ่สู มรสที่ทพุ พลภาพ
๓. โครงการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์และอาชีพเสริม / ปลดหนส้ี นิ ,

ลดรายจา่ ย, เพ่มิ รายได้
๔. โครงการบรหิ ารจดั การสง่ิ แวดล้อม
๕. โครงการศูนยก์ ารเรียนรู้
๖. โครงการศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เล็ก



๑. โครงการห่วงใยบุตรท่ีมีความตอ้ งการพเิ ศษ

หน่วยรบั ผดิ ชอบ สมาคมแม่บ้านทหารบก ร่วมกับกองทพั

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่ือให้ครอบครัวกําลังพลซ่ึงมีบุตรท่ีมีความต้องการพิเศษ ได้รับการช่วยเหลืออย่าง

เหมาะสม เป็นระบบและต่อเนอื่ ง
๒. เพื่อให้แนวทางการปฏิบัติของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในการดูแลครอบครัวกําลังพล

ซ่งึ มบี ุตรทีม่ ีความต้องการพเิ ศษ มคี วามชดั เจนและยง่ั ยนื

ตัวช้วี ัดความสำเร็จ
๑. บุตรท่ีมีความต้องการพิเศษมีคุณภาพท่ีดีขึ้น โดยสังเกตจากความเปล่ียนแปลงของ

สภาพรา่ งกายและจิตใจ
๒. ผลการประเมินความพึงพอใจของครอบครัวบุตรที่มีความต้องการพิเศษต่อการ

ดาํ เนินการของ ผู้เก่ียวขอ้ งร้อยละ ๘๐ อยู่ในระดบั ดี ถงึ ดมี าก
๓. ผลการดําเนนิ งานประจาํ ปบี รรลุตามวตั ถุประสงค์ รอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป
๔. ผู้เกยี่ วขอ้ งในการดแู ลบุตรท่มี ีความตอ้ งการพเิ ศษมกี ารประสานการปฏิบัติอยา่ งต่อเน่ือง

การประเมนิ ผล
๑. กรมแพทย์ทหารบกเป็นผู้ดําเนินงานหลักในการประเมินผลโครงการตามตัวช้ีวัด

เปน็ ราย ๖ เดือน และรายปี
๒. สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา รายงานผลการดําเนินงานให้สมาคมแม่บ้านทหารบก

ทราบ ปีละ ๒ ครั้ง ครั้งท่ี ๑ ภายในเดือนกรกฎาคม (ข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน) คร้ังที่ ๒
ภายในเดือน มกราคม (ข้อมลู เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม)

๓. สมาคมแม่บ้านทหารบกเดินทางไปตรวจเย่ียม และประเมินผลการดําเนินการตาม
โครงการฯ ในพื้นที่กองทัพภาคท่ี ๑ - ๔ ปีละ ๑ ครั้ง ติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินงาน
เพ่อื นาํ มาหาแนวทางแก้ไขและพัฒนาต่อไป

ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ
๑. บตุ รทม่ี คี วามต้องการพเิ ศษ ได้รบั การดูแลอยา่ งเหมาะสม และตอ่ เน่ือง
๒. บุตรทม่ี คี วามตอ้ งการพิเศษ มคี ณุ ภาพชีวิตทีด่ ีขึ้น
๓. กําลงั พลและครอบครัวคลายความกังวลในการดูแลบุตรท่ีมีความต้องการพเิ ศษทําให้มีขวัญ

และกาํ ลงั ใจดขี ้นึ



๒. โครงการปนั น้ำใจสคู่ ูส่ มรสทท่ี พุ พลภาพ

หนว่ ยรบั ผดิ ชอบ สมาคมแม่บ้านทหารบก รว่ มกบั กองทัพ

วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้คู่สมรสกําลังพลกองทัพบกท่ีทุพพลภาพ ได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างถูกต้อง

เหมาะสม เป็นระบบต่อเนอ่ื ง
๒. เพ่ือสร้างขวัญและกําลังใจให้กับกําลังพลกองทัพบก ในการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็ม

ประสิทธภิ าพ
๓. เพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการดูแลคู่สมรสกําลังพล

กองทพั บกทท่ี ุพพลภาพใหม้ คี วามชดั เจนต่อเนื่อง สม่ำเสมอ และย่ังยนื

ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ
๑. คู่สมรสกําลังพลกองทัพบกที่ทุพพลภาพ มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น โดยสังเกตจากการ

เปลี่ยนแปลงของสภาพร่างกายและจิตใจ
๒. ผลการประเมินความพึงพอใจของครอบครัวกําลังพลที่คู่สมรสทุพพลภาพต่อการ

ดําเนนิ การ ของผเู้ ก่ยี วขอ้ งรอ้ ยละ ๘๐ อยใู่ นระดับดี ถึง ดมี าก
๓. ผลการดําเนนิ งานประจาํ ปีบรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป
๔. ผู้เกี่ยวข้องในการดูแลคู่สมรสกําลังพลกองทัพบกท่ีทุพพลภาพมีการประสานการปฏิบัติ

อย่างตอ่ เนอ่ื ง

การประเมนิ ผล
๑. กรมแพทย์ทหารบกเป็นผู้ดําเนินงานหลักในการประเมินผลโครงการตามตัวช้ีวัด เป็น

ราย ๖ เดือน
๒. สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา รายงานผลการดําเนินงานให้สมาคมแม่บ้านทหารบก

ทราบ ปีละ ๒ ครั้ง ครั้งท่ี ๑ ภายในเดือนกรกฎาคม (ข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน) คร้ังที่ ๒
ภายในเดอื น มกราคม (ขอ้ มลู เดือนกรกฎาคม - ธนั วาคม)

๓. สมาคมแม่บ้านทหารบกเดินทางไปตรวจเยี่ยม และประเมินผลการดําเนินการตาม
โครงการฯ ในพื้นท่ีกองทัพภาคที่ ๑ - ๔ ปีละ ๑ ครั้ง ติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินงาน
เพ่ือนาํ มาหาแนวทางแกไ้ ขและพฒั นาต่อไป

ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั
๑. คสู่ มรสกําลงั พลกองทัพบกท่ีทุพพลภาพ ได้รบั การดูแลทีถ่ ูกตอ้ ง เหมาะสม และต่อเน่อื ง
๒. คสู่ มรสกาํ ลังพลกองทพั บกทท่ี พุ พลภาพ มีคุณภาพชวี ิตที่ดีขึน้
๓. กาํ ลงั พลกองทพั บก มีขวญั และกําลงั ใจดขี น้ึ ไม่ตอ้ งห่วงหนา้ พะวงหลัง



๓. โครงการพัฒนาผลติ ภัณฑแ์ ละอาชพี เสรมิ /ปลดหนีส้ นิ , ลดรายจา่ ย, เพ่มิ รายได้

หน่วยรับผดิ ชอบ สมาคมแมบ่ า้ นทหารบก ร่วมกับกองทพั

วัตถปุ ระสงค์
๑. เพือ่ ใหก้ าํ ลังพลและครอบครวั มีอาชีพเสรมิ เพ่ิมรายได้ ให้กบั ครอบครวั
๒. เพื่อสร้างค่านยิ มในการ ใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
๓. เพือ่ พัฒนาผลิตภัณฑ์ ของสมาชิกแม่บ้าน ใหม้ ีคณุ ภาพตรงกับความตอ้ งการตลาด
๔. เพอื่ ให้ระบบการบริหารจดั การโครงการมีความยง่ั ยนื

ตัวชวี้ ดั ความสำเรจ็
๑. กําลังพลและครอบครวั สามารถจําหนา่ ยผลติ ภณั ฑแ์ ละมรี ายได้เพิม่ มากขน้ึ
๒. กําลังพลและครอบครัว สามารถนําผลิตภัณฑ์ท่ีทําอยู่มาพัฒนา เพื่อให้ตรงต่อความ

ต้องการของผบู้ ริโภค
๓. ชอ่ งทางการตลาดในการกระจายสินค้าของกําลงั พลและครอบครัวเพ่มิ มากขนึ้
๔. มรี ะบบการบริหารจัดการภายในหน่วยทมี่ ่นั คง ยงั่ ยืน ท้ังดา้ นการผลิตและการตลาด

การประเมนิ ผล
๑. สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา รายงานผลการดําเนินงานให้สมาคมแม่บ้านทหารบก

ทราบ ปีละ ๒ คร้ัง คร้ังท่ี ๑ ภายในเดือนกรกฎาคม (ข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน) ครั้งท่ี ๒
ภายในเดอื น มกราคม (ขอ้ มลู เดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม)

๒. สมาคมแม่บ้านทหารบกเดินทางไปตรวจเยี่ยม และประเมินผลการดําเนินการตาม
โครงการฯ ในพ้ืนที่กองทัพภาคท่ี ๑ - ๔ ปีละ ๑ คร้ัง ติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินงาน
เพ่ือนํามาหา แนวทางแกไ้ ข และพัฒนาตอ่ ไป

ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
๑. กาํ ลังพล แม่บา้ น และครอบครวั ได้ใชเ้ วลาว่างร่วมกัน อันจะเป็นประโยชน์ต่อการสร้าง

ครอบครัว ท่อี บอุ่น พร้อมท้งั มรี ายได้เสรมิ จุนเจอื ครอบครัว
๒. สมาชิกแม่บ้านภายในหน่วยทหารสังกัดกองทัพบก เกิดความรัก ความสามัคคี จากการ

เข้ารว่ ม กจิ กรรมตามโครงการฯ สง่ ผลต่อความเข้มแขง็ ของภายในกลมุ่ แม่บา้ นฯ
๓. กําลังพลของหนว่ ย มีขวญั และกําลงั ใจที่ดี ในการปฏบิ ตั ภิ ารกจิ
๔. ชุมชนภายในหน่วยทหารของกองทัพบกมีความเข้มแข็ง และสามารถเป็นแบบอย่าง

ให้กับชุมชนอ่นื ๆ อันจะส่งผลต่อภาพลักษณเ์ ชงิ บวกของกองทัพบก



๔. โครงการบรหิ ารจัดการส่งิ แวดล้อม

หนว่ ยรับผดิ ชอบ สมาคมแม่บา้ นทหารบก รว่ มกับกองทัพ

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้กําลังพลของกองทัพบกและครอบครัว มีจิตสํานึกในการคัดแยกขยะ และรักษา

สิง่ แวดล้อม
๒. เพ่ือให้การจัดการสิ่งแวดล้อมภายในหน่วยทหารและชุมชนทหารของกองทัพบก

เปน็ ไปอยา่ งถูกต้อง ไมก่ อ่ ให้เกดิ ปัญหาหรือมลพิษ
๓. เพื่อเสริมสรา้ งความร่วมมือให้ชุมชนทหารของกองทัพบก เป็นแกนกลางขององคค์ วามรู้

ใน ด้านต่างๆ ทจ่ี ะขยายผลไปสู่ชุมชนอ่นื ๆ รอบหน่วยทหาร

ตวั ช้วี ัดความสำเร็จ
๑. กําลังพลของกองทัพบกและครอบครัวท่ีพักอาศัยภายในชุมชนทหาร เข้าร่วมกิจกรรม

ตามโครงการ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ ๗๐
๒. ปรมิ าณขยะมูลฝอย ภายในหน่วยทหารและชมุ ชนทหารของกองทัพบก ลดน้อยลง
๓. หน่วยทหาร และชุมชนทหารของกองทัพบก มีความสะอาดเรยี บร้อย และไม่มีปัญหามลพิษ
๔. มีการจดั ตง้ั ธนาคารขยะภายในหนว่ ยงาน และชมุ ชนทหารของกองทพั บกทุกหน่วย
๕. กําลังพลของกองทัพบก และครอบครัวที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ใน

ระดบั สูง

การประเมินผล
๑. สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา รายงานผลการดําเนินงานให้สมาคมแม่บ้านทหารบก

ทราบ ปีละ ๒ คร้ัง ครั้งท่ี ๑ ภายในเดือนกรกฎาคม (ข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน) ครั้งที่ ๒
ภายในเดอื น มกราคม (ข้อมูลเดอื นกรกฎาคม - ธนั วาคม)

๒. สมาคมแม่บ้านทหารบกเดินทางไปตรวจเยี่ยม และประเมินผลการดําเนินการตาม
โครงการฯ ในพ้ืนท่ีกองทัพภาคที่ ๑ - ๔ ปีละ ๑ คร้ัง ติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินงาน
เพอื่ นํามาหา แนวทางแกไ้ ข และพฒั นาต่อไป

ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ
๑. กําลังพลของกองทัพบกและครอบครัวที่พักอาศัยภายในชุมชนทหารตามตัวช้ีวัด

ความสาํ เร็จเขา้ ร่วมคัดแยกขยะ และไดร้ บั ประโยชน์ จากการดําเนนิ การอย่างเปน็ รปู ธรรม
๒. การจัดการส่งิ แวดล้อม ภายในหน่วยทหารและชมุ ชนทหารของกองทัพบกเป็นไปอยา่ ง

ถกู สุขลกั ษณะ และ ไม่ก่อให้เกดิ ปัญหามลพิษ



๓. สมาชิกภายในชุมชนทหารของกองทัพบก มีความรักความสามัคคีตอ่ กัน ส่งผลให้ชุมชน
มีความเข้มแข็ง

๔. หน่วยทหารและชุมชนทหารของกองทัพบก ก่อประโยชน์และเป็นที่พ่ึงของประชาชน
ตลอดจนชมุ ชนรอบหนว่ ยทหาร อนั ส่งผลตอ่ ภาพลักษณ์เชิงบวกของกองทัพบก

๕. โครงการศูนย์การเรียนรู้

หนว่ ยรบั ผดิ ชอบ สมาคมแมบ่ ้านทหารบก รว่ มกับกองทพั
วตั ถุประสงค์

๑. เพื่อเป็นสถานท่ีสําหรับการศึกษาหาความรู้ สืบค้นข้อมูล ข้อเท็จจริง จากหนังสือ
ส่ิงพิมพ์อ่ืนๆ ส่ืออิเล็กทรอนิกส์ ความรู้บนโลกออนไลน์ สําหรับกําลังพลและครอบครัว โดยไม่
กําหนดเพศ วยั และพื้นฐานการศึกษา สามารถศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง

๒. เพื่อเป็นสถานท่ีนันทนาการ และการพักผ่อนหย่อนใจ (Recreation) ทําให้ผู้ใช้
สามารถใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และปลูกสํานึกรักการอ่าน รู้จักอ่านหนังสืออย่างมี
วจิ ารณญาณ

๓. เพือ่ สรา้ งความรกั ความอบอนุ่ ของครอบครัวกําลังพล ชุมชน และครอบครัวทหารบก
ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็

๑. จํานวนกําลังพลและครอบครวั เข้ามาใช้บริการที่ศนู ยก์ ารเรยี นรเู้ พม่ิ มากขึ้น
๒. ศูนย์การเรียนรู้ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน หรือกิจกรรมการสร้างเสริมความรู้
ในทุกๆ ด้าน โดยกําลังพลและครอบครัวมสี ว่ นรว่ มในการบริหารจัดการ
๓. กาํ ลังพลและครอบครัว เข้าร่วมกิจกรรมตา่ งๆ เพม่ิ มากขึ้น
การประเมินผล
๑. สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา รายงานผลการดําเนินงานให้สมาคมแม่บ้านทหารบก
ทราบ ปีละ ๒ ครั้ง ครั้งท่ี ๑ ภายในเดือนกรกฎาคม (ข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน) คร้ังท่ี ๒
ภายในเดือน มกราคม (ขอ้ มลู เดอื นกรกฎาคม - ธนั วาคม)
๒. สมาคมแม่บ้านทหารบกเดินทางไปตรวจเยี่ยม และประเมินผลการดําเนินการตาม
โครงการฯ ในพ้ืนท่ีกองทัพภาคที่ ๑ - ๔ ปีละ ๑ ครั้ง ติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินงาน
เพ่อื นํามาหา แนวทางแกไ้ ข และพัฒนาตอ่ ไป



ผลทีค่ าดวา่ จะได้รบั
๑. กําลังพลและครอบครัว มีแหล่งเรียนรู้ เพื่อการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การค้นคว้า

ข้อมูล เพื่อการพฒั นาศักยภาพ ความบนั เทงิ ความผ่อนคลาย
๒. กําลังพลและครอบครัว ภายในหน่วยและชุมชนทหาร มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด ดูแล

ช่วยเหลือ ซ่ึงกันและกัน อันจะเป็นพื้นฐานสําคัญในการ สร้างความเข้มแข็งให้กับหน่วย และ
ชุมชน ต่อไป

๖. โครงการศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็

หน่วยรบั ผดิ ชอบ สมาคมแม่บ้านทหารบก ร่วมกับกองทพั

วตั ถปุ ระสงค์
๑. เพื่อให้บุตรก่อนวัยเรียนของกําลังพล ได้รับการดูแลที่ถูกสุขลักษณะ และได้รับการ

พัฒนาให้มี ความสมบรู ณ์พร้อม ท้ังด้านรา่ งกาย อารมณ์ สังคม และสติปญั ญา ตามศักยภาพของ
เด็กแต่ละคน

๒. เพ่ือเตรียมความพร้อมเด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สามารถเข้ารับการศึกษาระดับปฐมวัย
ได้อยา่ ง มคี ุณภาพ

๓. เพื่อส่งเสริมให้เด็กเป็นผู้มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และ กล้าแสดงออก
บนพื้นฐานลักษณะ นสิ ยั ท่ดี ี

๔. เพือ่ เปน็ สวัสดิการ ใหก้ ับกําลงั พลและครอบครวั ในการแบ่งเบาภาระการอบรมเลี้ยงดูบตุ ร
๕. เพื่อให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกองทัพบกมีการบริหารจัดการตามมาตรฐานของ
ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ ทส่ี มาคมแม่บ้านทหารบกกาํ หนด
๖. เพ่ือส่งเสริมให้หน่วยทหารของกองทัพบก เป็นแกนกลางของชุมชนและสังคมโดยรอบ
หน่วยทหาร

ตัวชว้ี ดั ความสำเร็จ
๑. เด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีพัฒนาการ และความพร้อมในทุกด้านแบบองค์รวม

สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้เหมาะสมกับวัย พร้อมที่จะเข้ารับการศึกษาในระดับปฐมวัยอย่างมี
คณุ ภาพ

๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการพัฒนา และผ่านเกณฑ์มาตรฐานศูนย์เด็กเล็ก ตามท่ีสมาคม
แมบ่ า้ น ทหารบกกาํ หนด

๓. กําลังพลและครอบครัว รวมถึงผู้ปกครองเด็กมีความพึงพอใจ และมีความเช่ือม่ันต่อ
ศนู ยพ์ ัฒนาเดก็ เล็กในระดับสงู ข้ึน



๔. มีการจัดกิจกรรมร่วมกันระหว่างทหารและชุมชนรอบค่ายทหารเพิ่มมากข้ึน โดยผ่าน
กิจกรรมของ ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็
การประเมนิ ผล

๑. สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา รายงานผลการดําเนินงานให้สมาคมแม่บ้านทหารบก
ทราบ ปีละ ๒ ครั้ง คร้ังท่ี ๑ ภายในเดือนกรกฎาคม (ข้อมูลเดือนมกราคม - มิถุนายน) ครั้งที่ ๒
ภายในเดอื น มกราคม (ข้อมูลเดอื นกรกฎาคม - ธันวาคม)

๒. สมาคมแม่บ้านทหารบกเดินทางไปตรวจเย่ียม และประเมินผลการดําเนินการตาม
โครงการฯ ในพื้นท่ีกองทัพภาคท่ี ๑ - ๔ ปีละ ๑ คร้ัง ติดตามความก้าวหน้าในการดําเนินงาน
เพอื่ นาํ มาหา แนวทางแก้ไข และพฒั นาตอ่ ไป
ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั

๑. บุตรหลานก่อนวัยเรียนของกําลังพลของกองทัพบกและครอบครัว ได้รับการดูแลอย่าง
ถกู ลกั ษณะ มพี ัฒนาการท่ดี ี และพร้อมทีจ่ ะเขา้ รับการศึกษาในระดบั ปฐมวัย อย่างมีคณุ ภาพ

๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของกองทัพบก มีการพัฒนา และยกระดับมาตรฐานให้อยู่ในเกณฑ์
ตามมาตรฐานของศูนยพ์ ฒั นาเด็กเลก็ ทสี่ มาคมแม่บ้านทหารบกกําหนดทีใ่ กล้เคียงกัน

๓. กาํ ลงั พลของหนว่ ย มีขวญั และกําลงั ใจท่ดี ี ในการปฏิบตั ภิ ารกิจ
๔. หน่วยทหารและชุมชนโดยรอบของหน่วย มีความสัมพันธ์ที่ดี และหน่วยทหารเป็นที่พึ่ง
ของประชาชน อันจะส่งผลต่อภาพลกั ษณเ์ ชิงบวกของกองทพั บก

๑๐

ระเบียบกรมกจิ การพลเรอื นทหารบก
วา่ ด้วยสมาคมแมบ่ ้านทหารบก สาขากรมกจิ การพลเรอื นทหารบก

พ.ศ. ๒๕๖๔

เพ่ือให้การสนับสนุนการดำเนินงานของสมาคมแม่บ้านทหารบก สาขากรมกิจการพลเรอื น
ทหารบก พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อยเหมาะสม จึงใหก้ ำหนดระเบยี บฯ ไวด้ งั ตอ่ ไปน.้ี -

ข้อ ๑ ระเบียบน้ีเรียกว่า ระเบียบกรมกิจการพลเรือนทหารบก ว่าด้วยสมาคมแม่บ้าน
ทหารบก สาขากรมกจิ การพลเรอื นทหารบก พ.ศ. ๒๕๖๔

ขอ้ ๒ ระเบยี บนีใ้ ห้ใช้บงั คบั ตัง้ แต่บัดนเ้ี ป็นตน้ ไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก ระเบียบกรมกิจการพลเรือนทหารบก ว่าด้วยสมาคมแม่บ้านทหารบก สาขา
กรมกจิ การพลเรือนทหารบก พ.ศ. ๒๕๖๒

ขอ้ ๔ ให้ หก.กธก.กร.ทบ. เป็นผู้รักษาการตามระเบยี บนี้
ขอ้ ๕ ในระเบยี บน้ี

๕.๑ สมาคมแม่บ้านทหารบก สาขากรมกิจการพลเรือนทหารบก ใช้คำย่อว่า
“สมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ.”

๕.๒ สมาชิกสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. หมายความถึง ภริยาโดยชอบด้วย
กฎหมายของขา้ ราชการทหารบกประจำการ ท่สี ังกดั กรมกิจการพลเรือนทหารบก

๕.๓ คณะกรรมการสมาคมแมบ่ ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. ประกอบด้วย
๕.๓.๑ ภรยิ า จก.กร.ทบ. เป็น ประธานสมาคมแมบ่ า้ น ทบ. สาขา กร.ทบ.
๕.๓.๒ รองประธานสมาคมแมบ่ า้ น ทบ. สาขา กร.ทบ.
๕.๓.๒.๑ ภรยิ า รอง จก.กร.ทบ. เปน็ รองประธานสมาคมฯ คนท่ี ๑
๕.๓.๒.๒ ภริยา ผู้อำนวยการสำนัก กร.ทบ. ซึ่งมีอาวุโสสูงกว่า

เป็น รองประธานสมาคมฯ คนท่ี ๒ และคนทม่ี ีอาวโุ สนอ้ ยกวา่ เป็น รองประธานสมาคมฯ คนที่ ๓
ตามลำดับ

๕.๓.๓ ภริยา รอง ผบ.รร.กร.กร.ทบ., ภริยา รองผู้อำนวยการสำนัก กร.ทบ.,
ภรยิ า ผอ.กอง กร.ทบ. และ ภรยิ า ผอ.กอง รร.กร.กร.ทบ. เปน็ กรรมการ

๕.๓.๔ หก.กธก.กร.ทบ. เป็น เลขานุการ และจัดเจ้าหน้าท่ีใน กธก.กร.ทบ.
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทด่ี งั น้ี.-

๕.๓.๔.๑ ผช.เลขานกุ าร จำนวน ๑ นาย (นายทหารชน้ั สัญญาบัตรหญิง)
๕.๓.๔.๒ เหรัญญิก จำนวน ๑ นาย
๕.๓.๔.๓ ผช.เหรัญญกิ จำนวน ๑ นาย

๑๑

๕.๓.๔.๔ เจ้าหนา้ ท่ปี ระสานงาน จำนวน ๒ นาย (นายทหารหญิง
อยา่ งนอ้ ย ๑ นาย)

๕.๔ ใหค้ ณะกรรมการสมาคมแม่บา้ น ทบ. สาขา กร.ทบ. จดั ใหม้ กี ารประชุม ดงั น้ี.-
๕.๔.๑ การประชุมใหญ่ ปีละ ๒ คร้ัง ในห้วง พ.ย. และ พ.ค. ของปี โดยต้องมี

สมาชกิ สมาคมแม่บา้ น ทบ. สาขา กร.ทบ. เข้ารว่ มประชมุ ไมน่ อ้ ยกว่าครึ่งหน่ึงของจำนวนสมาชิกฯ
๕.๔.๒ การประชุมท่ัวไป ให้จัดประชุมตามความเหมาะสม โดยต้องมีสมาชิก

สมาคมแมบ่ า้ น ทบ. สาขา กร.ทบ. เข้าร่วมประชมุ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑ ใน ๓ ของจำนวนสมาชิกฯ
ขอ้ ๖ วตั ถปุ ระสงคข์ องสมาคมแม่บา้ น ทบ. สาขา กร.ทบ.
๖.๑ สนบั สนุนกิจกรรมทเ่ี ทิดทนู สง่ เสริมสถาบันของชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๖.๒ ส่งเสริม แนะนำ ให้ครอบครัวของกำลังพลเพิ่มพูนรายได้ และใช้เวลาให้เป็น

ประโยชน์
๖.๓ บำรุงขวญั และช่วยเหลือครอบครวั ของกำลงั พล ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดี และเป็น

ธรรม เม่ือไดร้ ับความเดือดร้อน
๖.๔ สนับสนุนกิจกรรมอน่ื ๆ ตามความเหมาะสม
๖.๕ ไมเ่ ก่ยี วขอ้ งกับการเมืองและกจิ กรรมทางการเมอื ง

ข้อ ๗ การจัดสมาชิกสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ให้ยึดถือ
ดงั นี้.-

๗.๑ การจดั สมาชิกสมาคมแม่บา้ น ทบ. สาขา กร.ทบ. ร่วมกจิ กรรมหรอื งานราชพิธี
ให้จัดตามลำดบั ดงั น้.ี -

๗.๑.๑ ภริยา จก.กร.ทบ.
๗.๑.๒ ภรยิ า รอง จก.กร.ทบ.
๗.๑.๓ ภรยิ า ผูอ้ ำนวยการสำนกั กร.ทบ.
๗.๑.๔ ภรยิ า รอง ผบ.รร.กร.กร.ทบ. และ ภริยา รองผ้อู ำนวยการสำนัก กร.ทบ.
๗.๑.๕ ภรยิ า ผอ.กอง กร.ทบ. และ ภรยิ า ผอ.กอง รร.กร.กร.ทบ.
ข้อ ๘ การปฏบิ ัติของสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. ในการรบั -ส่งเสดจ็ ฯ
๘.๑ การจดั มาลัยขอ้ พระกร-สง่ิ ของสำหรบั ทูลเกล้าฯ ถวาย
๘.๑.๑ พานทองทรงรัฐธรรมนูญ ขนาดกว้าง ๘ นิ้ว ตรึงผ้าสูงเสมอปากพาน
ไมม่ ีผา้ คลุมห้อยป้าย
๘.๑.๒ กรณีถวายมาลัยข้อพระกร : ต้องจัดหามาลัยข้อพระกรที่มีลักษณะ
สวยงาม สมพระเกียรติ เมือ่ จะถวายฯ ใหถ้ อื พานโดยใหร้ ะย้าของมาลัยข้อพระกรอยดู่ ้านหนา้

๑๒

๘.๑.๓ กรณีถวายช่อดอกไม้ : ต้องจัดหาช่อดอกไม้ ท่ีมีลักษณะสวยงาม
สมพระเกียรติ ก้านช่อ ยาวไม่เกิน ๘ นิ้ว และต้องหุ้มปลายก้านให้มิดชิด วัสดุรองช่อดอกไม้
มีขนาดกว้าง รองรับช่อดอกไมท้ ั้งหมด และควรใช้ดอกกล้วยไม้ หรอื ดอกกุหลาบ ถ้าใช้ช่อดอกไม้
มีกล่ินแรง เช่น ดอกลิลลี่ ควรเด็ดเกสรออก เมื่อจะถวายฯ ให้ถือพานโดยให้ก้านช่ออยู่ทาง
ซ้ายมอื ของผถู้ วายฯ

๘.๒ ใหม้ กี ารจดั เตรยี มมาลัยข้อพระกรเสมอ ในทกุ ภารกจิ รบั -สง่ เสด็จ
๘.๓ ผู้ทมี่ หี นา้ ที่ถวายมาลัยขอ้ พระกร ใหเ้ ปน็ ไปตามลำดับ ดังน.้ี -

๘.๓.๑ ประธานสมาคมแมบ่ า้ น ทบ. สาขา กร.ทบ.
๘.๓.๒ รองประธานสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. คนที่ ๑
๘.๓.๓ รองประธานสมาคมแมบ่ า้ น ทบ. สาขา กร.ทบ. คนท่ี ๒
๘.๓.๔ รองประธานสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. คนท่ี ๓
ข้อ ๙ วิธีปฏิบัติในการถวายมาลัยข้อพระกร-ส่ิงของสำหรับทูลเกล้าฯ ถวาย และการแต่งกาย
ของ สมาชิกสมาคมแมบ่ า้ นทบ. สาขา กร.ทบ. ให้เป็นไปตามทา้ ยระเบียบนี้
๙.๑ กรณีภารกิจรับ-ส่ง เสด็จฯ : จัดสมาชิกฯ ๕ - ๗ คนเข้าร่วม หรือตามที่
กำหนดการไดร้ ะบุไว้
๙.๒ กรณีเข้าร่วมกิจกรรมในโอกาสอ่ืนๆ เช่น การลงนามถวายพระพร, กิจกรรม
จิตอาสา, รว่ มคณะผู้บังคับบัญชา กร.ทบ.ฯลฯ : จัดสมาชิกฯ เข้าร่วม ๕ - ๑๐ คน หรือตามความ
เหมาะสม
ข้อ ๑๐ ให้จัดต้ังกลุ่มในแอปพลิเคชัน Line ช่ือ “สมาคมแม่บ้าน กร.ทบ. ๒๕๖๔” หรือ
TAWA / DOCA 2564 เป็นช่องทางติดต่อส่ือสาร และประสานงาน ภายในสมาคมแม่บ้าน ทบ.
สาขา กร.ทบ. เพ่ือความสะดวกรวดเร็ว และเพิ่มประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสาร โดยสมาชิก
ในกลุ่มแอปพลิเคชนั Line ประกอบด้วยสมาชกิ แม่บ้าน กร.ทบ. ตามขอ้ ๕ และเจ้าหน้าที่ธุรการ
ตามขอ้ ๕.๓.๔ เท่าน้ัน

ประกาศ ณ วนั ที่ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔

พล.ท.
(นริ ันดร ศรคี ชา)

เจา้ กรมกิจการพลเรอื นทหารบก

๑๓

คำสงั่ กรมกจิ การพลเรอื นทหารบก
ท่ี ๓๑๙/๒๕๖๔

เรื่อง แตง่ ตั้งคณะกรรมการสมาคมแมบ่ า้ นทหารบก สาขา กรมกิจการพลเรือนทหารบก

เพ่ือให้การปฏิบัติงานของสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. เป็นไปด้วยความเรียบร้อย

เหมาะสม และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อกำลังพล ตลอดจนการขับเคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ตามนโยบายของสมาคม

แม่บา้ น ทบ. จึงแตง่ ต้ังคณะกรรมการสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ. และเจา้ หนา้ ท่ีประสานงาน ดงั นี้

๑. คณะกรรมการ

๑.๑ องค์ประกอบ

๑.๑.๑ ภริยา จก.กร.ทบ. ประธานสมาคมแม่บา้ น

๑.๑.๒ ภริยา รอง จก.กร.ทบ. รองประธานสมาคมแม่บา้ น (๑)

๑.๑.๓ ภริยา ผอ.สจว.กร.ทบ. รองประธานสมาคมแมบ่ า้ น (๒)

๑.๑.๔ ภรยิ า ผอ.สกร.กร.ทบ. รองประธานสมาคมแม่บ้าน (๓)

๑.๑.๕ ภรยิ า รอง ผบ.รร.กร.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๑.๖ ภรยิ า รอง ผอ.สกร.กร.ทบ. (๑) กรรมการ

๑.๑.๗ ภรยิ า รอง ผอ.สกร.กร.ทบ. (๒) กรรมการ

๑.๑.๘ ภรยิ า รอง ผอ.สจว.กร.ทบ. (๑) กรรมการ

๑.๑.๙ ภริยา รอง ผอ.สจว.กร.ทบ. (๒) กรรมการ

๑.๑.๑๐ ภริยา ผอ.กนผ.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๑.๑๑ ภรยิ า ผอ.กพน.สกร.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๑.๑๒ ภริยา ผอ.กบภ.สกร.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๑.๑๓ ภริยา ผอ.กกร.สกร.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๑.๑๔ ภรยิ า ผอ.กปส.สจว.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๑.๑๕ ภรยิ า ผอ.กศ.รร.กร.กร.ทบ. กรรมการ

๑.๒ หน้าท่ี รับผิดชอบบริหารงานของสมาคมแม่บ้านของหน่วย ให้เป็นไปด้วยความ
เรียบร้อย สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของสมาคมแม่บ้าน ทบ. ตลอดจนสนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรม
ของสมาคมแมบ่ า้ น ทบ. ตามทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจากประธานสมาคมแมบ่ า้ น ทบ.

๑๔

๒. ฝา่ ยประสานงานและสนบั สนนุ

๒.๑ องค์ประกอบ

๒.๑.๑ หก.กธก.กร.ทบ. เลขานกุ าร

๒.๑.๒ ร.อ.หญงิ สรุ รี ัตน์ รกั บางแหลม ผช.เลขานุการ และ เหรัญญิก

๒.๑.๓. ร.ท.หญิง อฑั ฒช์ ญานม์ าศ แย้มกระจ่าง ผช.เหรัญญกิ และ เจา้ หน้าท่ี

ประสานงาน

๒.๒ หน้าที่ ช่วยประสานงานระหว่างสมาคมแม่บ้าน ทบ. หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และ

งานด้านธุรการอื่นๆ ตลอดจนสนับสนุนกิจกรรมของสมาคมแม่บ้านฯ ตามที่ได้รับมอบหมายจาก

ประธานสมาคมแม่บ้าน ทบ. สาขา กร.ทบ.

ทงั้ นี้ ตัง้ แตบ่ ัดนเี้ ปน็ ตน้ ไป

ส่ัง ณ วันที่ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๔

พล.ท.

(นิรันดร ศรีคชา)
จก.กร.ทบ.

๑๕

รายช่อื สมาชิกแมบ่ ้านทหารบก
สาขา กรมกิจการพลเรอื นทหารบก

ลำดับ ชอ่ื - สกุล (สมาชิกแม่บ้าน) ตำแหนง่
ประธาน สม.ทบ.
1 คณุ ศิวะพร ศรคี ชา
สาขา กร.ทบ.
2 คณุ เนตรดาว สุตาสุข รองประธานฯ (1)
3 คุณ พจมาศ ชิตทว้ ม รองประธานฯ (2)
4 คุณ เสาวลักษณ์ เรอื งตระกลู รองประธานฯ (3)
5 คุณ ณัชชา วีรานุกูล จงวัฒนาไพศาล
6 พ.อ.หญิง เบญจพร แจ่มจิรารกั ษ์ กรรมการ
7 พ.ต.ท.หญิง นัทธม์ นต์ ชุวัสวัตพัทธ์ กรรมการ
8 คุณ ศริ ินารถ เอย่ี มแทน กรรมการ
9 พ.ต.หญิง ธญวรรณ ธีรรักษ์ ดรุ งคเ์ กือ้ กูล กรรมการ
10 คุณ สภุ าภรณ์ โนนดี กรรมการ
11 คณุ วรทั ยา ววิ ัฒน์อนนั ต์ กรรมการ
12 คณุ พชั ราภรณ์ ดษิ ยบุตร กรรมการ
13 คุณ พวงศริ ิ สุวรรณอมั พร กรรมการ
14 คณุ ภกั วดี สมบตั ศิ ริ ิ กรรมการ
15 คุณ โมรยา วิเศษศรี กรรมการ
กรรมการ

๑๖

ภาคผนวก

ผนวก ก เคร่ืองแบบสมาคมแม่บ้านทหารบก

- แบบที่ ๑ เคร่อื งแบบแมบ่ ้านชดุ ใหญ่

• ใชผ้ า้ สเี ขียวของสมาคมฯ ตัดแบบสูท
• ติดกระดุมสที อง เม็ดใหญ่ ๒ เมด็

และกระดุมสีทองเม็ดเลก็ ทีแ่ ขน ข้างละ ๒ เมด็
• มกี ระเป๋าปะ ๓ ใบ ประกอบด้วยกระเปา๋

ติดตราสมาคมฯ ท่ีหน้าด้านซา้ ย ๑ ใบ
และดา้ นลา่ งข้างละ ๑ ใบ

• ใชล้ ายผ้าตราสมาคมฯ • ใช้ผา้ สเี ขียวของสมาคมฯ
• คอปกฮาวาย สาบซ้อน (ซ่อนกระดมุ ) • มจี บี ทบ ๒ ข้าง ทง้ั ด้านหน้า และ
• แขนยาวแบบเชิ้ต
ด้านหลังลงมาปลอ่ ยเหนือเขา่
• กระโปรงยาวครึ่งน่อง

หมายเหตุ : ขณะสวมใส่ ปกเสือ้ ตัวในทบั บนปกเสอื้ สูท (ดงั ภาพ)
ส่วนประกอบเคร่อื งแบบ : ป้ายช่ือ, กระเป๋าถือแบบเรยี บสีดํา, รองเท้าหุ้มส้น แบบเรียบ มสี ้นสีดํา
สวมถงุ นอ่ งสเี นอ้ื

๑๗

- แบบท่ี ๒ เครอ่ื งแบบชุดซาฟารเี ขียว-กระโปรง

• ใชผ้ า้ สเี ขียวของสมาคมฯ
• ตดั แบบซาฟารี ปกเทเลอร์ แขนสัน้ เหนอื ศอก
• บา่ มอี นิ ทรธนู, มกี ระเปา๋ ปะ ๓ ใบ
• ดา้ นหลงั แยก ๓ เกลด็ , เกล็ดกลางผ่าซอ่ น

มีผา้ คาดระหว่างตะเขบ็ ซา้ ย-ขวา
ทาบผ่านเกล็ดกลาง ระดบั เอว
• ปลายผ้าคาดตดิ กระดมุ ข้างละ ๑ เม็ด
• กระดมุ หุ้มด้วยผา้ สีเดียวกบั เสือ้

• ใช้ผา้ สีเขยี วของสมาคมฯ
• มจี ีบทบ ๒ ขา้ ง ทง้ั ด้านหนา้

และด้านหลงั ตเี กล็ดจากเอว
ลงมาปลอ่ ยเหนอื เข่า
• กระโปรงยาวคร่ึงน่อง

สว่ นประกอบเคร่ืองแบบ : ป้ายชอื่ , กระเป๋าถอื แบบเรียบสีดํา หรือลายพราง, รองเท้าหุม้ ส้นแบบ
เรียบสีดาํ

๑๘

- แบบท่ี ๓ เครือ่ งแบบชุดซาฟารีเขียว-กางเกง

• ใชผ้ า้ สเี ขียวของสมาคมฯ
• ตดั แบบซาฟารี ปกเทเลอร์ แขนสนั้ เหนอื ศอก
• บา่ มีอนิ ทรธนู, มกี ระเปา๋ ปะ ๓ ใบ
• ดา้ นหลงั แยก ๓ เกล็ด, เกล็ดกลางผ่าซอ่ น

มผี า้ คาดระหวา่ งตะเข็บซา้ ย-ขวา
ทาบผ่านเกล็ดกลาง ระดับเอว
• ปลายผา้ คาดติดกระดุมข้างละ ๑ เมด็
• กระดมุ ห้มุ ดว้ ยผา้ สเี ดียวกับเสอ้ื
• เสอ้ื ที่ใส่กบั กางเกง ตอ้ งยาวคลมุ สะโพกล่าง

• ใชผ้ า้ สีเขยี วของสมาคมฯ
• ตดั ทรงหลวม ขาตรง
• ปลายขากวา้ ง ๘ - ๑๐ นิว้
• ความยาวขากางเกงปิดตาตุ่ม

ส่วนประกอบเคร่ืองแบบ : ป้ายชื่อ, กระเป๋าถือแบบเรียบสีดํา หรือลายพราง, รองเท้าหุ้มส้น
แบบเรียบ มสี น้ สีดาํ

๑๙

- แบบที่ ๔ เครือ่ งแบบชดุ ซาฟารลี าย-กระโปรง

• ใชผ้ า้ ลายของสมาคมฯ
• ตดั แบบซาฟารี ปกเทเลอร์ แขนสนั้ เหนอื ศอก
• ใช้กระดมุ ตราปม๊ั สมาคมฯ ๔ เมด็
• รังดมุ ใชผ้ า้ สีเขียว
• ผ้าขลบิ เขียว ขนาดกว้าง ๑ ซม.

ขลิบปก แขนกระเปา๋ ตามแบบ
• กระเป๋าปะด้านลา่ ง ข้างละ ๑ ใบ

• ใชผ้ ้าสีเขียวของสมาคมฯ
• มจี บี ทบ ๒ ข้าง ท้งั ด้านหน้า

และด้านหลงั ลงมาปล่อยเหนือเขา่
• กระโปรงยาวคร่ึงน่อง

ส่วนประกอบเครื่องแบบ : ป้ายช่ือ, กระเป๋าถือแบบเรียบสีดํา หรือลายพราง, รองเท้าหุ้มส้น
แบบเรียบ มสี น้ สีดํา

๒๐

- แบบท่ี ๕ เคร่อื งแบบชดุ ซาฟารีลาย-กางเกง

• ใชผ้ า้ ลายของสมาคมฯ
• ตัดแบบซาฟารี ปกเทเลอร์

แขนส้นั เหนอื ศอก
• ใชก้ ระดุมตราปัม๊ สมาคมฯ

๔ เม็ด
• รังดุมใช้ผ้าสีเขียว
• ผ้าขลิบเขียว ขนาดกวา้ ง ๑ ซม.

ขลบิ ปก แขนกระเปา๋ ตามแบบ
• กระเป๋าปะดา้ นลา่ ง ขา้ งละ ๑ ใบ
• เส้ือทใ่ี ส่กบั กางเกง ต้องยาวคลุมสะโพกล่าง

• ใชผ้ ้าสเี ขยี วของสมาคมฯ
• ตดั ทรงหลวม ขาตรง
• ปลายขากวา้ ง ๘ - ๑๐ น้วิ
• ความยาวกางเกงปิดตาตมุ่

ส่วนประกอบเครื่องแบบ : ป้ายชื่อ, กระเป๋าถือแบบเรียบสีดํา หรือลายพราง, รองเท้าหุ้มส้น
แบบเรยี บ มีส้น สดี าํ

๒๑

ผนวก ข วาระการแตง่ กายเคร่ืองแบบแม่บ้านทหารบก

๑. เคร่อื งแบบแมบ่ า้ นชุดใหญ่
๑.๑ ใช้ในกรณีท่ีเกี่ยวข้องกับภารกิจของพระราชวงศ์ทุกพระองค์ ทั้งกรณีการเข้าเฝ้า

การรับ-ส่งเสด็จ โดยอาจยกเว้นการตามเสด็จในพื้นท่ีทุรกันดาร สามารถสวมเคร่ืองแบบแม่บ้าน
ชุดซาฟารีเขียว-กางเกงแทนได้ ท้งั นี้ให้พิจารณาตามความเหมาะสมของภารกิจ เพ่ือเปน็ การน้อมเกล้า
นอ้ มกระหม่อมถวายพระเกียรติยศสูงสดุ ทกุ พระองค์

๑.๒ ใช้ในกรณีร่วมงานพิธีกับฝ่ายชาย ท่ีฝ่ายชายแต่งกายชุดเครื่องแบบปกติขาว หรือ
เคร่อื งแบบ ปกตกิ ากแี กมเขยี วคอแบะ หรอื ชุดท่สี ูงกว่า
๒. เครื่องแบบชุดซาฟารีเขียว-กระโปรง

๒.๑ ใชใ้ นกรณรี ว่ มงานพธิ ีตา่ งๆ ของหนว่ ย เช่น งานวนั สถาปนาหนว่ ย
๒.๒ ใช้ในกรณีงานท่ีเกี่ยวข้องกับสมาคมแม่บ้านทหารบก เช่น งานรับ-ส่งหน้าที่ประธาน
สมาคม แมบ่ า้ นทหารบก สาขา หรอื การเยี่ยมหน่วย
๒.๓ ใชใ้ นกรณีการประชุม/สมั มนาที่เกี่ยวข้องกบั สมาคมแมบ่ ้านทหารบก
๒.๔ ใช้ในกรณีการร่วมงานท่ีได้รับเชิญจากหน่วยงานภายนอก ในนามสมาคมแม่บ้าน
ทหารบก
๒.๕ ใช้ในกรณีร่วมงานพิธีกับฝ่ายชาย ที่ฝ่ายชายแต่งกายชุดเคร่ืองแบบปกติกากีแกมเขียวคอพับ
แขนยาว หรอื ชดุ ท่ตี ่ำกวา่
๓. เครอื่ งแบบชุดซาฟารเี ขียว-กางเกง
๓.๑ ใช้ในกรณีเดียวกับเคร่อื งแบบชดุ ซาฟารเี ขียว-กระโปรง โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
ของภารกิจ ทีป่ ฏิบัตทิ ีเ่ ป็นการเดนิ ทางปฏิบัติงานในพนื้ ที่ เชน่ การเดนิ ทางเยย่ี มหน่วย
๓.๒ ใช้แทนชุดเครื่องแบบแม่บ้านชุดใหญ่ ในกรณีตามเสด็จในพื้นท่ีทุรกันดาร เพ่ือให้เกิด
ความคลอ่ งตวั ในการตามเสด็จ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม
๔. เครอื่ งแบบชดุ ซาฟารีลาย-กระโปรง
๔.๑ ใช้ในกรณีเดียวกับเครื่องแบบชุดซาฟารีเขียว-กระโปรง โดยพิจารณาตามความ
เหมาะสม
๔.๒ ใช้ในกรณีทเี่ ปน็ คณะรบั การเยี่ยมหนว่ ย
๕. เคร่ืองแบบชุดซาฟารีลาย-กางเกง
๕.๑ ใชใ้ นกรณเี ดยี วกับเครอื่ งแบบชุดซาฟารีลาย-กระโปรง โดยพจิ ารณาตามความเหมาะสม
ของภารกจิ ที่ ปฏิบตั ิ ท่เี ปน็ การเดนิ ทางปฏิบตั งิ านในพนื้ ที่ เชน่ เปน็ คณะรบั การเย่ยี มหน่วย

๒๒

ผนวก ค การแตง่ กายดว้ ยเครือ่ งแบบแม่บ้านทหารบกทถ่ี กู ต้อง

๑. การประดับป้ายชื่อ
- ให้ประดับป้ายช่ือท่อี กเสือ้ ดา้ นขวา

๒. การประดับเข็มตราสัญลักษณข์ องสมาคมแมบ่ ้านทหารบก
- ให้ประดับท่มี ุมปกเสอื้ ดา้ นลา่ งซ้าย
- สมาชกิ แม่บ้านทหารบกที่คู่สมรสมีชั้นยศพลตรี ประดบั เข็มสีทองแดง
- สมาชกิ แมบ่ า้ นทหารบกทคี่ ู่สมรสมีชน้ั ยศพลโท ประดบั เขม็ สีเงิน
- สมาชิกแมบ่ า้ นทหารบกที่ค่สู มรสมชี น้ั ยศพลเอก ประดับเข็มสที อง

๓. การประดบั เข็มเครอ่ื งหมายพระราชทาน
- ให้ประดบั บรเิ วณอกเสือ้ ด้านซ้าย

๔. การประดับเคร่อื งหมายแสดงความสามารถหรือเขม็ ที่ระลึก
- ให้ประดับเคร่ืองหมายแสดงความสามารถหรือเข็มที่ระลึกของหน่วยงานต่างๆ ท่ีได้

ให้ถูกต้องตามทหี่ น่วยกาํ หนด เมือ่ ต้องเขา้ รว่ มพธิ ขี องหนว่ ยงานนั้นๆ
๕. ทรงผม

- จัดแต่งทรงผมใหด้ ูเรียบร้อยและสวยงาม
- ถา้ ผมยาวถึงบา่ ตอ้ งรวบเก็บ หรอื เกล้าให้เรียบรอ้ ย
- ในกรณีท่จี ําเปน็ ต้องใชท้ ่คี าดผม ใหใ้ ชท้ ีค่ าดผมขนาดเล็ก แบบเรียบ สดี าํ
๖. เครอ่ื งประดบั
- ควรประดับเทา่ ทจ่ี ําเปน็ โดยใชแ้ บบเรียบรอ้ ย ต่างหูควรใช้แบบติดหู
๗. กระเป๋าถอื
- ถ้าแต่งกายด้วยเครอ่ื งแบบแม่บา้ นชุดใหญ่ ใช้กระเปา๋ ถอื แบบเรียบ สดี ําเท่านัน้
- ถ้าแตง่ กายด้วยเคร่ืองแบบชดุ อ่ืนๆ ใช้กระเป๋าถอื แบบเรยี บ สดี ํา หรอื ลายพราง
๘. รองเทา้
- ใช้รองเท้าหมุ้ สน้ แบบเรยี บ มสี น้ สดี ํา
หมายเหตุ - ถา้ แตง่ กายด้วยเครอื่ งแบบแม่บ้านชดุ ใหญ่ ตอ้ งสวมถงุ น่องสดี าํ

การแต่งกายด้วยชุดสภุ าพ
๑. ใหใ้ ช้ชดุ กระโปรงเทา่ น้นั ใชช้ ดุ กางเกงเฉพาะเมอ่ื ส่งั โดยความยาวกระโปรงต้องคลมุ เขา่
๒. เสื้อเปน็ แบบมแี ขน คอเสอื้ มดิ ชดิ
๓. เครอ่ื งประดบั ควรประดบั เท่าทจี่ ําเปน็ โดยใชแ้ บบเรยี บรอ้ ย

๒๓

ผนวก ง การปฏบิ ัตใิ นการรับ-ส่งเสด็จ

- การจัดมาลัยข้อพระกร-ส่งิ ของ ทจ่ี ะทูลเกลา้ ฯ ถวาย
พานทองทรงรฐั ธรรมนญู ขนาดกว้าง ๘ นว้ิ
ตรึงผ้าสงู เสมอปากพาน ไม่มผี ้าคลุมห้อยชาย

มาลยั ขอ้ พระกร สวยงาม สมพระเกียรติ
ขณะถวาย ถอื พานให้ระย้าอยู่ด้านหน้า

ชอ่ ดอกไม้ สวยงาม สมพระเกียรติ
ขณะถวาย ให้ก้านช่ออยูท่ างซ้ายมือ
ของผถู้ วาย

๒๔

- การถวายมาลยั ข้อพระกร

- ผทู้ ูลเกลา้ ฯ ถวาย (หรอื ผถู้ วาย) - ผู้รว่ มรับเสด็จ อยใู่ นแถวให้เรียบรอ้ ย

ถอื พานมาลยั ขอ้ พระกร โดยใหร้ ะยา้ อยู่ด้านหนา้

- เมื่อเสดจ็ พระราชดําเนิน (หรอื เสด็จ) มาถงึ หนา้ ผ้ทู ูลเกล้าฯ ถวาย (หรือผูถ้ วาย) ใหผ้ รู้ ว่ มรบั
เสด็จทุกคนถวาย ความเคารพ ดว้ ยการถอนสายบวั โดยพร้อมเพรียงกนั
- การถอนสายบวั ให้เท้าขวาเป็นหลัก ชกั เท้าซ้ายไปด้านหลังของเท้าขวาทีย่ ืนอยู่ ย่อตวั ใหต้ ่ำลง
ช้าๆ แตอ่ ย่าให้ ถงึ พ้นื ขณะทช่ี กั เทา้ ซา้ ย ใหย้ กมือท้ังสองขา้ งขน้ึ วางประสานกันบนหน้าขา
เหนอื เข่า โดยใช้มอื ขวาทบั มือซ้าย (โดยหงายมือซ้ายและคว่ำมอื ขวาลง) คอ้ มตัวเลก็ น้อย
ทอดสายตาลง เสรจ็ แลว้ ยืนตรง มือแนบขา้ งลําตัว

๒๕

- การถวายมาลยั ขอ้ พระกร (ตอ่ )
ผทู้ ลู เกล้าฯ ถวาย (หรอื ผถู้ วาย) มาลัยข้อพระกร
ควรก้าวออกมาข้างหน้า ๑ ก้าว และย่อเข่าข้างถนัดเร่ีย
พื้นข้างหนึ่ง เพอ่ื ทลู เกล้าฯ ถวาย (หรอื ถวาย)

สว่ นผู้รับเสด็จ ยนื อยู่ในทา่ ตรง และสํารวม

๒๖

- การถวายมาลัยข้อพระกร (ตอ่ )

- เม่อื ทลู เกลา้ ฯ ถวาย (หรอื ถวาย) เสร็จแลว้ ใหผ้ ทู้ ที่ ลู เกลา้ ฯ ถวาย (หรอื ถวาย) ถอยหลัง
กลบั เข้าไปยนื ในตาํ แหนง่ เดิม เผอื่ มพี ระราชปฏิสนั ถาร (หรอื พระปฏิสนั ถาร) ด้วย แตห่ ากเสดจ็
พระราชดาํ เนนิ (หรอื เสด็จ) ผา่ นไป ใหถ้ วายความเคารพพร้อมกนั อีกครัง้
- ยนื รอสง่ เสด็จจนลบั สายตา แลว้ ถวายความเคารพ ด้วยการถอนสายบัว

หมายเหตุ : การทูลเกลา้ ฯ ถวาย (หรอื ถวาย) มาลัยข้อพระกร ข้างต้น สามารถใชไ้ ดก้ ับ
การทูลเกลา้ ฯ ถวาย (หรือถวาย) ชอ่ ดอกไม้ หรอื สิ่งของ

๒๗

ผงั การจัดของสมาคมแม่บ้านทหารบก
สาขา กรมกิจการพลเรือนทหารบก

ประธานสมาคมแมบ่ า้ น ทบ.
สาขา กร.ทบ.

รองประธานสมาคมฯ

กรรมการฯ เลขานุการ เหรญั ญกิ เจา้ หนา้ ท่ี
ประสานงาน
หก.กธก.กร.ทบ. ผชู้ ว่ ยเหรญั ญกิ
( ๒ นาย )
ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร
นายทหารหญงิ
นายทหารชน้ั สญั ญาบตั รหญงิ
อยา่ งนอ้ ย ๑ นาย

สมาชกิ ฯ

๒๘


Click to View FlipBook Version