The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง เป็นการศึกษาและกำหนดระเบียบวิธีรูปแบบทดลองปฏิบัติแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) เพื่อพัฒนางานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจให้มีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง พัฒนา
การปฏิบัติงานเพื่อประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่และลดภาระงานของพนักงานสอบสวน เพื่อให้หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนผู้รับบริการจาก
งานสอบสวนมีความพึงพอใจจากการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาอนุมัติกำหนดตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภูธรภาค 1 – 9
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ และประเมินผลการดำเนินโครงการทดลองในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่างานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจมีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง การประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
มีความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนได้รับการสนับสนุน ลดภาระงานลง หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนผู้รับบริการจากงานสอบสวนมีความพึงพอใจจากการปฏิบัติหน้าที่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Look Yos, 2022-08-19 00:27:49

รายงานผลการประเมินโครงการ ทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง

โครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง เป็นการศึกษาและกำหนดระเบียบวิธีรูปแบบทดลองปฏิบัติแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) เพื่อพัฒนางานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจให้มีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง พัฒนา
การปฏิบัติงานเพื่อประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่และลดภาระงานของพนักงานสอบสวน เพื่อให้หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนผู้รับบริการจาก
งานสอบสวนมีความพึงพอใจจากการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาอนุมัติกำหนดตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภูธรภาค 1 – 9
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ และประเมินผลการดำเนินโครงการทดลองในครั้งนี้ ผลการศึกษาพบว่างานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจมีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง การประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
มีความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนได้รับการสนับสนุน ลดภาระงานลง หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนผู้รับบริการจากงานสอบสวนมีความพึงพอใจจากการปฏิบัติหน้าที่

รายงานผลการประเมินโครงการ
ทดลองปฏิบัติจริงของสว่ นสนบั สนุนงานสอบสวน

ในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง

สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ
พ.ศ. 2565

คำนำ

โครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง
เป็นการศึกษาและกำหนดระเบียบวิธีรูปแบบทดลองปฏิบัติแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design)
เพื่อพัฒนางานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจให้มีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง พัฒนา
การปฏิบัติงานเพื่อประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติหน้าทีแ่ ละลดภาระงานของพนักงานสอบสวน เพื่อให้หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้า
งานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประชาชนผู้รับบริการจาก
งานสอบสวนมีความพึงพอใจจากการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาอนุมัติกำหนด
ตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีตำรวจใ นสังกัดกองบัญชาการ
ตำรวจนครบาลและตำรวจภูธรภาค 1 – 9

สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้ดำเนินการตามขั้นตอนต่าง ๆ และประเมินผลการดำเนิน
โครงการทดลองในครง้ั น้ี ผลการศึกษาพบวา่ งานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจมีประสิทธภิ าพ ข้อมูลครบถ้วน
และถูกต้อง การประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
มีความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ การปฏิบัติหน้าท่ีของพนักงานสอบสวนได้รับการสนับสนุน ลดภาระงานลง
หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
ประชาชนผูร้ บั บริการจากงานสอบสวนมคี วามพงึ พอใจจากการปฏบิ ัตหิ น้าที่

ท้ังน้ี ขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีทุกระดับชนั้ ทกุ หนว่ ยงาน รวมท้งั กลมุ่ เปา้ หมาย ได้แก่ ข้าราชการ
ตำรวจ และประชาชน ที่ให้ความร่วมมืออย่างดียิ่ง จนทำให้โครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจทดลองสำเร็จลุลว่ งไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ

สารบญั

หนา้

ส่วนที่ 1 บทนำ

หลักการและเหตุผล 1

วตั ถุประสงค์ 2

แนวทางการดำเนินการ 3

แนวทางการทดลองปฏบิ ตั ิหน้าที่จริง 4

การประเมินผล 6

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั 6

สว่ นที่ 2 ระเบียบวิธใี นการประเมนิ ผล

กลมุ่ สถานีตำรวจทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ 7

ระเบยี บวธิ ีประเมนิ ผล 9

การประมวลผลและวิเคราะหข์ อ้ มูล 11

ขนาดของกลมุ่ ตวั อย่างประชากรผ้ตู อบแบบสอบถาม 11

ภาพถ่ายการดำเนนิ โครงการทดลองปฏิบตั ิจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน 12

ในลกั ษณะสถานีตำรวจทดลอง

สว่ นที่ 3 ผลการประเมินโครงการ

การประเมนิ ก่อนและหลังการทดลองของสถานตี ำรวจทดลอง เปรียบเทยี บกบั 17

สถานตี ำรวจควบคุม

ผลการประเมินส่งิ ป้อนเขา้ (input) และการถอดบทเรยี นจากการปฏบิ ตั ิ 33

การประเมินความพึงพอใจของประชาชนผรู้ บั บริการงานสอบสวน 38

สว่ นท่ี 4 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ

สรุปผล 41

ข้อเสนอแนะ 45

ภาคผนวก

โครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจ 47

ทดลอง

คณะทำงานโครงการ 84

สว่ นที่ 1

บทนำ

1.1 หลักการและเหตุผล
งานสอบสวนในสถานีตำรวจมีรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติที่กระทบต่อความรู้สึก

ของประชาชน ซึ่งจะสะท้อนระดับความพึงพอใจต่อการปฏิบัติตามอำนาจหน้าทีข่ องสำนกั งานตำรวจแห่งชาติ
งานสอบสวนเป็นหนึ่งในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักของสถานีตำรวจ อันถือเป็นต้นธารของกระบวนการ
ยุติธรรม โดยมีพนักงานสอบสวนเป็นผู้ขับเคลื่อนอำนวยความยุตธิ รรมให้เกิดแก่ประชาชน แต่ด้วยสภาพสังคม
เศรษฐกิจ และเทคโนโลยีที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนำความเจริญมาสู่ประเทศแล้ว ยังเป็นปัจจัย
ก่อให้เกิดอาชญากรรมมากขึ้น ส่งผลต่อความผาสุกของประชาชน กระทบต่อความปลอดภัยในชีวิต ร่างกาย
ทรัพย์สิน สิทธิ หรือเสรีภาพของประชาชนเป็นวงกว้าง เป็นผลโดยตรงต่อปริมาณงาน ภาระหน้าท่ี
ความรับผิดชอบของพนักงานสอบสวนที่ต้องบรรเทาความเดือดร้อนให้เพิ่มสูงขึ้นด้วย ปริมาณงานที่มากและ
มีความซับซ้อนมากขึ้น ทำให้พนักงานสอบสวนต้องรับภาระงานเป็นจำนวนมากในการให้บริการประชาชน
อีกทั้ง การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนต้องรับผิดชอบการรวบรวมพยานหลักฐานในทุกขั้นตอน
ด้วยตนเอง เจ้าหน้าที่อื่นที่ต้องปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวข้องกับงานสอบสวนหรือสนับสนุนการปฏิบัติของ
พนักงานสอบสวนยังมีอยู่อย่างจำกัด การจัดโครงสร้างยังไม่เอื้อต่อลักษณะงานและความเปลี่ยนแปลงของ
สภาพงานอันเนื่องมาจากกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการอำนวยความยุติธรรมให้แก่
ประชาชน

นอกจากนี้ งานสารบบทางคดีของสถานีตำรวจ ยังมีข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานในการจัดเก็บ
เอกสารทางคดี เช่น สำเนาสำนวนการสอบสวน สารบบหมายจับและการถอนหมายจับ การควบคุมสารบบ
การอายัดและถอนอายัดตัวผู้ต้องหา คำสั่งของพนักงานอัยการสั่งสอบสวนเพิ่มเติม การตรวจสอบและบันทึก
ผลการดำเนินคดีชั้นพนักงานอัยการและศาล เป็นต้น งานดังกล่าวยังไม่เป็นระบบ ขาดความต่อเนื่อง
เมื่อพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบ ได้รับการแต่งตั้งโยกย้ายไปดำรงตำแหน่งอื่น หรือเมื่อระยะเวลาผ่านไป
เป็นเวลานาน หากมีการจับกุมผตู้ ้องหาได้ภายหลัง หรือมขี า้ ราชการตำรวจหน่วยงานอื่นขอตรวจสอบข้อมลู ต่าง ๆ
เช่น หมายจับ การอายัดตัวผู้ต้องหา ผลการดำเนินคดี เป็นต้น ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลหรือค้นหาสำเนา
สำนวนการสอบสวนเพื่อดำเนินการต่อไปได้ ประกอบกับสมาคมพนักงานสอบสวนมีหนังสือที่ สพส.
ที่ 180/2561 ลงวันที่ 29 ตุลาคม 2561 เสนอให้มีการปรับปรุงและพัฒนางานสอบสวน โดยให้ยกฐานะ
งานธุรการคดีของสถานีตำรวจให้มีผู้รับผิดชอบเป็นระดับสารวัตร เนื่องจากเห็นว่างานอำนวยการด้านการสอบสวน
มีความสำคัญอย่างมาก เช่น สารบบการเก็บและจำหน่ายของกลาง สารบบการอายัดหรือถอนอายัดผู้ต้องหา
ซึง่ หากไม่เป็นระเบียบหรือข้อมูลไมเ่ ปน็ ปัจจุบันอาจถูกร้องเรียนหรือมีปัญหาในการปฏิบัติได้ พร้อมกับได้เสนอ
รูปแบบโครงสร้างงานอำนวยการสอบสวนของสถานีตำรวจระดับต่าง ๆ มาเพื่อให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
พิจารณา ด้วยเหตุผลและความจำเปน็ ดังกล่าว จึงควรปรับปรุงระบบงานสนับสนุนงานสอบสวน ทั้งงานด้านการ
บรหิ ารและการประสานงานทางคดี การสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของพนกั งานสอบสวน

สำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีบันทึกลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2564 ท้ายหนังสือสำนักงาน
กำลังพลที่ 0009.13/3000 ลงวันที่ 29 เมษายน 2564 กำหนดส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในโครงสร้าง
สถานีตำรวจ พร้อมกับได้เสนอ อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคล พิจารณาเกี่ยวกับการกำหนดตำแหน่งข้าราชการ
ตำรวจเพื่อทำหน้าที่ในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล

2

และตำรวจภูธรภาค 1 – 9 เพื่อให้มีผู้ช่วยเหลืองานในขั้นตอนต่าง ๆ ที่พนักงานสอบสวนต้องรับผิดชอบ
ไดอ้ ย่างเป็นระบบ ลดขอ้ ผิดพลาดในการปฏิบัตงิ านสอบสวนและการบริหารงานสอบสวนของสถานีตำรวจ รวมทั้ง
เป็นการแบ่งเบาภาระงานให้พนักงานสอบสวนสามารถปฏิบัติหน้าที่ด้านการสอบสวนคดีได้อย่างเต็มที่ ซึ่งจะยัง
ประโยชน์และอำนวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชน สร้างภาพลักษณ์ให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติเป็นที่น่าเชื่อถือ
ศรัทธา เป็นที่พึ่งของประชาชนได้อย่างแท้จริง และบรรลุตามยุทธศาสตร์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 20 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเพิ่มศักยภาพในการบังคับใชก้ ฎหมาย การอำนวยความยุติธรรม
ทางอาญา และการใหบ้ ริการประชาชนอย่างเสมอภาคเป็นธรรม

อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคลในการประชุมครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม
2564 มีมติและข้อสังเกตโดยให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติทบทวนการกำหนดตำแหน่งข้าราชการตำรวจ
โดยพิจารณาดำเนินการทดลองปฏิบัติจริงในลักษณะของสถานีตำรวจทดลอง และนำผลการทดลองมานำเสนอ
อีกครั้ง และตอ่ มาสำนักงานตำรวจแห่งชาตมิ ีบันทึกลงวันที่ 29 กนั ยายน 2564 ทา้ ยหนงั สอื สำนกั งานกำลังพลที่
0009.13/6544 ลงวันที่ 28 กันยายน 2564 อนุมัติหลักการให้มีการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในสถานีตำรวจในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง เพื่อนำผลการทดลองมาประกอบการพิจารณาเสนอ
อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคล เพื่ออนุมัติกำหนดตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่ส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ให้กบั สถานีตำรวจในสังกดั กองบัญชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภูธรภาค 1 – 9

1.2 วตั ถุประสงค์
1.2.1 เพื่อพัฒนางานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจให้มีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและ

ถกู ต้อง
1.2.2 พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและ

ภายนอกสำนกั งานตำรวจแห่งชาติ
1.2.3 เพอ่ื สนับสนนุ การปฏบิ ัตหิ นา้ ทีแ่ ละลดภาระงานของพนักงานสอบสวน
1.2.4 เพื่อให้หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวน

ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
1.2.5 ประชาชนผ้รู ับบรกิ ารจากงานสอบสวนมคี วามพงึ พอใจจากการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่

1.3 แนวทางการดำเนนิ การ
1.3.1 กำหนดให้มี “ส่วนสนับสนุนงานสอบสวน” เป็นกลุ่มตำแหน่งในโครงสร้างของ

สถานีตำรวจ โดยให้มีหัวหน้างานสอบสวนเป็นผู้ควบคมุ กำกับดูแลการปฏิบัติ และให้ส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
มหี นา้ ทร่ี ับผิดชอบงานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจรวมทั้งการปฏบิ ัตหิ น้าที่ในข้ันตอนต่าง ๆ ของงานสอบสวน
ในภาพรวมของสถานีตำรวจและสนับสนุนการปฏบิ ัติหนา้ ที่ของพนักงานสอบสวน มโี ครงสรา้ ง ดงั น้ี

3

สถานตี ำรวจ

งานอำนวยการ งานป้องกนั ปราบปราม งานจราจร งานสืบสวน งานสอบสวน

หวั หนา้ งานสอบสวน

รอง ผกก.(สอบสวน) ส่วนสนับสนุน
สว.(สอบสวน) งานสอบสวน

รอง สว.(สอบสวน)

กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานสอบสวน ในส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน แบ่งเป็น 6 กลมุ่ ได้แก่ 1) การบรหิ ารทางคดแี ละการสอบสวน 2) การประสานงานเพื่อบังคับใช้
กฎหมาย 3) งานเทคโนโลยีสารสนเทศ 4) การรับ-ส่งตัวผู้ต้องหา 5) การสนับสนุนเวรสอบสวน และ
6) การสนับสนุนการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม โดยมีรายละเอียดของหน้าที่และความรับผิดชอบ
ตามภาคผนวก

1.3.2 สว่ นสนับสนุนงานสอบสวน มีโครงสรา้ งภายใน ดงั น้ี
1) ข้าราชการตำรวจ ที่ทำหน้าที่หัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวน กำหนดเกณฑ์

การวิเคราะห์และกำหนดตำแหน่ง สถานีตำรวจที่มีปริมาณคดีที่ทำสำนวน 301 คดี/ปี ขึ้นไป และหัวหน้า
สถานีตำรวจเป็นผู้กำกับการ กำหนดตำแหน่งหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวนเป็นระดับสารวัตร
สถานตี ำรวจท่ีมปี ริมาณคดีทท่ี ำสำนวน 300 คดี/ปลี งมาและหัวหนา้ สถานีตำรวจเป็นผู้กำกับการ หรือหัวหน้า
สถานีตำรวจเป็นสารวัตรใหญ่ กำหนดตำแหน่งหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวนเป็นระดับรองสารวัตร
ส่วนสถานีตำรวจที่มีหัวหน้าสถานีเป็นสารวัตร ไม่กำหนดตำแหน่งเพิ่ม โดยให้มอบหมายข้าราชการตำรวจ
ระดับผู้บังคับหมู่ – รองสารวัตร ในงานสอบสวน ที่มีความเหมาะสมทำหน้าที่หัวหน้าส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน

2) ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานสอบสวน กำหนดเกณฑ์การวิเคราะห์และกำหนด
ตำแหน่งตามตาราง ดงั น้ี

จำนวนตำแหน่งทก่ี ำหนดแยกตามกลุ่มงาน

ปรมิ าณคด/ี ปี กลุ่มงาน รวม
(ตำแหน่ง)
0-500 การบริหาร ประสานงาน เทคโนโลยี รับ-ส่ง สนบั สนุนเวรสอบสวน
ทางคดี ผู้ต้องหา ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 6
501-1,000 7
1,001-1,500 1 1 2 ตามจำนวน รอง 2 10
1,501 ข้นึ ไป 11 สารวัตร (สอบสวน) 11
1 2 2 นาย มีผู้ปฏิบัตงิ าน 2
21 1 2 1 นาย 4

3 1 12 4

4

1.3.3 อำนาจหนา้ ที่ของหัวหนา้ สว่ นสนบั สนุนงานสอบสวน
1) วางแผน อำนวยการ สง่ั การ ควบคมุ กำกับดูแลมอบหมายงานใหผ้ ู้ปฏิบัติงานส่วน

สนบั สนุนงานสอบสวน
2) สอบสวนเพิ่มเติมตามคำสั่งของพนักงานอัยการ สอบสวนเพิ่มเติมกรณี

ออกหมายจับไว้และจบั กุมได้ภายหลัง หรือสอบสวนคดอี ืน่ ตามท่หี ัวหน้างานสอบสวนหรอื หวั หนา้ สถานีตำรวจ
มอบหมาย

3) สอบสวนแก้ไขปัญหาสำนวนค้างหรือช่วยสะสางสำนวนตามที่หัวหน้างานสอบสวน
หรือหวั หน้าสถานตี ำรวจมอบหมาย

4) ปฏิบตั หิ นา้ ที่อ่นื ตามท่ผี บู้ งั คบั บัญชามอบหมาย
1.3.4 อำนาจหน้าท่ีของผู้บังคับหมู่ – รองสารวัตร ผู้ปฏิบัติหน้าที่งานสอบสวน รับผิดชอบ
งานใน 6 กลุ่มงาน รายละเอียดตามภาคผนวก ทั้งนี้ ข้าราชการตำรวจแต่ละนายรับผิดชอบปฏิบัติงานตามที่
หวั หนา้ สว่ นสนบั สนุนแบ่งมอบหมาย ไดแ้ ก่

1) งานบรหิ ารทางคดีและการสอบสวน
2) งานประสานงานเพือ่ บงั คับใช้กฎหมาย
3) งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
4) งานรบั –สง่ ตัวผตู้ ้องหา
5) งานสนับสนุนเวรสอบสวน
6) งานสนบั สนุนการป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม
1.3.5 คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่หัวหน้าส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน (ทำหน้าทีส่ อบสวน (หัวหนา้ งานคดี))
1) ตำแหนง่ สารวตั ร ตอ้ งเป็นผูด้ ำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหนง่ สารวัตรทำหน้าที่
สอบสวน รวมกันแล้วไมน่ ้อยกวา่ 2 ปี ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งจะตอ่ เน่อื งหรอื ไม่ก็ได้
2) ตำแหน่งรองสารวัตร ต้องเป็นผูด้ ำรงตำแหนง่ หรือเคยดำรงตำแหน่ง รองสารวัตร
ทำหน้าทส่ี อบสวน รวมกนั แล้วไมน่ อ้ ยกวา่ 4 ปี ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งจะตอ่ เน่ืองหรือไม่ก็ได้

1.4 แนวทางการทดลองปฏิบัติหน้าที่จริง

การทดลองครั้งนี้จะทำการทดลองครอบคลุมทั่วประเทศ ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล
และตำรวจภูธรภาค 1 – 9 โดยคดั เลอื กสถานตี ำรวจทดลอง ดงั นี้

1.4.1 กองบญั ชาการตำรวจนครบาล พจิ ารณาคัดเลือกสถานีตำรวจในเขตพ้ืนที่กรุงเทพมหานคร
ดา้ นทิศเหนือ (กองบงั คบั การตำรวจนครบาล 1 – 4) จำนวน 1 สถานตี ำรวจ พน้ื ท่ีกรงุ เทพมหานครด้านทิศใต้
(กองบังคับการตำรวจนครบาล 5 – 6) จำนวน 1 สถานีตำรวจ และพื้นที่กรุงเทพมหานครด้านธนบุรี
(กองบังคบั การตำรวจนครบาล 7 – 9) จำนวน 1 สถานีตำรวจ รวมสถานตี ำรวจทดลองจำนวน 3 สถานีตำรวจ

1.4.2 ตำรวจภูธรภาค 1 – 9 พิจารณาคัดเลือกสถานีตำรวจในสังกัด ตำรวจภูธรภาคละ
2 สถานีตำรวจ คือ สถานีตำรวจภูธรขนาดใหญ่ที่มีปริมาณคดี 301 คดี/ปี ขึ้นไป จำนวน 1 สถานีตำรวจ และ
สถานีตำรวจภูธรขนาดเล็กที่มีปริมาณคดี 300 คดี/ปี ลงมา จำนวน 1 สถานีตำรวจ รวมสถานีตำรวจทดลอง
จำนวน 18 สถานีตำรวจ

ปริมาณคดีคำนวนจากคดีอาญา-จราจร ที่ทำสำนวนการสอบสวน คิดเป็น 1 คดี
คดใี นอำนาจศาลแขวงท่ีฟ้องวาจา 4 คดี คิดเป็น 1 คดี เฉลี่ย 3 ปี

รวมสถานตี ำรวจทดลองทค่ี ัดเลอื ก จำนวนทั้งสิน้ 21 สถานตี ำรวจ

5

1.4.3 กำหนดสถานีตำรวจควบคุม จำนวน 21 สถานีตำรวจ ในกองบัญชาการตำรวจนครบาล
และตำรวจภูธรภาค 1 – 9 เพื่อเปรียบเทียบการปฏิบัติงานกับสถานีตำรวจทดลอง โดยพิจารณาคัดเลือก
สถานีตำรวจควบคมุ ที่มีลักษณะคล้ายคลงึ กับสถานตี ำรวจทดลอง ในดา้ นตา่ ง ๆ คือ ปรมิ าณคดี รวมถึงประเภท
หรือลักษณะคดีส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้น ขนาดพื้นที่ ประชากร (รวมประชากรแฝง) ความเจริญของพื้นที่ จำนวน
ข้าราชการตำรวจ จำนวนพนักงานสอบสวน จำนวนเจ้าหน้าที่ในงานสอบสวน (ก่อนการทดลอง) ปัจจัยอื่น
ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การปฏิบตั ิงานสอบสวน

หน่วย ประเภทสถานตี ำรวจ สถานีตำรวจ สถานี
กองบัญชาการตำรวจนครบาล ทดลอง ตำรวจ
กองบังคับการตำรวจนครบาล 1 – 4 ควบคุม
ตำรวจภูธรภาค 1 – 9 กองบังคบั การตำรวจนครบาล 5 – 6 1
กองบังคับการตำรวจนครบาล 7 – 9 1 1
คดที ำสำนวน มากกวา่ 300 คด/ี ปี 1 1
9 1
คดีทำสำนวน 300 คด/ี ปีลงมา 9 9
รวม 21 9
21

1.4.4 กองบัญชาการตำรวจนครบาล ตำรวจภูธรภาค 1 – 9 พิจารณาคัดเลือกข้าราชการ
ตำรวจที่จะปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวน และผู้ปฏิบัติงานสอบสวน ในสถานีตำรวจทดลอง
ทีก่ ำหนด ดังนี้

1) ข้าราชการตำรวจระดับ สารวัตร ในสถานีตำรวจที่มีคดีที่ทำสำนวนการสอบสวน
301 คดี/ปี ขึ้นไป และคัดเลือกข้าราชการตำรวจระดับ รองสารวัตร ในสถานีตำรวจที่มีคดีที่ทำสำนวน
การสอบสวน 300 คดี/ปี ลงมา

2) ข้าราชการตำรวจระดับ ผู้บังคับหมู่ – รองสารวัตร ปฏิบัติหนา้ ทีใ่ นส่วนสนับสนนุ
งานสอบสวน โดยให้พิจารณาจากข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ในงานสอบสวนอยู่เดิม เช่น เสมียนคดี
เจ้าหน้าที่ธุรการทางคดี เสมียนเปรียบเทียบปรับ ผู้ช่วยพนักงานสอบสวน เป็นต้น และพิจารณาจัดเจ้าหน้าท่ี
เพิ่มเติม โดยจำนวนเจ้าหน้าที่ที่มีอยู่เดิมรวมกับผู้ที่จัดเพิ่มเติม ไม่เกินกรอบการวิเคราะห์และกำหนดตำแหน่ง
ตามข้อ 2) ของ 1.3.2

เมื่อคัดเลือกข้าราชการตำรวจที่จะปฏิบัติหน้าที่ในส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ตามข้อ 1) และข้อ 2) ข้างต้น โดยพิจารณาผู้ที่มีความรู้ ความสามารถเหมาะสม สำหรับข้าราชการตำรวจ
ที่ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวนระดับสารวัตรหรือรองสารวัตร จะต้องมีคุณสมบัติ
ตรงตามคุณสมบัตเิ ฉพาะสำหรบั ตำแหน่ง คือสำเร็จการศกึ ษาจากโรงเรยี นนายร้อยตำรวจหรอื นติ ศิ าสตรบัณฑิต
และเคยดำรงตำแหน่งสารวัตร ทำหน้าที่สอบสวนมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ในกรณีตำแหน่งหัวหน้า
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนเป็นระดับสารวัตร หรือเคยดำรงตำแหน่งรองสารวัตร ทำหน้าที่สอบสว นมาแล้ว
ไม่น้อยกว่า 4 ปี ในกรณีตำแหน่งหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวนเป็นระดับรองสารวัตร แล้วให้
กองบญั ชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภธู รภาค 1 – 9 ออกคำสงั่ ให้ข้าราชการตำรวจดังกล่าว ปฏิบัติหน้าที่
ในงานสอบสวนของสถานตี ำรวจทดลอง เป็นระยะเวลา 3 เดือน

6

1.4.5 หัวหน้างานสอบสวนของสถานีตำรวจทดลอง ร่วมกับผู้ที่ทำหน้าที่หัวหน้าส่วน
สนับสนุนงานสอบสวน แบง่ ลกั ษณะงานของส่วนสนบั สนนุ งานสอบสวนของสถานตี ำรวจ ตามกรอบที่สำนกั งาน
ตำรวจแห่งชาติ กำหนดในข้อ 1.3.4 โดยอาจปรับให้เหมาะสมกบั ภารกจิ หรอื ลักษณะงานสอบสวนของแต่ละ
สถานีตำรวจ แลว้ มอบหมายให้เจ้าหนา้ ทแี่ ต่ละนายปฏิบัติหน้าท่ี

1.4.6 ข้าราชการตำรวจที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ในส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าท่ีของหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวน และผู้ปฏิบัติงานสอบสวน หากมีกรณี
ต้องทำหน้าที่สอบสวนของหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ในระหว่างการทดลองปฏิบัติจริงนี้ เพื่อมิให้
เกิดปัญหาในข้อกฎหมายระหว่างที่ ก.ตร. ยังมิได้กำหนดตำแหน่ง จึงให้ปฏิบัติร่วมกับพนักงานสอบสวน
ในสถานตี ำรวจน้นั

1.4.7 หัวหน้าสถานีตำรวจของสถานีทดลอง ผู้บังคับการตำรวจนครบาล และผู้บังคับการ
ตำรวจภูธรจังหวดั กำกบั ดแู ลการปฏิบตั ิ รวมทัง้ สนบั สนุนดา้ นบุคลากร งบประมาณ และวสั ดอุ ปุ กรณ์ทีจ่ ำเป็น

1.4.8 สถานตี ำรวจควบคมุ ให้ปฏิบตั งิ านไปตามปกติ
1.4.9 ระยะเวลาการทดลองปฏิบัติหน้าที่จริง 3 เดือน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (ตั้งแต่
20 มกราคม 2565 ถึง 20 เมษายน 2565)

1.5 การประเมนิ ผล
เป็นการประเมินผลเพื่อศึกษาผลการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน

ในสถานีตำรวจทดลองก่อนและหลังการทดลองปฏิบัติหน้าที่จริง รวมทั้งเปรียบเทียบกับสถานีตำรวจควบคุม
โดยมุ่งประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการทดลองปฏิบัติหน้าที่จริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ในสถานตี ำรวจทดลอง ได้แก่

1.5.1 งานสารบบคดอี าญาในสถานตี ำรวจมีประสทิ ธภิ าพ ข้อมลู ครบถ้วนและถกู ต้อง
1.5.2 การประสานงานทางคดกี บั หน่วยงานต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
มคี วามคลอ่ งตวั มปี ระสิทธภิ าพ
1.5.3 การปฏิบตั ิหนา้ ที่ของพนกั งานสอบสวนไดร้ บั การสนบั สนนุ ลดภาระงานลง
1.5.4 หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้
อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ
1.5.5 ประชาชนผ้รู บั บริการงานสอบสวนมคี วามพงึ พอใจในบริการ

1.6 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั
ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนเกี่ยวกับงานด้านการสอบสวน

ในสถานีตำรวจเพิ่มสูงขึ้น เมื่อเทียบกับการปฏิบัติหน้าที่ของสายงานสอบสวนกรณีไม่มีการกำหนดให้มี
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวน

ส่วนที่ 2
ระเบยี บวธิ ใี นการประเมนิ ผล

การประเมินผลโครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานี
ตำรวจทดลองในครั้งนี้ เป็นรูปแบบทดลองปฏิบัติแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Design) โดยมี
รายละเอียด ดงั น้ี

2.1 กลมุ่ สถานีตำรวจทีใ่ ช้ในการประเมนิ

กล่มุ สถานีตำรวจที่ใชใ้ นการประเมนิ แบง่ ออกเปน็ 2 กลมุ่ ไดแ้ ก่
2.1.1 กลุ่มสถานีตำรวจทดลอง ได้แก่ กลุ่มสถานีตำรวจที่ทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน จำนวน 21 สถานตี ำรวจ ดงั น้ี

หนว่ ย สถานีตำรวจทดลอง

ขนาดใหญ่ ขนาดเลก็

กองบัญชาการ สถานีตำรวจนครบาลบางเขน -
ตำรวจนครบาล กองบังคบั การตำรวจนครบาล 2

สถานตี ำรวจนครบาลบางนา -
กองบังคับการตำรวจนครบาล 5

สถานีตำรวจนครบาลบางมด -
กองบังคับการตำรวจนครบาล 8

ตำรวจภธู รภาค 1 สถานีตำรวจภูธรเมอื งปทมุ ธานี สถานีตำรวจภธู รสวนพรกิ ไทย

ตำรวจภูธรจังหวัดปทมุ ธานี ตำรวจภธู รจังหวัดปทมุ ธานี

ตำรวจภูธรภาค 2 สถานีตำรวจภธู รเมืองพัทยา สถานตี ำรวจภธู รคลองกิ่ว

ตำรวจภธู รจังหวดั ชลบุรี ตำรวจภธู รจังหวดั ชลบรุ ี

ตำรวจภธู รภาค 3 สถานตี ำรวจภูธรสคี ้ิว สถานตี ำรวจภธู รขามทะเลสอ

ตำรวจภธู รจังหวัดนครราชสมี า ตำรวจภธู รจงั หวัดนครราชสีมา

ตำรวจภธู รภาค 4 สถานีตำรวจภูธรสวุ รรณภมู ิ สถานีตำรวจภธู รจตรุ พกั ตรพิมาน

ตำรวจภูธรจังหวดั ร้อยเอ็ด ตำรวจภธู รจงั หวดั ร้อยเอด็

ตำรวจภูธรภาค 5 สถานตี ำรวจภูธรเมอื งเชยี งใหม่ สถานตี ำรวจภูธรแมแ่ ฝก

ตำรวจภูธรจงั หวัดเชียงใหม่ ตำรวจภธู รจงั หวัดเชยี งใหม่

ตำรวจภธู รภาค 6 สถานีตำรวจภธู รวัดโบสถ์ สถานตี ำรวจภูธรบางกระทุ่ม

ตำรวจภูธรจังหวัดพิษณุโลก ตำรวจภธู รจงั หวดั พิษณุโลก

ตำรวจภธู รภาค 7 สถานีตำรวจภธู รบ้านโปง่ สถานตี ำรวจภูธรกระตีบ

ตำรวจภธู รจงั หวัดราชบุรี ตำรวจภธู รจงั หวัดนครปฐม

ตำรวจภูธรภาค 8 สถานตี ำรวจภธู รถลาง สถานีตำรวจภธู รตะก่ัวทุ่ง

ตำรวจภธู รจงั หวัดภเู กต็ ตำรวจภูธรจงั หวดั พังงา

8

หนว่ ย ขนาดใหญ่ สถานีตำรวจทดลอง
ขนาดเลก็
ตำรวจภูธรภาค 9 สถานตี ำรวจภูธรจะนะ
ตำรวจภูธรจงั หวดั สงขลา สถานีตำรวจภูธรคลองหอยโข่ง
ตำรวจภธู รจังหวดั สงขลา

2.1.2 กลุ่มสถานีตำรวจควบคุม ได้แก่ กลุ่มสถานีตำรวจเปรียบเทียบ ที่มีคุณลักษณะที่
เทยี บเท่ากับสถานีตำรวจทดลอง จำนวน 21 สถานตี ำรวจ ดงั นี้

หน่วย สถานีตำรวจควบคมุ

ขนาดใหญ่ ขนาดเล็ก

กองบัญชาการ สถานีตำรวจนครบาลพญาไท -
ตำรวจนครบาล กองบังคับการตำรวจนครบาล 1

สถานีตำรวจนครบาลพระโขนง -
กองบังคับการตำรวจนครบาล 5

สถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม -
กองบังคับการตำรวจนครบาล 9

ตำรวจภูธรภาค 1 สถานตี ำรวจภธู รเมอื งลพบรุ ี สถานีตำรวจภธู รลำสนธิ

ตำรวจภธู รจังหวดั ลพบุรี ตำรวจภูธรจังหวดั ลพบรุ ี

ตำรวจภธู รภาค 2 สถานตี ำรวจภธู รเมืองชลบรุ ี สถานตี ำรวจภธู รพลตู าหลวง

ตำรวจภธู รจงั หวดั ชลบรุ ี ตำรวจภูธรจงั หวดั ชลบรุ ี

ตำรวจภธู รภาค 3 สถานีตำรวจภธู รโชคชัย สถานีตำรวจภธู รมะเริง

ตำรวจภูธรจังหวดั นครราชสีมา ตำรวจภธู รจังหวดั นครราชสมี า

ตำรวจภูธรภาค 4 สถานตี ำรวจภูธรโพนทอง สถานตี ำรวจภธู รเกษตรวสิ ยั

ตำรวจภูธรจังหวัดรอ้ ยเอด็ ตำรวจภธู รจงั หวัดร้อยเอด็

ตำรวจภธู รภาค 5 สถานีตำรวจภธู รแม่ปิง สถานตี ำรวจภธู รแม่วาง

ตำรวจภธู รจังหวดั เชยี งใหม่ ตำรวจภธู รจงั หวัดเชยี งใหม่

ตำรวจภูธรภาค 6 สถานตี ำรวจภูธรวงั ทอง สถานีตำรวจภธู รบา้ นแยง

ตำรวจภธู รจงั หวดั พิษณุโลก ตำรวจภธู รจงั หวดั พษิ ณโุ ลก

ตำรวจภูธรภาค 7 สถานีตำรวจภูธรโพธาราม สถานีตำรวจภธู รบางหลวง

ตำรวจภูธรจงั หวัดราชบรุ ี ตำรวจภูธรจงั หวดั นครปฐม

ตำรวจภธู รภาค 8 สถานตี ำรวจภธู รฉลอง สถานตี ำรวจภูธรบางสวรรค์

ตำรวจภูธรจงั หวดั ภเู ก็ต ตำรวจภธู รจงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี

ตำรวจภธู รภาค 9 สถานตี ำรวจภูธรรตั ภมู ิ สถานีตำรวจภธู รบางกล่ำ

ตำรวจภธู รจังหวัดสงขลา ตำรวจภธู รจงั หวดั สงขลา

2.1.3 ออกแบบวิธีการประเมินผลการทดลองปฏิบัติแบบกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental
Design) โดยกำหนดสถานีตำรวจทดลอง แล้วประเมินผลก่อนทดลอง เมื่อดำเนินการทดลองปฏิบัติหน้าที่จริง

9

แล้วประเมินผลหลังการทดลอง รวมทั้งเปรียบเทียบกับผลการประเมินของสถานีตำรวจควบคุมซึ่งไม่มี
การทดลองปฏิบัตหิ น้าท่ีจรงิ

สถานตี ำรวจทดลอง O1 - X - O2

สถานีตำรวจควบคมุ O3 O4

O หมายถึงการสังเกต (Oservation) เพื่อประเมินผล ในสถานีตำรวจทดลอง โดยจะ
ดำเนนิ การกอ่ นทดลอง (O1) และหลงั การทดลอง (O2) ในสถานีตำรวจควบคมุ

สำหรับสถานีตำรวจควบคุม ไม่มีการทดลองปฏิบัติหน้าที่จริง แต่จะดำเนินการ
ประเมินในช่วงเวลาเดยี วกบั กอ่ นทดลอง (O3) และหลังการทดลอง (O4) ของสถานีตำรวจทดลอง

X หมายถึงการทดลอง (Experiment) โดยการปฏิบัติหน้าที่จริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในสถานีตำรวจทดลอง ส่วนสถานตี ำรวจควบคุมไม่มีการทดลองปฏิบัตหิ นา้ ท่ีจรงิ

ลำดับ ประเภทกลุ่มสถานี ประเมินกอ่ นการทดลอง ประเมนิ หลังการทดลอง
1 สถานีตำรวจทดลอง A1 A2

2 สถานตี ำรวจควบคุม B1 B2

สมมติฐานในการประเมินผลการทดลองปฏิบัตหิ นา้ ทจี่ รงิ :
1) ผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง (A1) ไม่แตกต่างอย่างมี
นัยสำคญั ทางสถติ ิ กบั สถานตี ำรวจควบคมุ (B1)
2) ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานตี ำรวจทดลอง (A2) สูงกว่าอย่างมนี ยั สำคัญ
ทางสถติ ิ กบั ผลการประเมนิ กอ่ นทดลองของสถานตี ำรวจทดลอง (A1)
3) ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง (A2) สูงกว่าอย่างมี
นยั สำคญั ทางสถิติ กับผลการประเมนิ ในชว่ งเวลาหลงั ทดลองของสถานีตำรวจควบคมุ (B2)

2.2 ระเบยี บวิธีประเมินผล

ใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative research) ผสานกับวิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative
research) โดยมีขั้นตอนและเคร่ืองมอื ท่ีใช้เพือ่ ประเมินผลตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการแต่ละประเดน็ ดังน้ี

ลำดับ ประเด็นการประเมิน เครอื่ งมือและวิธีการ กลมุ่ ประชากร

1 งานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจ - แบบสอบถาม - ขา้ ราชการตำรวจในงาน
2 (Questionare) สอบสวนของสถานีตำรวจ
การประสานงานทางคดีกับหน่วยงาน - ประเมินก่อน-หลังการ ทกุ นาย และหวั หน้าสถานี
3 ตา่ ง ๆ ท้งั ภายในและภายนอก ทดลองปฏบิ ัติ ตำรวจ
การสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของ
พนกั งานสอบสวน

10

ลำดับ ประเดน็ การประเมิน เครื่องมือและวิธกี าร กลมุ่ ประชากร

4 การกำกับดูแล ควบคุม บริหารงาน

สอบสวนของหัวหน้าสถานีตำรวจ และ

หัวหน้างานสอบสวน

5 สิ่งปอ้ นเข้า (input) ได้แก่ การจัดรูปแบบ - สงั เกต สัมภาษณ์ เอกสาร โดยทีมเจ้าหนา้ ท่ีเก็บข้อมูล

และวธิ ีการปฏบิ ตั ิงานของส่วนสนับสนุน ในสถานตี ำรวจทดลอง จำนวน 1 ครั้ง (ระหว่างการทดลอง)

งานสอบสวน บุคลากร งบประมาณ - จัดประชุมกลุ่ม (Focus Group) โดยใช้ระบบ Online
วัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งการถอดบทเรียน จำนวน 2 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมเป็นข้าราชการตำรวจ
จากการปฏิบัติ ปัญหา อุปสรรคและ ระดับหัวหน้าสถานีตำรวจ หวั หน้างานสอบสวน คร้ังละ
แนวทางการแก้ไข ประมาณ 20 นาย

6 ค ว า ม พ ึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น - แบบสอบถาม (Questionare)

ผรู้ บั บริการงานสอบสวน หลังการทดลองปฏิบัติจริง (สถานีตำรวจทดลอง-สถานี

ตำรวจควบคุม)

- ประชาชนที่รับบริการแจ้งความบนสถานีตำรวจ

1,260 คน/สถานตี ำรวจ

- แบบสอบถาม (Questionare) ขา้ ราชการตำรวจ จำนวน 39 ข้อ ตามภาคผนวก โดยจัดทำ
เป็นแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ กำหนดให้ข้าราชการตำรวจผู้ตอบแบบสอบถาม ลงทะเบียนโดยใช้จดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดงตัวตน แต่ไม่ระบุชื่อผู้ตอบแบบสอบถาม กำหนดวันเวลาในการตอบแบบสอบถาม
พร้อมกันในสถานีตำรวจหนึ่ง และสื่อสารผ่านระบบออนไลน์ เพื่อประชุมชี้แจงการตอบแบบสอบถาม ทั้งนี้
เพ่ือความนา่ เชื่อถอื ของข้อมลู โดยแบบสอบถามประกอบดว้ ย

ตอนท่ี 1 เปน็ คำถามเกยี่ วกบั ข้อมูลทวั่ ไป ได้แก่ เพศ อายุ ยศ อายรุ าชการ ระดบั การศึกษา
ตำแหนง่ หนา้ ท่ี จำนวน 18 ขอ้

ตอนที่ 2 เปน็ คำถามเก่ียวกบั ความคิดเห็นต่อการปฏบิ ตั ิงานของส่วนสนับสนนุ งานสอบสวน
จำนวน 20 ขอ้ ได้แก่

สว่ นที่ 1 งานสารบบคดอี าญาในสถานีตำรวจ จำนวน 10 ข้อ
ส่วนท่ี 2 การประสานงานคดี จำนวน 5 ข้อ
ส่วนท่ี 3 การสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของพนกั งานสอบสวน จำนวน 5 ขอ้
ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ จำนวน 1 ขอ้
- แบบสอบถาม (Questionare) ประชาชน ตามภาคผนวก โดยจัดทำเป็นแบบสอบถาม
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ สำหรับใหป้ ระชาชนผู้มารบั บรกิ ารงานสอบสวนบนสถานีตำรวจ ตอบ โดยแบบสอบถาม จำนวน
13 ขอ้ ประกอบด้วย
ตอนที่ 1 เป็นคำถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ได้แก่ อายุ เพศ สถานภาพ ระดับการศึกษา
รายได้ จำนวน 6 ขอ้
ตอนท่ี 2 เปน็ คำถามเก่ยี วกบั ความพึงพอใจจากการรบั บริการงานสอบสวน จำนวน 6 ขอ้
ตอนท่ี 3 ความคิดเหน็ หรอื ข้อเสนอแนะเพิม่ เติม จำนวน 1 ข้อ

11

การจดั ทำแบบสอบถาม มกี ารประชมุ รว่ มกบั ผูเ้ ชย่ี วชาญซ่งึ เป็นพนกั งานสอบสวน เพื่อกำหนด
ข้อคำถามที่สะท้อนถึงการปฏิบัติงานของสว่ นสนบั สนนุ งานสอบสวน เป็นประเด็นที่เกิดขึ้นจริง และมีการทดสอบ
แบบสอบถามก่อนนำมาประเมิน

- จัดทีมเจ้าหน้าที่เก็บข้อมูล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ และเอกสาร ในสถานีตำรวจทดลอง
จำนวน 5 ทีม ๆ ละ 3 นาย รวม 15 นาย รับผิดชอบทีมละ 2 ภาคและกองบัญชาการตำรวจนครบาล

- จัดประชุมกลุ่ม (Focus Group) โดยใช้ระบบการประชุมทางไกล (Online) จำนวน 2 คร้ัง
ผ้เู ข้ารว่ มประชุมเปน็ ข้าราชการตำรวจระดบั หวั หน้าสถานีตำรวจ หัวหน้างานสอบสวน จำนวน 42 นาย

2.3 การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมลู

ประมวลผลและวเิ คราะห์ขอ้ มูลดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเรจ็ รปู สำหรับการวิเคราะห์

ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ (Quantitative data analysis) ใช้สถติ เิ ชงิ พรรณนา (Descriptive statistics) ไดแ้ ก่ ความถ่ี

รอ้ ยละ คา่ เฉลีย่ และคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน

โดยกำหนดคะแนนการตอบความพึงพอใจ ตามแบบสอบถามมาตราสว่ นประมาณค่า 5 ระดบั

ดงั นี้

ระดับมากที่สดุ กำหนดให้ 5 คะแนน

ระดับมาก กำหนดให้ 4 คะแนน

ระดับปานกลาง กำหนดให้ 3 คะแนน

ระดับพอใช้ กำหนดให้ 2 คะแนน

ระดับตอ้ งปรับปรุง กำหนดให้ 1 คะแนน

แล้วนำผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลมาแปลความหมายของค่าเฉล่ยี ความพึงพอใจ โดยใชเ้ กณฑ์ ดงั นี้

คา่ เฉลย่ี 4.21 – 5.00 แปลความไดว้ ่า มคี วามพงึ พอใจระดับมากท่สี ดุ

คา่ เฉลย่ี 3.41 – 4.20 แปลความไดว้ า่ มีความพึงพอใจระดบั มาก

คา่ เฉลี่ย 2.61 – 3.40 แปลความได้ว่า มคี วามพงึ พอใจระดบั ปานกลาง

ค่าเฉลยี่ 1.81 – 2.60 แปลความไดว้ า่ มคี วามพงึ พอใจระดบั น้อย

ค่าเฉลีย่ 1.00 – 1.80 แปลความไดว้ า่ มีความพึงพอใจระดับน้อยทส่ี ดุ

และนำเสนอผลการวเิ คราะห์ข้อมูลในรูปแบบตารางและอธบิ ายความ

2.4 ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่างประชากรผู้ตอบแบบสอบถาม

2.4.1 ก่อนเริ่มการทดลอง เก็บข้อมูลระหว่าง 17 – 19 มกราคม 2565 จำนวนตัวอย่าง
ท่เี ก็บได้ ไดแ้ ก่

1) ข้าราชการตำรวจในสถานตี ำรวจทดลอง ไดแ้ ก่ หัวหนา้ สถานีตำรวจ หวั หนา้ งานสอบสวน
พนักงานสอบสวน และผปู้ ฏบิ ตั งิ านสอบสวน จำนวน 493 นาย

2) ขา้ ราชการตำรวจในสถานตี ำรวจควบคุม ไดแ้ ก่ หัวหนา้ สถานีตำรวจ หัวหนา้ งานสอบสวน
พนกั งานสอบสวน และผู้ปฏบิ ตั งิ านสอบสวน จำนวน 419 นาย

รวมตวั อย่างประชากรขา้ ราชการตำรวจทั้งสน้ิ จำนวน 912 นาย
2.4.2 ระหว่างการทดลอง เก็บข้อมูลระหว่าง 15 – 31 มีนาคม 2565 จำนวนตัวอย่าง
ที่เก็บได้ ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ได้แก่ หัวหน้าสถานีตำรวจ หัวหน้างานสอบสวน
พนักงานสอบสวน และผู้ปฏิบัตงิ านสอบสวน จำนวน 126 นาย

12

2.4.3 หลังการทดลอง เก็บข้อมูลระหว่าง 25 – 29 เมษายน 2565 จำนวนตัวอย่างที่เก็บได้
ไดแ้ ก่

1) ขา้ ราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ได้แก่ หัวหน้าสถานตี ำรวจ หวั หนา้ งานสอบสวน
พนักงานสอบสวน หวั หนา้ ส่วนสนบั สนุนงานสอบสวน และผู้ปฏิบัตงิ านสอบสวน จำนวน 499 นาย

2) ข้าราชการตำรวจในสถานตี ำรวจควบคุม ไดแ้ ก่ หัวหนา้ สถานตี ำรวจ หัวหน้างานสอบสวน
พนกั งานสอบสวน และผูป้ ฏบิ ัติงานสอบสวน จำนวน 386 นาย

รวมตวั อย่างประชากรขา้ ราชการตำรวจทั้งส้นิ จำนวน 885 นาย
2.4.4 ประชุมกลุ่ม (Focus Group) ข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ได้แก่ หัวหนา้
สถานีตำรวจ และหัวหน้างานสอบสวน จำนวน 42 นาย โดยดำเนินการประชุม 2 ครั้ง คือ 25 เมษายน 2565
และ 27 เมษายน 2565
2.4.5 ประชาชนท่รี ับบรกิ ารแจ้งความบนสถานตี ำรวจ จำนวน 1,624 คน

2.5 ภาพถ่ายการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติจรงิ ของสว่ นสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง

การประชุมชี้แจงการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง
เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 ผ่านระบบการประชมุ ทางไกล (Video Conference) ณ ห้องประชุม ศปก.ตร.
ชน้ั 20 อาคาร 1 สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ โดยมี พลตำรวจเอก ปิยะ อุทาโย รองผ้บู ญั ชาการตำรวจแห่งชาติ
เป็นประธาน

13

การประชุมเพื่อประเมินก่อนเริ่มการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ
ผ่านระบบการประชุมทางไกล (Microsoft teams) ระหว่างวันที่ 17 – 19 มกราคม 2565 โดยมี
พลตำรวจตรี ปรีดา สถาวร รองผบู้ ญั ชาการสำนกั งานกำลังพล เปน็ ประธาน

14

พลตำรวจเอก สุทิน ทรัพย์พ่วง รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ เดินทางไปตรวจเยี่ยมการดำเนินโครงการ
ทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง ณ สถานีตำรวจภูธรถลาง จังหวัดภูเก็ต
เม่ือวันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2565 และสถานตี ำรวจภูธรตะกัว่ ทงุ่ จงั หวดั พงั งา เมื่อวันท่ี 6 มีนาคม 2565

15

ขา้ ราชการตำรวจในสังกัดกองอัตรากำลัง ลงพื้นท่ีเพอ่ื ประเมินสง่ิ ป้อนเข้า (input) ระหว่างการทดลอง ระหว่าง
วนั ที่ 14 – 31 มีนาคม 2565 ในกองบญั ชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภธู รภาค 1 – 9

16

การถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ โดยการประชุมกลุ่ม (Focus Group) และการประชุมเพื่อประเมินหลัง
การทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ ผ่านระบบการประชุมทางไกล (Video
Conference) ระหว่างวันที่ 25 – 29 เมษายน 2565 โดยมี พลตำรวจตรี ปรีดา สถาวร รองผู้บัญชาการ
สำนักงานกำลังพล เป็นประธาน

สว่ นที่ 3
ผลการประเมนิ โครงการ

การประเมินผลโครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในลักษณะสถานี
ตำรวจทดลอง ใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative research) ผสานกับวิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative
research) มผี ลการประเมินแยกเป็น

3.1 การประเมินก่อนและหลังการทดลองปฏิบัติของสถานีตำรวจทดลอง เปรียบเทียบกับ
สถานีตำรวจควบคุม

3.2 การประเมินส่งิ ป้อนเขา้ (input) และการถอดบทเรยี นจากการปฏิบัติ
3.3 การประเมินความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการงานสอบสวน

3.1 การประเมนิ ก่อนและหลังการทดลองปฏิบตั ขิ องสถานีตำรวจทดลอง เปรียบเทียบกบั สถานีตำรวจควบคุม
การประเมินก่อนและหลังการทดลองปฏิบัติของสถานีตำรวจทดลอง เปรียบเทียบกับสถานี

ตำรวจควบคุม โดยการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ทางอิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มตัวอย่างประชากรคือ
ข้าราชการตำรวจที่ดำรงตำแหน่ง หัวหน้าสถานีตำรวจ หัวหน้างานสอบสวน ข้าราชการตำรวจสายงาน
สอบสวน และเจ้าหน้าที่ระดับ ผู้บังคับหมู่ – รองสารวัตรในงานสอบสวน ของสถานีตำรวจทดลองและสถานี
ตำรวจควบคมุ

3.1.1 ผลการประเมนิ ก่อนการทดลอง
กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจทดลอง มีความเห็นต่อการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนนุ

งานสอบสวน ก่อนการทดลองปฏิบัติ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.72 โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ
52.31 มีระดบั ความคดิ เห็นในระดบั ดี

กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจควบคมุ มีความเห็นต่อการปฏิบัตงิ านของส่วนสนับสนนุ
งานสอบสวน ก่อนการทดลองปฏิบัติ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.88 โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ
54.75 มีระดับความคดิ เหน็ ในระดบั ดี

หากจำแนกคา่ คะแนนออกเปน็ สว่ นต่าง ๆ เปน็ ดังน้ี

ประเดน็ คำถาม ก่อนทดลอง-สถานตี ำรวจทดลอง กอ่ นทดลอง-สถานตี ำรวจควบคุม
ง า น ส า ร บ บ ค ด ี อ า ญ า ใ น ส ถ า นี 3.74 3.87
ตำรวจ
3.72 3.90
การประสานงานทางคดี 3.72 3.87

การสนับสนุนการปฏิบัติงานของ 3.72 3.88
พนักงานสอบสวน

คา่ คะแนนเฉลีย่

18

รายละเอียดคะแนนการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจทดลองและสถานี
ตำรวจควบคมุ ปรากฏตามตาราง ดงั น้ี

ตารางแสดงคะแนนการประเมินกอ่ นการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง

ประเดน็ คำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ต้อง จำนวน คา่ เฉลี่ย S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผตู้ อบ 0.77 ดี
0.83 ดี
ส่วนท่ี 1 งานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจ 110 0.78 ดี
(22.31
1 การควบคุมสารบ 69 288 21 5 493 3.80 0.80 ดี
บคดีอาญา - %)
129 0.78 ดี
จราจร ของสถานี (14.00 (58.42 (26.17 (4.26 (1.01 (100.00 (76.02 0.78 ดี
ตำรวจ %) %) %) 0.78 ดี
135 %) %) %) %) 0.84 ดี
(27.38
2 การจดั เกบ็ สำเนา 66 261 %) 30 7 493 3.71
สำนวนการ
126
สอบสวนของสถานี (13.39 (52.94 (6.09 (1.42 (100.00 (74.16
ตำรวจ %) %) (25.56
%) %) %) %) %)
131
3 การจดั ทำบัญชี 67 263 24 4 493 3.74
สำนวนคา้ ง เพื่อ (26.57
%)
การตรวจสอบและ (13.59 (53.35 130 (4.87 (0.81 (100.00 (74.81
เรง่ รัดการสอบสวน %)
%) (26.37 %) %) %) %)
%)
4 การปฏิบตั ิเกยี่ วกบั 132

ของกลางใน (26.77
%)
คดอี าญา ได้แก่ 133

การควบคุม การ (26.98
%)
เก็บรักษา และการ 59 275 25 8 493 3.71
จำหนา่ ยของกลาง

และวัตถพุ ยานใน

คดี การแจ้งผล

เก่ยี วกบั ทรัพยข์ อง

กลางทพ่ี นกั งาน

อยั การสัง่ คืน การ (11.97 (55.78 (5.07 (1.62 (100.00 (74.28
ยดึ ทรัพยห์ รอื ของ %) %)
กลางตามคำส่งั ศาล %) %) %) %)

5 การควบคุม 79 257 25 1 493 3.79

สารบบหมายจบั (16.02 (52.13 (5.07 (0.20 (100.00 (75.74
การถอนหมายจบั %)
%) %) %) %) %)

6 การควบคมุ สารบบ 65 264 33 1 493 3.73
การอายดั - ถอน

อายดั ตัวผู้ตอ้ งหา (13.18 (53.55 (6.69 (0.20 (100.00 (74.56
หรอื จำเลย
%) %) %) %) %) %)

7 การควบคุมสารบบ 73 261 24 3 493 3.76
คำสั่งของพนกั งาน

อัยการให้สอบสวน (14.81 (52.94 (4.87 (0.61 (100.00 (75.29
เพมิ่ เตมิ
%) %) %) %) %) %)

8 การเบกิ จา่ ย 63 253 37 7 493 3.67

คา่ ตอบแทนพยาน (12.78 (51.32 (7.51 (1.42 (100.00 (73.31

%) %) %) %) %) %)

19

ประเดน็ คำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน ค่าเฉลีย่ S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผูต้ อบ 0.82 ดี
246 151 0.88 ดี
9 การควบคุมการ 53 (49.90 (30.63 38 5 493 3.62 0.81 ดี
แจง้ ความคบื หน้า (10.75 %) 0.89 ดี
การสอบสวน %) (7.71 (1.01 (100.00 (72.33 0.86 ดี
%) 105
10 การลงขอ้ มลู ใน 252 %) %) %) %) 0.88 ดี
ระบบสารสนเทศ 101 (21.30
อาชญากรรมของ (51.12 %) 25 10 493 3.83 0.84 ดี
สถานตี ำรวจ (20.49 %) 0.82 ดี
(CRIMES) %) 262 128.2 (5.07 (2.03 (100.00 (76.59 0.86 ดี
(26.00
(53.14 %) %) %) %)
%) %)
69.5 28.2 5.1 493 3.74
255 127
ค่าเฉลย่ี สว่ นท่ี 1 (14.10 (51.72 (25.76 (5.72 (1.03 (100.0 (74.71

%) %) %) %) %) %) %)

สว่ นที่ 2 การประสานงานทางคดี 259 116

11 การตรวจสอบผล 66 (52.54 (23.53 30 15 493 3.66
%) %)
คดแี ละแจ้ง (13.39 (6.09 (3.04 (100.00 (73.27
257 142
หน่วยงานท่ีร้องขอ %) %) %) %) %)
(52.13 (28.80
12 การสง่ หมาย ได้แก่ %) %)

หมายเรยี กพยาน 81 265 118 27 10 493 3.76
ของศาล
(53.75 (23.94
หมายเรยี กพยาน %) %)
262 106
และผตู้ ้องหาจาก (16.43 (5.48 (2.03 (100.00 (75.17
สถานีตำรวจหรือ %) (53.14 (21.50
หนว่ ยงานอ่ืน %) %) %) %) %) %)

13 การแจ้งผลคดีให้ 43 259.6 121.8 34 17 493 3.56
กองทะเบียน (52.66 (24.71

ประวตั ิ %) %) (6.90 (3.45 (100.00 (71.16

อาชญากรรม (ทว.) (8.72%) %) %) %) %)
ทราบ

14 การประสานงานสง่

ของกลางและ 73 29 8 493 3.74
ตดิ ตามผลการ

ตรวจพสิ ูจน์ จาก

หนว่ ยงานพิสจู น์ (14.81 (5.88 (1.62 (100.00 (74.85
หลกั ฐาน %)
%) %) %) %)

15 การรบั สง่ ตัว 96 25 4 493 3.85

ผู้ตอ้ งหาไปศาล (19.47 (5.07 (0.81 (100.00 (77.08
หรอื สถานทอ่ี น่ื
%) %) %) %) %)

71.8 29 10.8 493 3.72

ค่าเฉลย่ี ส่วนท่ี 2 (14.56 (5.88 (2.19 (100.0 (74.30

%) %) %) %) %)

20

ประเด็นคำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ต้อง จำนวน คา่ เฉล่ยี S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง ผตู้ อบ 0.89 ดี

ส่วนที่ 3 การสนับสนุนการปฏิบตั งิ านของพนักงานสอบสวน 0.91 ดี

16 การช่วยเหลือ 0.88 ดี
0.86 ดี
พนักงานสอบสวน 0.83 ดี
0.25 ดี
ขณะเข้าเวร 73 248 130 28 14 493 3.69
สอบสวนสถานี

ตำรวจ เชน่ การ

ใหบ้ รกิ าร

ประชาชนทม่ี าแจ้ง

ความ ซกั ถาม (14.81 (50.30 (26.37 (5.68 (2.84 (100.00 (73.71
เบอื้ งตน้ จดั ทำ %) %) %)
เอกสาร เปน็ ตน้ %) %) %) %)

17 การชว่ ยเหลอื

พนักงานสอบสวน

ในการไปตรวจ 64 246 140 23 20 493 3.63
สถานที่เกิดเหตุ

การจดั เกบ็ รวบรวม

พยานหลกั ฐานในท่ี

เกดิ เหตุ รวมทง้ั

การปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี (12.98 (49.90 (28.40 (4.67 (4.06 (100.00 (72.62
อืน่ นอกสถานี %) %) %)
ตำรวจ %) %) %) %)

18 การช่วยเหลือ

จดั การกรณเี กดิ

อบุ ตั เิ หตคุ ดีจราจร 67 246 137 30 13 493 3.66
การนำรถในคดมี า

เก็บรกั ษาหรอื ส่ง

ตรวจ และการ

ช่วยเหลือดา้ นอ่นื ๆ (13.59 (49.90 (27.79 (6.09 (2.64 (100.00 (73.14
ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั คดี %) %) %)
จราจร %) %) %) %)

19 การลงบนั ทึก 90 254 111 32 6 493 3.79

ประจำวนั เกยี่ วกับ (18.26 (51.52 (22.52 (6.49 (1.22 (100.00 (75.82
คดี %) %) %)
%) %) %) %)

20 การลงบนั ทึก

ประจำวนั เปน็ 86 266 112 21 8 493 3.81
หลกั ฐาน รวมท้งั

บันทกึ ประจำวัน

ระบบ (17.44 (53.96 (22.72 (4.26 (1.62 (100.00 (76.27
อิเลก็ ทรอนิกส์ %) %) %)
%) %) %) %)

76 252 126 26.8 12.2 493 3.72

คา่ เฉล่ยี สว่ นที่ 3 (15.42 (51.12 (25.56 (5.44 (2.47 (100.0 (74.31

%) %) %) %) %) %) %)

คา่ เฉล่ยี ทง้ั หมด 72.43 257.87 125.33 28 9.37 493 3.72 0.85 ดี
รอ้ ยละ
(14.69 (52.31 (25.42 (4.68 (1.90 (100.0 (74.44
%) %) %) %) %) %) %)

21

ตารางแสดงคะแนนการประเมนิ กอ่ นการทดลองของสถานีตำรวจควบคุม

ประเด็นคำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน คา่ เฉลย่ี S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผตู้ อบ 0.86 ดี
0.90 ดี
ส่วนท่ี 1 งานสารบบคดอี าญาในสถานีตำรวจ 77 0.78 ดี
(18.38
1 การควบคุมสารบ 88 228 17 9 419 3.88 0.90 ดี
บคดอี าญา - %)
84 0.82 ดี
จราจร ของสถานี (21.00 (54.42 (20.05 (4.06 (2.15 (100.00 (77.61 0.82 ดี
ตำรวจ %) %) %) 0.82 ดี
83 %) %) %) %) 0.90 ดี
(19.81 0.87 ดี
2 การจดั เก็บสำเนา 87 216 %) 22 10 419 3.83
สำนวนการ
85
สอบสวนของสถานี (20.76 (51.55 (5.25 (2.39 (100.00 (76.61
ตำรวจ %) %) (20.29
%) %) %) %) %)
60
3 การจัดทำบัญชี 76 237 21 2 419 3.87
สำนวนคา้ ง เพื่อ (14.32
%)
การตรวจสอบและ (18.14 (56.56 81 (5.01 (0.48 (100.00 (77.37
เรง่ รดั การสอบสวน %)
%) (19.33 %) %) %) %)
%)
4 การปฏิบตั เิ กย่ี วกบั 71

ของกลางใน (16.95
%)
คดีอาญา ไดแ้ ก่ 69

การควบคมุ การ (16.47
%)
เกบ็ รกั ษา และการ 77 222 102 23 12 419 3.79
จำหนา่ ยของกลาง
(24.34
และวัตถพุ ยานใน %)

คดี การแจง้ ผล

เกย่ี วกบั ทรัพย์ของ

กลางทพ่ี นกั งาน

อัยการสง่ั คนื การ (18.38 (52.98 (5.49 (2.86 (100.00 (75.70
ยึดทรัพย์หรอื ของ %) %)
กลางตามคำส่ังศาล %) %) %) %)

5 การควบคมุ 110 226 19 4 419 4.00

สารบบหมายจบั (26.25 (53.94 (4.53 (0.95 (100.00 (80.00
การถอนหมายจบั %)
%) %) %) %) %)

6 การควบคมุ สารบบ 72 236 25 5 419 3.82
การอายดั - ถอน

อายดั ตัวผูต้ อ้ งหา (17.18 (56.32 (5.97 (1.19 (100.00 (76.47
หรือจำเลย
%) %) %) %) %) %)

7 การควบคุมสารบบ 86 238 18 6 419 3.91
คำส่งั ของพนักงาน

อยั การใหส้ อบสวน (20.53 (56.80 (4.30 (1.43 (100.00 (78.14
เพมิ่ เตมิ
%) %) %) %) %) %)

8 การเบกิ จา่ ย 70 246 18 16 419 3.80

คา่ ตอบแทนพยาน (16.71 (58.71 (4.30 (3.82 (100.00 (76.04

%) %) %) %) %) %)

9 การควบคมุ การ 62 222 23 10 419 3.72

แจ้งความคบื หน้า (14.80 (52.98 (5.49 (2.39 (100.00 (74.46
การสอบสวน
%) %) %) %) %) %)

22

ประเดน็ คำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน คา่ เฉล่ีย S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผตู้ อบ 0.79 ดี
0.85 ดี
10 การลงขอ้ มลู ใน 0.83 ดี
0.85 ดี
ระบบสารสนเทศ 122 235 44 13 5 419 4.09
อาชญากรรมของ 0.91 ดี

สถานตี ำรวจ (29.12 (56.09 (10.50 (3.10 (1.19 (100.00 (81.77 0.77 ดี
(CRIMES) %) %) %) 0.79 ดี
%) %) %) %) 0.84 ดี

85 230.6 75.6 19.9 7.9 419 3.87 0.92 ดี

ค่าเฉลยี่ สว่ นที่ 1 (20.29 (55.04 (18.04 (4.75 (1.89 (100.0 (77.42

%) %) %) %) %) %) %)

ส่วนที่ 2 การประสานงานทางคดี

11 การตรวจสอบผล 69 246 79 14 11 419 3.83
คดแี ละแจ้ง
(16.47 (58.71 (18.85 (3.34 (2.63 (100.00 (76.61
หนว่ ยงานที่ร้องขอ %) %) %)
%) %) %) %)

12 การสง่ หมาย ไดแ้ ก่

หมายเรียกพยาน 92 234 70 13 10 419 3.92
ของศาล

หมายเรียกพยาน

และผูต้ ้องหาจาก (21.96 (55.85 (16.71 (3.10 (2.39 (100.00 (78.38
สถานีตำรวจหรือ %) %) %)
หนว่ ยงานอืน่ %) %) %) %)

13 การแจง้ ผลคดีให้ 73 213 95 27 11 419 3.74
กองทะเบียน

ประวตั ิ (17.42 (50.84 (22.67 (6.44 (2.63 (100.00 (74.80
อาชญากรรม (ทว.) %) %) %)
ทราบ %) %) %) %)

14 การประสานงานส่ง

ของกลางและ 93 246 61 15 4 419 3.98
ตดิ ตามผลการ

ตรวจพิสจู น์ จาก

หน่วยงานพสิ ูจน์ (22.20 (58.71 (14.56 (3.58 (0.95 (100.00 (79.52
หลักฐาน %) %) %)
%) %) %) %)

15 การรับส่งตวั 118 226 59 12 4 419 4.05

ผู้ตอ้ งหาไปศาล (28.16 (53.94 (14.08 (2.86 (0.95 (100.0 (81.10
หรือสถานทอี่ ่นื
%) %) %) %) %) %) %)

89 233 72.8 16.2 8 419 3.90

คา่ เฉลีย่ ส่วนที่ 2 (21.24 (55.61 (17.37 (3.87 (1.91 (100.0 (78.08

%) %) %) %) %) %) %)

ส่วนที่ 3 การสนบั สนนุ การปฏบิ ตั งิ านของพนกั งานสอบสวน

16 การช่วยเหลอื

พนกั งานสอบสวน

ขณะเข้าเวร 96 216 75 19 13 419 3.87
สอบสวนสถานี

ตำรวจ เช่น การ

ใหบ้ ริการ

ประชาชนท่มี าแจ้ง

ความ ซกั ถาม (22.91 (51.55 (17.90 (4.53 (3.10 (100.00 (77.33
เบ้อื งตน้ จดั ทำ %) %) %)
เอกสาร เปน็ ต้น %) %) %) %)

23

ประเด็นคำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน ค่าเฉลยี่ S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง ผู้ตอบ 0.91 ดี
217
17 การช่วยเหลอื 85 81 25 11 419 3.81 0.94 ดี
พนักงานสอบสวน (51.79 0.79 ดี
ในการไปตรวจ (20.29 %) (19.33 (5.97 (2.63 (100.00 (76.23 0.84 ดี
สถานทีเ่ กดิ เหตุ %) %) 0.89 ดี
การจัดเกบ็ รวบรวม 212 %) %) %) %)
พยานหลกั ฐานในท่ี 81 87
เกดิ เหตุ รวมทงั้ (50.60 25 14 419 3.77
การปฏิบตั หิ นา้ ที่ (19.33 %) (20.76
อื่นนอกสถานี %) 245 %) (5.97 (3.34 (100.00 (75.32
ตำรวจ 95 57
(58.47 %) %) %) %)
18 การชว่ ยเหลอื (22.67 %) (13.60
จดั การกรณเี กิด %) %) 17 5 419 3.97
อบุ ตั ิเหตุคดจี ราจร 233
การนำรถในคดมี า 97 67 (4.06 (1.19 (100.00 (79.47
เก็บรกั ษาหรอื สง่ (55.61
ตรวจ และการ (23.15 %) (15.99 %) %) %) %)
ช่วยเหลือด้านอืน่ ๆ %) %)
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับคดี 90.8 224.6 73.4 13 9 419 3.95
จราจร (53.60
(21.67 (17.52 (3.10 (2.15 (100.00 (78.90
19 การลงบนั ทึก %) %) %)
ประจำวนั เก่ียวกับ %) %) %) %)
คดี
19.8 10.4 419 3.87
20 การลงบนั ทึก
ประจำวนั เป็น (4.73 (2.48 (100.0 (77.45
หลักฐาน รวมทง้ั
บันทึกประจำวนั
ระบบ
อิเล็กทรอนิกส์

คา่ เฉล่ยี ส่วนท่ี 3

%) %) %) %)

ค่าเฉล่ยี ทง้ั หมด 88.27 229.40 73.93 18.63 8.77 419 3.88 0.86 ดี
ร้อยละ
(21.07 (54.75 (17.65 (4.45 (2.09 (100.0 (77.65
%) %) %) %) %) %) %)

3.1.2 ผลการประเมินหลังการทดลอง
กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจทดลอง มีความเห็นต่อการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุน

งานสอบสวน หลังการทดลองปฏิบัติ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.48 โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ
57.19 มีระดับความคิดเห็นในระดบั ดมี าก

กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจควบคมุ มีความเห็นตอ่ การปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน หลังการทดลองปฏิบัติ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.96 โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ
54.22 มีระดบั ความคิดเห็นในระดบั ดี

24

หากจำแนกค่าคะแนนออกเปน็ ส่วนตา่ ง ๆ เป็นดังน้ี

ประเด็นคำถาม หลังทดลอง-สถานตี ำรวจทดลอง หลังทดลอง-สถานตี ำรวจควบคุม
4.47 3.97
ง า น ส า ร บ บ ค ด ี อ า ญ า ใ น ส ถ า นี
ตำรวจ 4.48 3.98
4.50 3.94
การประสานงานทางคดี
การสนับสนุนการปฏิบัติงานของ 4.48 3.96
พนกั งานสอบสวน

คา่ คะแนนเฉลี่ย

รายละเอียดคะแนนการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองและสถานี
ตำรวจควบคุม ปรากฏตามตารางดังน้ี

ตารางแสดงคะแนนการประเมนิ หลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง

ประเดน็ คำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ต้อง จำนวน คา่ เฉลยี่ S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผ้ตู อบ

ส่วนท่ี 1 งานสารบบคดอี าญาในสถานีตำรวจ

1 การควบคมุ สารบ 299 174 22 2 2 499 4.54 0.64 ดมี าก
บคดอี าญา - ดมี าก
ดมี าก
จราจร ของสถานี (59.92 (34.87 (4.41 (0.40 (0.40 (100.00 (90.70
ตำรวจ %) %) %) %) %) %) %) ดมี าก

2 การจัดเก็บสำเนา 270 196 27 3 3 499 4.46 0.68
สำนวนการ

สอบสวนของสถานี (54.11 (39.28 (5.41 (0.60 (0.60 (100.00 (89.14
ตำรวจ %) %) %) %) %) %) %)

3 การจดั ทำบญั ชี 263 200 30 4 2 499 4.44 0.68
สำนวนคา้ ง เพอื่

การตรวจสอบและ (52.71 (40.08 (6.01 (0.80 (0.40 (100.00 (88.78
เรง่ รดั การสอบสวน %)
%) %) %) %) %) %)

4 การปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับ

ของกลางใน

คดอี าญา ได้แก่

การควบคมุ การ
เกบ็ รกั ษา และการ 266 202 23 7 1 499 4.45 0.67

จำหน่ายของกลาง

และวัตถุพยานใน

คดี การแจ้งผล

เกยี่ วกบั ทรพั ย์ของ

กลางที่พนกั งาน

อัยการสัง่ คืน การ

ยึดทรพั ย์หรือของ (53.31 (40.48 (4.61 (1.40 (0.20 (100.00 (89.06

กลางตามคำส่ังศาล %) %) %) %) %) %) %)

25

ประเด็นคำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน คา่ เฉลยี่ S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผตู้ อบ

5 การควบคุม 300 169 21 7 2 499 4.52 0.68 ดมี าก
(33.87 0.71 ดมี าก
สารบบหมายจบั (60.12 (4.21 (1.40 (0.40 (100.00 (90.38 0.68 ดีมาก
การถอนหมายจับ %) %) 0.71 ดมี าก
%) %) %) %) %) 0.75 ดีมาก
189 0.65 ดีมาก
6 การควบคมุ สารบบ 276 (37.88 26 3 5 499 4.46 0.69 ดมี าก
การอายดั - ถอน 0.70 ดีมาก
%) 0.75 ดีมาก
อายดั ตวั ผู้ตอ้ งหา (55.31 (5.21 (0.60 (1.00 (100.00 (89.18
หรอื จำเลย 181 0.74 ดมี าก
%) %) %) %) %) %)
(36.27 0.68 ดมี าก
7 การควบคมุ สารบบ 284 %) 26 7 1 499 4.48
คำสงั่ ของพนักงาน 196

อัยการใหส้ อบสวน (56.91 (39.28 (5.21 (1.40 (0.20 (100.00 (89.66
เพม่ิ เตมิ %)
%) 205 %) %) %) %) %)

8 การเบกิ จา่ ย 262 (41.08 30 10 1 499 4.42
%)
คา่ ตอบแทนพยาน (52.51 (6.01 (2.00 (0.20 (100.00 (88.38
149
%) %) %) %) %) %)
(29.86
9 การควบคุมการ 249 %) 33 8 4 499 4.38

แจง้ ความคบื หน้า (49.90 186.1 (6.61 (1.60 (0.80 (100.00 (87.54
การสอบสวน (37.29
%) %) %) %) %) %)
%)
10 การลงข้อมูลใน
193
ระบบสารสนเทศ 324 (38.68 21 2 3 499 4.58
อาชญากรรมของ
%)
สถานีตำรวจ (64.93 (4.21 (0.40 (0.60 (100.00 (91.62
(CRIMES) %) 166
%) %) %) %) %)
(33.27
279.3 %) 25.9 5.3 2.4 499 4.47

ค่าเฉลย่ี สว่ นที่ 1 (55.97 196 (5.19 (1.06 (0.48 (100.0 (89.44

%) (39.28 %) %) %) %) %)
%)
สว่ นท่ี 2 การประสานงานทางคดี
179
11 การตรวจสอบผล 274 23 5 4 499 4.46
(35.87
คดีและแจง้ (54.91 %) (4.61 (1.00 (0.80 (100.00 (89.18

หน่วยงานทีร่ อ้ งขอ %) %) %) %) %) %)

12 การส่งหมาย ไดแ้ ก่

หมายเรยี กพยาน 297 26 3 7 499 4.49
ของศาล

หมายเรียกพยาน

และผูต้ ้องหาจาก (59.52 (5.21 (0.60 (1.40 (100.00 (89.78
สถานตี ำรวจหรือ %)
หน่วยงานอื่น %) %) %) %) %)

13 การแจง้ ผลคดใี ห้ 260 33 5 5 499 4.40
กองทะเบยี น

ประวตั ิ (52.10 (6.61 (1.00 (1.00 (100.00 (88.10
อาชญากรรม (ทว.) %)
ทราบ %) %) %) %) %)

14 การประสานงานส่ง

ของกลางและ 285 28 6 1 499 4.48
ตดิ ตามผลการ

ตรวจพสิ จู น์ จาก

หนว่ ยงานพิสจู น์ (57.11 (5.61 (1.20 (0.20 (100.00 (89.70
หลักฐาน %)
%) %) %) %) %)

26

ประเดน็ คำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน คา่ เฉล่ยี S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง ผู้ตอบ

15 การรบั ส่งตัว 319 155 18 6 1 499 4.57 0.64 ดีมาก
0.71 ดีมาก
ผู้ต้องหาไปศาล (63.93 (31.06 (3.61 (1.20 (0.20 (100.00 (91.46 0.76 ดีมาก
หรือสถานที่อนื่ %) %) %) %) %) %) %)
0.69 ดีมาก
287 177.8 25.6 5 3.6 499 4.48
0.71 ดมี าก
คา่ เฉล่ยี ส่วนท่ี 2 (57.52 (35.63 (5.13 (1.00 (0.72 (100.0 (89.64 0.64 ดีมาก
0.67 ดมี าก
%) %) %) %) %) %) %)

สว่ นท่ี 3 การสนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของพนักงานสอบสวน

16 การช่วยเหลอื

พนกั งานสอบสวน

ขณะเขา้ เวร 291 172 25 3 8 499 4.47
สอบสวนสถานี

ตำรวจ เชน่ การ

ให้บรกิ าร

ประชาชนที่มาแจง้

ความ ซักถาม (58.32 (34.47 (5.01 (0.60 (1.60 (100.00 (89.46
เบอื้ งต้น จดั ทำ %) %) %) %) %) %) %)
เอกสาร เปน็ ต้น

17 การชว่ ยเหลอื

พนกั งานสอบสวน

ในการไปตรวจ 275 194 21 6 3 499 4.47
สถานท่ีเกดิ เหตุ

การจดั เก็บรวบรวม

พยานหลกั ฐานในที่

เกิดเหตุ รวมทง้ั

การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ (55.11 (38.88 (4.21 (1.20 (0.60 (100.00 (89.34
อน่ื นอกสถานี %) %) %) %) %) %) %)
ตำรวจ

18 การชว่ ยเหลือ

จดั การกรณีเกดิ

อบุ ัติเหตคุ ดจี ราจร 272 193 26 3 5 499 4.45
การนำรถในคดีมา

เกบ็ รักษาหรือส่ง

ตรวจ และการ

ช่วยเหลอื ด้านอ่นื ๆ (54.51 (38.68 (5.21 (0.60 (1.00 (100.00 (89.02
ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั คดี %) %) %) %)
จราจร %) %) %)

19 การลงบันทึก 314 163 17 2 3 499 4.57

ประจำวันเก่ยี วกบั (62.93 (32.67 (3.41 (0.40 (0.60 (100.00 (91.38
คดี %) %) %) %) %) %) %)

20 การลงบันทึก

ประจำวันเปน็

หลักฐาน รวมทง้ั 297 175 20 4 3 499 4.52
บนั ทึกประจำวัน

ระบบ

อิเลก็ ทรอนิกส์ (59.52 (35.07 (4.01 (0.80 (0.60 (100.00 (90.42

%) %) %) %) %) %) %)

27

ประเด็นคำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ต้อง จำนวน คา่ เฉลยี่ S.D. แปลผล
ค่าเฉล่ียส่วนที่ 3 กลาง ปรับปรุง ผูต้ อบ

289.8 179.4 21.8 3.6 4.4 499 4.50 0.70 ดมี าก

(58.08 (35.95 (4.37 (0.72 (0.88 (100.0 (89.92
%) %) %) %) %) %) %)

ค่าเฉล่ียทงั้ หมด 285.37 181.10 24.43 4.63 3.47 499 4.48 0.70 ดีมาก
รอ้ ยละ
(57.19 (36.29 (4.90 (0.93 (0.69 (100.0 (89.67
%) %) %) %) %) %) %)

ตารางแสดงคะแนนการประเมนิ หลงั การทดลองของสถานีตำรวจควบคุม

ประเดน็ คำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง จำนวน คา่ เฉล่ยี S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง ผูต้ อบ 0.78 ดี
0.78 ดี
ส่วนท่ี 1 งานสารบบคดีอาญาในสถานตี ำรวจ 76 0.74 ดี
(19.69
1 การควบคมุ สารบ 100 196 13 1 386 3.99 0.77 ดี
บคดอี าญา - %)
77 0.75 ดี
จราจร ของสถานี (25.91 (50.78 (19.95 (3.37 (0.26 (100.00 (79.74 0.79 ดี
ตำรวจ %) %) %)
79 %) %) %) %)
(20.47
2 การจัดเก็บสำเนา 80 212 %) 14 3 386 3.91
สำนวนการ
82
สอบสวนของสถานี (20.73 (54.92 (3.63 (0.78 (100.00 (78.24
ตำรวจ %) %) (21.24
%) %) %) %) %)
60
3 การจดั ทำบัญชี 78 215 14 0 386 3.92
สำนวนคา้ ง เพอ่ื (15.54
%)
การตรวจสอบและ (20.21 (55.70 68 (3.63 (0.00 (100.00 (78.50
เรง่ รัดการสอบสวน %)
%) (17.62 %) %) %) %)
%)
4 การปฏบิ ัติเกย่ี วกับ

ของกลางใน

คดีอาญา ไดแ้ ก่

การควบคมุ การ

เกบ็ รกั ษา และการ 81 206 17 0 386 3.91
จำหนา่ ยของกลาง

และวตั ถุพยานใน

คดี การแจง้ ผล

เก่ียวกบั ทรพั ย์ของ

กลางที่พนักงาน

อัยการสง่ั คนื การ (20.98 (53.37 (4.40 (0.00 (100.00 (78.19
ยดึ ทรัพย์หรอื ของ %) %)
กลางตามคำสั่งศาล %) %) %) %)

5 การควบคมุ 111 204 10 1 386 4.07

สารบบหมายจับ (28.76 (52.85 (2.59 (0.26 (100.00 (81.45
การถอนหมายจับ %)
%) %) %) %) %)

6 การควบคุมสารบบ 86 213 16 3 386 3.94
การอายัด - ถอน

อายัดตัวผู้ตอ้ งหา (22.28 (55.18 (4.15 (0.78 (100.00 (78.81
หรอื จำเลย
%) %) %) %) %) %)

28

ประเด็นคำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ต้อง จำนวน ค่าเฉล่ีย S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง ผตู้ อบ 0.77 ดี
215 0.80 ดี
7 การควบคุมสารบบ 93 65 9 4 386 3.99 0.81 ดี
คำสงั่ ของพนกั งาน (55.70 0.78 ดี
%) (16.84 0.78 ดี
อยั การให้สอบสวน (24.09 212 %) (2.33 (1.04 (100.00 (79.90 0.78 ดี
เพม่ิ เตมิ 65 0.70 ดี
%) (54.92 %) %) %) %)
%) (16.84 0.76 ดี
8 การเบิกจา่ ย 89 216 %) 17 3 386 3.95
80 0.73 ดี
ค่าตอบแทนพยาน (23.06 (55.96 (4.40 (0.78 (100.00 (79.02
%) (20.73 0.74 ดี
%) %) %) %) %) %) 0.75 ดี
190
9 การควบคุมการ 68 60 16 6 386 3.84
(49.22
แจ้งความคบื หน้า (17.62 %) (15.54 (4.15 (1.55 (100.00 (76.79
การสอบสวน %)
%) 207.9 71.2 %) %) %) %)
(53.86
10 การลงขอ้ มลู ใน (18.45
%) %)
ระบบสารสนเทศ 126 7 3 386 4.11
อาชญากรรมของ 220 72
(56.99 (18.65
สถานตี ำรวจ (32.64 (1.81 (0.78 (100.00 (82.23
(CRIMES) %) %) %)
%) %) %) %)
230 61
91.2 13.3 2.4 386 3.96
(59.59 (15.80
คา่ เฉล่ยี สว่ นท่ี 1 (23.63 %) %) (3.45 (0.62 (100.0 (79.28

%) 221 72 %) %) %) %)

ส่วนที่ 2 การประสานงานทางคดี (57.25 (18.65
%) %)
11 การตรวจสอบผล 75 15 4 386 3.92
210 70
คดีและแจ้ง (19.43 (3.89 (1.04 (100.00 (78.41
(54.40 (18.13
หน่วยงานที่ร้องขอ %) %) %) %) %) %) %)
209 55
12 การส่งหมาย ได้แก่
(54.15 (14.25
หมายเรียกพยาน 83 %) %) 10 2 386 4.02
ของศาล 218 66

หมายเรียกพยาน (56.48 (17.10
%) %)
และผูต้ อ้ งหาจาก (21.50 (2.59 (0.52 (100.00 (80.38
สถานีตำรวจหรอื %)
หนว่ ยงานอื่น %) %) %) %)

13 การแจง้ ผลคดใี ห้ 78 12 3 386 3.96
กองทะเบยี น

ประวัติ (20.21 (3.11 (0.78 (100.00 (79.18
อาชญากรรม (ทว.) %)
ทราบ %) %) %) %)

14 การประสานงานสง่

ของกลางและ 94 12 0 386 4.02
ติดตามผลการ

ตรวจพสิ ูจน์ จาก

หนว่ ยงานพสิ จู น์ (24.35 (3.11 (0.00 (100.00 (80.49
หลกั ฐาน %)
%) %) %) %)

15 การรับสง่ ตวั 113 7 2 386 4.12
ผตู้ ้องหาไปศาล
หรือสถานท่อี ื่น (29.27 (1.81 (0.52 (100.00 (82.47
%)
คา่ เฉลย่ี ส่วนที่ 2 %) %) %) %)
88.6
11.2 2.2 386 3.98
(22.95
%) (2.90 (0.57 (100.0 (79.67

%) %) %) %)

29

ประเด็นคำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ต้อง จำนวน คา่ เฉล่ีย S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง ผตู้ อบ 0.83 ดี

ส่วนที่ 3 การสนบั สนุนการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานสอบสวน 0.84 ดี

16 การช่วยเหลือ 0.86 ดี
0.79 ดี
พนกั งานสอบสวน 0.85 ดี
0.86 ดี
ขณะเข้าเวร 99 200 63 17 7 386 3.99
สอบสวนสถานี

ตำรวจ เช่น การ

ใหบ้ รกิ าร

ประชาชนท่ีมาแจง้

ความ ซักถาม (25.65 (51.81 (16.32 (4.40 (1.81 (100.00 (79.78
เบ้ืองตน้ จัดทำ %) %) %)
เอกสาร เปน็ ตน้ %) %) %) %)

17 การช่วยเหลือ

พนกั งานสอบสวน

ในการไปตรวจ 83 201 81 13 8 386 3.90
สถานทีเ่ กิดเหตุ

การจัดเก็บรวบรวม

พยานหลกั ฐานในที่

เกิดเหตุ รวมทั้ง

การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ (21.50 (52.07 (20.98 (3.37 (2.07 (100.00 (77.92
อืน่ นอกสถานี %) %) %)
ตำรวจ %) %) %) %)

18 การช่วยเหลอื

จัดการกรณเี กิด

อบุ ัตเิ หตคุ ดจี ราจร 82 203 76 13 12 386 3.88
การนำรถในคดมี า

เกบ็ รักษาหรอื ส่ง

ตรวจ และการ

ช่วยเหลือดา้ นอนื่ ๆ (21.24 (52.59 (19.69 (3.37 (3.11 (100.00 (77.70
ทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับคดี %) %) %)
จราจร %) %) %) %)

19 การลงบนั ทกึ 102 211 53 18 2 386 4.05

ประจำวนั เก่ียวกับ (26.42 (54.66 (13.73 (4.66 (0.52 (100.00 (80.99
คดี %) %) %)
%) %) %) %)

20 การลงบนั ทกึ

ประจำวนั เปน็ 102 202 59 17 6 386 4.01
หลกั ฐาน รวมทั้ง

บันทึกประจำวัน

ระบบ (26.42 (52.33 (15.28 (4.40 (1.55 (100.00 (80.11
อิเล็กทรอนิกส์ %) %) %)
%) %) %) %)

93.6 203.4 66.4 15.6 7 386 3.94

ค่าเฉลี่ยส่วนที่ 3 (24.25 (52.69 (17.20 (4.04 (1.81 (100.0 (78.70

%) %) %) %) %) %) %)

คา่ เฉล่ียทง้ั หมด 91.15 209.30 68.70 13.35 3.50 386 3.96 0.80 ดี
รอ้ ยละ
(23.61 (54.22 (17.80 (3.46 (0.91 (100.0 (79.24
%) %) %) %) %) %) %)

30

3.1.3 การเปรียบเทียบผลการประเมินก่อน – หลังการทดลอง ของสถานีตำรวจทดลองและ
สถานีตำรวจควบคมุ

สรุปผลการเปรียบเทียบผลการประเมินของสถานีตำรวจทดลองและควบคุม ก่อน
และหลังการทดลองได้ ดังน้ี

สถานีตำรวจ คา่ คะแนนเฉลีย่ คา่ คะแนนเฉลย่ี
กอ่ นทดลอง (pre-test) หลงั ทดลอง (post-test)
ทดลอง
ควบคุม 3.72 4.48

3.88 3.96

เมื่อนำข้อมูลเชิงปริมาณมาวิเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงสถิติ โดยใช้วิธี Paired Sample
t-test สำหรับการเปรยี บเทียบผลการประเมนิ ระหว่างก่อนและหลังการทดลองในสถานีตำรวจทดลอง และวิธี
Two Independent Sample t-test สำหรับการเปรยี บเทียบผลการประเมนิ หลังการทดลองของสถานีตำรวจ
ทดลองกับผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจควบคุม และการเปรียบเทียบผลการประเมินก่อน
การทดลองของสถานีตำรวจทดลองกับผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจควบคุม เพื่อทดสอบ
ความแตกตา่ งอย่างมนี ยั สำคัญทางสถติ ิ ตามสมมตฐิ านของการประเมนิ พบว่า

สมมติฐานที่ 1 ผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจทดลองไม่แตกต่าง
อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถิติกบั สถานีตำรวจควบคมุ

H0: ผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจทดลองไม่แตกต่างกับสถานี
ตำรวจควบคมุ

HA: ผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจทดลองแตกต่างกับสถานีตำรวจ
ควบคุม

สำหรับการทดสอบสมมติฐานนี้ ใช้วิธี Two Independent Sample t-test ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น (Level of Significance) 95% ดังนั้น จะปฏิเสธสมมติฐานหลักเมื่อ ค่า t จากการคำนวณไม่ได้
อยใู่ นบรเิ วณการยอมรบั สมมติฐานหลักเม่อื เทยี บกับขอบเขตวกิ ฤต ผลการทดสอบเปน็ ดังน้ี

ตารางท่ี 1 เปรยี บเทยี บคา่ ความแตกตา่ งระหวา่ งผลการประเมนิ ก่อนทดลองของสถานีตำรวจทดลองและสถานี
ตำรวจควบคมุ

กอ่ นการทดลองของ ก่อนการทดลองของ t P
ประเด็นการเปรียบเทยี บ สถานตี ำรวจทดลอง สถานตี ำรวจควบคุม

̅ S.D. ̅ S.D.

ผลลัพธ์ 3.73 0.01 3.88 0.01 -5.41 0.00

จากตารางที่ 1 พบว่า ค่าสถิติทดสอบ t เท่ากับ -5.51 น้อยกว่าค่าวิกฤต คือ
-2.03 ที่ จำนวนค่าอิสระ (df) เท่ากับ 35 และระดับนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ .05 อยู่ในบริเวณปฏิเสธสมมติฐาน

31

หลัก (H0) จึงยอมรับสมมติฐานแย้ง (HA) ดังนั้น ผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง
แตกต่างกบั ผลการประเมินก่อนการทดลองของสถานตี ำรวจควบคุม อยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05

สมมติฐานที่ 2 ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองแตกต่าง
อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถิติกับผลการประเมนิ ก่อนทดลองของสถานีตำรวจทดลอง

H0: ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองไม่แตกต่างกับก่อนการ
ทดลองของสถานีตำรวจทดลอง

HA: ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองแตกต่างกับก่อนการ
ทดลองของสถานตี ำรวจทดลอง

สำหรับการทดสอบสมมติฐานนี้ ใช้วิธี Paired Sample t-test ที่ระดับความเชื่อม่ัน
(Level of Significance) 95% ดังนั้น จะปฏิเสธสมมติฐานหลักเมื่อ ค่า t จากการคำนวณไม่ได้อยู่ในบริเวณ

การยอมรบั สมมตฐิ านหลกั เม่ือเทียบกบั ขอบเขตวกิ ฤต ผลการทดสอบเป็น ดงั น้ี

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบค่าความแตกต่างระหว่างผลการประเมินก่อนและหลังการทดลองของสถานีตำรวจ
ทดลอง

ประเดน็ การเปรยี บเทยี บ กอ่ นการทดลองของ หลงั การทดลองของ t P
ผลลัพธ์ สถานตี ำรวจทดลอง สถานตี ำรวจทดลอง -86.28 0.00

̅ S.D. ̅ S.D.

3.73 0.08 4.48 0.05

จากตารางที่ 2 พบว่า ค่าสถิติทดสอบ t เท่ากับ -86.28 น้อยกว่าค่าวิกฤต คือ

-1.73 ที่ จำนวนค่าอิสระ (df) เท่ากับ 19 และระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 อยู่ในบริเวณปฏเิ สธสมมติฐาน
หลัก (H0) จึงยอมรับสมมติฐานแย้ง (HA) ดังนั้น ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง
แตกต่างกับผลการประเมินกอ่ นการทดลองของสถานตี ำรวจทดลอง อยา่ งมีนยั สำคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .05

สมมติฐานที่ 3 ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองแตกต่าง
อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ิกับผลการประเมินหลังทดลองของสถานตี ำรวจควบคุม

H0: ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองไม่แตกต่างกับผลการ
ประเมินหลังทดลองของสถานตี ำรวจควบคุม

HA: ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลองแตกต่างกับผลการ
ประเมินหลังทดลองของสถานตี ำรวจควบคมุ

สำหรับการทดสอบสมมตฐิ านนี้ ใช้วิธี Two Independent Sample t-test ที่ระดับ
ความเชื่อมั่น (Level of Significance) 95% ดังนั้น จะปฏิเสธสมมติฐานหลกั เมื่อ ค่า t จากการคำนวณไม่ได้

อย่ใู นบรเิ วณการยอมรับสมมติฐานหลักเมอื่ เทียบกบั ขอบเขตวกิ ฤต ผลการทดสอบเป็น ดังนี้

32

ตารางที่ 3 เปรยี บเทยี บค่าความแตกตา่ งระหว่างผลการประเมนิ ก่อนทดลองของสถานตี ำรวจทดลองและสถานี
ตำรวจควบคุม

หลงั การทดลองของ หลงั การทดลองของ

ประเดน็ การเปรียบเทียบ สถานีตำรวจทดลอง สถานตี ำรวจควบคมุ t P

̅ S.D. ̅ S.D.

ผลลัพธ์ 4.48 0.06 3.98 0.08 24.1 0.00

จากตารางที่ 3 พบว่า ค่าสถิติทดสอบ t เท่ากับ 24.1 มากกว่าค่าวิกฤต คือ

ที่ 2.03 จำนวนค่าอิสระ (df) เท่ากับ 35 และระดับนัยสำคัญทางสถิตทิ ี่ .05 อยู่ในบริเวณปฏิเสธสมมติฐาน
หลัก (H0) จึงยอมรับสมมติฐานแย้ง (HA) ดังนั้น ผลการประเมินหลังการทดลองของสถานีตำรวจทดลอง
แตกตา่ งกับผลการประเมนิ หลังการทดลองของสถานตี ำรวจควบคุม อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

แผนภมู ิเปรยี บเทียบความคิดเหน็ ก่อนและหลังการทดลองของสถานตี ำรวจทดลอง
ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ก่ อ น แ ล ะ ห ลั ง ก า ร ท ด ล อ ง ข อ ง ส ถ า นี ตา ร ว จ ท ด ล อ ง

กอ่ นทดลอง หลังทดลอง

74.71
89.44

74.3
89.64

74.31
89.92

74.44
89.67

งานสารบบคดีอาญา การประสานงานคดี การสนับสนุนการปฏิบัติ ส รุ ป

ความคดิ เหน็ กอ่ นและหลงั การทดลองของสถานีตำรวจทดลอง
1) ข้าราชการตำรวจมีความพึงพอใจในงานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจ เพิ่มข้ึน
จากก่อนการทดลอง รอ้ ยละ 74.71 เป็น 89.44 คิดเป็นรอ้ ยละที่เพมิ่ ข้นึ 14.73
2) ขา้ ราชการตำรวจมีความพงึ พอใจในการประสานงานทางคดี เพม่ิ ข้ึนจากก่อนการ
ทดลอง รอ้ ยละ 74.3 เป็น 89.64 คิดเป็นร้อยละท่ีเพ่มิ ขึน้ 15.34
3) ข้าราชการตำรวจมีความพึงพอใจในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงาน
สอบสวน เพิ่มขน้ึ จากกอ่ นการทดลอง รอ้ ยละ 74.31 เปน็ 89.92 คดิ เปน็ ร้อยละทเี่ พ่ิมข้นึ 15.61

33

4) ข้าราชการตำรวจมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงาน
สอบสวนในสถานีตำรวจ เพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง ร้อยละ 74.44 เป็น 89.67 คิดเป็นร้อยละที่เพิ่มข้ึน
15.23

แผนภมู เิ ปรียบเทียบความคดิ เหน็ หลงั การทดลองของสถานีตำรวจทดลองและสถานตี ำรวจควบคมุ
ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ห ลั ง ก า ร ท ด ล อ ง ข อ ง ส ถ า นี ตา ร ว จ ท ด ล อ ง
แ ล ะ ส ถ า นี ตา ร ว จ ค ว บ คุ ม

สถานีตารวจทดลอง สถานีตารวจควบคุม

89.44 89.64 89.92 89.67

79.28 79.67 78.7 79.24

งานสารบบคดีอาญา การประสานงานคดี การสนับสนุนการปฏิบัติ ส รุ ป

ความคดิ เห็นหลงั การทดลองของสถานตี ำรวจทดลองและสถานีตำรวจควบคุม
1) ข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ร้อยละ 89.44 มีความพึงพอใจในงาน
สารบบคดอี าญาในสถานตี ำรวจ มากกว่าข้าราชการตำรวจในสถานตี ำรวจควบคุม รอ้ ยละ 79.28 คิดเป็นร้อย
ละ 10.16
2) ข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ร้อยละ 89.64 มีความพึงพอใจในการ
ประสานงานทางคดี มากกว่าข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจควบคุม ร้อยละ 79.67 คดิ เป็นรอ้ ยละ 9.97
3) ข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ร้อยละ 89.92 มีความพึงพอใจในการ
ประสานงานทางคดี มากกว่าขา้ ราชการตำรวจในสถานตี ำรวจควบคุม ร้อยละ 78.7 คิดเปน็ ร้อยละ 11.22
4) ข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจทดลอง ร้อยละ 89.67 มีความพึงพอใจในการ
ปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ มากกว่าข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจควบคุม
ร้อยละ 79.24 คิดเปน็ ร้อยละ 10.43

3.2 ผลการประเมินสิ่งป้อนเข้า (input) และการถอดบทเรยี นจากการปฏบิ ตั ิ
การประเมินสิ่งป้อนเข้า (input) และการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ เป็นการ

ประเมินประเด็นการจัดรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน บุคลากร งบประมาณ
วัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข ใช้วิธีการสังเกต
สัมภาษณ์ การศึกษาเอกสาร และจดั ประชมุ กล่มุ (focus group) มผี ลการประเมิน ดังน้ี

34

3.2.1 ผลการประเมนิ สิง่ ปอ้ นเข้า (input)
การประเมินสิ่งป้อนเข้า (input) ได้แก่ การจัดรูปแบบและวธิ ีการปฏิบัติงาน

ของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ รวมทั้งการถอดบทเรียนจากการปฏิบัติ
ปัญหา อุปสรรคและแนวทางแก้ไข เป็นการประเมินโดยใช้วิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยใช้
เคร่ืองมือ การสังเกต สัมภาษณ์ และเอกสาร สามารถสรุปได้ ดังนี้

3.2.1.1 การจัดรูปแบบและวิธีการปฏิบัตงิ านของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
สถานีตำรวจทดลองได้จัดรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน เป็น 6 กลุ่มตามแบบ
ที่กำหนดในโครงการ ได้แก่ 1) การบริหารทางคดีและการสอบสวน 2) การประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย
3) งานเทคโนโลยแี ละสารสนเทศ 4) การรับ-สง่ ผตู้ อ้ งหา 5) การสนับสนุนงานสอบสวน และ 6) การสนบั สนุน
การป้องกันปราบปรามอาชญากรรม โดยออกคำส่ังมอบหมายหน้าที่ให้ข้าราชการตำรวจปฏิบัติหน้าที่ตามกลุ่ม
ที่ได้รับมอบหมายอย่างชัดเจน เน้นการประสานงานกับงานอืน่ ๆ ในสถานีตำรวจ เช่น งานสืบสวน งานจราจร
ที่สนับสนุนงานสอบสวนอย่างเป็นระบบ มีการติดตาม ตรวจสอบ ปัญหา ข้อขัดข้อง ในระหว่างดำเนินการ
เพ่อื แก้ไขและมอบหมายหน้าท่เี พิ่มเติมในสว่ นที่ยงั ไมส่ มบูรณ์ โดยประชุมติดตาม กำชบั การปฏิบัติงานร่วมกัน
เป็นประจำ บางสถานีตำรวจได้ให้ผู้ปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนจัดทำแฟ้มรายงานผลการปฏิบัติ
เพื่อให้สะดวกต่อการติดตามตรวจสอบผลการปฏิบัติ รวมทั้งบางสถานีตำรวจ มีการมอบหมายหน้าที่เพิ่มเติม
ให้เจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลระบบ (admin) ช่วยประสานงานเกี่ยวกับ
การรับคำร้องทกุ ขอ์ อนไลน์และรายงานผลให้ผเู้ สียหายทราบ

3.2.1.2 บุคลากรที่ใช้ในการดำเนินการทดลองปฏิบัติจริงของส่วน
สนับสนนุ งานสอบสวนในสถานตี ำรวจ ขา้ ราชการตำรวจทเี่ ข้ารว่ มโครงการทดลองปฏิบัตจิ ริงของสว่ นสนับสนุน
งานสอบสวนในสถานีตำรวจ ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดสถานีตำรวจทดลอง มีบางส่วนที่เป็น
ขา้ ราชการตำรวจนอกสงั กดั เนือ่ งจากขาดแคลนข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจนัน้ แตไ่ ม่ว่าจะเปน็ ข้าราชการ
ตำรวจในหรือนอกสังกัดสถานีตำรวจทดลอง การคัดเลือกผู้มาปฏิบัติในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนต่างเป็น
บุคลากรที่มีคุณภาพ การกำหนดกลุ่มงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ทำให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติ
มากขึ้นทั้งในฐานะผู้สั่งการและผู้ปฏิบัติงานเนื่องจากมีการกำหนดรายละเอียดของงานแต่ละกลุ่มที่ต้อง
รับผิดชอบ ส่งผลให้ผู้ปฏิบัติหน้าที่ทราบขอบเขตของงานและสามารถเรียนรู้ รวมทั้งได้ฝึกฝนในส่วนงาน
ท่รี บั ผดิ ชอบและงานสว่ นอื่นทีเ่ กี่ยวข้องจนเกดิ เปน็ ทักษะและความชำนาญในการปฏิบตั งิ านและสามารถปฏิบัติ
หน้าที่แทนกันได้หากขาดแคลนกำลังพล และเมื่อพบหรือเกิดปัญหาได้กำหนดให้รายงานผู้บังคับบัญชา
ตามลำดับช้ัน ซ่ึงผ้บู งั คับบญั ชาจะสามารถเข้าแก้ไขปญั หาได้อย่างถูกต้องและทนั ท่วงที เนื่องจากผู้บังคับบัญชา
ต่างทราบรายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานของทุกกลุ่มงานจากกำหนดหน้าที่ รวมทั้งสามารถติดตามผลการ
ดำเนินการได้ทุกขั้นตอนอย่างใกล้ชิดเป็นประจำ แต่การโยกย้ายข้าราชการตำรวจระหว่างการทดลองปฏิบัติ
หน้าท่ีทำให้ขาดแคลนกำลังพลในการปฏิบัติงานส่งผลให้ข้าราชการที่เข้าร่วมโครงการต้องรับผิดชอบงาน
เพม่ิ ข้ึนจากหน้าทเี่ ดิม

3.2.1.3 งบประมาณที่ใช้ในการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติจริงของ
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนิน
โครงการฯ ให้แก่สถานีตำรวจทดลองขนาดใหญ่ สถานีตำรวจละ 100,000 บาท และสถานีตำรวจทดลอง
ขนาดเล็ก สถานีตำรวจละ 50,000 บาท ซึ่งสถานีตำรวจทดลองส่วนใหญ่เห็นว่างบประมาณที่ได้รับจัดสรร
เพยี งพอตอ่ การดำเนนิ การตามโครงการฯ ในช่วง 3 เดือน ตามกำหนดเวลาทดลอง โดยจะนำไปใช้ในการจัดซ้ือ
วัสดุ อุปกรณ์ น้ำมันเชื้อเพลิง สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ บางส่วนได้นำไปปรับปรุงสถานที่ทำงาน

35

ให้เหมาะสมกับภารกิจการให้บริการประชาชนบนสถานีตำรวจ และค่าตอบแทนเจ้าหน้าท่ี แต่มีบาง
สถานีตำรวจทดลองอยู่ระหว่างดำเนินการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการฯ ทำให้หัวหน้าสถานีตำรวจ
หัวหนา้ งานสอบสวน และพนกั งานสอบสวน ต้องสำรองเงนิ สำหรบั คา่ ใช้จา่ ยสำหรับการดำเนินการกรณีเร่งด่วน
ที่เกิดข้นึ ในขณะดำเนินการทดลอง เพื่อนำมาสนบั สนนุ การปฏบิ ัติงานของเจ้าหนา้ ท่ี อกี ทง้ั บางสว่ นมีความกงั วล
ว่าหากสิ้นสุดการทดลองจะทำให้ไม่มีงบประมาณสนับสนุนให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
เฉกเช่นระหว่างมีการทดลอง เนื่องจากต้องการให้คงการปฏิบัติตามโครงการฯ ไว้จนกว่าจะมีการกำหนด
ตำแหน่งใหก้ ับสว่ นสนับสนุนงานสอบสวน

3.2.1.4 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติจริงของ
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในสถานีตำรวจ มีไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แต่ไม่ก่อให้เกิด
ความเสียหายต่อทางราชการแต่อย่างใด ซึ่งบางสถานีตำรวจได้แก้ไขความขาดแคลนดังกล่าวโดยขอรับ
การสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับ
การปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวน เช่น คอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก เครื่องพิมพ์ เครื่องสแกนเอกสาร
กล้องบันทึกภาพ ไมโครโฟน กระดาษ สมุดแบบพิมพ์ต่าง ๆ แฟ้มจัดเก็บเอกสาร โปรเจคเตอร์ อุปกรณ์จัดเก็บ
ข้อมูลและเอกสาร อุปกรณ์ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบอินเทอร์เน็ต น้ำมันเชื้อเพลงิ สำหรับการออกตรวจ
ทเ่ี กิดเหตุ นำสง่ ตัวผูต้ ้องหา นำสง่ หมาย เป็นตน้

3.2.1.5 ความใส่ใจของผู้บงั คบั บญั ชาต่อการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติ
จรงิ ของสว่ นสนบั สนนุ งานสอบสวนในสถานตี ำรวจ ผ้บู ังคบั บัญชาต้งั แตผ่ บู้ ัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้บัญชาการ
และผู้บังคับการ ต่างให้ความสำคัญและใส่ใจในการดำเนินโครงการฯ เป็นอย่างมาก เห็นได้จากการประชุม
ชี้แจง ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินโครงการฯ โดยมี พลตำรวจเอกปิยะ อุทาโย รองผู้บัญชาการตำรวจ
แห่งชาติ เปน็ ประธานการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ (Video Conference) ณ ห้องประชมุ ศปก.ตร. ชนั้ 20
อาคาร 1 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 อีกทั้ง พลตำรวจเอกสุทิน ทรัพย์พ่วง
รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ รวมทั้งผู้บัญชาการ และผู้บังคับการในหน่วยต่าง ๆ ต่างได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม
ให้คำแนะนำ และให้กำลังใจในการปฏิบัติตามโครงการฯ เป็นประจำ โดยบางส่วนให้นำโครงการบูรณาการ
งานสอบสวนมาใชเ้ พ่อื ให้เกดิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าท่เี พ่ิมข้นึ

3.2.1.6 ปัญหาและอปุ สรรคของการดำเนนิ โครงการทดลองปฏบิ ัติจริงของ
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ ปัญหา อุปสรรคของการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในสถานีตำรวจ คือ ขาดแคลนกำลังพลที่ใช้ในการทดลอง ส่งผลให้กำลังพลที่มาปฏิบัติหน้าที่
ในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจทดลองต้องรับผิดชอบงานเพิ่มขึ้นจากหน้าที่เดิม ประกอบกับ
สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีนโยบายหรือสั่งการให้สถานีตำรวจปฏิบัติงานเป็นจำนวนมาก ทำให้ข้าราชการ
ตำรวจต้องรับผิดชอบงานเพิ่มเติม อีกทั้งการติดต่อประสานงานกับหน่วยงานอื่นทำให้ไม่สามารถกำหนดเวลา
แล้วเสร็จของงานในส่วนการดำเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานสอบสวนได้ ส่งผลให้เกิดความล่าช้า
ต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ซึ่งเกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ รวมทั้งวัสดุ อุปกรณ์และงบประมาณ
ทจ่ี ำเป็นตอ่ การขับเคลอื่ นงานสอบสวนมไี มเ่ พยี งพอ

3.2.1.7 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติจริงของ
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ ควรเพิ่มกำลังพลและแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในส่วนของงาน
สนับสนุนงานสอบสวน วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและทันสมัย งบประมาณในการ
ดำเนินการของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้เหมาะสมและเพียงพอต่อภารกิจหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ รวมท้ัง

36

จัดให้มีการฝึกอบรมกำลังพลในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้มีความรู้และความชำนาญในการปฏิบัติงาน
ตลอดเวลา โดยหากโครงการฯ ดงั กลา่ ว และการกำหนดตำแหน่งใหส้ ่วนสนับสนนุ งานสอบสวนในสถานีตำรวจ
ประสบผลสำเร็จ จะทำใหง้ านสอบสวนมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผลบรรลุตามความมุ่งหมายของ ตร. ในการ
อำนวยความยุติธรรมให้เกิดแกส่ งั คม งานสอบสวนของสำนกั งานตำรวจแห่งชาติพัฒนาเป็นท่ยี อมรับและเช่ือถือ
ศรัทธาของประชาชน ตลอดจนช่วยในการบริหารงานของผู้บังคบั บัญชา เนื่องจากมีบุคลากรที่มีความสามารถ
ช่วยแบง่ เบาและลดภาระงานท่พี นกั งานสอบสวนต้องรบั ผดิ ชอบได้อย่างดี

3.2.2 การถอดบทเรยี นจากการปฏบิ ตั ิ ปัญหาขอ้ ขดั ข้องและข้อเสนอแนะ
การถอดบทเรียนจากการปฏิบตั ิ ปญั หาขอ้ ขดั ข้องและข้อเสนอแนะ โดยการ

ประชุมกลุ่ม (Focus Group) ผ่านระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ซึ่งผู้เข้าร่วมประชุม ได้แก่ ข้าราชการ
ตำรวจระดบั หวั หนา้ สถานีตำรวจ และหัวหนา้ งานสอบสวน สามารถสรปุ ได้ ดังน้ี

3.2.2.1 การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งของหัวหน้าส่วน
สนับสนนุ งานสอบสวน ทำหน้าท่ีสอบสวน (หัวหนา้ งานคดี) ซ่ึงกำหนดใหต้ ำแหนง่ ระดับสารวัตร ตอ้ งเปน็ ผดู้ ำรง
ตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่งสารวัตร ทำหน้าที่สอบสวน รวมกันแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ระยะเวลาการดำรง
ตำแหน่งจะต่อเนื่องกันหรือไม่ก็ได้ หรือตำแหน่งระดับรองสารวัตร ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรง
ตำแหน่งรองสารวัตร ทำหน้าที่สอบสวน มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งจะต่อเนื่องกัน
หรือไม่ก็ได้ เป็นการกำหนดที่มีความเหมาะสมแล้ว เนื่องจากตำแหน่งดังกล่าวมีหน้าที่วางแผน อำนวยการ
สั่งการ ควบคุมกำกับดูแลมอบหมายงานให้ผู้ปฏิบัติงานส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ซึ่งเป็นงานเกี่ยวกับการ
บริหารงานคดีในสถานีตำรวจให้มีความเรียบร้อย ตลอดจนมีหน้าที่ต้องทำการสอบสวนเพิ่มเติมหรือแก้ไข
ปัญหาสำนวนค้างต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี จึงจำเป็นที่จะต้องกำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าว
มีประสบการณแ์ ละความร้คู วามสามารถอยา่ งเหมาะสม เพื่อใหส้ ามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

3.2.2.2 การกำหนดกรอบจำนวนตำแหน่ง ผู้บังคับหมู่ – รองสารวัตร
แต่ละกลุ่มงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนตามที่กำหนดในโครงการ ส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมดีแล้ว
บางส่วนในสถานีตำรวจขนาดใหญ่ซึ่งมีปริมาณคดีจำนวนมาก กรอบจำนวนตำแหน่งจึงยังไม่สอดคล้องกับ
ปริมาณงานที่สถานีตำรวจต้องรับผิดชอบ เช่น กลุ่มตำแหน่งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเทคโนโลยี
สารสนเทศ ควรกำหนดกรอบจำนวนตำแหน่งให้สอดคล้องกับปริมาณงานและความเปลี่ยนแปลงไปอย่าง
รวดเร็วและรุนแรงของสังคมในยุคปัจจุบัน ซึ่งเกิดจากการพัฒนาไปอย่างไร้ขีดจำกัดของเทคโนโลยีสารสนเทศ
หรือตำแหน่งเจ้าหน้าที่ในกลุ่มบริหารทางคดีและการสอบสวน ซึ่งต้องรับผิดชอบงานจำนวนมาก โดยบางงาน
มรี ายละเอียดการดำเนินงานท่ซี ้ำซ้อน เช่น การลงข้อมลู ต่าง ๆ นอกจากลงข้อมลู ในระบบแล้ว ยังต้องลงข้อมูล
บนกระดาษดว้ ย เป็นการเพม่ิ ปริมาณงานใหแ้ ก่เจา้ หนา้ ท่ที ร่ี บั ผิดชอบโดยไม่จำเป็น

สำหรับสถานีตำรวจขนาดเล็กบางส่วนเห็นว่าจำนวนกรอบตำแหน่ง
ที่กำหนดยังไม่สอดคล้องกับปริมาณงานในความรับผิดชอบ เนื่องจากบางพื้นท่ีมีเรือนจำ ท่าอากาศยาน หรือ
สถานที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบ ซึ่งก่อให้เกิดภาระงานที่หลากหลายและ
แตกต่างออกไป การกำหนดกรอบจำนวนตำแหน่งโดยใช้ปริมาณคดีเป็นฐานการพิจารณาจึงยังไม่สามารถ
รองรบั จำนวนตำแหน่งทคี่ วรจะมีตามข้อเท็จจรงิ ของแตล่ ะพื้นที่ได้ โดยสว่ นใหญเ่ หน็ วา่ ควรเพ่มิ จำนวนตำแหน่ง
ที่รับผิดชอบในกลุ่มการบริหารทางคดีและการสอบสวน และกลุ่มงานการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมาย
เป็นกลุ่มงานละ 1 ตำแหน่ง เพราะแต่ละกลุ่มมีงานในความรับผิดชอบเป็นจำนวนมาก และควรเพิ่มจำนวน
ตำแหนง่ ผูช้ ว่ ยพนักงานสอบสวนในกลุ่มการสนับสนนุ เวรสอบสวนเพ่ิมอีก 1 ตำแหนง่ หรือเพ่ิมตามจำนวนพนักงาน
สอบสวนในสัดส่วน 1 ตอ่ 1 เพราะลักษณะงานในกลุม่ ดงั กลา่ วต้องปฏิบตั ิหน้าทตี่ ลอด 24 ช่ัวโมง

37

3.2.2.3 การบรหิ ารจัดการส่วนสนบั สนนุ งานสอบสวนในชว่ งทดลอง เมื่อทราบ
แนวทางการดำเนินการตามโครงการแล้ว สถานีตำรวจได้ดำเนินการออกคำสั่งมอบหมายให้เจ้าหน้าที่
ปฏิบัติงานเป็นกลุ่มตามแบบที่กำหนดในโครงการ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่อยู่เดิม
โดยการกำหนดกลุ่มงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ทำให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติมากขึ้นทั้งในฐานะ
ผู้สั่งการและผู้ปฏิบัติงานเนื่องจากมีการกำหนดรายละเอียดของงานแต่ละกลุ่มที่ต้องรับผิดชอบ จึงทำให้
การปฏิบัติตามโครงการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ช่วยแบ่งเบาภาระงานของพนักงานสอบสวนได้เป็นอย่างดี
อีกทั้งการกำหนดให้มีหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวนช่วยให้การสอบสวนเพิ่มเติมหรือแก้ไขปัญหา
สำนวนค้างต่าง ๆ และการบรหิ ารจัดการคดใี นสถานีตำรวจเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพมากขน้ึ

3.2.2.4 หลังจากการทดลองครบ 3 เดือน พบข้อดีหรือจุดแข็งจากการ
ทดลองตามโครงการ ที่ควรนำไปใช้เป็นแบบอย่างในการปฏิบัติต่อไป คือ การแบ่งกลุ่มงานทำให้งานคดีใน
สถานีตำรวจเป็นระบบมากข้ึน มีเจา้ หน้าทชี่ ว่ ยเหลอื งานพนกั งานสอบสวนซ่ึงช่วยลดภาระงานใหแ้ ก่พนกั งานสอบสวน
มีงบประมาณสนับสนุนการปฏิบัติ มีเงินประจำตำแหน่งสำหรับตำแหน่งที่จะกำหนดขึ้นใหม่ ส่วนปัญหา
อุปสรรคหรือจุดอ่อนจากการทดลอง คือ พนักงานสอบสวนบางส่วนมีความรู้หรือความชำนาญในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ไม่เพียงพอ ผู้ปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนจึงควร
กำหนดคุณสมบัติให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพิ่มเติม นอกจากนี้จำนวนผู้ปฏิบัติหน้าที่
ในสว่ นสนบั สนนุ งานสอบสวนมีไม่สอดคล้องกับปริมาณงาน

3.2.2.5 จากผลการประเมินผลก่อนการทดลอง (Pre-Test) ในงานสารบบ
คดีอาญาในสถานีตำรวจ การประสานงานทางคดี และการสนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน
มีหลายหัวข้อซึ่งแปลผลได้ว่าดี แต่อยู่ในกลุ่มดีน้อยที่สุดในภาพรวม เช่น การปฏิบัติเกี่ยวกับของกลาง
ในคดีอาญา การควบคุมการแจ้งความคืบหน้าการสอบสวน การเบิกจ่ายค่าตอบแทนพยาน การแจ้งผลคดี
ให้กองทะเบียนประวัติอาชญากรรม (ทว.) ทราบ การช่วยเหลือพนักงานสอบสวนในการไปตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การจัดเก็บรวบรวมพยานหลักฐานในที่เกิดเหตุ การช่วยเหลือจัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุคดีจราจร เป็นต้น
สถานีตำรวจได้มีการปรับปรุงหรือแก้ไข โดยได้มีการมอบหมายหน้าที่แก่ผู้ปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนให้มีความชัดเจน มีการติดตาม ตรวจสอบ รายละเอียด ขั้นตอนการดำเนินการต่าง ๆ ในหน้าท่ี
ใหเ้ ป็นระบบและถูกต้อง รวมทั้งรายงานผลการปฏิบัติให้แกผ่ ู้เก่ียวข้องทราบอย่างต่อเน่ือง สม่ำเสมอ เช่น กรณี
การปฏิบัติเกี่ยวกับของกลาง ได้มีการสำรวจ ตรวจสอบคำพิพากษา และจำหน่ายของกลางอย่างเป็นระบบ
กรณีการควบคมุ การแจ้งความคืบหนา้ การสอบสวนและการเบิกจ่ายคา่ ตอบแทนพยาน ได้กำหนดใหม้ ีเจา้ หน้าท่ี
ผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้สามารถรายงานผลความคืบหน้าการสอบสวนได้อย่างเป็นระบบ และ
สามารถเบกิ จ่ายค่าตอบแทนพยานได้ทนั ที กรณีการแจง้ ผลคดีให้กองทะเบยี นประวัติอาชญากรรม (ทว.) ทราบ
ได้มีการตรวจสอบ ติดตามจากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดยได้รายงานผ่านระบบให้กองทะเบียนประวัติ
อาชญากรรมและผู้เสียหายทราบเป็นระยะ ๆ รวมทั้งได้ระดมกำลังพลในการนำขอ้ มูลที่ค้างในอดีตเข้าสู่ระบบ
รายงานผลให้กองทะเบียนประวัติอาชญากรรมทราบ ตามสั่งการสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่กำหนดให้แจ้ง
ผลคดีได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ภายใน เมษายน 2565 ในส่วนกรณีการช่วยเหลือพนักงานสอบสวนในการไป
ตรวจสถานที่เกิดเหตุ การจัดเก็บรวบรวมพยานหลักฐานในที่เกิดเหตุ การช่วยเหลือจัดการกรณีเกิดอุบัติเหตุ
คดีจราจร สถานีตำรวจได้มีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานอยู่เดิม และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น
หน่วยงานในสังกัด สพฐ.ตร. ในการช่วยเหลือซึ่งทำให้การปฏิบัติงานครบถ้วน สะดวก รวดเร็ว รวมทั้งเมื่อมี
การกำหนดใหม้ สี ่วนสนบั สนุนงานสอบสวนทำใหม้ เี จ้าหนา้ ท่ีสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ทิ ปี่ ระสทิ ธิภาพมากขนึ้

38

3.2.2.6 ข้อเสนอะแนะเพิ่มเติม ควรมีการกำหนดขอบเขตและแก้ไข
เพิ่มเติมหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานให้เหมาะสม ในส่วนหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติ
งานสอบสวนในส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ให้เพิ่มเติม ตัดทอน หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติ
งานสอบสวน ดังนี้

(1) กลุ่ม 1 การบรหิ ารทางคดีและการสอบสวน
- เพิ่มลักษณะงาน 1 ข้อ เป็น “...) ควบคุมระบบการรับ–สง่

ประเด็นการสอบสวนของพนักงานสอบสวนตา่ งพื้นท่ี”
(2) กลุ่ม 3 งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
- เพ่มิ ลกั ษณะงาน 1 ขอ้ เปน็ “…) ชว่ ยประสานงานเกยี่ วกับ

การรบั คำรอ้ งทกุ ขอ์ อนไลน์และรายงานผลให้ผู้เสียหายทราบ
(3) กลุ่ม 4 การรบั –สง่ ตัวผตู้ ้องหา
- เพิม่ คำวา่ “หรอื จำเลย” ตอ่ ท้ายคำว่า “ผตู้ ้องหา”
- ยกเลิกลักษณะงาน 1 ข้อ คือ “7) นำตัวผู้ต้องหาไป

รักษาพยาบาลกรณีได้รับบาดเจ็บ” เนื่องจากเป็นลักษณะงานในความรับผิดชอบของตำแหน่ง ผบ.หมู่ – รอง
สว. ทำหน้าท่ี ปฏบิ ัติการปอ้ งกนั ปราบปราม

3.3 การประเมนิ ความพงึ พอใจของประชาชนผูร้ ับบรกิ ารงานสอบสวน
การประเมินความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการงานสอบสวน ใช้วิธีการประเมินด้วย

แบบสอบถาม (Questionnaire) ทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยดำเนินการประเมินผลในช่วงหลังการทดลอง
กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนทีร่ ับบริการแจ้งความบนสถานีตำรวจ ผลการประเมินจากประชาชนทีม่ ารับบริการ
บนสถานีตำรวจทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.54 โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 67.30
มีความคิดเหน็ อยู่ในระดับดีมาก เมอื่ เปรยี บเทยี บกับสถานีตำรวจควบคุม กลุ่มตวั อย่างมีคา่ คะแนนเฉลี่ย 4.43
โดยกลมุ่ ตวั อย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 62.88 มคี วามคดิ เหน็ อยใู่ นระดับดมี าก

รายละเอยี ดปรากฏตามตาราง ดังน้ี

ตารางแสดงผลการประเมินจากประชาชนท่ีมารบั บรกิ ารบนสถานตี ำรวจทดลอง

ประเดน็ คำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ต้อง ไมท่ ราบ ท้งั หมด ค่าเฉลีย่ S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง 0.63 ดมี าก
1 มคี วามสะดวกและ 552 183
รวดเร็ว ในการรับ 72.25 23.95 21 4 2 2 764 4.67 0.86 ดีมาก
บรกิ ารทส่ี ถานตี ำรวจ 2.75
%% % 0.52 0.26 0.26 100.0 93.32
2 การลงบนั ทกึ
ประจำวันหรอื ขอคดั 530 195 18 %%%% %
สำเนามีความรวดเร็ว 69.37 25.52
และถกู ต้อง 2.36 5 1 15 764 4.57
%% %
0.65 0.13 1.96 100.0 91.49

%%%% %

39

ประเด็นคำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ต้อง ไม่ทราบ ทงั้ หมด คา่ เฉลี่ย S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง 0.76 ดมี าก

3 เจ้าหน้าทตี่ ำรวจมี 516 216 18 3 2 9 764 4.59 0.82 ดีมาก
การช้ีแจงข้อกฎหมาย 1.23 ดี
ขน้ั ตอนการ 67.54 28.27 2.36 0.39 0.26 1.18 100.0 91.78 0.89 ดีมาก
ดำเนนิ การให้ % % % % %%% %
ประชาชนรบั ทราบ
และมีความเขา้ ใจที่ 511 218 18 4 0 13 764 4.57
ถกู ตอ้ ง
66.88 28.53 2.36 0.52 0.00 1.70 100.0 91.34
4 เจ้าหนา้ ที่ตำรวจมี % % % % %%% %
ความซ่อื สัตย์สุจริต
และสรา้ งความ 462 226 25 6 0 45 764 4.32
เช่อื มั่นใน
กระบวนการยุตธิ รรม 60.47 29.58 3.27 0.79 0.00 5.89 100.0 86.41
% % % % %%% %
5 เจ้าหน้าท่ตี ำรวจมี 20.00 4.40 1.00 16.80 764 4.54
การแจ้งความคืบหน้า 514.20 207.60 2.62 0.58 0.13 2.20 100.0
ของการดำเนินการ % % %%% 90.87
สอบสวนหลงั จาก 67.30 27.17 %
รบั คำรอ้ งทกุ ข์เป็น % %
ระยะ ๆ

ค่าเฉลีย่

ตารางแสดงผลการประเมินจากประชาชนที่มารับบรกิ ารบนสถานีตำรวจควบคมุ

ประเดน็ คำถาม ดีมาก ดี ปาน พอใช้ ตอ้ ง ไม่ทราบ ทง้ั หมด ค่าเฉล่ยี S.D. แปลผล
กลาง ปรบั ปรุง 0.85 ดีมาก
40 1.07 ดี
1 มีความสะดวกและ 594 198 4.65 7 16 5 860 4.55
รวดเรว็ ในการรับ 69.07 23.02 % 0.90 ดี
บริการท่ีสถานตี ำรวจ 43 0.81 1.86 0.58 100.0 90.98
% % 5.00 0.89 ดี
2 การลงบนั ทึก 553 222 % %%%% %
ประจำวันหรอื ขอคัด 64.30 25.81
สำเนามีความรวดเรว็ % % 41 2 16 24 860 4.42
และถูกตอ้ ง
537 249 4.77 0.23 1.86 2.79 100.0 88.42
3 เจา้ หน้าที่ตำรวจมี %
การชี้แจงขอ้ กฎหมาย 62.44 28.95 %%%% %
ขน้ั ตอนการ % % 41
ดำเนนิ การให้ 9 16 8 860 4.46
ประชาชนรบั ทราบ 546 242 4.77
และมคี วามเข้าใจท่ี % 1.05 1.86 0.93 100.0 89.26
ถูกต้อง 63.49 28.14
% % %%%% %
4 เจ้าหนา้ ทีต่ ำรวจมี
ความซ่อื สตั ยส์ ุจริต 6 18 7 860 4.48
และสร้างความ
เชื่อมั่นใน 0.70 2.09 0.81 100.0 89.56
กระบวนการยตุ ธิ รรม
%%%% %

40

ประเดน็ คำถาม ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ต้อง ไม่ทราบ ท้งั หมด คา่ เฉลีย่ S.D. แปลผล
กลาง ปรับปรุง 1.24 ดี

5 เจา้ หน้าทตี่ ำรวจมี 1.01 ดี

การแจ้งความคบื หน้า 474 265 57 7 16 41 860 4.22
ของการดำเนินการ

สอบสวนหลงั จาก
รบั คำร้องทกุ ข์เปน็ 55.12 30.81 6.63 0.81 1.86 4.77 100 84.44
%%%%%%% %
ระยะ ๆ

540.80 235.20 44.40 6.20 16.40 17.00 860.00 4.43

ค่าเฉล่ยี 62.88 27.35 5.16 0.72 1.91 1.98 100.0 88.53

%%%%%%% %

ส่วนท่ี 4

สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ

4.1 สรุปผล
สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีนโยบายในการแก้ไขปัญหางานสอบสวน โดยกำหนดให้มี

ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนเป็นกลุม่ ตำแหน่งในโครงสรา้ งสถานีตำรวจ มีหัวหน้างานคดีรับผิดชอบกำกับ ดูแล
มีเจ้าหน้าที่ช่วยเหลือแบ่งเบาภาระงานของพนักงานสอบสวน มีการจัดสารบบทางคดีของสถานีตำรวจ
อย่างเป็นระบบ ประกอบกับสมาคมพนักงานสอบสวนเสนอให้มีการปรับปรุงและพัฒนางานสอบสวน โดยให้
ยกระดับหวั หนา้ งานธรุ การคดีของสถานีตำรวจให้มผี ู้รบั ผิดชอบเปน็ ระดับสารวัตร และเสนอรูปแบบโครงสร้าง
งานอำนวยการสอบสวนของสถานีตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้พิจารณาถึงเหตุผลและความจำเป็น
ต่อการปฏิบัติงานสอบสวนของสถานีตำรวจ จึงได้เสนอต่อ อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคล ขออนุมัติ
การกำหนดตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีต ำรวจในสังกัด
กองบัญชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภธู รภาค 1 – 9

อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบุคคล ในการประชุมครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม
2564 มีมติอนุมัติเกณฑ์การวิเคราะห์และกำหนดตำแหน่งส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีตำรวจ
ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาลและตำรวจภูธรภาค 1 – 9 อนุมัติกำหนดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ
ตำแหน่งสารวัตรและรองสารวัตร ทำหน้าที่สอบสวน (หัวหน้างานคดี) โดยให้อยู่ในสายงานสอบสวน
กลุ่มสายงานป้องกันปราบปราม และให้สำนักงานตำรวจแห่งชาติโดยสำนักงานกำลังพล นำการกำหนด
ตำแหน่งข้าราชการตำรวจที่ทำหน้าที่ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้กับสถานีตำรวจในสังกัดกองบัญชาการ
ตำรวจนครบาลและตำรวจภูธรภาค 1 – 9 กลับไปทบทวน โดยพิจารณาดำเนินการทดลองปฏิบัติจริง
ในลักษณะสถานีตำรวจทดลอง แล้วให้นำผลการทดลองมาเป็นข้อมูลประกอบการเสนอ อ.ก.ตร.บริหาร
ทรัพยากรบคุ คล พจิ ารณากำหนดตำแหนง่ ต่าง ๆ อีกครั้งหนงึ่

ต่อมาสำนักงานตำรวจแห่งชาติได้อนุมัติโครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในลกั ษณะสถานีตำรวจทดลอง โดยได้นำขอ้ เสนอแนะและข้อสังเกตจากทีป่ ระชุม อ.ก.ตร.บริหาร
ทรัพยากรบุคคลมาพิจารณากำหนดแนวทางและวิธีการดำเนินโครงการฯ เพื่อให้ได้ผลการทดลองที่ ถูกต้อง
ครอบคลมุ ครบถว้ น และไดเ้ ร่มิ ดำเนินการทดลองตามขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่วนั ท่ี 20 มกราคม 2565 ถึงวันท่ี
20 เมษายน 2565 รวมกำหนดเวลาทดลองจำนวน 3 เดือน

สำหรับการประเมินผลโครงการใช้รูปแบบทดลองปฏิบัติแบบกึ่งทดลอง (Quasi-
Experimental Design) ใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative research) ผสานกับวิธีการเชิงคุณภาพ
(Qualitative research) โดยมีขั้นตอนและเครื่องมือที่ใช้เพื่อประเมินผลตามวัตถุประสงค์ของโครงการแต่ละ
ประเดน็ ได้แก่

4.1.1 ประเด็นงานสารบบคดีอาญาในสถานตี ำรวจ การประสานงานทางคดกี ับหน่วยงานต่าง ๆ
ทั้งภายในและภายนอก การสนับสนุนการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวน การกำกับดูแล ควบคุม และ
บริหารงานสอบสวนของหัวหน้าสถานีตำรวจ และหัวหน้างานสอบสวน ใช้แบบสอบถาม (Quesionare)
ประเมินข้าราชการตำรวจในงานสอบสวนของสถานีตำรวจ ทุกนาย และหัวหน้าสถานีตำรวจก่อนและหลัง
การทดลองปฏิบตั ิ

42

ผลการประเมินก่อนการทดลอง กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจทดลอง มีความเห็น
ต่อการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ก่อนการทดลองปฏิบัติ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.72 (ร้อยละ
74.44) โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 52.31 มีระดับความคิดเห็นในระดับดี และกลุ่มตัวอย่าง
ในสถานีตำรวจควบคุม มีความเห็นต่อการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ก่อนการทดลองปฏิบัติ
มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.88 (ร้อยละ 77.65) โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 54.75 มีระดับ
ความคิดเห็นในระดับดี

ผลการประเมินหลังการทดลอง โดยกลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจทดลอง มีความเห็น
ต่อการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน หลังการทดลองปฏิบัติ มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.48 (ร้อยละ
89.67) โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 57.19 มีระดับความคิดเห็นในระดับดีมาก และกลุ่มตัวอย่าง
ในสถานีตำรวจควบคุม มีความเห็นต่อการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน หลังการทดลองปฏิบัติ
มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.96 (ร้อยละ 79.24) โดยผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 54.22 มีระดับ
ความคดิ เห็นในระดับดี

เปรียบเทยี บผลการประเมนิ ก่อนและหลังการทดลอง ผลการประเมนิ หลงั การทดลอง
ของสถานีตำรวจทดลอง มีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.48 (ร้อยละ 89.67) สูงกว่าผลการประเมินก่อนทดลองของ
สถานตี ำรวจทดลอง มคี ่าคะแนนเฉล่ยี 3.72 (ร้อยละ 74.44) ร้อยละ 15.23 และสงู กว่าผลการประเมินหลัง
การทดลองของสถานตี ำรวจควบคุม มีคา่ คะแนนเฉลีย่ 3.96 (รอ้ ยละ 79.24) ร้อยละ 10.43

4.1.2 ประเด็นสิ่งป้อนเข้า (input) ได้แก่ การจัดรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานของ
สว่ นสนับสนนุ งานสอบสวน บุคลากร งบประมาณ วัสดุอปุ กรณ์ รวมทง้ั การถอดบทเรียนจากการปฏบิ ัติ ปัญหา
อุปสรรคและแนวทางการแก้ไข ใช้วิธีการสงั เกต สัมภาษณ์ เอกสาร โดยทีมเจ้าหน้าท่ีเกบ็ ข้อมูลในสถานีตำรวจ
ทดลอง และจัดประชุมกลุ่ม (Focus Group) โดยใช้ระบบออนไลน์ จำนวน 2 ครั้ง ผู้เข้าร่วมประชุมเป็น
ข้าราชการตำรวจระดบั หวั หน้าสถานตี ำรวจ หัวหนา้ งานสอบสวน สรุปได้ ดังน้ี

4.1.2.1 สถานีตำรวจทดลองได้จัดรูปแบบและวิธีการปฏิบัติงานของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน เป็น 6 กลุ่มตามแบบที่กำหนดในโครงการ ได้มีการออกคำสั่งมอบหมายหน้าที่ให้ข้าราชการ
ตำรวจปฏิบัติหน้าที่ตามกลุ่มทีไ่ ด้รบั มอบหมายอย่างชัดเจน เน้นการประสานงานกับงานอื่น ๆ ในสถานีตำรวจ
มกี ารติดตาม ตรวจสอบ ปัญหา ข้อขัดขอ้ ง ในระหว่างดำเนินการเพอ่ื แก้ไขและมอบหมายหน้าท่เี พิม่ เติมในส่วน
ที่ยังไม่สมบูรณ์ โดยประชุมติดตาม กำชับ การปฏิบัติงานร่วมกันเป็นประจำ รวมทั้งบางสถานีตำรวจ มีการ
มอบหมายหน้าที่เพิ่มเติมให้เจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นเจ้าหน้าท่ีผู้ดูแลระบบ (admin)
ชว่ ยประสานงานเกย่ี วกับการรบั คำร้องทุกขอ์ อนไลน์และรายงานผลใหผ้ ู้เสียหายทราบ

4.1.2.2 ข้าราชการตำรวจที่เข้าร่วมโครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนในสถานีตำรวจ ส่วนใหญ่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดสถานีตำรวจทดลอง มีบางส่วนที่เป็น
ข้าราชการตำรวจนอกสังกัด เนื่องจากขาดแคลนขา้ ราชการตำรวจในสถานีตำรวจน้ัน แต่ไมว่ า่ จะเปน็ ข้าราชการ
ตำรวจในหรือนอกสังกัดสถานีตำรวจทดลอง การคัดเลือกผู้มาปฏิบัติในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนต่างเป็น
บุคลากรท่ีมีคุณภาพ เมื่อพบหรือเกิดปัญหาได้กำหนดให้รายงานผู้บังคบั บัญชาตามลำดับชั้น ซึ่งผู้บังคับบัญชา
จะสามารถเข้าแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างถูกต้องและทันท่วงที เนื่องจากผู้บังคับบัญชาต่างทราบรายละเอียดขั้นตอน
การปฏิบัติงานของทุกกลุ่มงานจากกำหนดหน้าที่ รวมทั้งสามารถติดตามผลการดำเนินการได้ทุกขั้นตอน
อย่างใกล้ชิดเป็นประจำ

4.1.2.3 สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ
ให้แก่สถานีตำรวจทดลองขนาดใหญ่ สถานีตำรวจละ 100,000 บาท และสถานีตำรวจทดลองขนาดเล็ก

43

สถานีตำรวจละ 50,000 บาท ซึ่งสถานีตำรวจทดลองส่วนใหญ่เห็นว่างบประมาณที่ได้รับจัดสรรเพียงพอ
ต่อการดำเนนิ การตามโครงการฯ ในช่วง 3 เดอื น ตามกำหนดเวลาทดลอง

4.1.2.4 วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ในสถานีตำรวจ มีไม่เพยี งพอตอ่ การปฏบิ ัติหน้าที่ให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สุด แต่ไมก่ ่อใหเ้ กิดความเสียหายต่อทาง
ราชการแต่อย่างใด ซึ่งบางสถานีตำรวจได้แก้ไขความขาดแคลนดังกล่าวโดยขอรับการสนับสนุนจากองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งมีความจำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน

4.1.2.5 ผู้บังคับบัญชาทั้งตั้งแต่ระดับผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ผู้บัญชาการและ
ผู้บังคับการ ต่างให้ความสำคัญและใส่ใจในการดำเนินโครงการฯ เป็นอย่างมาก เห็นได้จากการประชุมชี้แจง
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินโครงการฯ และลงพื้นที่ตรวจเยี่ยม ให้คำแนะนำ และให้กำลังใจในการปฏิบัติ
ตามโครงการฯ เป็นประจำ โดยบางส่วนให้นำโครงการบูรณาการงานสอบสวนมาใช้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
ในการปฏิบตั หิ นา้ ทเี่ พ่มิ ข้ึน

4.1.2.6 ปัญหา อุปสรรคของการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ในสถานตี ำรวจ คอื ขาดแคลนกำลงั พลท่ีใช้ในการทดลอง รวมทง้ั วัสดุ อุปกรณแ์ ละงบประมาณทจี่ ำเป็นต่อการ
ขบั เคลื่อนงานสอบสวนมีไม่เพียงพอ

4.1.2.7 ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินโครงการทดลองปฏิบัติจริงของ
ส่วนสนับสนุนงานสอบสวนในสถานีตำรวจ ควรเพิ่มกำลังพลและแต่งตั้งข้าราชการตำรวจในส่วนของ
งานสนับสนุนงานสอบสวน วัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติครบถ้วนและทันสมัย งบประมาณในการ
ดำเนินการของส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้เหมาะสมและเพียงพอต่อภารกิจหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ รวมทั้ง
จัดให้มีการฝึกอบรมกำลังพลในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้มีความรู้และความชำนาญในการปฏิบัติงาน
ตลอดเวลา

4.1.2.8 การกำหนดคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งของหัวหน้าส่วนสนับสนุน
งานสอบสวน ทำหน้าทสี่ อบสวน (หวั หน้างานคด)ี ซ่งึ กำหนดให้ตำแหนง่ ระดับสารวตั ร ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่ง
หรือเคยดำรงตำแหน่งสารวัตร ทำหน้าที่สอบสวน รวมกันแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ระยะเวลาการดำรงตำแหน่ง
จะต่อเนื่องกันหรือไม่ก็ได้ หรือตำแหน่งระดับรองสารวัตร ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งหรือเคยดำรงตำแหน่ง
รองสารวัตร ทำหนา้ ทสี่ อบสวน มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปี ระยะเวลาการดำรงตำแหน่งจะต่อเน่ืองกันหรือไม่ก็ได้
เป็นการกำหนดทมี่ ีความเหมาะสมแลว้

4.1.2.9 การกำหนดกรอบจำนวนตำแหน่งผบู้ งั คบั หมู่ – รองสารวัตร แตล่ ะกลมุ่ งาน
ในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนตามที่กำหนดในโครงการ ส่วนใหญ่เห็นว่ามีความเหมาะสมดีแล้ว บางส่วน
ในสถานตี ำรวจขนาดใหญ่ซ่งึ มปี ริมาณคดีจำนวนมาก กรอบจำนวนตำแหน่งจึงยังไม่สอดคล้องกับปริมาณงานท่ี
สถานีตำรวจต้องรับผิดชอบ เช่น กลุ่มตำแหน่งเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ
ตำแหน่งเจ้าหน้าที่ในกลุ่มบริหารงานคดีและการสอบสวน และสถานีตำรวจขนาดเล็กบางส่วนเห็นว่าควรเพิ่ม
จำนวนตำแหน่งที่รับผิดชอบในกลุ่มการบริหารงานคดีและสอบสวน และกลุ่มการประสานงานเพื่อบังคับใช้
กฎหมาย

4.1.2.10 หลังจากการทดลองครบ 3 เดือน พบข้อดีหรือจุดแข็งจากการทดลอง
ตามโครงการ ท่คี วรนำไปใชเ้ ปน็ แบบอย่างในการปฏบิ ัตติ ่อไป คอื การแบ่งกล่มุ งานทำให้งานคดีในสถานีตำรวจ
เป็นระบบมากขึ้น มีเจ้าหน้าที่ช่วยเหลืองานพนักงานสอบสวนซึ่งช่วยลดภาระงานให้แก่พนักงานสอบสวน
มีงบประมาณสนับสนุนการปฏิบัติ มีเงินประจำตำแหน่งสำหรับตำแหน่งที่จะกำหนดขึ้นใหม่ ส่วนปัญหา

44

อุปสรรคหรือจุดอ่อนจากการทดลอง คือ พนักงานสอบสวนบางส่วนมีความรู้หรือความชำนาญในการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการปฏิบัติหน้าที่ไม่เพียงพอ ผู้ปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนจึงควร
กำหนดคุณสมบัติใหเ้ ปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีเพิ่มเติม จำนวนผูป้ ฏิบตั หิ น้าท่ีในส่วนสนับสนุน
งานสอบสวนมไี ม่สอดคลอ้ งกบั ปริมาณงาน

4.1.2.11 จากผลการประเมินผลก่อนการทดลอง (Pre-Test) ในงานสารบบคดี
อาญาในสถานีตำรวจ การประสานงานทางคดี และการสนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน มีหลาย
หัวข้อซึ่งแปลผลได้ว่าดี แต่อยู่ในกลุ่มดีน้อยที่สุดในภาพรวม เช่น การปฏิบัติเกี่ยวกับของกลางในคดีอาญา
การควบคุมการแจ้งความคืบหน้าการสอบสวน การเบิกจ่ายค่าตอบแทนพยาน การแจ้งผลคดีให้กองทะเบียน
ประวัติอาชญากรรม (ทว.) ทราบ การช่วยเหลือพนักงานสอบสวนในการไปตรวจสถานที่เกิดเหตุ การจัดเก็บ
รวบรวมพยานหลักฐานในที่เกดิ เหตุ การชว่ ยเหลอื จัดการกรณีเกิดอบุ ัติเหตุคดจี ราจร เป็นตน้ สถานีตำรวจได้มี
การปรับปรุงหรือแก้ไข โดยได้มีการมอบหมายหน้าที่แก่ผู้ปฏิบัติงานในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนให้มี
ความชัดเจน มีการติดตาม ตรวจสอบ รายละเอียด ขั้นตอนการดำเนินการต่าง ๆ ในหน้าที่ให้เป็นระบบและ
ถกู ตอ้ ง รวมท้งั รายงานผลการปฏบิ ัตใิ ห้แก่ผู้เก่ียวขอ้ งทราบอยา่ งต่อเนอื่ ง สมำ่ เสมอ

4.1.3 ประเด็นความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการงานสอบสวน โดยใช้แบบสอบถาม
(Quesionare) ประเมินประชาชนผู้มารับบริการแจ้งความบนสถานีตำรวจหลังการทดลองของสถานีตำรวจ
ทดลองและสถานีตำรวจควบคุม กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่รับบริการแจ้งความบนสถานีตำรวจ ผลการประเมิน
จากประชาชนที่มารับบริการบนสถานีตำรวจทดลอง กลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.54 (ร้อยละ 90.87)
โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 67.30 มีความคิดเห็นอยู่ในระดับดีมาก เมื่อเปรียบเทียบกับสถานีตำรวจ
ควบคุม กลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉลี่ย 4.43 (ร้อยละ 88.53) โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 62.88
มีความคดิ เห็นอย่ใู นระดบั ดีมาก

จากผลการทดลองสรุปได้ว่า โครงการทดลองปฏิบัติจริงของส่วนสนับสนุนงานในลักษณะ
สถานีตำรวจทดลอง บรรลุตามวัตถปุ ระสงคข์ องโครงการฯ ที่กำหนดไว้ ดงั น้ี

(1) งานสารบบคดีอาญาในสถานีตำรวจมีประสิทธิภาพ ข้อมูลครบถ้วนและถูกต้อง เห็นได้
จากการประเมินผลโครงการโดยใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประเด็นคำถามในส่วน
งานสารบบคดอี าญาในสถานีตำรวจ กล่มุ ตวั อย่างในสถานีตำรวจทดลองมีความพึงพอใจในงานสารบบคดีอาญา
ในสถานีตำรวจ เพมิ่ ขนึ้ จากก่อนการทดลอง รอ้ ยละ 74.71 เป็น 89.44 คิดเปน็ ร้อยละท่เี พิ่มขึ้น 14.73

(2) การประสานงานทางคดีกับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกสำนักงานตำรวจ
แห่งชาติ มีความคล่องตัวมีประสิทธิภาพ เห็นได้จากการประเมินผลโครงการโดยใช้วิธีการเชิงปริมาณ
(Quantitative research) ประเด็นคำถามในสว่ นการประสานงานทางคดี กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจทดลอง
มีความพึงพอใจในการประสานงานทางคดี เพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง ร้อยละ 74.30 เป็น 89.64 คิดเป็น
รอ้ ยละท่เี พ่ิมขน้ึ 15.34

(3) การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานสอบสวนได้รับการสนับสนุน ลดภาระงานลง เห็นได้จาก
การประเมินผลโครงการโดยใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประเด็นคำถามในส่วน
การสนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน กลุ่มตัวอย่างในสถานีตำรวจทดลองมีความพึงพอใจในการ
สนับสนุนการปฏิบัติงานของพนักงานสอบสวน เพิ่มขึ้นจากก่อนการทดลอง ร้อยละ 74.31 เป็น 89.92
คิดเปน็ ร้อยละทีเ่ พ่ิมขึ้น 15.61

45

(4) หัวหน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานสอบสวน กำกับดูแล บริหารงานสอบสวนได้
อย่างมีประสิทธิภาพ เห็นได้จากการประเมินผลโครงการโดยใช้วิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative research)
ซ่ึงหัวหน้าสถานตี ำรวจมีความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของส่วนสนบั สนนุ งานสอบสวน

(5) ประชาชนผู้รับบริการจากงานสอบสวนมีความพึงพอใจจากการปฏิบัติหน้าที่ เห็นได้จาก
การประเมินผลโครงการโดยใช้วิธีการเชิงปริมาณ (Quantitative research) ประชาชนผู้รับบริการ
งานสอบสวนในสถานีตำรวจทดลองมีความพึงพอใจในบริการ ร้อยละ 90.87 มากกว่าประชาชนผู้รับบริการ
งานสอบสวนในสถานตี ำรวจควบคมุ รอ้ ยละ 88.53

อนง่ึ มขี ้อสงั เกตว่า จากการประเมินก่อนการทดลอง ผลการประเมนิ ของสถานีตำรวจควบคุม
สูงกว่าสถานีตำรวจทดลอง และผลการประเมินหลังการทดลองในสถานีตำรวจควบคุมซึ่งไม่มีการดำเนินการ
ตามโครงการก็มีคะแนนสูงกว่าผลการประเมินก่อนการทดลอง โดยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
อาจเนื่องมาจากเป็นการวิจัยกึ่งทดลองที่ไม่สามารถควบคุมตัวแปรทั้งหมดได้จริง การกำหนดสถานี ตำรวจ
ควบคุม ไม่สามารถเลอื กสถานีตำรวจทมี่ ีปัจจยั ตา่ ง ๆ เหมอื นกบั สถานตี ำรวจทดลองได้อย่างแทจ้ ริง ส่วนกรณีที่
สถานีตำรวจควบคุมก็มีผลการปฏิบัติสูงขึ้นทั้งที่มิได้มีการดำเนินการตามโครงการ อาจมีปัจจัยอื่นแทรกซ้อน
ที่ทำให้ผลการปฏิบัติงานดีขึ้นหรืออาจเป็นผลกระทบที่ข้าราชการตำรวจซึ่งปฏิบัติงานในสถานีตำรวจควบคุม
รู้สึกว่ากำลังถูกเฝ้าดูเพื่อนำไปเปรียบเทียบกับสถานีตำรวจทดลอง จึงเป็นปัจจัยอื่นที่ส่งผลให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมจนมีผลการปฏิบัติงานที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตาม ผลการประเมินหลังการทดลอง
ของสถานีตำรวจทดลอง สูงกว่าผลการประเมินก่อนการทดลอง และสูงกว่าในสถานีตำรวจควบคมุ ซึ่งเมื่อก่อน
ทดลองสถานีตำรวจทดลองมีผลการประเมินต่ำกว่าสถานตี ำรวจควบคุม ย่อมแสดงให้เหน็ ถึงความแตกต่างของ
ผลการปฏบิ ตั ใิ นสถานีตำรวจทดลองซ่ึงไดด้ ำเนนิ การตามโครงการจนมีผลการปฏิบัตงิ านดีข้นึ อย่างมีนัยสำคัญ

4.2 ขอ้ เสนอแนะ

4.2.1 ควรกำหนดขอบเขตและแก้ไขเพิ่มเติมหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงานให้
เหมาะสม รวมทั้งชี้แจงแนวทางการปฏิบัติให้หัวหน้าสถานีตำรวจ หรือหั วหน้างานสอบสวน
หรือหัวหน้าส่วนสนับสนุนงานสอบสวน ปรับเกลี่ยงานแต่ละกลุ่ม และการแบ่งมอบงานให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ
แต่ละนายรับผิดชอบเพิม่ เตมิ ไดต้ ามความเหมาะสมของปริมาณงานในแตล่ ะสถานีตำรวจที่มีความแตกต่างกัน

4.2.2 ควรปรับปรุงเกณฑ์การวิเคราะห์และกำหนดตำแหน่งของส่วนสนับสนุนงานสอบสวน
ในสถานีตำรวจ เพ่อื กำหนดจำนวนและระดับผ้ปู ฏบิ ตั ิงานให้เหมาะสมกับงานทตี่ ้องปฏิบัตใิ นโอกาสต่อไป

4.2.3 ควรบรรจุแต่งตั้งหรือแต่งตั้งข้าราชการตำรวจให้ดำรงตำแหน่งที่ปฏิบัติหน้าที่ในส่วน
สนับสนุนงานสอบสวนของสถานีตำรวจ ใหค้ รบหรือเพียงพอต่อการปฏบิ ัติหน้าท่ี

4.2.4 ควรกำหนดความรู้ ความสามารถ และคุณสมบัติอื่น ๆ ที่ต้องการ สำหรับข้าราชการ
ตำรวจท่ที ำหนา้ ทีต่ ่าง ๆ ในสว่ นสนบั สนุนงานสอบสวนของสถานตี ำรวจอยา่ งเหมาะสม

4.2.5 ควรจัดให้มีการฝึกอบรมข้าราชการตำรวจทีจ่ ะตอ้ งดำรงตำแหน่งหรอื อยู่ในตำแหนง่ ที่
ต้องปฏิบัติหน้าที่ในส่วนสนับสนุนงานสอบสวนของสถานีตำรวจ ให้มีความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมต่อการ
ปฏิบตั หิ น้าที่

4.2.6 ควรกำหนดค่าตอบแทนการปฏิบัติงานให้เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบของ
ข้าราชการตำรวจ

4.2.7 ควรจัดสรรงบประมาณ และวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อความจำเป็นในการปฏิบัติงานของ
สว่ นสนับสนนุ งานสอบสวนในสถานตี ำรวจ

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version